มนุษย์สัมพันธ์กับงานบริการ บทที่ 6

Page 1

มนุ ษ ย์สั ม พัน ธ์ กั บ งานบริ การ

TR 2101 จิตวิทยาการบริการ ปริ พรรน์ แก้วเนตร


คาจากั ด ความของมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์  “ มนุษย์ สัมพันธ์ ” “Human Relation”

 มนุษย์ ( Human)

ลักษณะของความเป็ นมนุษย์ ผู้ที่มีจติ ใจสู ง

 สัมพันธ์ (Relation)

ความผูกพันเกีย่ วข้ อง การติดต่ อกัน

การติดต่อสัมพันธ์และเกี่ยวพันซึ่งกันและกันระหว่างคนที่อยูร่ ่ วมกัน หรื อ กระบวนการซึ่งเป็ นศาสตร์และศิลป์ ที่มุ่งเน้นให้เกิดความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างบุคคลต่างๆในสังคม เพื่อให้เกิดความร่ วมมือร่ วมใจกันในการดารงชีวติ อย่างราบรื่ นและบรรลุเป้ าหมาย


ความสาคั ญ ของมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ ต่ อ ผู ้ ป ฏิ บั ติ งาน ให้ บ ริ การ  1. ในด้านส่ วนตัว

เกิดความสุขและพอใจในชีวิตเพิ่มขึ้น

 2. ทาให้ได้รับความช่วยเหลือจากบุคคลอื่นๆ ซึ่งทาให้รู้สึกปลอดภัยและมัน่ ใจมากขึ้น  3. ทาให้เกิดความรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า  4. ช่วยให้สามารถสมาคมกับบุคคลในระดับต่างๆได้เป็ นอย่างดี

 5. เมื่อต้องทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น เกิดความเข้าใจ เห็นอกเห็นใจ และไว้วางใจ  6. ก่อให้เกิดกาลังใจในการทางาน รู้สึกเป็ นส่วนหนึ่งของหน่วยงาน


องค์ ป ระกอบของมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ 1. ความเข้าใจตนเอง

2. ความเข้าใจและการยอมรับความแตกต่างของบุคคลอื่น 3. ความเข้าใจในธรรมชาติของมนุษย์

4. การรู้จกั วิธีการจูงใจและครองใจบุคคลอื่น


1. ความเข้ า ใจตนเอง  หมายถึง การทาความรู ้จกั และเข้าใจในตัวตนของตนเองอย่างแท้จริ ง  เราสามารถทาความเข้าใจตนเองได้โดย

1. การเปรี ยบเทียบตัวตนของตนเอง (Self) ทฤษฎีของโรเจอรส์ (Carl Rogers) โดยแบ่งมนุษย์มีตวั ตน 3 แบบ • 1. ตัวตนที่ตนเองรับรู ้ (Self Concept) • 2. ตัวตนตามความเป็ นจริ ง ( Real Self) • 3. ตัวตนตามอุดมคติ ( Ideal Self)


ความเข้ า ใจตนเอง  2. การทาความเข้าใจกับตนเองโดยใช้หน้าต่างหัวใจหรื อหน้าต่างโจฮารี่ (Johari Window) โจเชฟ ลุฟท์ และแฮรี่ อิงแฮม ( Joseph Luft & Harry Ingham)

ตนเองรู้

ผูอ้ ื่นรู้

บริ เวณเปิ ดเผย (Open Area)

ผูอ้ ื่นไม่รู้

บริ เวณจุดซ่อนเร้น (Hidden Area)

ตนเองไม่รู้

บริ เวณจุดบอด ( Blind Area) บริ เวณไม่รู้จกั หรื อทั้ง เราและบุคคลอื่นไม่ ทราบ (Unknown


J O S E P H L U F T & H A R RY I N G H A M


ก า ร ทา ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ต น เ อ ง โ ด ย ใ ช้ ห น้ า ต่ า ง ข อ ง โ จ ฮ า รี่

1. บริ เวณเปิ ดเผย (Open Area)

2. บริ เวณจุดบอด (Blind Area) 3. บริ เวณปกปิ ด ( Hidden Area )

4. บริ เวณไม่รู้จกั หรื อทั้งเราและบุคคลอื่นไม่ทราบ (Unknown

Area)


2.

ความเข้ า ใจและการยอมรั บความ แตกต่ า งของบุ ค คลอื่ น

 สาเหตุที่ทาให้บุคคลต่างๆมีแตกต่างกัน เกิดจากปัจจัยพื้นฐาน 3 ประการ 1.

ปัจจัยพื้นฐานด้านชีวภาพ (พันธุกรรม การทางานระบบร่ างกาย ระบบต่อมไร้ท่อ)

2. ปัจจัยพื้นฐานด้านจิตวิทยา ( แรงจูงใจ และ การเรี ยนรู้) 3. ปัจจัยพื้นฐานด้านสังคมวิทยา ( อิทธิพลของสิ่ งแวดล้อม อิทธิพลของกลุ่ม)


3. ความเข้ า ใจในธรรมชาติ ข องมนุ ษย์  มนุษย์มีธรรมชาติที่คล้ายๆกัน เช่น 1. ไม่ชอบได้รับการตาหนิจากบุคคลอื่นๆ 2. ต้องการมีชื่อเสี ยง หรื อเป็ นผูท้ ี่ความสาคัญ มีคุณค่า 3. สนใจตนเองมากกว่าผูอ้ ื่น

4. ต้องการให้ผอู้ ื่นฟังเมื่อตนเองพูด 5. ต้องการให้ผอู้ ื่นพูดในเรื่ องที่ตนเองสนใจ


3. ความเข้ า ใจในธรรมชาติ ข องมนุ ษย์ 6. ชอบให้ผอู้ ื่นพูดในเรื่ องที่ตนเองสนใจ

7. ต้องการให้ผอู ้ ื่นเห็นด้วยกับความคิดของตนเอง 8. ต้องการให้ผอู้ ื่นยอมรับผิดเมื่อทาผิด

9. ต้องการได้รับความเป็ นกันเองจากบุคคลอื่น


4. การรู ้ จั ก วิ ธี การจู ง ใจและครองใจบุ ค คลอื่ น  การจูงใจ หมายถึง การกระตุน้ ให้บุคคลอื่นเกิดความเชื่อถือในตนเอง หรื อ ในสิ่ งที่ตนกาลังพูด /กระทา  การครองใจ หมายถึง การได้มาซึ่งความรัก ความห่วงใย และมิตรไมตรี จากบุคคล

 “ คุณค่าของสิ่ งของที่ได้มานั้นอยูท่ ี่ วินาทีแรก หรื อ ครั้งแรกที่ได้มาครอบครอง หลังจากนั้น คุณค่าก็ค่อยๆ ลดน้อยถอย ค่าลงตามวันและเวลาที่ผา่ นไป ” ฉันทนิช อัศวนนท์


4. การรู ้ จั ก วิ ธี การจู ง ใจและครองใจบุ ค คลอื่ น  วิธีที่จะทาให้ตนเองเป็ นที่รักของบุคคลอื่น ( Six ways to ma people like you) เดล คาร์เนกี้ 1. จาชื่อบุคคลอื่นได้

2. เริ่ มทักทายบุคคลอื่นก่อน 3. ให้ความสาคัญกับบุคคลอื่นมากกว่าตนเอง 4. รับฟังความคิดเห็นของบุคคลอื่น 5. ยิม้ แย้มแจ่มใส และอารมณ์ดี 6. ยกย่องชมเชยบุคคลอื่นทั้งต่อหน้าและลับหลัง


เทคนิ คการสร้ างมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ สาหรั บ ผู ้ ป ฏิ บั ติ งานให้ บ ริ การ 1. หลักประจาใจในการสร้างมนุษย์สมั พันธ์ 2. แนวทางการสร้างมนุษย์สมั พันธ์กบั ผูร้ ับบริ การ 3. แนวทางการสร้างมนุษย์สมั พันธ์กบั ผูบ้ งั คับบัญชา 4. แนวทางการสร้างมนุษย์สมั พันธ์กบั เพื่อนร่ วมงาน 5. แนวทางการสร้างมนุษย์สมั พันธ์กบั ผูใ้ ต้บงั คับบัญชา


1.

หลั ก ประจาใจในการสร้ างมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์

1. เป็ นมิตรกับทุกคนอย่างจริ งใจ 2. มองคนอื่นในแง่ดี และ พยายามทาความเข้าใจคนอื่น สาเหตุของพฤติกรรมต่างๆ 3. ปฏิบตั ิต่อบุคคลอื่นอย่างเท่าเทียมกัน 4. อย่ายึดตัวเองเป็ นศูนย์กลาง ให้เกียรติบุคคลอื่น 5. กลยุทธ์ Win Win Strategy 6. สุ ภาพ อ่อนน้อม แต่ไม่อ่อนแอ


1.

หลั ก ประจาใจในการสร้ างมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์

7. พูดและคิดเชิงบวกอยูเ่ สมอ

8. ให้ความช่วยเหลือกับบุคคลอื่นอย่างบริ สุทธิ์ ใจ 9. อดทน อดกลั้น และหนักแน่น

10. เป็ นผูฟ้ ังที่ดี


2. แนวทางการสร้ าง มนุ ษยสั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้ รั บบริ การ 1. สร้างความประทับใจเมื่อแรกพบ ( First impression ) 2. ให้ความสนใจกับผูร้ ับบริ การอย่างจริ งใจ และ มากกว่าตัวเอง 3. ยิม้ แย้มอย่างถูกกาลเทศะ 4. จดจาชื่อผูร้ ับบริ การให้ได้ และสามารุ เรี ยกชื่อได้อย่างถูกต้องภายในเวลาอันรวดเร็ว

5. ปฏิบตั ิกบั ผูร้ ับบริ การอย่างเท่าเทียมกันทุกคน ไม่วา่ เขาจะมีฐานะ เพศ วัย หรื อเชื้อชาติใด


2. แนวทางการสร้ าง มนุ ษยสั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้ รั บบริ การ 6. แสดงตนเป็ นผูฟ้ ังที่ดี 7. แสดงกิริยา ท่าทาง และพูดด้วยความสุภา นุ่มนวล เต็มไปด้วย อัธยาศัยไมตรี ความจริ งใจ และการให้เกียรติต่อผูร้ ับบริ การ 8. ไม่แสดงความเป็ นกันเองจนเกินเลยขอบเขตที่เหมาะสม

9. สร้างคุณธรรมในตนเอง 10. ลดการตาหนิ ประณาม พร่ าบ่น และนินทาบุคคลอื่น


2. แนวทางการสร้ าง มนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้ รั บบริ การ 11. ยอมรับผิด เมื่อกระทาผิด

12. หลีกเลี่ยงการเน้นตัวเองเป็ นศูนย์กลาง 13. มีความอดทน อดกลั้น และหนักแน่น


2. แนวทางการสร้ าง มนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้ รั บบริ การ  การสร้างมนุษย์สมั พันธ์กบั ผูร้ ับบริ การประเภทต่างๆ 1.

ผูร้ ับบริ การที่มีอารมณ์อ่อนไหว

 ระวังคาพูด และการกระทาของตนเองให้มาก คาดการณ์สิ่งที่กระทา  ควรฟังมากกว่าพูด  แสดงความเอาใจใส่เป็ นพิเศษ แต่ไม่ควรแสดงต่อหน้าคนอื่น

 ถ้าไม่จาเป็ นไม่ควรโต้เถียงหรื อคัดค้านความคิดเห็นของผูร้ ับบริ การ  หาโอกาสยกย่องชมเชยผูร้ ับบริ การเมื่อมีโอกาส แต่ไมควรมากจนเสแสร้ง


คาถามท้ า ยบท  ให้นกั ศึกษา ใช้หน้าต่างหัวใจ หรื อ หน้าต่าง โจฮารี่ (John Window )  วิเคราะห์ตนเอง และให้อธิบายพื้นที่ในแนวนอน ของตัวเองในการเพิม่ ที่ตนรู ้มาก ขี้น


2. แนวทางการสร้ างมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้ รั บบริ การ 2. ผู้รับบริการที่ขลาดกลัวหรือขีอ้ าย  ถ้าไม่จาเป็ นไม่ควรทาให้ผรู ้ ับบริ การเป็ นจุดสนใจของบุคคลอื่น

 หากต้องการให้เขาร่ วมกิจกรรม ควรอธิบายให้ชดั เจนว่า เมื่อไหร่ ? ที่ไหน? อย่างไร? เนื่องจาก ผูร้ ับบริ การรู ้สึกไม่ปลอดภัย  ควรสังเกตถึงอากัปกิริยาท่าทางของผูร้ ับบริ การอย่างสม่าเสมอว่าเขาต้องการความช่วยเหลือ

 หลีกเหลี่ยงที่จะพูดถึงข้อบกพร่ องหรื อข้อผิดพลาดของผูร้ ับบริ การไม่วา่ จะต่อหน้า หรื อ ส่ วนตัว  เมื่อมีโอกาส จะต้องพูดให้กาลังใจและเพิม่ ความมัน่ ใจในตัวเองให้กบั ผูร้ ับบริ การ


2. แนวทางการสร้ างมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้ รั บบริ การ 3. ผู้รับบริการที่เจ้ าอารมณ์ หรือนิสัยก้าวร้ าว  ต้องรับฟังมากกว่าพูด เมื่อผูร้ ับบริ การพูดหรื อร้องเรี ยนเรื่ องใดๆก็ควรรับฟังเฉยๆ  พึงระลึกอยูเ่ สมอว่า “ความสงบ สยบความเคลื่อนไหว” และความสุ ภาพสามารถใช้ได้ทุก สถานการณ์  ไม่ควรมีอารมณ์ร่วมกับคาพูดและการกระทาของผูร้ ับบริ การ เพราะจะทาให้เหตุการณ์เลวร้ายลง  หากต้องถามคาถามควรใช้คาถาปลายแด (Open Ended Question) เพื่อให้เขาได้พดู

อย่างเต็มที่



2. แนวทางการสร้ างมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้ รั บบริ การ 4. ผู้รับบริการที่ช่างเจรจา  ต้องพยายามสังเกตว่าผูร้ ับบริ การชอบเรื่ องใด และควรสร้างสัมพันธ์ดว้ ยการพูดในเรื่ องที่เขาชอบ

 ผูร้ ับบริ การประเภทนี้ชอบให้คาแนะนาในเรื่ องต่างๆกับบุคคลอื่น ควรขอคาแนะนาจากเขา  แสดงตนเป็ นผูฟ้ ังที่ดี  แสดงความชื่นชมเมื่อมีโอกาส แต่ไม่ควรมากจนเกินไปจนดูเหมือนประจบประเจง


2. แนวทางการสร้ างมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้ รั บบริ การ 5. ผู้รับบริการที่ยนื กราน  เมื่อผูร้ ับบริ การเรี ยกร้องในสิ่ งใด จะต้องให้ความเอาใจใส่ อย่างเต็มที่ เมื่อไม่สามารถกระทาตามควร แจ้งเหตุผลอย่างชัดเจน  ผูร้ ับบริ การมักต้องการคาอธิบายอย่างละเอียด ควรเสนอทางเลือกมากว่า 1 เสมอ สังเกตความพอใจ เมื่อเขาพอใจแล้ว ควรทบทวนถึงการดาเนินงานของเราให้เขาฟัง ก่อนลงมือทา


2. แนวทางการสร้ างมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้ รั บบริ การ 6. ผู้รับบริการที่ลงั เล  ควรสร้างความมัน่ ใจเกี่ยวกับตัวเราให้กบั ผูร้ ับบริ การ โดยเสนอตัวที่จะให้ความช่วยเหลือ และ สื่ อสารว่าเราสามารถลดความกังวลให้เค้าได้  ควรเป็ นฝ่ ายเริ่ มต้นสนทนากับผูร้ ับบริ การ โดยการสอบถามความต้องการของเขาโดยใช้คาถาม ปลายปิ ด ( Close Ended Question) เพื่อให้เขาตัดสิ นในได้ง่ายขึ้น ต้องยืนยันว่าช่วยเหลือ เค้าได้อย่างแน่นอน


2. แนวทางการสร้ างมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้ รั บบริ การ 7. ผู้รับบริการที่เคร่ งขรึม  ควรเป็ นฝ่ ายเริ่ มต้นทักทายและทาความรู ้จกั กับผูร้ ับบริ การก่อน

 สนทนากับเขาโดยเลือกเรื่ องที่เขาสนใจหรื อถนัด ใช้คาถามปลายปิ ด ( Close Ended Question) ไม่ควรเร่ งเร้าให้เขาตอบคาถามเร็วเกินไป  สร้างบรรยากาศที่เป็ นกันเอง

 ถ้าผูร้ ับบริ การแสดงเหตุผลใดๆจะต้องตามให้ทนั เพราะมักมีมุมมองที่แตกต่างจากคนอื่นๆ  ไม่ควรเปลี่ยนเรื่ องสนทนาเร็วเกินไป


3. แนวทางการสร้ างมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้ บ ั ง คั บ บั ญ ชา 1. ตั้งใจทางานในหน้าที่ความรับผิดชอบของตนเองอย่างดีที่สุด 2. หลีกเหลี่ยงการประจบสอพลอ หรื อการเอาใจผูบ้ งั คับบัญชาโดยหวังผลตอบแทน 3. หลีกเหลี่ยงการกล่าวให้ร้ายกับผูอ้ ื่น 4. เรี ยนรู ้นิสัยการทางานของผูบ้ งั คับบัญชา 5. ไม่ควรรบกวนผูบ้ งั คับบัญชาด้วยเรื่ องเล็กๆ น้อยๆ 6. การเข้าพบผูบ้ งั คับบัญชา ควรดูจงั หวะที่เหมาะสม



3. แนวทางการสร้ างมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้ บ ั ง คั บ บั ญ ชา 7. ไม่นินทาผูบ้ งั คับบัญชาให้บุคคลอื่นฟัง 8. ไม่สร้างความเป็ นศัตรู กบั ผูบ้ งั คับบัญชา

9. ไม่ทาให้ผบู้ งั คับบัญชาอับอายขายหน้า 10. แสดงความกตัญญูกตเวทีต่อผูบ้ งั คับบัญชา โดยการพูดถึงผูบ้ งั คับบัญชากับบุคคลอื่นในแง่บวก 11. ไม่พร่ าบ่นถึงความยากลาบากในการทางาน

12. เชื่อฟังคาสัง่ และให้ความร่ วมมือในการทางานอย่างเต็มที่อย่างสม่าเสมอ 13. ประเมินความสามารถของตนเองอย่างมีเหตุผล แล้วแก้ไขในสิ่ งบกพร่ อง


3. แนวทางการสร้ างมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้ บ ั ง คั บ บั ญ ชา  ลักษณะของผูใ้ ต้บงั คับบัญชาที่ผบู ้ งั คับบัญชาเอือมระอา 1. ชอบตีตนเสมอ ขาดความเคารพ และไม่ให้เกียรติผบู ้ งั คับบัญชา 2. หลบเลี่ยงงาน 3. เมื่อมอบหมายงานให้ทาแล้วไม่ใช้พยายามอย่างเต็มที่ในการทางาน 4. ไม่ให้ความร่ วมมือในการทางาน หรื อไม่รับผิดชอบในหน้าที่ความรับผิดชอบตนเอง 5. นินทาผูบ้ งั คับบัญชา


3. แนวทางการสร้ างมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้ บ ั ง คั บ บั ญ ชา  ลักษณะของผู้ใต้ บังคับบัญชาที่ผ้บู ังคับบัญชาเอือมระอา 7. มุ่งเน้นแต่ประโยชน์ส่วนตัว 8. ไม่พฒั นาตนเองให้กา้ วหน้า 9. ชอบบ่นถึงความยากลาบากในการทางาน 10. ไม่สุภาพ ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับหน้าที่ และแต่งกายไม่สุภาพ 11. ซัดทอดความผิด หรื อกล่าวให้ร้ายต่อผูอ้ ื่น


4.แนวทางการสร้ างมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ กั บ เพื่ อ น ร่ วมงาน 1. ต้องรู ้จกั ตนเองและเคารพในความเป็ นตัวของตัวเอง และไม่พยายามเปลี่ยนแปลงตนเองเพื่อให้ เพื่อนร่ วมงานยอมรับ

2. ยอมรับว่าเพื่อนร่ วมงานมีท้ งั ส่ วนดีและส่ วนเสี ย และควรพยายามมองแต่ในส่ วนที่ดีของเขา 3. ยอมรับในศักดิ์ศรี และให้เกียรติเพื่อนร่ วมงาน 4. มีความจริ งใจ

5. แสดงความเป็ นมิตร มีน้ าใจ และให้ความช่วยเหลือกับเพื่อนร่ วมงานอย่างสม่าเสมอ โดยพยายาม เป็ นผูใ้ ห้มากกว่าผูร้ ับ



4.แนวทางการสร้ างมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ กั บ เพื่ อ น ร่ วมงาน 6. เมื่อมีการแสดงความคิดเห็นร่ วมกัน จะต้องเปิ ดใจให้กว้างและมีเหตุผลไม่ยดึ เอาตัวเองเป็ น ศูนย์กลาง ไม่คิดเอาชนะแต่คิดที่ผลของงานมากกว่า

7. ไม่แสดงว่าตนเองเหนือกว่า หรื อ พูดจาเกทับเพื่อนร่ วมงาน 8. ไม่แสดงตนเป็ นผูร้ ู ้ ที่ชอบสอนบุคคลอื่นๆในทุกเรื่ อง 9. ไม่ล่วงล้ าเรื่ องส่ วนตัวของเพื่อนร่ วมงานเกินขอบเขตที่จาเป็ น

10. ไม่กล่าวร้ายเพื่อนร่ วมงาน 11. ไม่คิดว่าเพื่อนร่ วมงานเป็ นศัตรู หรื อคู่แข่งขัน แต่ควรคิดว่าเขาเป็ นเพื่อนร่ วมทีมงานเดียวกัน


5. แนวการสร้ างมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้ ใ ต้ บ ั ง คั บ บั ญ ชา 1. แจ้งเป้ าหมายและนโยบายของหน่วยงานให้ผบู ้ งั คับบัญชาทุกคนทราบอย่างชัดเจน 2. เปิ ดโอกาสให้ผใู ้ ต้บงั คับบัญชามีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจ 3. ควรวางแผนให้ชดั เจนเพื่อมอบหมายงานให้กบั ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาได้อย่างชัดเจน 4. ในการมอบหมายไม่ควรใช้อานาจสั่ง 5. ปฏิบตั ิตนให้เป็ นที่เชื่อถือและศรัทธาของผูใ้ ต้บงั คับบัญชา 6. เอาใจใส่ ในเรื่ องสถานที่ และอุปกรณ์อานวยความสะดวกในการทางาน


5. แนวการสร้ างมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้ ใ ต้ บ ั ง คั บ บั ญ ชา 7. “Put the right man in the right job” ศึกษาถึงความรู ้ ความสามารถ ทักษะ จุดเด่น จุดด้อย ของผูใ้ ต้บงั คับบัญชา เพื่อมอบหมายงานที่เหมาะสม 8. ให้โอกาสแก่ผใู ้ ต้บงั คับบัญชา เช่น เมื่อต้องการเข้าพบ ควรเปิ ดโอกาสให้เข้าพบ ให้ความช่วยเหลือ หรื อคาแนะนาอย่างเต็มที่ 9. ใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์ในการตัดสิ นปัญหา 10. มีความยุติธรรมกับทุกคน



5. แนวการสร้ างมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้ ใ ต้ บ ั ง คั บ บั ญ ชา 11. เอาใจใส่ ทุกข์สุขของผูใ้ ต้บงั คับบัญชาอย่างสม่าเสมอ 12. หากผูบ้ งั คับบัญชากระทาผิดเอง จะต้องขอโทษ แม้เป็ นผูใ้ ต้บงั คับบัญชาก็ตาม 13. รู ้จกั วิธีการจูงใจและสร้างขวัญและกาลังใจในการทางานกับผูใ้ ต้บงั คับบัญชา เช่น  ให้เกียรติ ยกย่องชมเชย และให้รางวัล เมื่อผูใ้ ต้บงั คับบัญชาทาความดี  ให้อิสระทางานภายใต้ขอบเขตที่ทาได้ เช่น ให้อานาจในการตัดสิ นใจ  ส่ งเสริ มให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน สนับสนุนให้พฒั นาตัวเอง เช่น ศึกษาต่อ ฝึ กอบรม


หลั ก ธรรมสาหรั บ การสร้ า งมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์  สั งคหวัตถุ 4 1.

ทาน

เป็ นหลักธรรมที่ช่วยในการผูกไมตรี กบั ผูอ้ ื่น อยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นอย่างมีความสุ ข

การให้เป็ นการแสดงน้ าใจต่อบุคคลอื่น โดยการเสี ยสละเอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ และแบ่งปัน

สิ่ งของ ความสามารถที่ตนมีให้กบั ผูอ้ ื่น 2. ปิ ยวาจา การพูดด้วยถ้อยคาที่ไพเราะอ่อนหวาน จริ งใจ เหมาะสมกับกาลเทศะ ไม่พดู หยาบคาย ก้าวร้าว ประกอบด้วย 1. เว้นจากการพูดเท็จ 3. เว้นจากการพูดหยาบคาย

2. เว้นจากการพูดส่ อเสี ยด 4. เว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ


หลั ก ธรรมสาหรั บ การสร้ า งมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ 3. อัตถจริยา

การประพฤติปฏิบตั ิตนให้เป็ นประโยชน์ต่อผูอ้ ื่นและสังคมส่ วนรวม

4. สมานัตตา

การประพฤติปฏิบตั ิตนอย่างเสมอต้นเสมอปลาย วางตนให้เหมาะสมกับฐานะ ความ เป็ นอยู่ กาลเทศะ รู ้จกั ผูใ้ หญ่ รู ้จกั เด็ก รู ้จกั ที่สูงที่ต่า


หลั ก ธรรมสาหรั บ การสร้ า งมนุ ษย์ สั ม พั น ธ์ 

ฆราวาสธรรม

เป็ นหลักธรรมสาหรับผูค้ รองเรื อน ช่วยให้ผทู ้ ี่ยดึ ถือปฏิบตั ิมีความสุ ข

1. สั จจะ

ความซื่อสัตย์ ความซื่อตรง และความจริ งใจกับบุคคลอื่น

2. ทมะ

การฝึ กฝนตนเองให้สามารถควบคุมจิตใจหรื อหักห้ามใจด้วยการใช้ปัญญา

3. ขันติ

ความอดทนอดกลั้นต่อสิ่ งรอบด้าน เช่น ความยากลาบาก ความเจ็บปวด ความโกรธ กิเลส

4. จาคะ

ความเสี ยสละ การแบ่งปัน และการมีน้ าใจต่อบุคคลอื่น


คาถามท้ า ยบท ให้สรุ ปเนื้อหาเทคนิคบริ การ ตั้งแต่หน้าที่ 144 -161 ทาเป็ นกลุ่ม

พร้อมนาเสนอในรู ปแบบรายงาน โดยแบ่งกลุ่มล่ะ 4 คนจานวน 11 กลุ่ม กาหนดส่ ง อาทิตย์หน้าวันที่ 18 มีนาคม 2558 วันที่ 18 มีนาคม 2558 จะสุ่ มตัวอย่างรายงาน จานวน 4 กลุ่ม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.