UNIT 3 : คำสั่งควบคุม Layer ในบทที่ 2 เราได้เรียนรู้วิธีการจัดการกับคลิป, การตัดต่อคลิป, รู้จักกับ Layer, วิธีจัดการกับ Layer ในบทต่อไปเราจะมาเรียนรู้คำสั่งพื้นฐานในการควบคุม Layer กัน เช่น การหมุน, การย่อและขยาย การปรับค่าความโปรงใสให้กับ Layer ฯลฯ
ในภาพตัวอย่างให้เราดูในหน้าต่าง Timeline จะเห็นได้ว่ามี Layer อยู่ด้วยกันทั้งหมด 4 Layer ที่ใช้ ประกอบกันขึ้นมาเป็นชิ้นงาน ซึ่งประกอบไปด้วย 1 คลิปวิดีโอ, 1 Shape Layer, และ 2 Text Layer
39
สังเกตุที่ช่อง Label ของแต่ละ Layer จะมีสัญลักษณ์รูปสามเหลี่ยมชีไปทางขวา ซึ่งนั่นหมายความว่า คำสั่งควบคุม Layer ได้ถูกเก็บซ่อนไว้
เมื่อทำการคลิกลงไปที่รูปสามเหลี่ยมดังกล่าว ก็จะปรากฏชุดคำสั่งซ่อนอยู่ดังภาพตัวอย่าง
คำสั่งพื้นฐานที่ทุก Layer ต้องมีคือคำสั่ง Transform จะประกอบด้วย 5 คำสั่งย่อยดังนี้
40
Anchor Point : เป็นคำสั่งเพื่อกำหนดจุดศูนย์ กลางให้กับวัตถุ โดยการป้อนค่าตัวเลขลงไปใน ช่องแกน X ( แนวนอน ) และแกน Y ( แนวตั้ง ) วัตถุจะขยับห่างจากจุดศูนย์กลางตามค่าตัวเลข ที่เราได้ป้อนเข้าไป การเลื่อนศูนย์สามารถนำไป ประยุกต์ใช้สำหรับหมุนวัตถุให้สวยงามตามความ ต้องการ X
จุดศูนย์กลาง
Anchor Point ในตำแหน่ง X = -100.0, Y = 0.0
Y ตัวอย่างการใช้คำสั่ง Anchor Point จุดศูนย์กลาง
จุดศูนย์กลาง
Anchor Point ในตำแหน่ง X = 0.0, Y = 0.0
Anchor Point ในตำแหน่ง X = 0.0, Y = 100.0
จุดศูนย์กลาง
Anchor Point ในตำแหน่ง X = 0.0, Y = -100.0 จุดศูนย์กลาง
Anchor Point ในตำแหน่ง X = 100.0, Y = 0.0
จุดศูนย์กลาง
Anchor Point ในตำแหน่ง X = -100.0, Y = -100.0
41
Position Point : เป็นคำสั่งสำหรับเคลื่อนย้าย ตำแหน่งของวัตถุ โดยการป้อนค่าตัวเลขลงไปใน ช่องแกน X และ แกน Y เพื่อย้ายวัตถุไปยังพิกัด ที่ต้องการ X
ตัวอย่างการใช้คำสั่ง Position Point
Y
Position Point ณ ตำแหน่งปัจจุบัน X = 644.7, Y = 395.4
Position Point ในตำแหน่ง X = 950.0, Y = 260.0
Position Point ในตำแหน่ง X = 325.0, Y = 400.0
Scale : เป็นคำสั่งสำหรับย่อ/ขยายขนาด วัตถุ ใน Scale จะประกอบไปด้วย - ปุ่ม Constrain proportion, - ช่องป้อนค่า X ( ย่อ/ขยายในแนวนอน ) - ช่องป้อนค่า Y ( ย่อ/ขยายในแนวตั้ง ) X Constrain proportion Position Point ในตำแหน่ง X = 408.7, Y = 395.4
Position Point ในตำแหน่ง X = 950.0, Y = 395.4
Y ปุ่ม Constrain proportion มีไว้สำหรับสร้างความ สมมาตรเมื่อทำการขยายวัตถุ เช่น เมื่อเราทำการ ขยายวัตถุในแกน X แกน Y ก็จะถูกขยายตามไป ด้วย ทำให้วัตถุไม่เสียรูป
42
ตัวอย่างการใช้คำสั่ง Scale ในการย่อ/ขยายวัตถุ
ปิด Constrain proportion แล้วขยาย Scale ในช่อง Y = 60.0% ค่า Scale ณ ตำแหน่งเดิม X = 39.0%, Y = 39.0%
ขยาย Scale ในช่อง X = 60.0%
ทดลองปิดการทำงานของ Constrain proportion จากนั้นปรับค่าในช่อง Y = 60% วัตถุจะถูกขยาย เฉพาะทางด้านแนวตั้งเท่านั้น
Rotation : เป็นคำสั่งสำหรับหมุนวัตถุ โดยป้อน ค่าองศาของการหมุนลงไป โปรแกรมก็จะหมุน วัตถุดังกล่าวให้ตามต้องการ ในคำสั่ง Rotation จะประกอบไปด้วย จำนวนรอบ
เมื่อขยายวัตถุในช่อง X = 60% ชอง Y จะขยาย ตามไปด้วยเท่ากันคือ 60% เนื่องจากเปิดการ ทำงานของ Constrain proportion ไว้
องศาการหมุน
ตัวอย่างการใช้คำสั่ง Rotation หมุนวัตถุ
ปิด Constrain proportion แล้วขยาย Scale ในช่อง X = 60.0%
ทดลองปิดการทำงานของ Constrain proportion จากนั้นปรับค่าในช่อง X = 60% วัตถุจะถูกขยาย เฉพาะทางด้านแนวนอนเท่านั้น
กำหนดจำนวนรอบที่หมุน
กำหนดองศาการหมุน 43
Opacity : เป็นคำสั่งสำหรับปรับค่าความโปร่ง ใสให้กับวัตถุ โดยการป้อนค่าความโปร่งใสที่ต้อง การลงไปสามารถกำหนดค่าได้ตั้งแต่ 0 ถึง 100% ปรับค่าความโปร่งใส
ตัวอย่างการใช้คำสั่ง Opacity ปรับค่าความโปร่ง ใสให้กับวัตถุ ( ปรับค่าลงบนตัวหุ่นยนต์ )
ค่า Opacity ที่ 100%
Keyframes Keyframe ( คีย์เฟรม ) คือจุดที่สร้างขึ้นมาสำหรับ กำหนดค่าต่างๆ บน Layer เพื่อให้ Layer หรือวัตถุ นั้นเกิดการเปลี่ยนแปลง คีย์เฟรมที่สร้างขึ้นต้องมี อย่างน้อย 2 คีย์เฟรม โดยคีย์เฟรมแรกใช้เป็นค่า เริ่มต้น และคีย์เฟรมที่ 2 ใช้เป็นค่าสิ้นสุด โดยกำ หนดค่าให้แต่ละคีย์เฟรมนั้นแตกต่างกัน เช่น ตัว อย่างเราต้องการกำหนดให้วัตถุ ( Layer ) ค่อยๆ ขยายขนาดขึ้น ดังนั้นเราจึงสร้างคีย์เฟรมขึ้นมา 2 ตัวโดยกำหนดค่าคีย์เฟรมตัวแรกให้วัตถุมีขนาด เล็กและกำหนดค่าคีย์เฟรมตัวที่ 2 ให้วัตถุมีขนาด ใหญ่ เมื่อทำการทดสอบผลงาน จะเห็นได้ว่า วัตถุ ดังกล่าวจะค่อยๆ ขยายจากเล็กไปใหญ่ตามที่ได้ กำหนดไว้ ภาพตัวอย่าง กำหนดให้หุ่นยนต์ขยายขนาด โดยให้เริ่มตั้งแต่ วินาทีที่ 0:00:00:10 จนสิ้นสุดในวินาทีที่ 0:00:14:20 วินาทีที่ 0:00:00:10
ปรับค่า Opacity ที่ 75% วินาทีที่ 0:00:05:00
ปรับค่า Opacity ที่ 25%
44
วินาทีที่ 0:00:11:00
วินาทีที่ 0:00:14:20
วิธีสร้าง Keyframes จากภาพตัวอย่างวิธีสร้าง Keyframe เพื่อขยายขนาดของหุ่นยนต์สามารถทำได้ดังนี้ 1. คลิกที่ Layer หุ่นยนต์จากนั้นคลิกเปิดคำสั่งควบคุม Layer 1
2. แดรกเมาส์ลากตัวเลื่อนเฟรมไปยังตำแหน่งช่วงเวลาที่ต้องการให้เป็นจุดเริ่มต้น ( 0:00:00:10 ) 3. คลิกลงไปบนไอคอน ( Time - Vary stop watch ) ที่อยู่หน้าคำสั่ง Scale คำสั่งนี้ใช้สำหรับย่อ/ขยาย ขนาดของวัตถุหรือ Layer 2 3
4. จะปรากฏจุดคีย์เฟรมขึ้นมาบน Time graph 5. ในขณะเดียวกันก็จะปรากฏจุดควบคุมคีย์เฟรมขึ้นที่หน้าคำสั่ง Scale 6. กำหนดขนาดเริ่มต้นของหุ่นยนต์ในช่อง Scale
5
6
4
45
7. แดรกเมาส์ลากตัวเลื่อนเฟรมไปยังตำแหน่งช่วงเวลาที่ต้องการให้เป็นจุดสิ้นสุด ( 0:00:14:20 ) 8. จากนั้นคลิกที่ไอคอน Add or remove keyframe 7
8
9. จะปรากฏคีย์เฟรมเพิ่มขึ้นมาอีกจุดหนึ่งบน Time graph 10. กำหนดขนาดของหุ่นยนต์ให้ใหญ่ขึ้นในช่อง Scale
10
9
11. ทดสอบผลงานด้วยการคลิกที่ปุ่ม Ram Preview
11
หุ่นยนต์จะค่อยๆ ขยายขนาดขึ้นตามค่าตามช่วงเวลาที่ได้กำหนดไว้ หากต้องการให้หุ่นยนต์หรือวัตถุ เปลี่ยนแปลงค่าจากทึบแล้วค่อยโปร่งใสขึ้น ก็ให้เริ่มทำตามขั้นตอนแรกเมื่อถึงข้อที่ 3 ก็ให้ไปเลือกคำสั่ง Opacity แล้วปรับแต่งค่าตามต้องการ หมายเหตุ : คีย์เฟรมสามารถสร้างขึ้นมาใช้งานได้มากกว่า 2 ตัว 46
ย้ายตำแหน่ง Keyframes เมื่อเราสร้างคีย์เฟรมและกำหนดค่าของคำสั่งเป็นที่เรียบร้อยแล้ว แต่ต้องการจะย้ายตำแหน่งของ คีย์เฟรมดังกล่าวให้ออกไปอีก ก็สามารถทำได้ง่ายๆ ด้วยการคลิกบนคีย์เฟรมนั้นแล้วแดรกเมาส์ลาก ไปยังตำแหน่งที่ต้องการ
ลบ Keyframes คีย์เฟรมที่ไม่ต้องการ สามารถลบทิ้งไปได้ง่ายๆ ดังนี้ 1. คลิกเลือกคีย์เฟรมที่ต้องการลบ ( คีย์เฟรมจะเป็นสีเหลือง ) 2. จากนั้นกดปุ่ม Delete บนคีย์บอร์ด คีย์เฟรมดังกล่าวจะถูกบลออกไปทันที
1
2
47