Aftereffectscs6 unit2

Page 1

UNIT 2 : จัดการกับคลิป

2. จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง Import File ขึ้นมา 3. หาแหล่งคลิปวิดีโอ, คลิปเสียง, คลิปภาพในช่อง Look in 4. คลิกเลือกคลิป 2

3

4

ก่อนที่จะใส่ Effects อะไรลงไปในภาพยนตร์ อย่างแรกที่จำเป็นต้องเรียนรู้ก็คือ วิธีจัดการคลิป เช่นการ Import, วิธีจัดเก็บคลิปไห้เป็นหมวดหมู่, วิธีล็อคคลิป ฯลฯ เป็นต้น

5

Import คลิปเข้ามาใช้งาน Import คลิป เป็นการนำคลิปที่สำคัญสำหรับ 5. คลิกปุ่ม Open ใช้สร้างชิ้นงานมาเก็บไว้ในหน้าต่าง Project Panel 6. คลิปที่เลือกจะถูกนำเข้ามาเก็บในหน้าต่าง ไม่ว่าจะเป็นคลิปวิดีโอ, คลิปเสียง, หรือจะภาพนิ่ง Project Panel ทั้งภาพถ่าย ภาพจากโปรแกรมกราฟิกต่างๆ เช่น Photoshop หรือ Illustrator, โดยสามารถ ทำได้ง่ายๆ ดังนี้ 1. คลิกที่เมนู File > Import > File หรือกดคีย์ลัด < Ctrl + I > 6

1

จากกนั้นให้เราดูในหน้าต่าง Project Panel จะ แสดงรายละเอียดของคลิปดังนี้ 19


เฟรมเรท ชื่อคลิป

ประเภท

ระยะเวลาในการเล่นคลิป

ขนาด

แหล่งเก็บข้อมูล

คลิปเสียง คลิปวิดีโอ คลิปภาพ

จัดเก็บคลิปให้เป็นหมวดหมู่ คลิปที่ Import เข้ามา เมื่อมีจำนวนมากมักจะทำให้เราสับสน ดังนั้นจึงต้องสร้าง โฟลเดอร์ขึ้นมาเพื่อ แยกประเภทการจัดเก็บ ซึ่งจะทำให้เป็นระเบียบและง่ายต่อการค้นหา วิธีสร้างโฟลเดอร์สามารถทำได้ ดังนี้ 1. คลิกที่ไอคอน Create a new Folder 2. จะปรากฏ Folder เพิ่มขึ้นมาใน Projec Panel

1

2

20


3. กำหนดชื่อ Folder ( ในภาพตัวอย่างสร้าง Folder ขึ้นมาสำหรับจัดเก็บคลิปภาพ ดังนั้นจึง ตั้งชื่อโฟลเดอร์ว่า Image )

5

3

4. จากนั้นลากคลิปภาพมาเก็บไว้ใน โฟลเดอร์Image ที่สร้างขึ้น

6. เมื่อต้องการดูคลิปภาพในโฟลเดอร์ Image ให้คลิกที่เครื่องหมายสามเหลี่ยมหน้าโฟลเดอร์ ดังกล่าว

4

6

5. คลิปภาพทั้งหมดจะถูกจัดเก็บไว้ใน FolderImage 21


7. เพื่อความเป็นระเบียบในการจัดเก็บคลิบ เรา อาจจะสร้าง Folder ขึ้นมาแล้วแยกออกเป็น ประเภทๆ ไปเช่น โฟลเดอร์ Image เอาไว้เก็บภาพ, โฟลเดอร์ Sound เอาไว้เก็บเสียง, และโฟลเดอร์Video เอาไว้เก็บเฉพาะไฟล์วิดีโอเป็นต้น

2. พิมพ์ชื่อคลิปที่ต้องการลงไป 3. คลิปดังกล่าวก็จะปรากฏขึ้นมาทันที หากคลิปไม่ปรากฏขึ้นมา นั่นแสดงว่าใน Project Panel ไม่มีคลิปนั้น หรือไม่ได้ Import คลิปนั้นเอา ไว้หรือ Import เข้ามาแล้วแต่เผลอไปลบคลิปนั้น ออกไปหรือได้ทำการเปลี่ยนชื่อคลิปนั้นเป็นชื่ออื่น

2

7

3

ค้นหาคลิปที่ต้องการอย่างรวดเร็ว เมื่อมีโฟลเดอร์เก็บคลิปไว้เป็นหมวดหมู่แล้ว แต่คลิปในนั้นมีมากเหลือเกิน และเราก็ไม่อยาก เสียเวลาไล่หาไปทีละไฟล์ จึงมีอีกวิธีหนึ่งที่จะหา คลิปได้รวดเร็วทันใจ นั่นก็คือการพิมพ์ชื่อคลิปที่ ต้องการลงไปในช่องค้นหา คลิปดังกล่าวก็จะ ปรากฏขึ้นมาให้เราทันที 1. คลิกที่ช่องค้นหา 1

เปลี่ยนชื่อคลิป การเปลี่ยนชื่อคลิปก็เพื่อให้เราจดจำง่าย และ สะดวกเมื่อเรียกใช้งาน บางครั้งคลิปที่ Import เข้ามา ชื่ออาจจะมีความยาวเกินไป เราก็สามารถ ย่อให้สั้นลงได้โดยการ Rename ดังนี้ 1. คลิกขวาบนคลิปที่ต้องการเปลี่ยนชื่อจากนั้น เลือกคำสั่ง Rename 2. พิมพ์ชื่อใหม่ที่ต้องการลงไป เแล้วกด Enter 3. ชื่อคลิปจะเปลี่ยนไปตามที่เราตั้งไว้ 22


ลบคลิปที่ไม่ต้องการออก ส่วนคลิปที่ไม่ได้ใช้งาน เพื่อไม่ให้เป็นการรก พื้นที่ เราสามารถลบออกได้โดย 1. คลิกบนคลิปที่ต้องการลบแล้วกดปุ่ม Delete บนคีย์บอร์ด 2. คลิกบนคลิปที่ต้องการลบแล้วคลิกที่ไอคอน Delete ใน Project Panel 1

1. คลิกบนคลิปที่จะลบแล้ว กดปุ่ม Delete บนคีย์บอร์ด

2. คลิกบนคลิปที่จะลบแล้ว คลิกไอคอน Delete

2

3. คลิปดังกล่าวก็จะถูกลบออกไปทันที

3

3

23


นำคลิปจาก Project Panel มาใช้งาน วิธีนำคลิปใน Project Panel มาใช้งานสามารถทำได้ง่ายๆ 1. เลือกคลิปที่ต้องการ จากนั้นแดรกเมาส์ลากมาวางบน Timeline Panel

1

2. คลิปที่ถูกวางลงไปจะเรียกว่า Layer และ Layer ดังกล่าวจะใช้ชื่อเดียวกันกับคลิปต้นฉบับ 3. ขณะเดียวกันก็จะปรากฏภาพขึ้นที่หน้าต่าง Composition Panel

3

2

24


4. เราสามารถลากคลิปหลายๆ คลิปมาวางซ้อนกันเป็นชั้นๆ ( Layer ) บน Timeline Panel ได้

4

เปลี่ยนชื่อให้กับ Layer คลิปใน Project Panel ที่ลากมาวางใน Timeline จะเรียกว่า Layer และ Layer ดังกล่าวจะใช้ชื่อ เดียวกันกับคลิปต้นฉบับ ( ในวงกลมสีแดงในภาพ ) เราสามารถเปลี่ยนชื่อให้กับ Layer นั้นได้ด้วยวิธี ดังต่อไปนี้

25


1. คลิกขวาบน Layer จากนั้นเลือกคำสั่ง Rename 1 1

2. Layer จะถูกย้ายไปยังตำแหน่งดังกล่าวทันที 2

ล็อค Layer ไม่ให้ทำงาน 2. พิมพ์ชื่อที่ต้องการลงไป แล้วกดปุ่ม Enter Layer จะเปลี่ยนชื่อตามที่เราได้พิมพ์ลงไปทันที

2

การล็อค Layer จะกระทำก็ต่อเมื่อ ได้ทำการ ปรับแต่ง Layer นั้นเสร็จแล้วและไม่ต้องการให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆ กับ Layer ดังกล่าวอีก ก็สามารถล็อค Layer นั้นด้วยวิธีง่ายๆ ดังต่อไปนี้ 1. คลิกในช่อง Lock เมื่อปรากฏสัญลักษณ์รูปแม่กุญแจขึ้นมา แสดงว่า Layer ดังกล่าวถูกล็อคเป็น ที่เรียบร้อยแล้ว เมื่อต้องการปลดล็อคให้คลิกที่ เดิมอีกครั้ง สัญลักษณ์รูปแม่กุญแจหายไป

เปลี่ยนตำแหน่ง Layer Layer บน Timeline นั้นเป็นลักษณะเดียวกัน กับโปรแกรม Photoshp หรือ Illustrator เมื่อต้อง การสลับตำแหน่ง Layer ก็สามารถทำได้ ดังนี้ 1. คลิกที่ Layer ที่ต้องการย้าย จากนั้นแดรกเมาส์ ไปวางยังตำแหน่งที่ต้องการ

1

26


ซ่อน Layer นอกจากการล็อค Layer แล้ว เราก็ยังสามารถ ซ่อน Layer เพื่อไม่ให้มองเห็นชั่วคราวได้ เหตุที่ ต้องซ่อน Layer ไว้นั้นก็เพื่อไม่ให้รกสายตาเมื่อ ต้องไปแก้ไขหรือปรับแต่งใน Layer อื่นๆ วิธีการ ซ่อน Layer สามารถทำได้ง่ายๆ ดังนี้ 1. คลิงลงไปที่ช่อง Video - Hides Video ( รูปดวงตา ) บน Layer ที่ต้องการซ่อน

สัญลักษณ์รูปดวงตาจะปรากฏขึ้น ภาพของ Layer ดังกล่าวก็จะกลับมาปรากฏใน Composition Panel อีกครั้ง

4

ให้แสดงเฉพาะ Layer ที่เลือก 1

เราได้ทราบและเรียนรู้วิธีซ่อน Layer กันไปแล้ว 2. เมื่อสัญลักษณ์รูปดวงตาหายไป Layer ดังกล่าว ต่อไปจะเป็นการเรียนรู้วิธีที่จะกำหนดให้แสดง เฉพาะ Layer ที่ต้องการ เหตุผลก็เพื่อซ่อน Layer ก็จะถูกซ่อนไว้ทันที อื่นๆ ทั้งหมด และให้แสดงเฉพาะ Layer ที่ต้อง การแก้ไขปรับแต่ง วิธีดังกล่าวสามารถทำได้ดังนี้ 1. คลิกลงไปที่ช่อง Solo บน Layer ที่ต้องการให้ แสดง จากนั้นจะปรากฏสัญลักษณ์รูปวงกลมสี 2 ขาวขึ้นมาในช่องดังกล่าว 3. ส่งผลให้ภาพที่อยู่ใน Composition Panel หายไปด้วย ทีนี้เราก็สามารถแก้ไข Layer อื่นๆ โดยไม่มีภาพจาก Layer ที่ซ่อนไว้ให้รกสายตา 1 3

2. ส่งผลให้ Layer อื่นๆ หายไปจาก CompositionPanel ทันที จากนั้นก็ทำการแก้ไข Layer ดังกล่าว ตามต้องการ 2

4. เมื่อต้องการเรียกภาพของ Layer ที่เราซ่อนไว้ กลับมา ก็สามารถทำได้ง่ายๆ โดยการคลิกลงไป ที่ช่อง Video - Hides Video อีกครั้ง จากนั้น 27


3. ถ้าต้องการให้แสดง Layer อันไหนเพิ่ม ก็ให้คลิก 1. คลิกเลือก Layer ที่ต้องการลบ จากนั้นกดปุ่ม ที่ช่อง Solo ของ Layer นั้นๆ Delete บนคีย์บอร์ด 1

3

4. เมื่อต้องการโชว์ Layer ทั้งหมดสามารถทำได้ 2 2. Layer ดังกล่าวจะถูกลบออกไปทันที วิธีคือ คลิกที่ช่อง Solo ให้เป็นจุดสีขาวครบทุก Layer หรือ คลิกที่ช่อง Solo เอาจุดสีขาวออกให้ Layer ชื่อ Scop3 ถูกลบออกไปแล้ว หมดทุก Layer 2

4

5. Layer ต่างๆ ก็จะแสดงขึ้นมาทั้งหมด

3. ใน Composition Panel ก็จะไม่ปรากฏภาพของ Layer ดังกล่าวอีกต่อไป

3 5

ลบ Layer ออกจาก Timeline Layer ที่ไม่ได้ใช้งาน เพื่อไม่ให้เป็นการเปลือง พื้นที่ เราสามารถลบออกไปได้ดังนี้

กำหนดช่วงเวลาแสดง Layer เราสามารถกำหนดช่วงเวลาที่จะให้แสดง Layer นั้นๆ ได้ตามต้องการด้วยวิธีดังต่อไปนี้ 1. คลิกลงไปที่ Time graph ของ Layer ที่ต้องการ

ภาพต้นฉบับ 1

28


2. เลื่อนเมาส์ไปยังส่วนหัวของ Time graph

กำหนดเวลาบน Timeline

2

3. แดรกเมาส์ไปยังช่วงเวลาที่ต้องการให้เป็นจุด เริ่มต้น สังเกตุแท่ง Time graph จะหดตามการ แดรกเมาส์

หลังจากที่ได้ศึกษาเรียนรู้วิธีกำหนดช่วงเวลาให้ Layer แสดงไปแล้วนั้น ลำดับถัดมาจะเป็นการ เรียนรู้ถึงวิธีกำหนดเวลาบน Timeline กันนะครับ ซึ่งสามารถทำได้ง่ายๆ ดังนี้ 1. เลื่อนเมาส์ไปยังแถบ Work Area End จุดเริ่มต้นวินาที 0

1

3

4. เลื่อนเมาส์ไปยังส่วนปลายของ Time graph

2. แดรกเมาส์ไปยังตำแหน่งเวลาที่ต้องการ ( ใน ตัวอย่างจะลดลงไปวินาทีที่ 15 )

4

5. แดรกเมาส์ไปยังช่วงเวลาที่ต้องการให้เป็นจุด lสิ้นสุด

2

3. จากนั้นเราก็จะได้เวลาบน Timeline โดยเริ่มต้น จากวินาทีที่ 0 ถึงวินาทีที่ 15 ตามที่กำหนดไว้ 3

5

เพียงเท่านี้เราก็สามารถกำหนดช่วงเวลาที่จะให้ Layer แสดงได้ตามต้องการ

4. เรายังสามารถกำหนดจุด Start บน Timeline ได้โดยคลิกที่จุด Work Area Start 4

29


5. แดรกเมาส์ไปยังวินาทีเริ่มต้นที่ต้องการ ( ตัวอย่างเลื่อนไปเริ่มต้นที่วินาทีที่ 5 )

6. การทำงานของ Timeline จะเริ่มต้นตั้งแต่วินาที ที่ 5 ถึงวินาทีที่ 15 ตามที่กำหนดไว้ 6

5

กำหนดขนาดจอภาพใน Composition panel Composition panel เป็นพื้นที่ทำงานหลักและเป็นเสมือนจอมอนิเตอร์ และสามารถกำหนดขนาด การแสดงผลบนหน้าจอได้ดังนี้

ภาพแสดงส่วนของ Composition panel

30


1. คลิกที่ไอคอน Magnification ratio popup 2. เลือกเปอร์เซนต์การแสดงผลตามต้องการ

ตัวอย่างเลือกการแสดงผล 200%

2

ตัวอย่างเลือกการแสดงผล 400%

เรียกเส้น Grid ขึ้นมาใช้งาน 1

เราสามารถกำหนดให้โปรแกรมแสดงเส้น Grid ( เส้นตาราง ) บนหน้าจอ เพื่อที่จะใช้กำหนด ต่ำแหน่งในการวางวัตถุลงไปได้อย่างแม่นยำ ด้วยวิธีการต่อไปนี้ 1. คลิกที่ไอคอน Choose grid and guide options 2. คลิกเลือกคำสั่ง Grid

1

ตัวอย่างเลือกการแสดงผลแบบ Fit, Fit up to 100%

2

ตัวอย่างเลือกการแสดงผล 25%

31


3. จะปรากฏเครื่องหมายถูกขึ้นหน้าคำสั่งดังกล่าว 3

1

2

4. ในขณะเดียวกันจะปรากฏเส้น Grid ขึ้นมาบน จอตามต้องการ ลักษณะเส้นตารางจะมีความ ละเอียดมาก เหมาะสำหรับใช้กำหนดพิกัดตำแหน่ง ของวัตถุที่มีขนาดเล็กหรือวัตถุที่มีความละเอียดสูง ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง

3. จะปรากฏสัญลักษณ์วงกลมสีน้ำเงินขึ้นมาหน้า คำสั่ง Proportional Grid 4 3

เมื่อไม่ต้องการใช้เส้น Grid แล้ว ให้ทำตามขั้นตอน เดิม โดยคลิกเครื่องหมายถูกที่หน้าคำสั่งออก เส้น 4. ตารางกำหนดสัดส่วนจะปรากฏขึ้นมาบนจอ ตามต้องการ Grid ที่อยู่บนหน้าจอก็จะหายไปทันที

Proportional Grid 4

Grid อีกประเภทหนึ่งคือ Proportional Grid หรือ ตารางกำหนดสัดส่วน ซึ่งตารางดังกล่าวจะมี ความละเอียดของเส้นน้อยกว่าแบบแรก เหมาะ สำหรับใช้ในการกำหนดสัดส่วนแบบหยาบๆ เช่น หากไม่ต้องการใช้งาน Proportional Grid แล้ว วัตถุชิ้นใหญ่ๆ มีความละเอียดไม่มากนักวิธีเรียก ให้ทำตามขั้นตอนแรก คลิกวงกลมสีน้ำเงินที่หน้า Proportional Grid ขึ้นมาใช้ สามารถทำได้ง่ายๆ คำสัง่ Proportional Grid ออก ตารางกำหนด ดังนี้ สัดส่วนบนจอก็จะหายไปทันที 1. คลิกที่ไอคอน Choose grid and guide options 2. คลิกเลือกคำสั่ง Proportional Grid

32


เรียกไม้บรรทัดขึ้นมาใช้งาน

กันหลุดเฟรมด้วย Title/Action safe

นอกจากเส้น Grid แล้ว เรายังสามารถเรียกใช้ เราสามารถป้องกันคลิปและ Title หลุดเฟรมได้ ไม้บรรทัดสำหรับวัดค่าต่างๆ ที่ต้องการได้ดังนี้ โดยการเรียกกรอบ Title/Action safe ให้ปรากฏ 1. คลิกที่ไอคอน Choose grid and guide options ขึ้นมาบนหน้าจอเพื่อที่จะได้จัดตำแหน่งคลิปและ 2. คลิกเลือกคำสั่ง Rulers Title ให้เหมาะสมกับสัดส่วนของภาพที่สร้างขึ้น สัดส่วนภาพในระบบภาพยนตร์หรือโทรทัศน์นั้น ส่วนใหญ่จะใช้กัน 2 แบบหลักๆ คือ 4 : 3 ( แบบจตุรัส ) และ 16 : 9 ( แบบสี่เหลี่ยมผืนผ้า ) 1 วิธีกรอบ Title/Action safe ขึ้นมาสามารถทำได้ ดังนี้ 1. คลิกที่ไอคอน Choose grid and guide options 2. คลิกเลือกคำสั่ง Title/Action safe 2 1

3. จะปรากฏเครื่องหมายถูกขึ้นหน้าคำสั่ง Rulers

2

3

4. ในขณะเดียวกันจะปรากฏแถบไม้บรรทัดขึ้นมา ตามต้องการ 4

เมื่อไม่ต้องการใช้ไม้บรรทัดแล้ว ให้ทำตามขั้น ตอนเดิม โดยคลิกเครื่องหมายถูกที่ไม้บรรทัดออก จากนั้นไม้บรรทัดที่อยู่บนหน้าจอก็จะหายไป

3. จะปรากฏสัญลักษณ์วงกลมสีน้ำเงินขึ้นมาหน้า คำสั่ง Title/Action safe 3

33


4. ในขณะเดียวกันจะปรากฏกรอบ Title/Action safe ขึ้นมาบนจอ

4

5. แต่ละเส้นในกรอบ Title/Action safe มีความหมายดังต่อไปนี้ 4 : 3 title safe หมายความว่า ในระบบ 4 : 3 ไตเติ้ลที่ใส่ลงไปควรจะอยู่ภายในกรอบนี้ 4 : 3 Action safe หมายความว่า ในระบบ 4 : 3 คลิปวิดีโอ, คลิปภาพ ควรจะอยู่ภายในกรอบนี้ 16 : 9 title safe หมายความว่า ในระบบ 4 : 3 ไตเติ้ลที่ใส่ลงไปควรจะอยู่ภายในกรอบนี้ 16 : 9 Action safe หมายความว่า ในระบบ 4 : 3 คลิปวิดีโอ, คลิปภาพ ควรจะอยู่ภายในกรอบนี้

5

4 : 3 Title safe 4 : 3 Action safe 16 : 9 Title safe 16 : 9 Action safe

หากไม่ต้องการใช้งาน Title/Action safe ให้ทำตามขั้นตอนแรก แล้วคลิกวงกลมสีน้ำเงินหน้าคำสั่ง Title/Action safe ออก กรอบดังกล่าวก็จะหายไปทันที

34


ทบทวนและทำความเข้าใจอีกครั้งก่อนการเรียนรู้ในบทเรียนถัดไปนะครับ ลำดับแรก วัตถุดิบทั้งหลาย ที่เรานำเข้ามาสร้างเป็นชิ้นงาน ไม่ว่าจะเป็น คลิปวิดีโอ เสียง ภาพนิ่ง ภาพกราฟิกต่างๆ เราจะเรียกสิ่ง เหล่านี้ว่าคลิป เช่นคลิปวิดีโอ คลิปเสียง คลิปภาพ ทั้งหมดจะถูกนำเข้ามาไว้ในหน้าต่างโปรเจ็ค ( Project Panel ) ด้วยคำสั่ง Import จากนั้นในการใช้งานคลิปที่ Import เข้ามาแล้วจะทำโดยการลากมาวางบน Timline Panel คลิปที่ อยู่บน Timeline Panel จะเรียกว่า Layer

วัตถุดิบ

คลิป

Layer

35


ตัดต่อคลิปบนหน้าต่าง Footage คลิปที่เรา Import ไว้ใน Project Panel อาจจะมีความยาวหรือมีบางช่วงเวลาที่เราไม่ต้องการและเรา สามารถตัดต่อส่วนที่ไม่ต้องการนั้นออกไปได้ ก่อนนำมาวางบน Timeline Panel ด้วยวิธีการดังต่อไปนี้ 1. ดับเบิ้ลคลิกคลิปที่ต้องการตัดต่อ 2. จะปรากฏหน้าต่าง Footage ขึ้นมา

1

2

36


3. รายละเอียดในหน้าต่าง Footage มีดังนี้

3

B

C

D

E

F

A

G

A. Set IN point to current time : ใช้กำหนดจุดเริ่มต้นของคลิป B. แสดงเวลาจุดเริ่มต้นของคลิป C. Set OUT point to current time : ใช้กำหนดจุดสิ้นสุดของคลิป D. แสดงเวลาจุดสิ้นสุดของคลิป E. เวลารวมทั้งหมดของคลิป F. Ripple insert Edit : แทรกคลิปลงไปในหน้าต่าง Timeline โดยไม่ทับคลิปเดิมที่มีอยู่ G. Overlay Edit : แทรกคลิปลงไปทับคลิปเดิมที่มีอยู่ในหน้าต่าง Timeline 4. ลาก Time Marker ไปยังตำแหน่งเวลาที่ต้องการให้เป็นจุดเริ่มต้น 4

37


5. คลิกปุ่ม Set IN เพื่อกำหนดให้เป็นจุดเริ่มต้น สังเกตุจะเห็นแถบเวลาด้านหน้าที่ไม่ต้องการจะ หายไป ตัวเลขจะแสดงเวลา ณ จุด Set IN ที่เรา ได้กำหนดไว้

8. วิธีนำคลิปที่ตัดต่อเสร็จแล้วไปใช้ใน Timeline ทำได้โดยการคลิกที่ปุ่ม Ripple insert Edit หรือ Overlay Edit แล้วแต่ความต้องการในการจัดวาง

แถบเวลาด้านหน้าที่ไม่ต้องการจะหายไป 5

8

ตัวเลขแสดงเวลา ณ จุดเริ่มต้น

6. ลาก Time Marker ไปยังตำแหน่งเวลาที่ต้อง การให้เป็นจุดสิ้นสุด

9. คลิปดังกล่าวจะปรากฏบน Timeline ตามต้อง การ

9 6

7. คลิกปุ่ม Set OUT เพื่อกำหนดให้เป็นจุดสิ้นสุด สังเกตุจะเห็นแถบเวลาด้านหลังที่ไม่ต้องการจะ หายไป ตัวเลขจะแสดงเวลา ณ จุด Set OUT ที่ เราได้กำหนดไว้ เป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการใน การตัดต่อคลิปก่อนนำไปใช้บน Timeline Panel แถบเวลาด้านหลังที่ไม่ต้องการจะหายไป ตัวเลขแสดงเวลา ณ จุดสิ้นสุด

7

38


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.