ISSUE 02 JUNE/JULY 2012
KPMG Thailand reaching out to keep you ahead
MAKING PEOPLE YOUR STRENGTH
Investing in Indonesia: A PTT Perspective Tax Structure Changes on the Road to the AEC The Euro: To Be or Not to Be?
CEO Foreword In this issue we highlight people management, a topic very close to my heart. SCG has been a positive influence on our people strategy for many years. They are part of the inspiration for our People Passion department, which has developed into a key focus of our business strategy. Indeed, our people are what differentiate us in a highly competitive market. We reach out to Indonesia with the story of PTT Green Energy’s experience entering the market as a foreign investor and we continue reaching towards the AEC to prepare our clients and ourselves for the new financial challenges and opportunities that lie ahead. Finally, we provide insight and context on the current economic situation in Europe, a hot item on many CEO’s agendas. Enjoy!
ในฉบับนี้ เราเน้นเรื่องการบริหารบุคลากร ซึ่งเป็นหัวข้อหนึ่งที่ดิฉันให้ความส�ำคัญมาก หลายปีที่ผ่านมา เครือซีเมนต์ไทย (เอสซีจี) เป็นหนึ่งในต้นแบบที่ยอดเยี่ยมด้านการพัฒนาบุคลากร และยัง เป็นแรงบันดาลใจให้กับแผนก People Passion ของเรา ซึ่งในที่สุด การพัฒนาบุคลากรได้กลายเป็นหนึ่ง ในกลยุทธ์ที่ส�ำคัญของเรา และอาจกล่าวได้ว่า บุคลากรคือปัจจัยส�ำคัญที่สามารถสร้างความโดดเด่นให้เรา ในสภาวะตลาดที่มีการแข่งขันสูง เรายังมีบทความเกี่ยวกับการลงทุนในประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งน�ำเสนอผ่านประสบการณ์และมุมมองของ บริษัท ปตท. กรีน เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด ในฐานะนักลงทุนต่างประเทศที่ก้าวเข้าสู่ตลาดนี้ และเรายังน�ำ เสนออย่างต่อเนื่องในเรื่องของ AEC เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับลูกค้าและเคพีเอ็มจี ในการรับมือ กับความท้าทายและโอกาสใหม่ๆ ที่รออยู่ข้างหน้า ปิดท้ายด้วยเรื่องของสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ ในภูมิภาคยุโรป ซึ่งเป็นประเด็นส�ำคัญที่ก�ำลังถูกจับตามองในปัจจุบัน ขอให้สนุกกับการอ่านนะคะ
Kaisri Nuengsigkapian CEO, KPMG Thailand
REACH | P.01
Contents Making People Your Strength
2
BUSINESS STRATEGY
Investing in Indonesia: 6 A PTT Perspective ASEAN FOCUS
Tax Structure Changes on the Road to the AEC
10
CFO FORUM
The Euro: To Be or Not to Be? EUROZONE
REACH Editorial Team Managing Editor: Editor: Contributors: Translation & Subediting:
Sean Severn Tara Chanapai Chayanan Kunathai, Kiti Madiloggovit, Nipit Isarankura, Wirat Sirikajornkij, Don Christiansen, Jonathan Blaine Panittaya Changchit, Ornsiri Vorayos, Rachchakrit Mahathanagulthorn, Pirawut Meetanatharvorn, Maiyaporn Limpraphawat
Art Directors: Photographer: Video Editor & Illustrator: Project Coordinator:
Chaiyong Kornteerapat, Supat Roongruangratanakul Adithap Wangkadilok Amormbhon Rungsiwong Treetaporn Ruangwech
14
PRODUCTS AND SERVICES ARE INCREASINGLY COMMODITIZED. PEOPLE GIVE COMPANIES THE STRENGTH TO WITHSTAND AND RISE ABOVE COMPETITION. At KPMG we strive to emphasize the importance of people. Our People Passion department focuses on instilling a sense of passion for work throughout the firm and developing individual qualities, strengths and skills. This is a key part of our organizational strategy. We believe time is better spent developing existing strengths than trying to improve weaknesses. Developing strengths which are aligned to job and career path, increases chances for team and individual success. DEVELOP YOUR STRENGTHS, NOT WEAKNESSES. First, we acknowledge that everyone is unique. Some people like to strategize, some are good at communicating, while others have a talent for building relationships. These differences are strengths that need to be discovered
Making People คลากร นจุดแข็ง Your Strength พัให้ฒเป็นาบุ BUSINESS STRATEGY
Words: Chayanan Kunathai, Head of People Passion, KPMG Thailand Interview: Kiti Madiloggovit, Corporate Human Resources Director, SCG
REACH | P.03
and managed correctly so that people work to their full potential and find satisfaction in work they enjoy. The tool we use to develop strengths is Gallup’s StrengthsFinder, a survey that identifies an individual’s five strongest talents. After identifying these five talents we develop a SWOT analysis, to understand the strengths of each talent and the opportunities to utilize that strength at work. Each talent has a flipside - a potential weakness that could threaten development of the strength. Therefore we must critically analyze and develop strategies to address those weaknesses and threats associated with each unique talent. For example, someone with a talent for learning will have a high willingness to acquire knowledge, but without a clear objective, they may spend too much time acquiring superfluous knowledge and miss deadlines. So, why do team members think or act in a certain way? The answer is that everyone has unique strengths. With an understanding of those unique strengths and how to utilize them we can facilitate a happy work place. At the same time, as managers we have an opportunity to create value for our business with those distinctive capabilities. In addition, it encourages the team to appreciate one another’s perspectives. Discussing strengths opens up communication, fine-tunes the team mechanism, and increases our ability to plan and achieve objectives together that unite our strengths.
พัฒนาบุคลากรให้เป็นจุดแข็ง
ท่ามกลางภาวะการแข่งขันทางธุรกิจทีเ่ ข้มข้น ในปัจจุบนั บุคลากรถือเป็นจุดแข็งทีท่ ำ� ให้ องค์กรต่างๆ สามารถเพิม่ ศักยภาพการ แข่งขันด้วยการสร้างความแตกต่างจากคูแ่ ข่ง เคพีเอ็มจีเองให้ความส�ำคัญกับเรื่องของคน เช่นกัน เรามีแผนก People Passion ที่มุ่งเน้นและปลูกฝังความรักในงาน ทีมงาน และองค์กร รวมถึงการพัฒนาคนคุณภาพ ที่มีเอกลักษณ์แตกต่างกันตามความถนัด หรือจุดแข็งของแต่ละบุคคล ซึ่งสิ่งเหล่านี้ เป็นหนึ่งในกลยุทธ์ที่ส�ำคัญของเคพีเอ็มจี เรามุ่งเน้นการพัฒนาจุดแข็ง เพราะเราเชื่อ ว่าการเสียเวลามากไปกับการแก้ไขจุดอ่อน จะท�ำให้เสียโอกาสในการพัฒนาจุดแข็ง การพัฒนาจุดแข็ง ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการ ท�ำงานและเส้นทางอาชีพจะเพิ่มโอกาส ประสบความส�ำเร็จให้กับทีมและตัวบุคคล คุณล่ะ! พัฒนาจุดแข็งหรือจุดอ่อน
ทุกคนมีความพิเศษอยู่ในตัวที่แตกต่างกัน ออกไป บางคนชอบวางแผน บางคน โดดเด่นด้านการสื่อสาร ขณะที่บางคนถนัด ในการสร้างความสัมพันธ์ ซึ่งความแตกต่าง เหล่านี้เป็นสิ่งที่เราต้องค้นหาและใช้จุดแข็ง ของแต่ละคนให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งหมายถึงทุกคนสามารถดึงศักยภาพ ที่มีอยู่ตามความถนัดของตนมาใช้ได้อย่าง เต็มที่ ส่งผลให้ท�ำงานอย่างมีความสุข และประสบความส�ำเร็จ เครื่องมือที่เรา น�ำมาใช้คือ StrengthsFinder ซึ่งเป็นแบบ ทดสอบที่ช่วยระบุพรสวรรค์ที่แข็งแกร่งที่สุด 5 ประการของแต่ละคน
จากนั้นเราจะจัด SWOT analysis session ระหว่างคนในทีม โดยเริ่มจากท�ำความ เข้าใจตัวเองก่อนว่าพรสวรรค์แต่ละตัวของ เรานั้นมีลักษณะหรือข้อดีอะไรบ้างที่ สามารถน�ำไปขัดเกลาด้วยความรู้บวกกับ ทักษะเพื่อพัฒนาเป็นจุดแข็ง ตลอดจนน�ำไป สร้างโอกาสหรือต่อยอดกับงานที่ท�ำอยู่ได้ ในขณะเดียวกันจุดแข็งแต่ละด้านก็อาจน�ำ มาซึ่งจุดอ่อนที่เป็นอุปสรรคขัดขวางการใช้ จุดแข็งนั้น เราจึงต้องวิเคราะห์ถึงกลยุทธ์ที่ จะใช้แก้ไขจุดอ่อนเหล่านั้นด้วย เช่น คนที่มี จุดแข็งในด้านใฝ่รู้จะชอบการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ หรือการศึกษาเพิ่มเติม แต่หากไม่ก�ำหนด จุดประสงค์หรือเป้าหมายให้ดี อาจเสียเวลา กับการเรียนรู้มากไปจนไม่ได้ค�ำนึงถึง ประโยชน์ที่จะได้รับหรือสิ่งที่จ�ำเป็นต้องท�ำ มากกว่าในช่วงเวลานั้น เรามักมีค�ำถามว่าท�ำไมเพื่อนร่วมทีมจึง ปฏิบัติแบบนี้ หรือท�ำไมเขาจึงมีความคิด เช่นนั้น ค�ำตอบก็คือเพราะแต่ละคนมี จุดแข็งที่ไม่เหมือนกันนั่นเอง และจุดแข็ง แต่ละด้านนั้นเป็นลักษณะพิเศษเฉพาะ บุคคล ซึ่งหากท�ำความเข้าใจและน�ำมาใช้ อย่างเหมาะสม จะท�ำให้เราท�ำงานอย่างมี ความสุข สนุก และภาคภูมิใจไปกับการ สร้างคุณค่าด้วยความสามารถอันโดดเด่น และแตกต่าง นอกจากนี้ยังเป็นโอกาสอันดี ที่จะท�ำให้คนในทีมเข้าใจในตัวตนและ เหตุผลของกันและกันมากขึ้น ได้เปิดอก พูดคุย ปรับเปลี่ยนบางอย่างเพื่อหาจุด สมดุลให้ทีมท�ำงานได้อย่างราบรื่นรวมทั้ง สามารถวางแผนและก�ำหนดเป้าหมายที่จะ ท�ำให้ทีมท�ำงานส�ำเร็จร่วมกันได้ง่ายขึ้นด้วย ส่วนผสมอันลงตัวที่เรียกว่า “จุดแข็ง”
T
he top leaders of SCG place very high importance on people management. Here we take a look at SCG’s people strategy and approach. Interview with Kiti Madiloggovit, Corporate Human Resources Director, SCG
WHAT IS SCG’S PEOPLE MANAGEMENT STRATEGY? HOW DOES IT ENSURE PEOPLE WORK TO THEIR STRENGTHS? Our strategy is called High Potential Assessment. The whole company takes part in a yearly assessment process focusing on identifying the potential in each person, ensuring everyone identifies and develops their strengths. The 3 factors that identify High Potential people are: being a good person with the right core values, management skills and leadership skills. BEING ONE OF THE LARGEST THAI COMPANIES, YOU ARE INCREASINGLY WORKING ACROSS BORDERS. HOW DOES THIS FIT IN WITH YOUR PEOPLE STRATEGY? International experience is very important to us. Our Go Regional strategy prepares people to go overseas, generally to ASEAN,
3
TOP TIPS FOR MANAGING PEOPLE
a region that will be even more important once the AEC comes into effect. Now we focus on Indonesia, Vietnam, Philippines and Cambodia. Myanmar is also on our radar for the future. There are 224 Thai staff working abroad now and 9,933 foreign SCG staff in other countries, 6,000 of which are in Indonesia. HOW ARE YOU BUILDING AN INTERNATIONAL CULTURE IN SCG TO ENCOURAGE PEOPLE TO GO ABROAD? In addition to the monetary and nonmonetary benefits, the opportunity to reach out and move forward is the top incentive to work overseas. Our goal for the future is to have half of all high level management with overseas experience. This will encourage those who aspire to be leaders at SCG to go abroad. In fact, before they even decide to go abroad we develop their positive attitude through activities like
seminars about foreign cultures and the chance to travel abroad on short assignments. Our total workforce is 38,000 people with almost 10,000 outside of Thailand. I’m betting the proportion of overseas to Thai investments will be 50:50 in the next 3-4 years. People who go overseas with SCG will get the perspective and experience that will benefit them as the next generation of top-level management. WHAT IS IN STORE FOR THE FUTURE OF PEOPLE STRATEGY AT SCG? In the next few years we’ll stay on track with our current strategy, which extends to 2015. The AEC will be implemented then, so our Go Regional strategy will be even more important and might expand from ASEAN to all of Asia.
ENJOY PEOPLE
GIVE EVERYONE A CHANCE
BE HANDS ON
Be passionate about your work and you will successfully connect with people.
Accept that not everyone will be a breeze to manage, and take it as a challenge to help them.
Have regular contact, talking, eating lunch, chatting – e-email and social media do not count here.
REACH | P.05
กลยุทธ์ในการบริหารงานบุคคลที่มี ศักยภาพของ SCG
SCG ใช้กลยุทธ์ที่เรียกว่า การประเมิน ศักยภาพรายบุคคล โดยทั้งองค์กรจะให้ ความส�ำคัญในการประเมินศักยภาพประจ�ำปี ซึ่งมุ่งเน้นการค้นหาจุดแข็งในแต่ละบุคคล โดย 3 ปัจจัยหลักที่จะใช้บ่งชี้ศักยภาพของ บุคคลคือ การเป็นคนดียึดมั่นในอุดมการณ์ ของบริษัท มีความสามารถในการจัดการ และสุดท้ายคือมีทักษะการเป็นผู้น�ำ นับได้ว่า SCG เป็นหนึ่งในบริษัทที่ ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยซึ่งขยายงาน ไปในต่างประเทศ กลยุทธ์ของ SCG สอดคล้องกับนโยบายการบริหารงาน บุคคลอย่างไร
ประสบการณ์การท�ำงานในต่างประเทศเป็น สิง่ ส�ำคัญส�ำหรับเรา โดยเราต้องเตรียมความ พร้อมให้กบั คนของเราเพือ่ ทีจ่ ะไปท�ำงาน ต่างประเทศตามกลยุทธ์ Go Regional โดย เฉพาะในอาเซียน ซึง่ จะยิง่ มีความส�ำคัญ
Q
WHEN IT COMES TO PEOPLE MANAGEMENT, WHAT SHOULD EVERY CEO BE DOING NOW?
มากขึน้ เมือ่ แนวทางของ AEC ได้เริม่ ใช้ โดยมุง่ เน้นที่ ประเทศอินโดนีเซีย เวียดนาม ฟิลปิ ปินส์ กัมพูชา และพม่า ซึง่ เป็นประเทศ ทีเ่ ราจับตามองอยู่ในอนาคต ในขณะนีเ้ รามี พนักงานทีเ่ ป็นคนไทยท�ำงานในต่างประเทศ จ�ำนวน 224 คน และพนักงานทีเ่ ป็นคนพืน้ ที่ ในแต่ละประเทศ อีก 9,933 คน ในจ�ำนวนนี้ มี 6,000 คน เป็นคนอินโดนิเซีย SCG มีวิธีอย่างไรที่จะสร้างแรงจูงใจใน การท�ำงานในต่างประเทศให้กับ พนักงาน
นอกจากการดูแลเรือ่ งผลตอบแทนทัง้ ทีเ่ ป็น ตัวเงินและไม่ใช่ตวั เงินแล้ว SCG ยังเน้น เรือ่ งความก้าวหน้า โอกาสในการพัฒนาและ การเติบโตจากการท�ำงานในต่างประเทศ ซึง่ เราตัง้ เป้าไว้วา่ ในอนาคตครึง่ หนึง่ ของ ผูบ้ ริหารระดับสูงจะต้องมีประสบการณ์การ ท�ำงานในต่างประเทศ ซึง่ สิง่ นีก้ จ็ ะเป็นแรง ผลักดันให้คนทีต่ อ้ งการเป็นผูบ้ ริหารใน อนาคตต้องผ่านการท�ำงานในต่างประเทศ เช่นเดียวกัน ทีจ่ ริงก่อนทีจ่ ะเน้นเรือ่ งการไป
ต่างประเทศ เรามีการสร้างทัศนคติทดี่ ีให้กบั พวกเขาผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น การสัมมนา เรือ่ งวัฒนธรรมทีต่ า่ งกัน หรือให้โอกาสทีจ่ ะ ได้เดินทางท่องเทีย่ วพร้อมกับการไปท�ำงาน ในช่วงสัน้ ๆ พนักงานในเครือมีทงั้ หมดรวม 38,000 คน โดยเกือบ 10,000 คน ท�ำงาน อยูต่ า่ งประเทศ สัดส่วนการลงทุนระหว่าง ไทยกับต่างประเทศน่าจะเป็น 50 ต่อ 50 ใน อีก 3-4 ปีขา้ งหน้า ซึง่ คนทีม่ ปี ระสบการณ์ ไปท�ำงานต่างประเทศก็จะมีมมุ มองและ ประสบการณ์ทเี่ ป็นประโยชน์กบั ตัวเขาเอง ในการเป็นผูบ้ ริหารระดับสูงในยุคใหม่ แนวทางในอนาคตเรื่องการบริหารงาน บุคคลของ SCG จะเป็นอย่างไร
อีกไม่กี่ปีต่อจากนี้ เราจะคงไว้ซึ่งกลยุทธ์ตัว ปัจจุบัน ซึ่งสามารถใช้ได้ถึงปี 2015 และยิ่ง เมื่อเริ่มใช้แนวทางของ AEC กลยุทธ์ Go Regional ของเราก็ยิ่งมีความส�ำคัญมากขึ้น ไปอีก โดยเราอาจจะขยายจากระดับอาเซียน ต่อไปเป็นทั่วเอเซีย
A
HOW TO USE QR CODES: 1.
PLEASE SCAN THE QR CODE VIDEO LINK TO FIND OUT http:// bit.ly/kpmg-reach-i2a1
You will need an internetconnected mobile device with a QR reader app (from your device’s app store)
2. Take a picture of the QR code using the app and you will be taken directly to the encoded data
Investing in Indonesia: นในประเทศอินโดนีเซีย: A PTT Perspective การลงทุ มุมมองของ ปตท. ASEAN FOCUS
Words: Nipit Isarankura Senior Vice President, PTTEP and Chairman of Thailand-Indonesia Business Council
REACH | P.07
Investment in palm oil has been part of PTT’s vision since 2006. PTT’s upstream business, of which palm oil is a part of, aims to find renewable energy and increase Thailand’s energy security. Industry research concludes that palm oil is a long term investment, will pay back within 7 years and provides a good return (EBITDA > 50%), depending on several factors: 1 Appropriate geography, including high levels of water and sunshine. 2 A full scope of supply chain processes, from plantation to extraction facility, enabling constant control over input and output. 3 The local population, which is the key variable in maintaining continuous commercial production. 4 The new IFRS accounting standards which consider the full value of the investment, including the value growth of the palm trees, which increase with market value every year. Because of the business opportunity and importance of developing renewable energy, PTT decided to invest in palm oil. In the first stage of investment we looked to Indonesia because of its appropriate geography, land and labor development potential, and support from the Indonesian government.
PTT Green Energy Pte., Ltd (PTTGE) was established in Singapore in 2007 to invest in palm oil in Indonesia. In parallel PTTGE established Regional Operating Headquarters (ROH) in Thailand for future tax administration benefits. Now, PTTGE has a strong presence in Indonesia, including the rights to 200,000 hectare (Ha) of land, approximately 20% of which we have developed into plantations. We own 2 extraction facilities which can produce 2,000 – 3,000 tonnes of crude palm oil per month. The main task of PTTGE in the next stage will be to accelerate development of the 200,000 Ha to increase growth and profitability.
Main obstacles from our experience investing in Indonesia:
1
Different standards for doing business which stem from differences in thinking and society.
2
Government administration, which is divided into central and local governments, making it challenging to enforce laws in unity.
Although the investment had potential for high returns, there was also risk that needed to be managed, especially when finding a trustworthy local business partner. Under Indonesian law, investment by multinational companies in the palm oil industry cannot exceed 95% of total investment value. Another major risk was acquiring rights and licenses. PTT and even the Thai government are unable to manage this risk. Therefore, in order for PTTGE to be managed independently, it was necessary to separate into a public limited company with PTT Group as the major shareholder. This enabled PTTGE to manage the investment risks and work faster in decision making and execution. PTTGE is still in the beginning stage of its overseas investment model, so we cannot conclude if we have reached our goals or not. We still rely on support from many entities, including government and business organizations. Nevertheless, PTTGE’s palm oil investment is just one example of Thai companies expanding and investing in other countries in the Asean region. In the near future, Thailand will be part of the Asean Economic Community (AEC), therefore Thai business will be supported by the Thai government and private agencies, such as the Federation of Thai Industries (FTI), as well as related business organizations, in order to securely move forward in the Asean region.
ตั้งแต่ปี 2006 การลงทุนในธุรกิจปาล์ม น�้ำมันเป็นวิสัยทัศน์ของ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) โดยมีเป้าหมายหลักในการ ขยายการลงทุนในธุรกิจต้นน�้ำ (การลงทุนใน ธุรกิจปาล์มน�้ำมันเป็นส่วนหนึ่งของธุรกิจ ต้นน�้ำ) เพื่อหาเชื้อเพลิงที่สามารถผลิตได้ อย่างไม่มีหมด (Renewable Energy) และสร้างความมั่นคงทางด้านพลังงาน ของประเทศ จากการศึกษารายละเอียด ของธุรกิจสามารถสรุปได้ว่า ธุรกิจปาล์ม น�้ำมันเป็นการลงทุนระยะยาว แต่สามารถ คืนทุนได้ภายในระยะเวลา 7 ปี และเป็น ธุรกิจที่ให้ผลตอบแทนที่ดี (EBITDA > 50%) โดยขึ้นอยู่กับปัจจัยส�ำคัญ ดังนี้ 1. พัฒนาสวนปาล์มในภูมิประเทศที่มี ศักยภาพ คือ มีปริมาณน�้ำและ แสงแดดมาก 2. ด�ำเนินการอย่างครบวงจร ทั้งสวนปาล์ม น�้ำมันและโรงสกัดน�้ำมันปาล์ม เพื่อที่จะ สามารถควบคุม Input และ Output ได้ตลอดระยะเวลาการลงทุน 3. ให้ความส�ำคัญกับประชากรในท้องที่ เนื่องจากแรงงานเป็นตัวแปรส�ำคัญที่ ท�ำให้เกิดการป้อนผลผลิตเข้าสู่โรงสกัด อย่างต่อเนื่อง 4. ด้วยมาตรฐานบัญชีสากลใหม่ IFRS ท�ำให้มูลค่าในการลงทุนพัฒนาสวนปาล์ม รวมทั้งมูลค่าการเจริญเติบโตตามอายุ ของต้นปาล์ม มีมูลค่าเพิ่มขึ้นตามมูลค่า ตลาดในขณะนั้น (Market Value) ท�ำให้ มูลค่าสินทรัพย์ (Asset) ของโครงการ โดยปกติจะเพิ่มขึ้นทุกๆ ปี จากการเล็งเห็นโอกาสทางธุรกิจและความ ส�ำคัญในการจัดหาพลังงานทดแทน ปตท. จึงตัดสินใจเข้าลงทุนในธุรกิจดังกล่าว โดยในระยะแรกได้เน้นการลงทุนในประเทศ อินโดนีเซีย เนื่องจากมีภูมิประเทศที่เหมาะ
สมและมีศักยภาพพร้อมทั้งในเรื่องของพื้นที่ และแรงงาน อีกทั้งรัฐบาลอินโดนีเซียยัง ให้การสนับสนุนธุรกิจปาล์มน�้ำมันอีกด้วย บริษัท ปตท. กรีน เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด (PTTGE) จึงถูกจัดตั้งขึ้นที่ประเทศสิงคโปร์ ในปี 2007 เพื่อเข้าลงทุนในธุรกิจปาล์ม น�้ำมันในประเทศอินโดนีเซีย รวมทั้งได้ จัดตั้ง Regional Operating Headquarters (ROH) ในประเทศไทยควบคู่กันไปด้วยเพื่อ สิทธิประโยชน์ทางภาษี ในปัจจุบัน PTTGE สามารถเข้าไปด�ำเนินธุรกิจนี้ได้อย่างมั่นคง โดยมีสิทธิ์ในพื้นที่เพาะปลูกปาล์มน�้ำมันแล้ว ประมาณ 200,000 เฮกตาร์ (Ha) โดยได้ ด�ำเนินการพัฒนาเป็นสวนปาล์มแล้วไม่น้อย กว่าร้อยละ 20 ของพื้นที่ทั้งหมด และมีโรง สกัด 2 โรง ซึ่งสามารถผลิตน�้ำมันปาล์มดิบ ได้ประมาณ 2,000-3,000 ตันต่อเดือน สิง่ ส�ำคัญที่ PTTGE ต้องด�ำเนินการต่อไปคือ การเร่งพัฒนาพื้นที่ทั้ง 200,000 Ha ให้เสร็จ โดยเร็ว เพื่อให้ธุรกิจมีความก้าวหน้าและ สร้างผลก�ำไรได้เร็วยิ่งขึ้น จากประสบการณ์การเข้าลงทุนใน อินโดนีเซียที่ผ่านมา อุปสรรคส�ำคัญ 2 ประการในการลงทุน คือ ำเนินธุรกิจที่แตกต่าง 1 มาตรฐานการด� ซึ่งเกิดจากพื้นฐานทางความคิดและ สังคม
หารงานของภาครัฐ โดยแบ่งเป็น 2 การบริ รัฐบาลกลาง (Central Government)
และรัฐบาลท้องถิน่ (Local Government) จึงท�ำให้การบังคับใช้กฎหมายขาดความ เป็นเอกภาพ
แม้ว่าการลงทุนในธุรกิจปาล์มน�้ำมันใน ประเทศอินโดนีเซียมีศักยภาพที่ให้ผล ตอบแทนสูง แต่ก็มีความเสี่ยงที่จะต้อง บริหารจัดการด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งการหา local partner ที่ดีและไว้ใจได้มา ร่วมท�ำธุรกิจ เนื่องจากกฎหมายประเทศ อินโดนีเซียก�ำหนดให้นักลงทุนต่างชาติ สามารถลงทุนในธุรกิจดังกล่าวได้ไม่เกิน 95% ของมูลค่าการลงทุนทั้งหมด และความเสี่ยงที่ต้องค�ำนึงถึงอีกประการ คือ การได้มาซึ่งเอกสารสิทธิ์และใบอนุญาต ต่างๆ ในการท�ำธุรกิจ ซึ่งความเสี่ยงใน ลักษณะนี้ ปตท.หรือแม้แต่รัฐบาลไทยเอง ก็ไม่สามารถรับมือได้ ดังนั้น หาก PTTGE สามารถบริหารงานได้อย่างเป็นเอกเทศ และเบ็ดเสร็จในลักษณะของบริษัท จ�ำกัด (มหาชน) โดยมี ปตท. เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ จะช่วยบริหารความเสี่ยงที่กล่าวมานี้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นจากการตัดสิน ใจและการบริหารงานที่รวดเร็ว ปัจจุบัน PTTGE อยู่ในช่วงเริ่มต้นของการ เข้าไปลงทุนในต่างประเทศอย่างเต็มรูปแบบ ซึ่งยังไม่สามารถสรุปได้ว่าประสบผลส�ำเร็จ ตามเป้าหมายแล้วหรือไม่ และยังต้องการ การสนับสนุนจากหลายฝ่ายไม่ว่าจะเป็นภาค รัฐหรือภาคธุรกิจที่เกี่ยวข้อง อย่างไรก็ดี การลงทุนในธุรกิจปาล์มน�้ำมันของ PTTGE เป็นเพียงหนึ่งในตัวอย่างของบริษัทไทยที่ ขยายการลงทุนไปยังประเทศอื่นในภูมิภาค อาเซียน ซึ่งอนาคตอันใกล้นี้ประเทศไทย ก�ำลังก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ดังนั้นธุรกิจไทยควรได้รับ การสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาค รัฐและเอกชน อาทิเช่น รัฐบาล สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลอดจนภาค ธุรกิจที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ภาคธุรกิจไทยก้าว ไปได้อย่างมั่นคงในภูมิภาคอาเซียน
REACH | P.09
INDONESIA SNAPSHOT: “With a population of almost 240 million, stable government and politics, an abundance of natural resources, large supply of labour and relatively low costs, Indonesia is one of the most attractive countries for investment.”
Indonesia is the world’s largest producer of palm oil.
Ichwan Sukardi, Partner, KPMG Indonesia
Indonesian culture is influenced by Arabic, Indian, Chinese, Malay, Portuguese and Dutch sources.
2011 GDP grew
6.5%
Indonesia is made up of over 17,000 islands.
It is estimated that 775 Indonesians have a personal net worth of 30 million USD or higher. Source: Business Monitor International 2012
Kopi luwak, the most expensive coffee in the world, originated in indonesia.
Indonesia is one of the five founding members of ASEAN.
Tax Structure Changes ่ยนแปลงโครงสร้างภาษีอากรเพื่อเข้าสู่ AEC: on the Road to the AEC การเปลี CFO ตอบรับอย่างไร CFO FORUM
REACH | P.11
Words: Wirat Sirikajornkij Tax and Legal Partner, KPMG Thailand
Under pressure to ensure Thailand remains a competitive place to do business in SE Asia once the ASEAN Economic Community (AEC) comes into effect in 2015, the Thai government recently reduced corporate income tax (CIT) rates from 30% to 20% over a three year period (23% for 2012 and 20% for 2013 and 2014). It is proposed that this reduction in rates will help prevent capital and businesses from migrating away from Thailand to other lower tax countries such as Singapore. While tax is rarely the main motivating factor behind developing an effective business strategy, it does inform the analysis and can often serve to prevent what would otherwise be smart strategic decisions from going forward. Thus, the recent reductions in CIT may not prompt CEOs into action but will certainly remove what might otherwise be a significant impediment to implementing an overall AEC expansion or investment strategy. Thai executives will surely feel a sense of relief that their business growth and development will not be burdened by excessive taxes. They will find increased flexibility due to the lower costs associated with tax savings. They will also find additional opportunities with both domestic and international business partners who may previously have avoided certain investments due to higher tax rates. These business executives will no doubt see an improved business and investment climate as lower taxes always leads to greater economic growth as companies find that the
cost of doing business is reduced. Their cost of financing will be reduced due to an improved investment climate, as more investors will be attracted to Thailand due to increased returns on investment. These will all be positive business outcomes of the lower tax rate regime. The tax savings will lessen the impact from the increase in the minimum wage. Several business owners and executives have bemoaned the increased costs of such a wage increase but when offset against the significant tax savings they will reap from a full 10% reduction in CIT, the impact of the wage hike should not be significant to the bottom line. In fact the additional tax savings over and above the wage increase may actually encourage businesses to hire more given the increase in net funds available for investment and business expansion. The entire C-Suite has found the business environment here in Thailand extremely challenging over the past five years in light of political unrest, natural disasters and global economic upheaval. Add to that increasing competition from ASEAN member states due to the AEC and the opening up of neighboring economies such as Myanmar and it’s not hard to understand why all senior level executives, including CFOs, welcome the government’s action on tax rates. This timely reduction is one large step in the right direction for Thai businesses and the future of the Thai economy. More tax measurements to support investments are expected to be introduced and implemented.
“To invest in any country in the AEC, we should focus first on the business drivers such as infrastructure, facilities, and local labor, and then consider tax structure or benefits.” Supot Shitgasornpongse, Vice President, CP ALL
“I expect the AEC will smooth our entrance and operations in new countries. Our competitors are also moving production into Asean nations, so we must follow. Doing business in some countries is trickier than others, depending on the culture and work style.” Nirand Fuganjananon, Director, Corporate Planning & Accounting Division, Summit Auto Body Industry Co.,Ltd.
REACH | P.13
เพื่อให้ประเทศไทยยังคงเป็นประเทศที่มี ความสามารถในการแข่งขันในการท�ำ ธุรกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) มีผลบังคับใช้ในปี 2015 รัฐบาลไทยได้ลด อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 20 ในช่วง 3 ปีข้างหน้า (ร้อยละ 23 ส�ำหรับปี 2012 และร้อยละ 20 ในปี 2013 และ 2014) โดยหวังว่า การลดอัตราภาษีดังกล่าวจะช่วยป้องกัน ไม่ให้เงินทุนและธุรกิจโยกย้ายออกไปจาก ประเทศไทยเพื่อไปลงทุนหรือประกอบ ธุรกิจในประเทศอื่นๆ ที่มีอัตราภาษีต�่ำกว่า เช่น ประเทศสิงคโปร์ ในขณะที่ภาษีอาจจะไม่ใช่ปัจจัยหลักในการ วางแผนด�ำเนินธุรกิจ แต่ภาษีอาจส่งผล ให้การตัดสินใจด�ำเนินธุรกิจไม่อาจเดินไป ข้างหน้าได้ ดังนั้นแม้การลดอัตราภาษีอาจ จะไม่มีผลในการกระตุ้นการตัดสินใจของ ผู้บริหารบริษัทต่างๆ แต่ก็เป็นส่วนช่วย ขจัดหนึ่งในอุปสรรคที่ส�ำคัญซึ่งขัดขวาง การตัดสินใจขยายธุรกิจหรือลงทุนใน AEC
นักธุรกิจไทยคงรู้สึกสบายใจมากขึ้น เนื่องจากอัตราภาษีจะไม่เป็นอุปสรรคขัด ขวางการพัฒนาและเติบโตในธุรกิจ เพราะ ธุรกิจจะสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายที่เกี่ยว เนื่องกับภาษี อีกทั้งยังเป็นโอกาสของ นักธุรกิจไทยในการหาคู่ค้าทางธุรกิจทั้งจาก ภายในและภายนอกประเทศซึ่งอาจเคย หลีกเลี่ยงการลงทุนในประเทศไทยอันเนื่อง มาจากอัตราภาษีที่สูงกว่าประเทศอื่น เหล่านักธุรกิจจะเห็นธุรกิจและบรรยากาศ การลงทุนทีด่ ขี นึ้ เนือ่ งจากอัตราภาษีทลี่ ดลง จะน�ำมาซึ่งความเจริญเติบโตทางธุรกิจ เพราะบริษัทต่างๆ จะมีค่าใช้จ่ายในการท�ำ ธุรกิจลดลง นอกจากนี้ต้นทุนทางการเงิน ของบริษัทต่างๆ ก็จะลดลงด้วยอันเนื่องมา จากบรรยากาศการลงทุนที่ดีขึ้น นักลงทุน จะเข้ามาลงทุนในประเทศไทยมากขึ้น เนื่องจากจะได้รับผลตอบแทนจากการลงทุน ที่เพิ่มขึ้น ทั้งหมดนี้เป็นผลดีที่เกิดขึ้นจาก การลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาระภาษีที่ลดลงยังจะช่วยลดผลกระทบจาก การเพิ่มค่าจ้างขั้นต�่ำ ซึ่งเป็นเรื่องที่เจ้าของ ธุรกิจและผู้บริหารมีความกังวลว่าจะส่งผล
ให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น แต่เมื่อบริษัทมีภาระ ทางภาษีที่ต�่ำลงในอัตราร้อยละ 10 ค่าจ้าง ขั้นต�่ำที่ปรับขึ้นจึงอาจมีผลกระทบเพียง เล็กน้อยต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท การที่ธุรกิจสามารถประหยัดภาษีได้มากกว่า ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นของค่าจ้างขั้นต�่ำนั้นอาจ กระตุ้นให้เกิดการจ้างงานมากขึ้นเนื่องจากมี ทุนมากขึ้นส�ำหรับการลงทุนและขยายธุรกิจ นักธุรกิจและผู้บริหาร พบว่าบรรยากาศใน การท�ำธุรกิจในประเทศไทยในระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมามีความท้าทายเป็นอย่างมากโดย มีสาเหตุมาจาก ความไม่สงบทางการเมือง ภัยพิบัติทางธรรมชาติ และการเปลี่ยนแปลง ของเศรษฐกิจทั่วโลก ประกอบกับการ แข่งขันที่จะเพิ่มขึ้นจากประเทศสมาชิก อาเซียน เนื่องจากการเกิดขึ้นของ AEC และการเปิดประเทศของพม่า ดังนั้น นักธุรกิจและผู้บริหารระดับอาวุโสจึง ต้อนรับการลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ของรัฐบาล ซึ่งถือเป็นก้าวส�ำคัญส�ำหรับ ธุรกิจและอนาคตของเศรษฐกิจไทยและ หวังว่ามาตรการทางภาษีต่างๆ ที่เอื้อต่อ การลงทุนจะมีมากขึ้น
Since the 2008 collapse of Lehman Brothers many have predicted the collapse of the euro. Yet now it is still trading to the US dollar at almost the same rate as when it was launched in 1999. A look back at history shows why.
has been flawed from the start. Firstly, a currency must have an economic foundation. At the outset a set of fiscal rules was instated but was insufficiently enforced due to members’ sovereignty.
The euro is the currency of the European Union (EU). Many believe that if the euro fails, the EU might eventually unravel.
Secondly, the European Central Bank (ECB) was forbidden to rescue member states from financial difficulties, but no other mechanism such as a firewall or bailout fund was put in its place.
Created after World War II, the European Economic Community (EEC), and subsequently the EU, replaced the political model of competing sovereign nations dating from the Treaty of Westphalia in 1648, which ended the Thirty Years War. However, far from ending war, wars continued as nations competed for dominance. They became bloodier as technology advanced, culminating in the World Wars. The main objective of the EU was to end European wars with a model of cooperating nations, resolving differences peacefully through legal
Finally, the financial markets misunderstood the euro and misallocated risk by not recognizing that each country’s bond, though in euro, stands alone. This can be seen in the interest rates of individual country bonds, which converged after the launch of the euro. All but the strongest country rates diverged back to pre-euro levels after the Lehman crash when the reality of the risk was realized. Until that moment countries with high rates before the euro could borrow at the same rates as countries
structures in supranational institutions. The formation of the EU and a common currency was primarily a political strategy with an economic outcome. The EU has been very successful. However, partly because of its cooperative political base, the euro
like Germany. And they did. Much of these borrowings have gone into expenditure which has generated employment but which was not based on sound economic fundamentals. If it were a federation, indebtedness between countries could be offset.
But Europe is not a federation. It must find a cooperative way to put strong fiscal disciplines in place, build an effective firewall and deal with the over-indebtedness of its members. Inevitably the need to cooperate means issues take time to resolve. This doesn’t suit money markets, diminishes confidence and inhibits investment and growth. The EU has allowed the ECB to fund European banks with low rate loans, reducing the dependence of the European banks on global lenders, who wanted increasing interest rates to cover their risks. This permitted the unsustainably high bond rates for Italy and Spain to fall to manageable levels. Polls show a majority of people in the Eurozone believe in the currency. This is still the case even as the austerity programs are being rejected by the electorates and government leaderships are changing. The euro is considered essential to prevent members from diverging politically and
economically. Even at the height of the debt crisis in Greece, a poll showed most Greeks want to keep the euro. This belief gives European politicians a mandate to ensure the euro survives as a major global currency.
REACH | P.15
INTEREST RATES ON 10 YEAR GOVERNMENT BONDS:
Sources: http://sdw.ecb.europa.eu http://tradingeconomics.com
นับจากการประกาศล้มละลายของกลุ่ม บริษัท เลห์แมนบราเธอร์ส จ�ำกัด (Lehman Brothers) ในปี ค.ศ. 2008 หลายคนได้ออก มาคาดการณ์ถึงการล่มสลายของเงินยูโร ทว่าอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างเงินยูโรกับเงิน ดอลล่าร์สหรัฐฯ ในปัจจุบัน ยังอยู่ในอัตราที่ เกือบจะเท่ากับอัตราแรกเริ่มในปี ค.ศ. 1995 เราลองมองย้อนกลับไปแล้วจะพบว่าเพราะ เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ยูโรเป็นสกุลเงินของประเทศในกลุ่มสหภาพ ยุโรป (European Union, EU) หลายคนเชื่อ ว่าถ้าเงินยูโรล่มสลาย การรวมตัวกันของ สหภาพยุโรปก็จะล่มสลายไปด้วยในที่สุด หลังสิน้ สุดสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ประชาคม เศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community or EEC) ซึง่ ในปัจจุบนั พัฒนา เป็นกลุม่ สหภาพยุโรป ได้ถกู ก่อตัง้ ขึน้ โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ แทนทีร่ ปู แบบทางการเมืองที่ มีการแข่งขันกันในกลุม่ ประเทศรัฏฐาธิปตั ย์ (แต่ละประเทศปกครองตนเองภายใต้อำ� นาจ อธิปไตย) ซึง่ ก่อนหน้านัน้ ในปี ค.ศ. 1648 ได้มกี ารบัญญัตสิ ญั ญาสันติภาพเวสต์ฟาเลีย เพือ่ ยุตสิ งครามสามสิบปี (The Thirty Years War) แต่ถงึ แม้สงครามจะสิน้ สุดเป็นเวลานาน แล้ว หลายๆ ประเทศก็ยงั คงแข่งขันกันเพือ่ ให้ ได้มาซึง่ อ�ำนาจทีเ่ หนือกว่า การแข่งขันยิง่ ทวี ความรุนแรงมากขึน้ เมือ่ มีการค้นคว้าพัฒนา เทคโนโลยีตา่ งๆ จนน�ำไปสูส่ งครามโลก วัตถุประสงค์หลักของการก่อตั้งสหภาพยุโรป คือ เพื่อยุติสงครามต่างๆ ที่เกิดขึ้นในยุโรป ผ่านรูปแบบองค์กรความร่วมมือระหว่าง ประเทศ ซึ่งท�ำหน้าที่แก้ปัญหาความขัดแย้ง อย่างสันติ ผ่านโครงสร้างทางกฏหมายใน องค์กรที่อยู่นอกอ�ำนาจของรัฐบาล การก่อตั้ง สหภาพยุโรป และการใช้สกุลเงินร่วมกัน เป็นกลยุทธ์ทางการเมืองที่ส�ำคัญที่ก่อให้เกิด ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สหภาพยุโรปได้
ประสบความส�ำเร็จอย่างสูง ส่วนหนึ่งเกิดจาก การร่วมมือกันทางการเมือง ในขณะที่ส่วน ของเงินยูโรกลับมีข้อผิดพลาดบางประการ ตั้งแต่แรกเริ่ม ประการแรก สกุลเงินที่ดีนั้นจ�ำเป็นต้องมี รากฐานทางเศรษฐกิจที่ดี ในขณะเริ่มบังคับ ใช้เงินยูโรได้มีการก�ำหนดกฎระเบียบทาง การคลัง แต่ไม่ได้มีการบังคับใช้อย่างเข้มงวด เนื่องจากแต่ละประเทศสมาชิกต่างก็มีอ�ำนาจ อธิปไตยเป็นของตนเอง ประการที่ 2 ธนาคารกลางยุโรป (European Central Bank, ECB) ถูกห้ามไม่ให้ช่วยเหลือ รัฐสมาชิกที่ประสบปัญหาทางการเงิน แต่ขณะเดียวกันกลับไม่มีกลไกในการช่วย เหลือด้านอื่นๆ มารองรับ เช่น นโยบาย ป้องกัน หรือกองทุนช่วยเหลือฉุกเฉิน ประการสุดท้าย ตลาดการเงินต่างๆ มีความ เข้าใจผิดๆ เกีย่ วกับเงินยูโร และมีการกระจาย ความเสีย่ งที่ไม่ถกู ต้องนัก ทัง้ นีเ้ กิดจากการที่ ตลาดการเงินไม่ตระหนักว่า พันธบัตรรัฐบาล ของประเทศต่างๆ แม้จะมีคา่ เงินตามสกุลยูโร แต่พนั ธบัตรของประเทศเหล่านัน้ ต่างก็เป็น อิสระจากกัน เห็นได้จากอัตราดอกเบีย้ พันธบัตรรัฐบาลของแต่ละประเทศทีเ่ ริม่ เท่าเทียมกันภายหลังการบังคับใช้เงินยูโร อัตราดอกเบีย้ ของทุกประเทศยกเว้นประเทศที่ แข็งแกร่งทีส่ ดุ กลับสูส่ ภาวะก่อนเริม่ ใช้เงินยูโร หลังการล้มละลายของกลุม่ บริษทั เลห์แมน บราเธอร์ส หลังจากความเสีย่ งได้ปะทุขนึ้ โดยก่อนหน้านัน้ ประเทศทีเ่ คยมีอตั รา ดอกเบีย้ สูงก่อนการใช้เงินยูโร สามารถกูย้ มื เงินได้ในอัตราดอกเบีย้ เท่ากับกลุม่ ประเทศทีม่ ี อัตราดอกเบีย้ ต�ำ่ เช่น เยอรมนี สิง่ เหล่านัน้ ก็ มักจะถูกใช้ไปอย่างไม่คมุ้ ค่า ประเทศผูก้ ยู้ มื เงินเหล่านีส้ ว่ นใหญ่นำ� เงินกูไ้ ปใช้จา่ ยเพือ่ การ จ้างงาน ซึง่ ไม่อยูบ่ นพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจที่ มัน่ คง
ส�ำหรับระบบสหพันธรัฐ หนี้ระหว่างประเทศ สามารถหักกลบกันได้ แต่เนื่องจากยุโรป ไม่ใช่สหพันธรัฐ จึงมีความจ�ำเป็นต้องหาวิธี ร่วมมือกันระหว่างสมาชิกในการสร้างกฏการ เงินที่รัดกุมและนโยบายป้องกันทางการเงินที่ มีประสิทธิภาพ ตลอดจนการจัดการกับภาวะ หนี้สินสูงกว่าปกติของประเทศสมาชิก อย่างไรก็ตาม สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ก็คือความ ล่าช้าอันเกิดจากการปรึกษาหารือระหว่าง สมาชิกในการจัดการปัญหาต่างๆ ร่วมกัน ซึ่งนั่นไม่เหมาะกับตลาดเงินที่ต้องอาศัยการ จัดการอย่างทันท่วงที ทั้งยังท�ำลายความ เชื่อมั่นและมีส่วนยับยั้งการตัดสินใจลงทุน และชะลอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ สหภาพยุโรปได้อนุญาตให้ธนาคารกลางยุโรป ปล่อยกู้แก่ธนาคารต่างๆ ในภูมิภาคด้วยอัตรา ดอกเบี้ยต�่ำ เพื่อลดการพึ่งพาองค์กรการเงิน อื่นๆ ที่มักจะปล่อยเงินกู้ในอัตราดอกเบี้ยสูง เพื่อควบคุมความเสี่ยงต่างๆ การปล่อยกู้ ดอกเบี้ยต�่ำโดยธนาคารกลางยุโรปส่งผลให้ ดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาลในอิตาลีและสเปนที่ เคยมีอัตราสูงลดต�่ำลงมาอยู่ในระดับที่ สามารถจัดการได้ อย่างไรก็ตาม ผลส�ำรวจแสดงให้เห็นว่า ประชากรส่วนใหญ่ในกลุ่มประเทศยูโรโซนยัง คงเชื่อมั่นในเงินยูโร แม้ว่านโยบายรัดเข็มขัด ก�ำลังถูกต่อต้านจากประชาชนผู้มีสิทธิ์ออก เสียงเลือกตั้ง และมีการเปลี่ยนแปลงคณะ รัฐบาล เงินยูโรถูกมองว่าเป็นตัวสมานความ แตกต่างทางการเมืองและเศรษฐกิจของ สมาชิกประเทศ แม้แต่ในภาวะตึงเครียดของ วิกฤติหนี้สินในประเทศกรีซ ผลส�ำรวจเปิด เผยว่าประชาชนชาวกรีซส่วนใหญ่ยังคง ต้องการเก็บเงินยูโรไว้ ความเชื่อมั่นดังกล่าว เปรียบเสมือนข้อบังคับที่ท�ำให้นักการเมืองใน ภูมิภาคยุโรปต้องท�ำทุกวิถีทางเพื่อให้เงินยูโร คงอยู่เป็นสกุลเงินหลักของโลกต่อไป
The Name GAME
ชื่อนั้นสำ�คัญไฉน?
CULTURE SHOCK
REACH | P.17
Words: Kate Jackson Manager, KPMG Thailand
FIRST NAME BASIS OR FIRST NAME TERMS To have a relationship close enough to call each other by first names, instead of title followed by last name. เมื่อเริ่มรู้จักคุ้นเคยกับคู่สนทนามากขึ้น ก็อาจจะเรียกชื่อต้นของคู่สนทนาแทน การเรียกโดยใช้คำ�นำ�หน้าชื่อตามด้วย นามสกุล
In our globalized world, it’s not unusual to find staff reassigned to other countries. Seeing how different cultures and communities get the job done broadens our perspective while bringing into focus differences in culture, behavior and etiquette. “At first I found names very confusing,” said Rachel Stevens, from KPMG UK in Nottingham. “Even with a name card to refer to, people have nicknames and titles such as ‘Pi,’ ‘Nong,’ and ‘Khun’ so I never knew what to call someone. I’m not used to addressing someone by age or rank.” Laughing, she continued, “I’m not sure if I could get used to being addressed as ‘older than someone.” In comparison, non-English speakers may also feel confused about how to address people. Overall, Westerners feel comfortable being addressed by their first name because there isn’t as much cultural value placed on hierarchy. However, in business situations start with a formal title and last name, for example Mr. Smith, until you develop a relationship. You may have heard of people being on “a first name basis” or “first name terms.” No matter your nationality, you’re not the only one wondering about titles, names and what to call your colleagues and managers. Break the ice and forge better relationships by simply asking, “What should I call you?” “How do I pronounce that?” Or you may even reach out and say, “You can call me……”
ในยุคโลกไร้พรมแดน ไม่ใช่เรือ่ งแปลกทีพ่ นักงานจะถูกส่งไปท�ำงานในประเทศต่างๆ การได้ทำ� งานในสังคมต่างวัฒนธรรมถือเป็นการเปิดโลกทัศน์ และท�ำให้ได้เรียนรูถ้ งึ ความแตกต่างทัง้ ในเรือ่ งของ วัฒนธรรม พฤติกรรม และมารยาททางสังคม “ตอนแรกๆ ฉันสับสนเรือ่ งชือ่ ของคนไทยเป็นอย่างมาก” เรเชล สตีเฟ่น จาก เคพีเอ็มจี ประเทศอังกฤษ สาขา นอตทิงแฮม กล่าว “ถึงแม้วา่ ฉันจะเรียกชือ่ คน ไทยตามนามบัตรแล้วก็ตาม แต่คนไทยก็มชี อื่ เล่น และค�ำน�ำหน้าชือ่ มากมาย เช่น ‘พี’่ , ‘น้อง’ และ ‘คุณ’ ฉันจึงไม่รวู้ า่ ควรจะเรียกคนอืน่ ยังไง ฉันไม่ชนิ กับการเรียก คนอืน่ ตามอายุ หรือต�ำแหน่ง” เรเชลหัวเราะและกล่าวต่อว่า “ฉันไม่แน่ใจว่าฉันจะ เคยชินกับการถูกเรียกโดยมีนยั ยะว่าฉัน ’แก่กว่า’ คนอืน่ ได้ยงั ไง” ในทางกลับกัน คนที่ไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักก็อาจรูส้ กึ สับสนว่าควรจะ เรียกชาวต่างชาติอย่างไรเช่นกัน โดยทัว่ ไปแล้ว ชาวตะวันตกสะดวกใจทีจ่ ะถูกเรียก โดยชือ่ ต้น ซึง่ อาจเป็นเพราะวัฒนธรรมตะวันตกไม่ได้เน้นเรือ่ งล�ำดับชัน้ ทางสังคม มากนัก อย่างไรก็ตาม ในทางธุรกิจ ช่วงแรกๆ คุณอาจจะเรียกชือ่ ผูอ้ นื่ โดยใช้คำ� น�ำ หน้าชือ่ ตามด้วยนามสกุล เช่น ‘Mr. Smith’ จนกว่าจะเริม่ รูจ้ กั คุน้ เคยกันมากขึน้ ก็อาจจะเรียกชือ่ ต้นของคูส่ นทนา ไม่วา่ คุณจะเป็นคนชาติไหน คุณไม่ใช่คนเดียวทีม่ ขี อ้ สงสัยเกีย่ วกับค�ำน�ำหน้าชือ่ ชือ่ หรือค�ำทีค่ วรใช้เรียกเพือ่ นร่วมงาน หรือหัวหน้างาน คุณอาจเริม่ ต้นผูกมิตรโดย การตัง้ ค�ำถามง่ายๆ เช่น “ฉันควรจะเรียกคุณว่าอย่างไร?” “ฉันควรจะออกเสียงว่า อย่างไร?” หรือคุณอาจจะบอกกับคูส่ นทนาโดยตรงว่า “คุณสามารถเรียกฉันว่า....”
Feedback: Please send questions and comments to reach@kpmg.co.th
Contact us KPMG Thailand Office 48th Floor, Empire Tower 195 South Sathorn Road Bangkok 10120, Thailand T: +66 (2) 677 2000 www.kpmg.co.th
STAY CONNECTED
REACH: http://bit.ly/kpmg-reach
The information contained herein is of a general nature and is not intended to address the circumstances of any particular individual of entity. Although we endeavor to provide accurate and timely information, there can be no guarantee that such information is accurate as of the date it is received or that it will continue to be accurate in the future. No one should act on such information without appropriate professional advice after a thorough examination of the particular situation. Printed on SCG Green Matt Paper made from 60% EcoFiber. EcoFiber is high-quality environmental-friendly fiber obtained from waste and recycled materials collected outside the mill. With effective sorting, good management and comprehensive control system, EcoFiber distinctively delivers high quality performance while preserving the environment.
Twitter : @KPMG_TH Facebook : facebook.com/KPMGinThailand Youtube : youtube.com/KPMGinThailand
© 2012 KPMG Phoomchai Holdings Co.,Ltd., a Thai limited liability company and a member firm of the KPMG network of independent member firms affiliated with KPMG International Cooperative (“KPMG International”), a Swiss entity. All rights reserved. Printed in Thailand.