Aftereffectscs6 unit 4

Page 1

UNIT 4 : Text Layer ในบทนี้จะกล่าวถึงวิธีการสร้างตัวอักษรลงไปบน ชิ้นงานด้วย Text Layer กันครับ ซึ่งตัวอักษรที่เรา จะสร้างขึ้นนั้น มีทั้งแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ รวมไป ถึงวิธีการใส่ Effects ให้กับตัวอักษรกันครับ

3. จากนั้นจะได้ Text Layer เพิ่มเข้ามาในหน้า ต่าง Timeline 3

4. ในหน้าต่าง Composition จะปรากฏเคอร์เซอร์ ขึ้นมาสำหรับพิมพ์ข้อความ

4

วิธีการสร้างตัวอักษร การสร้างตัวอักษรขึ้นมานั้น อย่างแรกต้องสร้าง Layer ขึ้นมาก่อนดังนี้ 1. คลิกขวาในหน้าต่าง Timeline > New

5. จากนั้นพิมพ์ข้อความที่ต้องการลงไป

1 5

2. เลือก Layer ที่จะสร้างเป็น Text 2

48


รู้จักกับเครื่องมือที่ใช้ในการปรับแต่งตัวอักษร Character Panel เป็นหน้าต่างที่รวมเครื่องมือไว้สำหรับปรับแต่งตัวอักษร รายละเอียดของเครื่อง มือต่างๆ ใน Character Panel มีดังนี้ A

N

B C

M

D

E

F

G

H

I

J

K L

A : Font Family ใช้เลือกรูปแบบตัวอักษร

ตัวอย่างแบบอักษร PSL ThaiAntique

ตัวอย่างแบบอักษร PSL Isara

B : Font Style ใช้เปลี่ยนลักษณะของตัวอักษร ปกติ, หนา, เอียง

ลักษณะตัวอักษรแบบธรรมดา ( Regular )

ลักษณะตัวอักษรแบบหนา ( Bold )

ลักษณะตัวอักษรแบบเอียง ( Italic )

ลักษณะตัวอักษรแบบหนาเอียง ( Bold Italic )

49


C : Font Size ใช้เปลี่ยนขนาดของตัวอักษร D : Kerning ใช้กำหนดระยะห่างระหว่างตัวอักษร 2 ตัว

ตัวอย่างค่าระยะห่างปกติ ( 0 )

ตัวอย่างค่าระยะห่าง = -200

ตัวอย่างค่าระยะห่าง = 100

ตัวอย่างค่าระยะห่าง = 200

E : Tracking กำหนดระยะห่างระหว่างตัวอักษรทั้งหมด

ตัวอย่างค่า Tracking = 0

ตัวอย่างค่า Tracking = -100

ตัวอย่างค่า Tracking = 50

ตัวอย่างค่า Tracking = 100

F : Stroke ใช้กำหนดขนาดของเส้นขอบตัวอักษร

ตัวอย่างค่า Stroke = 0 px

ตัวอย่างค่า Stroke = 3 px

ตัวอย่างค่า Stroke = 5 px

ตัวอย่างค่า Stroke = 10 px

50


G : ใช้กำหนดลักษณะของเส้นขอบตัวอักษร

Storke Over Fill : เส้นขอบจะอยู่ด้านหน้าของตัวอักษร

Fill Over Stroke : เส้นขอบจะอยู่ด้านหลังของตัวอักษร

H : Vertically Scale ใช้กำหนดความยาวของตัวอักษร

ตัวอย่างค่า Vertically Scale ค่าปกติ ( 100% )

ตัวอย่างค่า Vertically Scale = 50%

ตัวอย่างค่า Vertically Scale = 125%

ตัวอย่างค่า Vertically Scale = 175%

I : Horizontally Scale ใช้กำหนดความกว้างของตัวอักษร

ตัวอย่างค่า Horizontally Scale ค่าปกติ ( 100% )

ตัวอย่างค่า Horizontally Scale = 50%

ตัวอย่างค่า Horizontally Scale = 125%

ตัวอย่างค่า Horizontally Scale = 150%

51


J : baseline shift ใช้สำหรับเลื่อนตัวอักษรในแนวตั้ง

ตัวอย่างค่า Baseline shift ปกติ = 0 px

ตัวอย่างค่า Baseline shift = 12 px

ตัวอย่างค่า Baseline shift = -12 px

K : Tsume ใช้สำหรับบีบตัวอักษร

ตัวอย่างค่า Tsume ปกติ = 0%

ตัวอย่างค่า Tsume = 30%

ตัวอย่างค่า Tsume = 70% Faux Italic Small Caps

ตัวอย่างค่า Tsume = 100% Subscript

L : กำหนดลักษณะพิเศษให้ตัวอักษร

Faux Bold All Caps

Superscript

ตัวอย่าง ต้นฉบับ

ตัวอย่าง อักษรพิเศษ Faux Bold

ตัวอย่าง อักษรพิเศษ Faux Italic

52


ตัวอย่าง อักษรพิเศษ All Caps

ตัวอย่าง อักษรพิเศษ Small Caps

ตัวอย่าง อักษรพิเศษ Superscript

ตัวอย่าง อักษรพิเศษ Subscript

M : Leading ใช้สำหรับปรับระยะห่างระหว่างบรรทัด

ตัวอย่างค่า Leading ปกติ ( Auto )

ตัวอย่างค่า Leading = 24 px

ตัวอย่างค่า Leading = 48 px

ตัวอย่างค่า Leading = 100 px

N : Fill & Stroke Color ใช้กำหนดสีตัวอักษรและสีขอบของตัวอักษร Fill ( สีตัวอักษร ) Eyedropper ( ที่ดูดสี ) Set to Black ( set ค่าสีใไ้เป็นสีดำ ) Set to White ( set ค่าสีใไ้เป็นสีขาว )

Swap Fill & Stroke ( สลับสีอักษรกับสีขอบ ) Stroke ( สีขอบ )

No Fill Color ( ตัดสีตัวอักษรออก ) 53


Paragraph Panel เป็นหน้าต่างที่รวมเครื่องมือไว้สำหรับจัดรูปแบบข้อความ รายละเอียดของเครื่อง มือต่างๆ ใน Paragraph Panel มีดังนี้ D B

E

C

F

A H

G J

L

I K

A : Left Align Text จัดข้อความให้ชิดขอบซ้าย B : Center Text จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง C : Right Align Text จัดข้อความให้ชิดขอบขวา D : Justify Last Left กระจายตัวอักษรทั้งหมดให้เสมอกัน และบันทัดสุดท้ายให้ชิดขอบซ้าย E : Justify Last Centered กระจายตัวอักษรทั้งหมดให้เสมอกัน และบันทัดสุดท้ายให้อยู่กึ่งกลาง F : Justify Last Right กระจายตัวอักษรทั้งหมดให้เสมอกัน และบันทัดสุดท้ายให้ชิดขอบขวา G : Justify All กระจายตัวอักษรทั้งหมดให้เสมอกันทุกบันทัด H : Indent Left Margin กำหนดย่อหน้าซ้ายทุกบันทัด I : Indent Right Margin กำหนดย่อหน้าขวาทุกบันทัด J : Add Space Before Paragraph กำหนดระยะบันทัดก่อน K : Add Space After Paragraph กำหนดระยะบันทัดหลัง L : Indent First Line กำหนดย่อหน้าซ้ายในบันทัดแรก

54


3. จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง Text Color ขึ้นมา

วิธีเปลี่ยนสีให้ตัวอักษร ในหน้าแรกของบทที่ 4 เราได้เรียนรู้ขั้นตอนวิธีการ สร้างตัวอักษรกันไปแล้วนะครับ ลำดับถัดไปเรา จะมาเรียนรู้วิธีการเปลี่ยนสีให้ตัวอักษรกันครับ ขั้นตอนและวิธีการเปลี่ยนสีตัวอักษรมีดังต่อไปนี้ 1. คลิกลงบน Text Layer ที่ต้องการเปลี่ยนสีตัว อักษร

3

4. เลือกสีที่ต้องการแล้วคลิกปุ่ม Ok 4 1

5. สีของตัวอักษรจะเปลี่ยนไปตามที่ได้เลือกไว้ 5

2. คลิกที่ Fill Color ในหน้าต่าง Character Panel

2

หากต้องการเปลี่ยนสีตัวอักษรเฉพาะบางตัวก็ สามารถทำได้ง่ายๆ ดังนี้ 1. คลิกบน Text Layer ที่ต้องการเปลี่ยนสีตัว อักษร

1

55


2. แดรกเมาส์ไฮไลท์เฉพาะตัวอักษรที่ต้องการ เปลี่ยนสี

6. สีตัวหนังสือจะเปลี่ยนไปตามที่ได้เลือกไว้

2

6

3. คลิกที่ Fill Color ในหน้าต่าง Character Panel 3

วิธีสร้างเส้นขอบให้ตัวอักษร เส้นขอบสามารถช่วยทำให้ตัวอักษรดูเด่นและมอง เห็นชัดขึ้นแม้จะอยู่บน Blackground ที่ทึบ วิธีการ สร้างเส้นขอบสามารถทำได้ดังนี้ 1. คลิกลงบน Text Layer ที่ต้องการสร้างเส้นขอบ

4. จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง Text Color ขึ้นมา 1 4

5. เลือกสีที่ต้องการแล้วคลิกปุ่ม Ok

5

2. จากนั้นกำหนดความหนาของเส้นขอบ ( Stroke ) ในหน้าต่าง Character Panel 3. เลือกลักษณะของเส้นขอบตามต้องการ 4. เราก็จะได้ตัวอักษรที่มีเส้นขอบตามที่กำหนดไว้ 56


3

2

2. คลิกที่ Stroke Color ในหน้าต่าง Character Panel

2

4

3. จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง Text Color ขึ้นมา

วิธีเปลี่ยนสีเส้นขอบ ขั้นตอนการเปลี่ยนสีให้กับเส้นขอบสามารถทำได้ 3 ดังนี้ 1. คลิกลงบน Text Layer ที่ต้องการเปลี่ยนสีให้ เส้นขอบ ( ต้องคลิกเลือก Layer ดังกล่าวทุกครั้ง นั้นก็เพื่อป้องกันความผิดพลาด ที่เราอาจเผลอไป 4. เลือกสีเส้นขอบที่ต้องการเปลี่ยนแล้วคลิก Ok ทำงานบน Layer อื่นอยู่นั่นเอง ) 4

1

57


5. สีของเส้นขอบจะเปลี่ยนไปตามที่ได้เลือกไว้ 5

สร้างตัวอักษรให้โค้งรอบวัตถุ นอกจากการสร้างตัวอักษรหรือข้อความธรรมดาๆ ในแนวนอนแล้ว เรายังสามารถทำให้ตัวอักษรหรือ ข้อความดังกล่าวโค้งเว้าเข้ารูปทรงกับวัตถุอื่นๆ ได้ ทำให้ดูสวยงามแปลกตาและน่าสนใจยิ่งขึ้น

วิธีทำให้ตัวอักษรโค้งเว้าไปตามรูปทรงที่ต้องการสามารถทำได้ดังนี้ 1. Ipmort คลิปที่ต้องการใช้งานเข้ามาไว้ใน Project Panel

1

58


2. ลากคลิปดังกล่าวมาวางใน Timeline Panel

2

3. คลิกขวาที่ Timeline Panel เลือกคำสั่ง Composition Settings...

3

59


4. จะปรากฏหน้าต่าง Composition Settings.. ขึ้นมา 5. กำหนดความละเอียดของภาพที่ต้องการ ( ตัวอย่างใช้ HDV/HDTV 720 25 ) 5. กำหนดเวลาการแสดงคลิปในช่อง Duration ( ตัวอย่างใช้ 0:00:05:00 ) 6. จากนั้นคลิกปุ่ม Ok

9. พิมพ์ข้อความที่ต้องการลงไป

9

10. ดับเบิ้ลคลิกที่ข้อความดังกล่าว

4

10

5 6

11. คลิกเลือกเครื่องมือ Pen Tool

7. จัดองค์ประกอบภาพให้เหมาะสม

11

7

8. สร้าง Text Layer โดยการคลิกขวาที่ Timeline Panel > New >Text

12. ใช้เครื่องมือ Pen Tool วาดเส้น Path ลงไป บนรูปทรงที่ต้องการให้ข้อความเว้าโค้งรับสัดส่วน เส้นที่วาดลงไปจะเห็นเป็นเส้นสีเหลืองดังภาพ 12

8

60


13. คลิกเปิดคำสั่งที่ซ่อนไว้ของ Text Layer

18. ปรับแต่งตำแหน่งข้อความที่ First Margin

13

18

19. ข้อความจะขยับไปตามค่าที่ปรับไว้

14. คลิกเข้าไปในคำสั่ง Text

19

14

15. คลิกเข้าไปในคำสั่ง Path Options

ทำให้ตัวอักษรเคลื่อนไหว

15

วิธีทำให้ตัวอักษรเคลื่อนไหว ดูแล้วน่าสนใจนั้นมี หลายวิธี ไม่ว่าจะเป็นการใช้คำสั่ง Tranform, คำสั่ง Path Options หรือ การใส่ Effect ให้กับตัว อักษร ล้วนแล้วสามารถทำให้ตัวอักษรเคลื่อนไหว ได้ทั้งสิ้น ขึ้นอยู่กับว่าใครจะนำคำสั่งและลูกเล่น แบบใดมาใช้ ซึ่ง 3 วิธีหลักๆ ที่กล่าวมาสามารถ นำมาประยุกต์ใช้งานได้ดังนี้

16. ที่ Path คลิกเลือกให้เป็น Mask1 16

เคลื่อนไหวด้วยคำสั่ง Transform 17. ข้อความจะเว้าไปตามเส้น Path ที่ได้วาดไว้ 17

ทำให้ตัวอักษรเคลื่อนไหวด้วยคำสั่ง Transform หลักการคือ สร้างคีย์เฟรมขึ้นมาบนคำสั่งย่อยใน Transform เพื่อควบคุมคุณสมบัติต่างๆ ของชิ้น งาน เช่น หากเราต้องการทำให้อักษรหมุนวนและ ค่อยๆ ขยายขึ้นมาเต็มหน้าจอแล้วหยุดนิ่ง 5 วินาที จากนั้นให้ตัวอักษรค่อยๆ เลื่อนและจางหายไป ทางด้านซ้าย ก็สามารถทำได้ง่ายๆ ดังนี้ 1. สร้างตัวอักษรที่ต้องการขึ้นมา

61


6. ขนาดของตัวอักษรจะลดลงเหลือ 30% ดังภาพ 1

6

2. เปิดชุดคำสั่ง Tranform 7. ลากตัวเลื่อนเฟรมไปที่เวลา 0:00:05:00 7

2

3. ให้ตัวเลื่อนเฟรมอยู่ที่เวลา 0:00:00:00 3

4. สร้างคีย์เฟรมขึ้นมาโดยคลิกลงไปบนไอคอน ( Time - Vary stop watch ) ที่อยู่หน้าคำสั่ง Position, Scale และ Rotation ตามลำดับ

8. สร้างคีย์เฟรมขึ้นมาในวินาทีที่ 5 โดยการคลิก Add keyframe บนคำสั่ง Position, Scale และ Rotation ตามลำดับ 8

9. คีย์เฟรมจะเพิ่มขึ้นมาบน Timeline ดังภาพ 4

9

5. จากนั้นกำหนดค่า Scale = 30%

10. คลิกลงไปบนคีย์เฟรมในช่องคำสั่ง Rotation

5

10

62


11. แล้วใส่ค่าจำนวนรอบในการหมุน = 2 รอบ

17. จัดตำแหน่งตัวอักษรให้อยู่กลางจอ 17

11

12. คลิกลงไปบน keyframe ในช่องคำสั่ง Scale

18. จากนั้นลากตัวเลื่อนเฟรมไปที่เวลา 0:00:15:00 18

12

13. กำหนดค่าในคำสั่ง Scale = 100%

19. สร้างคีย์เฟรมขึ้นมาในวินาทีที่ 15 โดยคลิก Add keyframe บนคำสั่ง Position, Scale และ Rotation ตามลำดับ

13 19

14. ตัวอักษรจะขยายขนาดจาก 30% ขึ้นเป็น 100% ตามค่าที่ได้กำหนดไว้ 14

20. และสร้างคีย์เฟรมให้กับคำสั่ง Opacity โดย คลิกลงไปบนไอคอน ( Time - Vary stop watch ) ที่อยู่หน้าคำสั่ง Opacity

20

15. ลากตัวเลื่อนเฟรมกลับไปที่เวลา 0:00:00:00 16. คลิกลงไปบน keyframe ในช่องคำสั่ง Position 21. ลากตัวเลื่อนเฟรมไปที่เวลา 0:00:20:00 15

21

16

63


22. สร้างคีย์เฟรมขึ้นมา บนคำสั่ง Position

22

23. แดรกเมาส์ลากตัวอักษรให้เยื้องไปทางซ้าย

27. ตัวอักษรจะหมุนและค่อยๆ ขยายขึ้นจนเต็ม จอภายใน 5 วินาทีตามค่าที่กำหนดไว้ โดยตัว อักษรจะแสดงค้างไว้อีก 5 วินาที จากนั้นจะเลื่อน ไปทางด้านซ้ายและค่อยๆ จางหายไปโดยใช้เวลา อีก 5 วินาที 27

23

24. สร้างคีย์เฟรมขึ้นมาบนคำสั่ง Opacity

24

25. กำหนดค่า Opacity = 0%

25

26. คลิกที่ไอคอน RAM Preiew เพื่อทดสอบผล 26

64


3. จะปรากฏคีย์เฟรมแรกขึ้นมาบน Timeline 3

4. ภาพในคีย์เฟรมแรก ณ ช่วงเวลา 0:00:00:00

4

5. ลากตัวเลื่อนเฟรมไปที่เวลา 0:00:02:00 5

เคลื่อนไหวด้วยคำสั่ง Path Options

การกำหนดให้อักษรหรือข้อความเคลื่อนไหวด้วย คำสั่ง Path Option ใช้หลักการเดียวกันคือสร้าง 6. คลิกปุ่ม Add keyframe เพื่อสร้างคีย์เฟรมเพิ่ม Key frame ขึ้นมาควบคุมคำสั่ง สามารถทำได้ ง่ายๆ โดยให้ย้อนกลับไปที่เรื่อง การสร้างตัวอักษร ขึ้นมาบนคำสั่ง First Margin ให้โค้งรอบวัตถุ ( หน้าที่ 58 ) จนมาถึงข้อที่ 17 แล้วทำตามขั้นตอนดังนี้ 6 1. ลากตัวเลื่อนเฟรมมาอยู่ที่วินาที 0:00:00:00 1

7. จะได้คีย์เฟรมเพิ่มขึ้นมาในวินาทีที่ 2 2. สร้างคีย์เฟรมแรกขึ้นมาบนคำสั่ง First Margin

2

7

8. ปรับค่า First Margin ตามต้องการ ( ตัวอย่าง ปรับค่า = 200 ) 65


2. คลิกที่เมนู Effect 3. เลือกประเภท Effect ( ตัวอย่างเลือก Blur & Sharpen ) 4. จากนั้นเลือก Effect ที่ต้องการ ( ตัวอย่างเลือก Radial Blur )

8

9. ภาพในคีย์เฟรมแรก ณ ช่วงเวลา 0:00:02:00

2

3 9

4

10. ทดสอบผลงานโดยคลิกที่ปุ่ม RAM Preview ตัวอักษรหรือข้อความดังกล่าวจะเคลื่อนที่จาก วินาทีที่ 0 ไปยังวินาทีที่ 2 ตามค่า First Margin ที่ได้กำหนดไว้

5. จะปรากฏหน้าต่าง Effect Controls ขึ้นมา

10

5

เคลื่อนไหวด้วย Effects ทำให้อักษรหรือข้อความเคลื่อนไหวด้วย Effects คือการใส่ Efeects ที่ต้องการลงไปบนตัวอักษร หรือข้อความ จากนั้นสร้าง Key frame ขึ้นมาบน Line Effects แล้วกำหนดค่าต่างๆ ลงไป ขั้นตอน และวิธีสามารถทำได้ง่ายๆ ดังนี้ 1. สร้างข้อความที่ต้องการขึ้นมา 1

6. ขณะเดียวกันข้อความตัวอักษรจะเปลี่ยนไป ตามค่ามาตรฐานของ Effect ตัวที่ใส่ลงไป 66


11. แดรกเมาส์ลากตัวเลื่อนเฟรมมาอยู่ที่ตำแหน่ง 0:00:00:00 11 6

7. เปิดคำสั่งของ Layer Text ( ข้อความที่เราสร้าง ขึ้นมา )

7

8. เข้าไปในคำสั่ง Effects

12. สร้างคีย์เฟรมแรกขึ้นมาโดยคลิกลงไปบนไอคอน ( Time - Vary stop watch ) ของคำสั่ง Amount

12

13. ปรับค่า Amount = 200 ( หรือมากกว่า เพื่อที่ จะให้ข้อความตัวอักษรเบลอมากที่สุด )

8

13

9. เข้าไปในคำสั่ง Radial Blur 14. ข้อความตัวอักษรจะเบลอไปตามค่าที่ปรับไว้ 9

10. จะเห็นส่วนของการปรับแต่งค่าต่างๆ ของ Radial Blur

14

10

67


15. แดรกเมาส์ลากตัวเลื่อนเฟรมมาอยู่ที่ตำแหน่ง 0:00:05:00 15

20. ตัวอักษรจะค่อยๆ เปลี่ยนจากภาพที่เบลอด้วย Effect ในวินาทีที่ 0 แล้วค่อยๆ ชัดขึ้นในวินาทีที่ 5 ตามค่าที่ได้ปรับแต่งไว้ 20

16. คลิกปุ่ม Add keyframe เพื่อเพิ่มคีย์เฟรมขึ้น มาอีก 1 ตัว ( ในวินาทีที่ 5 ) 16

17. แล้วปรับค่า Amount = 0 ( เพื่อให้ข้อความ ตัวอักษรชัดมากที่สุด )

17

18. ตัวอักษรชัดเหมือนก่อนใส่ Effect 18

19. จากนั้นคลิกปุ่ม RAM Preview เพื่อดูผลงาน 19

68


เคลื่อนไหวด้วยคำสั่ง Text Animators Text Animators เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับสร้างการ เคลื่อนไหวให้ตัวอักษรโดยเฉพาะ และมีรูปแบบ ของการเคลื่อนไหวให้เราได้เลือกใช้มากมาย การ นำคำสั่ง Text Animators มาใช้นั้นต้องสร้างคีย์ เฟรมขึ้นมาควบคุมจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดเหมือน กับคำสั่งอื่นๆ ที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ขั้นตอน การใช้คำสั่ง Text Animations สามารถทำได้ดังนี้ 1. สร้างตัวอักษรหรือข้อความที่ต้องการขึ้นมา

4

1

2. เปิดคำสั่งใน Layer Text 5. ชุดควบคุมคำสั่ง Rotation จะปรากฏเพิ่มเข้า มาบน Text Layer

2

3. คลิกที่คำสั่ง Animate 5

3

4. เลือกคำสั่งการเคลื่อนไหวตัวอักษรที่ต้องการ ( ตัวอย่างเลือกคำสั่ง Rotation )

6. แดรกเมาส์ลากตัวเลื่อนเฟรมมาอยู่ ณ ตำแหน่ง 0:00:00:00 6

69


7. คลิกที่ ( Time - Vary stop watch ) เพื่อสร้าง คีย์เฟรมแรกของคำสั่ง Rotation ขึ้นมา 11

7

12. จากนั้นคลิกที่ปุ่ม RAM Preview เพื่อทดสอบ ผลงาน

8. แดรกเมาส์ลากตัวเลื่อนเฟรมไปยังตำแหน่ง เวลาที่ต้องการ ( ตัวอย่างกำหนด ณ วินาทีที่ 5 ) 8

9. คลิก Add keyframe เพื่อสร้างจุดควบคุมคำสั่ง Rotation จุดที่ 2 ขึ้นมา

12

13. ตัวอักษรจะหมุนตามจำนวนรอบที่ได้กำหนด ไว้จากวินาทีที่ 0 ถึงวินาทีที่ 5 ตามต้องการ 13

9

10. จะปรากฏคีย์เฟรมจุดที่ 2 ขึ้นบน Timeline ณ ตำแหน่งเวลาที่กำหนดไว้ในข้อ 8

10

11. กำหนดจำนวนรอบของการหมุนลงไปใน คำสั่ง Rotation ( ตัวอย่างกำหนดไว้ที่ 2 รอบ ) 70


เคลื่อนไหวด้วยแบบอักษรสำเร็จรูป

4

แบบอักษรสำเร็จรูป ( Text Animations Presets ) คือแบบการเคลื่อนไหวในลักษณะต่างๆ ซึ่งจะมี รูปแบบมากมายให้เราเลือก เมื่อดับเบิ้ลคลิกเลือก รูปแบบอักษรที่ต้องการแล้ว โปรแกรมจะทำการ กำหนดค่าต่างๆ และสร้างคีย์เฟรมขึ้นมาให้เรา โดยอัตโนมัติ ซึ่งง่ายและสะดวกต่อการใช้งานเป็น อย่างยิ่ง วิธีนำแบบอักษรสำเร็จรูปมาใช้สามารถ 5. คลิกที่ไอคอน Computer ทำได้ดังนี้ 6. ดับเบิ้ลคลิกที่ไดร์ C 1. สร้างตัวอักษรหรือข้อความที่ต้องการขึ้นมา 6

1 5

2. จากนั้นเปิดโปรแกรม Adobe Bridge ขึ้นมา โดยการคลิกที่เมนู File > Browse in Bridgr... หรือกดคีย์ลัด Ctrl + Alt + Shift + O

7. ดับเบิ้ลคลิกโฟลเดอร์ Program Files

7

8. ดับเบิ้ลคลิกโฟลเดอร์ Adobe 2

8

3. โปรแกรม Adobe Bridge จะปรากฏขึ้นมา 9. ดับเบิ้ลคลิกโฟลเดอร์ Adobe After Effects CS6 3

4. คลิกเลือกที่แถบ FOLDERS

9

71


10. ดับเบิ้ลคลิกโฟลเดอร์ Support Files 10

15. แบบที่เลือกจะถูกนำเข้ามายัง Text Layer 15

11. ดับเบิ้ลคลิกโฟลเดอร์ Presets

16. คลิกที่ RAM Preview เพื่อทดสอบผลงาน 16

11

17. ตัวอักษรจะเคลื่อนไหวตามรูปแบบที่ได้เลือก ไว้ตามต้องการ

12. ดับเบิ้ลคลิกโฟลเดอร์ Text

12

17

13. เลือกโฟลเดอร์การเคลื่อนไหวตัวอักษรที่ ต้องการ ( ตัวอย่างเลือกโฟลเดอร์ Tracking )

13

14. ในโฟลเดอร์ Tracking จะมีแบบการเคลื่อน ไหวให้เลือกใช้งานอยู่หลากหลายแบบด้วยกัน จากนั้นดับเบิ้ลคลิกแบบที่ต้องการใช้งาน 14

72


18. หากต้องการเข้าไปแก้ไขหรือปรับแต่งค่าการ เคลื่อนไหวของตัวอักษรเพิ่มเติมก็สามารถทำได้ โดย คลิกเปิดคำสั่ง Text Layer ดังกล่าว

18

22

23. เมื่อต้องการนำรูปแบบการเคลื่อนไหวออก สามารถทำได้โดย คลิกที่คำสั่ง Animator 1

19. จากนั้นคลิกเปิดคำสั่ง Text 23

19

24. แล้วกดปุ่ม Delete คำสั่งดังกล่าวก็จะหายไป ทันที

20. คลิกเปิดคำสั่ง Animator 1

20

21. จากนั้นกำหนดค่าต่างๆ ตามต้องการ

24

21

22. หากต้องการให้ตัวอักษรเคลื่อนไหวช้าลงก็ สามารถทำได้โดยแดรกเมาส์ที่คีย์เฟรมตัวที่ 2 ให้ ไปอยู่ในตำแหน่งเวลาที่มากขึ้น 73


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.