บทนา องค์ความรูเ้ รื่อง Presentation Skills หรือ ทักษะ การนาเสนองาน TO BE NUMBER ONE สู่ ความสาเร็จ ฉบับนี้ เขียนขึ้ นมา เพื่อให้ผูอ้ ่านได้ ศึกษาและฝึ กฝนตนเองให้มีทกั ษะหลายด้าน เพื่อ เตรียมความพร้อมในการเป็ นผูน้ าเสนอที่ดี เพราะ ผูน้ าเสนอเป็ นปั จจัยสาคัญในความสาเร็จของการ นาเสนองานนั้น ๆ รวมถึงการนาเสนองานด้าน TO BE NUMBER ที่จาเป็ นจะต้องมีการฝึ กฝนและ เตรียมพร้อมก่อนจะนาเสนองานสู่สายตาผูช้ ม เพราะการนาเสนอจะส่งผลโดยตรง และโดย ทางอ้อมต่อภาพลักษณ์ของบุคคลและองค์กรที่ นาเสนอ ซึ่งทักษะที่จาเป็ นจะต้องมี ไม่วา่ จะเป็ น การพูด/การออกเสียง , บุคลิกภาพ , สื่อการ นาเสนอ แบบไหนจะน่ าสนใจ และข้อมูลนาเสนอ ได้ถูกรวบรวมไว้ องค์ความรูเ้ ล่มนี้ .
การนาเสนอ คือ อะไร
การนาเสนอ หมายถึ ง การ สื่ อ สารเพื่ อ เสนอ ไม่ ว่ า จะ เ ป็ น ก า ร น า เ ส น อ ข้ อ มู ล ความรู ้ หรือ ความต้องการ ไปสู่ ผูร้ ับ สาร หรือ ผู ้ช มผู ้ฟั ง โดยใช้ เ ทคนิ คหรื อ วิ ธี ก าร ต่าง ๆ อันจะทาให้บรรลุผล ส าเร็ จ ตามจุ ด มุ่ ง หมายของ การนาเสนอ
ในปั จจุบนั นี้ การนาเสนอเข้ามามีบทบาทสาคัญในองค์กร ไม่วา่ จะเป็ นการนาเสนองานของลูกน้องต่อหัวหน้า การ นาเสนองานของหัวหน้าต่อผูบ้ ริหาร หรือในสถานศึกษา เองก็เช่นเดียวกัน เช่น การนาเสนอการบ้านของนักเรียน ต่อคุณครู การนาเสนอโปรเจ๊ก โครงการต่าง ๆ ของ นักศึกษาต่ออาจารย์ ซึ่งงานต่าง ๆ จะผ่านหรือไม่ผ่าน จะ ถูกอนุ มตั ิหรือไม่อนุ มตั ิ ขึ้ นอยูก่ บั การนาเสนอด้วย จะเห็น ได้วา่ การนาเสนอนั้นจะถูกอกถูกใจ ได้รบั การตอบรับ ที่ดี จนนาไปสู่การบรรลุเป้ าหมายของงานๆ นั้น ตัวผูน้ าเสนอเองก็ตอ้ งมีการเตรียมความพร้อม ก่อนลงสู่สนามด้วย
คราวนี้ เรามาพูดถึงการนาเสนอผลงาน TO BE NUMBER ONE ซึ่งหลายๆ คนที่ได้เข้ามาทา TO BE ถึงการเครียดกัน เลยทีเดียว พอทราบว่าตนเองจะต้องเป็ นผูน้ าเสนอ ไม่ ว่าจะอายุเท่าใด มือใหม่หรือมืออาชีพ ต่างตื่นเต้นกันทั้งนั้น ใช่ไหมละคะ เชื่อว่าหลายคนกังวล ว่าจะพูดอย่างไรให้ผูฟ้ ั ง ฟั งแล้วเกิดความเข้าใจ น้ าเสียงหนักเบาแค่ไหนจะน่ าฟั ง จะยืนอย่างไรให้ดูดีไม่เคอะเขิน จะต้องจับไมค์อย่างไร โดยเฉพาะมือใหม่ถา้ ให้จบั ไมค์ หน้ามืดตาลายคล้ายจะเป็ น ลมเลยก็มี รวมถึงน้ าเสียงของผูน้ าเสนอ ต้องใช้โทนเสียง ไหน เราจะมาลงรายละเอียดไปพร้อมๆ กัน \
บุคลิกภาพ
จะขอพูดถึงบุคลิกภาพเพื่อการ นาเสนอ ซึ่งเป็ นเรื่องที่สาคัญและจาเป็ นอย่างยิ่งที่ผจู ้ าเป็ น จะต้องมี สาหรับบุคลิกภาพเพื่อการนาเสนอ มี 3 ประเภท คือ
1
การแต่งกาย
2 การใช้เสียง จังหวะการ พูด
3
การ แสดงออก ที่เหมาะสม
การแต่งกาย ถือว่า เป็ นปั จจัยหนึ่ งที่จะดึงดูดความ สนใจของผูช้ มได้ เสื้ อผ้าหน้าผม ก็เป็ นสิ่งสาคัญที่จะช่วยเสริมความ มัน่ ใจได้เช่นกัน แต่การแต่งกาย นั้นจาเป็ นจะต้องคานึ งถึง การ แต่งกายต้องสะอาด สุภาพ เรียบร้อย ที่สาหรับเหมาะสมกับ กาลเทศะและสถานที่ดว้ ย ซึ่งการ นาเสนอผลงาน TO BE NUMBER ONE นั้นผูช้ มที่จะฟั งการนาเสนอ หลากหลายกลุ่ม ไม่วา่ จะเป็ น กลุ่มนักเรียน นักศึกษา วัย ทางาน รวมถึงท่านคณะกรรมการ ที่จะให้คะแนนการนาเสนอของ ทีมนั้นๆ ด้วย
“การแต่งกาย สื่ อสารได้”
1. การแต่งกาย สามารถสื่อสารได้ ประโยคนี้ ทาให้ เข้าใจได้ชดั เจนมากนั้น เนื่ องจากบางชมรมได้มีธีมในการ นาเสนอ อย่างเช่น ชมรม TO BE CP ALL Khonkaen ใน ปี 2562-2563 เราเน้นในเรื่องของการก้าวเข้าสู่ยุค ดิจิตอล การเป็ น SMART LEADER ซึ่งเนื้ อหาในการ นาเสนอได้มีการพูดถึงเรื่องดังกล่าวนี้ ด้วย โดยการแต่ง กายของเราจึงมีคอนเซ็ปต์วา่ แต่งกายให้ดู SMART สมกับ วัยทางาน น่ าเชื่อถือ และดูภูมิฐาน จึงเลือกชุดที่สุภาพ และเรียบหรู หรือผูช้ ายใส่สูท หากการแต่งกายสอดคล้อง หรือไปในแนวเดียวกันกับเนื้ อหา จะช่วยให้การนาเสนอ นั้นเพิ่มน้ าหนักของเนื้ อหาข้อมูลได้
2. การใช้เสียง / จังหวะการพูด น้ าเสียงนับว่า เป็ นสิ่งหนึ่ งที่หลายคนกังวลใจอย่างมาก บวกกับ ความตื่นเต้นเข้าไปแล้ว บางคนถึงกับลืมบท ลืม น้ าเสียงตัวเองไปเลยก็มี แต่ท้งั นี้ ทั้งนั้นเราต้องเรียก สติก็กลับมาให้เร็วที่สุด เอาล่ะคราวนี้ เราทาความ เข้าใจกันก่อน ว่าการนาเสนอที่ดีและจะทาให้ผูฟ้ ั ง สามารถฟั งเราได้จนจบการนาเสนอและเข้าใจเนื้ อหา ข้อมูลที่เราต้องการถ่ายทอด จะเริ่มที่ตรงไหนและทา อย่างไร เริ่มที่การใช้น้ าเสียงกันเลย
การพูด การออกเสียง
การพูด / การออกเสียง สาหรับผูเ้ ขียนนั้น พูดให้ เสียงดังฟั งชัด การพูดให้ เสียงดังไว้ก่อน ได้ผลดีเสมอ อย่างน้อยก็เป็ นการปลุกผูฟ้ ั ง ให้ตื่น ดังพอที่ผูฟ้ ั งทั้งห้องได้ ยิน ไม่ใช่พดู เสียงดังใน ลักษณะของการตะโกน ซึ่ง การออกเสียงให้ดงั และชัดเจน นั้น เป็ นการแสดงถึงความ เชื่อมัน่ มัน่ ใจในตนเอง ก็ไม่ จาเป็ นต้องตะโกน เพราะ อาจดังเกินความจาเป็ น จน กลายเป็ นแสบแก้วหู
“พูดเสียงดังฟั งชัด ได้ผลดีเสมอ อย่างน้อยเป็ นการ ปลุกผูฟ้ ั งให้ตื่น ดังพอที่ ผูฟ้ ั งทัง้ ห้อง ได้ยนิ ไม่ใช่ตะโกน”
วิธพ ี ดู ให้ได้จงั หวะพอดี คือ การหัดพูดหรือ หัดอ่านเป็ นประโยค ๆ เว้นวรรคตอนให้ถูก พูดให้ ชัดเจน อย่าพูดรัวเสียจนผูฟ้ ั งรูส้ ึกเหนื่ อยแทน อย่าพูด เหมือนอ่านหนังสือหรือท่องจา ท่วงทานองแบบอ่าน หนังสือหรือท่องจา คือ พูดไม่มีจงั หวะจะโคน ไม่มี ชีวติ ชีวา หากพูดแบบท่องจา พอถึงตอนที่ติดขัดนึ กไม่ ออกก็เสียไปเลย ต้องใส่ความกระตือรือร้น ใส่อารมณ์ และความรูส้ ึ กลงไป อย่าพูดราบเรียบโดยใช้เสียง ทานองเดียว การพูดที่จริงใจจะออกมาในรูปของการ เน้นหนักเบา เสียงสูงเสียงตา่ การเน้นจังหวะ การรัว จังหวะ ตลอดจนการหยุดเล็กน้อย ก่อนหรือหลังการพูดที่ สาคัญ ๆ และการเน้นน้ าเสียงหนัก ในประโยคสาคัญๆ เพื่อเป็ นการสื่อสารไปถึงผูฟ้ ั งว่า นี่ คือเนื้ อหาสาคัญ
สาหรับการนาเสนอผลงาน TO BE NUMBER ONE ไม่วา่ จะ เป็ นการนาเสนอในรอบระดับ รอบระดับพื้ นที่ และรอบ ระดับประเทศ จะมีเวลาในการนาเสนอกาหนดให้ไม่เกิน 10 นาที หรือน้อยกว่านั้นจนเกินไป ซึ่งผูน้ าเสนอควรจะ ใช้เสียงให้เป็ นธรรมชาติ พูดด้วยความเร็วที่เหมาะสม มี การใช้เสียงสูง-ตา่ เพื่อไม่ให้น่าเบื่อ มีการเว้นวรรคคาให้ ถูกต้อง มีการหยุดในบางจังหวะ เพื่อให้ผูฟ้ ั งจับประเด็น ได้ทนั และเข้าใจเนื้ อหาที่เราพูด
ขั้นตอนง่ายๆ ในการอ่านบทนาเสนอ
TO BE NUMBER
1 อ่านบทนาเสนอ ทั้งหมด ก่อน 1 รอบ เพื่อทาความ เข้าใจกับบทและ ข้อมูลที่จะนาเสนอ หากยังไม่เข้าใจให้ อ่านจนกว่าจะ เข้าใจ
2 บางวรรคตอน โดยการขีด สัญลักษณ์ ( / ) คัน่ ประโยค
ONE
ขั้นตอนง่ายๆ ในการ อ่านบทนาเสนอ (ต่อ)
TO BE NUMBER
ONE
3
4
5
อ่านบท นาเสนออีก ครั้ง โดยอ่าน ออกเสียงให้ ชัดเจน คา ควบกล้า ร , ล
ขีดเส้นใต้ ประโยคที่ ต้องการเน้น น้ าเสียง หรือ หากคุณเป็ น มือใหม่ สามารถทา สัญลักษณ์ แทนเสียงสูง ตา่ ได้
อ่านบท นาเสนออีก ครั้ง จนเข้าใจ และเข้าถึงบท
3.การแสดงออกที่เหมาะสม
3.1.มีการสบตาผูฟ้ ั ง และการยิ้ม เป็ น เทคนิ คที่ชว่ ยสร้างความสนใจต่อผูฟ้ ั ง เราต้องสบตา ผูฟ้ ั ง ไม่มองพื้ น หรือเพดาน ใช้สายตาควบคุมผูฟ้ ั งให้ สนใจ อย่าจองที่คนๆ เดียวนาน ๆ เพราะทาให้เสีย สมาธิ และไม่ควรมองอย่างไร้จุดหมายหรือทิ้ งผูฟ้ ั ง โดยเฉพาะท่านคณะกรรมการที่เป็ นผูใ้ ห้คะแนนในการ นาเสนอ สบตาและยิ้ มให้ท่านเข้าไว้นะจ๊ะ เพราะจะ เป็ นการสร้างความมัน่ ใจต่อท่านคณะกรรมการด้วย ใบหน้าดูเป็ นมิตร ยิ้ มแย้มแจ่มใส มีชีวติ ชีวา
3.2.ภาษากาย
สาหรับการนั ่งนาเสนอ โดยเฉพาะการนาเสนอ ของประเภทชมรมจังหวัด ผูน้ าเสนอส่วนใหญ่เป็ นการ นัง่ นาเสนอ ผูน้ าเสนอควรวางมือไว้ที่โต๊ะ หรือตัก มี การใช้มือประกอบเนื้ อหาบ้างพอสมควร ตามความ เหมาะสม อย่าหมุนปากกา กดปากกา หรือเคาะโต๊ะ
สาหรับการยืนนาเสนอ ควรยืนตัวตรง ทิ้ ง น้ าหนักทั้ง 2 ขาเท่าๆกัน ไม่หย่อนขาใดหนึ่ ง หรือยืน กระดิ๊กขา อย่ายืนหลังค่อม ไม่ยนื กางมากเกินไป ยกเว้นการนาเสนอเป็ นไปในลักษณะรูปแบบละคร เน้นการเคลื่อนไหว การเดินหรือมีการเต้นประกอบ
เทคนิคการจับไมค์ให้ถูกวิธี
การจับไมค์ที่ถูกต้องเป็ นเรื่องที่สาคัญอีกอย่าง หนึ่ ง ตาแหน่ งที่ถูกต้องในการถือไมค์ คือ ด้ามไมค์ ซึ่งเป็ นส่วนที่ผลิตขึ้ นมาเพื่อให้ผใู ้ ช้งานสามารถจับ ได้อย่างถนัดมือ และป้ องกันการเอามือไปบังหรือ กุมหัวไมค์ เพราะจะทาให้เสียงออกมาทุม้ ควรถือ ไมค์โครโฟนห่างจากปาก ประมาณ 1 คืบ จะเหมาะ ที่สุด
วิธีจบั ไมค์ที่ถูกต้อง
1
OUR STATISTICS
2
“เห็นไมค์ อย่าไปกล ัว ม ันไม่ก ัด มีแต่หอน”
FUTURE PLANS
3
OUR APPLICATIONS
4
เมื่อพูดจบแต่ละช่วงหาก จาเป็ นต้องยืนอยูบ่ นเวที และต้องถือไมโครโฟนไว้ ควรถือไว้ระดับเอว อย่ายืนถือ แบบตามสบายโดยแนบข้างลาตัว เพราะจะทาให้ดู บุคลิกภาพไม่ดี และอีกเทคนิ คเพื่อเสริมสร้างบุคลิกภาพ ซึ่งหลาย ๆ ท่านอาจจะมองข้าง นัน่ คือ เมื่อเริ่มต้นพูด อย่าทดลองเสียงด้วยคาว่า “ฮัลโหล...ฮัลโหล” หรือเคาะ หรือเป่ าลมใส่ไมค์โครโฟนเป็ นอันขาด ควรพูดออกไป เลยว่า “สวัสดีคะ / สวัสดีครับ” เพียงเท่านี้ เองจ้า และนี่ คือเรื่องราวของเทคนิ คเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการใช้ ไมค์โครโฟน \
Presentation เจ๋งๆ ตรงจุด ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าการทา Presentation นั้นเป็ นเรื่องที่เป็ นหน้าเป็ นตาให้แก่องค์กร หรือ หน่ วยงานเป็ นอย่างมาก พอพูดแบบนี้ แล้ว ต้องกุม้ ขยับกันเลยใช่ไหมละคะ แต่เดี๋ยวกัน มันไม่ยาก อย่างที่คิดเลย มีเทคนิ คง่ายๆ เพียง 4 ข้อเท่านั้น คือ
1.ทาเพื่อใคร
2.โทนเดียวกัน
3.ตัวหนังสือ ไม่เยอะ
4.ใช้รูปภาพสื่อ ความหมาย
1.ทาเพื่อใคร ใจความสาคัญที่ตอ้ งการสื่อกับผูช้ ม โครงสร้างของมันจะ เป็ นส่วนที่สนับสนุ นไอเดียของคุณ ซึ่งพรีเซนเทชัน่ ที่ดี จะต้องสื่อสารด้วยตัวของมันเองได้ โดยการทาสไลค์ ผลงานการดาเนิ นงาน TO BE NUMBER ONE ซึ่งชื่อก็ บอกตรงๆ อยูแ่ ล้วว่า TOBE สไลค์ก็ตอ้ งเพื่อคน TO BE หรือผูท้ ี่ตอ้ งการศึกษาเรื่อง TO BE NUMBER ONE
2.โทนเดียวกัน การตกแต่งสไลด์ที่เป็ นรายละเอียดต่างๆ เช่น ฟ้ อนท์ ตัวอักษรคล้ายๆ กัน สีของตัวอักษร หรือพื้ นหลังไปใน แนวเดียวกันทุกสไลค์
3.ตัวหนังสือ ไม่เยอะ สิ่งที่ตอ้ งระวังมากที่สุด คือ สไลด์ที่มีตวั หนังสือเต็มไป หมด โดยเฉพาะเวลาที่พรีเซนท์แล้วพูดเหมือนกับใน สไลด์น้ัน อาจทาให้เหมือนกับเรานาโพยกระดาษไป พูดหรือไปอ่าน หลากเป็ นตัวเลขสามารถใส่เอฟเฟก เพื่อให้ผูช้ มได้เห็นชัดเจน
ใช้รูปภาพสื่อ ความหมาย รูปภาพ จะสื่อความหมายตรงประเด็น ได้ดีที่สุดแล้ว เพราะมันสามารถช่วยให้ผูช้ มเข้าใจคาพูดที่คุณอธิบาย ออกมาได้เห็นภาพมากขึ้ น และดูไม่เบื่อ ดูภาพเพลินๆ
บทสรุป การนาเสนอทุกรูปแบบ ผูน้ าเสนอ จาเป็ นจะต้องมีการศึกษาและฝึ กฝน ตนเอง เพื่อเตรียมความพร้อมให้ รอบด้าน เพื่อให้การนาเสนอนั้นๆ ออกมาเป็ นที่ความประทับใจแก่ผูช้ ม และบรรลุตามเป้ าหมาย ท่านใดมี การเตรียมความพร้อมมาก่อน ขยัน ซักซ้อมการนาเสนอ เชื่อได้วา่ จะต้องประสบผลสาเร็จเป็ นแน่ ท้ายนี้ ขอเป็ นหนึ่ งกาลัง แรงเชียร์แรงใจให้ทุกชมรม TO BE NUMBER สามารถก้ามข้ามความ กลัวในการนาเสนอ และเป็ นผู ้ นาเสนอที่ดีต่อไป