basic-m5-1-finished

Page 1

คณิ ตศาสตร์พ นื ฐาน ชั นมัธยมศึกษาปี ที 5

เล่ม 1


สารบัญ หนา บทที่ 1 ลําดับและอนุกรม ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ขอเสนอแนะ กิจกรรมเสนอแนะ ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท เฉลยแบบฝกหัด 1.1.1 เฉลยแบบฝกหัด 1.1.2 เฉลยแบบฝกหัด 1.1.3 เฉลยแบบฝกหัด 1.1.4 เฉลยแบบฝกหัด 1.2.1 เฉลยแบบฝกหัด 1.2.2

1 2 12 26 28 33 36 43 51 57 63

บทที่ 2 ความนาจะเปน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ขอเสนอแนะ กิจกรรมเสนอแนะ ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท เฉลยแบบฝกหัด 2.1 เฉลยแบบฝกหัด 2.2

71 72 77 82 84 87 93


33

เฉลยแบบฝกหัด 1.1.1 1.

1)

2)

จาก จะได

an = 2n + 5 a1 = 2(1) + 5 a2 = 2(2) + 5 a3 = 2(3) + 5 a4 = 2(4) + 5 ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับนี้คือ 7, 9, 11, 13 จาก จะได

an a1 a2 a3

=

1   2

n

=

1   2

1

=

1   2

2

=

1   2

3

= = = =

7 9 11 13

=

1 2

=

1 4

=

1 8

4

ดังนั้น 4 3)

4)

1 a4 = =   2 พจนแรกของลําดับนี้คือ 12 , 14 , 18 , 161

an = (–2)n a1 = (–2)1 a2 = (–2)2 a3 = (–2)3 a4 = (–2)4 ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับนี้คือ –2, 4, –8, จาก จะได

จาก

an

=

จะได

a1

=

a2

=

n +1 n 1+ 1 1 2 +1 2

1 16

= = = = 16

–2 4 –8 16

=

2

=

3 2


34

a3

=

a4

=

3+ 1 3 4 +1 4

ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับนี้คือ 2, 32 , 5)

จาก

an

=

จะได

a1

=

a2

=

a3

=

a4

=

= = 4 5 , 3 4

1 + (−1) n n 1 + (−1)1 1 1 + (−1) 2 2 1 + (−1) 3 3 1 + (−1) 4 4

ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับนี้คือ 0, 1, 0, 6)

จาก

an

=

จะได

a1

=

a2

=

a3

=

a4

=

7)

จาก จะได

=

0

=

1

=

0

=

1 2

=

2 3

=

4 9 8 27 16 81

1 2

2n 3n 21 31 22 32 23 33 24 34

ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับนี้คือ

4 3 5 4

= = 2 4 8 16 , , , 3 9 27 81

an = (n – 1)(n + 1) a1 = (1 – 1)(1 + 1) a2 = (2 – 1)(2 + 1) a3 = (3 – 1)(3 + 1) = (4 – 1)(4 + 1) a4 ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับนี้คือ 0, 3, 8, 15

= = = =

0 3 8 15


35

8)

2.

1)

จาก จะได

an = n(n – 1)(n – 2) a1 = 1(1 – 1)(1 – 2) a2 = 2(2 – 1)(2 – 2) a3 = 3(3 – 1)(3 – 2) a4 = 4(4 – 1)(4 – 2) ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับนี้คือ 0, 0, 6, 24 2 , 6 , 10 , 14 , 18 , 22 +4

2)

+4

–5

×4

÷3

+10

–5

×4

×4

÷3

×4

9, ÷3

3 ÷3

+15 +20 +25

10 , 30 , 120 , 600 , 3600

5, ×2

7)

–5

2 , 7 , 17 , 32 , 52 , 77 +5

6)

–5

729 , 243 , 81 , 27 , ÷3

5)

+4

4 , 16 , 64 , 256 , 1024

1, ×4

4)

+4

200 , 195 , 190 , 185 , 180 , 175 –5

3)

+4

5,

×3

×5

×6

1 , –4 , –11 , –20

4, –1

×4

–3

–5

–7

–9

8) 100 , 98 , 94 , 88 , 80 , 70 –2

–4

–6

–8

–10

= = = =

0 0 6 24


36

เฉลยแบบฝกหัด 1.1.2 1.

1)

2)

3)

an a1 a2 a3 a4

= = = = =

4n – 2 4(1) – 2 4(2) – 2 4(3) – 2 4(4) – 2

= = = =

2 6 10 14

an a1 a2 a3 a4

= = = = =

n(n – 1) 1(1 – 1) 2(2 – 1) 3(3 – 1) 4(4 – 1)

= = = =

0 2 6 12

=

1

=

4 3 3 2 8 5

an = a1 = a2 = a3 = a4 =

4)

2n n +1 2(1) 1+1 2(2) 2 +1 2(3) 3 +1 2(4) 4 +1

= =

n

an =

1   2

a1 =

1   2

a2 =

1   2

2

a3 =

1   2

3

a4 =

1   2

4

1

=

1 2

=

1 4

=

1 8

=

1 16


37

5)

2.

an a1 a2 a3 a4

= = = = =

(–1)n (–1)1 (–1)2 (–1)3 (–1)4

1)

1 1 , , 2 4 an = 1n −1 2

2)

1, 3, 9, 27 an = 3n–1

3)

24, 8,

1,

an =

= = = =

–1 1 –1 1

1 8

8 8 , 3 9 n −1 1 24 ×   3

4)

2 3 4 5 , , , 3 4 5 6 an = n + 1 n+2

5)

0.4, 0.04, 0.004, 0.0004 an = 4 10n


38

3.

1)

2)

3)

พิจารณาลําดับ 1, 3, 5, 7, 9, ... จะเห็นวา a1 = 1 a2 = 3 a3 = 5 a4 = 7 a5 = 9 ดังนั้น พจนทั่วไป an = 2n – 1

= = = = =

2(1) – 1 2(2) – 1 2(3) – 1 2(4) – 1 2(5) – 1

พิจารณาลําดับ 4, 8, 12, 16, จะเห็นวา a1 = = a2 a3 = a4 = a5 = ดังนั้น พจนทั่วไป an = 4n

= = = = =

4(1) 4(2) 4(3) 4(4) 4(5)

= = = = =

4(1) – 1 4(2) – 1 4(3) – 1 4(4) – 1 4(5) – 1

20, ... 4 8 12 16 20

พิจารณาลําดับ 3, 7, 11, 15, 19, ... จะเห็นวา a1 = 3 = 7 a2 a3 = 11 = 15 a4 a5 = 19 ดังนั้น พจนทั่วไป an = 4n – 1


39

4)

5)

6)

พิจารณาลําดับ 7, 12, 17, 22, 27, ... จะเห็นวา a1 = 7 = a2 = 12 = a3 = 17 = a4 = 22 = a5 = 27 = ดังนั้น พจนทั่วไป an = 5n + 2

5(1) + 2 5(2) + 2 5(3) + 2 5(4) + 2 5(5) + 2

พิจารณาลําดับ 1, 6, 11, 16, 21, ... จะเห็นวา a1 = 1 = 6 a2 a3 = 11 a4 = 16 a5 = 21 ดังนั้น พจนทั่วไป an = 5n – 4

5(1) – 4 5(2) – 4 5(3) – 4 5(4) – 4 5(5) – 4

= = = = =

พิจารณาลําดับ 0, –1, –2, –3, –4, ... จะเห็นวา a1 = 0 = = –1 = a2 a3 = –2 = = –3 = a4 a5 = –4 = ดังนั้น พจนทั่วไป an = 1 – n

1–1 1–2 1–3 1–4 1–5


40

7)

8)

9)

พิจารณาลําดับ 1, –1, –3, –5, –7, ... จะเห็นวา a1 = 1 a2 = –1 a3 = –3 a4 = –5 a5 = –8 ดังนั้น พจนทั่วไป an = 3 – 2n

= = = = =

3 – 2(1) 3 – 2(2) 3 – 2(3) 3 – 2(4) 3 – 2(5)

พิจารณาลําดับ 3, 0, –3, –6, –9, ... จะเห็นวา a1 = 3 = 0 a2 a3 = –3 a4 = –6 a5 = –9 ดังนั้น พจนทั่วไป an = 6 – 3n

= = = = =

6 – 3(1) 6 – 3(2) 6 – 3(3) 6 – 3(4) 6 – 3(5)

พิจารณาลําดับ 3, 1, –1, –3, –5, ... จะเห็นวา a1 = 3 = 1 a2 a3 = –1 = –3 a4 a5 = –5 ดังนั้น พจนทั่วไป an = 5 – 2n

= = = = =

5 – 2(1) 5 – 2(2) 5 – 2(3) 5 – 2(4) 5 – 2(5)


41

10) พิจารณาลําดับ –5, –3, –1, 1, 3, ... จะเห็นวา a1 = –5 a2 = –3 a3 = –1 a4 = 1 a5 = 3 ดังนั้น พจนทั่วไป an = 2n – 7

= = = = =

1 1 1 1 1 , , , , , ... 3 6 9 12 15 1 จะเห็นวา a1 = = 3 1 a2 = = 6 1 a3 = = 9 1 a4 = = 12 1 a5 = = 15 ดังนั้น พจนทั่วไป an = 31n

2(1) – 7 2(2) – 7 2(3) – 7 2(4) – 7 2(5) – 7

11) พิจารณาลําดับ

12) พิจารณาลําดับ 1, 14 , จะเห็นวา

1 3(1) 1 3(2) 1 3(3) 1 3(4) 1 3(5)

1 1 1 , , , ... 9 16 25

a1

=

1

=

a2

=

=

a3

=

a4

=

a5

=

1 4 1 9 1 16 1 25 1 n2

ดังนั้น พจนทั่วไป an =

= = =

1 1 1 22 1 32 1 42 1 52


42 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , ... 2 3 4 5 6 1 = = จะเห็นวา a1 2 2 a2 = = 3 3 a3 = = 4 4 a4 = = 5 5 a5 = = 6 ดังนั้น พจนทั่วไป an = n n+ 1

1 1+1 2 2 +1 3 3 +1 4 4 +1 5 5 +1

2 4 8 16 32 , , , , , ... 5 7 9 11 13 2 จะเห็นวา a1 = = 5 4 a2 = = 7 8 a3 = = 9 16 a4 = = 11 32 a5 = = 13 n ดังนั้น พจนทั่วไป an = 2n2+ 3

21 2(1) + 3 22 2(2) + 3 23 2(3) + 3 24 2(4) + 3 25 2(5) + 3

13) พิจารณาลําดับ

14) พิจารณาลําดับ

15) พิจารณาลําดับ 0, 12 , 23 , จะเห็นวา

3 4 , , ... 4 5

a1

=

0

=

a2

=

=

a3

=

a4

=

a5

=

1 2 2 3 3 4 4 5

ดังนั้น พจนทั่วไป an =

n −1 n

= = =

1− 1 1 2 −1 2 3− 1 3 4 −1 4 5 −1 5


43

เฉลยแบบฝกหัด 1.1.3 1.

1)

จาก จะได

2)

จาก จะได

3)

จาก จะได

4)

a1 = 2, d = 4 a2 = a 1 + d = 2 + 4 = 6 a3 = a1 + 2d = 2 + 2(4) = 10 a4 = a1 + 3d = 2 + 3(4) = 14 ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับเลขคณิตนี้คือ 2, 6, 10, 14 a1 = 3, d = 5 a2 = a 1 + d = 3 + 5 = 8 a3 = a1 + 2d = 3 + 2(5) = 13 a4 = a1 + 3d = 3 + 3(5) = 18 ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับเลขคณิตนี้คือ 3, 8, 13, 18 a1 = –3, d = 3 a2 = a1 + d = –3 + 3 a3 = a1 + 2d = –3 + 2(3) a4 = a1 + 3d = –3 + 3(3) ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับเลขคณิตนี้คือ

จาก จะได

a1 = –4, d = 2 a2 = a1 + d = –4 + 2 a3 = a1 + 2d = –4 + 2(2) a4 = a1 + 3d = –4 + 3(2) ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับเลขคณิตนี้คือ

= = = –3,

0 3 6 0, 3, 6

= = = –4,

–2 0 2 –2, 0, 2


44

5)

จาก จะได

a1 = 5, d = –2 a2 = a1 + d = 5 + (–2) a3 = a1 + 2d = 5 + 2(–2) a4 = a1 + 3d = 5 + 3(–2) ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับเลขคณิตนี้คือ

6)

จาก จะได

7)

จาก

a1 =

จะได

a2 = a 1 + d =

= –3 = 1 = –1 5, 3, 1, –1

a1 = –3, d = –4 a2 = a1 + d = –3 + (–4) = –7 a3 = a1 + 2d = –3 + 2(–4) = –11 a4 = a1 + 3d = –3 + 3(–4) = –15 ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับเลขคณิตนี้คือ –3, –7, –11, –15 1 , 2

d=

a3 = a1 + 2d = a4 = a1 + 3d =

1 2 1 1 + 2 2 1 1 + 2  2 2 1 1 + 3  2 2

= 1 =

3 2

= 2

ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับเลขคณิตนี้คือ 12 , 1, 32 , 2 8)

5 , 2

d=

3 2

จาก

a1 =

จะได

a2 = a 1 + d =

5  3 +−  2  2

= 1

a3 = a1 + 2d =

5  3 + 2 −  2  2

=

a4 = a1 + 3d =

5  3 + 3 −  2  2

= –2

ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับเลขคณิตนี้คือ 52 , 1,

1 2

1 , 2

–2


45

2.

1)

จาก จะได

an a3 a3 a3

= = = =

a1 + (n – 1)d 4 + (3 – 1)3 4+6 10

เมื่อ

a1 = 4,

d=3

2)

จาก จะได

an a8 a8 a8

= = = =

a1 + (n – 1)d เมื่อ –4 + (8 – 1)(–5) –4 – 35 –39

a1 = –4,

d = –5

3)

จาก จะได

an = a1 + (n – 1)d เมื่อ a1 = –5, a9 = –5 + (9 – 1)2 a9 = 11

d=2

4)

จาก จะได

an = a1 + (n – 1)d เมื่อ a1 = 7, a12 = 7 + (12 – 1)(–3) a12 = –26

d = –3

an = a1 + (n – 1)d เมื่อ a1 = 54 ,

d = –1

5) จาก จะได

a20 = a12 =

6)

4 + (20 – 1)(–1) 5 91 − 5

จาก

an = a1 + (n – 1)d

จะได

a15 =

a15 =

−28

1 2

=

เมื่อ a1 =

+ (15 – 1)(–2) = 1 2

4 − 19 5

1 , 2

1 − − 28 2

d = –2 =

1 −( + 28) 2


46

7)

จาก

an = a1 + (n – 1)d

จะได

a11 = 4 + (11 – 1)( 1 )

เมื่อ

a1 = 4,

d=

1 2

เมื่อ

a1 = 43 ,

d=

1 3

2

a11 = 9 8)

จาก

an = a1 + (n – 1)d

จะได

a15 =

4 3

+ (15 – 1)( 1 ) = 3

4 14 + 3 3

a15 = 6 3.

1)

จากลําดับเลขคณิต 11, 13, 15, 17, 19, ... ที่มี a1 = 11 และ d = 2 จะได an = 11 + (n – 1)2 = 2n + 9 ดังนั้น พจนที่ n หรือ an = 2n + 9

2)

จากลําดับเลขคณิต 7, 10, 13, 16, 19, ... ที่มี a1 = 7 และ d = 3 จะได an = 7 + (n – 1)3 = 3n + 4 ดังนั้น พจนที่ n หรือ an = 3n + 4

3)

จากลําดับเลขคณิต 2, –1, –4, –7, –10, ... ที่มี a1 = 2 และ d = –3 จะได an = 2 + (n – 1)(–3) = 5 – 3n ดังนั้น พจนที่ n หรือ an = 5 – 3n

4)

จากลําดับเลขคณิต 4, 2, 0, –2, –4, ... ที่มี a1 = 4 และ d = –2 จะได an = 4 + (n – 1)(–2) = 6 – 2n ดังนั้น พจนที่ n หรือ an = 6 – 2n


47

5)

จากลําดับเลขคณิต 0, 12 , 1, 23 , 2, ... ที่มี a1 = 0 และ d = จะได an = 0 + (n – 1)( 12 ) n −1 = 2 ดังนั้น พจนที่ n หรือ an = n 2−1

6)

จากลําดับเลขคณิต จะได an = =

3 2

, 2, 52 , 3, 72 , ... ที่มี a1 = 1 3 + (n – 1)( ) 2 2 n +1 2

ดังนั้น พจนที่ n หรือ an = 4.

จาก จะได

an a20 a50

= = =

n +1 2

–n – 3 –20 – 3 –50 – 3

หรือ

3 2

และ d =

n+2 2

= =

–23 –53

5.

จากลําดับเลขคณิต 3, 8, 13, 18, 23, ... ที่มี a1 = 3 และ d = 5 จาก an = a1 + (n – 1)d จะได a15 = 3 + (15 – 1)(5) = 73 a15

6.

กําหนดให a6 = 12 และ a10 = 16 จะได a1 + 5d = 12 --------- (1) และ a1 + 9d = 16 --------- (2) (2) – (1) 4d = 4 d=1 แทน d = 1 ใน (1) จะได a1 = 7 ดังนั้น พจนแรกของลําดับเลขคณิตนี้คือ 7

1 2

1 2


48

7.

ให a3 = 20 และ a7 = 32 จะได a1 + 2d = 20 --------- (1) และ a1 + 6d = 32 --------- (2) (2) – (1) 4d = 12 d=3 แทน d = 3 ใน (1) จะได a1 = 14 จาก an = a1 + (n – 1)d = 14 + (25 – 1)(3) จะได a25 a25 = 86

8.

ให a2 = 16 และ a12 = 116 --------- (1) จะได a1 + d = 16 และ a1 + 11d = 116 --------- (2) (2) – (1) 10d = 100 d = 10 แทน d = 10 ใน (1) จะได a1 = 6 จาก an = a1 + (n – 1)d = 6 + (n – 1)(10) = 10n – 4 จะไดวา an = 10n – 4 และ d = 10

9.

ลําดับ –1, –6, –11, ... เปนลําดับเลขคณิตที่มี a1 = –1 และ d = –5 จาก an = a1 + (n – 1)d จะได –176 = –1 + (n – 1)(–5) –175 = (n – 1)(–5) 35 = n–1 36 = n ดังนั้น –176 เปนพจนที่ 36 ของลําดับเลขคณิต –1, –6, –11, ...


49

10.

จํานวนสามจํานวนแรกซึ่งอยูระหวาง 100 ถึง 1000 ที่หารดวย 13 ลงตัว คือ 104, 117, 130 จํานวนสุดทายซึ่งอยูระหวาง 100 ถึง 1000 ที่หารดวย 13 ลงตัว คือ 988 เขียนจํานวนขางตนเปนลําดับไดดังนี้ 104, 117, 130, ..., 988 จะเห็นวาลําดับดังกลาวเปนลําดับเลขคณิตที่มี a1 = 104 และ d = 13 จาก an = a1 + (n – 1)d จะได 988 = 104 + (n – 1)(13) 884 = 13n – 13 13n = 897 n = 69 จะไดวา จํานวนซึ่งอยูระหวาง 100 กับ 1000 ที่หารดวย 13 ลงตัว มีทั้งหมด 69 จํานวน

11.

ให a1, a2, a3, ... เปนลําดับเลขคณิตที่มี a1 = 39 และ a3 = 51 จะได a1 + 2d = 51 39 + 2d = 51 2d = 12 d = 6 และ a2 = a1 + d = 39 + 6 = 45 ดังนั้น จํานวนที่อยูระหวาง 39 และ 51 ที่ทําใหสามจํานวนนี้อยูในลําดับเลขคณิตคือ 45

12.

ให a1 = 5 และ a7 = 29 เปนพจนที่ 1 และพจนที่ 7 ในลําดับเลขคณิต จะได a1 + 6d = 29 5 + 6d = 29 6d = 24 d = 4 ดังนั้น 5 พจนซึ่งเรียงอยูระหวาง 5 กับ 29 คือ 5 + 4, 5 + 2 (4), 5 + 3(4) และ 5 + 4(4) หรือ 9, 13, 17, 21, 25


50

13.

ให a1 = 20, a2 จาก 20, 16, 12... จาก an –96 4n n

= 16 และ a3 = 12 เปนพจนสามพจนในลําดับเลขคณิต จะได d = –4 = a1 + (n – 1)d = 20 + (n – 1)(–4) = 96 + 20 + 4 120 = 4

n = 30 ดังนั้น –96 เปนพจนที่ 30 ของลําดับเลขคณิต 20, 16, 12, ... 14.

ให a1 เปนราคาที่บริษัทรับซื้อคืนสําหรับรถยนตที่ใชแลว 1 ป a5 เปนราคาที่บริษัทรับซื้อคืนสําหรับรถยนตที่ใชแลว 5 ป โดยที่ a1 = 900,000 และ d = –70,000 จาก a5 = a1 + 4d = 900,000 + 4(–70,000) = 620,000 ดังนั้น เมื่อครบ 5 ป บริษัทที่ขายรถยนตคันนี้จะรับซื้อคืนในราคา 620,000 บาท

15.

ให a1 = 52 และ an = 7 โดยที่ d = –1 จาก an = a1 + (n – 1)d จะได 7 = 52 + (n – 1)(–1) 53 – n = 7 n = 46 ดังนั้น มีไมทั้งหมด 46 ชั้น นั่นคือ ความสูงของไมกองนี้ เทากับ 46 × 3 หรือ 138 เซนติเมตร


51

เฉลยแบบฝกหัด 1.1.4 1.

1)

ลําดับ 2, 4, 8, 16, ... อัตราสวนรวมคือ 4 = 2 2

2)

ลําดับ 18, 6, 2, 2 , ... 3

อัตราสวนรวมคือ 3)

ลําดับ 75, 15, 3, อัตราสวนรวมคือ

4)

6 18 3 , 5 15 75

6) 7) 8)

2.

1)

1 3

=

1 5

...

ลําดับ –8, –0.8, –0.08, –0.008, ... อัตราสวนรวมคือ −0.8 = 1 −8

5)

=

10

ลําดับ –1, 1, –1, 1, ... อัตราสวนรวมคือ 1 = –1

−1 ลําดับ 2 , 4 , 8 , 16 , ... 3 3 3 3 อัตราสวนรวมคือ 4 ÷ 2 = 4 × 3 = 2 3 3 3 2 1 1 1 ลําดับ , 2 , 3 , ... x x x อัตราสวนรวมคือ 12 ÷ 1 = 12 × x = x x x 2 3 ลําดับ 5, 5a , 5a , 5a ... 2 4 8 อัตราสวนรวมคือ 5a ÷ 5 = 5a × 1 = 2 2 5

1 x

a 2

จากลําดับเรขาคณิต 1, 7, 49, 343, ... ที่มี a1 = 1 และ r2 = 7 จะได a5 = a1r4 = 74 = 2401 a6 = a1r5 = 75 = 16807 = a1r6 = 76 = 117649 a7 ดังนั้น สามพจนถัดไปคือ 2401, 16807, 117649


52

2)

จากลําดับเรขาคณิต –1, 2, –4, 8, ... ที่มี a1 = –1 และ r2 = –2 จะได a5 = (–1)(–2)4 = –16 a6 = (–1)(–2)5 = 32 a7 = (–1)(–2)6 = –64 ดังนั้น สามพจนถัดไปคือ –16, 32, –64

3)

จากลําดับเรขาคณิต 3, 1, 1 , 1 , ... ที่มี a1 = 3 และ r = 3

จะได

a5 a6

ดังนั้น

9

=

1 3  3

4

=

1 3  3

5

6

=

1 27

=

1 81

1 = 3  3 สามพจนถัดไปคือ 1 , 1 , 1 27 81 243

a7

=

1 243

3.

จากลําดับเรขาคณิต 2, 4, 8, 16, ... ที่มี a1 = 2 และ r = 2 จาก an = a1rn–1 จะได a9 = 2(2)8 a9 = 512

4.

จากลําดับเรขาคณิต 2, –10, จาก an = จะได a11 = a11 =

5.

จากลําดับเรขาคณิต 1, จาก จะได

an a10

50, –250, ... ที่มี a1 = 2 และ r = –5 a1rn–1 2(–5)10 2(510)

2 a , a 4 2

,

a3 8

=

a1rn–1

=

a 1  2 a9 512

=

1 3

9

, ...

ที่มี a1 = 1 และ r =

a 2


53

6.

7.

จากลําดับเรขาคณิต

1 1 , , 1, 1, 2 6 18 54

จาก

an

=

a1rn–1

จะได

a8

=

a8

=

 1  1      2  3  1 4374

... ที่มี a1 =

จากลําดับเรขาคณิต 1, 3, 9, ... จาก an = a1rn–1 จะได an = 1(3)n–1 = 3n–1

2)

จากลําดับเรขาคณิต 25, 5, 1, ... ที่มี a1 = 25 an

=

a1rn–1

จะได an

=

25  1 

=

และ r =

1 3

7

1)

จาก

1 2

ที่มี a1 = 1

และ r = 3

และ r =

1 5

n −1

5

5

3–n

3)

จากลําดับเรขาคณิต 1, –1, 1, –1 จาก an = a1rn–1 จะได an = 1(–1)n–1 = (–1)n–1

ที่มี a1 = 1 และ r = –1

4)

จากลําดับเรขาคณิต –2, 4, –8, ... จาก an = a1rn–1 จะได an = (–2)(–2)n–1 = (–2)n

ที่มี a1 = –2 และ r = –2


54

5)

จากลําดับเรขาคณิต

1 , 12 x x

1 x3

an

=

a1rn–1

จะได an

=

 1  1      x  x  1 xn

จาก

=

, ... ที่มี a1 =

1 x

และ r =

1 x

n −1

6)

จากลําดับเรขาคณิต 1, 0.3, 0.09, 0.027, ... ที่มี a1 = 1 และ r = 0.3 จาก an = a1rn–1 จะได an = 1(0.3)n–1 = (0.3)n–1

7)

จากลําดับเรขาคณิต –8, –0.8, –0.08, –0.008, ... ที่มี a1 = –8 และ r = จาก

an

จะได an

=

a1rn–1

=

(–8)  1   10  8 − n −1 10

= 8)

8.

,

จากลําดับเรขาคณิต 2, 2 3 , 6, ... ที่มี a1 = 2 และ r = จาก an = a1rn–1 จะได an = 2( 3 )n–1

ให a5 = จะได

n −1

32 3

และ r = 2

a1r4

=

a1(24)

=

a1

=

ดังนั้น พจนแรกของลําดับคือ

32 3 32 3 32 1 × 3 16 2 3

3

1 10


55

9.

ให a3 = 12 และ a6 = 96 จะได a3 = a1r2 = 12 ---------- (1) และ a6 = a1r5 = 96 ---------- (2) (2) ÷ (1) จะได r3 = 8 r = 2 ดังนั้น อัตราสวนรวมของลําดับนี้คือ 2

10.

ให a2 =

และ a5 =

8 3

จะได

a1r

=

และ

a1r4

=

(2) ÷ (1) จะได r3 r

= =

64 81 8 3 64 81 8 27 2 3

ดังนั้น อัตราสวนรวมของลําดับนี้คือ 11.

ให จะได และ

a , r

---------- (1) ---------- (2)

2 3

a, ar เปนสามพจนแรกของลําดับเรขาคณิต a + a + ar r a   (a)(ar) r

=

–3

=

8

= 8 a3 a = 2 แทน a = 2 ใน (1) จะได 2 + 2 + 2r r

2 + 2r + 2r2 2r2 + 5r + 2 (2r + 1)(r + 2) r

---------- (1)

= –3 = – 3r = 0 = 0 = − 1 , –2 2


56

ถา a = 2, r =

1 2

จะไดลําดับเรขาคณิต –4, 2, –1,

1 , 2

....

ถา a = 2, r = –2 จะไดลําดับเรขาคณิต –1, 2, –4, 8, ... เมื่อตรวจสอบคําตอบจะพบวา ลําดับเรขาคณิตขางตนมีผลบวกและผลคูณของ สามพจนแรกเทากับ –3 และ 8 ตามลําดับ 12.

1)

ให a1 = 5 และ a3 = 20 จะได a1r2 = 20 5r2 = 20 r = ±2 ถา r = 2 จํานวนที่อยูระหวาง 5 และ 20 คือ 10 ถา r = –2 จํานวนที่อยูระหวาง 5 และ 20 คือ –10

2)

ให a1 = 8 และ a3 = 12 จะได a1r2 = 12 8r2 = 12 r 3 2

ถา r = ถา r = 13.

=

3 2

±

3 2

จํานวนที่อยูระหวาง 8 และ 12 คือ

4 6

จํานวนที่อยูระหวาง 8 และ 12 คือ

−4 6

ลําดับเรขาคณิต 2, –6, 18, ... ที่มี a1 = 2 และ r = –3 จาก an = a1rn–1 จะได 162 = 2(–3)n–1 81 = (–3)n–1 (–3)4 = (–3)n–1 n–1 = 4 n = 5 ดังนั้น 162 เปนพจนที่ 5 ของลําดับเรขาคณิต 2, –6, 18, ...


57

14.

15.

ในป พ.ศ. 2540 มีประชากร 60,000 คน และแตละปมีประชากรเพิ่มขึ้น 2% ถาเดิมมีประชากร 60000 คน สิ้นปแรกจะมีประชากร 60000 × 1.02 ถาเดิมมีประชากร 60000 × 1.02 คน สิ้นปจะมีประชากร 60000 × (1.02)2 ถาเดิมมีประชากร 60000 × (1.02)2 คน สิ้นปจะมีประชากร 60000 × (1.02)3 ดังนั้น จํานวนประชากรในอีก n ป ขางหนานับจากป พ.ศ. 2540 คือ 60000 × (1.02)n ในป พ.ศ. 2555 หรืออีก 15 ปตอไป จะมีประชากรเทากับ 60000 × (1.02)15 ≈ 80,752 คน 1) 2) 3) 4)

ลําดับ 7, 9, 11, 13, ..., เปนลําดับเลขคณิต มีผลตางรวมเปน 2 ลําดับ 6, –6, 6, –6, ..., เปนลําดับเรขาคณิต มีอัตราสวนรวมเปน –1 ลําดับ 4, 2, 0, –2, ..., เปนลําดับเลขคณิต มีผลตางรวมเปน –2 ลําดับ 3, 1, 13 , 19 , ..., เปนลําดับเรขาคณิต มีอัตราสวนรวมเปน

5)

ลําดับ

1 3

1 , − 2 , − 1 , − 4 , ..., 4 5 2 7

ไมเปนทั้งลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต

เฉลยแบบฝกหัด 1.2.1 1.

ลําดับเลขคณิต 5, 7, 9, 11, 13, ... มี a1 = 5 n = {2a1 + (n – 1)d} จาก Sn จะได

S50

=

2 50 {2(5) + (50 – 1)2} 2

= =

25(108) 2,700

และ d = 2

คน คน คน คน คน


58

2.

ลําดับเลขคณิต 0, 2, 4, 6, 8, ... มี a1 = 0 n = {2a1 + (n – 1)d} จาก Sn จะได

3.

= =

15(58) 870

S40

=

2 40 {2(2) + (40 – 1)4} 2

= =

20(160) 3,200

ลําดับเลขคณิต –2, 3, 8, 13, 18, ... มี a1 = –2 n = {2a1 + (n – 1)d} จาก Sn จะได

5.

=

ลําดับเลขคณิต 2, 6, 10, 14, 18, ... มี a1 = 2 และ d = 4 n จาก Sn = {2a1 + (n – 1)d} จะได

4.

S30

2 30 {2(0) + (30 – 1)2} 2

และ d = 2

S60

=

2 60 {2(–2) + (60 – 1)5} 2

= =

30(291) 8,730

และ d = 5

ลําดับเลขคณิต 5, 2, –1, –4, –7, ... มี a1 = 5 และ d = –3 n = {2a1 + (n – 1)d} จาก Sn จะได

S75

= = =

2 75 {2(5) + (75 – 1)(–3)} 2 75 (–212) 2

–7,950


59

6.

1 , 2

ลําดับเลขคณิต

3 , 2

1,

จาก

Sn

=

จะได

S50

=

2,

= ลําดับเลขคณิต

1 1 , , 3 3

จาก

Sn

=

จะได

S100

= = =

8.

1)

มี a1 =

1 2

และ d =

1 2

n {2a1 + (n – 1)d} 2 50  1  {2   + (50 – 1)  1  } 2 2 2 25  51   2 1275 2

=

7.

5 , ... 2

1,

5 7 , , ... มี a1 = − 1 และ 3 3 3 n {2a1 + (n – 1)d} 2 100  1  {2  −  + (100 – 1)  2  } 2  3 3 50  196   3  9800 3

d=

2 3

ลําดับ 6, 9, 12, 15, ..., 99 เปนลําดับเลขคณิต ที่มี a1 = 6 และ d = 3 = a1 + (n – 1)d จาก an จะได 99 = 6 + (n – 1)3 n = 32 และ S32 = 6 + 9 + 12 + 15 + ... + 99 n จาก Sn = (a1 + a n ) S32

=

2 32 (6 + 99) 2

= =

16 (105) 1,680


60

2)

เนื่องจากลําดับ –7, –10, –13, –16, ..., –109 เปนลําดับเลขคณิต ที่มี a1 = –7 และ d = –3 จาก an = a1 + (n – 1)d –109 = (–7) + (n – 1)(–3) จะได n = 35 และ S35 = (–7) + (–10) + (–13) + (–16) + ... + (–109) 35 {(–7)+(–109)} = 2

= = 3)

35(–58) –2030

เนื่องจากลําดับ –7, –4, –1, 2, ..., 131 เปนลําดับเลขคณิต ที่มี a1 = –7 และ d = 3 จาก an = a1 + (n – 1)d 131 = –7 + (n – 1)3 จะได n = 47 และ S47 = (–7) + (–4) + (–1) + 2 + ... + 131 47 {(–7) + 131} = 2

= = 9.

ให a1 = 6, d = 4 และ จาก an = 26 = n = จาก Sn = จะได

S6

47(62) 2914 an = 26 a1 + (n – 1)d 6 + (n – 1)4 6 n (a1 + an)

=

2 6 (6 + 26) 2

= =

3(32) 96


61

10.

ใหผลบวกของจํานวนเต็มคี่บวก 100 จํานวนแรกเขียนแทนดวยอนุกรม 1 + 3 + 5 + 7 + 9 + ... + 199 ซึ่งจะเห็นวา อนุกรมขางตนเปนอนุกรมเลขคณิตที่มี a1 = 1 และ an = 199 n = (a1 + an) จาก Sn จะได

11.

= = =

50(200) 10,000

ใหผลบวกของจํานวนเต็มบวก 20 จํานวนแรกที่เปนพหุคูณของ 3 เขียนแทนดวยอนุกรม 3 + 6 + 9 + ... + 60 จะเห็นวา อนุกรมขางตนเปนอนุกรมเลขคณิตที่มี a1 = 3 และ an = 60 n จาก Sn = (a1 + an) จะได

12.

S100

2 100 (1 + 199) 2

S20

=

2 20 (3 + 60) 2

= =

10(63) 630

ใหผลบวกของจํานวนคี่ตั้งแต 17 ถึง 379 เขียนแทนดวยอนุกรม 17 + 19 + 21 + ... + 379 จะเห็นวา อนุกรมขางตนเปนอนุกรมเลขคณิต ที่มี a1 = 17 และ d = 2 จาก an = a1 + (n – 1)d 379 = 17 + (n – 1)2 จะได n = 182 n = (a1 + an) จาก Sn จะได

S182

=

2 182 (17 + 379) 2

= =

91(396) 36,036


62

13.

กําหนดให a10 = 20, a5 = 10 จะได a1 + 9d = 20 ---------- (1) และ a1 + 4d = 10 ---------- (2) (2) – (1) 5d = 10 d = 2 แทนคา d = 2 ใน (1) จะได a1 = 2 = 2 + (7 – 1)(2) = 14 เพราะวา a7 a15 = 2 + (15 – 1)(2) = 30 n = (a1 + an) จาก Sn 2

เนื่องจากผลบวกพจนที่ 8 ถึง 15

14.

= =

S15 – S7 15 (2 + 30) – 7 (2 + 14)

= =

15(16) – 7(8) 184

2

2

ใหเงินเดือนที่ชายคนนี้ไดรับตั้งแตป พ.ศ. 2540 เขียนแทนดวยลําดับเลขคณิตดังนี้ 9500, 10200, 10900, 11600, ... ลําดับขางตนเปนลําดับเลขคณิตที่มี a1 = 9500 และ d = 700 จาก an = a1 + (n – 1)d เมื่อ n = 11 จะได a11 = 9500 + (11 – 1)700 = 9500 + 10(700) = 16,500 นั่นคือ ในป พ.ศ. 2550 เขาจะไดรับเงินเดือนเดือนละ 16,500 บาท


63

15.

ใหจํานวนเงินที่ทิมเก็บออมตั้งแตวันแรกเขียนแทนดวยอนุกรม 1 + 2 + 3 + ... + 30 อนุกรมขางตนเปนอนุกรมเลขคณิตที่มี a1 = 1, a30 = 30 n จาก Sn = (a1 + an) S30

=

2 30 (1 + 30) 2

= 15(31) = 465 นั่นคือ ครบ 30 วัน ทิมมีเงินออมทั้งหมด 465 บาท

เฉลยแบบฝกหัด 1.2.2 1.

1)

กําหนดให n = 4, a1 = 3, r = 2 จาก

2)

Sn

=

จะได S4

=

a1 (r n − 1) r −1 3(24 − 1) 2 −1

= 3(15) = 45 กําหนดให n = 7, a1 = 5, r = 4 จาก

Sn

=

จะได S7

= = =

a1 (r n − 1) r −1 5(47 − 1) 4 −1 5(16383) 3

27305


64

3)

กําหนดให n = 9, a1 = –3, r = 5 จาก

Sn

=

จะได S9

= = =

4)

Sn

=

จะได S11

= = =

a1 (r n − 1) r −1 (−7)(311 − 1) 3 −1 7 11 − (3 − 1) 2

–620,011

กําหนดให n = 14, a1 = –5, r = –2 จาก

Sn

=

จะได S14

= = =

2.

–1,464,843

กําหนดให n = 11, a1 = –7, r = 3 จาก

5)

a1 (r n − 1) r −1 (−3)(59 − 1) 5 −1 3 − (59 − 1) 4

a1 (r n − 1) r −1 (−5)((−2)14 − 1)] −2 − 1 5 (16383) 3

27,305

อนุกรมเรขาคณิต 2 + 6 + 18 + 54 + ... จาก

Sn

=

จะได

S9

= =

a1 (r n − 1) r −1 2(39 − 1) 3 −1

19,682

มี a1 = 2 และ r = 3


65

3.

จาก

Sn

=

จะได

S8

= = =

4.

5.

64 + ... 3 a1 (r n − 1) r −1  4  9 ( )8 − 1  3  4 −1 3  4  27 ( )8 − 1  3 

อนุกรมเรขาคณิต 9 + 12 + 16 +

อนุกรมเรขาคณิต จาก

Sn

จะได

S10

1)

มี a1 = 9

และ r =

4 3

58975 243

2 4 8 16 + + + + ... มี 3 9 27 81 a1 (r n − 1) = r −1 2 2 (1 − ( )10 ) 3 3 = 2 1− 3

=

2(1 – ( 23 )10)

=

116, 050 59, 049

a1 = =

2 3

และ r =

2 3

a1 (1 − r n ) 1− r

อนุกรมเรขาคณิต 9 + 27 + 81 + ... + 729 มี a1 = 9, r = 3, an = 729 = a1rn–1 จาก an จะได 729 = 9(3)n–1 81 = 3n–1 34 = 3n–1 n–1 = 4 n = 5


66

จาก

Sn

=

จะได

S5

= = =

2)

1,089

อนุกรมเรขาคณิต 2 + 8 + 32 + ... + 8192 มี a1 = 2, r = 4, an = 8192 จาก an = a1rn–1 จะได 8192 = 2(4)n–1 4096 = 4n–1 46 = 4n–1 n–1 = 6 n = 7 จาก

Sn

=

จะได

S7

= =

3)

a1 (r n − 1) r −1 9(35 − 1) 3 −1 9(242) 2

a1 (r n − 1) r −1 2(47 − 1) 4 −1

10,922

อนุกรมเรขาคณิต 4 + 2 + 1 + ... + จาก

an

จะได

1 512

1 2048 11

1   2

n–1

=

a1r

=

4  1  2

=

1  2 

=

1   2

n–1 = n =

11 12

n −1

n −1

n −1

1 512

มี a1 = 4, r = 1 , an = 2

1 512


67

จาก

Sn

=

จะได

S12

= = =

4)

a1 (1 − r n ) 1− r 1 4(1 − ( )12 ) 2 1 1− 2 1 8(1 − 12 ) 2 4095 512

อนุกรมเรขาคณิต 16 + 8 + 4 + ... + n–1

จาก

an

=

a1r

จะได

1 32

=

16  1 

=

1  2 

=

1   2

n

=

10

จาก

Sn

=

จะได

S10

=

a1 (1 − r n ) 1− r 1 16(1 − ( )10 ) 2 1 1− 2 1 32(1 − 10 ) 2 1023 32

1 512 1   2

9

= =

n −1

2 n −1

n −1

1 32

มี a1 = 16, r = 1 , an = 2

1 32


68

5)

อนุกรมเรขาคณิต 1 + (–2) + 4 + ... + 256 มี a1 = 1, r = –2, an = 256 จาก an = a1rn–1 จะได 256 = 1(–2)n–1 28 = (–2)n–1 (–2)8 = (–2)n–1 n–1 = 8 n = 9 จาก

Sn

=

จะได

S9

= =

6)

a1 (1 − r n ) 1− r 1(1 − (−2)9 ) 1 − (−2)

171

อนุกรมเรขาคณิต (–1) + 3 + (–9) + ... + (–729) มี a1 = –1, r = –3, an = –729 จาก an = a1rn–1 จะได –729 = (–1)(–3)n–1 729 = (–3)n–1 36 = (–3)n–1 (–3)6 = (–3)n–1 n = 7 จาก

Sn

=

จะได

S7

= =

a1 (1 − r n ) 1− r (−1)(1 − (−3)7 ) 1 − (−3)

–546.5


69

6.

ใหเงินที่พลเก็บออมตั้งแตวันแรกเขียนแทนดวยอนุกรมเรขาคณิต 1 + 2 + 4 + 8 + ... + 214 ที่มี a1 = 1, r = 2, n = 15 จาก

Sn

=

จะได

S15

=

a1 (r n − 1) r −1 1(215 − 1) 2 −1

= 215 – 1 = 32,767 นั่นคือ เมื่อครบ 15 วัน พลจะมีเงินออมทั้งหมด 32,767 บาท 7.

ซื้อรถยนตมาในราคา 1,000,000 บาท ในแตละปราคารถยนตคันนี้ลดลง 20% รถยนตราคา 1,000,000 หรือ 106 บาท เมื่อสิ้นป (ครบ 1 ป) ราคารถยนตจะเทากับ 80 บาท 106 × 100

รถยนตราคา  80  106 ×    100 

2

รถยนตราคา  80  10 ×    100  6

3

 80  106 ×    100 

บาท เมื่อสิ้นป (ครบปที่ 2) ราคารถยนตจะเทากับ

บาท  80  106 ×    100 

2

บาท เมื่อสิ้นป (ครบปที่ 3) ราคารถยนตจะเทากับ

บาท

ดังนั้น เมื่อครบ 5 ป รถยนตคันนี้มีมูลคาทางบัญชี = = = =

8 106 ×   10  6 10 × 85 5 10

5

10 × 85

327,680 บาท

 80  10 ×    100  6

5

บาท


70

8.

เมื่อวางแผนยอดขายเทากับ 300,000 บาท แตละไตรมาสตองการใหยอดขายเพิ่มขึ้น 3% ยอดขาย 300,000 ครบไตรมาสแรก ยอดขายจะเทากับ 300,000 × 103 บาท 100

2

ยอดขาย 300,000 × 103 ครบไตรมาสที่สอง ยอดขายจะเทากับ 300,000×  103  บาท 100

 100 

2

3

ยอดขาย 300,000 ×  103  ครบไตรมาสที่สาม ยอดขายจะเทากับ 300,000×  103  บาท  100 

 100 

ดังนั้น เมื่อครบ 2 ป (8 ไตรมาส) ยอดขายจะเทากับ 300,000 ≈ ≈

9.

ถังน้ําจุ 5,832 ลิตร แตละวันจะใชน้ําไป

1 3

วันที่สองมีน้ํา วันที่สามมีน้ํา

5832 ×  2  3

บาท

ของปริมาณน้ําในถังที่มีอยู 2 3

ลิตร

5832 ×  2  3

ลิตร เมื่อใชน้ําแลวมีน้ําเหลืออยู 2

 103  ×   100 

300,000 × (1.26677) 380,031

วันแรกมีน้ํา 5832 ลิตร เมื่อใชน้ําแลวมีน้ําเหลืออยู 5832 × 5832 × 2 3

8

ลิตร เมื่อใชน้ําแลวมีน้ําเหลืออยู

2

ลิตร

5832 ×  2  3

3

ลิตร

6

ดังนั้น เมื่อครบ 6 วัน จะมีน้ําเหลืออยูในถัง 5832 ×  2  ลิตร = 512 ลิตร 3

10.

ถังใบหนึ่งมีน้ําอยู 20 ลิตร ตักน้ําออกจากถังครึ่งหนึ่ง แลวแทนดวยของเหลว จากนั้นตักน้ําที่มีสวนผสมของของเหลวออกมาครึ่งถัง แสดงวา แตละครั้งเมื่อตักแลวปริมาณน้ําจะลดลง 50% เดิมมีน้ํา 20 ลิตร ตักน้ําออกจากถังครั้งที่ 1 จะมีน้ําเหลืออยู 20 × 1 ลิตร 2

2

เดิมมีน้ํา 20 × 1 ลิตร เมื่อตักออกครั้งที่ 2 จะมีน้ําเหลืออยู 20 ×  1  ลิตร 2

เดิมมีน้ํา

20 × 1 ลิตร 2

2

เมื่อตักออกครั้งที่ 3 จะมีน้ําเหลืออยู

ดังนั้น เมื่อครบ 8 ครั้ง จะมีน้ําเหลืออยูในถัง

8

20 ×  1  2

20 ×  1  2

ลิตร =

3

5 64

ลิตร ลิตร


87

ผลบวก จํานวนวิธี

2 1

3 2

4 3

5 4

6 3

7 2

8 1

ให E1, E2, E3 และ E4 เปนเหตุการณในขอ 2), 3), 4) และ 5) 2) P(E1) =

3 16

3) P(E2) =

6 16

หรือ

3 8

4) P(E3) =

12 16

หรือ

3 4

5) P(E4) =

3 16

เฉลยแบบฝกหัด 2.1 1.

เสนทางที่จะขับรถจากกรุงเทพฯ ถึงนครราชสีมาโดยผานลพบุรีที่ตางกันมีทั้งหมด 3 × 4 หรือ 12 เสนทาง ใชแผนภาพตนไมแสดงเสนทางการเดินทางขางตนไดดังนี้ ให ล1, ล2 และ ล3 แทนถนนจากกรุงเทพฯ ถึงลพบุรีซึ่งมี 3 สาย ให น1, น2, น3 และ น4 แทนถนนจากลพบุรีถึงนครราชสีมาซึ่งมี 4 สาย


88

น1 น2 น3 น4 น1 น2 น3 น4 น1 น2 น3 น4

ล1

ล2

กรุงเทพฯ

ล3

จะเห็นไดวามีวิธีเลือกเสนทางจากกรุงเทพฯ ถึงนครราชสีมาโดยผานลพบุรีไดทั้งหมด 12 วิธี คือ (ล1, น1), (ล1, น2), (ล1, น3), (ล1, น4), (ล2, น1), (ล2, น2), (ล2, น3), (ล2, น4), (ล3, น1), (ล3, น2), (ล3, น3), (ล3, น4) 2.

ให ห1, ห2 และ ห3 แทนเหรียญที่ 1, 2 และ 3 ขึ้นหัว ก1, ก2 และ ก3 แทนเหรียญที่ 1, 2 และ 3 ขึ้นกอย ห2 ห1

ก2 ห2

ก1

ก2

ห3 ก3 ห3 ก3 ห3 ก3 ห3 ก3

ผลที่เกิดจากการโยนเหรียญแตละครั้งจะเปนหัวหรือกอย มี 2 วิธี ดังนั้น การโยนเหรียญสามเหรียญจะไดผลตางกันทั้งหมด 2 × 2 × 2 = 8 วิธี


89

3.

ตองใชเสื้อทั้งหมดเทากับ 4 × 6 × 3 = 72 ตัว

4.

คําตอบของขอแรกมีวิธีใหเลือก 2 วิธี ในแตละวิธีเลือกคําตอบขอแรกจะมีวิธีเลือกคําตอบขอสอง 2 วิธี ในแตละวิธีที่เลือกคําตอบขอแรกและขอสองจะมีวิธีเลือกคําตอบขอสามได 2 วิธี ในแตละวิธีที่เลือกคําตอบขอแรกถึงขอสามจะมีวิธีเลือกคําตอบขอสามได 2 วิธี M

M

ในแตละวิธีที่เลือกคําตอบขอแรกถึงขอเกาจะมีวิธีเลือกคําตอบขอสิบ 2 วิธี ดังนั้น จะมีวิธีตอบขอสอบชุดนี้ไดตาง ๆ กัน 2 ⋅ 2 ⋅ ... ⋅ 2 = 210 = 1024 วิธี 5.

หมายเลขโทรศัพทประกอบดวยเลขโดด 9 ตัว ซึ่งไดแก 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9 ตําแหนงที่ 1 มีได 1 วิธีคือ เลขโดด 0 ตําแหนงที่ 2 มีได 1 วิธีคือ เลขโดด 2 ตําแหนงที่ 3 มีได 1 วิธีคือ เลขโดด 3 ตําแหนงที่ 4 มีได 1 วิธีคือ เลขโดด 9 ตําแหนงที่ 5 มีได 1 วิธีคือ เลขโดด 2 ตําแหนงที่ 6, 7, 8 และ 9 แตละตําแหนงอาจเปนเลขโดดตัวใดตัวหนึ่งจาก 0 – 9 ซึ่งเปนไปได 10 วิธี ดังนั้น หมายเลขโทรศัพทที่หาตัวแรกเปน 02392 มีไดทั้งหมด 1 × 1 × 1 × 1 × 1 × 10 × 10 × 10 × 10 = 10,000 หมายเลข

6.

จํานวนวิธีที่จะเขาสนามกีฬาโดยใชประตูใดประตูหนึ่ง มีได 4 วิธี จํานวนวิธีที่จะออกจากสนามกีฬาโดยใชประตูที่ไมซ้ํากับประตูที่เขามา มีได 3 วิธี ดังนั้น จํานวนวิธีเขาและออกจากสนามกีฬาแหงนี้มีไดทั้งหมด 4 × 3 = 12 วิธี

7.

1)

ผลที่ไดจากการทอดลูกเตาลูกแรกมี 6 วิธี คือ 1, 2, 3, 4, 5, 6 และในแตละ วิธีของผลที่ไดจากการทอดลูกเตาลูกแรก จํานวนวิธีที่แตมที่ไดตรงกันมีได 1 วิธี ดังนั้น วิธีที่จะใหจํานวนแตมตรงกันมี 6 × 1 = 6 วิธี


90

8.

2)

การที่ผลรวมของแตมบนหนาลูกเตาสองลูกจะเทากับ 10 มี 3 วิธี คือ แตมของ ลูกเตาลูกแรกเปน 4, 5 หรือ 6 (เพราะแตม 1, 2, 3 ไมมีโอกาสที่จะรวมกับ แตมของลูกที่สองแลวเทากับ 10) และในแตละวิธีของการทอดลูกเตาลูกแรก จะไดผลรวมของแตมเทากับ 10 มีเพียง 1 วิธี คือ 4 และ 6, 5 และ 5, 6 และ 4 ดังนั้น จํานวนวิธีที่จะไดผลรวม ของแตมเทากับสิบมีได 3 วิธี

3)

ในแตละครั้งที่ปรากฏผลจากการทอดลูกสองลูกพรอมกัน การที่แตมของ ลูกเตาลูกที่สองจะตางจากลูกแรกมีได 5 วิธี แตเนื่องจากในการทอดลูกเตาลูกแรกจะปรากฏผลไดทั้งหมด 6 วิธี ดังนั้น จํานวนวิธีที่แตมของลูกเตาสองลูกตางกันเทากับ 6 × 5 = 30 วิธี

4)

จํานวนวิธีที่เกิดผลลัพธทั้งหมดในการทอดลูกเตา 2 ลูกมี 6 × 6 หรือ 36 วิธี จํานวนวิธีทั้งหมดที่ผลรวมของแตมเทากับสิบมี 3 วิธีคือ 4 + 6, 5 + 5, 6 + 4 จํานวนวิธีทั้งหมดที่ผลรวมของแตมเทากับสิบเอ็ดมี 2 วิธี คือ 5 + 6, 6 + 5 จํานวนวิธีทั้งหมดที่ผลรวมของแตมเทากับสิบสองมี 1 วิธี คือ 6 + 6 จะไดวา จํานวนวิธีทั้งหมดที่จะไดผลลัพธมากกวาหรือเทากับสิบจะเทากับ 3 + 2 + 1 หรือ 6 วิธี ดังนั้น จํานวนวิธีที่จะไดผลรวมของแตมนอยกวาสิบมี 36 – 6 หรือ 30 วิธี

เลขโดดในหลักทั้งสี่ตางเปนสมาชิกของเซต S = {0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9} 1) ในหลักพันจะมีเลขโดดที่เปนไปได 9 วิธี คือ เปนสมาชิกตัวใดตัวหนึ่งของเซต S ก็ได ยกเวน 0 ในหลักรอยจะมีเลขโดดที่เปนไปได 10 วิธี คือ เปนสมาชิกตัวใดตัวหนึ่งของเซต S ในหลักสิบจะมีเลขโดดเปนไปได 10 วิธี คือ เปนสมาชิกตัวใดตัวหนึ่งของเซต S ในหลักหนวยจะมีเลขโดดที่เปนไปได 10 วิธี คือ เปนสมาชิกตัวใดตัวหนึ่งของเซต S ดังนั้น จํานวนวิธีที่จะเขียนจํานวนเต็มบวกซึ่งมีสี่หลักมีทั้งหมดเทากับ 9 × 10 × 10 × 10 หรือ 9,000 วิธี


91

2)

3)

จํานวนคี่ใด ๆ จะตองมีหลักหนวยเปน 1, 3, 5, 7, 9 ซึ่งมีได 5 วิธี ดังนั้น จํานวนวิธีที่จะเขียนจํานวนคี่บวกซึ่งเปนจํานวนที่มีสี่หลักมีทั้งหมด 9 × 10 × 10 × 5 = 4,500 วิธี จํานวนวิธีที่จะเขียนจํานวนเต็มบวกที่มีสี่หลักและมีหลักหนวยเปน 0 มีทั้งหมด 9 × 10 × 10 × 1 = 900 วิธี

9.

ทะเบียนรถยนตประกอบดวยพยัญชนะ 1 ตัว และเลขโดดอีก 4 ตัว ดังนั้น จํานวนทะเบียนรถที่จะมีไดทั้งหมด 44 × 104 ทะเบียน แตถาคิดวาหมายเลข 0000 ซึ่งมีทั้งหมด 44 รายการ กองทะเบียนจะไมออก ทะเบียนให จะมีทะเบียนรถยนตไดทั้งหมด 44(104 – 1) ทะเบียน ในกรณีที่กองทะเบียนรถยนตเปลี่ยนระบบใหมโดยใชตัวเลข 1 ถึง 9 นําหนา พยัญชนะและตามดวยเลขโดด 4 ตัว ดังนั้น ในระบบใหมกองทะเบียนจะออกทะเบียนไดทั้งหมด (9)(44)(104 – 1) ทะเบียน นั่นคือ กองทะเบียนจะออกหมายเลขทะเบียนรถยนตเพิ่มขึ้นจากเดิมได 9 × 44(104 – 1) – 44(104 – 1) = 44(104 – 1)(9 – 1) = 352(104 – 1) ทะเบียน = 3,519,648 ทะเบียน

10.

จํานวนทะเบียนที่มีตัวเลข 1 หลัก มีได 9 แบบ (1 – 9) จํานวนทะเบียนที่มีตัวเลข 2 หลัก มีได 90 แบบ (10 – 99) จํานวนทะเบียนที่มีตัวเลข 3 หลัก มีได 900 แบบ (100 – 999) จํานวนทะเบียนที่มีตัวเลข 4 หลัก มีได 9000 แบบ (1000 – 9999) ดังนั้น จํานวนหมายเลขทะเบียนที่แตกตางกันมีไดทั้งหมด 44 × 44 × 9999 หรือ 19,358,064 ทะเบียน

11.

มีวิธีเขียนจํานวนเต็มบวกที่มีสองหลักจากตัวเลข 1 ถึง 7 ได 7 × 7 = 49


92

12.

13.

1)

จํานวนคูจะตองมีหลักหนวยเปน 2, 4, 6, 8 เนื่องจากจํานวนคูที่ตองการใหเลือกจากเลขโดด 2 – 9 ซึ่งมีทั้งหมด 8 ตัว ดังนั้น การเขียนจํานวนคูซึ่งเปนจํานวนเต็มบวกที่มีสามหลักจากเลขโดดที่กําหนด ใหเขียนไดทั้งหมด 8 × 8 × 4 = 256 วิธี

2)

จํานวนคี่จะตองมีหลักหนวยเปน 1, 3, 5, 7 ดังนั้น การเขียนจํานวนคี่ซึ่งเปนจํานวนเต็มบวกที่มีสี่หลักจากเลขโดดที่กําหนด ใหเขียนไดทั้งหมด 8 × 8 × 8 × 4 = 2,048 วิธี

จํานวนวิธีทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการทอดลูกเตาสามลูก มีทั้งหมด 6 × 6 × 6 หรือ 216 วิธี ผลบวกของแตมบนหนาลูกเตาทั้งสามที่นอยกวาหรือเทากับ 4 มีทั้งหมด 4 วิธี ดังนี้ แตมบนหนาลูกเตา ลูกที่ 1 ลูกที่ 2 ลูกที่ 3

1 1 1 2

1 1 2 1

1 2 1 1

ผลรวม ของแตม

3 4 4 4

ดังนั้น จํานวนวิธีที่ผลบวกของแตมบนหนาลูกเตาสามลูกมากกวาสี่ เทากับ 216 – 4 หรือ 212 วิธี 14.

เนื่องจากจํานวนนับที่เปนจํานวนสามหลักที่มากกวา 400 จะตองมีเลขโดดในหลักรอย เปน 4 หรือ 5 การเขียนจํานวนดังกลาวมีได 2 วิธี ดังนั้น จํานวนนับที่มีสามหลักที่ตองการจะมีได 2 × 3 × 2 = 12 จํานวน จํานวนนับที่มีสี่หลักมีได 4 × 3 × 2 ×1 = 24 จํานวน นั่นคือ จํานวนนับที่มากกวา 400 และเปนจํานวนไมเกินสี่หลักตามตองการ มีทั้งหมด 12 + 24 = 36 จํานวน


93

เฉลยแบบฝกหัด 2.2 1.

มีถุงเทา 4 คู เปนถุงเทาสีดํา 2 คู ใหเปน ด1, ด2 และเปนถุงเทาสีขาว 2 คู ใหเปน ข1, ข2 ดังนั้น S = {(ด1, ด2), (ด1, ข1), (ด1, ข2), (ด2, ข1), (ด2, ข2), (ข1, ข2)} E เปนเหตุการณที่จะหยิบถุงเทาสองคูใหไดสีเดียวกัน นั่นคือ E = {(ด1, ด2), (ข1, ข2)} ดังนั้น P(E) = 2 หรือ 1 6

2.

มีนักเรียนทั้งหมด 30 คน เปนนักเรียนชาย 18 คน นักเรียนหญิง 12 คน 1) ความนาจะเปนที่จะจับสลากใบแรกเปนนักเรียนชายเทากับ 18 = 2)

3.

3

ความนาจะเปนที่จะจับสลากใบแรกเปนนักเรียนหญิงเทากับ

มีเบี้ย 6 อัน แตละอันเขียนตัวเลข 3, 4, 7, 9, 10, 11 กํากับไว 1) เบี้ยที่เขียนเปนจํานวนคูไวมีสองอันคือ 4 และ 10 ดังนั้น โอกาสที่จะไดเบี้ยที่มีตัวเลขที่เปนจํานวนคูเทากับ 2) 3)

2 6

เบี้ยที่เขียนเปนจํานวนเฉพาะไวมี 3 อัน คือ 3 , 7 และ 11 ดังนั้น โอกาสที่จะไดเบี้ยที่มีตัวเลขที่เปนจํานวนเฉพาะเทากับ

=

หรือ 3 6

1 3

หรือ

1 2

เบี้ยที่เขียนเปนจํานวนที่หารดวย 3 ลงตัว มี 2 อัน คือ 3 และ 9 ดังนั้น โอกาสที่จะไดเบี้ยที่มีตัวเลขที่เปนจํานวนที่หารดวย 3 ลงตัวเทากับ 2 หรือ 1 6

4)

30 12 30

3 5 2 5

3

เบี้ยที่เขียนตัวเลขที่เปนจํานวนที่เปนกําลังสองสมบูรณมี 2 อัน คือ 4 และ 9 ดังนั้น โอกาสที่จะไดเบี้ยที่มีตัวเลขที่เปนจํานวนที่เปนกําลังสองสมบูรณ เทากับ 2 หรือ 1 6

3


94

4.

เหรียญบาท 100 เหรียญ แตละเหรียญเขียนตัวเลขกํากับไวตั้งแต 1 ถึง 100 1) ให E1 เปนเหตุการณที่จะสุมเหรียญแลวไดตัวเลขบนเหรียญเปนจํานวนคู จะได E1 = {2, 4, 6, ..., 98, 100} 50 = 1 P(E1) = 100

2)

ให E2 เปนเหตุการณที่จะสุมเหรียญแลวไดตัวเลขบนเหรียญเปนจํานวน ที่มีรากที่สองเปนจํานวนเต็ม = {1, 4, 9, 16, 25, 36, 49, 64, 81, 100} จะได E2 10 = 1 P(E2) = 100

3)

10

ให E3 เปนเหตุการณที่จะสุมเหรียญแลวไดตัวเลขบนเหรียญเปนจํานวน ที่หารดวย 5 ลงตัว จะได E3 = {5, 10, 15, 20, 25, ...., 90, 95, 100} 20 P(E3) = = 1 100

4)

2

5

เนื่องจาก 1 ถึง 100 มีจํานวนที่เปนจํานวนคี่อยู 50 จํานวน พิจารณาจํานวนคูที่มีคาตั้งแต 1 ถึง 100 และหารดวย 3 ลงตัว จะพบวา จํานวนดังกลาวเขียนไดในรูปลําดับเลขคณิต 6, 12, 18, 24, ..., 96 เมื่อ a1 = 6 และ d = 6 จาก an = a1 + (n – 1)d จะได 96 = 6 + (n – 1)6 96 = 6 + 6n – 6 n = 16 ดังนั้น จํานวนคี่หรือจํานวนที่หารดวย 3 ลงตัว ซึ่งมีคาตั้งแต 1 ถึง 100 มีทั้งหมด 50 + 16 หรือ 66 จํานวน นั่นคือ ความนาจะเปนที่ตัวเลขที่เขียนกํากับเหรียญที่หยิบไดจะเปนจํานวนคี่ หรือจํานวนที่หารดวย 3 ลงตัว เทากับ 66 หรือ 33 100

50


95

5.

6.

ในงานปใหมของอําเภอหนึ่ง มีการขายสลากจํานวน 1,000 ใบ 1) ถาซื้อสลาก 1 ใบ ความนาจะเปนที่จะถูกรางวัลที่ 1 เปน

1 1, 000 10 1, 000

ถาซื้อสลาก 10 ใบ ความนาจะเปนที่จะถูกรางวัลที่ 1 เปน

1)

7 20

2)

จํานวนนักเรียนที่สวมรองเทาที่เล็กกวาเบอร 8 มี 3 + 12 + 35 หรือ 50 คน ความนาจะเปนที่นักเรียนคนหนึ่งจะสวมรองเทาขนาดเล็กกวาเบอร 8 เทากับ 50 หรือ 1 100

3)

=

1 100

2)

2

จํานวนนักเรียนที่สวมรองเทาเบอร 8 หรือ 9 มี 27 + 16 = 43 คน ความนาจะเปนที่นักเรียนคนหนึ่งจะสวมรองเทาขนาดเบอร 8 หรือเบอร 9 เทากับ 43 100

4)

จํานวนนักเรียนที่สวมรองเทาเบอร 5 หรือ 10 มี 3 + 7 หรือ 10 คน ความนาจะเปนที่นักเรียนคนหนึ่งจะสวมรองเทาขนาดเบอร 5 หรือเบอร 10 เทากับ 1 10

5)

จํานวนนักเรียนที่สวมรองเทาใหญกวาเบอร 7 มี 27 + 16 + 7 หรือ 50 คน ความนาจะเปนที่นักเรียนคนหนึ่งจะสวมรองเทาขนาดเบอร ใหญกวาเบอร 7 เทากับ 50 หรือ 1 100

7.

2

ใหหลอดไฟที่ดี 3 หลอด แทนดวย ด1, ด2 และ ด3 หลอดไฟที่เสีย 2 หลอด แทนดวย ส1 และ ส2 ถาหยิบหลอดไฟสองหลอดจะปรากฏผลไดทั้งหมด 10 วิธี ดังนี้ ด1 และ ด2 * ด2 และ ส1 ด1 และ ด3 * ด2 และ ส2 ด2 และ ด3 * ด3 และ ส1 * ด1 และ ส1 * ด3 และ ส2 * ด1 และ ส2 ส1 และ ส2 จากผลขางตนจะพบวา ความนาจะเปนที่จะหยิบไดหลอดดีและหลอดเสีย อยางละ 1 หลอด เทากับ 6 หรือ 3 10

5


96

8.

9.

ถุงใบหนึ่งมีลูกปงปองสีแดง 15 ลูก สีขาว 1 ลูก สีเหลือง 1 ลูก สีเขียว 1 ลูก สีฟา 1 ลูก และสีดํา 1 ลูก รวมทั้งหมด 20 ลูก 1) ความนาจะเปนที่จะหยิบไดลูกบอลสีแดงเทากับ 15 หรือ 3 2)

ความนาจะเปนที่จะหยิบไมไดลูกบอลสีดําเทากับ

3)

ความนาจะเปนที่จะหยิบไดลูกบอลสีดําหรือสีขาว

20 19 20 2 20

ความนาจะเปนของเหตุการณที่นักเรียนจะดื่มน้ําผลไมเทากับ 2 5

ความนาจะเปนของเหตุการณที่นักเรียนจะดื่มนมเทากับ

4

หรือ 1 4

หรือ 0.25

หรือ 0.4

ความนาจะเปนของเหตุการณที่นักเรียนจะดื่มน้ํานมถั่วเหลืองเทากับ ความนาจะเปนของเหตุการณที่นักเรียนจะดื่มน้ําอัดลมเทากับ 1)

3 10

1 20

หรือ 0.05

หรือ 0.3

1)

เนื่องจากความนาจะเปนของเหตุการณที่นักเรียนจะดื่มนมเทากับ 0.4 ซึ่งมีคามากที่สุด ดังนั้น นมเปนเครื่องดื่มที่ขายดีที่สุด เนื่องจากความนาจะเปนของเหตุการณที่นักเรียนจะดื่มน้ํานมถั่วเหลือง เทากับ 0.05 ซึ่งมีคานอยที่สุด ดังนั้น น้ํานมถั่วเหลืองเปนเครื่องดื่มที่ขายไดนอยที่สุด เมื่อเรียงลําดับคาของความนาจะเปนขางตน จะพบวา ความนิยมของเครื่องดื่ม ที่ขายดีมากที่สุดไปนอยที่สุดเปนดังนี้ นม น้ําอัดลม น้ําผลไม และน้ํานมถั่วเหลือง 1 ความนาจะเปนที่เข็มจะชี้ที่ตัวเลข 1 เทากับ

2)

ความนาจะเปนที่เข็มจะชี้ที่ตัวเลข 6 เทากับ

3)

ความนาจะเปนที่เข็มจะชี้ที่จํานวนคู เทากับ

4)

ความนาจะเปนที่เข็มจะชี้ที่จํานวนคี่ เทากับ

5)

ความนาจะเปนที่เข็มจะชี้ที่จํานวนเฉพาะเทากับ

6)

ความนาจะเปนที่เข็มจะชี้ที่จํานวนที่มีคามากกวา 4

2)

3)

10.

1 10

10 2 10 6 10 4 10 5 10

1 5 หรือ 3 5 หรือ 2 5 หรือ 1 2 4 เทากับ หรือ 2 10 5

หรือ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.