Graffitii new id085 102 1332

Page 1





GRAFFITI



INTRODUCTION Graffiti

มีที่มาจาก graffito ในภาษาอิตาลี ที่แปลว่า “รอยจารึก”หรือ“รอยขีดข่วน” อาจกล่าวได้ว่ากราฟฟิตี้ถือกำ�เนิดขึ้นบนโลกมาเนิ่นนานแล้ว พร้อมๆกับกำ�เนิดของอารยธรรมต่างๆทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นอักษรฮีโรกลิฟฟิก ภาพเขียนสีตามผนังถ้ำ� ก็อาจถือว่าเป็นกราฟฟิตี้ได้เช่นกัน จากหน งั ส อื Freight Train Graffiti ให ค้ ำ�น ยิ ามว่า

“กราฟฟ ติ ถี ้ อื เป น็ ว ฒ ั นธรรมนอกกระแสท เี ่ ปร ยี บได ก้ ับส ญ ั ล กั ษณ ข์ องความเป ็นขบถ

ราวก ับว่าม นั ก่อให เ้ กดิ ความรู ้ส กึ ซาบซ่าน เปน็ ส ขุ เมอยามท ่ื ศี ่ ลิ ป นิ กราฟฟ ิตีไ้ ด ้ ท ้าทายต่ออำ�นาจของเจ ้าหน ้าท รี ่ ฐั ท พ ี ่ ยายามก ดี ก นั กำ�จ ดั กราฟฟ ติ ี ้ ให ห้ มดไป”


Stylesof

GRAF

IN GRAFFITI Y R O T HIS NY #06

#01

TAG / THRO / 07 W FILL- -UP // IN // 08 BLOCK B L 0 9 O B WILS S USTER // CK/BUB BLE TYLE 1 1 / CHARA // 10 CTER / 12 PROD UCTION // 13 // 14


FFITI

GR AF FI TI N #16 YC gRAFFITI IN NOWaDAYS TAKI183 // 18

THaiLAND

#24

// I T I F RAF 1 G D 3 AN / L / I A TH ACE F X ALE

25

#37


01 // HISTORY


HISTORY 02 // HISTORY


HISTORY กราฟฟ ิตม้ี ีต น้ กำ�เน ดิ มาจากเม ืองฟ ิลาเดลเฟ ียในช ว่ งทศวรรษ60

อเมร ิกาในยุคน ั ้นม ีป ัญหาการเหย ยี ดผ วิ อย่างร นุ แรง ฝ งคนผ ั่ วิ ส ตี า่ งล ก ุ ข นมาเพ ึ้ อเร ื่ ียกร้องความเสมอภาค จนกระท งเก ั ่ ดิ การปฏริ ปู กฎหมายว่าด ว้ ยส ทิ ธ พ ิ ลเม อื งข นในป ึ้ ีค.ศ.1964 แต่ว า่ คนผ วิ ส ีก็ย งั ตกอยู่ ในสภาพคนชายขอบของส งั คม ด งั นันจ ้ งึ ได เ้ ป ็นแรงผล ก ั ดน ั ให พ ้ วกเขาสร้างสรรค ง์ านศ ิลปะ ท แี ่ สดงออกมาอย่างเกร ยวกราดิบหยาบ ี้ ประกาศให เ้ ห น็ ถ งึ ความขบถ ด งั เช น่ ดนตร ี Rap ท เี ่ ต ม็ ไปด ว้ ยคำ�ด่าทอส งั คมอย่างไม่เกรงกล ัว กราฟฟ ิต ี ้ และดนตร ี Hip hop จ งึ ถ อื กำ�เน ดิ มา ความหมายของการกระทำ�เช น่ นเพ ี ้ อแสดงออกถ ื่ งึ ความเป ็นขบถต่ออำ�นาจรัฐและกราฟฟ ิตจ้ี งึ ถ ก ู มองว่าเป ็น “การแสดงออกส ว่ นบุคคลท เี ่ ก ดิ จากความค ับแค น ้ ใจและต อ้ งการอ สิ รภาพ” 03 // HISTORY



05 // STYLES OF GRAFFITI


F O I T

i TYLES F S AF R G

06 // STYLES OF GRAFFITI


"tag"

“TAG” คือการเซ็นลายเซ็นหรือนามแฝง

ของแต่ละคนโดยสเปรย์กระป๋อง หรือ ปากกา ส่วนมากใช้สีเดียว บางคนอาจพ่นเป็น ตัวอักษรธรรมดา ขณะที่บางคนดีไซน์ ให้เป็นตัวอักษรที่เกาะเกี่ยวกันจนอ่านไม่ออก เน้นให้ดูแปลกและสะดุดตา 07 // STYLES OF GRAFFITI


throw-ups “Throw-ups” คือการเขียนเร็วๆ ด้วยสีพื้นฐานจำ�นวนน้อยสีนิยมใช้สีขาวดำ�แสดงให้เห็นเส้นสายที่รวดเร็ว เป็นการเขียนตัวอักษรน้อยตัว มีเส้นตัดขอบเพื่อให้ดูมีมิติ ไม่เน้นความสวยงาม เพราะต้องทำ�แข่งกับเวลา 08 // STYLES OF GRAFFITI


Fill-in

“Fill-in” คือ Throw-ups ที่ซับซ้อนขึ้นเป็นผลงานของไรเตอร์คนเดียว เป็นการพ่นสีสเปรย์ให้เป็นภาพ หรือตัวอักษรที่สวยงาม ใช้เวลานานในการสร้างสรรค์ เพื่อให้ผลงานออกมาสมบูรณ์ 09 // STYLES OF GRAFFITI


Block/Bubble “Block” และ “Bubble” คิอ การเขียน Tag ที่ดูมีมิติมากขึ้น ใช้สีประมาณ 3 สี หรือมากกว่านั้น

10 // STYLES OF GRAFFITI


Blockbuster “Blockbuster” คือ งาน Fill-in ที่ตั้งใจเขียนให้เต็มทั้งผนัง

11 // STYLES OF GRAFFITI


Wild style “Wild Style” เป็นสไตล์ที่ซับซ้อนขึ้น มีการเกาะเกี่ยวกันของตัวหนังสือ ลักษณะการเขียนประเภทนี้จะอ่านค่อนข้างยาก เพื่อแสดงความเหนือชั้นของการดีไซน์

12 // STYLES OF GRAFFITI


Character

“CHARACTER” คือ การพ่นเป็นรูปคนหรือ คาแร็กเตอร์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นตัวการ์ตูน หรือ เป็นภาพเสมือนจริงของดารานักร้องในดวงใจ หรืออาจจะเป็นตัวการ์ตูนที่ไรเตอร์ออกแบบเอง เพื่อเป็นสัญลักษณ์ประจำ�ตัว ของไรเตอร์คนนั้น


“PRODUCTION” คือ การรวมกราฟฟิตี้ทุกรูปแบบไว้ด้วยกัน เกิดจากการรวมทีมไรเตอร์ หลายคนหรือหลายกลุ่มนัดกันสร้างผลงานร่วมกัน โดยมีธีมไปในทิศทางเดียวกันหรือสอดคล้องกัน เช่น นัดกันพ่นคาแร็กเตอร์ประจำ�ตัวของไรเตอร์แต่ละคนหรือพ่นชื่อกลุ่ม ชื่อตัวเอง หรือไรเตอร์อาจร่วมกันกำ�หนดวาระต่างๆ ขึ้นเอง

Production 14 // STYLES OF GRAFFITI




15 // GRAFFITI IN NYC


GRAFFITI IN NYC 16 // GRAFFITI IN NYC


17 // GRAFFITI IN NYC


Graff i t i in New York เมื่อเข้าปลายทศวรรษ 1960 กราฟฟิตี้ก็เดินทางเข้าสู่นิวยอร์ก โดย JULIO204 ไรเตอร์จากสลัมย่านบรองซ์นำ�เข้าไปเผยแพร ก่อนที่ไรเตอร์รุ่นหลังจากแหล่งเดียวกันอย่าง TRACY168 StayHigh149และ PHASE2 จะเป็นกำ�ลังสำ�คัญในการนำ�กราฟฟิตี้ ก้าวย่างสู่รูปแบบของการดีไซน์ที่พัฒนาขึ้น ถึงวันนั้น การต่อสู้เรียกร้องสิทธิเสรีภาพของคน ผิวสี ก็ไม่ใช่สารัตถะสำ�คัญ ของกราฟฟิตี้อีกต่อไปแล้ว ต่อมาในปี ค.ศ. 1969 Taki 183 ไรเตอร์ชื่อดังที่ได้รับการกล่าวขานว่า เป็นสัญลักษณ์แห่งการเริ่มต้นยุคสมัยของเหล่าไรเตอร์โดยแท้จริง 18 // GRAFFITI IN NYC



GRAFFITI IN NYC


TAKI

183

19 // GRAFFITI IN NYC


ทากิ ไรเตอร์ชื่อดัง ผู้เริ่มศิลปะบนกำ�แพงในปี ค.ศ.1969 เขาเป็นวัยรุ่นในแมนฮัตตันที่เขียนชื่อตัวเองไว้ในทุกๆที่ที่เขาเดินทางไป คำ�ว่า TAKI 183 ที่เขาเขียนปรากฏให้เห็นทั้งในรถไฟใต้ดิน และสถานที่สำ�คัญอย่างบรอดเวย์ สนามบินเคนเนดี รวมถึงที่ต่างๆ ทั้งในนิวเจอร์ซีย์ คอนเนตทิคัตและสถานที่อื่นๆ ทั่วทั้งนิวยอร์ก ที่ล้วนมีชื่อเขาปรากฏอยู่ จนได้รับการกล่าวขานว่า เป็นสัญลักษณ์แห่งการเริ่มต้นยุคสมัยของเหล่าไรเตอร์ 20 // GRAFFITI IN NYC


เมื่อคำ�ว่า TAKI183 ได้รับการสัมภาษณ์และเปิดเผย ภาพลายเซ็นของเขาในหนังสือพิมพ์นิวยอร์กไทม์ส วัยรุ่นจำ�นวนไม่น้อยต่างประทับใจในชื่อเสียงที่ทากิได้รับ (แม้จะเป็นชื่อเสียงในแง่ลบก็ตาม) พวกเขาเริ่มเขียนชื่อของ ตัวเองตามสถานที่สาธารณะ จนค่อยๆได้รับความนิยม และเป็นไปอย่างคึกคักในเวลาต่อมา


แม้ทากิจะไม่ได้เป็นไรเตอร์คนแรกที่ให้ กำ�เนิดวัฒนธรรมกราฟฟิตี้ แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าเขาเป็นไรเตอร์คน แรกของนิวยอร์กที่ทำ�ให้กราฟฟิตี้มี ความสำ�คัญขึ้นมาจนกลายเป็นที่สนใจ ของคนในสังคม ทั้งยังเป็นแรงจูงใจให้แก่ ไรเตอร์ทั้งมวลอีกด้วย

22 // GRAFFITI IN NYC





i t i f f a Gr IN D N A L I A H T 24 // GRAFFITI IN THAILAND


25 // GRAFFITI IN THAILAND


กราฟฟิตี้เมืองไทย : จาก “เด็กช่าง” สู่ “ฮิปฮอป”

26 // GRAFFITI IN THAILAND


หากนิวยอร์กมี JULIO204, TAKI 183 เมืองไทยเราก็มี “กขค พ่อทุก ’ถาบัน”, “ช่างกล...” และอีกหลายคำ�สารภาพรัก ปรากฏทั้งตามโต๊ะเรียนสมัยประถม กำ�แพงบ้าน ผนังตึก เสาไฟฟ้า จนถึงหลังเบาะรถเมล์ สำ�หรับเหล่าไรเตอร์เอง บ้างมองว่าตัวอักษรที่ปรากฏอยู่ตามถนนหนทาง เป็นกราฟฟิตี้รูปแบบเดียวกับ “แท็ก” หรือลายเซ็นแบบไทยๆ ขณะที่บางคนก็มองว่า กราฟฟิตี้คงไม่ “ง่าย” ขนาดนั้น แต่หากนิยามว่า กราฟฟิตี้คือรอยจารึกเป็นที่ตั้ง ก็จะพบว่าข้างต้นล้วนเป็นกราฟฟิตี้ได้ทั้งสิ้นโดยส่วนใหญ่เริ่มต้นมาจากความ “มือบอน” พัฒนารูปแบบ จนคงเอกลักษณ์สไตล์นักเรียนอาชีวะ และกลายเป็น “วิถี” ของการประกาศศักดาเด็กช่างกลทั้งหลาย ไม่ต่างกันกับวัยรุ่นในย่านบรองซ์เท่าไรนัก

27 // GRAFFITI IN THAILAND


การสร้างงานกราฟฟิตี้แบบเด็กช่าง ดูเหมือนกับเป็นการหาทางออก จากการถูกกดทับจากสังคมกระแสหลัก เพื่อที่จะมีโอกาสได้แสดงตัวตนให้สังคมรับรู้ โดยไม่สนใจว่าสังคมจะยอมรับพวกเขาหรือไม่ นั่นหมายความว่ากราฟฟิตี้แบบไทยๆ สไตล์ “เด็กช่าง” มีมาตั้งนานแล้ว ก่อนที่กราฟฟิตี้แบบฝรั่งจะเดินทางมาถึงเสียอีก

28 // GRAFFITI IN THAILAND


พัฒนาการของกราฟฟิตี้เมืองไทยก็ดูจะไม่ต่างกันนัก จากกราฟฟิตี้แบบเด็กช่าง ที่เลือกใช้วัสดุแบบง่ายๆ เช่น ปากกาลูกลื่น ปากกาเมจิก น้ำ�ยาลบคำ�ผิด หรือคัตเตอร์ รวมถึงสีสเปรย์ในการสร้างงานบนกำ�แพง เพื่อประกาศชื่อตัวหรือสถาบัน ได้วิวัฒนาการมาจนถึงยุคสมัยที่ “ฮิปฮอป” ยึดครองพื้นที่ของกราฟฟิตี้เต็มรูปแบบ โดยหันไปเน้นลวดลายสีสัน ลูกเล่นแพรวพราวพิถีพิถันในการใช้อุปกรณ์ สำ�หรับสร้างงานศิลปะมากขึ้น ไม่ว่าจะหัวฉีดที่ดัดแปลงจากหัวสเปรย์น้ำ�หอม หรือโคโลญเพื่อให้เส้นคมขึ้น หน้ากากกันละอองสี น้ำ�ยาผสมสี ฯลฯ ไปจนถึงลีลาในการพ่น

29 // GRAFFITI IN THAILAND


ใช่ว่าจะมากับวัฒนธรรมฮิปฮอปเท่านั้น กระแสกีฬาเอ็กซ์ตรีม(X-tream) หรือกีฬาที่เน้นความผาดโผน อย่างจักรยานผาดโผน สเก็ตบอร์ด และอินไลน์สเกต ซึ่งเป็นที่นิยมในอเมริกาและหลายประเทศทั่วโลก ในช่วงเวลาเดียวกัน ก็เป็นอีกปัจจัยสำ�คัญที่นำ�เอากราฟฟิตี้เข้ามาถึงเมืองไทย เนื่องจากสเกตบอร์ดแต่ละอัน รวมถึงกำ�แพงเหล็กลาดชันที่นักกีฬาอินไลน์สเกตและนักกีฬาสเกตบอร์ดต้องไต่โชว์ลีลานั้น มักมีลวดลายกราฟฟิตี้ วัฒนธรรมฮิปฮอปและกีฬาเอ็กซ์ตรีมจัดเป็นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดการรวมกลุ่มของวัยรุ่น ตามถนนหนทาง ริมฟุตบาท หรือสวนสาธารณะ วัฒนธรรมของทั้ง 2 กลุ่มจึงส่งต่อถ่ายทอดถึงกันได้ไม่ยาก 30 // GRAFFITI IN THAILAND


x e l A

e c Fa

ย ไท ง อ ื เม ง อ ข ง ั ด อ ่ ื ช i it f f ศิลปิน Gra

31 // GRAFFITI IN THAILAND



Alex Face เริ่มต้นจากความชอบในสเก็ตบอร์ด กราฟฟิตี้ส่วนใหญ่จะเริ่มจากตัวหนังสือ

แต่อเล็กซ์ มีความสนใจในงาน Character เพราะมันมีความเป็นการ์ตูนที่ไม่ใช่การ์ตูนซะทีเดียว มันมีความจริงจังอยู่ในนั้นเขาเลยตัดสินใจไปซื้อสีมาลองพ่นดู ทำ�ด้วยความรู้สึกสนุก จนมาถึงปัจจุบัน

33 // GRAFFITI IN THAILAND


Alex Face - หลังสวน

Character ของ Alex Face คือ “เด็กในชุดกระต่ายสีขาว” แรงบันดาลใจของภาพนี้คือสถานการณ์บ้านเมืองที่เกิด ขึ้นซ้ำ�แล้วซ้ำ�เล่าและดูเหมือนง่ายดายจนกลายเป็นเรื่องธรรมดา เหมือนกำ�แพงที่ถูกพ่นทับซ้ำ�ๆ วันนี้อาจจะโดนกลิ้งสีให้มันขาว แต่มันก็จะถูกพ่นทับอีก ตราบใดที่กำ�แพงนั้นยังคงอยู่ 34 // GRAFFITI IN THAILAND


นอกเหนือจากผลงานกราฟฟิตี้ เวลานี้งานหลักๆ ที่ Alex Face ทำ�อยู่ตอนนี้คือ การวาดภาพ และเตรียมงานสำ�หรับจัดแสดงในต่างประเทศ และกำ�ลังทำ�งานออกแบบให้กับสินค้าบางแบรนด์ในไทย ไอเดียของเขาเกิดจากสิ่งรอบตัว ส่วนใหญ่เป็นสภาพแวดล้อมตอนนั้นว่าเรารู้สึกยังไง เช่น ผลงานตอนที่พ่นที่อังกฤษ อเล็กซ์ ได้แรงบันดาลใจจากความหนาว ก็เลยพ่นเด็กนอนขดตัวอยู่ แล้วก็พ่นกองไฟข้างๆเพื่อให้คนรู้สึกว่าหนาวก็ผิงไฟสิ ให้คนได้รู้สึกไปกับงาน เข้าถึงงานได้มากขึ้นและได้เล่นไปกับพื้นที่

35 // GRAFFITI IN THAILAND


36 // GRAFFITI IN THAILAND


I T I F F A GR S Y A D a W NO 37 // GRAFFITI NOWADAY


38 // GRAFFITI NOWADAY


ในยุคแรกกราฟฟิตี้เป็นเพียงแค่การพ่นนามแฝงหรือชื่อของตัวเองตามตรอก-ซอกซอย จนกระทั่งหลายสิบปีต่อมา เริ่มมีการพัฒนารูปแบบการเขียนกราฟฟิตี้ให้สวยงาม และมีความหมายมากขึ้น นักวาดกราฟฟิตี้หลายๆคน ที่ผลงานได้รับความนิยมสูงผลงานของพวกเขาก็จะได้รับการเผยแพร่ไปทั่วโลก ในที่สุดกราฟฟิตี้ก็ไม่ได้เป็นเพียงแค่การเขียนลายเซ็น หรือพ่นสีสเปรย์เท่านั้น ในต่างประเทศกราฟฟิตี้ได้รับการยอมรับว่าเป็นงานศิลปะแขนงหนึ่งด้วยซ้ำ� 39 // GRAFFITI NOWADAY


จากการหลบๆ ซ่อนๆ บนท้องถนน กราฟฟิตี้กลายมาเป็น งานศิลปะที่แทรกอยู่ในชีวิตประจำ�วัน ครองความนิยมบนถนนแฟชั่นวัยรุ่น ทั้งในแฟชั่นเครื่องแต่งกาย เช่น รองเท้าผ้าใบ ลวดลายตามเสื้อผ้า ไม่ต่างจากดนตรีฮิปฮอปที่ปัจจุบันยึดพื้นที่ในบิลบอร์ดชาร์ต ประกาศศักดาอย่างองอาจใน MTV 40 // GRAFFITI NOWADAY


2 0 1 A H C A P A

N

3 3 1 N E I L A Y OE

5 8 0 J L H GOP


HOW TO DRAW

GRAFFITI LETTERS _





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.