IPSR Annual Report 2012

Page 1



1

สาสนจากผูอํานวยการ รายงานประจําปของสถาบันวิจัยประชากรและสังคมฉบับนี้ รวบรวมผลการดําเนินงานในภารกิจดาน ตางๆ ของสถาบันฯปงบประมาณ 2555 เกี่ยวของกับภารกิจหลัก 5 ดาน อันประกอบดวย ดานบริหาร การวิจัย การศึกษา การบริการวิชาการ และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดลอม ความสําเร็จของการดําเนินงาน สะทอนใหเห็นความรวมมือรวมใจของบุคลากรทุกคนของสถาบันฯ รวมทั้งการสนับสนุนของคณะผูบริหารของมหาวิทยาลัยในการดําเนินงาน และพัฒนาภารกิจของสถาบันฯ ใหมีคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรม เพื่อการเปนผูนําดานการวิจัย การเรียนการสอน และการฝกอบรม ทางประชากรศาสตร และสั งคมศาสตร ทั้ งระดั บ ชาติ และนานาชาติ ยั งประโยชน ต อชุ มชน สั งคม และ ประเทศชาติ รวมทั้งการใหความชวยเหลือทางดานวิชาการแกประเทศตางๆ ในภูมิภาค สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ขอขอบพระคุณผูบริหารของมหาวิทยาลัย คณะกรรมการประจํา สถาบันฯ และบุคลากรของสถาบันฯ ทุกทาน ที่ใหความรวมมืออยางดียิ่งในการดําเนินงานตามภารกิจของ สถาบันฯ จนสําเร็จลุลวงไปดวยดี

(รองศาสตราจารย ดร.สุรียพร พันพึ่ง) ผูอํานวยการสถาบันวิจัยประชากรและสังคม


2


1

สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถาบันวิจัยประชากรและสังคม • ประวัติความเปนมา • ปณิธาน วิสัยทัศน พันธกิจ

• โครงสรางและการบริหาร

• ผูบริหารสถาบันฯ • บุคลากรดีเดน • ศิษยเกาดีเดน

• กิจกรรมสถาบันฯ

• งบประมาณสถาบันฯ • บุคลากรสถาบันฯ

• ยุทธศาสตรสถาบันฯ

• ผลงานดีเดนในรอบป


2


1

สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถาบันวิจัยประชากรและสังคม ประวัติความเปนมา สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล เดิมมีสถานภาพเปนหนวยงานวิจัยภายใต คณะสาธารณสุขศาสตรใชชื่อวา “ศูนยวิจัยประชากรและสังคม” ตามประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีเมื่อ วันที่ 12 กรกฎาคม 2509 มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงประชากรและสุขภาพอนามัย ของประเทศไทย เพื่อสนองความตองการในการวางนโยบายเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและโครงการตางๆ ที่ เกี่ยวกับประชากร ในระยะแรกศูนยวิจัยฯ ไดรับความชวยเหลือสวนใหญจากเงินทุนสนับสนุนของมูลนิธิรอกกี้ เฟลเลอร ผานทางศูนยประชากรของมหาวิทยาลัยนอรธแคโรไลนา ประเทศสหรัฐอเมริกา ตอมาศูนยวิจัยประชากรและสังคม ไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีตามประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2514 ใหเปน “สถาบันวิจัยประชากรและสังคม” และมีสถานภาพเทียบเทา คณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยมหิดล มีจุดมุงหมายชัดเจนที่จะทําวิจัยเชิงปฏิบัติการและวิชาการดานประชากร เศรษฐกิจสั งคม และการวางแผนครอบครั วในสวนที่ สัมพั นธกั บทางการแพทยและการสาธารณสุ ขและ ดําเนินงานดานการเรียนการสอนและการบริการวิชาการ เปนศูนยขอมูลทางประชากรและสังคม ซึ่งใน ขณะนั้นที่ทํา การของสถาบันฯ ตั้ง อยูที่อาคาร 3 คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท กรุง เทพมหานคร จนกระทั่ง ถึงวันที่ 15 มีนาคม 2526 จึงไดยา ยมาอยูที่อาคารที่ทําการของสถาบันฯ ณ มหาวิทยาลัยมหิดล ตําบลศาลายา อําเภอนครชัยศรี (ขณะนั้น) จังหวัดนครปฐม เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2554 สถาบันฯ ไดยายมาอยูที่ “อาคารประชาสังคมอุดมพัฒน” ซึ่งเปน อาคารหลังใหม โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกลาพระราชทาน นามอาคารใหม “ประชาสังคมอุดมพั ฒ น” ซึ่งมีค วามหมายวา “อาคารซึ่งมีความเจริญ ยิ่งในด าน ประชากรและสังคม” โดยไดเสด็จพระราชดําเนินวางศิลาฤกษอาคาร เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2552 และ ตอมาไดเสด็จพระราชดําเนินทรงเปดอาคารใหม เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2554 ตั้งแต 14 พฤศจิกายน 2514 จนถึงวันที่ 1 พฤษภาคม 2517 สถาบันฯ มี ศาสตราจารยนายแพทย จรัส ยามะรัต รักษาการผูอํานวยการ จากนั้นตั้งแตวันที่ 2 พฤษภาคม2517 จนถึงวันที่ 30 กรกฎาคม 2518 ดร.บุญเลิศ เลียวประไพ รับผิดชอบรักษาการผูอํานวยการสถาบันฯ และตั้งแตวันที่ 31 กรกฎาคม 2518 สภามหาวิทยาลัยมหิดลไดแตงตั้ง ดร. บุญเลิศ เลียวประไพ เปนผูอํานวยการคนแรกของสถาบันวิจัย ประชากรและสังคม


2

จนถึงปจจุบัน สถาบันวิจัยประชากรและสังคมมีผูอํานวยการทั้งหมด 6 ทาน เรียงตามลําดับดังนี้ 1) ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร. บุญเลิศ เลียวประไพ พ.ศ. 2518 - 2523 2) ศาสตราจารย ดร. ปราโมทย ประสาทกุล พ.ศ. 2523 - 2531 3) ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร. อภิชาติ จํารัสฤทธิรงค 23 สิงหาคม 2531 - 22 สิงหาคม 2539 4) ศาสตราจารย ดร. เบญจา ยอดดําเนิน-แอ็ตติกจ 23 สิงหาคม 2539 - 22 สิงหาคม 2547 5) รองศาสตราจารย ดร. ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา 23 สิงหาคม 2547 - 20 ธันวาคม 2550 และรักษาการผูอํานวยการ 21 ธันวาคม 2550 - 20 กุมภาพันธ 2551 6) รองศาสตราจารย ดร. สุรียพร พันพึ่ง 21 กุมภาพันธ 2551 ถึงปจจุบัน ความชวยเหลือและเงินทุนสนับสนุนในระยะแรกของการกอตั้งสถาบันฯ 1) มูลนิธิรอกกี้เฟลเลอร 1.1 สนับสนุนเงินทุนในการวิจัยและการดําเนินงานของสถาบันฯ 1.2 ใหทุนนักเรียนไทยศึกษาตอระดับปริญญาโท และปริญญาเอก ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา จํานวน 4 ทุน เพื่อกลับมาพัฒนางานทางดานวิจัยประชากรและสังคมที่สถาบันฯ 2) ศูนยประชากรของมหาวิทยาลัย นอรธแคโรไลนา และมูลนิธิรอกกี้เฟลเลอร สงศาสตราจารย ดร.โรเบิรต จี. เบอรไนท ผูเชี่ยวชาญดานสังคมศาสตรเปนที่ปรึกษาประจําสถาบันฯ 3) Frederiksen Internship สนับสนุนเงินทุนให ดร.ปเตอร เจ. โดนัลดสัน ดร.เจมส เอ็น. ไรเลย ดร.ไมเคิ ล เจ. คุ ก และ ดร.โดนั ลด ลอโร มาชวยการปฏิบั ติ งานทางดานวิจั ยของสถาบั นฯ โดยผานศู นย ประชากรของมหาวิทยาลัยนอรธแคโรไลนา

ปณิธานวิสัยทัศนและพันธกิจ ปณิธาน วิสัยทัศน พันธกิจ

คุณภาพ คุณธรรม นําสถาบันฯ เปนสถาบันชั้นนําในระดับนานาชาติ ที่สรรสรางวิทยาการดานประชากรและสังคม เพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน 1. ทําวิจัยเชิงทฤษฎีและประยุกตดานประชากรศาสตรและสังคมศาสตร 2. จัดการศึกษาและฝกอบรมระดับหลังปริญญา 3. ผลิ ตและเผยแพร ความรูข าวสารด านประชากรศาสตรและสั งคมศาสตร แก สาธารณชน 4. พัฒนาเครือขายความรวมมือทางวิชาการในระดับประเทศและระดับสากล 5. พัฒนาบุคลากรองคกรและเทคโนโลยีดานการบริหารจัดการ ใหเกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุด


3

โครงสร้างและการบริหารงานของสถาบันวิจัยประชากรและสังคม ปีงบประมาณ 2555 โครงสร้างองค์กร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันวิจัยประชากรและ สังคม กลุ่มสาขาวิชา ประชากรศาสตร์

กลุ่มสาขาวิชาวิจัย ประชากรและอนามัยเจริญ

กลุ่มสาขาวิชา วิจัยประชากรและสังคม

กลุ่มสาขาวิชาพฤฒิวทิ ยา เชิงประชากรและสังคม

สํานักงานผู้อํานวยการ

ศูนย์อ้างอิงข้อมูลทางประชากร ศูนย์ศึกษาการย้ายถิ่นมหิดล

งานบริหารความเสีย่ ง

ศูนย์ปฏิบัติการกาญจนบุรี

งานบริหารทั่วไป งานคลังและพัสดุ งานสื่อสารองค์กร งานการศึกษา

งานวิเคราะห์นโยบายและแผน

งานประกันคุณภาพ งานบริการวิชาการ

งานวิจัย 6 กลุ่ม 1. การเปลี่ยนแปลงประชากร ครอบครัว และสังคม 2. ผู้สูงอายุ 3. เพศวิถี เพศภาวะ อนามัย-เจริญพันธุ์ และ เอชไอวี/เอดส์ 4. ประชากร สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ 5. การย้ายถิ่น ความเป็น เมือง และแรงงานศึกษา 6. ประเด็นเร่งด่วนเพือ่ ตอบ สนองยุทธศาสตร์ชาติ


4

คณะผูบริหารสถาบันฯ ประจําปงบประมาณ 2555 ผูบริหารสถาบัน

แถวนั่งเรียงจากซายไปขวา รองศาสตราจารย ดร.สุรียพร พันพึ่ง

ผูชวยศาสตราจารย ดร.เฉลิมพล แจมจันทร

รองศาสตราจารย ดร.รศรินทร เกรย

ผูอํานวยการสถาบันฯ

รองผูอ ํานวยการฝายวิชาการ

รองผูอ ํานวยการฝายวิเทศสัมพันธ และเทคโนโลยีสารสนเทศ

แถวยืนเรียงจากซายไปขวา สุภาณี ปลื้มเจริญ

รองศาสตราจารย ดร.อารี จําปากลาย

เลขานุการสถาบันฯ

รองผูอ ํานวยการฝายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

รองศาสตราจารย ดร.ศิรินันท กิตติสุขสถิต เสาวภาค สุขสินชัย รองผูอ ํานวยการฝายบริหาร

ผูชวยผูอํานวยการ


5

ประธานหลักสูตร

เรียงจากซายไปขวา ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.อภิชาติ จํารัสฤทธิรงค

ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุชาดา ทวีสิทธิ์

ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและอนามัยเจริญพันธุ (นานาชาติ)

ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม

ผูชวยศาสตราจารย ดร.กนกวรรณ ธราวรรณ

รองศาสตราจารย ดร.โยธิน แสวงดี

ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพฤฒิวิทยาเชิงประชากรและสังคม (นานาชาติ)

ประธานหลักสูตรปรัญชาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร (นานาชาติ)


6

หัวหนาสํานักงานผูอํานวยการ และหัวหนางาน

เรียงจากซายไปขวา

.

สมชาย ทรัพยยอดแกว

ณัฐชนันทพร มีสุวรรณ

จารุวรรณ จารุภูมิ

หัวหนางานสื่อสารองคกร

หัวหนางานประกันคุณภาพ

หัวหนางานคลังและพัสดุ

สุภาณี ปลื้มเจริญ

กุลวีณ ศิริรัตนมงคล

พลอยชมพู สุคัสถิตย

หัวหนาสํานักงานผูอํานวยการ

หัวหนางานบริหารทั่วไป

หัวหนางานการศึกษา


7

บุคลากรดีเดน

ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.อภิชาติ จํารัสฤทธิรงค เปนประธานคณะกรรมการสภาวิจยั แหงชาติ สาขาสังคมวิทยา (พ.ย.2555 – ต.ค.2559) จากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)

ศาสตราจารย ดร.ปราโมทย ประสาทกุล ผลงานวิจัยดีเดนประจําป พ.ศ. 2555 จากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เรื่อง “โครงการการสรางระบบขอมูลเชิงพื้นที่โดยการเสริมสรางศักยภาพชุมชนโดยผานกระบวนการการวิจัย”


8

อาจารย ดร. ศุทธิดา ชวนวัน ผลงานวิจัยดีเดนประจําป พ.ศ. 2555 จากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เรื่อง “โครงการ พัฒนาสื่อและโปรแกรมสําเร็จรูปเพื่อการจดบันทึกบัญชีครัวเรือนภายใตโครงการการบูรณาการ การจัดการเชิงพื้นที่ เพื่อแกปญ  หาความยากจน”

นายภาสกร บุญคุม (นักวิเคราะหนโยบายและแผน) ทําคะแนนสูงสุดเปนอันดับ 1 ของรุน ในการอบรมหลักสูตร "พัฒนาศักยภาพและเสริมทักษะดาน ICT ในสถานที่ทํางานของบุคลากร" คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) เมื่อวันที่ 16-19 ตุลาคม 2555 ที่มีการทดสอบความรูเรื่อง Microsoft Office Powerpoint 2010 ดวยคะแนน 957 คะแนน (เต็ม 1,000 คะแนน)


9

ศิษยเกาดีเดน

คุณกาศพล แกวประพาฬ ไดรับตําแหนงรองผูวาราชการจังหวัดกาญจนบุรี

รองศาสตราจารย ดร.ฤาเดช เกิดวิชัย ไดรับตําแหนงอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และรับรางวัลศิษยเกาดีเดนบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ประจําป 2555 ประเภทบริหาร จากสมาคมศิษยเกาบัณฑิตวิทยาลัย

Dr. RAMESH ADHIKARI ไดรบั รางวัลวิทยานิพนธดีเดน โครงการรางวัลวิทยานิพนธดีเดนประจําปการศึกษา 2555 จากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล


10

ดร. ปิ ยะวัฒน์ เกตุวงศา และ คุณวิชาญ ชูรัตน์ ผลงานวิจยั ดีเด่นประจําปี พ.ศ. 2555 จากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) เรื่ อง “โครงการพัฒนา สื่อและโปรแกรมสําเร็ จรูปเพื่อการจดบันทึกบัญชีครัวเรื อน ภายใต้ โครงการการบูรณาการการจัดการเชิงพื ้นที่ เพื่อแก้ ปัญหาความยากจน”

คุณอภิลาวัลย ออตวงศ นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพฤฒิวิทยาเชิงประชากรและสังคม ไดรบั ทุน Erasmus Mundus Europe Asia 3 (EMEA3) ไปศึกษาตอ ณ ประเทศเบลเยี่ยม


11

กิจกรรมสถาบันฯ

การประชุมวิชาการประจําประดับชาติ ครั้งที่ 8 เรื่อง “ประชากรชายขอบและความไมเปนธรรมในสังคมไทย” วันที่ 2 กรกฎาคม 2555 ณ โรงแรมรอยัลริเวอร บางพลัด กรุงเทพฯ

Asian Population Association Conference 2012 Imperial Queen’s Park Hotel, Bangkok, Thailnd 26-29 August 2012


12

การแขงขันกีฬาบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยมหิดล ประจําปงบประมาณ 2555 ณ วันที่ 2 มีนาคม 2555 คณาจารยและเจาหนาที่ของสถาบันฯ ไดรับเหรียญรางวัล ดังนี้ ประเภทเดี่ยว

ประเภททีม

เหรียญทอง ประเภท วิ่ง 800 เมตรชาย รุนอายุไมเกิน 35 ป

เหรียญทองแดง ประเภท วอลเลยบอลทีมชาย

เหรียญเงิน ประเภท ครอสเวิรด หญิง ประเภท พุงแหลนชาย รุนอายุไมเกิน 35 ป ประเภท กระโดดไกล ชาย รุนอายุไมเกิน 35 ป เหรียญทองแดง ประเภท เปตอง หญิงเดี่ยว ประเภท เทนนิสหญิงเดี่ยว รุนทั่วไป ประเภท พุงแหลนชาย รุนอายุไมเกิน 35 ป ประเภท กระโดดไกลชาย รุนอายุไมเกิน 35 ป

เหรียญทองแดง ประเภท เปตองหญิงคู

การแขงขันกีฬาบุคลากรสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ครั้งที่ 31 วลัยลักษณเกมส ระหวางวันที่ 18-25 เมษายน 2555 ณ อาคารพละศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช บุคลากรสถาบันฯ ไดเหรียญทองจากการแขงขันเซปกตะกรอ ประเภททีมชุดชาย และเหรียญทองแดง ประเภทชายเดี่ยว


13

งบประมาณ ในปงบประมาณ 2555 (ณ วันที่ 30 กันยายน 2555) สถาบันฯ ไดรับจัดสรรงบประมาณตามแผนงาน รวมเปนเงินทั้งสิ้น 74,928,797.13 บาท จําแนกเปนงบประมาณแผนดิน 44,485,644.87 บาท เงินรายได ส วนงาน 47,705,839.20 บาท คิ ด เป น สั ด ส วนงบประมาณแผ น ดิ น : เงิ น รายได คื อ 48.25 : 51.75 รายละเอียดดังนี้ 1) งบประมาณแผนดิน สถาบั น วิจั ย ประชากรและสั งคม ไดรั บ งบประมาณรายจา ยประจํ าป งบประมาณ 2555 จาก งบประมาณแผนดิน 9,745,300.00 บาท และมหาวิทยาลัยสนับสนุนสวนงาน 34,740,344.87 บาท รวม เปนเงินทั้งสิ้น 44,485,644.87 บาท โดยไดรับงบประมาณจําแนกตามแผนงาน และประเภทรายจาย ดังนี้ รายละเอียด จําแนกตามแผนงาน 1. จัดการเรียนการสอนดานประชากรศาสตร และสังคมศาสตร 2. ผลงานการใหบริการวิชาการ 3. ดําเนินการวิจัยและถายทอดเทคโนโลยี 4. ผลงานวิจัยเพื่อสรางองคความรู จําแนกตามประเภทรายจาย 1. งบบุคลากร 2. งบดําเนินงาน 3. งบลงทุน

งบประมาณแผนดิน ที่ไดรับการจัดสรร (บาท)

คิดเปนสัดสวน (รอยละ)

16,130,756.97

36.36

867,917.40 13,816,191.09 13,670,779.41

1.95 31.06 30.73

37,857,369.30 2,154,645.57 4,473,630.00

85.10 4.84 10.06

2) งบประมาณเงินรายได สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ไดรับอนุมัติงบประมาณรายจายจากสภามหาวิทยาลัย ประจําป งบประมาณ 2555 ทั้งสิ้น 47,705,839.20 บาท โดยไดรับงบประมาณจําแนกตามแผนงานและประเภท รายจาย ดังนี้


14

รายละเอียด จําแนกตามแผนงาน 1. จัดการเรียนการสอนดานประชากรศาสตร และสังคมศาสตร 2. ผลงานการใหบริการวิชาการ 3. ดําเนินการวิจัยและถายทอดเทคโนโลยี 4. ผลงานวิจัยเพื่อสรางองคความรู 5. การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดลอม จําแนกตามประเภทรายจาย 1. งบบุคลากร 2. งบดําเนินงาน 3. งบลงทุน 4. งบอุดหนุน 5. งบรายจายอื่น

งบประมาณเงินรายได ที่ไดรับการจัดสรร (บาท)

คิดเปนสัดสวน (รอยละ)

17,048,839.20

35.74

18,900,000.00 6,059,000.00 5,220,000.00 478,000.00

39.62 12.70 10.94 1.00

2,984,040.00 13,974,800.00 1,986,869.20 27,147,000.00 1,613,130.00

6.26 29.29 4.16 56.90 3.38

บุคลากรสถาบันฯ สถาบันวิจัยประชากรและสังคมมีบุคลากรทั้งสิ้น 119 คน (ขอมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2555) จําแนกตามประเภทไดดังนี้ ปริญญา ปริญญา ปริญญา ต่ํากวา สถานภาพ รวม เอก โท ตรี ปริญญาตรี สายวิชาการ 30 1 0 0 31 ขาราชการ 9 1 0 0 10 พนักงานมหาวิทยาลัย 21 0 0 0 21 สายสนับสนุน 0 39 31 18 88 ขาราชการ 0 1 1 1 3 พนักงานมหาวิทยาลัย(เงินอุดหนุน/เงิน 0 24 15 5 44 รายได) ลูกจางประจํา(เงินงบประมาณ/เงินรายได) 0 0 0 9 9 ลูกจางโครงการวิจัย 0 14 15 3 32 รวม (คน) 30 40 31 18 119


15

ยุทธศาสตรสถาบันฯ ยุทธศาสตร (Strategies) 1. การนําความรูสูการปฏิบัติ (Development of Locally Practical Knowledge) 2. สรางเสริมความรู และปญญาสูสังคม (Intellectual and Educational Advancement) 3. ผลักดันใหเกิดสังคมที่มีความรับผิดชอบ (Creating Responsible Society) 4. สรางความเปนสากล (Internationalization) 5. การใชทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประโยชนสูงสุด (Resource Optimization) ยุทธศาสตร 1 การนําความรูสูการปฏิบัติ (Development of Locally Practical Knowledge) กลยุทธ 1. เพิ่มงานวิจัยเชิงรุก/ และหรือที่ตอบปญหาสถานการณสังคมในปจจุบัน และรองรับปญหาที่จะ เกิดขึ้นในอนาคต 2. เพิ่มงานวิจัยเชิงสหวิทยาการ และเนนการมีสวนรวมจากภาคีตางๆ โดยเฉพาะภาคประชาสังคม ชุมชน รัฐและเอกชน 3. สรางเสริมและพัฒนาเครือขายการวิจัยใหครอบคลุมภาคีตางๆ ในทุกระดับ 4. พัฒนาระบบประชาสัมพันธ และเผยแพรผลงาน สูสาธารณชนและสากลอยางตอเนื่อง 5. พัฒนาระบบการคืนขอมูลใหชุมชน / ผูใหขอมูล ยุทธศาสตร 2 เสริมสรางความรู และปญญาสูสังคม (Intellectual and Educational Advancement) กลยุทธ 1. เพิ่มการผลิตผลงานทางวิชาการในทุกรูปแบบและเผยแพรโดยผานการตีพิมพ หรือการนําเสนอ ในที่ประชุม 2. พัฒนาฐานขอมูลเพื่อเปนศูนยอางอิงทางประชากรและสังคมของประเทศไทย 3. พัฒนาหลักสูตรเดิมใหมีรายวิชาที่มีความสําคัญ และเปนความตองการตอการเปลี่ยนแปลง ทางประชากรและสังคมในปจจุบัน รวมทั้งพัฒนาหลักสูตรใหมในประเด็นที่เปนความตองการ เรงดวนในระดับประเทศและนานาชาติ 4. สรางความเขมแข็งของการพัฒนานักศึกษาใหมีสวนรวมในขั้นตอนกระบวนการวิจัยที่สถาบันฯ กําลังดําเนินการอยู 5. จัดการความรูที่มุงเนนการสรางเสริมความรูสูการปฏิบัติ


16

ยุทธศาสตร 3 ผลักดันใหเกิดสังคม ทีม่ ีความรับผิดชอบ (Creating Responsible Society) กลยุทธ 1. สรางเสริมจรรยาบรรณของการศึกษาวิจัย 2. สรางความตระหนักและเคารพในความแตกตางของสังคมที่หลากหลาย 3. ทํ า ให ภู มิ ป ญ ญาชาวบ า นเป น ที่ รู จั ก อย า งกว า งขวาง และเป น ที่ ย อมรั บ (Indigenization of Knowledge) 4. สรางตนแบบที่เปนเลิศของการใชหลักวิชาการ เพื่อสรางประโยชนตอสังคม (Best Practice for Society) ยุทธศาสตร 4 สรางความเปนสากล (Internationlization) กลยุทธ 1. สรางความเขมแข็งในเครือขายเดิมและขยายเครือขายใหม ระหวางสถาบันฯ กับองคกรใน ระดับนานาชาติในทุกภูมิภาคของโลก 2. สรางแผนงานวิจัยในประเด็นที่มีความสําคัญรวมกันในระดับนานาชาติ 3. สรางกิจกรรม ทั้งทางวิชาการ การเรียน การสอนและการฝกอบรมในระดับนานาชาติ 4. สรางนักวิจัย นักศึกษารุนใหมใหมีความรู ความสามารถในระดับสากล ยุทธศาสตร 5 การใชทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประโยชนสูงสุด (Resource Optimization) กลยุทธ 1. สรางระบบใหบุคลากรทุกสายงานมีสวนรวมในการทํางานตามพันธกิจที่ตนเองรับผิดชอบอยาง เต็มศักยภาพ 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกสายงาน 3. พัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสูงสุด 4. พัฒนาระบบจัดซื้อจัดหาการใชวัสดุ/ครุภัณฑ

ผลงานดีเดนในรอบป 1) มี ศู นย อ างอิ งข อมู ลทางประชากรและสั งคม จํ านวน 5 ศู นย มี การเผยแพร ข อมู ลผ านทาง เว็ บ ไซต ได แ ก ศู น ย ศ ตวรรษิ ก ชน (Thai Centenarians Center) ศู น ย ศึ ก ษาการย า ยถิ่ น มหิ ด ล (Mahidol Migration Center: MMC) และมิ เ ตอร ป ระเทศไทย (Thailandometers) หอจดหมายเหตุ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส งานวิจัยของสถาบันฯ (Digital Archive of Research on Thailand : DART) และศูนยอางอิงทางประชากรแหง ประเทศไทย (Population Reference Center of Thailand: PRCT) ซึ่งเปนโครงการหลักดานประชากรและสังคม ของสถาบันฯ ที่จะดําเนินการอยางตอเนื่อง


17

2) โครงการแบบสํารวจความสุขดวยตนเอง (SELF-ASSESSMENT) ซึ่งผลการสํารวจความสุข ดวยตนเอง: HAPPINOMETER ไดถูกนําไปใชเปนฐานในการวัดความสุขในหนวยงานตางๆ ทั้งองคกรภาครัฐ และภาคเอกชน และสามารถวัดความสุขของตนเองไดอยางสะดวก รวดเร็ว ผานระบบเครือขาย internet 3) จั ด การประชุ ม วิ ช าการระดั บ นานาชาติ ร ว มกั บ Asian Population Association “Asian Population Association Conference 2012” มีผูรวมงานประชุม 717 คน จาก 45 ประเทศทั่วโลก 4) จัดการประชุมวิชาการระดับชาติ “ประชากรและสังคม” ประจําป เริ่มตั้งแตป พ.ศ. 2548 ใน ป 2555 เสนอประเด็นเรื่อง “ประชากรชายขอบและความเปนธรรมในสังคมไทย” มีผูรวมงานประชุม 580 คน 5) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใชในการบริหาร ไดแก งานสารบรรณในการออกเลข หนังสือ และระบบใบลาออนไลน (E-Absent) โดยผานระบบเครือขาย internet ไดตลอดเวลา

งานสารบรรณ : การขอเลขจดหมายออนไลน

งานทรัพยากรบุคคล : ใบลาออนไลน (E-Absent) ไดรับลิขสิทธิเ์ ลขที่ ลข. 298247 ลงวันที่ 9 ตุลาคม 2556 จาก กรมทรัพยสินทางปญญา


18


19

สวนที่ 2

ผลการดําเนินงาน • • • •

งานวิจัยทางดานประชากรศาสตรและสังคมศาสตร งานจัดการศึกษาทางประชากรศาสตรและสังคมศาสตร งานบริการวิชาการแกสังคม งานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษสิ่งแวดลอม


20


21

สวนที่ 2 ผลการดําเนินงาน งานวิจัยทางดานประชากรศาสตรและสังคมศาสตร สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ดําเนินการศึกษาวิจัยในเรื่องที่เกี่ยวกับสถานการณการเปลี่ยนแปลง ประชากรและผลกระทบที่มีตอสั งคม ครอบครั ว และบุ คคล เพื่อเป นขอมู ลพื้ นฐาน ในการแสวงหาแนว ทางแกไข เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากรใหดีขึ้น สอดคลองกับสภาพความเปนจริงของประเทศไทย ทามกลางความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อใหการวิจัยเปนไปในทิศทางเดียวกับ แนวนโยบายในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 1. โครงการวิจัยในรอบปงบประมาณ 2555 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ไดดําเนินการศึกษาวิจัยที่สําคัญใน 6 กลุม การวิจัยดังตอไปนี้ กลุมวิจัยที่ 1: สังคมไทยกับการเปลี่ยนแปลงประชากรและครอบครัว Thai Society and Population and Family Changes กลุมวิจัยที่ 2: ภาวะสูงวัยของประชากร Population Ageing กลุมวิจัยที่ 3: เพศวิถี เพศภาวะอนามัยเจริญพันธุ และ เอชไอวี/เอดส Sexuality, Gender, Reproductive Health, HIV/AIDS กลุมวิจัยที่ 4: ประชากร, สิ่งแวดลอม และสุขภาพ Population, Environment and Health กลุมวิจัยที 5: การยายถิ่น ความเปนเมือง และแรงงาน Migration, Urbanization and Labour กลุมวิจัยที่ 6: ประเด็นเรงดวน Emerging Issues


22

กราฟแสดงจํานวนโครงการวิจัย ป 2553 – 2555 50 40

44

40

28

30

28

17

20

17

10 0

2553

2554

โครงการตอเนื่อง

2555

โครงการเขาใหม

โครงการวิจัยใหม 17 เรื่อง 1. โครงการมโนทัศนใหมของนิยามผูสูงอายุ: มุมมองเชิงจิตวิทยาสังคมและสุขภาพ 2. โครงการความเขมแข็งของระบบสุขภาพสําหรับแรงงานขามชาติในประเทศไทย: การ วิเคราะหสถานการณ 3. โครงการผลการออกแบบสถาปตยกรรมและการมีโครงสรางพื้นฐาน สิ่งแวดลอม เพื่อ สุขภาพตอการออกกําลังกายและลนกีฬาเพื่อสุขภาพของประชากรไทย 4. ชุดโครงการ การเฝาระวังทางประชากร เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและการดูแลระยะ ยาวเพื่อเสริมสรางสุขภาวะของผูสูงอายุไทย 5. โครงการ ผลกระทบจากมหาอุทกภัย 2554 และความตองการการสนับสนุนชวยเหลือ: กรณีศึกษาผูสูงอายุ อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 6. โครงการประเมินผลกระทบการใหความรูเรื่องเพศศึกษาและสุขภาวะทางเพศแกวัยรุน โดยการจัดนิทรรศการ 7. โครงการประเมินผล “เอชไอวี” ในประเทศไทย 8. โครงการ การศึกษาเบื้องตนเกี่ยวกับรูปแบบและพฤติกรรมเสี่ยงตอการติดเชื้อเอชไอวีใน กลุมผูใชยาบาดวยวิธีฉีด 9. โครงการกิจกรรมทางกายและภาวะสุขภาพของประชากรไทย 10. โครงการ สถานการณสุขภาพจิตคนไทย 11. โครงการรายงานสุขภาพคนไทย


23

12. โครงการจับตาสถานการณความสุขของคนทํางานในประเทศไทย 13. โครงการประเมินความเปนไปไดในการจัดตั้งพิพิธภัณฑเหมืองแร บานอีตอง ป 2555 14. โครงการ การศึกษาและพัฒนาระบบการชวยเหลือทางสังคมในภาวะวิกฤต 15. โครงการ การสํารวจประชากรมุสลิมตางชาติในประเทศไทย 16. Increasing Media Understanding for Social Dialogue by Civil Society on Migration 17. โครงการวิจัยเรื่อง ศึกษาปจจัยที่สงผลกระทบตอการคุมครอง และพิทักษสิทธิ ผูดอยโอกาส จากประชาคมอาเซียน 2. บทความที่ไดรับการตีพิมพ ในวารสารระดั บชาติ ระดั บนานาชาติ และหนั งสือระดั บนานาชาติ ใน ปงบประมาณ 2555 จํานวน 27 เรื่อง ดังตอไปนี้ วารสารระดับชาติ จํานวน 6 เรื่อง ดังนี้ จรัมพร โหลํายอง ปราโมทย ประสาทกุล และกาญจนา เทียนลาย. (2555). ความสุขของประชากรชนบทใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต. วารสารประชากร. 3 (2): 65-86. เฉลิมพล แจมจั นทร และอรทั ย โสภารัตน. (2555). การพํ านั กระยะยาวของคนญี่ ปุ นในจั งหวัดเชียงใหม : การวิเคราะหปจจัยกําหนดในชวงกอนและหลังการพํานัก. วารสารญี่ปุนศึกษา. 29(1): 16-34. รศรินทร เกรย และณั ฐจีรา ทองเจริญชูพงศ. (2555). ปจจัยที่สงผลตอสุขภาพจิตของผูสูงอายุ. วารสาร ประชากร. 3 (2): 43-64. รศรินทร เกรย อภิชาติ จํารั สฤทธิรงค ปราโมทย ประสาทกุ ล และอุ มาภรณ ภั ทรวาณิ ชย. (2555). รายได หนี้สิน ความสามารถทําใจยอมรับปญหา และความสุข. วารสารสมาคมจิตแพทยแหงประเทศไทย. 57(3): 347-356. วรชัย ทองไทย. (2055). ความสุขพอเพียง. วารสารประชากร. 3 (2): 25-42. วิชาญ ชูรัตน โยธิน แสวงดี และสุพาพร อรุณรักษสมบัติ. (2555). ปจจัยที่มีอิทธิพลตอภาวะเสี่ยงการมี ปญหาสุขภาพจิตของผูสูงอายุไทย. วารสารประชากร. 3 (2): 87-109. วารสารระดับนานาชาติ จํานวน 19 เรื่อง ดังนี้ Atwood, KA.., Zimmerman, RS., Cupp, PK.., Fongkaew, W., Miller, BA., Byrnes, HF., Chamratrithirong, A., Rhucharoenpornpanich, O., Chaiphet, N., Rosati, MJ., and Chookhare, W. (2012). Correlates of precoital behaviors, intentions, and sexual initiation among Thai youth. Journal of Early Adolescence. 32 (3): 364-386. Bunnag, A., Gray, RS. and Xenos, P. (2012). Toward an hstorical demography of Thailand. Journal of Population and Social Studies. 20(2): 82-108.


24

Chuanwan, S., Prasartkul, P., Chamratrithirong, A., Vapattanawong, P. and Hirschman, C. (2012). Incompleteness of registration data on centenarians in Thailand. Journal of Population and Social Studies. 20(2): 38-54. Hall., A. (2012). Migrant workers and social protection in ASEAN: moving towards a regional standard?. Journal of Population and Social Studies. 21(1): 2-11. Hunchangsith, P, Barendregt, JJ., Vos, T and Bertram, M. (2012). Cost - effectiveness of various tuberculosis control strategies in Thailand. Value in Health. 15(1): S50-S55. Kathleen, F. and Chamratrithirong, A. (2012). Cross border migrants: duration of residence, mobility and susceptibility to HIV infection. British journal of Migration, Health and Social Care. 8(3) :127 – 133. Kathleen, F. and Chamratrithirong, A. (2012). Midlife sexuality among Thai adults: adjustment to aging in the Thai family context. Sexuality & Culture. 16(2): 158 -171. Korinek, K. and Punpuing, S. (2012). The effect of household and community on school attrition: an analysis of Thai youth. Comparative Education Review. 56(3): 474-510. Nicholas. F. (2012). Some reflections on ethnic identity of refugee migrants from Burma to Thailand. Journal of Population and Social Studies. 21 (1): 39-46. Nyi Nyi, Chamratrithirong, A. and Guest., P. (2012). The role of family support and other factors in returning home: mgrants from Nang Rong District, Thailand. Asian Population Studies. 8(2): 231-247. Ramesh, A.., Jampaklay, A., Chamratrithirong, A. Richter, K and Pattaravanich, U. (2012). The impact of parental migration on the health of children living separately from parents: a case study of Kanchanaburi, Thailand. Journal of Population and Social Studies. 20 (2): 20-37. Rhucharoenpornpanich, O., Chamratrithirong, A., Miller, BA., Cupp, PK., Byrnes, HF., Atwood, KA., Fongkaew, W., Rosati, MJ. and Chookhare, W. (2012). Parent – Teen communication about sex in urban Thai families. Journal of Health Communication. 17(4): 380-396. Richter, K., Chamratrithirong, A., Niyomsilpa, S. and Miller, R. (2012). Forward to the special issue: migrants, minorities and refugees: integration and well-being. Journal of Population and Social Studies. 21(1): 211. Richter, K., Phillips, SC., McInnis, AM. and Rice, DA. (2012). Effectiveness of a multi - country workplace intervention in Sub-Saharan Africa. AIDS Care. 24(2): 80-185. Rosati, MJ., Cupp, PK., Chookhare, W., Miller, BA., Byrnes, HF., Fongkaew, W., Vanderhoff, J., Chamratrithirong, A., Rhucharoenpornpanich, O. and Atwood, KA. (2012). Successful implementation of Thai family matters: strategies and implications. Health Promotion Practice. 13(3): 355 - 363.


25

Roy, H and Baker, S. (2012). Child trafficking: 'Worst From' of child labour, or worst approach to young migrants?. Development and Change. 43(4): 919-946, Sunpuwan, M. and Niyomsilpa, S. (2012). Perception and misperception: Thai public opinions on refugees and migrants from Myanmar. Journal of Population and Social Studies. 21(1): 47-58. Thanakwanga, K., Ingersoll-Daytonb, B. and Soonthorndhada, K. (2012). The relationships among family, friends, and psychological well-being for Thai elderly. Aging & Mental Health. 16(8): 993-1003. Vijitsoonthornkul, K., Sawangdee, Y., Chamratrithirong, A. and Pao-in, W.. (2012). The significant effect influencing the change of mortality rate between 1997 and 2006. Journal of Health Research. 26(2): 381-389. บทความในหนังสือ 2 บทความ Gray, RS. (2012). Happiness in Thailand. In Happiness Across Cultures: Views of Happiness and Quality of Life in Non-western Cultures . Selin, H. and Davey, G. (eds.). Pp: 137-148. Springer. Kanchanachitra, C., Pachanee, C., Dayrit, MM. and Tangcharoensathien, V. (2012). Medical tourism in Southeast Asia: opportunities and challenges. In Risk and Challenges in Medical Tourism: Understanding the Global Market for Health Services. Hodges, JR., Turner, L. and Kimball, AM. (eds.). Pp: 56-86. Praeger, An Imprint of ABC-CLIO, LLC.

งานจัดการศึกษาทางประชากรศาสตรและสังคมศาสตร การจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ดานประชากรศาสตรและสังคมศาสตรเปนหนึ่งในพันธกิจหลัก ของสถาบันวิจัยประชากรและสังคม กลยุทธในการจัดการศึกษาของสถาบันฯ ที่สําคัญคือสรางความเขมแข็ง ในการพัฒ นานักศึกษาใหมีสวนรวมในการดําเนินการวิจัยของสถาบันฯ และจัดการความรูที่มุงเนนการ สรางเสริมความรูสูการปฏิบัติ และมีสวนรวมในการบริหารจัดการหลักสูตรที่สอดคลองกับความตองการ ของบัณฑิตและผูใชบัณฑิตใหมากที่สุด 1. หลักสูตรของสถาบันฯ ระดับดุษฎีบัณฑิต หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร (หลักสูตรนานาชาติ)  เปดสอนป 2536  มีวัตถุประสงคเพื่อผลิตนักวิชาการที่มีความรูความสามารถระดับสูง เพื่อถายทอดความรูดาน ประชากรศาสตร ทําการวิจัยเพื่อคนหาองคความรูใหม และพัฒนาระเบียบวิธีวิจัยใหมีคุณภาพ เพื่อนําผล การศึกษาไปกําหนดนโยบายและวางแผน


26

ระดับมหาบัณฑิต มี 3 หลักสูตร คือ 1) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพฤฒิวิทยาเชิงประชากรและสังคม (หลักสูตร นานาชาติ)  เปดสอนป 2553  มีวัตถุประสงคเพื่อสรางนักวิชาการและนักวิจัยใหมีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง ดานสังคม ผูสูงอายุ โดยเฉพาะการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาองคความรูใหมและการจัดการฐานขอมูลที่จะนําไปสูการ พัฒนานโยบายสาธารณะเกี่ยวกับสังคมผูสูงอายุ  เป น ความร ว มมื อ ระหว า งสถาบั น วิ จั ย ประชากรและสั ง คม มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล และ มหาวิทยาลัยไมอามี มลรัฐโอไฮโอ ประเทศสหรัฐอเมริกา 2) หลั กสู ตรศิ ลปศาสตรมหาบั ณฑิ ต สาขาวิชาวิจั ยประชากรและอนามั ยเจริญพั นธุ (หลั กสู ตร นานาชาติ)  เปดสอนป 2531  มีวัตถุประสงคเพื่อผลิตบุคลากรใหมีพื้นฐานความรูดานประชากรศาสตรและอนามัยเจริญพันธุ มีความรูความสามารถในการวิจัยประเมินผล และวิเคราะหโครงการและกิจกรรมตางๆ ดานประชากรและ อนามัยเจริญพันธุ รวมทั้งโครงการวางแผนครอบครัวในประเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ  ชื่อหลักสูตรสังคมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจัยประชากรและสังคม (หลักสูตรนานาชาติ) 3) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม (หลักสูตรไทย)  เปดสอนป 2521  มีวัตถุป ระสงคเพื่อเพิ่มพู นความรูความสามารถของบุคลากรในดานการวิจัยวางแผนและ วิเคราะหปญหาประชากรและสังคมในแงมุมตางๆ และสามารถนําความรูดานประชากรไปประยุกตใชใน การวางแผนหรือดําเนินโครงการตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ 2. นักศึกษาของหลักสูตร ในชวง 3 ปที่ผานมา (2553 - 2555) สถาบันฯ มีจํานวนนักศึกษาที่เปดรับ จํานวนนักศึกษาที่รับจริง และจํานวนผูสําเร็จการศึกษา ดังแสดงตอไปนี้


27 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร (หลักสูตรนานาชาติ) เปดรับ

8

รับจริง

จบการศึกษา

6 5

5

5

5

5

5

4

ปการศึกษา 2553

ปการศึกษา 2554

ปการศึกษา 2555

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพฤฒิวิทยาเชิงประชากรและสังคม (หลักสูตรนานาชาติ) เปดรับ

รับจริง

จบการศึกษา

6

6

6

6

5 4

4

0

0

ปการศึกษา 2553

ปการศึกษา 2554

ปการศึกษา 2555


28 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและอนามัยเจริญพันธุ (หลักสูตรนานาชาติ) เปดรับ

รับจริง

จบการศึกษา 20

15

15

14

17

15

ปการศึกษา 2553

17

15

14

ปการศึกษา 2554

ปการศึกษา 2555

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม (หลักสูตรไทย) เปดรับ

รับจริง

จบการศึกษา 18

15

15

15

10 8 5

ปการศึกษา 2553

4

ปการศึกษา 2554

ปการศึกษา 2555

5


29

3. บัณฑิตของหลักสูตร ตัวชี้วัดที่แสดงใหเห็นวา หลักสูตรของสถาบันฯ มีคุณภาพและเปนที่ยอมรับ ทั้งในระดับชาติและ นานาชาติ 1) บัณฑิตระดับปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร (หลักสูตรนานาชาติ) ประจําปการศึกษา 2555 ชื่อ – นามสกุล 1. พันโทหญิงอมรรัษฏ บุนนาค 2. นางสาวจันจิรา วิจัย 3. นางสาวสุคนธา มหาอาชา 4. นายปยะวัฒน เกตุวงษา

5. นางสาวจงจิตต ฤทธิรงค

ตําแหนง / สถานทีท่ าํ งาน นักวิชาการ ศูนยวิจัยและพัฒนายุทธศาสตร กรมยุทธศึกษาทหารบก อาจารย คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย เจาของธุรกิจสวนตัว นักวิจัยโครงการของสถาบันฯ / อาจารยสอนพิเศษ / วิทยากรบรรยาย ใน มหาวิทยาลัยตางๆ เชน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, มศว.องครักษ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน, มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, มหาวิทยาลัยศิลปากร ทับแกว, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ อาจารย สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

2) บัณฑิตระดับศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพฤฒิวิทยาเชิงประชากรและสังคม (หลักสูตร นานาชาติ) ประจําปการศึกษา 2555 ชื่อ – นามสกุล 1. นายรุงเพชร พัจนา 2. นางสาวสุภรต จรัสสิทธิ์ 3. Mrs. Courtney Joy Reynolds

4. Ms. Hannah Ruth Stohry

ตําแหนง / สถานทีทาํ งาน นักวิจัย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) นักวิจัย สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล  Business Services Associate, office staff.  Master Social Administration degree st Case Western Reserv University in Cleveland, Ohio U.S.A. เปนอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ และเปนผูชวยสอนภาษาอังกฤษ

3) บัณฑิตระดับศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและอนามัยเจริญพันธุ (หลักสูตร นานาชาติ) ประจําปการศึกษา 2555 Name 1. 2. 3.

Hong Heang Caroline Combelles de Morais Rossiyanne

Position / organization National Committee for Population and Development (NCPD), Vietnam Self-employed National Population and Family Planning Board (BKKBN) at Kepulauan Riau Province, Indonesia


30

Name 4.

Islakhiyah

5. 6.

Sukma Citra Puspitasari Hoang Van Thai

7.

Dinh Hoang Yen

8.

Bui Minh Chien

9.

Pham Ngoc Thanh

10. Dao Van Dang

11. Hoang Hoa My Tu

12. Ton Nu Hong Vy

13. Nguyen Thi Mai 14. Nguyen Quynh Mai 15. Le Manh Hung 16. Nguyen Hai Hue

Position / organization National Population and Family Planning Board (BKKBN) at Jambi Province, Indonesia YCAB Foundation, NGO in Indonesia Procurement of ThanhHoa Provincial management unit ThanhHoa, Vietnam Communication Department. Hanoi Preventive AIDS Center Hanoi, Vietnam Monitoring Dept., Center Prevention and Control HIV/AIDS Thai Nguyen, Vietnam Monitor and evaluate of AIDS program in Tay Nguyen, Dak .Lak Province, Vietnam Head of Counselling, care and treatment of HIV/AIDS, Center for HIV/AIDS in VinhPhuc, QuangKhai Ward, Vinh Yen Town, VinhPhuc Province, Vietnam Project Coordinator, Project Management Unit (PMU) of Vietnam HIV/AIDS Prevention Project funded by World Bank of Ba Ria-Vung Tau Province, Vietnam Researcher, Dept. of Epidemiology- NhaTrang Pasteur Institute, M&E unit, HIV/AIDS Prevention Project in Central Vietnam, KhanhHoa Province Vietnam authority of HIV/AIDS control, Ministry of Health ( M&E Unit), Ba Dinh District, Hanoi Capital, Vietnam Formal Medical Officer Vietnam authority of HIV/AIDS control Dept. of Financial and Planning, Ministry of Health, Vietnam administration of HIV/AIDS control. Hanoi, Vietnam Communication officer Vietnam Authority of HIV/AIDS control Hanoi, Vietnam

1) บัณฑิตระดับศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม ประจําปการศึกษา 2555 ชื่อ – นามสกุล 1. นางสาวมยุรา จรรยารักษ 2. นางสาวณิชาภัทร ใจยะทิ 3. นายอนุสรณ อุดปลอง

ตําแหนง / สถานทีท่ าํ งาน พยาบาลวิชาชีพ คณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล ครูผูชวยโรงเรียนวัดอินทราราม อาจารยประจํา สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร จังหวัดฉะเชิงเทรา


31

4. แหลงทุนของนักศึกษา นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร (หลักสูตรนานาชาติ) ประจําป การศึ ก ษา 2555 ได รั บ ทุ น ภายในประเทศจาก 5 องค ก ร จํ า นวน 9 ทุ น (Royal Golden Jubilee Ph.D. Program 7 ทุ น, Faculty of Medicine Siriraj Hospital 1 ทุ น, 60th Year Supreme Reign of His Majestry King BhumibolAdulyadej 1 ทุ น ) และจากแหล ง ทุ น ต า งประเทศจาก 3 องค กร จํ า นวน 6 ทุ น (Welcome Trust 4 ทุน, Deponegoro University 1 ทุน, Ministry of Education Indonesia 1 ทุน) นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพฤฒิวิทยาเชิงประชากรและสังคม (หลักสูตร นานาชาติ) ไดรับ ทุ นภายในประเทศจากมหาวิท ยาลัย วิจั ยแหงชาติ National Reseach Unlversity (NRU) จํานวน 4 ทุน และจากแหลงทุนตางประเทศ Assistantship, Miami University จํานวน 11 ทุน นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและอนามัยเจริญพันธุ (หลักสูตร นานาชาติ) ไดรับทุนจากแหลงทุนตางประเทศจาก 4 องคกร จํานวน 16ทุน (UNFPA 1 ทุน, BKKBN/ Indonesia 2 ทุน Ministry of Education/Indonesia 2 ทุน และ World Bank 11 ทุน) นั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ตรศิ ล ปศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าวิ จั ย ประชากรและสั งคม ได รั บ ทุ น The Wellcome Trust- IPSR Graduate Scholarship จํ า นวน 4 ทุ น และทุ น มหาวิ ท ยาลั ย วิ จั ย แห ง ชาติ National Research University (NRU) ภายใตโครงการเฝาระวังทางประชากร เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการดูแล ระยะยาว เพื่อเสริมสรางสุขภาวะของผูสูงอายุไทย จํานวน 3 ทุน 5. กิจกรรมพัฒนานักศึกษา สถาบันฯ มีแผนการจัดโครงการ หรือกิจกรรมสงเสริมผลการเรียนรูเพื่อพัฒนานักศึกษานอกเหนือจาก การเรียนการสอนในหลักสูตรหลายโครงการหรือหลายกิจกรรม ดังนี้ 1) ทุกหลักสูตรกําหนดใหนักศึกษาลงทะเบียนเรียนวิชา Research Ethics ซึ่งจัดโดยบัณฑิตวิทยาลัย และสงเสริมใหนกั ศึกษามีคุณธรรมและจริยธรรมทางวิชาการ 2) จัดกิจกรรมศึกษาดูงานเสริมความรูตามความสนใจและในชั่วโมงเรียนของนักศึกษา พรอมทั้งมี การประเมินผลการศึกษาดูงานเพื่อใชในการปรับปรุงการศึกษาดูงานในปตอไป

การศึกษาดูงานดานอนามัยเจริญพันธุ และ HIV/AIDS ที่จังหวัดเชียงราย และเชียงใหม


32

การจัดทัศนศึกษาและดูงานนอกสถานที่ ภายใตวิชา PRDE 663 Advanced Analysis of Migration, PRDE 674 Social Research on the Elderly และ PRPG 553 Seminar in Gerontology

3) จั ดใหมี course เสริม ทั ก ษะการเขีย นบทความทางวิช าการ (Research writing skills) สํ าหรั บ นักศึกษาทุกหลักสูตร โดยผูเชี่ยวชาญชาวตางประเทศของสถาบันฯ เพื่อเพิ่มทักษะในการเขียนวิทยานิพนธ และบทความทางวิชาการ 4) จัดใหมี Writing Club ในทุกวันพุธ โดยเปดโอกาสใหนักศึกษา และบุคลากรของสถาบัน เขารวม เพื่อนําไปสูการทําวิทยานิพนธและเขียนบทความทางวิชาการ 5) ทุกหลักสูตรสนับสนุนใหนักศึกษานําเสนอผลงานทางวิชาการในการประชุมวิชาการระดับชาติ และนานาชาติทั้งในประเทศและตางประเทศ และนําขอเสนอแนะมาปรับปรุงการเขียนบทความทางวิชาการ  นักศึกษาสถาบันฯ จํานวน 4 คน หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและ สังคม นํ าเสนอผลงานวิจั ยในการประชุมวิชาการประชากรศาสตรแหงชาติ ณ โรงแรมเดอะทวิน ทาวเวอร กรุงเทพฯ ในวันที่ 16-17 กุมภาพันธ 2555  Mr. Ramesh Adhikari หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร (หลักสูตร นานาชาติ) นําเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา ในวันที่ 3-5 พฤษภาคม 2555 6) เปดโอกาสใหนักศึกษาเรียนรูและฝกปฏิบัติการวิจัยจัดเก็บขอมูลภาคสนามในทุกขั้นตอน ในวิชา ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร 2 เพื่อใหนักศึกษาไดรับประสบการณภาคสนามจริง 7) เป ดโอกาสใหนัก ศึก ษาไดมีสวนรวมในการปฏิบั ติงานวิจั ย ในตํ าแหนงนั ก วิจั ย ผูชวย รวมกั บ คณาจารย เพื่ อ ให นั ก ศึ ก ษามี ป ระสบการณ จ ริ ง ในการทํ า วิ จั ย เพื่ อ ใช ใ นการเขี ย นบทความ และทํ า วิทยานิพนธโดยมีบทความที่นักศึกษาเขียนรวมกับอาจารย จํานวน 4 บทความ ดังนี้ 1.1 อมรรั ตน บุ นนาค, รศริ นทร เกรย และ Peter Xenos บทความเรื่ อง ”Toward an Historical Demography of Thailand” ใน Journal of Population ansSocail Studies, Volum 20 Number, 2, January 2012 1.2 Ramesh Adhikari, อารี จํ าปากลาย, อภิ ชาติ จํ ารั สฤทธิ รงค , Kerry Richter และ อุ มาภรณ ภั ท รวาณิ ชย บ ท ค ว า ม เรื่ อ ง “ The Impact of Parental Migration on the Health of Children Living


33

Separately from Parnts : A Case Study of Kanchanaburi, Thailand” ใน Journal of Population and Socail Studies, Volum 20 Number, 2, January 2012 1.3 ศุทธิดา ชวนวัน, ปราโมทย ปราสาทกุล, อภิชาติ จํารัสฤทธิรงค และ ปทมา วาพัฒนวงศ บ ท ค ว า ม เรื่ อ ง “Incompleteness of Registration Data on Centenarians in Thailand” ใ น Journal of Population ansSocail Studies, Volum 20 Number, 2, January 2012 1.4 จั น จิ ร า วิชั ย , อมรา สุ น ทรธาดา, สิ ริน ภา จิ ต ติ ม านี , จรั ม พร โห ลํ า ยอง และ Andrew Noymer บทความเรื่ อ ง “Hardship of Tuberculosis Treatment Access and Adherence among Myanmar Migrants at Maesai Hospital, Thailand” ใน Journal of Health Research Volume 26 Nomber4, August 2012 8) จัดใหมีการสัมมนานักศึกษา 4 หลักสูตร เพื่อใหนักศึกษาไดมีโอกาสศึกษาดูงาน และมีกิจกรรม รวมกั น มีค วามคุนเคยและไดมีโอกาสแลกเปลี่ย นความคิดเห็ นและประสบการณ ตลอดจนเพื่อสรา ง ความสัมพันธอันดีในหมูนักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ของสถาบันฯ

การสัมมนานักศึกษา 4 หลักสูตร ณ ศูนยปฏิบัติการการวิจัย วิทยาเขตไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี

9) สงเสริมทักษะการใชโปรแกรมคอมพิวเตอร เชน การจัดอบรมโปรแกรม GIS แกนักศึกษาเพื่อ เปนเครื่องมือประกอบการเขียนบทความและทําวิทยานิพนธ 10) จัดประชุมวิชาการนานาชาติ 6thInternational Conference on Reproductive Health and Social Sciences Research วันที่ 24 สิงหาคม 2555 เพื่อใหนักศึกษาของสถาบันฯ รวมทั้งนักศึกษาและนักวิจัยจาก หนวยงานอื่นสงบทความนําเสนอโดยผานการคัดกรองจาก Peer Review และเมื่อไดรับการปรับปรุงแกไข แลวไดนํามาจัดพิมพเปน Proceedings


34

ประชุมวิชาการนานาชาติ 6th International Conference on Reproductive Health and Social Sciences Research

11) สนับสนุนใหนักศึกษาเสนอผลงานวิจัย เตรียมความพรอมกอนสอบโครงรางวิทยานิพนธและ สอบวิทยานิพนธ ในเสวนาใตชายคาประชากร จัดทุกวันพุธ เวลา 12.30 – 13.30 น. เพื่อสรางศักยภาพของ นักศึกษาในการเสนอผลงานวิจัย และนําขอเสนอแนะจากการเสวนาไปปรับปรุงโครงรางและวิทยานิพนธ 12) สนับสนุนพิธีไหวครู เปนประจําทุกป เพื่อสืบสานประเพณีและวัฒนธรรมระหวางคณาจารย และศิษยการสงเสริมการจัดพิธีไหวครูนั้น เปนการสงเสริมใหนักศึกษามีคุณธรรมและจริยธรรม และไดมี การประเมินการจัดพิธีไหวครูเพื่อนําไปปรับปรุงในปตอไป 13) สนับสนุนใหนักศึกษาเขารับการอบรมการสืบคนขอมูลทาง Electronic ของหองสมุด เพื่อเรียนรู วิธีการใชหองสมุดและสืบคนขอมูล เพื่อใหสามารถนําไปใชในการสืบคนขอมูลประกอบการเรียน การทํา รายงานและการทําวิทยานิพนธ 14) จัดปฐมนิเทศนนักศึกษาใหม เพื่อใหความรูความเขาใจเกี่ยวกับการเรียนการสอน และระเบียบ ขอบังคับของหลักสูตร รวมทั้งแนะนําสถาบันฯ และคณาจารย

ปฐมนิเทศนักศึกษาใหมปการศึกษา 2555


35

งานบริการวิชาการแกสังคม สถาบันฯ มีการพัฒนารูปแบบการใหบริการวิชาการอยางตอเนื่อง เพื่อใหบริการมีการพัฒนาจนถึง ระดับที่มีการไดรับคํารับรองจากมาตรฐานทั้งระดับชาติ/นานาชาติ โดยมีการดําเนินการ 13 รูปแบบ ดังนี้ 1) ศูนยอางอิงขอมูลทางประชากรและสังคม สถาบันฯพัฒนาศูนยอางอิงขอมูลทางประชากร 5 ศูนย ดังนี้ 1.1 ศูนยศตวรรษิกชน (Thai Centenarians Center) ศูนยศตวรรษิกชน มีวัตถุประสงคเป นแหลงขอมู ลความรูเกี่ยวกับผูสูงอายุ และศตวรรษิกชนหรือ ประชากรที่มีอายุ 100 ปขึ้นไป (Centenarian – คนรอยป หรือ ศตวรรษิกชน) ในประเทศไทย เพื่อศึกษาชีวิต ความเปนอยูของคนอายุ 100 ป สอดคลองกับกิจกรรมของมหาวิทยาลัยมหิดล ที่จัดใหมี “การประกวดแม รอยป” ในวันแมแหงชาติเปนประจําทุกป ตั้งแตป พ.ศ. 2546 เปนตนมา ศูนยศตวรรษิกชน นําเสนอขอมู ลผาน บทความ สถิติตัวเลข คํ าศัพท ขาวสารความรูวิทยานิพนธ งานวิจัยบทความ และกระดานขาว (http://www.thaicentenarian.mahidol.ac.th) 1.2 ศูนยศึกษาการยายถิน่ มหิดล (Mahidol Migration Center – MMC) ศูนยศึกษาการยายถิ่นมหิดล (Mahidol Migration Center – MMC) จัดตั้งขึ้นเพื่อสงเสริมสนับสนุนและ พัฒนาการศึกษาวิจัยเชิงนโยบายดานการยายถิ่น เปนศูนยเผยแพรขอมูลขาวสารของสถาบันฯ และหนวยงาน เครือขายความรวมมือของสถาบันฯ ผานกิจกรรมการวิจัยแบบสหวิทยาการและการแลกเปลี่ยนเรียนรู เพื่อ พัฒนาคุณภาพชีวิตของผูยายถิ่นในประเทศไทยและในภูมิภาค ผานทางงานวิจัย สิ่งตีพิมพและจดหมายขาว (http://www.migrationcenter.mahidol.ac.th) 1.3 มิเตอรประเทศไทย (Thailandometers) สถาบั น ฯ ได พั ฒ นา “มิ เตอรป ระเทศไทย” เป น เครื่อ งมื อ นํ า เสนอสถิ ติ ขอ มู ล ด า นประชากร สุขภาพอนามัย เศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดลอม ‘ตามเวลาจริง’ เพื่อใหสาธารณชนเห็นความสําคัญของ ขอมูลดานประชากร และสามารถนําขอมูลไปใชอางอิงได สถิติขอมูลที่นําเสนอในมิเตอรประเทศไทยได จากการคาดประมาณของ “คณะทํางานฉายภาพประชากร” ของสถาบันฯ ซึง่ ใชขอมูลจากการจดทะเบียน และการสํารวจจากแหลงตางๆ คํานวณอัตรา และตัวชี้วัดตางๆเพื่อนําเสนอใหเห็นภาพการเปลี่ยนแปลง ของตัวชี้วัดเหลานั้นตามเวลาที่เปลี่ยนไป (http://www.thailandometers.mahidol.ac.th) 1.4 หอจดหมายเหตุอิเล็กทรอนิกสงานวิจัยของสถาบั นฯ (Digital Archive of Research on Thailand (DART) เพื่ อ รวบรวมข อมู ล ภาพเหตุ ก ารณ ผลงานวิ จั ย ของสถาบั น ฯ โครงการกาญจนบุ รี โครงการนางรองในอดีต จัดเก็บเปนฐานขอมูล และเผยแพรผานเว็บไซต ที่สามารถแลกเปลี่ยนขอมูลกันได (http://www.dart.ipsr.mahidol.ac.th) 1.5 ศูนยอางอิงทางประชากรแหงประเทศไทย (Population Reference Center of Thailand: PR CT) เป น แห ล งรวบ รวม ของข อมู ลแล ะตั วชี้ วั ด ที่ เกี่ ยวข อ งกั บ ป ระชาก รและค รอบ ค รั ว (http://www.prct.ipsr.mahidol.ac.th)


36

2) เผยแพรขาวสารขอมูล หนังสือ และผลการวิจัยทางประชากรและสังคม 1.1 หนังสือ จํานวน 10 เรื่อง ดังนี้

คูมือการปฏิบัติงานตามระบบการชวยเหลือทางสังคมในภาวะวิกฤต ผูแตง: อรทัย อาจอ่ํา

A Situation Analysis on Health System Strengthening for Migrants in Thailand ผูแตง: Chalermpol Chamchan et al.

การศึกษาและพัฒนาระบบการชวยเหลือทางสังคมในภาวะวิกฤต ผูแตง: อรทัย อาจอ่ํา

การสํารวจขอมูลพื้นฐานโครงการสงเสริมการปองกันเอดสใน แรงงานขามชาติประเทศไทย (โครงการฟามิตร-2) ผูแตง: อภิชาติ จํารัสฤทธิรงค และคณะ

Prevention of HIV/AIDS Among Migrant Worker in Thailand 2 (PHAMIT 2) : The Baseline Survey 2010 ผูแตง: Aphichat Chamratrithirong et al.

Children Living Apart from Parents due to Internal Migration (CLAIM) ผูแตง: Aree Jampaklay et al.


37

สุขภาพคนไทย 2555 : ความมั่นคงทางอาหาร เงินทองของมายา ขาวปลาสิของจริง บรรณาธิการ: ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา และคณะ

ความสุขที่สรางได ผูแตง: ปราโมทย ประสาทกุล และคณะ

Evaluation of the ‘Healthy Sexuality: A Story of Love Exhibition’ at Thailand’s National Science Museum ผูแตง: Orathai Ard-am et al

Child Health and Migrant Parents in Southeast Asia (CHAMPSEA) –THAILAND REPORT ผูแตง: Aree Jampaklay et al.

2.2 เอกสารทางวิชาการ 2.2.1 จดหมายขาวประชากรและการพัฒนา เผยแพรในปงบประมาณ 2555 เปนปที่ 32 ฉบับที่ 1-6 ตีพิมพ 2 เดือน/ครั้ง 2.2.2 สารประชากรมหาวิทยาลัยมหิดล พิมพปละครั้ง ฉบับภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ในปงบประมาณ 2555 นี้ เปนปที่ 21 ที่สถาบันฯ ไดจัดทําสารประชากรมหาวิทยาลัยมหิดลขึน้ 2.2.3 วารสารประชากรและสังคม “Journal of Population and Social Studies : JPSS” พิมพปละ 2 ครั้ง ในเดือนมกราคม และกรกฎาคม ตีพิมพบทความในดานประชากรศาสตร วิทยาศาสตรสุขภาพ เศรษฐศาสตร สถิติ และดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของในปงบประมาณ 2555 พิมพเลมที่ 20 ฉบับที่ 2 และพิมพเลมที่ 21 ฉบับที่ 1 2.2.4 เอกสารการสื่อสารเพื่อสรางเสริมสุขภาวะทางประชากรและสังคม “สุขภาพจิตประชากรและ สังคม” ภายใตโครงการรายงานสถานการณสุขภาพจิต เปนเอกสารรายเดือน ตีพิมพเดือนละ 1 ครัง้ เดือนมกราคม – ธันวาคม


38

3) การจั ด ประชุ ม วิ ช าการระดั บ ชาติ “ประชากรและสั ง คม” จั ด เป น ครั้ ง แรกเมื่ อ ป 2548 ในวั น ที่ 1 กรกฎาคม เปนประจําทุกป ในแตละปนําเสนอประเด็นหลักที่แตกตางกัน โดยประมวลจากปรากฏการณทางสังคมที่ เปนทั้งสาเหตุและผลของการเปลี่ยนแปลงทางประชากรและสังคม ในการประชุมมีการนําเสนอบทความโดยอาจารย และนักวิจัยของสถาบันฯ และมีวิทยากรผูทรงคุณวุฒิเปนผูใหความเห็นตอบทความ ในปงบประมาณ 2555 สถาบันฯ นับเปนครั้งที่ 8 จัดประชุมประเด็นเรื่อง “ประชากรชายขอบและความเปนธรรมในสังคมไทย” ในการประชุมปนี้มี ผูเขารวมประชุมจํานวน 580 คน 4) การจัดอบรมหลักสูตรระยะสัน้ ระดับชาติและระดับนานาชาติ สถาบันฯ จัดอบรมระยะสั้น 10 ครั้ง มีผูเขารับการอบรม จํานวน 219 คน จากหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และองคกรระหวางประเทศ เชน อาจารย นักวิจัย นักวิชาการ แพทย พยาบาล เจาหนาที่สาธารณสุข ลําดับ

เรื่อง / ระดับชาติ / นานาชาติ

วัน เดือน ป

1.

การวิจัยเชิงปฏิบตั ิการ: ศาสตรและศิลปเพื่อประโยชน สุขของปวงชน รุนที่ 6 วิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยเชิงปฏิบตั ิการ: ศาสตรและศิลปเพื่อประโยชน สุขของปวงชน รุนที่ 7 วิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ การวิจัยเชิงปฏิบตั ิการ: ศาสตรและศิลปเพื่อประโยชน สุขของปวงชน (หรือ การวิจัยทางสังคมศาสตรและการ วิจัยเชิงปฏิบตั ิการในชั้นเรียน) รุนที่ 8 จัดใหกับ วิทยาลัยเทคนิคระยอง Regional Workshop on Monitoring and Evaluation of Population, Health and Nutrition Programs The Pilot Worshop on Global Health Diplomacy: Capacity Building of Health Related Professionals in Thailand Global Health Diplomacy Regional Workshop Regional Workshop on Monitoring and Evaluation of HIV/AIDS Programs workshop Regional Workshop on Monitoring and Evaluation of Health Programs workshop

10-21 ตุลาคม 2554

จํานวนผูเ ขารวม (คน) 16

19-28 มีนาคม 2555 2-6 เมษายน 2555

24 22

23-27 เมษายน 2555 3-7 กันยายน 2555

32 20

6-24 กุมภาพันธ 2555

14

23-27 เมษายน 2555

21

7-11 พฤษภาคม 2555 9-20 กรกฎาคม 2555

22 12

11-15 ธันวาคม 2555

36

2. 3. 4. 5.

6. 7.

8. 9. 10.


39

5) การจัดเสวนาวิชาการ “ใตชายคาประชากร”ทุกวันพุธ เวลา 12.30 – 13.30 น. เพื่อเปนการสงเสริมความกาวหนาดานวิชาการใหมีความเขมแข็ง และมีบรรยากาศการแลกเปลี่ยนความรู และประสบการณอยางกวางขวาง สรางสรรค และเปนกันเอง รวมทั้งสงเสริมใหมีการเผยแพรและอภิปรายผลงานวิจัย และประเด็นวิจัยตางๆ สถาบันฯ จัดเสวนาวิชาการ “ใตชายคาประชากร” ทุกวันพุธ เวลา 12.30-13.30น.โดยเปด โอกาสใหทั้งบุคลากรในสถาบันฯ และนอกสถาบันฯ เปนผูนําเสนอและผูรวมรับฟง ในปงบประมาณ 2555 มีการจัด เสวนาจํานวน 37 ครั้ง มีผูรับบริการจํานวน 648 คน 6) การไดรับเชิญเปนวิทยากร อาจารยพิเศษ อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ที่ปรึกษาและกรรมการ ผูทรงคุณวุฒิใหแกหนวยงานตางๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน ในระดับชาติและระดับนานาชาติ บุคลากรของสถาบันฯ ไดรับเกียรติจากหนวยงานอื่นๆ ทั้งในมหาวิทยาลัยและนอกมหาวิทยาลัย และจาก องคกรตางประเทศใหไปสอนหรือบรรยายพิเศษ ในหัวขอระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ วิธีวิจัยทางพฤติกรรม ศาสตรและสังคมศาสตร และประเด็นทางสังคมที่บุคลากรของสถาบันฯ มีความเชี่ยวชาญ เชน แรงงานขามชาติ เพศภาวะ และเพศวิถี การเสริมพลัง กระบวนการเรียนรู การคาดการณและแนวโนมของประชากร ครอบครัวไทย เด็ก วัยรุน และ ผูสูงอายุ ในมิติทางประชากรศาสตร สังคมศาสตร เศรษฐศาสตร สิ่งแวดลอม และสุขภาพเปนตน ซึ่งในปงบประมาณ 2555 มีบุคลากรของสถาบันฯ ไดรับเชิญเปนอาจารยพิเศษ วิทยากร เปนที่ปรึกษา และกรรมการตางๆ จํานวน 55 ครั้ง มี ผูรับบริการจํานวน 4,523 คน 7) การเยี่ยมชมดูงานจากหนวยงานในประเทศ และหนวยงานตางประเทศ ในปงบประมาณ 2555 สถาบันฯ ใหการตอนรับหนวยงานในประเทศและหนวยงานตางประเทศที่มาเยี่ยมชม สํารวจจํานวน 18 ครั้ง จํานวนผูเขาเยี่ยมชม 33 คน ลําดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

หนวยงาน คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร The Australian Embassy University of Tulane, U.S.A. Department of Genetics, Texas Biomedical Research Institute, U.S.A., Miami University, U.S.A. Miami University, U.S.A. Chairman, Kathmandu Engineering College, Tribhuvan University, Nepal University of New England, Australia Counselor of Political Division, The Embassy of Japan คณะเจาหนาที่จากสหภาพพมา และผูประสานงานจาก สํานักงานสถิติแหงชาติ University of Tulane, U.S.A. Prof.Ching-lung Tsay; Tamkang Universuty, Taiwan

วัน เดือน ป 27 เมษายน 2555 5 ตุลาคม 25554 22 พฤศจิกายน 2554 6-10 ธันวาคม 2554

จํานวนผูเ ขารวม (คน) 2 4 1 2

12 ธันวาคม 2554

2

22 ธันวาคม 2554 18 มกราคม 2555 27 เมษายน 2555

1 1 8

19 มิถุนายน 2555 27 มิถุนายน – 30 กันยายน 2555

1 1


40

ลําดับ หนวยงาน 11. Prof.Janardan Subedi; Scripps Gerontology Center, Miami University, U.S.A 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18.

Prof.Guang Guo; University of North Carolina Chapel Hill, U.S.A. Ms.Esselien de Leeuw; Utrecht Area, Netherlands Ms.Angelica Braun; Family Health International (FHI360) Associate Professor Andrew Noymer; University of California, U.S.A. Ms.Hemali Kulatilaka; University of North Carolina Chapel Hill, U.S.A. Dr.Sarah Blangero, Dr.Matthew Johnson; Texas Biomedical Research Institute, U.S.A. Prof.Er Ah Choy, Abd Hadi Harman Shah, Suhana Saad; University Kebangsaan, Malaysia

วัน เดือน ป 28 มิถุนายน 2555

จํานวนผูเ ขารวม (คน) 1

29 มิถุนายน 2555

1

1 กรกฎาคม – 15 กันยายน 2555 16 สิงหาคม 2555

1

22 สิงหาคม – 4 กันยายน 2555 30 สิงหาคม 2555

1

11 กันยายน 2555

2

14 กันยายน 2555

3

1

1

8) จัดประชุมสัมมนาระดับชาติและนานาชาติ รวมกับหนวยงานภาครัฐและเอกชน หรือเครือขาย ความรวมมือ ในการผลักดันนโยบายสาธารณะ และประเด็นเรงดวนทางสังคม ในปงบประมาณ 2555 สถาบันฯ จัดประชุมสัมมนาทางวิชาการทั้งระดับชาติ และนานาชาติ จํ านวน 13 ครั้ง ผูรับบริการ 2,174 คน ดังนี้ ลําดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

เรื่อง / ระดับชาติ / นานาชาติ

วัน เดือน ป

ความเปนเมืองในหลากหลายมุมมองกับทิศทางการวิจัย 16 มีนาคม 2555 ระบบรับมือภัยพิบัติของอําเภอบางระกํา: มุมมอง 15-16 พฤษภาคม 2555 ประสบการณและบทเรียนของประชาชนและชุมชน ระบบรับมือภัยพิบัติของนครราชสีมา: มุมมอง 28-29 พฤษภาคม 2555 ประสบการณและบทเรียนของประชาชนและชุมชน ระบบรับมือภัยพิบัติของนครศรีธรรมราช: มุมมอง 19-20 มิถุนายน 2555 ประสบการณ และบทเรียนของประชาชนและชุมชน ระบบรับมือภัยพิบัติของอําเภอพุทธมณฑล: มุมมอง 25 มิถุนายน 2555 ประสบการณและบทเรียนของประชาชนและชุมชน ระบบรับมือภัยพิบัติของอําเภอบางเลน จังหวัด 28 มิถุนายน 2555 นครปฐม: มุมมองประสบการณ และบทเรียนของ ประชาชนและชุมชน

จํานวนผูเ ขารวม (คน) 40 113 136 141 104 100


41

ลําดับ

เรื่อง / ระดับชาติ / นานาชาติ

วัน เดือน ป

7.

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 8 "ประชากรและ สังคม 2555" เรื่องประชากรชายขอบและความเปน ธรรมในสังคมไทย The 2nd MMC Regrants, Minorities and Refugees: Integratin and Well-being International Seminar on Increasing Use of Reproductive Health Services through Communitybased and Health Care Financing Programmes: Impact and Sustainabillity (IUSSP) The 6th International Conference on Reproductive Health and Social Sciences Research Workshop on Data Quality and Accessibility Workshop on Making the Connection: Family Planning and Climate Change Asian Population Association Conference 2012

2 กรกฎาคม 2555

8. 9.

10. 11. 12. 13.

จํานวนผูเ ขารวม (คน) 580

23-24 เมษายน 2555

50

23-25 สิงหาคม 2555

39

24 สิงหาคม 2555

80

25-26 สิงหาคม 2555 26 สิงหาคม 2556

38 30

26-29 สิงหาคม 2555

717

บุคลากรสถาบันฯ จํานวน 28 คน นําเสนอผลงานจากผลงานวิจยั ในที่ประชุมนานาชาติ 26 เรื่อง ดังนี้ ลําดับที่ 1.

ผูนําเสนอ รศ.ดร. อารี จําปากลาย

2.

อ.ดร.เฉลิมพล แจมจันทร

3.

อ.ดร.เฉลิมพล แจมจันทร

เรื่อง Children Living Apart from Parents due to Internal Migration (Claim) ระหวางวันที่ 16 -19 ตุลาคม 2554 ประเทศมาเลเซีย Thailand’s Social Security in the Age of Ageing and Migration ระหวางวันที่ 26-31 ตุลาคม 2554 ประเทศญี่ปุน Ageing and Thai Society in Transition และ A Proposal on Retirement Age Extension in Thailand ระหวางวันที่ 1-5 พฤศจิกายน 2554 ประเทศญี่ปุน

การประชุม การนําเสนอการวิจัยเพือ่ สรางเครือขายกับคณะ สังคมศาสตรและมนุษย ศาสตร Green and Life in ASEAN : Coexisting and Sustainability in East Asian Connections Population Ageing and Sustainable Development


42

ลําดับที่ 4.

ผูนําเสนอ รศ.ดร.โยธิน แสวงดี

เรื่อง Impact of China Demand for Para Rubber on Nang Rong District ระหวางวันที่ 14-18 ธันวาคม 2554 ประเทศสาธารณรัฐอินเดีย

การประชุม 4th International Congress of Environmental Research (ICER-11)

5.

รศ.ดร.อารี จําปากลาย

Life Style of Muslim Minorities in Asia ระหวางวันที่ 6-8 มกราคม 2555 ประเทศญี่ปุน

6.

Mr.Andy Hall

7

รศ.ดร.อารี จําปากลาย

8.

รศ.ดร.อารี จําปากลาย

9

Mr. Andy Hall

10.

อ.ดร.จรัมพร โหลํายอง

11.

รศ.ดร.อารี จําปากลาย

12.

รศ.ดร.สุรียพร พันพึ่ง

Myanmar Migration ระหวางวันที่ 25-28 ม.ค. 2555 ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน Valuing the Social Costs of Migration : An Exploratory Study ระหวางวันที่ 25-31 ม.ค. 2555 ประเทศฟลิปปนส Regional Networking Meeting of WHO Collaborating Centers in RH/MNH and Regional and Country Offices ระหวางวันที่ 15-18 ก.พ.2555 ประเทศสาธารณรัฐอินเดีย Asian and Migrant Social Protection ระหวางวันที่13-16 มี.ค.2555 ประเทศเนเธอรแลนด ฉลากคําเตือนของบุหรี่กับพฤติกรรม การสูบบุหรี่ ระหวางวันที่ 19-24 มี.ค.2555 ประเทศสิงคโปร โครงการ TTC-Thailand ระหวางวันที่ 19-24 มี.ค. 2555 ประเทศสิงคโปร Asia's Population and Development for 2011-2020: New Challenge, New Strategy ระหวางวันที่ 26-28 พ.ค. 2555 สาธารณรัฐประชาชนจีน

The Second International Workshop on the Symbiosis of Muslims and Non-Muslims in Asia Myanmar Politics After the 2010 Elections Valuing the Social Costs of Migration : An Exploratory Study Regional Networking Meeting

Access Denied: Migrant Social Protection 15th World Conference on Tobacco or Health 2012 (WCTOH) 15th World Conference on Tobacco or Health 2012 (WCTOH) Shanghai Forum 2012 Weconomic Globalization and the Choice of Asia: Strarygies for 2011-2020


43

ลําดับที่ 13.

ผูนําเสนอ รศ.ดร.กุศลสุนทรธาดา

เรื่อง การประชุม Physical Activity and Mental Health Status lFA,11'n Global Among Thai Elderly Conferenceo ประเทศสาธารณรัฐเชค on Aging 2012

26.

รศ.ดร.วาทินี บุญชะลักษี

Promoting Proper Exercise for the Elderly lFA,11'n Global through a Health Promotion Programme in Conferenceo Rural Thailand on Aging 2012 ประเทศสาธารณรัฐเชค

10) การเผยแพรความรูทางวิชาการดานประชากรและสังคมในรูปแบบเอกสาร สถาบันฯ เผยแพรผลงานวิจัยในรูปแบบของเอกสาร และสิง่ พิมพตางๆ ออกไปสูบุคคล หนวยงาน ทั้งภาครัฐ เอกชนตางๆ จํานวนมากโดยไมคิดคาใชจาย ดังนี้ ทั้งนี้สามารถ Download ไดจาก Website ลําดับ เรื่อง 1. รายงานการวิจัย หนังสือ คูมอื เอกสารทางวิชาการ 2. จดหมายขาวประชากรและการพัฒนา(Population and Development Newsletter) 3.

สารประชากรมหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol Population Gazette)

4. 6.

วารสารประชากรและสังคม (Journal of Population and social Studies) จัดนิทรรศการดานประชากรและสังคม

จํานวน 10 69,000 จํานวนผูเขาชมทาง เว็บไซต = 4,589 1,000 2


44

งานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษสิ่งแวดลอม 1. งานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

พิธีไหวครู ประจําปการศึกษา 2555

การสัมมนาพัฒนาบุคลากร ประจําป 2555 ครั้งที่ 32 “รวมพลังจิตอาสาเพื่อไปฟนฟูโรงเรียนบานคลองสวางอารมณ”


45

“อิ่มบุญ อุนใจ ผูสุงวัยเปนสุข" สถานีอนามัยบานคลองโยง จังหวัดนครปฐม

สงทายปเกา – ตอนรับปใหม 2555


46

รดน้ําขอพรผูใหญ และการแตงกายดวยผาไทยในวันสงกรานต

งานมุฑิตาจิตคารวะอาจารยอาวุโส และผูเกษียณอายุการปฏิบัตงิ าน ป 2555


47

2. ดานการอนุรักษสิ่งแวดลอม สถาบันฯมีแผนงานหลัก 2 ประการ คือ การประหยัดพลังงาน และดานความปลอดภัย

ภาพวาด/การตูน พรอมคําขวัญ


48

ขอมูลแสดงการเปรียบเทียบคาใชจายสาธารณูปโภค

กระบอกน้ําสุขใจ


49

การคัดแยกขยะกอนทิ้ง ดานความปลอดภัย สถาบันฯ มีมาตรการดานความปลอดภัย ดังนี้

ระบบแจงเตือนเหตุอัคคีภัยและระบบดับเพลิงอัตโนมัติ


50

ประตูระบบ Access Control

ระบบ CCTV ของสถาบันฯระบบโทรทัศนวงจรปด (CCTV) ในอาคารสถาบันฯจํานวน 27 จุด

ไมกั้นรถผานเขา – ออก ลานจอดรถชั้นใตดิน


53

คณะทํางานจัดทํารายงานประจําปสถาบันวิจัยประชากรและสังคม ปงบประมาณ 2555 รองศาสตราจารย ดร.สุรียพร พันพึ่ง

ที่ปรึกษา

รองศาสตราจารย ดร.รศรินทรเกรย

ประธานคณะทํางาน

นางสุภาณี ปลื้มเจริญ

คณะทํางาน

นางสาวณัฐชนันทพร มีสุวรรณ

คณะทํางาน

นางประทีป นัยนา

คณะทํางาน

นางสาวเอื้อมเดือน แกวสวาง

คณะทํางาน

นายภาสกร บุญคุม

คณะทํางาน

นางสาวภคพร พุทธโกษา

คณะทํางานและเลขานุการ

นางสาวจิราวดี สําอางกิจ

คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.