รายงานผลโครการEMA

Page 1

รายงานผลการดําเนินงานโครงการเรียนรู้ ณ สถานประกอบการจริง การจัดการสิ่งแวดล้อมของสถานประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ณ บริษทั ผลิตภัณฑ์อาหารเมอริท จํากัด  รายงานประกันคุณภาพระดับหลักสูตร และระดับคณะวิชา  รายงานกิจกรรมนิสติ

ผศ. พัชนิจ เนาวพันธ์ ผูร้ บั ผิดชอบโครงการ ---------------สาขาวิชาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา


 รายงานประกันคุณภาพระดับหลักสูตร องค์ประกอบที่ 3 นิสติ ตัวบ่งชีท้ ่ี 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานิสติ

 รายงานประกันคุณภาพระดับคณะวิชา องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชีท้ ่ี 1.6 การส่งเสริมและพัฒนานิสติ

 กิจกรรมนี้จดั ขึน้ เพิม่ เสริมสร้างและพัฒนานิสติ ตามมาตรฐานคุณวุฒแิ ละสภาพล้อมศตวรรษที่ 21  คุณธรรม จริยธรรม  ความรู้  ทักษะปญั ญา  การเรียนรูต้ ามสภาพแวดล้อมการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21


สารบัญ บทนํา เอกสารประจําโครงการ ข้อมูลโครงการ ทีม่ าและความสําคัญ วัตถุประสงค์ ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั กําหนดการ งบประมาณค่าใช้จา่ ย การดําเนินการโครงการและผลดําเนินการ รายชื่อนิสติ เข้าร่วมกิจกรรม เนื้อหาผลการเรียนรูจ้ ากนิสติ บริษทั ผลิตภัณฑ์ อาหารเมอริท จํากัด ประวัติ ผลิตภัณฑ์ ตรามาตรฐานทีบ่ ริษทั ได้รบั กระบวนการดําเนินงานของบริษทั ตัง้ แต่วตั ถุดบิ ส่งถึงส่งมอบถึงลูกค้า การตลาด แนวโน้มการพัฒนาของบริษทั ในอนาคต หลักการการจัดการสถานประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม หลักการความรับผิดชอบต่อสังคม CSR องค์ประกอบ CSR การดําเนินการงานของบริษทั ทีเ่ ป็ นไปตามหลักห่วงโซ่อุปาทานสีเขียว การจัดการแปลงทางการเกษตรอย่างมีความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม การช่วยเหลือเกษตรกรในเครือข่ายให้สามารถผลิตวัตถุดบิ ทีไ่ ด้มาตรฐาน การจัดการมลพิษในสถานประกอบการ แนวทางการลดต้นทุนและก่อให้เกิดรายได้จากของเสียต่างๆ ภายในบริษทั ผลประเมินโครงการโดยนิสติ

หน้ า 1 1 3 3 3 4 4 4 5 7 11 11 11 12 13 14 14 15 15 16 16 16 18 18 19 21 23


หน้า 1 จาก 23

บทนำ เอกสำรโครงกำร


หน้า 2 จาก 23


หน้า 3 จาก 23

ข้อมูลโครงกำร โครงกำรเรียนรู้ ณ สถำนประกอบกำรจริ ง กำรจัดกำรสิ่ งแวดล้อมของสถำนประกอบกำรอย่ำงมีควำมรับผิดชอบต่อสิ่ งแวดล้อม

ที่มำและควำมสำคัญ การประกอบการของอุตสาหกรรมมักก่อให้เกิดมลพิษหลากหลายด้านที่ส่งผลกระทบต่อระบบ นิเวศน์ ซึง่ ในปั จจุบนั เพื่อให้มกี ารจัดการมลพิษทีจ่ ะมีต่อสิง่ แวดล้อมในด้านต่างๆ จึงมีสร้างมาตรฐานชัน้ คุณ ภาพสินค้า เพื่อกีดกัน้ ผู้ประกอบการที่ไม่มคี วามรับผิดชอบเข้าสู่ตลาดเหล่านัน้ ได้ เช่นมาตรฐาน ผลิต ภัณ ฑ์เกษตรอิน ทรีย์ IFOAM USDA เป็ น ต้น การที่จะเข้าสู่ต ลาดเหล่ านัน้ ได้ผู้ป ระกอบการ จะต้องใช้ความสาคัญต่อการจัดการสิง่ แวดล้อมตัง้ แต่การผลิตวัตถุดบิ การผลิต การส่งมอบสู่ผบู้ ริโภค ใน ทุกๆ ขัน้ ตอนจะต้องรับการตรวจสอบจนเป็ นทีเ่ ชื่อมันจึ ่ งได้รบั มาตรฐานผลิตภัณฑ์ ผูป้ ระกอบการในประเทศไทยทีไ่ ด้รบั มาตรฐานผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรียใ์ นระดับนานาชาติ หรือ กลุ่มตลาดที่มาตรฐานระดับสูงมีน้อยบริษทั มาก แต่สาหรับ บริษทั ผลิตภัณฑ์อาหารเมอริท จากัด เป็ น บริษทั ทีม่ กี ารจัดการสถานประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม ตัง้ แต่แผนกไร่ทล่ี ติ ภัณฑ์ มะพร้า วกะทิอิน ทรีย์ท่ีต้ อ งผ่ า นการตรวจสอบโดยหน่ ว ยงานภาครั ฐ การจัด การสิ่ง แวดล้ อ มใน กระบวนการผลิตและการส่งมอบสู่ผบู้ ริโภค จึงเป็ นผูป้ ระกอบการทีม่ คี วามสนใจมากทีจ่ ะเป็ นกรณีศกึ ษา ให้นิสติ ได้ศกึ ษา แนวทางการบริหารจัดการองค์การ แนวทางการประกอบธุรกิจ การเผยแพร่ขอ้ มูลต่อ สาธารณะเกี่ยวกับการมีความรับผิดชอบขององค์การ เพื่ อให้นิสติ สามารถเข้าใจถึงการนาเอาสรรพ ความรูท้ างด้านการบริหารธุรกิจมาประยุกต์ใช้จริง และใช้อย่างมีคุณธรรมในการประกอบการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นิสติ ได้เข้าใจหลักการการจัดสถานการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคมที่ แท้จริง ตัง้ แต่การผลิตวัตถุดบิ จนถึงการส่งมอบให้ผบู้ ริโภค 2. เพื่อให้นิสติ ได้หลักปฏิบตั ใิ นการบริหารต้นทุนภายในองค์การอย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อให้ปลูกฝั งคุณธรรมในการประกอบการแก่นิสติ ก่อนจบการศึกษาจากผูป้ ระกอบการจริง 4. เพื่อให้นิสติ หลักการจัดการองค์การเพื่อให้สามารถได้รบั การตอบรับจากตลาดเฉพาะด้าน


หน้า 4 จาก 23

ประโยชน์ ที่คำดว่ำจะได้รบั 1. นิสติ เข้าใจแนวทางการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพต่อการผลิตวัตถุดบิ ทีม่ คี ุณภาพ 2. การรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ในหลากหลายกลุ่มประเทศ 3. นิสติ เข้าใจหลักการจัดการสิง่ แวดล้อมภายในโรงงานผลิต ไม่ให้ส่งผลกระทบต่ อชุมชน และไม่ให้ ส่งผลร้ายกลับมาทีต่ วั องค์การ 4. นิสติ เข้าใจหลักปฏิบตั ใิ นภาพรวมในการรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม สังคม อย่างแท้จริงที่มาจาก การปฏิบตั งิ านภายในองค์การ ไม่ใช่การทา CSR ทางอ้อม กำหนดกำร วันศุกร์ ที่ 13 สิ งหำคม 2558 6.30 น. ออกเดินทางจากวิทยาเขต 8.30-10.30 น. กรรมการผูจ้ ดั การบริษทั ให้การต้อนรับ แนะนาบริษทั และ การจัดการสิง่ แวดล้อมของสถานประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ ทีแท้จริง 10.30-12.00 น. เรียนรูจ้ ากพืน้ ทีภ่ ายในโรงงาน 12.00 น. สรุปผลเรียนรู้ กล่าวขอบคุณและมอบของทีร่ ะลึก งบประมำณค่ำใช้จ่ำย (บาท) ค่ำใช้สอย ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ค่าจัดทาเอกสารรายงานโครงการ (1)รายงานผลการดาเนินงาน (2)ประกันคุณภาพ (3)กิจกรรมนิสติ

19,500.1,500.-

21,000.-


หน้า 5 จาก 23

กำรดำเนินกำรโครงกำรและผลดำเนินกำร ภำพกิ จกรรมกำรศึกษำดูงำน


หน้า 6 จาก 23


หน้า 7 จาก 23

รำยชื่อนิ สิตเข้ำร่วมโครงกำร ลาดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36

รหัสประจาตัว 5530110029 5530110037 5530110053 5530110061 5530110070 5530110088 5530110100 5530110118 5530110142 5530110169 5530110185 5530110207 5530110215 5530110223 5530110240 5530110258 5530110274 5530110291 5530110304 5530110312 5530110321 5530110339 5530110363 5530110371 5530110398 5530110401 5530110410 5530110428 5530110436 5530110444 5530110452 5530110461 5530110479 5530110487 5530110495 5530110509

ชื่อ-สกุล นางสาวกมลทิพย์ อึง่ ป่ อง นางสาวกรกมล ขวัญเมือง นางสาวกัญญ์วรา พันธุป์ ั ญญา นางสาวกัณหา เรืองจรัส นางสาวกชกร วงษ์นาศรี นางสาวกุลธิดา แสงมณี นายจิณณวัตร ใจมูลมัง่ นางสาวจิดาภา คุณาอนุวทิ ย์ นายชนกานต์ กุลนิพทั ธ์ นางสาวชนิภา อรัญเจริญวัฒน์ นางสาวชุตมิ า อบนวล นางสาวฐิตริ ตั น์ เรืองสินศรีสนิ นางสาวฐิราภรณ์ ชัยมงคล นางสาวณภัทร ศรีปฐพี นางสาวณัฐกาญจน์ สังวาลย์เดช นางสาวณัฐชยาภรณ์ เทียมรัตน์ นางสาวณัฐธิดา ทรัพย์อุดม นายณัฐวุฒ ิ รุจริ ดารงค์ชยั นายณัฐศรัญ คาธนะ นางสาวณิชกานต์ จาปาทอง นางสาวดลพร ฉันทบุญเศรษฐ์ นางสาวดุลยกฤติญา กรณฑ์แสง นางสาวทัศจี อร่ามบุตร นายธนวัฒน์ สุขสถิตย์ นางสาวธรณ์ภสั ชล หงส์ภทั ราจันทร์ นางสาวธารารักษ์ ส่องเมืองสุข นางสาวนพรัตน์ เนตรบุตร นายนริศ เตียสกุล นางสาวนฤมล ประทุมศรี นางสาวนฤมล เอกรัตน์วไิ ล นางสาวนันทพร จันทร์ชชู ่วย นางสาวนิพาดา ธรรมเกษร นางสาวบัญฑิตา บัวสิม นางสาวเบญจรัตน์ แซ่แต้ นายประภัสชัย แซ่อง้ึ นางสาวประภัสสร คงอินทร์

สาขา R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13

ผูเ้ ข้าร่วม                                   


หน้า 8 จาก 23

ลาดับ 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73

รหัสประจาตัว 5530110517 5530110525 5530110541 5530110550 5530110568 5530110584 5530110592 5530110614 5530110622 5530110631 5530110649 5530110657 5530110665 5530110673 5530110681 5530110690 5530110703 5530110711 5530110720 5530110738 5530110746 5530110754 5530110762 5530110771 5530110789 5530110797 5530110801 5530110819 5530110827 5530110835 5530110843 5530110851 5530110860 5530110878 5530110886 5530110894 5530110916

ชื่อ-สกุล นางสาวประภารัตน์ จิรสินไพศาล นางสาวปาลีรตั น์ กลการวิทย์ นายพงศ์พฒ ั น์ มณีรตั น์ประเสริฐ นางสาวพรชนก อารยะเศรษฐากร นางสาวพรธีรา ฐานะวุฑฒ์ นางสาวพัณนิดา กิตติวฒ ั นพล นางสาวพัสวี ทรงเจริญ นางสาวพิชามญชุ์ ช้างสุวรรณ นางสาวพิทยาธร ทองคละ นางสาวพิมพ์นภิ า อนุจารีวฒ ั น์ นางสาวพิรญาณ์ น้าแก้ว นางสาวพิรุณพร ไพฑูรย์เจริญลาภ นายพิสฐิ เขียวสวัสดิ ์ นางสาวพีรดา วงศ์ทองคา นางสาวแพรวพรรณ เอกวรรณ นางสาวมลธิรา จักรกระโทก นางสาวมัลลิกา เหลาเพชร นางสาวมินตรา ดวงใจดี นางสาวมีนา บัวลอยเลิศ นางสาวเมย์รนิ ทร์ ธิตอิ นันต์ปกรณ์ นางสาวรติกร เจียมจิตพลชัย นางสาวรัชนีพร จันทะจร นางสาวรัฐนันท์ อุทยั นายรัตนศักดิ ์ เพิม่ ทรัพย์เจริญ นางสาวรุ่งอรุณ พึง่ สมศักดิ ์ นางสาวเรวดี หงษ์สาคร นายวชิรวิทย์ ประเสริฐ นางสาววรรณธกาญจน์ โชคชัชวาลกุล นายวรรณยุต ฤทธิส์ าเร็จ นางสาววรรณวิมล แพร่นาม นางสาววรวีร์ ธนธาดาพัฒน์ นางสาววรากร เพียรสุขเจริญชัย นางสาววรินทร กสิวฒ ั น์ นายวิราม คงประเสริฐ นางสาวศศิภา พรพระพิสทุ ธิ ์ นางสาวศิวนาถ สูไ้ ชยชนะ นางสาวสมฤดี เกตุสุ

สาขา R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13

ผูเ้ ข้าร่วม                                   


หน้า 9 จาก 23

ลาดับ 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110

รหัสประจาตัว 5530110924 5530110941 5530110959 5530110983 5530110991 5530111017 5530111025 5530111033 5530111041 5530160042 5530160051 5530160069 5530160077 5530160085 5530160107 5530160115 5530160131 5530160140 5530160158 5530160166 5530160182 5530160191 5530160204 5530160212 5530160221 5530160247 5530160255 5530160271 5530160280 5530160298 5530160301 5530160352 5530160361 5530160379 5530160387 5530160417 5530160425

ชื่อ-สกุล นางสาวสมฤทัย แสงอังคนาวิน นางสาวสุทธนุช พงศ์พศิ าล นางสาวสุนีย์ นามแก้ว นางสาวสุภาวดี รักษ์ถาวรกุล นางสาวเสาวนีย์ สว่างคา นายอนุพงษ์ แก้วคูณ นายอภิสทิ ธิ ์ กุลพันธ์ นางสาวอัจฉรา ไล้เลิศ นางสาวอัญชนา ปั ญญาสุทธากุล นางสาวกฤษณี เกิดเดช นางสาวกิง่ กาญจน์ แช่มบริสทุ ธิ ์ นายกิตติภณ อาภา นายกิตติศกั ดิ ์ ตันตระมงคล นายเขมวิชาณ์ สุทธิกจิ พงศ์ นายจักรพันธ์ เกือ้ ทาน นางสาวจิดาภา เผือกเพ็ชร นางสาวเจนจิรา เรืองรักษ์ นายเฉลิมพล เบีย้ แก้ว นางสาวชฎาธาร กิง่ จันทร์ นางสาวชเนตตี นิลวงศ์ นายชัชนันท์ เตชะสุรคุณ นางสาวชุตกิ าญจน์ เสือหนู นางสาวฐิตพิ ร เอีย่ มวัชรินทร์ นางสาวฐิตมิ า ภู่เกิด นายณภัทร ณ พัทลุง นางสาวณัฐนรี ทิพยทัศน์ นางสาวณัฐรัตน์ แสงสินธุ์ นางสาวดวงกมล ละออเอีย่ ม นางสาวธัญจิรา กิเลนทอง นางสาวธิดาวรรณ จันพรมมา นายนพรัตน์ ทองชัย นางสาวนุสบา เย็นเป็ นสุข นายปั ณณทัต สกุลรุจริ า นางสาวปิ ยะนุช เกตุพนั ธ์ นางสาวเปรมฤทัย บุตรบารุง นางสาวพรประภา สมมโนน้อม นายพิชญุตม์ ทรงประกอบ

สาขา R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12

ผูเ้ ข้าร่วม                                  


หน้า 10 จาก 23

ลาดับ 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125 126 127 128 129 130 131 132 133 134 135 136 137 138 139

รหัสประจาตัว 5530160441 5530160450 5530160468 5530160476 5530160506 5530160522 5530160565 5530160573 5530160603 5530160611 5530160638 5530160646 5530160654 5530160662 5530160689 5530160697 5530160701 5530160735 5530160743 5530160778 5530160808 5530160816 5530160832 5530160841 5530160859 5530160867 5530160883 5530160891 5530160921

ชื่อ-สกุล นางสาวพิมพ์อร ไกรสุทธิวงศ์ นายพิรุณ แซ่เบ๊ นางสาวเพียรสิริ วงศ์พนิ นายภัทรชัย ทรัพย์วรพล นายภานินทร์ แสงดวงมาศ นางสาวมณฑิตา แสงสว่าง นางสาวรัฐม์ฑริ า คามณี นางสาวรัฐวรรณ สิทธิอาพรพรรณ นางสาววริศนันท์ พรพรรณทิวา นางสาววันวิสา ขวัญแก้ว นางสาววาสินี สุทธิสวัสดิ ์ นางสาววิภาภรณ์ สืบสิงห์ นางสาววิรยิ า ไชยาคา นางสาววุฒติ า ลิมปนะพงศ์พนั ธ์ นางสาวศรทิพย์ โฉมทอง นางสาวศรัญญา คุณยิม้ นางสาวศวรรยารัตน์ อรรถีโสต นางสาวสาวิตรี สุกดิษฐ์ นางสาวสุกฤตา เอนกพาณิชย์กุล นางสาวสุภสั สรา จันทรสมัย นางสาวหทัยรัตน์ ไผ่สสี กุ นายอนุชา บุญทรง นางสาวอรพิม หาญสุวรรณ์ นายอรรถพร เทีย่ งทางธรรม นางสาวอรวรรณ อิม่ อกใจ นางสาวอรอุมา เหมทอง นางสาวอาชิรญ ์ าณ์ กอบกุลธนะสิทธิ ์ นางสาวอาภัสรา ลิม้ ตระกูล นางสาวลักษิกา เสมาชัย

สาขา R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12

ผูเ้ ข้าร่วม                             


หน้า 11 จาก 23

เนื้ อหำผลกำรเรียนรู้จำกนิ สิต บริ ษทั ผลิ ตภัณฑ์ อำหำรเมอริ ท จำกัด ประวัติ บริษทั เป็ นผูผ้ ลิตและส่งออกกะทิออร์แกนิครายแรกและรายเดียว ของประเทศทีไ่ ด้รบั การรับรองจากสถาบันเกษตรอินทรียน์ านาชาติ เช่น IFOAM, สหภาพยุ โ รป สหราชอาณาจัก ร สหรัฐ อเมริก า แคนาดา ออสเตรเลีย ญี่ป่ ุน และบราซิล ก่อ ตัง้ ขึ้นในปี พ.ศ. 2536 โดยผลิต และ ส่งออกกะทิออร์แ กนิค ไปยังประเทศต่างๆ ทัวโลก ่ เช่น สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย สหภาพยุโรปและทวีปเอเชีย โรงงานที่จงั หวัด ชลบุรขี องบริษทั ฯ สามารถผลิตกะทิออร์แกนิคได้ประมาณ 3,000 ตันต่อ ปี ในปี พ.ศ. 2555 แบรนด์ “เมอริโ ต้ ” ถู ก ก่ อ ตั ้ง ขึ้น ส าหรับ สิน ค้ า เครื่องปรุงอาหารออร์แกนิคคู่ครัวไทยทีอ่ ร่อยและปลอดภัยไร้สารเคมี ที่ ผลิตเพื่อจาหน่ ายในประเทศไทย โดยมีการเปิ ดตัวหนังสือ “กะทิ กะทิ ทีไ่ ม่ธรรมดา” และ “เมอริโต้” กะทิ ออร์แกนิคเป็ นผลิตภัณฑ์แรกเมือ่ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 บริษทั ผลิตภัณฑ์อาหารเมอริท จากัด มีความมุ่งมันที ่ จ่ ะเป็ นผูผ้ ลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์เกษตร อินทรีย์ โดยเน้นการควบคุมคุณภาพของสินค้าจากต้นน้ าคือที่ไร่มะพร้าวของบริษทั จนถึงโรงงาน ก่อน ส่งจาหน่ายให้แก่ผบู้ ริโภคทัวโลก ่ ไร่มะพร้าวเมอริโต้ ต้นก าเนิดกะทิอินทรีย์เมอริโต้ อยู่ในไร่มะพร้าวพื้นที่กว่า 2,200ไร่ ในอาเภอท่าใหม่ จังหวัด จันทบุร ี สวนมะพร้าวแห่งนี้เป็ นสวนมะพร้าวขนาดใหญ่ทส่ี ุดในประเทศไทยทีม่ เี จ้าของเดียว และทีส่ าคัญ ทัง้ พืน้ ทีผ่ ลิตมะพร้าวเกษตรอินทรียท์ งั ้ หมดซึ่งเป็ นวัตถุดบิ หลักทีส่ าคัญทีส่ ุดของการผลิตกะทิอนิ ทรีย์ เม อริโต้ มะพร้าวพันธุม์ าว่า กะทิเมอริโต้ ทาจากมะพร้าวชัน้ ดีพนั ธุ์มาว่า (MAWA) มะพร้าวลูกผสม (Hybrid) ทีเ่ กิดจากการ ผสมทางธรรมชาติ (Natural Pollination*) ระหว่างสายพัน ธุ์ต้น แม่ Malayan Yellow Dwarf และสาย พันธุ์ต้นพ่ อ West African Tall มะพร้าวมาว่า มีช่อื ไทยว่า “ลูกผสมสวี-60” เพราะได้รบั การปรับปรุง พัฒนาโดยศูนย์วจิ ยั พืชสวนชุมพร อาเภอสวี จังหวัดชุมพร มะพร้าวมาว่าเหมาะกับสภาพอากาศและภูมปิ ระเทศไทย สามารถต้านทานโรคและแมลงได้ดี ผลิตลูกได้มาก ทัง้ ยังมีลกั ษณะตามธรรมชาติท่ดี ตี ่อการทากะทิคอื เนื้อหนา หมายถึงสามารถให้น้ ามัน หรือและกะทิเนื้อดีเข้มข้น หอม หวาน และอร่อยทีฟ่ าร์มเมอริโต้ เรามีการคัดเลือกสายพันธุม์ ะพร้าวมา ว่ าที่ดีท่ีสุ ด เพื่อ ปลูก มะพร้า วทดแทนต้ น เดิม อย่ า งสม่ า เสมอ โดยมะพร้า วแต่ ล ะต้ น จะมีอ ายุ เฉลี่ย เท่าๆกับอายุคนคนหนึ่ง คือ 60-70 ปี ก็ โดยการคัดเลือกสายพันธุ์มะพร้าวที่ดี เป็ นจุดเริม่ ต้นของกะทิ คุณภาพดีของกะทิอนิ ทรียเ์ มอริโต้ ไม่ใช่การตัดต่อ GMO เพราะไม่ได้ตดั ต่อพันธุกรรม


หน้า 12 จาก 23

ผลิ ตภัณฑ์ Natural and organic products 1. Organic coconut milk/cream  สารสกัดอินทรีย์เข้มข้นของเมล็ดมะพร้าว การผสมผสาน (Emulsion) ของไขมัน โปรตีน น้ า จาก เมล็ดมะพร้าว มีลกั ษณะเหมือนนม ของเหลวสีขาว หนืดเหมือนครีม ไม่มรี สชาติ  หนึ่งในส่วนผสมทีช่ ่นื ชอบมากทีส่ ุดในครัวเรือนไทย ใช้เป็ นส่วนผสมการหมักหรือการจัดเตรียม อาหารคาวหรือของหวานทีต่ อ้ งการกะทิหรือหัวกะทิ  ขนาดบรรจุ 160 กรัม 400 กรัม และ 2,840 กรัม 2. Virgin coconut oil หนึ่งในรูปโฉมของการผลิตน้ ามันทีบ่ ริสุทธิ ์ซึง่ คงทีโ่ ดยไม่คานึงถึงวิธกี ารทีใ่ ช้เป็ นความต้องการที่ จะลดความชื่น ให้เหลือ 0.01% หรือ ต่ า กว่า นี่ เป็ น สิ่งจาเป็ น เพื่อ ป้ อ งกัน ไม่ให้เกิด กลิ่น หืน เกิด จาก ความชื้น ส่ ว นเกิน ในลัก ษณะที่ต้อ งการนัน้ ขึ้น อยู่กับ วิธ ีก ารสกัด ที่จะกล่ าว เพราะวิธ ีก ารเหล่ านี้ ย งั ห่างไกลแรงงานให้ผลิตอย่างมีคุณภาพของน้ ามัน ราคายังสูงมากสาหรับน้ ามันมะพร้าวบริสุทธิ ์ ซึง่ เป็ นที่ จดจาโดยรสชาติมะพร้าวเบาบางและกลิน่ หอม น้ า มัน มะพร้ า วบริสุ ท ธิ ย์ ัง มีก ลิ่น ขนมปั งปิ้ งหรือ เขม่ า ควัน และมีส ีเ หลือ งอ่ อ น ขึ้น อยู่ กั บ กระบวนการที่ใช้ สีท่ใี สแสดงถึงคุณ ภาพที่ดมี าก มันไม่ควรจะขุ่นเมื่อละลาย น้ ามันมะพร้าวบริสุทธิ ์ที่ ได้รบั การสกัดเย็นมักจะมีราคาแพงมากกว่าการสกัดร้อน Industrial products 1. Coconut milk in bulk  สารสกัดธรรมชาติของเมล็ดมะพร้าวแบบบริสุทธิ ์  การผสมผสาน (Emulsion) ของไขมัน โปรตีน น้ า จากเมล็ดมะพร้าว มี สีขาว ไม่มรี สชาติ  พร้อมจาหน่ายในแบบ Organic เท่านัน้  ขนาดบรรจุ 40 ปอนด์ (18.144 กิโลกรัม) ขนาดโรงงาน 2. MeritO organic coconut milk 270 ml. บรรจุก ระป๋ องขนาด A-10 ซึ่งเป็ น ขนาดเหมาะส าหรับ โรงแรมและร้านอาหาร เร็วๆนี้ ตราผลิต ภัณฑ์ MeritO organic coconut milk ปริมาณไขมัน 1719% ซึ่งเป็ นเกรดพรีเมี่ยม บรรจุกระป๋ องฝาเปิ ดง่าย 270 มิลลิลติ ร จะพร้อมจาหน่ ายที่รา้ นอาหาร เพื่อสุขภาพทัง้ หมด


หน้า 13 จาก 23

ตรำมำตรฐำนที่บริ ษทั ได้รบั 1. Australian Certified Organic คือ องค์กรของออสเตรียที่ใหญ่ ท่ีสุ ดที่ ให้ ค ารับ รองสิน ค้ า เกษตรอิ น ทรีย์ แ ละสิน ค้ า ไบโอไดนามิค และ ให้บริการแก่ผู้ประกอบการเพื่อ ให้ความแน่ ใจว่าปฏิบตั ิต ามมาตรฐานการผลิตแห่งชาติ และช่วย ตรวจสอบสินค้าของผูป้ ระกอบการ 2. IFOAM organic international เป็ น ระบบที่พ ัฒ นาขึ้น โดยสหพัน ธ์ เกษตรนานาชาติ ซึ่ง ได้จ ดั ตัง้ โครงการรับ รองระบบงานเกษตร อินทรีย์ เพื่อให้บริการรับรองระบบงานแก่หน่ วยตรวจรับรองเกษตร อิน ทรีย์ต่ างๆ ทัว่ โลกต่ อ มา ในปี พ.ศ. 2540 สหพัน ธ์ฯ ได้จดั ตัง้ IOAS (International Organic Accreditation Service) ขึ้น เพื่อ ท าหน้ า ที่ใ นการให้ บ ริก ารรับ รอง ระบบงานนี้ ภายใต้ ก รอบของโครงการรับ รองระบบงานเกษตรอิน ทรีย์ IFOAM โดย IOAS จด ทะเบียนเป็ นองค์กรไม่แสวงกาไร มีสานักงานใหญ่ตงั ้ อยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกา มกท. ได้รบั การ รับรองระบบงานเกษตรอินทรีย์ IFOAM นี้จาก IOAS โดยเป็ นหน่วยตรวจรับรองเกษตรอินทรียแ์ ห่ง แรกในเอเชียทีไ่ ด้รบั การรับรองระบบงานนี้ ในระบบนี้ มกท. สามารถให้บริการตรวจรับรองเกษตร อิน ทรีย์ในขอบข่ายเกี่ย วกับ การเพาะปลูกพืช การเก็บ ผลผลิต จากป่ าและพื้น ที่ธ รรมชาติ การ เพาะเลีย้ งสัตว์น้า การแปรรูปและจัดการผลผลิต และปั จจัยการผลิตเพื่อการค้า 3. Soil Association Organic คื อ อ ง ค์ ก ร ก า ร กุ ศ ล ใน อั ง ก ฤ ษ แ ล ะ เว ล ล์ ผู้ประกอบการจะสามารถเรียนรู้ก ารทางานเกี่ยวกับหลักการเกษตรอินทรีย์ โดยการเป็ นสมาชิกหรือบริจาค 4. European commission organic farming คือ การจัด การบริห ารงานครบทุ ก ด้านในแง่มุมของนโยบายเกษตรร่วม การสนับสนุ นมาตรการตลาดนโยบายการ พัฒนาชนบทที่มคี ุณภาพทัง้ เรื่องการเงินกฎหมายการวิเคราะห์และประเมินผล การเกษตร 5. The JAS Standards เป็ นมาตรฐานสาหรับเกษตรอินทรียแ์ ละการแปรรูปอาหาร เกษตรอินทรีย์ รวมทัง้ ปศุ สตั ว์อินทรีย์และการแปรรูปอาหารจากสัต ว์อินทรีย์ ของประเทศญี่ป่ ุน ซึ่งรับ รองโดยคณะกรรมาธิการโครงการมาตรฐานอาหาร FAO/WHO (Codex Alimentarius Commission -CAC) 6. USDA organic เป็ นตรารับรองอาหารและผลิตภัณฑ์ออร์แกนิคของสหรัฐอเมริกาซึ่ง กาหนดโดยกระทรวงเกษตรของสหรัฐอเมริกา 7. Canada Organic Regime คือ หน่ วยงานรัฐบาลของประเทศแคนาดาดูแลระบบการควบคุมสินค้า เกษตรอินทรียร์ ะหว่างประเทศ 8. PRODUTO ORGANICO BRASIL เป็ นตรารับ รองสิ น ค้ า ออแกร์ นิ ค ของ ประเทศบราซิล


หน้า 14 จาก 23

กระบวนกำรดำเนิ นงำนของบริ ษทั ตัง้ แต่วตั ถุดิบส่งถึงส่งมอบถึงลูกค้ำ 1. ทาฟาร์มมะพร้าวโดยใช้หลักการความหลากหลายทางชีวภาพ จากจังหวัดจันทนบุรโี ดย 1.1 การเก็บมะพร้าวทีค่ ดั สรรอย่างพิถพี ถิ นั จากชาวสวนตัง้ แต่เวลาเช้า 1.2 เมือ่ สิน้ สุดวันก็จะได้มะพร้าวทีเ่ ต็มรถบรรทุกในสวน 1.3 ขนย้ายลูกมะพร้าวทีเ่ ก็บได้ไว้บนรถบรรทุกใหญ่เพื่อเดินทางไปยังโรงงาน ณ จังหวัดชลบุร ี 2. เดินทางไปยังจังหวัดชลบุรดี ว้ ยรถบรรทุกใหญ่ในเวลาเช้า 3 นามะพร้าวทัง้ หมดเข้าสู่สายการผลิตโดย 3.1 แกะกาบมะพร้าวโดยใช้เครือ่ งและคนงาน 3.2 ผ่ากะลามะพร้าวออกโดยทีเ่ นื้อมะพร้าวไม่ขาดจากการใช้เครือ่ งผ่าและคนงาน 3.3 ปอกเปลือกกะลามะพร้าวจากเนื้อมะพร้าว 3.4 ล้างเนื้อมะพร้าว 3.5 ปั น่ เนื้อมะพร้าว 3.6 คัน้ น้า 3.7 เติมส่วนผสม 3.8 ค่าเชือ้ โรคโดยการ พาสเจอไรซ์ 3.9 บรรจุกระป๋ องโดยเครือ่ งจักร ไหลไปตามสายพาน และคัดแยก 3.10 นากระป๋ องทีไ่ ด้มาไปทาการอบเพื่อฆ่าเชือ้ อีกครัง้ 3.11 แยกกระป๋ องทีเ่ ป็ นของเสีย 3.12 แปะฉลาก 3.13 บรรจุใส่ลงั 3.14 ทดสอบคุณภาพ 3.15 บรรจุใส่ตคู้ อนเทนเนอร์เพื่อส่งออก 4. ส่งอออกสินค้า กำรตลำด บริษทั ผลิตภัณฑ์ อาหารเมอริท จากัด มีแผนการตลาดที่จะสร้างกลุ่มลูกค้าทัง้ ในประเทศและ ต่างประเทศ โดยผู้บริหารของบริษัท ผลิตภัณฑ์ อาหารเมอริท จากัด เล็งเห็นว่าปั จจุบนั มีกลุ่มลูกค้า มากมายที่เริม่ ให้ความใส่ใจเป็ นอย่างมากในเรื่องสุขภาพ ทางบริษทั ฯ จึงได้รเิ ริม่ การลงทุนในตลาดส่วน นี้โดยการเริม่ มีก ารกระจายข้อมูลข่าวสารเพื่อที่จะให้ความเข้าใจอย่างถู กต้องกับกลุ่มลูกค้าถึงความ สาคัญ และประโยชน์ของอาหารออร์แกนิค ซึ่งทางนโยบายการตลาดนัน้ ได้มกี ารส่งเสริม เพื่อให้เข้าถึง กลุ่มลูกค้าได้ง่ายโดยจัดให้มชี ่องทางการกระจายข้อมูลอย่างทัวถึ ่ ง เช่น การสื่อสารถึงลูกค้าโดยผ่านทาง อีเว้นต่างๆ โดยในอนาคตทางบริษัทมีความต้องการที่จะขยายสายการผลิตให้มคี วามกว้างขวางและ ครอบคลุมผลิตภัณฑ์ต่างๆมากขึน้ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการทีเ่ พิม่ ขึน้ ของลูกค้าในอนาคตอีกด้วย


หน้า 15 จาก 23

แนวโน้ มกำรพัฒนำของบริ ษทั ในอนำคต จากข้อมูลของบริษทั ผลิตภัณฑ์อาหารเมอริท จากัด ได้ผลิตผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็ น Green แล้วแต่ยงั ไม่ได้รวมถึง Supply Chain บริษทั เราจึงตัง้ เป้ าหมายทีจ่ ะเป็ น Green Supply Chain และส่งเสริมความ หลากหลายทางด้านสินค้าเกษตรอินทรีย์

กำรจัดกำรสถำนประกอบกำรอย่ำงมีควำมรับผิดชอบต่อสังคม หลักกำรควำมรับผิดชอบต่อสังคม CSR การประกอบธุรกิจของบริษทั นัน้ ต้องมีการปฏิสมั พันธ์กบั หลายภาคส่วน การดาเนินธุรกิจเพื่อ แสวงกาไรเพียงอย่างเดียว อาจมิใช่หลักประกันของการเติบโตและพัฒนาอย่างยังยื ่ นโดยเฉพาะอย่างยิง่ เมื่อ การด าเนิ น ธุ รกิจ นั น้ ส่ งผลกระทบหรือ ละเลยต่ อ ทุ ก ภาคส่ ว นที่เกี่ย วข้อ ง อัน ได้แ ก่ สังคมและ สิง่ แวดล้อ ม จึงเกิดแนวคิดของความรับผิดชอบต่ อ สังคมของธุ รกิจ การดาเนินกิจกรรมภายในและ ภายนอกองค์ก ร ที่ค านึ งถึงผลกระทบต่ อ สัง คมทัง้ ในองค์ก รและในระดับ ใกล้แ ละไกล ด้ว ยการใช้ ทรัพยากรทีม่ อี ยูใ่ นองค์กรหรือทรัพยากรจากภายนอกองค์กร ในอันทีจ่ ะทาให้อยูร่ ว่ มกันในสังคมได้อย่าง เป็ นปกติสุข บริษทั ผลิตภัณฑ์อาหารเมอริท จากัด เน้นการทาเกษตรอินทรีย์ โดยจะมีขอ้ ควรปฏิบตั หิ ลักๆ สองข้อ ด้ว ยกัน ประการแรก คือ การคงไว้ซ่ึงวัฒ นธรรมท้ อ งถิ่น บริษัท จะประกอบธุ ร กิจ โดยไม่ เบียดเบียนความเป็ นอยู่ของสังคม สภาพแวดล้อมใกล้โรงงาน และประการทีส่ อง คือการมีจริยธรรม ใน ส่วนของการเพาะปลูก บริษทั จะคานึงถึงสิง่ แวดล้อมทุกส่วน ทัง้ พืน้ ดิน พืช รวมทัง้ สัตว์ ทุกส่วนจะต้องมี มีความสัมพันธ์กนั โดยเป็ นไปตามธรรมชาติ การมีจริยธรรมในส่วนของการค้า บริษทั ที่แสวงหากาไร ส่ ว นใหญ่ จะประกอบธุ รกิจให้มคี วามรุ่งเรือ งโดยไม่ค านึ งถึงผลกระทบต่ อ สภาพแวดล้อ ม แล้ ว จึงมี กิจกรรมตอบแทนสังคม แต่ บ ริษัท ผลิต ภัณ ฑ์อ าหารเมอริท มองว่า เราต้อ งประกอบธุ รกิจ โดยไม่ เบียดเบียนคนอื่นและไม่เบียดเบียนสภาพแวดล้อม เน้นจริยธรรม และสร้างความรับผิดชอบทางสังคม ควบคู่กบั ไป บริษทั แบ่งความรับผิดชอบทางสังคม 2 ทาง หนึ่งคือ ทางตรง บริษทั ปลูกฝั งชีวติ ประจาวัน ของพนัก งาน กิจวัต รประจาวัน ของโรงงานให้ม ีจริย ธรรม รัก สิ่งแวดล้อ ม ไม่ท าให้ม ลพิษ รบกวน สภาพแวดล้อมรอบโรงงาน และมอบผลตอบแทนย้อนกลับแก่สงั คม สองคือ ทางอ้อม บริษัทมองใน มุมมองการล้างบาป มีความเชื่อว่าทุกสิง่ ทุกอย่างไม่มอี ะไรดีร้อยเปอร์เซ็นต์ บริษัทจึ งมีกิจกรรมตอบ แทนสังคมในโอกาสต่าง ล่าสุด เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม ที่ผ่านมา บริษทั ได้มกี ารส่งมอบห้องสมุดโรงเรียนบ้านตาเลียว อ. ท่าใหม่ จ.จันทบุร ี ให้กบั ทางโรงเรียนและน้ องๆได้ใช้ประโยชน์ โดยครอบครัวจรัญวงศ์ และเพื่อนๆ ตลอดจนพนักงานของบริษัท อาหาร จากัด บริษั ทผลิตภัณ ฑ์อ าหารเมอริท จากัด และสวนมะพร้าว เกษตรอินทรีย์ “เมอริโต้ฟาร์ม” เป็ นผูร้ ว่ มสร้างและร่วมส่งมอบ การทาความดีในครัง้ นี้ก็ดว้ ยต้องการสนับสนุ นการศึกษาของเยาวชน เพียงเพื่อหวังให้เด็กๆได้ ใช้ประโยชน์และสนุกสนานในการค้นคว้าหาความรูจ้ ากห้องสมุดสวนมะพร้าวหลังนี้


หน้า 16 จาก 23

องค์ประกอบ CSR ISO 2600 ได้กาหนดองค์ประกอบหลักของความรับผิดชอบไว้ 7 ประการ 1. มีก ารก ากั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี (Organization Governance) คื อ องค์ ก ารควรก าหนดหน้ า ที่ ใ ห้ คณะกรรมการฝ่ ายจัดการ ผู้ถือ หุ้น และผู้มสี ่ วนได้ส่ วนเสียสามารถสอดส่องดูแลผลงานและการ ปฏิบตั งิ านองค์กรได้ เพื่อแสดงถึงความโปร่งใส พร้อมรับการตรวจสอบ และสามารถชีแ้ จงให้ผมู้ สี ่วน ได้เสียได้รบั ทราบถึงผลการปฏิบตั งิ านได้ 2. ค านึ ง ถึง สิท ธิม นุ ษ ยชน (Human Right) ซึ่ง เป็ นสิท ธิข นั ้ พื้น ฐานของมนุ ษ ย์ โดยสิท ธิด ัง กล่ า ว ครอบคลุมถึงสิทธิความเป็ นพลเมือง สิทธิทางการเมือง สิทธิ ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และสิทธิตามกฎหมายระหว่างประเทศด้วย 3. ข้อปฏิบตั ดิ า้ นแรงงาน (Labor Practices) องค์กรต้องตระหนักว่าแรงงานไม่ใช่สนิ ค้า ดังนัน้ แรงงาน จึงไม่ควรถูกปฏิบตั เิ สมือนเป็ นปั จจัยการผลิต 4. การดูแลสิง่ แวดล้อม (Environment) องค์กรจาเป็ นที่จะต้องคานึงถึงหลักการป้ องกันปั ญหามลพิษ การบริโภคอย่างยังยื ่ น และการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพในการดาเนินการผลิตและบริการ 5. การดาเนินธุรกิจอย่างเป็ นธรรม (Fair Operating Practices) องค์กรต่างๆ ควรแข่งขันกันอย่างเป็ น ธรรมและเปิ ดกว้าง ซึง่ จะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพในการลดต้นทุนสินค้าและบริการ นวัตกรรมการ พัฒนาสินค้าหรือกระบวนการใหม่ๆ รวมถึงจะช่วยขยายการเติบโตทางเศรษฐกิจและมาตรฐานการ ครองชีพในระยะยาว 6. ใส่ใจต่อผูบ้ ริโภค (Consumer Issues) องค์กรจะต้องเปิ ดโอกาสให้ผบู้ ริโภคได้รบั ทราบข้อมูลในการ ใช้สนิ ค้าและบริการอย่างเหมาะสม ทัง้ ยังต้องให้ความสาคัญกับการพัฒนาสินค้าและบริการที่เป็ น ประโยชน์ ต่อสังคม โดยคานึงถึงความปลอดภัยในการใช้งานและสุขภาพของผู้บริโภค นอกจากนี้ เมือ่ พบว่าสินค้าไม่เป็ นไปตามเกณฑ์ทก่ี าหนด องค์กรก็จะต้องมีกลไกในการเรียกคืนสินค้า พร้อมทัง้ ยังต้องให้ความสาคัญกับกฎหมายคุม้ ครองผูบ้ ริโภค และถือปฏิบตั อิ ย่างเคร่งครัดอีกด้วย 7. การแบ่งปั นสู่สงั คมและชุมชน (Contribution to the Community and Society) 8. ทางบริษั ท ผลิต ภัณ ฑ์ อ าหารเมอริท จ ากัด ได้ ใ ห้ ค วามส าคัญ กับ ทุ ก องค์ ป ระกอบของความ รับผิดชอบทางสังคมเป็ นอย่างดี กำรดำเนิ นกำรงำนของบริ ษทั ที่เป็ นไปตำมหลักห่วงโซ่อปุ ำทำนสีเขียว แนวคิด ห่ ว งโซ่ อุ ป ทานสีเขีย ว (Green Supply Chain) นี้ เป็ น สิ่งที่ท้าทายองค์ก รในยุค นี้ ซึ่ง จะต้องหาจุดสมดุลระหว่างการเพิม่ ประสิทธิภาพระหว่างบริษทั ให้มกี ารดาเนินการภายใต้กรอบการเป็ น มิตรต่อสิง่ แวดล้อมหรือสังคมโลก ซึง่ การนาการบริหารการจัดการสิง่ แวดล้อมรวมกับการบริหารในแต่ละ ห่วงโซ่อุปทานเริม่ ตัง้ แต่ต้นน้ าจนถึงปลายน้ า เพื่อลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมในกระบวนการห่วงโซ่ อุปทานขององค์กร โดยมุ่งเน้นการพัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเนื่องในการกาหนดเป้ าหมายด้านวัสดุท่ี เป็ นของเสียพลังงานทีส่ ญ ู เปล่า การใช้ทรัพยากรในอัตราทีต่ ่ ากว่า และประโยชน์ทค่ี วรจะได้รบั ขึน้ อยู่กบั ว่าองค์กรธุรกิจนัน้ มีความจริงใจต่อการกาหนดเป็ นนโยบาย กลยุทธ์ การนาไปปฏิบตั ิและการจัดสรร งบประมาณอย่างจริงจังและจริงใจมากน้อยแค่ไหน


หน้า 17 จาก 23

ประโยชน์ของกำรพัฒนำอุตสำหกรรมสีเขียว ทาให้ 1. ลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและชุมชน ลดข้อร้องเรียนจากผลกระทบ จากการประกอบกิจการ โรงงาน ลดความเสีย่ งในการรับผิดชอบในอนาคต 2. เกิดภาพลักษณ์ และทัศนคติทด่ี ตี ่ออุตสาหกรรมทีเ่ ป็ นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อม ส่งผลให้เกิดความเข้าใจที่ ดีและการยอมรับระหว่างอุตสาหกรรม และชุมชนทีอ่ ยูโ่ ดยรอบ 3. เกิดการสร้างงานและการจ้างงานเกี่ยวกับสิง่ แวดล้อมเพิม่ ขึน้ คนงาน มีความปลอดภัยและมี ความสุขกับการทางานในสภาพแวดล้อมทีด่ ี 4. ลดการใช้ทรัพยากรและพลังงาน ประหยัดต้นทุนสร้างโอกาสใน การแข่งขัน 5. สร้างโอกาสทางการตลาดโดยเน้นประเด็น “สีเขียว” ของผลิตภัณฑ์ และกระบวนการผลิต กำรดำเนิ นุ​ุรกิ จด้วยควำมเป็ นมิ ตรต่ อสิ่ งแวดล้อม การดาเนินธุรกิจด้วยความเป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมจะสนับสนุนให้เกิดผลิตภาพสีเขียวและสร้าง คุณค่าทีต่ อบสนองความต้องการลูกค้า ทาให้แนวโน้มหลักทีม่ งุ่ สู่ความเป็ นองค์กรสีเขียวทีม่ งุ่ ความเป็ น มิตรต่อสิง่ แวดล้อม ประกอบด้วย 1. สินค้าทีเ่ ป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม (Green Products) 2. การบริหารทรัพยากรน้ าอย่างมีประสิทธิผล โดยมุ่งการใช้ซ้าและรีไซเคิลมาใช้ใหม่เพื่อประหยัดน้ าที่ ใช้ในการอุปโภคบริโภคมากทีส่ ุด รวมทัง้ ปรับปรุงคุณภาพน้ าดื่มและตัง้ โรงงานบาบัดเพื่อจัดการน้ า ทิง้ จากโรงงาน 3. การดาเนินธุรกิจตามวิถอี งค์กรสีเขียว โดยคานึงถึงสิง่ แวดล้อมและสังคมทีม่ ุ่งเสนอสินค้าและบริการ ทีเ่ ป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมให้กบั ผู้บริโภค รวมถึงการใช้เทคโนโลยีสะอาดและลดความสิน้ เปลืองการ ใช้พลังงาน 4. แนวโน้มสินค้าทีเ่ ป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมออกสู่ท้องตลาดมากขึน้ เป็ นผลจากกระแสตื่นตั วต่อปั ญหา สิง่ แวดล้อม ทาให้ผปู้ ระกอบการมุ่งผลิตสินค้าทีเ่ ป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมเพื่อตอบสนองความต้องการ ผูบ้ ริโภคทีใ่ ส่ใจสุขภาพและคุณภาพสิง่ แวดล้อมมากขึน้ 5. การพัฒนาแนวคิดเชิงระบบเพื่อวิเคราะห์ผ ลกระทบกิจกรรมการผลิตต่ อ สภาพแวดล้อ ม แต่ เดิม ประเด็น ดังกล่ าวจะพิจารณาประเมิน ตัว ผลิต ภัณ ฑ์ กระบวนการผลิต และโรงงานว่ากระทบต่ อ สิ่งแวดล้อ มอย่างไร แต่ ศ ตวรรษใหม่น้ี จะพิจารณาทัง้ ระบบตลอดห่ ว งโซ่ อุ ป ทาน และพิจารณา ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมทัง้ ระดับชุมชน ระดับประเทศ และระดับโลก 6. ด้วยความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทาให้การติ ดต่ อสื่อสารสะดวกและ สามารถทางานได้จากทีพ่ กั อาศัยแทนการเดินทางไปสานักงาน ส่งผลให้ค่าใช้จา่ ยเดินทางมีแนวโน้ม ลดลงและสนับสนุนการพัฒนาแนวคิดสีเขียวเกิดประสิทธิผล ซึ่งทางบริษัท นาความคิดเรื่องห่วงโซ่อุปทานมาใช้อย่างลงตัวและพัฒนาธุรกิจให้ยงยื ั ่ น โดย บริษทั มีความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาอย่างยังยื ่ นทีจ่ ะต้องเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และไม่สร้าง ผลกระทบต่อสังคม ชุมชน โดยตลอดห่วงโซ่การผลิต ตัง้ แต่คดั สรรวัตถุดบิ อาหารสัตว์ซง่ึ เป็ นต้นน้ าของ


หน้า 18 จาก 23

กระบวนการผลิตปลอดภัย นอกจากจะต้องได้วตั ถุดบิ คุณภาพสูง มีความสะอาด ปลอดภัย ตรวจสอบ ย้อนกลับได้แล้ว ยังต้องคานึงถึงแหล่งทีม่ าทีไ่ ม่ทาลายทรัพยากรธรรมชาติ อันจะนาไปสู่ผลิตภัณฑ์ของ บริษทั ทีม่ คี ุณภาพสูง กำรจัดกำรแปลงทำงกำรเกษตรอย่ำงมีควำมรับผิดชอบต่อสิ่ งแวดล้อม การทีผ่ ู้ผลิตต้องการขายสินค้าเกษตรอินทรียใ์ นแต่ละประเทศหรือกลุ่มประเทศจึงหมายถึงการ ขอการรับรองของแต่ละประเทศ เช่น หากบริษทั ผลิตภัณฑ์อาหารเมอริท จากัด ต้องการขายสินค้าของ ตน หรือ กะทิส าเร็จ รูป บรรจุ ก ระป๋ องเกษตรอิน ทรีย์ใ นประเทศออสเตรเลีย ก็ ต้ อ งมีใ บรับ รองว่ า กระบวนการผลิตทัง้ หมดตัง้ แต่ต้นน้ าถึงปลายน้ าของตนนัน้ ถูกต้องตามขัน้ ตอนของกระบวนการเกษตร อินทรีย์ท่ีประเทศออสเตรเลียก าหนดไว้ทงั ้ หมด และเมื่อ ได้ใบรับ รองแล้ว ก็ต้อ งท าการรักษาระบบ ดังกล่ าวให้ดีต่ อ ไป และจะมีค นมาตรวจสอบเสมอ หากผิด พลาดหรือ บกพร่อ งอาจถู ก ถอนหรือ พัก ใบอนุญาต ขึน้ อยูก่ บั ความเสียหายตามแต่กรณี เพราะมีแนวทางเดียวกัน การตรวจสอบเพื่อรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียม์ กั เลือกเอาข้อทีย่ าก ทีส่ ุดของรายละเอียดทีแ่ ตกต่างกันของแต่ละประเทศมาตรวจสอบผูผ้ ลิตทีต่ อ้ งการใบรับรองเหล่านัน้ เช่น เรื่องปุ๋ ยหมัก ผูต้ รวจจะใช้มาตรฐานสหรัฐอเมริกาซึ่งเข้มงวดเรื่องนี้มากเป็ นพิเศษ หรือเรื่องขัน้ ตอนการ ปล่อยสินค้าสู่ตลาด (Positive Release) ก็มกั จะใช้ของประเทศญี่ป่ นุ ส่วนสหภาพยุโรปนัน้ หินทีส่ ุดเรื่อง การตัดแต่งทางพันธุกรรม (GMO) ออสเตรเลียเน้นเรื่องความ หลากหลายทางชีวภาพคือจะต้องมีความ หลากหลายในพื้นที่เพาะปลูกพืชหลัก อย่างน้ อ ย 20% เป็ นต้น เมื่อ ผ่ านหมดทุกข้อ จากัดก็จะได้การ รับรองหมดทุกอย่าง หรือหากมีการบกพร่อง ก็จะต้องแก้ไขก่อนได้รบั ใบรับรอง กำรช่วยเหลือเกษตรกรในเครือข่ำยให้สำมำรถผลิ ตวัตถุดิบที่ได้มำตรฐำน บริษทั ส่งเสริมเกษตรกรร่วมกับสหกรณ์กรีนเนท โดยมีเครื่องมือที่ใช้ คือการรวมกลุ่ม และการ ศึก ษาดูงานกันเองว่าแต่ ละสวนทาอย่างไรในการแก้ปัญ หาด้านต่างๆ หรือ มีไอเดียในการท าเกษตร อินทรียอ์ ย่างไร รวมทัง้ ใช้เอกสารเข้ามาบันทึกและควบคุมการดาเนินงานให้เป็ นไปตามมาตรฐาน โดย อาศัยความเป็ นกันเองและการให้ความรูถ้ งึ แนวคิดและวิธกี ารทาเกษตรอินทรียท์ ถ่ี ูกต้องเพื่อให้เกษตรกร สามารถผลิตวัตถุดบิ ทีไ่ ด้มาตรฐาน หากมีปัญหาเกิดขึ้นทางบริษัทจะมีการพูดคุยกับเกษตรกร โดยการประชุมหารือหาทางแก้ไข ซึง่ วิธกี ารขัน้ ตอนทีต่ ายตัวนัน้ ไม่ม ี เนื่องจากแต่ละปั ญหาคาดเดาไม่ได้ว่าจะเกิดอะไรขึน้ ตัวอย่างปั ญหา ทีเ่ คยเกิดขึน้ อาทิเช่น การระบาดของแมลงศัตรูพชื บริษทั และเกษตรกรก็ม ีการศึกษาศัตรูธรรมชาติของ แมลงตัวนัน้ ที่สุดก็ส่งเสริมให้เกิดการศึกษาดูงานและส่งเสริมให้เกษตรกรทาการเพราะขยายเองและ ปล่อยภายในฟาร์มของตนเอง ในเรื่องของการได้รบั มาตรฐานแตกต่างกันตามขอบเขตของการตลาดที่ไป เมอริโต้ฟาร์ม และ กลุ่มเกษตรกรที่ประจวบฯ จะมีมาตรฐานที่แตกต่างกัน ดังนัน้ ถ้าผลผลิตที่ได้ยงั ไม่ได้รบั รองมาตรฐาน เกษตรอินทรียต์ ามขอบเขตของตลาด จะขึน้ อยู่กบั กรณี หากไม่ได้เกิดจากการกระทาผิด ทางบริษทั จะ ทาการยืดเวเวลาการปรับเปลีย่ นออกไป เพื่อขยายเวลาให้เกษตรกรผูเ้ ข้าร่วมโคตรงการ แต่ถ้าเป็ นการ


หน้า 19 จาก 23

ทาผิดมาตรฐาน ต้อ งดูท่ีส าเหตุ จองการกระทาผิดว่าร้ายแรงมากน้ อ ยแค่ ไหน และเจตนากระท าผิด มาตรฐาน หรือว่าเกิดจากการกระทาผิดโดยไม่เจตนา ถ้าผิดร้ายแรงทางบริษทั ก็อาจจะต้องให้เกษตรกร รายนัน้ ออกจากการขอรับรองไป แต่หากเกษตรกรมีใจที่จะทาเกษตรอินทรีย์ต่อ ทางบริษัทก็จะมีการ ติดตามผลและส่งเสริมให้เข้ามาอยูใ่ นระบบเกษตรอินทรียใ์ หม่อกี ครัง้ โดยการเข้าร่วมการทาเกษตรอินทรียน์ นั ้ มีเกษตรกรที่ขอรับรอง ประมาณร้อยกว่าคน แต่มเี กษตรกรที่ สามารถผ่ านระยะปรับเปลี่ยนจนได้เกษตรอินทรีย์เพียง 7 คน ซึ่งผลผลิต ที่ได้จากเกษตรกรที่ได้รบั มาตรฐาน จะให้ผลผลิตที่ได้มาตรฐานเกือบ 100 เปอร์เซนต์ของเกษตรกรที่ได้รบั มาตรฐานของเกษตร อินทรียต์ ามขอบเขตของการตลาดในพืน้ ทีน่ นั ้ ๆ กำรจัดกำรมลพิ ษภำยในสถำนประกอบกำร มลพิษทางอากาศ หม้อกาเนิดไอน้าจากเชือ้ เพลิงชีวมวล (Biomass Steam boiler) เชือ้ เพลิงทีใ่ ช้ ได้แก่ 1. ขยะชนิดเผาซึง่ ได้จากการคัดแยก 2. เศษวัสดุจากการเตรียมวัตถุดบิ มะพร้าว 3. เชือ้ เพลิงธรรมชาติอ่นื ๆ เช่น เศษไม้ฟืน กากกะลาปาล์ม เป็ นการหมุนเวียนคาร์บอนที่อยู่บนพื้นผิวโลกและบรรยากาศให้เร็วขึ้น ไม่ได้เป็ นการปลดปล่อย คาร์บ อนที่ก ัก เก็บ ไว้ใต้ดิน ซึ่งมีระบบดักกลิ่น และดัก ควัน เพื่อ ไม่ให้เกิด มลพิษ สู่ชุม ชน รวมทัง้ ยัง สามารถใช้ขเ้ี ถ้าในทางการเกษตรได้อกี ด้วย

มลพิษทางแสงและเสียง การตรวจและควบคุมระดับแสงสว่าง มีการวัดค่าความสว่างที่ปลอดภัย โดยใช้มาตรฐานตาม กฎกระทรวงก าหนดมาตรฐานในการบริห ารและการจัด การด้า นความปลอดภัย อาชีว อนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางานเกีย่ วกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ.2549 การตรวจวัดและควบคุ มระดับ เสียง มีการวัดค่าระดับเสียงที่ปลอดภัย โดยใช้มาตรฐานตาม กฎกระทรวงก าหนดมาตรฐานในการบริห ารกากจัด การด้ า นความปลอดภัย อาชีว อนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางานเกีย่ วกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ.2549 มลพิษทางน้า ร ะ บ บ บ า บั ด น้ า เ สี ย ( Waste Water Treatment System)Zero-discharge Waste Water Treatment System


หน้า 20 จาก 23

บ่อรวบรวมน้าเสีย (EQ Pond)

บ่อดักไขมัน (Grease Trap)

บ่อเติมอากาศ (Aeration Pond)

ถังหมักไร้อากาศ (Anaerobic Fermentation Tank)

บ่อตกตะกอน (Facultative Pond)และถังเติมคลอรีน (Chlorination Tank)

แหล่งพักน้าดิบตามธรรมชาติ (Natural Reservoir)


หน้า 21 จาก 23

เศษซากวัสดุจากขบวนการผลิต เศษวัสดุจากกระบวนการผลิตในขัน้ ตอนจาก จะคัดแยกและนาไปใช้ประโยชน์ดงั นี้ 1. พัฒนาเป็ นผลิตภัณฑ์พลอยได้ (BY-product) 2. ขายเพื่อเป็ นวัตถุดบิ ขัน้ ต้นของอุตสาหกรรมต่อเนื่องทีเ่ กี่ยวข้อง 3. ขายเพื่อเป็ นวัตถุดบิ ขัน้ ต้นของอุตสาหกรรมนากลับมาใช้ใหม่ (Recycle industries) 4. ใช้เป็ นเชือ้ เพลิงชีวมวล 5. ใช้เป็ นปั จจัยการผลิตทางการเกษตรขยะชุมชนภายในโรงงาน การคัดแยกขยะที่เมอริทจะมีการคัดแยกและจัดเก็บแยกกัน ซึ่งการจัดการขยะจะสาเร็จได้ต้อง เริม่ จากการคัดแยกและวินยั ในการทิง้ ขยะ 1. ขยะแห้ง (Combustible) 2. ขยะเปี ยก (Bio-degradable) 3. ขยะรีไซเคิล (Recycle Plastic&glass) 4. ขยะรีไซเคิล (Recycle Metal) 5. ขยะอันตราย (Toxic&Corrosive) แนวทำงกำรลดต้ นทุนและก่อให้เกิ ดรำยได้จำกของเสียต่ำงๆ ภำยในบริ ษทั 1.ขยะทีเ่ กิดจากกระบวนการผลิตของบริษทั เช่น ถ้ามีเศษกระดาษก็สามารถนามาเป็ นสารตัง้ ต้นเชือ้ เพลิงได้ หรือจะนาไปขายก็ได้ แต่สามารถนาไปเผาเพื่อทาเป็ นเชือ้ เพลิงได้ 2.เศษวัสดุทเ่ี ก็บจากมะพร้าว ก็จะมีเปลือก ใยมะพร้าว โดยจะนาเปลือก ใยมะพร้าวกับ กะลามะพร้าวไปเผา และใช้เชือ้ เพลิงธรรมชาติอ่นื ๆเช่นหลักๆคือ กะลาปาล์ม ซึง่ คือของเสีย โดยจะลด การปลดปล่อยคาร์บอน เมือ่ เผาเสร็จ เกิดไอน้ า เกิดอากาศเสีย แต่อากาศเสียมีตวั ดักฝุ่ นดักกลิน่ ไม่ให้ ออกนอกโรงงาน ของเสียทีด่ กั ได้กส็ ามารถนามาเป็ นปุ๋ ย ปรับปรุงบารุงดินได้ 3. บริษทั ใช้ระบบบาบัดน้ าเสียแบบ zero discharge เพื่อปรับน้ าเสียให้กลับเป็ นน้ าตัง้ ต้นใหม่ โดยสามารถนาน้ านัน้ มาใช้ลา้ งพืน้ ใช้ในห้องน้าได้ กำรวิ เครำะห์ผลกำรจัดสถำนประกอบกำรอย่ำงมีควำมรับผิดชอบต่อสิ่ งแวดล้อม ตามหลักของเกษตรอินทรีย์ การปลูกพืชเชิงผสมคือการปลูกพืชหลากหลายชนิด เป็ นการรักษา ระบบนิเวศและป่ าต้นน้า เป็ นแหล่งอาหาร ลดปั ญหาศัตรูพชื เป็ นการปลูกพืชบารุงดินเนื่องจากการปลูก พืชเชิงเดี่ยวเป็ นเวลานาน เป็ นปั จจัยที่ทาให้ดนิ ขาดความอุดมสมบูรณ์ เกิดการพังทลายของหน้ าดิน ธาตุอาหารในดินหมดไป ทาให้ผลผลิตต่า ผลการวิเคราะห์การจัดการสถานประกอบการของบริษทั ผลิตภัณฑ์อาหารเมอริท จากัด บริษทั มีการจัดการแปลงทางการเกษตรอย่างมีความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม โดยพื้นที่ทงั ้ หมดของบริษทั มี ราว 2,200 ไร่ โดยบริษทั ได้แบ่งพืน้ ทีเ่ พาะปลูกออกเป็ น 2 ส่วน โดยพืน้ ทีเ่ พาะปลูกส่วนทีห่ นึ่งราว 500 ไร่ บริษทั ได้เพาะปลูกต้นมะพร้าวเพื่อใช้ในการดาเนินธุรกิจ ส่วนที่เหลือเป็ นพื้นที่เพาะปลูกสาหรับพืช ชนิดอื่นตามฤดูกาลของเกษตรกร บริษทั มีการศึกษาระบบนิเวศ สิง่ มีชวี ติ ในท้องถิน่ เพื่อให้ทงั ้ ดิน พืช


หน้า 22 จาก 23

และสัตว์ มีความสัมพันธ์กนั อย่างเป็ นไปตามธรรมชาติ ไม่เบียดเบียนสิง่ มีชวี ติ ตามระบบนิเวศเดิมและไม่ ใช้สารเคมี ตัวอย่างวิธกี ารกาจัดแมลงที่บริษัทเลือกใช้คอื การใช้เชื้อราเขียว แตนเบียน เป็ นต้น โดย บริษทั มีนโยบายในการจัดการสถานประกอบการโดยให้เกษตรกรมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการจัดการ แปลงเกษตรด้วย บริษทั มีการปลูกพืชผักตามฤดูกาลรวมถึงข้าว ข้าวที่บริษทั ปลูกมี 2 สายพันธุ์ ได้แก่ ข้าวหอมมะลิและข้าวหอมนิล ได้ผลผลิตราว 400 กิโลกรัมต่อไร่ เพื่อให้เกษตรกรได้บริโภคเองและสร้าง รายได้ นอกจากนี้ บ ริษัท ยังมีก ารการช่ ว ยเหลือ เกษตรกรในเครือ ข่ายให้ส ามารถผลิต วัต ถุ ดิบ ที่ได้ มาตรฐานส่งเสริมการปลูกมะพร้าวโดยวิธเี กษตรอินทรีย์ บริษัทช่วยเหลือโดยการรับซื้อผลผลิตตัง้ แต่ ช่วงเริม่ แรกในราคาพิเศษ เนื่องจากผลผลิตจะลดลงเพราะว่าพืชต้องใช้เวลาในการฟื้ นฟูสภาพจากการ ใช้สารเคมี รวมถึงมีสอบถามปั ญ หาจากเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง เป็ นการส่งเสริมให้เกษตรกรสามารถ พึง่ พาตนเอง ซึง่ การจัดสถานประกอบการของบริษทั เป็ นการคานึงถึงประโยชน์และความรับผิดชอบต่อ สิง่ แวดล้อมอย่างแท้จริงและเป็ นการพัฒนาอย่างยังยื ่ น


หน้า 23 จาก 23

ผลประเมิ นควำมพึงพอใจโครงกำร รายการประเมิน 1.เกีย่ วกับหัวข้อบรรยาย 1.1.การนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 1.2.เวลาทีใ่ ช้บรรยายมีความเหมาะสม 1.3.เนื้อหาตรงกับสิง่ ทีต่ อ้ งการรู้ 2. เกีย่ วกับการบรรยาย 2.1.ความสามารถในการถ่ายทอดของวิทยากร 2.2.ความสามารถในการตอบข้อซักถาม 2.3.การเตรียมตัวของวิทยากร 3.ความรูค้ วามเข้าใจก่อนเข้ารับการอบรม 4.ความรูค้ วามเข้าใจหลังเข้ารับการอบรม 5.อุปกรณ์และเอกสารการอบรม 5.1.ระบบเสียงและภาพในห้องอบรม 5.2.สถานทีจ่ ดั อบรม 6.ในภาพรวมท่านพอใจกับกิจกรรมครัง้ นี้ในระดับใด

ระดับความพอใจ 5 4 3 2 1

ค่าเฉลีย่

เกณฑ์ การประเมิน

37 89 4 0 52 67 11 0 35 70 24 1

0 0 0

4.25385 4.31538 4.06923

มาก มาก มาก

73 65 74 14 28

51 59 49 19 83

5 5 6 37 19

1 0 1 50 0

0 1 0 10 0

4.50769 4.43846 4.50769 2.82308 4.06923

มาก มาก มาก พอใช้ มาก

73 52 5 70 53 7 56 68 6

0 0 0

0 0 0

4.52308 4.48462 4.38462

มาก มาก มาก

จากตารางสรุปการประเมินผลความพึงพอใจของผูเ้ ข้ารับการอบรม พบว่า ผูเ้ ข้าอบรมมีความ พึงพอใจ ในด้านระบบเสียงและภาพในห้องอบรมมากทีส่ ุด รองลงมาได้แก่ ความสามารถในการถ่ายทอดของวิทยากรและ การเตรียมตัวของวิทยากร พบว่าผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจด้านความรูค้ วามเข้าใจก่อนเข้ารับการอบรมน้อย ทีส่ ุด แต่อย่างไรก็ตามผูอ้ บรมมีความพึงพอใจด้านความรูค้ วามเข้าใจหลังเข้ารับการอบรมมากขึน้ ในภาพรวมผู้เข้าอบรมพอใจกับกิจกรรมครัง้ นี้ เป็ น 4.38อยู่ในเกณฑ์ของระดับความพึงพอใจ ”ระดับมาก”


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.