Aftereffectscs6 unit1

Page 1

S AK

ส ร า  ง เ อ ฟ เ ฟ ก  ต ว  ด ิ โ ี อ ด ว  ย

A F T E RE F F E C T SC S 6

พ น ้ ื ฐ า น ก า ร ใ ช ง  า น โ ป ร แ ก ร ม ส า ํ ห ร บ ั ผ เ  ู ร ม ่ ิ ต น  เ ร ย ี น ร ก  ู า ร ใ ช เ  ค ร อ ่ ื ง ม อ ื แ ล ะ ค า ํ ส ง ่ ั ต า  ง ๆ ว ธ ิ ส ี ร า  งT i t l eแ ล ะ ใ ส  E f f e c t ใ ห ต  ว ั อ ก ั ษ ร เ ท ค น ค ิ ก า ร ซ อ  น ภ า พ แ ล ะ ร ท ี ช ั ว ด ี โ ิ อ ว ธ ิ ใ ี ส เ  ส ย ี ง ต า  ง ๆ ล ง ไ ป บ น ช น ้ ิ ง า น ข น ้ ั ต อ นE x p o r t ง า น อ อ ก ไ ป ใ ช  B y . C o mp u t e r C e n t e r T h a k s i nU n i v e r s i t y


คำนำ ภาพยนตร์ที่เราได้ดูได้ชมในปัจจุบัน จะเห็นว่าอลังการงานสร้างเป็นอย่างมาก ทุกๆ ฉากให้ความ ตื่นเต้นตื่นตาเป็นยิ่งนัก นักแสดงแสดงฉากบู๊ได้อย่างไม่กลัวตาย ฉากการต่อสู้บนรถสิบล้อที่วิ่งอยู่บน ถนนอย่างบ้าคลั่งนักแสดงเขาทำได้อย่างไรไม่กลัวตายกันเลยหรือ แล้วคนถ่ายเขาถ่ายกันยังไง ผู้ที่ถ่าย ต้องเป็นตากล้องที่เก่งและสุดยอดเป็นแน่แท้ แน่นอนหลายคนอาจจะตั้งคำถามแบบนี้ไว้ในใจ แต่ใครจะ ไปรู้ว่าเบื้องหลังการถ่ายทำเขาไม่ได้เสี่ยงชีวิตกันขนาดนั้น แล้วตากล้องก็ไม่ได้ผาดโผนไปกับนักแสดง เขาใช้เทคนิค! อันได้แก่ เทคนิคการแสดง, เสื้อผ้า, เทคนิคประกอบฉาก, มุมกล้อง, เทคนิคการซ้อนภาพ, คอมพิวเตอร์กราฟิก และการใช้ Effects, โดยนำทั้งหมดผสมผสานให้กลายเป็นภาพเคลื่อนไหวที่สมจริง ที่สุด เรียบเรียงให้เป็นเรื่องราวตามสคลิป จากนั้นจึงนำออกเผยแพร่สู่ผู้รับชม After Effects CS6 เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ผู้เขียนต้องการนำเสนอและถ่ายทอดออกมา ซึ่งเนื้อหาด้าน ในจะประกอบไปด้วยวิธีใช้โปรแกรม เทคนิคการซ้อนภาพ และการใส่เอฟเฟ็กต์อย่างง่าย ผู้สนใจใคร่รู้ ทั้งหลายจะได้ศึกษาพื้นฐานการสร้างภาพยนตร์กันพอสังเขป สามารถนำไปประยุกต์สร้างงานของตัว เองออกมาได้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้คงมีประโยชน์กับผู้อ่านอยู่บ้างไม่มากก็น้อย หนังสือเล่มนี้สร้างขึ้นมาเพื่อเผยแพร่ความรู้สู่สาธารณะโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายและไม่สงวนลิขสิทธิ์ใดๆ สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้ หากมีข้อผิดพลาดประการใดผู้เขียนขออภัยมา ณ โอกาสนี้

ศักดิ์ หนูรินทร์ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ


สารบัญ เรื่อง บทที่ 1 : รู้จักโปรแกรม

หน้าที่

สเปคคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสม เปิดใช้งานโปรแกรม ส่วนประกอบของโปรแกรม - Tool Panel ( เครื่องมือหลัก ) - Project Panel ( พื้นที่สำหรับเก็บข้อมูลดิบ ) - Composition Panel ( พื้นที่ทำงานหลัก ) - Time Line Panel - Grouped Panel - Preview Panel - Effects & Presets Panel - Workspace Panel วิธีเปลี่ยนรูปแบบ Workspace

01 02 03 08 09 10 11 12 13 14 14 18

Import คลิปเข้ามาใช้งาน จัดเก็บคลิปให้เป็นหมวดหมู่ ค้นหาคลิปที่ต้องการอย่างรวดเร็ว เปลี่ยนชื่อคลิป ลบคลิปที่ไม่ต้องการออก นำคลิปจาก Project Panel มาใช้งาน เปลี่ยนชื่อให้กับ Layer เปลี่ยนตำแหน่ง Layer ล็อค Layer ไม่ให้ทำงาน ซ่อน Layer ให้แสดงเฉพาะ Layer ที่เลือก ลบ Layer ออกจาก Time line กำหนดช่วงเวลาแสดง Layer กำหนดเวลาบน Time line กำหนดขนาดจอภาพใน Composition Panel เรียกเส้น Grid ขึ้นมาใช้งาน Proportional Grid

19 20 22 22 23 24 25 26 26 27 27 28 28 29 30 31 32

บทที่ 2 : จัดการกับคลิป


สารบัญ เรื่อง

เรียกไม้บรรทัดขึ้นมาใช้งาน กันหลุดเฟรมด้วย Title/Action safe ตัดต่อคลิปบนหน้าต่าง Footage

บทที่ 3 : คำสั่งควบคุม Layer

หน้าที่

33 33 36

Keyfarmes วิธีสร้าง Keyframes ย้ายตำแหน่ง Keyframes ลบ Keyframes

44 45 47 47

วิธีการสร้างตัวอักษร รู้จักกับเครื่องมือที่ใช้ในการปรับแต่งตัวอักษร วิธีเปลี่ยนสีให้ตัวอักษร วิธีสร้างเส้นขอบให้ตัวอักษร วิธีเปลี่ยนสีเส้นขอบ สร้างตัวอักษรให้โค้งรอบวัตถุ ทำให้ตัวอักษรเคลื่อนไหว

48 49 55 56 57 58 61

เครื่องมือสร้าง Mask วิธีการสร้าง Mask คำสั่งควบคุมการทำงานของ Mask ทำให้ Mask เคลื่อนไหว

74 75 77 80

องค์ประกอบการซ้อนภาพ วิธีการซ้อนภาพ

87 88

เครื่องมือที่ใช้ในการรีทัช - Paint Panel - Brushes Panel รีทัชงานด้วย Brush Tool

91 91 98 99

บทที่ 4 : Text Layer

บทที่ 5 : Mask

บทที่ 6 : Blue Screen บทที่ 7 : Retouch


สารบัญ เรื่อง

ลบส่วนต่างๆ บนคลิปด้วย Erase Tool Clone Stamp Tool

บทที่ 8 : Transition

หน้าที่

100 101

วิธีใส่ Transition วิธีปรับแต่งค่า Transition วิธีใส่ Transition ในเฟรมแรก วิธีใส่ Transition ในเฟรมสุดท้าย วิธีลบ Transition

103 104 106 108 110

เครื่องมือสำหรับใช้สร้าง Effects หมวดหมู่ของ Effects ที่ควรรู้ วิธีใส่ Effects ให้กับชิ้นงาน ลบ Effects ที่ไม่ต้องการออก ทดลองสร้าง Effects - สร้างเอฟเฟ็กต์ฝนอย่างง่าย - สร้างเอฟเฟ็กต์ปืนเลเซอร์ - CC Light Burst 2.5 - สร้างเอฟเฟ็กต์ดาบเลเซอร์

111 112 117 123 123 123 125 127 131

ประเภทของเสียง วิธีนำคลิปเสียงมาใช้งาน ใส่คลิปเสียงลงบน Time line ปรับระดับเสียงด้วย Audio Panel ควบคุมเสียงด้วยคีย์เฟรม ใส่เอฟเฟ็กต์ให้คลิปเสียง

135 136 136 137 137 139

ประเภทของไฟล์ที่ Export วิธี Export

140 141

บทที่ 9 : Effects

บทที่ 10 : Audio

บทที่ 11 : Export


AFTER EFFECTS CS6

ตัวอยางภาพยนตร Transformer 4 จาก : http://autocarnano.com

การใส่เอฟเฟ็กต์ลงไปในภาพยนต์ไม่นิยมทำที เดียวทั้งเรื่อง แต่จะแบ่งเนื้อเรื่องออกเป็นฉากต่าง ๆ ( Scene ) หรือแยกย่อยออกเป็นเฟรม หลังจากนั้น UNIT 1 : รู้จักโปรแกรม จึงนำมาใส่ Effects ตามทีต้องการ เมื่อเสร็จแล้ว After Effects เป็นโปรแกรมสำหรับสร้างเอฟ- นำมาจัดเรียงกันเป็นเรื่องราวให้เราได้ชม เฟ็กต์ให้กับภาพยนตร์ เอฟเฟ็กต์ที่ใส่ลงไปสามารถ การทำงานของโปรแกรม After Effects นั้นค่อน ทำให้เรื่องราวในภาพยนตร์ดูตื่นเต้นมากยิ่งขึ้น ข้างใช้ทรัพยากรอย่างมาก ดังนั้นสเปคของเครื่อง ตัวอย่างเช่น ภาพยนตร์เรื่อง Star Wars ฉากการ คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมควรต้องมีคุณภาพสูงถึง ต่อสู้ด้วยปืนเลเซอร์และดาบเลเซอร์ หรือการต่อสู้ สูงมาก ด้วยยานอวกาศ ซึ่งดูแล้วทำให้รู้สึกสนุกตื่นเต้นน่า ติดตาม หรือในภาพยนตร์เรื่อง Transformer เป็น สเปคคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสม เรื่องราวการต่อสู้กันของหุ่นยนต์จากต่างดาวซึ่งมี ทั้งฝ่านธรรมะและฝ่ายอธรรม ในเรื่องราวของ สเปคคอมพิวเตอร์ขั้นต่ำมีดังนี้ ภาพยนตร์จะประกอบไปด้วย ฉากระเบิดทำลาย ล้างและฉากการต่อสู้ที่ล้วนแล้วใช้ Effects เข้า CPU : Intel Core i5 ขึ้นไป ช่วยทั้งสิ้น OS : Windows7 64-Bit RAM : 8GB ขึ้นไป Harddisk : 1TB Display : Memory 2GB OpenGL 4.4 Power Supply Requirement :128-bit โปรแกรมที่จำเป็นได้แก่ QuickTime Player

ตัวอยางภาพยนตร Star Wars จาก : http://collider.com/star-wars-episode-7-practical-effects/

01


เปิดใช้งานโปรแกรม

3. คลิกเลือก Adobe After Effects CS6

เปิดใช้งานโปรแกรมสามารถทำได้โดย 1. คลิกปุ่ม Start > All Programs

3

1

2. คลิกเลือกรายการ Adobe Master CollectionCS6

4. รอสักครู่โปรแกรมจะเปิดขึ้นมาตามต้องการ

2

4

02


ส่วนประกอบของโปรแกรม เมื่อเปิดโปรแกรม After Effects CS6 ขึ้นมาแล้ว ก็จะพบกับส่วนประกอบที่สำคัญของโปรแกรมดังนี้ I

A B

F G

D C

H

E

A. Aplication Window : แถบคำสั่งทั้งหมดที่ใช้ใน After Effects CS6 B. Tools Panel : เครื่องมือหลักที่ใช้ในการทำงาน C. Project Panel : พื้นที่สำหรับเก็บข้อมูลดิบ ได้แก่คลิปวิดีโอ, คลิปเสียง, คลิปภาพ D. Composition Panel : พื้นที่ทำงานหลัก E. Timeline Panel : หน้าต่างสำหรับนำคลิปจาก Project Panel มาจัดวาง ในลักษณะ Layer ( เป็นชั้นๆ ) สามารถใส่ Effects, กำหนดรายละเอียดการเคลื่อนที่, และปรับแต่งค่าการทำงานในช่วง เวลาต่างๆ ได้ F. Grouped panel ( Info and Audio ) : กลุ่มหน้าต่างอื่นๆ ในภาพตัวอย่างประกอบด้วย หน้าต่าง Info เป็นหน้าต่างสำหรับบอกรายละเอียดสีและแสดงตำแหน่งที่เมาส์ลากผ่าน, หน้าต่าง Audio เป็น หน้าต่างสำหรับใช้ควบคุมการทำงานในส่วนของเสียง G. Preview Panel : เครื่องมือควบคุมสำหรับดูผลงาน ( Preview ) ได้แก่ Play, Pause, Stop H. Effects & Presets Panel : ชุดคำสั่ง Effects ต่างๆ I. Workspace : รูปแบบพื้นที่การทำงาน 03


แถบคำสั่งต่างๆ Aplication Window Aplication Window ประกอบไปด้วย Menu File : คือชุดคำสั่งสำหรับการเปิดปิดไฟล์, สร้างไฟล์ใหม่, บันทึกไฟล์, นำเข้า Import, Export ฯลฯ เป็นต้น

Menu Edit : คือชุดคำสั่งสำหรับแก้ไขรายละเอียดในการทำงาน เช่นการ Copy, Paste, Cut, Undo, Redo, และการ Duplicate เป็นต้น

04


Menu Composition : คือชุดคำสั่งสำหรับสร้างพื้นที่การทำงานใหม่ ( New Composition ), กำหนดคุณสมบัติของพื้นที่การทำงาน ( Composition Settings ), คำสั่งกำหนดรูปแบบสีของพื้นหลัง, คำสั่ง Preview, คำสั่ง Pre - Render เป็นต้น

Menu Layer : คือชุดคำสั่งที่เกี่ยวกับการทำงานของ Layer ได้แก่การสร้าง Layer ใหม่ ( New Layer ) และคำสั่งที่เกี่ยวกับการทำงานของ Mask,

05


Menu Effect : คือชุดคำสั่งที่เกี่ยวกับ Effects, การใส่ Effects,

Menu Animation : คือชุดคำสั่งที่เกี่ยวกับ Animation, และการทำงานที่เกี่ยวข้องกับ Key Frame,

06


Menu View : คือชุดคำสั่งที่เกี่ยวกับการควบคุมมุมมองบนพื้นที่การทำงาน ได้แก่การ Zoom In, Zoom Out, การแสดงไม้บรรทัด ( Ruler ), เส้น Guides, เส้น Grid

Menu Window : เป็นชุดคำสั่งที่เกี่ยวกับการเปิดปิดหน้าต่างย่อย ( Panel ) ต่างๆ และคำสั่งที่เกี่ยว ข้องกับพื้นที่การทำงาน ( Workspace )

07


Menu Help : เป็นชุดคำสั่งที่เกี่ยวกับการเรียกใช้ตัวช่วยพิเศษอื่นๆ เช่น เอกสารประกอบการใช้งาน โปรแกรม รวมไปถึงการเชื่อมต่อไปยังแหล่งข้อมูลผู้ผลิตผ่านทางเว็บไซต์

( Tools Panel ) เครื่องมือหลัก เครื่องมือหลักที่ใช้ในการทำงานประกอบไปด้วย J

N

L

K

M

P

O

J. Selection Tool : ใช้จับชิ้นงาน เคลื่อนย้าย หรือขยายขนาด

R

Q

T

S

V

U

W

N. Unified Camera Tool : ใช้ปรับมุมมอง ภาพจาก 2 มิติ เป็น 3 มิติ

K. Hand Tool : ใช้จับและเลื่อนพื้นที่ O. Behind Pan Tool : ใช้ย้ายจุดหมุน แสดงงานหรือจอแสดงผล ( Composition Panel ) ของวัตถุ ( Anchor Point ) L. Zoom Tool : ย่อ / ขยายมุมมองพื้นที่ แสดงงานหรือจอแสดงผล M. Rotation Tool : หมุนชิ้นงานตามเข็ม นาฬิกาและทวนเข็มนาฬิกาได้ 360 ํ

P. Rectangle Tool : ใช้สร้างรูปทรงต่างๆ เช่นสี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม รูปดาวและรูป หลายเหลี่ยม Q. Pen Tool : ใช้สร้างเส้น Path หรือรูปทรง อิสระตามต้องการ 08


R. Type Tool : ใช้สร้างตัวอักษรทั้งแนว นอนและแนวตั้ง

U. Eraser Tool : ใช้ลบส่วนที่ไม่ต้องการ ของคลิปออก

S. Brush Tool : ใช้ระบายสีลงบนคลิป เพื่อปิดหรือซ่อนส่วนที่ไม่ต้องการให้แสดง

V. Roto Brush Tool : ใช้แยก Background และ Foreground ออกจากกัน

T. Clone Stamp Tool : ใช้ก๊อปปี้บางส่วน ของคลิปมาแปะทับลงบนจุดที่ต้องการ

W. Puppet Pin Tool : ใช้สร้างข้อต่อ ( Joint ) ให้กับวัตถุเพื่อขยับไปมาได้

( Project Panel ) พื้นที่สำหรับเก็บข้อมูลดิบ Project Panel คือพื้นที่สำหรับเก็บข้อมูลดิบอันได้แก่ คลิปวิดีโอ, คลิปเสียง, คลิปภาพ สำหรับใช้ประกอบ การทำงาน Project Panel จะประกอบไปด้วย 1

3

2

4

5

6

7

8

1. Preview : ส่วนแสดงรายละเอียดของข้อมูลดิบ

2. List : ส่วนแสดงรายการข้อมูลดิบที่ Import มา เก็บไว้ 3. Flowchart Window : ใช้เปิดหน้าต่างย่อย Flowchart Window 4. Interpret Footage : ใช้กำหนดค่าของ ไฟล์วิดีโอใหม่ เช่น Frame rate 5. Create a New Folder : ใช้สร้าง Folder เพื่อเก็บข้อมูลต่างๆ 6. Create a New Composition : ใช้สำหรับ สร้างพื้นที่การทำงานใหม่ 7. Project Color Depth : ตั้งค่าระบบสี 8bit, 16bit, และ 32bit 8. Delete Selected Project Item : คลิก เพื่อลบข้อมูลที่ไม่ใช้งานออก 09


( Composition Panel ) พื้นที่ทำงานหลัก Composition Panel เป็นพื้นที่ทำงานหลัก ประกอบไปด้วย 1

2

3

5 4

6

8

9

10

7

1. Name Tab : แสดงชื่อของ Composition ที่ กำลังใช้งานอยู่ 2. Magnification ratio popup : กำหนดขนาดการแสดงผลบนพื้นที่ทำงาน 3. Choose grid and guide options : ใช้สำหรับเปิด / ปิด การแสดงผลของเส้น Grid เส้น Guide และไม้บรรทัด ( Rulers )

12 11

13

14

16 15

18 17

19

6. Take Snapshot : คลิกเพื่อบันทึกภาพบน พื้นที่ทำงาน 7. Show Snapshot : คลิกเปิดภาพที่บันทึก ไว้เพื่อเปรียบเทียบกับงานที่แก้ไขเสร็จแล้ว 8. Show Chanel and Color Management Settings : คลิกเลือกแสดงผลเป็น Chanel ต่างๆ บนพื้นที่การทำงานได้แก่ Red, Green, Blue, Alpha

9. Resolution / Down Sample Factor Popup : ใช้กำหนดความละเอียดของการ 4. Toggle Mask and Shape Path Visibility : แสดงผล ใช้สำหรับซ่อนและแสดงเส้น Path ที่อยู่บนรูปทรง 10. Region of Interest : ใช้กำหนดเฉพาะ รวมทั้ง Mask ด้วย พื้นที่ที่ต้องการ Preview ด้วยการคลิกเมาส์ที่ปุ่ม 5. Current Time : กำหนดเฟรม Region of Interest จากนั้นแดรกเมาส์เฉพาะพื้น ที่ต้องการทำงาน ที่ที่ต้องการ 10


11. Toggle Transparency Grid : คลิกเพื่อ เปลี่ยนฉากหลังสีดำให้โปร่งใส ( Transparent )

15. Fast Preview : กำหนดรูปแบบความเร็ว ในการแสดงภาพ

16. Timeline : คลิกเพื่อให้ตัวเลื่อนเฟรมชี้ 12. 3D view Popup : คลิกเพื่อเลือกมุมมองการแสดงผล ( ใช้เมื่อทำงาน ตำแหน่งเดียวกับภาพที่แสดงอยู่ ในแบบ 3D ) 17. Composition Flowchart : เปิดหน้าต่าง Flowchart เพื่อแสดงความสัมพันธ์ในการทำงาน 13. Select View layout : กำหนดจำนวนหน้าจอแสดงผล 18. Reset Exposure : รีเซ็ตค่ารูรับแสง 14. Toggle Pixel Aspect Ratio Correction : 19. Adjust Exposure : กำหนดค่ารูรับแสง ปรับสัดส่วน Pixel ของภาพให้ถูกต้องเหมือนเดิม

Timeline Panel 1 2 3 4

7

5

8

6

1. Composition Tab : แสดงรายชื่อของ Composition Window ที่กำลัง ทำงาน 2. Current Time : กำหนด ตำแหน่งเวลาในการแสดงผล Audio Video

Solo

Video : ซ่อน / แสดงผล Audio : เปิด / ปิดเสียง Solo : ให้แสดงเฉพาะ Layer ที่เลือก Lock : ล็อค Layer

Lock

4. Layer Outline : แสดงหมายเลข, สี, ชื่อของ Layer และใช้แสดง Animation Channel ต่างๆ ของ Layer

3. Video / Audio Feature Panel : กลุ่มตัวเลือก 5. Switches Panel Button : คุณสมบัติการทำงานด้าน Video และ Audio ของ ใช้เปิดปิดส่วนต่างๆ ของ Switches Panel แต่ละ Layer

11


Effect : เปิด / ปิด การแสดงผลของ Effect 6. Switches / Mode : ใช้สลับการแสดงผลระหว่าง Blending Motion : จะมีเฉพาะ Layer ที่เป็น Switches Panel กับ Mode Transfer Layer คลิปวิดีโอ มีเฟรมเรทแตกต่างกับหน้าต่าง Composition สิ่งนี้จะทำให้ภาพเคลื่อนไหวดู เรียบเนียนขึ้น Motion Blur : เปิด / ปิดการทำงานของ MotionBlur Adjustment Layer : เปิด / ปิดการใช้งานของ 7. Switches Panel : ใช้เปิดปิดคุณสมบัติการ Adjustment Layer ทำงานพิเศษของแต่ละ Layer Quality : ปรับสภาพ Layer ให้มีความคมชัดขึ้น และดูหยาบขึ้นเพื่อแสดงผลบนหน้าต่าง Frame Blending Composition ได้เร็วขึ้น Adjustment Layer Quality 3D Layer : เปิด / ปิดการทำงานในโหมด 3D3D Layer Shy Layer Motion Blur Collapse Transformation Effect

Shy : เปิด / ปิด Layer ใช้ร่วมกับ Shy Switch จะเป็นการซ่อน Layer ที่ทำการปิด Shy Collapse Transformation : เป็นการปรับภาพให้ ชัดขึ้นเมื่อขยาย โดยเฉพาะไฟล์ที่มาจากโปรแกรม Illustrator

8. Time graph : ใช้สำหรับควบคุมช่วงเวลาใน การแสดงของ Layer

Grouped Panel ( Info and Audio ) Audio Panel Info Panel

12


Info Panel : ใช้แสดงตำแหน่งพิกัดที่เมาส์ไปวาง และแสดงค่าสี ณ จุดดังกล่าวด้วย

Audio Panel : มีไว้สำหรับปรับแต่งระดับเสียงของ Layer นั้นๆ

Preview Panel Preview Panel : เครื่องมือควบคุมสำหรับดูผลงาน ประกอบไปด้วย First Frame Previous Frame

Ram Preview Mute Next Frame Play Last Frame

First Frame : คลิกเพื่อกลับสู่เฟรมแรก เฟรม

Previous Frame : คลิกเพื่อถอยหลังไป 1 Play : คลิก 1 ครั้ง Play คลิกอีกครั้ง Stop Next Frame : คลิกเพื่อเดินหน้าไป 1 เฟรม Last Frame : คลิกเพื่อไปยังเฟรมสุดท้าย

Play Once, Loop, Ping Pong

Mute : คลิก 1 ครั้งปิดเสียง คลิกอีกครั้ง เปิดเสียง Loop : เล่นซ้ำ Ping Pong : เล่นแบบวนไปวนมา Play Once : เล่นเพียงครั้งเดียว Ram Preview : ใช้ Ram ในเครื่องช่วย Preview ทำให้ภาพและเสียงไม่สะดุด

13


Effects & Presets Panel Effects & Presets Panel : ชุดคำสั่ง Effects แบบต่างๆ

Workspace : รูปแบบพื้นที่การทำงาน สิ่งที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือ Workspace หรือรูปแบบพื้นที่การทำงาน หน้าตาและส่วนประกอบของ พื้นที่การทำงานเริ่มต้นเมื่อเปิดโปรแกรมขึ้นมาครั้งแรกจะเป็นพื้นที่การทำงานแบบมาตรฐาน ( Standard )

Workspace แบบ Standard 14


แต่เราสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบตามการใช้งานได้ 8 รูปแบบคือ

Workspace แบบ All Panels แสดงเครื่องมือทุกตัวในพื้นที่การทํางาน

Workspace แบบ Animation แสดงเฉพาะเครื่องมือสําหรับสรางานแอนิเมชั่น 15


Workspace แบบ Effects แสดงเฉพาะเครื่องมือสําหรับสราง Effects

Workspace แบบ Minimal แสดงเฉพาะเครื่องมือบางสวนที่จําเปน

16


Workspace แบบ Motion Tracking แสดงเครื่องมือสําหรับใชสรางจุดตอและการเคลื่อนไหว

Workspace แบบ Paint แสดงเครื่องมือสําหรับระบายสี

17


Workspace แบบ Text แสดงเฉพาะเครื่องมือสําหรับสรางตัวอักษร

วิธีเปลี่ยนรูปแบบ Workspace เราสามารถเปลี่ยนรูปแบบของ Workspace เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานด้วยวิธีการดังนี้ 1. คลิกลูกศรที่ช่อง Workspace 2. เลือกรูปแบบ Workspace ที่ต้องการ 1

2

18


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.