รายงานผลโครงการเรียนรู้ด้านบัญชีบริหารครัวเรือน ณ บ้านปราญช์เศรษฐกิจพอเพียง

Page 1

รายงานผลการดําเน า ิ นงาน โครงกาารส่งเสริมและพัฒนาาศักยภาพนนิสิตการเรียนรูก้ ารบัญชี ญ บริหารภภาคครัวเรือน/ น บุคคล ณ บ้านปราาชญ์แผ่นดินด้ น านเศรษฐฐกิจพอเพียง ย ศูนย์กสิกรรมธรรมช ก ชาติสองสลึง โครงกาารบูรณากาารวิชาการรสู่สงั คม กาารสร้างพืน้ ทีอ่ าหารแด่ด่บา้ นพักคนนชรา บางละะมุง ด้วยศาสตร์การพึง่ ตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิ ญ จพอเพียง

ผศ. พัชั นิจ เนาววพันธ์ ผูร้ บผ บั ิดชอบโคครงการ ---------------สาขาวิชาการบั ช ญชีบริหารคณ ณะวิทยากาารจัดการ มหาวิทยาลั ท ยเกษ ษตรศาสตร์ร์วิทยาเขตศศรีราชา


 รายงานประกันคุณภาพระดับหลักสูตร องค์ประกอบที่ 3 นิสติ ตัวบ่งชีท้ ่ี 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานิสติ

 รายงานประกันคุณภาพระดับคณะวิชา องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชีท้ ่ี 1.6 การส่งเสริมและพัฒนานิสติ องค์ประกอบที่ 3 ตัวบ่งชีท้ ่ี 3.1

การบริการวิชาการ โครงการบริการวิชาการประจําปี ทส่ี อดคล้องกับความต้องการ ของสังคม เพือ่ ให้เกิดผลต่อการพัฒนานิสติ ชุมชนหรือสังคม ในลักษณะโครงการให้ฟรี

 กิจกรรมนี้จดั ขึน้ เพิม่ เสริมสร้างและพัฒนานิสติ ตามมาตรฐานคุณวุฒแิ ละสภาพล้อมศตวรรษที่ 21  คุณธรรม จริยธรรม  ความรู้  ทักษะปญั ญา  การเรียนรูต้ ามสภาพแวดล้อมการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21


สารบัญ หน้ า บทนํา เอกสารประจําโครงการ ข้อมูลโครงการ ทีม่ าและความสําคัญ วัตถุประสงค์ ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั กําหนดการ งบประมาณค่าใช้จา่ ย การดําเนิ นการโครงการและผลดําเนิ นการ รายชื่อนิสติ เข้าร่วมกิจกรรม เนื้อหาโดยสังเขปจากการเรียนรูข้ องนิสติ การบัญชีบริหารภาคครัวเรือน/บุคคล การเรียนรู้ ณ มูลนิธกิ สิกรรมธรรมชาติ ศูนย์สองสลึง โมเดลความสําเร็จ 5 ไร่ พอเพียง 3 ไร่ ใกล้เกษียณ 1 ไร่ พึง่ ตนเอง ไม่มซี กั ไร่ ผลประเมินความพึงพอใจโครงการโดยนิสติ การบูรณาการองค์ความรู้ การประยุกต์องค์ความรูต้ ่างๆ สําหรับโมเดลนิสติ เอง การบูรณาการวิชาการสูส่ งั คม

1 2 3 3 4 5 6 7 8 13 13 17 32 32 31 33 33 34 36 36 42


1

เอกสารประจําโครงการ


2


3

ข้อมูลโครงการ ที่มาและความสําคัญ ประเทศไทยประสบวิกฤตเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ไร้เสถียรภาพทางการผลิตและการค้าอยู่ ตลอดเวลาอันเนื่องมาจากหลายสาเหตุดว้ ย แต่สาเหตุหนึ่งเพราะกระบวนทัศน์ทป่ี ลูกฝงั ประชากรส่วน ใหญ่เป็ นไปตามระบบทุนนิยม ไม่มงุ่ เน้นหลักการพึง่ ตนเองตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไม่มกี ารน้อมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ทงั ้ ระบบ ประชากรส่วนใหญ่ไม่สามารถพึง่ ตนเองได้ ภายในครัวเรือน ชุมชน องค์การ สังคม และในภาครวมทัง้ ประเทศ ประชากรส่วนใหญ่ไม่เข้าใจปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงอย่างลึกซึง้ โดยเฉพาะหลักคิดบันได ๙ขัน้ สูค่ วามพอเพียง บัณฑิต ที่จบการศึกษาในสาขาการบัญชีบ ริหารจะมีบ ทบาทสําคัญตัง้ แต่ ก ารวางระบบ การ จัดการสารสนเทศ การสะท้อนผลการดําเนินงานทัง้ ทีเ่ ป็ นตัวเลขและไม่เป็ นตัวเลข เพื่อเป็ นข้อมูลสําคัญ เพื่อการบริหารองค์การให้มปี ระสิทธิภาพ โดยสําหรับการประกอบการในยุคปจั จุบนั ทีม่ กี ารแข่งขันสูง ต้นทุนปจั จัยการผลิตทีม่ กี ารปรับราคาสูงขึน้ อย่างต่อเนื่อง องค์การทีจ่ ะอยูร่ อดได้จะมีการบริหารจัดการ ปจั จัยการผลิตภายในให้มกี ารเกื้อหนุ นกัน ลดต้นทุนการผลิตให้ต่ําสูดและก่อให้เกิดผลิตผลมากที่สุด เพื่อส่งผลให้ในภาพรวมมีผลประกอบการที่น่าพอใจ หลากหลายปจั จัยเหล่านี้มคี วามจําเป็ นอย่างยิง่ ที่ บัณฑิตจะต้องได้รบั ความรู้จากชัน้ เรียนซึ่งมาจากหลากหลายวิชา แต่ เ พื่อเพิม่ สมรรถนะการเรียนรู้ จําเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องได้เรียนรู้จากตัวอย่างจริง จากผู้ทรงคุณวุฒทิ ่ไี ด้รบั การยอมรับจากสังคม มี ผลงานเชิงประจักษ์ มีความเข้าใจอย่างดีเยีย่ มทัง้ ศาสตร์และศิลป์ เพื่อนิสติ ได้จะได้สามารถประยุกต์ องค์ความรู้ได้เหมาะสมสําหรับตน ครอบครัว องค์การ ชุมชนและชาติ ตามลําดับ ตามหน้ าที่งานที่ จะต้องไปปฏิบตั ติ ่อไปในอนาคต

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อ ให้นิ ส ิต ได้เ ข้า ใจหลัก การพึ่ง ตนเองตามปรัช ญาเศรษฐกิจ พอเพีย ง ที่เ ห็น ผลอย่า งเป็ น รูปธรรม 2. เพือ่ ให้นิสติ ได้เข้าใจหลักการบริหารต้นทุนทัง้ ระบบอย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อให้นิสติ เข้าใจแนวทางการลงทุนและผลตอบแทนสําหรับการลงทุนระยะสัน้ และระยะยาว สําหรับการทําฟาร์มทางการเกษตร และสวนปา่ 4. เพือ่ ให้นิสติ ตามประยุกต์องค์ความรูท้ างด้านบัญชีมาประยุกต์ใช้สาํ หรับฟาร์มทางการเกษตรและ ส่วนปา่ หรือแม้แต่สาํ หรับบุคคลและครอบครัว ตามวงจรเดมมิง่ (PDCA)


4

ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รบั 1. นิ สิต สามารถจัด ทํ า แผนงบประมาณสํ า หรับ บุ ค คลหรือ สํ า หรับ ครัว เรือ น การวิเ คราะห์ งบประมาณ การวางแผนแนวทางการพัฒนาการพึง่ พาตนเองภายในครัวเรือน ตลอดจนการ พัฒนาฐานะการเงินของบุคคล/ครอบครัว ได้ 2. นิสติ สามารถเข้าใจหลักการบริหารต้นทุนในเชิงองค์รวมให้มปี ระสิทธิภาพสูง ส่งผลดี 3. นิสติ สามารถวิเคราะห์และวางแผนแปลงได้ ถึง รายได้รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน รายปี ราย 10ปี 15ปี 30ปี ตลอดจนต้นทุนทีภ่ ายในแปลง และสะท้อนออกมาในรูปแบบรายงานการเงินได้ 4. นิ สติ ทราบถึงแนวทางการในการลงทุนระยะยาวอีกชนิ ด ทีดีต่อระบบนิเวศน์ และสรรพชีวิต นอกเหนือจากการซือ้ กองทุนประเภทต่างๆ


5

กําหนดการ โครงการเรียนรูบ้ ญ ั ชีบริหารภาคครัวเรือน ณ บ้านปราชญ์แผ่นดินทางด้านเศรษฐกิจพอเพียง ผูใ้ หญ่สมศักดิ ์ เครือวัลย์ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ อ.แกลง จ.ระยอง

วันเสาร์ที่ 15 สิ งหาคม 2558 9.00-12.00 น.  แนะนําการจัดกระบวนการเรียนรูท้ งั ้ หมดของโครงการบัญชีบริหารภาคครัวเรือน  การวางแผนงบประมาณสําหรับครัวเรือน  การวิเคราะห์แผนงบประมาณ และการวางแผนเพือ่ การพัฒนางบประมาณ ครัวเรือนด้วยหลักการพึง่ ตนเอง  การจัดทําบัญชีสาํ หรับครัวเรือน  ต้นทุนและผลตอบแทนสําหรับ การปลูกสร้างสวนปา่ ในรูปแบบสวนปา่ สวนสมรม เกษตรผสมผสาน เกษตรประณีต (โดย ผศ.พัชนิจ เนาวพันธ์) วันอาทิ ตย์ ที่ 16 สิ งหาคม 2558 6.00 น. ออกเดินทางจากวิทยาเขต 9.00-10.00 น.

ผูอ้ าํ นวยศูนย์เปิ ดโครงการเรียนรู้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แบ่งกลุ่มย่อย เข้าฐานการเรียนรู้

เรียนรูก้ ารจัดการปจั จัยการผลิต การจัดการพลังงาน พักรับประทานอาหารเทีย่ ง การจัดการพลังงาน การจัดการปา่ ไม้ 14.00-15.00 น. ศึกษาพืน้ ทีโ่ มเดลต้นแบบ 16.00-16.30 น. สรุปผลเรียนรู้ กล่าวขอบคุณและมอบของทีร่ ะลึก ปราชญ์และทีมวิทยากรร่วม 10.00-11.00 น. 11.00-12.00 น. 12.00-13.00 น. 13.00-14.00 น.

(โดยปราชญ์แผ่นดิน ผูใ้ หญ่สมศักดิ์ เครือวัลย์ และทีมวิทยากรร่วม)


6

งบประมาณค่าใช้จ่าย โครงการเรียนรูบ้ ญ ั ชีบริหารภาคครัวเรือน ณ บ้านปราชญ์แผ่นดินทางด้านเศรษฐกิจพอเพียง ผูใ้ หญ่สมศักดิ ์ เครือวัลย์ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ อ.แกลง จ.ระยอง

(บาท) ค่าตอบแทน ค่าตอบแทนวิทยากรหลัก ค่าตอบแทนวิทยากรร่วม ค่าตอบแทนนิสติ ช่วยงาน ค่าใช้สอย ค่าใช้จา่ ยในการเดินทาง ค่าประกาศนียบัตร (150 ใบ ใบละ 5 บาท) ค่าเอกสารอบรม ค่าจัดทําเอกสารรายงานโครงการ (1)รายงานผลการดําเนินงาน (2)ประกันคุณภาพ (3)กิจกรรมนิสติ

3,000.3,500.50030,000.500.1,5001,000-

40,000


7

การดําเนินการโครงการและผลดําเนินการ


8

รายนิสิตเข้าร่วมกิจกรรม

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วทิ ยาเขตศรีราชา โครงการเรียนรู้ "การบัญชีบริหารภาคครัวเรือน/บุคคล ณบ้านปราชญ์แผ่นดินด้านเศรษฐกิจพอเพียง" ลําดับ

รหัสประจําตัว

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29

5330110483 5630110012 5630110021 5630110039 5630110047 5630110055 5630110063 5630110071 5630110080 5630110098 5630110101 5630110110 5630110128 5630110136 5630110144 5630110152 5630110161 5630110179 5630110187 5630110195 5630110209 5630110217 5630110225 5630110233 5630110241 5630110250 5630110268 5630110276 5630110292

ชื่อ-สกุล

นางสาวธิดารัตน์แก้วดารา นางสาวกนกวรรณช.เจริญยิง่ นางสาวกนกวรรณเหมือนสนธิ ์ นางสาวกรกนกเสาเวียง นางสาวกฤติยาภรณ์บุญรอด นางสาวกวินนาฏ ชื่นสุข นางสาวกัญญาณัฐบํารุงโลก นางสาวกัณฐิกาเพ็ชรยิม้ นายกันตสิทธิ ์ ว่องไวเจริญศิริ นางสาวกันตาดวงใหญ่ นางสาวขนิษฐาดียงิ่ นางสาวขวัญจิราพรหมสิทธิ ์ นายเขมรุจิ ์ ปวงรังษี นายคณินวิรฬุ หธรรม นางสาวจิดาภาบํารุงปรีชา นางสาวจิตตญาสิรสิ มั พันธ์นาวา นางสาวจิรชั ญาเพชรเชย นางสาวชนินาถลําภูเงิน นางสาวประภาภัสแสงจํารัสพงศ์ นางสาวชาสิณสี ขุ สอาด นายฐาปกรณ์มงคลแก่นทราย นางสาวณัฐชา เชือ้ จาด นางสาวณัฐธิดา คลายคลี่ นางสาวณัฐยิ าสุทธิธรรม นายดนัยวิชญ์อศิ รางกูร ณ อยุธยา นายกุญช์ฐาณ์ดอกไม้ นายธนกรสงชาติ นายธนวัฒน์จนั ทรเมฆินทร์ นางสาวธัญชนกแสงมณี

สาขา

บัญชีบริหาร 15/8/2558

ศูนย์สองสลึง 16/8/2558

R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13

                           

                           


9

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วทิ ยาเขตศรีราชา โครงการเรียนรู้ "การบัญชีบริหารภาคครัวเรือน/บุคคล ณบ้านปราชญ์แผ่นดินด้านเศรษฐกิจพอเพียง" ลําดับ

รหัสประจําตัว

ชื่อ-สกุล

สาขา

บัญชีบริหาร 15/8/2558

30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59

5630110306 5630110314 5630110331 5630110349 5630110357 5630110365 5630110373 5630110381 5630110390 5630110403 5630110420 5630110438 5630110446 5630110454 5630110462 5630110471 5630110497 5630110501 5630110527 5630110535 5630110560 5630110578 5630110586 5630110594 5630110608 5630110616 5630110632 5630110641 5630110659 5630110667

นางสาวธัญญเรศรัตนเศียร นางสาวธัญญาเรศอับดุลเลาะ นางสาวธาริณเี ฟื่องฟู นางสาวธิษริ นิ ทร์ปญั ญายุทธศักดิ ์ นายธีรพงษ์มติ ราเวคิน นางสาวนภาพรสุตะพันธ์ นางสาวนริษา คุณะชล นางสาวนัทธมน ปทั มกุลชัย นางสาวนัธธรีธารีไทย นายนันทพัทธ์สาํ แดงเดช นางสาวนิสาชลธรรมอิทธิศกั ดิ ์ นางสาวนุ สราทับทิม นางสาวเบญจพรเมืองแมะ นางสาวเบญจวรรณดวงสุวรรณ นางสาวปภัสกรกุลจรัสโรจน์ นางสาวปภาวดีชอบธรรม นางสาวประภัสสรฐิตริ ฐั อมรกิจ นางสาวปิยพร จําปาทอง นายปุญญพัฒณ์กอบการพงศ์ นางสาวปุญญพัฒน์ภาคการ นายพลัฏฐ์เนตรเจริญ นางสาวพาขวัญยงอุดมทรัพย์ นายพิธวิ ฒ ั น์ รัตนไกรศรี นางสาวพิมพ์มาดาวรรณาปรีชาวัฒน์ นางสาวเพ็ญนภาโชคศักดิ ์ศรีกุล นางสาวแพรลลิล แก้วมณี นายภาณุวฒ ั น์วฒ ั นพนม นายภานุพฒ ั น์นิรนพรัตน์ นางสาวภาพิมลประดับวัน นางสาวภาวินี จิตรเอือ้ ตระกูล

R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13

                             

ศูนย์สองสลึง 16/8/2558

                             


10

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วทิ ยาเขตศรีราชา โครงการเรียนรู้ "การบัญชีบริหารภาคครัวเรือน/บุคคล ณบ้านปราชญ์แผ่นดินด้านเศรษฐกิจพอเพียง" ลําดับ

รหัสประจําตัว

60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89

5630110675 5630110683 5630110691 5630110713 5630110721 5630110730 5630110748 5630110764 5630110772 5630110781 5630110799 5630110802 5630110811 5630110837 5630110845 5630110853 5630110861 5630110870 5630110888 5630110896 5630110900 5630110918 5630110926 5630110934 5630110951 5630110969 5630110977 5630110985 5630110993 5630111001

ชื่อ-สกุล

นางสาวมณฑกานต์ชอ่ วิเชียร นายมานิตประทุม นางสาวเมธนีราศรี นางสาวรพีพรรณสุพรรณพงศ์ นางสาวรัฐณีภรณ์ชยั ชมภู นางสาวรัตติกาลทองภาพ นางสาวรุง่ นภา พรมอัตถ์ นายวริศม้วนเงิน นางสาววริศราสุวรรณรัตน์ นางสาวศศิชาเหลืองห่อ นางสาวศิรประภาศิรพิ พิ ฒ ั น์ นางสาวศุจนิ นั ท์กาสินธุ์ นายศุภชัยขอประเสริฐ นางสาวสกลวรรณวงศ์สวนนท์ นายสมัชญ์ลไ้ี พโรจน์กุล นายสัภยาแช่มทิม นางสาวสิราวรรณสุเฌอ นางสาวสุดารัตน์ จงหวัง นางสาวสุพชิ า สุขถนอม นางสาวสุภาพรตาลพิลา นางสาวสุภาวิตา มังนิ ่ มติ ร นางสาวสุรชั นาเนาวรัตน์ นางสาวสุวนันท์ขวัญเมืองแก้ว นางสาวสุวนันท์ คินาพิทย์ นางสาวอภิชญาฉายานนท์ นายอมรเทพอมรพัชระ นางสาวอมรรัตน์หมัดอะดํ้า นายอรรถกร เสริมทรัพย์ นางสาวอวัศยาเอนกธนะเศรษฐ์ นางสาวอาภาภรณ์ทเี จริญ

สาขา

บัญชีบริหาร 15/8/2558

ศูนย์สองสลึง 16/8/2558

R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13

                             

                             


11

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วทิ ยาเขตศรีราชา โครงการเรียนรู้ "การบัญชีบริหารภาคครัวเรือน/บุคคล ณบ้านปราชญ์แผ่นดินด้านเศรษฐกิจพอเพียง" ลําดับ

รหัสประจําตัว

90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119

5630111019 5530160433 5630160010 5630160044 5630160087 5630160109 5630160117 5630160150 5630160176 5630160206 5630160214 5630160231 5630160249 5630160257 5630160273 5630160281 5630160320 5630160338 5630160346 5630160354 5630160362 5630160371 5630160389 5630160397 5630160401 5630160460 5630160478 5630160486 5630160508 5630160524

ชื่อ-สกุล

นางสาวอิฏฐพรศรีสองเมือง นางสาวพิญรัตน์ แสงธรรมทวี นางสาวกนกพรน้อยเนตร นายก้องภพสุทธิรตั น์ นางสาวเขมณัฏฐ์สมรรคกาญจน์ นางสาวจรินทิพย์ พังสุบรรณ์ นางสาวจันทร์พร ชัยเปรม นางสาวฉัตรชนกประกอบแก้ว นายชัชพลจิรพรเกษมสุข นางสาวชุตมิ ณฑน์ ศรีเปารยะ นายฐานันฎร์สนั ติวชิ ช์ นางสาวณรินทร์พรนามวิลยั นายณัชพลวงศ์เสถียร นางสาวณัฐกานต์ จงวิมาณสินธุ์ นางสาวณัฐธิดาไสวศรี นางสาวณัฐนิชาภัทรานนท์ นางสาวตวงทองมุสกิ พันธ์ นายทศพร ธนเจริญรัตน์ นางสาวทัศนียพ์ าสวัสดิ ์ นางสาวทิพยาภากลัดเชยดี นางสาวธนพรชุมผล นายธนพล วิศษิ ฏ์พทิ ยา นางสาวธนภรณ์ หนูดาํ นายธนภัทรโตสะอาด นางสาวธัญจิรา ลีละทีป นายปรินทร์ยนิ ดีภพ นายปริยวิศว์คณารักษ์สนั ติ นายปวรุตม์ชาํ นิ นายปฐั นพรรธ แรมนิล นายพรพิพฒ ั น์ พันธุน์ รา

สาขา

บัญชีบริหาร 15/8/2558

ศูนย์สองสลึง 16/8/2558

R13 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12

                             

                             


12

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วทิ ยาเขตศรีราชา โครงการเรียนรู้ "การบัญชีบริหารภาคครัวเรือน/บุคคล ณบ้านปราชญ์แผ่นดินด้านเศรษฐกิจพอเพียง" ลําดับ

รหัสประจําตัว

120 121 122 123 124 125 126 127 128 129 130 131 132 133 134 135 136 137 138 139 140 141 142 143 144 145 146

5630160541 5630160559 5630160583 5630160605 5630160621 5630160656 5630160672 5630160681 5630160702 5630160711 5630160729 5630160753 5630160761 5630160770 5630160788 5630160818 5630160834 5630160885 5630160893 5630160915 5630160940 5630160974 5630160982 5630160991 5630161041 5630161075 5630161083

ชื่อ-สกุล

นางสาวพิมพ์รกั เคล้าคล่อง นางสาวพิรญาศรีพานิชย์พนั ธ์ นางสาวภัทรสุดาก้านอินทร์ นางสาวภาวิดาเทียมวิไล นางสาวภิตนิ นั ท์ทพิ รัตน์ธนากิจ นางสาวมัชฌิมาปรีชา นางสาวเมวิตาคนหาญ นางสาวรวีพยัฆษา นางสาวรัตติยาพรภาคจิตร์ นางสาวรัตนากรโชติพมิ พ์ นางสาวรัถยา ทองน้อย นางสาววราภรณ์ การบรรจง นางสาววริศรารอดเลิศไร้ นางสาววริศรา อารมย์ดี นางสาววสิตาสุขสมนึก นางสาววิรากร มีทรัพย์ นางสาวศรัณยามงคลสวัสดิ ์ นางสาวสุทธาทิพย์หลักแหลม นางสาวสุทธิชา ตวงหิรญ ั โชติ นางสาวสุนนั ทาศิรโิ วหาร นางสาวสุปรียา สงรัตน์ นางสาวสุรภี รณ์กานต์ฉลองชัย นางสาวสุวรรณีสวุ รรณวงศ์ นายสุวจั น์ สังโอ นางสาวณัฏฐยาน์สงคราม นางสาวอุรสั ยาเหล่าเงินทอง นางสาวชาลินีหนูทอง

สาขา

บัญชีบริหาร 15/8/2558

ศูนย์สองสลึง 16/8/2558

R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12

                          

                          


13

เนื้ อหาโดยสังเขปจากการเรียนรู้ของนิสิต การบัญชีบริหารภาคครัวเรือน

ปั ญหาค่ าครองชีพ

ปั ญหาค่ าครองชีพที่มาพร้ อมกับปั ญหาสุขภาพ

ปั ญหาความเสี่ยงด้ านสุขภาวะ (โดยเฉพาะอย่ างยิ่งจากอาหารและสภาพแวดล้ อม)

ปั ญหาความเสี่ยงด้ านสุขภาวะ (โดยเฉพาะอย่ างยิ่งจากอาหารและสภาพแวดล้ อม)

คําแนะนําการจัดการทางการเงิน


14

ที่มาของเงินทุน รายรับ หัก รายจ่าย กําไร (รายรับสูงกว่ารายจ่าย) ทุน หนี ้สิน = ที่ไปของเงินทุน สินทรัพย์


15

...ฉันพูดเศรษฐกิจพอเพียงความหมายคือ ทําอะไรให้เหมาะสมกับฐานะของตัวเอง


16

ปา วนเกษตร ไรนา สวนผสม

การผลิต

ปจจัย 4 และอื่นๆ

ไมเศรษฐกิจ

เงินออม บาน, เครือ่ งเรือน เครือ่ งนอน

ไมใชสอย

พลังงาน เครือ่ งนุงหม

รายได

เหลือ กิน

ไมกินได

อาหาร

เหลือ เก็บ

เมล็ด/พันธุพืช

ยารักษาโรค

ขาย

สมุนไพรในแปลง

กําจัดวัชพืช

ปศุสัตว

ปุย

ของใชครัวเรือน

เครือ่ งครัว -น้ํามัน -น้ําปลา -น้ําตาล -ซีอ๊วิ -เตาเจี๊ยว ของใช -สบู -แชมพู -ครีมนวด -น้ํายาซักลาง


17

การเรียนรู้ ณ ศูนย์การเรียนรูส้ องลึง มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ


18

การเรียนรู้เกี่ยวกับศาสตร์การพึ่งตนเองประเภทต่างๆ 1. การออกแบบแปลนที่ดินการจัดการทรัพยากรนํ้าด้วยฝ่ ายชะลอนํ้าและแก้มลิง

2. ป่ า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง


19


20


21

3. การเลี้ยงปลา 3 อย่าง เลียนแบบธรรมชาติ ต้นทุนตํา่


22

4. ปุ๋ยนนํ้าหมัก


23

5. หมูหลุมต้นทุนตํา่ 1 คู่/ ปุป๋ย 1 ตัน/ปีป


24

6. ไก่หลุมต้นทุนตํา่ อาหารและรายได้หมุนเวียน

7. ปุ๋ยหมัก


25


8. การบําบัดนํ้า บําบัดดิน

26


27

9. ถ่านนความร้อนสูง ควันไล่ศตั รูพืช นํ้าส้มควันไม้ ถ่านปปรับปรุงดิน


28

10. การใช้สมุนไพรไล่ศตั รูพืช


29

11. ไบโอดีเซล


30

12. โซลาเซลส์


31

13. ไบโอแก๊ส


32

โมเดลความสําเร็จ 1. โมเดล 5 ไร่

2. โมเดล 3 ไร่


33

3. โมเดล 1 ไร่

4. โมเดลไม่มีซกั ไร่


34

ผลประเมินความพึงพอใจการเรียนรู้ที่ศนู ย์สองลึง รายการประเมิ น

ระดับความพึงพอใจ 5

1. เกีย่ วกับหัวข้อบรรยาย 1.1 การนําไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 85 1.2 เวลาทีใ่ ช้บรรยายมีความเหมาะสม 52 1.3 เนื้อหาตรงกับสิง่ ทีต่ อ้ งการรู้ 59 2. เกีย่ วกับการบรรยาย 2.1 ความสามารถในการถ่ายทอดของวิทยากร 94 2.2 ความสามารถในการตอบข้อซักถาม 89 2.3 การเตรียมตัวของวิทยากร 85 3. ความรูค้ วามเข้าใจก่อนเข้ารับการอบรม 3.1 ............................... 13 4. ความรู้ ความเข้าใจหลังเข้ารับการอบรม 4.1 ................................ 54 5. อุปกรณ์และเอกสารการอบรม 5.1 ระบบเสียงและภาพในห้องอบรม 39 5.2 สถานทีจ่ ดั อบรม 34 6. ในภาพรวมท่านพอใจกับกิจกรรมครัง้ นี้ในระดับใด 56 เกณฑ์แปลความหมายค่าเฉลีย่ 4.51-5.00 คือเห็นด้วยมากทีส่ ดุ หรือมากทีส่ ดุ 3.51-4.50 คือเห็นด้วยอย่างมากหรือมาก 2.51-3.50 คือปานกลางหรือพอใช้ 1.51-2.50 คือไม่เห็นด้วยหรือน้อย 1.00-1.50 คือไม่เห็นด้วยอย่างยิง่ หรือน้อยทีส่ ดุ

4

ค่าเฉลี่ย

เกณฑ์ การประเมิ น

3

2

1

58 2 73 18 69 16

1 3 2

0 0 0

4.55 4.19 4.27

เห็นด้วยมากทีส่ ดุ เห็นด้วยอย่างมาก เห็นด้วยอย่างมาก

47 4 47 9 51 10

1 1 0

0 0 0

4.60 4.53 4.51

เห็นด้วยมากทีส่ ดุ เห็นด้วยมากทีส่ ดุ เห็นด้วยมากทีส่ ดุ

50 51 28

4

3.27

ปานกลาง

80 11

0

1

4.27

เห็นด้วยอย่างมาก

69 32 64 42 76 13

6 6 1

0 0 0

3.27 3.86 4.28

ปานกลาง เห็นด้วยอย่างมาก เห็นด้วยอย่างมาก

สรุปผลการประเมิ นความพึงพอใจ ผู้เ ข้า อบรมเห็น ด้ว ยอย่ า งมากเกี่ย วกับ หัว ข้อ การบรรยาย โดยเฉพาะการนํ า ไปใช้ใ ห้เ กิด ประโยชน์ผเู้ ข้าอบรมเห็นด้วยมากทีส่ ดุ ระดับความพึงพอใจมีคา่ เฉลีย่ ถึง 4.55 เวลาทีใ่ ช้ในการบรรยายมี ความเหมาะสมและเนื้อหาตรงกับสิง่ ทีผ่ อู้ บรมต้องการรู้ ในส่วนทีเ่ กี่ยวกับการบรรยายนัน้ ผูเ้ ข้าอบรมมี ความพึงพอใจสูงสุด ทัง้ ด้านความสามารถในการถ่ายทอดของวิทยากรความสามารถในการตอบข้อ ซักถามและการเตรียมตัวของวิทยากร ผูเ้ ข้าอบรมมีความรูค้ วามเข้าใจก่อนเข้ารับการอบรมในระดับปานกลาง ระดับความพึงพอใจมี ค่าเฉลี่ยเพียง 3.27 เท่านัน้ ซึ่งหลังจากเข้ารับการอบรมผูเ้ ข้าอบรมมีความรูค้ วามเข้าใจในหลักการ พึง่ ตนเองตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพิม่ ขึน้ เป็ นอย่างมาก ระดับความพึงพอใจมีค่าเฉลีย่ เพิม่ ขึน้ ถึง 1.00 แต่ในเรื่องของอุปกรณ์และเอกสารประกอบการอบรมระดับความพึงพอใจอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง


35

โดยเฉพาะระบบเสียงและภาพในห้องอบรมระดับความพึงพอใจมีค่าเฉลี่ยเพียง 3.27 เท่านัน้ อย่างไรก็ ตามผูเ้ ข้าอบรมมีความพึงพอใจในสถานทีจ่ ดั อบรมเป็ นอย่างยิง่ ในภาพรวมของกิจกรรมครัง้ นี้ผเู้ ข้าอบรมมีความพึงพอใจในการเข้ารับการอบรมเป็ นอย่างมาก ระดับความพึงพอใจมีค่าเฉลีย่ 4.28 และยังมีความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะอื่นๆ อีกมากมาย เช่น ชอบ มากค่ะ อยากให้พามาอีกค่ะ คุณลุงน่ ารัก อากาศร้อนไปหน่ อย ชอบค่ะ ได้ความรู้นําไปใช้ได้จริงค่ะ ขอบคุณอาจารย์ทพ่ี ามาค่ะ บรรยากาศดี ได้เข้าถึงธรรมชาติ ชอบธรรมชาติทน่ี ่ีมากเพราะอุดมสมบูรณ์ ต้นไม้สงู ทึบฝนตกยังไม่โดนตัวเลย อยากให้พกั ค้างคืน 1 คืน เป็ นกิจกรรมทีด่ มี ากค่ะ ฯลฯ


36

การประยุกต์ใช้ความรู้ของนิสิตต่อตนเอง


37


38

ในพืน้ ที3่ ไร่ได้นําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มาประยุกต์ใช้ซง่ึ มีการ จัดสรรพืน้ ทีด่ งั นี้ 1. รัว้ ในพืน้ ที่ 3 ไร่ ได้นําทฤษฎี ปา่ 3อย่างประโยชน์4อย่างมาใช้ ซึง่ เราจะปลูกต้นกระถินเทพา

2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

10. 11. 12. 13.

ต้นมะม่วงต้นทุเรียนต้นมังคุดต้นมะขามต้นมะขามป้อมต้นส้มโอต้นฝรังไม้ ่ แดงมะฮอกกานีและ ต้นกระท้อน สวนผักออร์แกนิค ใช้พน้ื ที่ 150 ตารางวา มีไว้เพือ่ ปลูกรับประทานเอง แจกจ่ายและจัดจําหน่าย ได้แก่ ผักคะน้า ผักโขม ผักกวางตุง้ ผักบุง้ จีน กรีนโอ๊ค ผักกาดหอม และ กรีนคอส โรงเพาะเห็ด ใช้พน้ื ที่ 40 ตารางวา โดยมีเห็ดฟาง เห็ดนางฟ้า เห็ดออรินจิ เห็ดโคนญีป่ นุ่ และ เห็ดเข็มทอง โรงปุ๋ยหมักและปุ๋ยชีวภาพ ใช้พน้ื ที่ 70 ตารางวา มีไว้สาํ หรับตากมูลสัตว์ และหมักปุ๋ย บ่อเลีย้ งเป็ ดและห่าน ใช้พน้ื ที่ 20 ตารางวา โดยมีเป็ ดและห่าน ชนิดละ 1 คู่ โรงเลีย้ งหมู ใช้พน้ื ที่ 40 ตารางวา มีหมูเพศผูแ้ ละเพศเมีย อย่างละ 1 ตัว โรงเลีย้ งไก่ไข่ ใช้พน้ื ที่ 40 ตารางวา ข้างในโรงเลีย้ งไก่นนั ้ จะทําทีอ่ ยูเ่ ป็ นชัน้ ๆเพือ่ ทีจ่ ะไปจัด พืน้ ทีใ่ ห้ได้ประโยชน์สงู สุด โรงเผาถ่าน ใช้พน้ื ที่ 30 ตารางวา โดยเผาควันถ่านสามารถช่วยไล่แมลงได้ บ้าน ใช้พน้ื ที่ 80 ตารางวา โดยจะปลูกพืชสมุนไพรและพืชผักสวนครัวไว้สาํ หรับรับประทาน บริเวณรอบบ้าน ทีจ่ ะปลูกมี พริก มะนาว คืนใฉ่ กระเพรา โหระพา สาระแหน่ เตยหอม ตําลึง ผักชี มะละกอ และ กล้วย นาข้าวและโรงสีขา้ ว ใช้พน้ื ที่ 250 ตารางวา มีไว้เพือ่ ปลูกรับประทานเอง แจกจ่ายและจัด จําหน่าย พืชผักสวนครัว ใช้พน้ื ที่ 150 ตารางวา ปลูกไว้เพือ่ จัดจําหน่าย บ่อนํ้า ใช้พน้ื ที่ 200 ตารางวา มีไว้เพือ่ เป็ นแหล่งนํ้าในการเพาะปลูกและเลีย้ งปลา ปลานิล ปลา หมอ และ ปลาดุก อนุบาลปลา ใช้พน้ื ที่ 50 ตารางวา มีไว้เพาะพันธุล์ กู ปลาบางส่วนเพือ่ ขยายพันธุแ์ ละจัดจําหน่าย


39

งบประมาณภายในพืน้ ที่ 3 ไร่ เมล็ดผักสวนครัว

1,465 บาท

ขุดบ่อ

13,000 บาท

อุปกรณ์ทาํ สวน

2,000 บาท

ราคาต้นไม้ใหญ่

1,157 บาท

หมู 1 คู่

16,800 บาท

ไก่ไข่ 20ตัว

520

บาท

ลูกเป็ ด1 คู่

32

บาท

ปลานิล 1000ตัว

2,000 บาท

ปลาดุก 500ตัว

300

ปลาหมอ 1000ตัว

1,500 บาท

อิฐสร้างโรงเลีย้ งหมู

2,976 บาท

โรงเพาะเห็ด

12,000 บาท

ก้ อนเชื ้อเห็ดนางฟ้าภูฐาน 100 ก้ อน

800

บาท

ก้ อนเชื ้อเห็ดฟาง 100 ก้ อน

700

บาท

บาท

ก้ อนเชื ้อเห็ดออริ นจิ 100 ก้ อน

1,000 บาท

ก้ อนเชื ้อเห็ดโคนญี่ปนุ่ 100 ก้ อน

1,000 บาท

ก้ อนเชื ้อเห็ดเข็มทอง 100 ก้ อน

1,000 บาท

ก้ อนเชื ้อเห็ดหอม 100 ก้ อน

500

บาท


40

ต้นทุนของผัก ชนิ ดของผัก

ราคาต่อหน่ วย

ปริ มาณที่ใช้

รวม(บาท)

1.กระเพรา

15 บาท/ซอง

2ซอง

30

2.จิงจูฉ่าย

50บาท/ซอง

5ซอง

250

3.หอมแดง

25บาท/ซอง

1ซอง

25

4.ผักชี

20บาท/ซอง

1ซอง

20

5.ผักบุง้ จีน

10บาท/ซอง

3ซอง

30

6.แตงกวา

25บาท/ซอง

3ซอง

75

7.บวม

20บาท/ซอง

10ซอง

200

8.ถัวฝ ่ กั ยาว

15บาท/ซอง

6ซอง

90

9.ฝกั

20บาท/ซอง

3ซอง

60

10.ต้นหอม

15บาท/ซอง

3ซอง

45

11.มะระ

20บาท/ซอง

5ซอง

100

12.ใบบัวบก

5บาท/ต้น

100ต้น

500

13.กะหลํ่าปี

20บาท/ซอง

2ซอง

40

รวม

1465


41

ต้นทุนของต้นไม้ ชนิ ดต้นไม้ 1.กระถินเทพา 2.ต้นมะม่วง 3.ต้นทุเรียน 4.ต้นมังคุด 5.ต้นมะขาม 6.ต้นมะขามป้อม 7.ต้นส้มโอ 8.ต้นฝรัง่ 9.ไม้แดง 10.มะฮอกกานี 11.ต้นกระท้อน

ราคาต่อ หน่ วย 10 5 9 9 5 5 6 8 9 8 7

ปริ มาณที่ใช้(ต้น)

รวม(บาท)

10 15 15 15 10 5 12 15 20 20 15 รวม

100 75 135 135 50 25 72 120 180 160 105 1,157


42

การบูรณาการวิชาการสู่สงั คม ร่วมสร้างพืน้ ที่อาหารให้บา้ นพักชราบางละมุง โดยนิสิต


43

การวางแผนการดําเนิ นงาน ศูนย์พฒ ั นาการจัดสวัสดิ การสังคมผูส้ งู อายุบา้ นบางละมุง

ข้อมูลทัวไป ่ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีและสมเด็จ พระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมารได้ เสด็จพระราช ดําเนินวางศิลาฤกษ์สถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางละมุง อ.บางละมุง จ.ชลบุรี เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2510 และได้เปิ ดดําเนินการ เมื่อวันที่ 13 เมษายน 2551 สถานสงเคราะห์แห่งนี้นบั เป็ น สถานสงเคราะห์คนชราแห่งแรกทีจ่ ดั สร้างขึน้ โดยความร่วมมือระหว่างรัฐบาลกับภาคเอกชนต่อมากรม พัฒนาสังคมและสวัสดิการ ได้ขอให้ ก.พ. พิจารณาการเปลี่ยนชื่อ และภารกิจของสถานสงเคราะห์ คนชรา และศู น ย์บ ริก ารทางสัง คมผู้สูง อายุ เป็ น ศู น ย์พ ัฒ นาการจัด สวัส ดิก ารสัง คมผู้สู ง อายุ และ สํานักงาน ก.พ. มีมติ เมื่อวันที่ 2 พ.ย. 2548 รับทราบการเปลีย่ นชื่อ และมีมติให้ปรับปรุงโครงสร้างการ แบ่งงานภายในศูนย์ฯ ใหม่ วัตถุประสงค์ขององค์กร 1. จัดสวัสดิการผูส้ งู อายุให้ได้มาตรฐาน 2. ดูแล คุม้ ครอง พัฒนาศักยภาพผูส้ งู อายุ 3. ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของเครือข่ายในด้านผูส้ งู อายุ นโยบายการทํางาน พัฒนาการจัดสวัสดิการด้านผูส้ งู อายุให้ได้ มาตรฐาน มีความมันคง ่ มีคุณภาพชีวติ ทีด่ ี ได้รบั การ พัฒนาศักยภาพ ส่งเสริมสนับสนุนการมีสว่ นร่วมของเครือข่ายทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน องค์การปกครอง ส่วนท้องถิน่ ชมรมผูส้ งู อายุ เป็ นต้น


44

หลักการทํางานของหน่ วยงาน 1. ภารกิจเชิงรับ 2. ภารกิจเชิงรุก 3. ภารกิจเชิงนวัตกรรม งานด้านสังคมสงเคราะห์ กลุ่มเป้าหมาย คือ ผูส้ งู อายุ กระบวนการทํางานและวิ ธีการทางด้านสังคมสงเคราะห์ ทีเ่ กีย่ วข้องกับหน่วยงานแบ่งเป็ น 1.ภารกิจหลักทีศ่ นู ย์พฒ ั นาการจัดสวัสดิการสังคมผูส้ งู อายุบา้ นบางละมุง ได้แก่ - ภารกิจด้านการเลีย้ งดู ความต้องการพืน้ ฐาน ปจั จัยสี่ การดูแลสุขภาพ - ภารกิจด้านการดูแลตัง้ แต่เข้ามาอาศัยจนกระทังเสี ่ ยชีวติ มีการบริการจัดพิธฌ ี าปนกิจศพหรือ ติดต่อประสานกับญาติต่อไป - ภารกิจด้านการรักษาพยาบาล - ภารกิจด้านการสงเคราะห์ผมู้ รี ายได้น้อย 2.ภารกิจและวิธกี ารทีเ่ กีย่ วข้องกับกระบวนการทํางานทางด้านสังคมสงเคราะห์ ได้แก่ - การบําบัด - การฟื้นฟู - การพัฒนา กระบวนการด้านสังคมสงเคราะห์ 1. ศึกษาข้อมูล 2. ประเมินและวินิจฉัย 3. วางแผนและให้การช่วยเหลือ 4. ดําเนินการช่วยเหลือ 5. ติดตามผลและประเมินผล 6. สิน้ สุดการช่วยเหลือ อุปสรรคในการปฏิ บตั ิ งาน ปญั หาทีพ่ บเนื่องจากศูนย์พฒ ั นาการจัดสวัสดิการสังคมผูส้ งู อายุบา้ น บางละมุงมีผสู้ งู อายุหรือ ครอบครัวผูส้ งู อายุทป่ี ระสบปญั หาความ เดือดร้อนในเรือ่ งของเงิน และสิง่ ของจําเป็ นและอื่นๆ ที่ เกีย่ วข้อง การจัดการปัญหาของหน่ วยงาน 1. จัดตัง้ โครงการช่วยเหลือเงินและสิง่ ของจําเป็ นเพือ่ บรรเทาความเดือดร้อนเฉพาะหน้า


45

2. การสงเคราะห์ครอบครัวผูส้ งู อายุทม่ี รี ายได้น้อยหรือประสบปญั หา 3. การให้ความรูใ้ นการดูแลผูส้ งู อายุ 4. ออกหน่วยเคลื่อนทีใ่ นชุมชน เพือ่ สํารวจ ตรวจสอบความก้าวหน้าของการแก้ไขปญั หา จุดเด่นจุดด้อยด้านสังคมสงเคราะห์ของหน่ วยงาน จุดเด่น 1. มีการให้คาํ ปรึกษาและแก้ไขปญั หาให้แก่ผใู้ ช้บริการอย่างสมํ่าเสมอ 2. เป็ นศูนย์กลางในการจัดกิจกรรมทีเ่ ป็ นประโยชน์แก่ผสู้ งู อายุ 3. มีการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสูว่ ยั ผูส้ งู อายุในชุมชน 4. มีการจัดกิจกรรมศูนย์บริการผูส้ งู อายุในชุมชน 5. กิจกรรมโครงการซ่อมแซมบ้าน/สถานทีจ่ ดั กิจกรรมผูส้ งู อายุ 6. กิจกรรมให้บริการสงเคราะห์ผสู้ งู อายุในภาวะยากลําบาก 7. กิจกรรมถ่ายทอดภูมปิ ญั ญาผูส้ งู อายุให้ลกู หลาน จุดด้อย งานสังคมสงเคราะห์ไม่ได้ถูกรับผิดชอบโดยนักสังคมสงเคราะห์เพียงอย่างเดียวเนื่องจาก หน่วยงานนี้จาํ นวนนักสังคมสงเคราะห์ในจํานวนทีจ่ าํ กัดต่อการปฏิบตั งิ านกับผูส้ งู อายุจาํ นวนมากกว่า ดังนัน้ จึงเป็ นการกระจายภาระงานให้ทุกบุคคลไม่วา่ จะเป็ น เจ้าหน้าที่ พนักงาน ลูกจ้างล้วนแล้วแต่มี ส่วนร่วมกันรับผิดชอบ ดูแลผูส้ งู อายุรว่ มกัน จํานวนนักสังคมสงเคราะห์ เจ้าหน้ าที่ และพนักงานของหน่ วยงาน ข้าราชการ จํานวน 6 คน ลูกจ้างประจํา จํานวน 9 คน พนักงานราชการ จํานวน 6 คน ลูกจ้างชัวคราว ่ จํานวน 15 คน เจ้าหน้าทีม่ ลู นิธิ จํานวน 2 คน พนักงานจ้างเหมา จํานวน 10 คน นักสังคมสงเคราะห์ จํานวน 1 คน รวมทัง้ สิน้ 48 คน


46

จํานวนผูร้ บั บริ การ ยอดคงเหลือจากปี 2555 236 คน รับใหม่ปี 2556 ชาย 16 คน หญิง 18 คน รวม 34 คน จําหน่ายปี 2556 ชาย 24 คน หญิง 22 คน รวม 46 คน ยอดรับการสงเคราะห์ระหว่างปี 2556 รวม 316 คน จํานวนผูร้ บั การสงเคราะห์คงเหลือ ปี 2556 รวม 226 คน ช่วงอายุของผูร้ บั การสงเคราะห์ (ชาย : หญิ ง) ช่วงอายุ 60-69 ปี 70-79 ปี 80-89 ปี 90-99 ปี 100 ปีขน้ึ ไป รวม

ชาย 18 26 40 1 0 85

หญิ ง 14 76 45 6 0 141

ความสําคัญของการพึ่งพาตนเองด้านอาหารของศูนย์ อาหารเป็ นเรือ่ งสําคัญในการทําให้ชวี ติ ยืนยาวจะเห็นได้วา่ คนทีม่ กี ารควบคุมดูแลด้านอาหารจะ มีอายุทย่ี งยื ั ่ นกว่าคนทีไ่ ม่มกี ารควบคุมด้านอาหาร จึงมีกระบวนการคิดค้นเรือ่ งการพึง่ พาตนเองด้าน อาหาร ปจั จุบนั พืชผักสวนครัวทีข่ ายตามท้องตลาดมีการปนเปื้อนของสารเคมีจงึ มีความไม่ปลอดภัยเมือ่ นํามาประกอบอาหาร ดังนัน้ ถ้าเราสามารถปลูกผักได้ดว้ ยตนเองก็จะได้พชื ผักทีป่ ลอดสารเคมี ทําให้เรา ได้รบั ประทานอาหารทีด่ ตี ่อสุขภาพ ปลอดสารพิษ และได้รบั ประโยชน์อย่างเต็มทีว่ ตั ถุในการประกอบ อาหารมีราคาสูง ทําให้ตน้ ทุนในการประกอบอาหารให้กบั ผูส้ งู อายุสงู ขึน้ ด้วย และการพึง่ พาตนเองโดย การทําแปลงผักสวนครัวสามารถทีจ่ ะช่วยลดค่าใช้จา่ ยในด้านการประกอบอาหารส่วนนี้ได้ ยารักษาโรค แผนปจั จุบนั ก็มรี าคาสูง และเกิดอันตรายต่อร่างกายเมือ่ ใช้เป็ นเวลานาน จึงใช้สมุนไพรเพือ่ ทดแทนยา ปฏิชวี นะเหล่านัน้ การพึง่ พาตนเองด้านอาหารจึงถือเป็ นเรือ่ งพืน้ ฐานทีส่ าํ คัญอย่างยิง่ สําหรับผูส้ งู อายุใน ศูนย์พฒ ั นาการจัดสวัสดิการสังคมผูส้ งู อายุบา้ นบางละมุง ตามทฤษฎีความมันคงด้ ่ านอาหารคือ มีอาหารเพียงพอ ปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการ (สุขภาพดี)


47

เพียงพอ เพราะปลูกกินเองเป็ นเบื้องต้น เหลือกินแล้วจึงขาย ไม่ใช่ขายของเหลือ แต่เป็ นการ แบ่งปนั ส่วนเกิน เอือ้ เฟื้ อต่อเพื่อนมนุ ษย์ และเมื่อใครทําอะไรเพื่อกินเองแล้วมักจะมีส่วนเกินเสมอ เช่น พริก ตะไคร้ ใบมะกรูด อย่างละต้นอย่างละกอก็มเี หลือมากเพียงพอแจกจ่ายให้กบั เพื่อนบ้านหรือเก็บไป ขายที่ตลาดได้แทบทุกวัน กล้วย มะละกอ มะม่วง ขนุ น ปลูกอย่างละต้น สามารถให้ผลผลิตมากจน แจกจ่ายหรือขายได้ เป็ นต้น ครอบครัวทีใ่ ช้ชวี ติ แบบนี้อาจไม่รวยแต่จะมันคงด้ ่ านอาหาร ปลอดภัย เพราะครอบครัวที่เดินตามแนวนี้มกั หลีกเลี่ยงสารเคมี ปุ๋ยเคมี และสารเคมีปราบ ศัตรูพชื หันมาใช้ป๋ ุยอินทรีย์ จุลนิ ทรีย์ และวิธชี วี ภาพต่างๆ จึงปลอดภัยจากโรคอันเป็ นผลกระทบจาก สารเคมีไ ด้ม ากกว่ า ตัว อย่า งกรณี ศึก ษา นั ก ศึก ษาของศู น ย์ก ารเรีย นรู้ค นหนึ่ ง ที่แ ม่ฮ่อ งสอน เป็ น เกษตรกร ปลูกกะหลํ่าปลีหลายสิบไร่ต่อเนื่องมาหลายปี เก็บเกี่ยวแต่ละครัง้ ต้องใช้รถสิบล้อขนไปขาย ตลาด ขายให้คนเมืองกินอย่างเดียว ตนเองและครอบครัวไม่กล้ากินเพราะใช้สารเคมีเยอะ แต่กระนัน้ ก็ ยังรับสารเคมีเข้าไปทางอื่นเช่น ซึมเข้าผิวหนังหรือหายใจเข้าไปขณะพ่นจนล้มปว่ ย ผลเลือดเป็ นสีน้ําเงิน แสดงให้เห็นว่ามีสารเคมีตกค้างในเลือดในระดับสูง ปจั จุบนั หันมาทําเกษตรผสมผสาน ทําปุ๋ยอินทรีย์ นํ้าหมักชีวภาพ ฟื้นฟูสขุ ภาพตนเองและ ครอบครัว ผิวพรรณดีขน้ึ อารมณ์ดขี น้ึ ยิม้ แย้มแจ่มใสขึน้ หนี้สนิ ลดลง ทุกวันนี้เธอภูมใิ จในตนเอง เนื่องจากไม่เพียงทําเกษตรทีป่ ลอดภัยสําหรับครอบครัวตน แต่ยงั รับผิดชอบต่อผูบ้ ริโภคด้วย ผมบอก เธอว่า อย่างนี้แหละทีเ่ รียกว่า ความรับผิดชอบต่อสังคม หรือทีอ่ งค์กรธุรกิจเรียก CSR อย่างแท้จริง และ ก็ไม่ใช่ CSR เพือ่ การประชาสัมพันธ์หรือเพือ่ ภาพลักษณ์ แต่เป็ นการรับผิดชอบต่อผูบ้ ริโภคอย่างแท้จริง คุณค่าทางโภชนาการ เพราะสามารถเลือกทีจ่ ะปลูกพืชทีม่ ปี ระโยชน์ต่อร่างกายตนและ ครอบครัว กินพืชพันธุท์ ข่ี น้ึ ในท้องถิน่ และตามฤดูกาล เป็ นอิสระจากนิสยั การกินเหมือนๆ กับคนเมืองที่ เข้าสูว่ ฒ ั นธรรมกินเหมือนๆ กัน ตามทีอ่ ุตสาหกรรมอาหารยักษ์ใหญ่กาํ หนดโดยไม่รตู้ วั หรือรูต้ วั แต่ไม่มี ทางเลือก เช่น บนซองบะหมีก่ ง่ึ สําเร็จรูปยีห่ อ้ หนึ่งเขียนแนะนําว่า กินบะหมีน่ ้ีแล้วให้กนิ อย่างอื่นด้วยเพือ่ คุณค่าทางโภชนาการ แสดงว่าหากรับประทานเพียงเท่านี้ไม่มคี ุณค่าทางโภชนาการพอ นอกจากความหมายของความมันคงทางอาหาร ่ ทีต่ อ้ งการให้คนทุกคน ทุกเวลามีความสามารถ เข้าถึงอาหารทัง้ ในทางกายภาพและเศรษฐกิจอย่างเพียงพอ ปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการ ตรง กับ รสนิ ยมของตนเอง เพื่อการมีชีวิต ที่ดีแ ละสุขภาพที่แข็งแรงแล้วองค์การอาหาร และเกษตรแห่ง สหประชาชาติ (FAO) ได้แบ่งความหมายด้านความมันคงออกเป็ ่ น 4 มิตคิ อื ความพอเพียง (Availability) ของปริมาณอาหาร ทีอ่ าจได้มาจากการผลิตภายในประเทศหรือ การนําเข้า รวมถึงความช่วยเหลือด้านอาหาร


48

การเข้าถึง (Access) ทรัพยากรทีพ่ อเพียงของบุคคลเพื่อได้มาซึ่งอาหารทีเ่ หมาะสม และมี โภชนาการ ทรัพยากรดังกล่าวหมายถึง ความสามารถของบุคคลทีจ่ ะกําหนดควบคุมกลุ่มสินค้าหนึ่งๆได้ ภายใต้บริบททางกฎหมาย การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของชุมชนทีบ่ ุคคลอาศัยอยู่ (รวมถึงสิทธิตาม ประเพณีเช่น การเข้าถึงทรัพยากรส่วนรวมของชุมชน) การใช้ ประโยชน์ (Utilization) ด้านอาหารผ่านอาหารที่เพียงพอ นํ้ าสะอาดและการรักษา สุ ข ภาพและสุข อนามัย เพื่อ ที่จ ะเข้า ถึง ภาวะความเป็ น อยู่ท่ีดีท างโภชนาการ ซึ่ง ความต้อ งการทาง กายภาพทัง้ หมดได้รบั การตอบสนอง โดยนัยยะนี้ความมันคงทางอาหาร ่ จึงสัมพันธ์กบั ปจั จัยนํ าเข้าที่ ไม่ใช่อาหารด้วย และมิตสิ ดุ ท้ายคือ เสถียรภาพ (Stability) ทางอาหารที่ประชาชน ครัวเรือน และบุคคลจะต้องเข้าถึงอาหารที่ เพียงพอตลอดเวลา ไม่ตอ้ งเสีย่ งกับการไม่ สามารถเข้าถึงอาหารอันเป็ นผลมาจากวิกฤตทีเ่ กิดขึน้ อย่าง กะทันหัน เช่น วิกฤตทางเศรษฐกิจหรือสภาพภูมอิ ากาศ หรือเหตุการณ์ท่เี ป็ นไปตามวงจร เช่น ภาวะ ความไม่มนคงทางอาหารตามฤดู ั่ กาล ซึง่ ในความหมายนี้ความมันคงทางอาหาร ่ ครอบคลุมถึงมิตคิ วาม พอเพียงและการเข้าถึงอาหารด้วย


49

ความต้องการใช้พืชพันธ์เพื่อการพึ่งพาตนเองด้านอาหารของศูนย์ จากการสัมภาษณ์แม่ครัวทีด่ แู ลเกีย่ วกับอาหารของบ้านพักคนชรา มีรายการอาหารทีท่ าํ เป็ น ประจํา รวมถึงปริมาณการของใช้พชื พันธ์เพือ่ ทําอาหารในแต่ละมือ้ ดังนี้ รายการอาหาร แกงจืดฟั กไก ่สับ นํ้าพริ กหนุ ม่

ชนิดพืช ฟั ก ผักชี พริกหยวก กระเทียม หอมแดง มะเขือเทศสีดา

ผัดผักบุง้ ไฟแดง

กระเทียม พริกขี้หนู ผักบุงจีน

จับฉ่าย

ไชเทา คื่นไช เห็ดหอม คะนา กวางตุง กะหล่ําป ผักกาดขาว ผักขมจีน

แกงจืดเต้าหู ้ หมูสับ

จํานวนทีต่ ้ องใช้ /มื้อ 20 ก.ก. 5 ขีด 3 ก.ก. 5 ขีด 1 ก.ก. 1 ก.ก. 5 ขีด 1 ก.ก. 10 ก.ก. 8 ก.ก. 2 ก.ก. 2 ก.ก. 3 ก.ก. 3 ก.ก. 3 ก.ก. 4 ก.ก. 2 ก.ก.

ผักกาดขาว แครอท

5 ขีด 10 ก.ก. 5 ก.ก.

ฟั กทองนึ่ ง

ฝั กทอง

15 ก.ก.

ปลานึ่ งผัก

ผักกาด ขึ้นชาย

3 ก.ก. 1 ก.ก.

มะเขือเปาะ ถัว่ ฝั กยาว แตงกวา มะเขือยาว ดอกแค ถัว่ พู

3 ก.ก. 1 ก.ก. 1 ก.ก. 2 ก.ก. 1 ก.ก. 1 ก.ก.

ผักจิ้มนํ้าพริ ก

ตนหอม


50

การสํารวจพืน้ ที่เพื่อทําการเพาะปลูก ประเทศไทยที่ถอื เป็ นประเทศเกษตรกรรม แม้ว่าภาคการเกษตรจะไม่ใช่ภาคส่วนที่ทํารายได้ หลักเข้าประเทศ หากแต่ภาคการเกษตรก็ถอื ได้ว่ามีความสําคัญในการเลีย้ งปากท้องของคนในประเทศ รวมถึงยังสร้างรายได้เข้าประเทศจากการส่งออก จึงนับได้ว่าการเกษตรของไทยมีความสําคัญไม่น้อย ที่ ผ่านมา หลายประเทศทัวโลกพยายามในการเพิ ่ ม่ พืน้ ทีท่ างการเกษตรของตนเพือ่ เพิม่ ผลผลิต ในประเทศ แม้กระทังประเทศที ่ ไ่ ม่สามารถเพาะปลูกได้ ก็มคี วามพยายามในการเข้าเช่าพืน้ ทีเ่ พาะปลูกในประเทศ อื่น พืน้ ทีก่ ารเกษตรจึงถือได้วา่ มีความสําคัญเป็ นอย่างยิง่ พืน้ ที่การเกษตรที่เหมาะสมกับการเพาะปลูก พืน้ ทีก่ ารเกษตรที่เหมาะสมกับการเพาะปลูก หมายถึง พืน้ ที่การเกษตรที่มคี วามเหมาะสมต่อ การปลูกพืชไม่ว่าจะเป็ นข้าว พืชไร่ พืชผัก หรือไม้ผล ชนิดใดชนิดหนึ่งหรือหลายชนิดรวมกันก็ได้ และ จะต้องเป็ นพืน้ ทีท่ ไ่ี ม่อยู่ในเขตป่าอนุ รกั ษ์ตามประกาศของกรมป่าไม้ รวมถึงไม่ใช่พน้ื ทีท่ ม่ี คี วามลาดชัน จนเกิน ไป โดยในการศึก ษาจะพิจ ารณาจากพื้น ที่ท่ีทํา การเกษตรในป จั จุ บ นั จากแผนที่ก ารใช้ท่ีดิน จากนัน้ จึงนํามาพิจารณาร่วมกันกับปจั จัยในด้านอื่นๆ ได้แก่ ชนิดดิน ขอบเขตพืน้ ทีป่ า่ ไม้ และความลาด ชันของพืน้ ดินมาวิเคราะห์ซอ้ นทับแบบเวคเตอร์(Vector Overlay analysis) ลักษณะของดิ นที่เหมาะสมกับการเพาะปลูก 1. สมบัติทางเคมี คือ ดินต้องมีความสมดุลของแร่ธาตุอาหารพืช ซึ่งประกอบด้วยธาตุอาหาร พืชหลักไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซี่ยม ธาตุอาหารรองประกอบด้วย แคลเซียม แมกนีเซียม กํามะถัน ธาตุ อาหารเสริมประกอบด้วย เหล็ก สังกะสี ทองแดง โบรอน โมลิบดินัม แมงกานีส และ คลอรีน และมีปฏิกริ ยิ าของดินทีเ่ ป็ นกลางคือดินต้องไม่เป็ นกรดเป็ นด่างหรือมีความเค็มจนเกินไป 2. สมบัติทางกายภาพ คือ ดินต้องมีความสมดุลของอากาศและนํ้า กล่าวคือดินต้องมีโครงสร้าง ทีด่ ี มีการร่วนซุย อากาศถ่ายเทได้ดี มีความสามารถในการอุม้ นํ้าได้ดี เม็ดดินเกาะกันอย่างหลวมๆ เพื่อ ช่วยให้รากพืชสามารถแผ่ขยาย และชอนไชไปหาแร่ธาตุอาหารพืชได้งา่ ยในระยะทีก่ ว้างและไกล เป็ นดิน ทีอ่ อ่ นนุ่มไม่แข็งกระด้าง 3. สมบัติทางชีวภาพ คือ เป็ นดินทีม่ คี วามสมดุลของจุลนิ ทรีย์ กล่าวคือเป็ นดินทีม่ จี ุลนิ ทรียแ์ ละ สิง่ ทีม่ ชี วี ติ เล็กๆ ในดินที่เป็ นประโยชน์ ในปริมาณมากซึ่งสามารถควบคุมจุลนิ ทรียแ์ ละสิง่ ทีม่ ชี วี ติ เล็กๆ ในดินทีเ่ ป็ นโทษแก่พชื ได้เป็ นอย่างดีและจุลนิ ทรียท์ เ่ี ป็ นประโยชน์ในดิน สามารถสร้างกิจกรรมต่างๆ ที่ ก่อให้เกิดประโยชน์ แก่พชื ได้ดี เช่น สามารถย่อยแร่ธาตุ ในดิน ที่ยงั ไม่เป็ นประโยชน์ แก่พชื หรือให้ ประโยชน์น้อยให้เป็ นประโยชน์ แก่พชื และ เพิม่ ปริมาณ ทีม่ ากขึน้ ตรึงธาตุอาหารพืชจากอากาศให้เป็ น ประโยชน์ แก่พชื สร้างสารปฏิชวี นะปราบโรค และ ศัตรูพชื ในดินได้ เสริมสร้างพลังให้ แก่พชื และ ทําลายสารพิษ ในดินได้ ดิ นที่มีปัญหา


51

ดิน ที่ใช้ทําการเพาะปลูกทัวไปของประเทศไทยส่ ่ วนใหญ่มกั จะขาดความอุดมสมบูรณ์ ดินมี ความอุดมสมบูรณ์ต่ํา โครงสร้างของดินไม่ดี แน่ นทึบ ไม่อุม้ นํ้า มีจุลนิ ทรียใ์ นดินน้อย เนื่องจากสภาพที่ ไม่เหมาะสม ทัง้ นี้อนั เนื่องมาจากได้ใช้ดนิ เพื่อการเพาะปลูกอย่างต่อเนื่องโดยขาดการปรับปรุง และ บํารุงรักษา การทําการเกษตรกรรมทีไ่ ม่เหมาะสมใช้ทด่ี นิ ผิดประเภท ตลอดจนแหล่งกําเนิดของดินเอง เช่น ดินทราย ดินลูกรัง ดินเปรีย้ ว ดินเค็ม ดินด่าง เป็ นต้น ทําให้ขาดความสมดุลในด้านสมบัตทิ างเคมี กายภาพ และชีวภาพ จําเป็ นต้องทําการปรับปรุงและหาทางแก้ไข เพื่อให้เกิดประโยชน์ ในการใช้เพื่อ การเพาะปลูกต่อไป สําหรับดินทีม่ ปี ญั หาชนิดต่างๆ ในประเทศไทย ซึง่ ต้องหาทางปรับปรุงให้กลับมาใช้ประโยชน์ได้ ซึ่งจากการสํารวจของกรมพัฒนาทีด่ นิ พบว่าทรัพยากรดินของประเทศไทย มีปญั หาด้านกายภาพหรือ ด้านคุณภาพ ซึง่ จําแนกได้ดงั ต่อไปนี้ 1. ปัญหาความอุดมสมบูรณ์ของดิ นตํา่ และเสื่อมลง จากรายงานการสํารวจและจําแนกชนิดดินของกรมพัฒนาทีด่ นิ ทีด่ าํ เนินการในจังหวัดต่างๆ ของ ประเทศไทยพบว่าดินส่วนใหญ่มคี วามอุดมสมบูรณ์ต่ําโดยธรรมชาติ ทัง้ นี้เนื่องจากประเทศตัง้ อยู่ในเขต ศูนย์สูตร อุณหภูมสิ ูง และมีปริมาณฝนตกมาก การสลายตัวของหินแร่ท่ีเป็ นวัตถุ ต้นกําเนิดของดิน เป็ นไปอย่างรวดเร็วและมีการชะล้างแร่ธาตุอาหารพืชออกไปจากดินในอัตราสูงในช่วงฤดูฝนถูกพัดพาไป กับนํ้าทีไ่ หลลงสูท่ ต่ี ่าํ ได้แก่ แม่น้ําลําคลองและลงสูท่ ะเลในทีส่ ุดจากการสลายตัวของหินแร่ ในดินดําเนิน ไปอย่างมากและ รวดเร็วนี้เองทําให้ดนิ ในประเทศไทยส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยแร่ดนิ เหนียว เคโอลิไนท์ (Kaolinite) แร่เหล็ก และอลูมนิ มั ออกไซด์ (hydrous oxide clay) ซึง่ แร่ดนิ เหนียวพวกนี้มบี ทบาทในการ ดูดซับแร่ธาตุอาหารและการเปลีย่ นประจุบวกตํ่า (low activity clay) จึงทําให้ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ตามธรรมชาติต่าํ ด้วย 2. ดิ นที่มีปัญหาพิ เศษ (problem soils) จากการสํารวจและทําแผนทีด่ นิ ของกรมพัฒนาทีด่ นิ พบว่ามีดนิ บางชนิดทีม่ สี มบัตทิ างกายภาพ และ ทางเคมีเป็ นอุปสรรคหรือข้อกําจัดในการใช้ประโยชน์ ในการเกษตร โดยเฉพาะการเพาะปลูกพืช จําเป็ นต้องมีการพัฒนาหรือปรับปรุงแก้ไขเพื่อเพิม่ ศักยภาพในการผลิตของดินเหล่านัน้ ดินที่มปี ญั หา พิเศษทีก่ ล่าวนี้ พอแยกออกได้ตามสภาพของปญั หาหรือข้อจํากัด ดังต่อไปนี้ 2.1 ดินเปรี้ยวจัด หรือดินกรดกํามะถัน (acid sulphate soils) เป็ นดินทีม่ คี ่าของความเป็ นกรด (pH) ตํ่ากว่า 4.0 ตัง้ แต่ชนั ้ ถัดจากผิวดินลงไป (sud surface) และในชัน้ ทีม่ สี ารสีเหลืองฟางข้าวเกิดขึน้ (jarosite) ค่า ของ PH อาจลงตํ่าถึง 3.5 หรือตํ่ากว่า ถ้าในกรณี เช่น นี้ดนิ ไม่สามารถปลูกพืชอะไรขึน้ แม้แต่ขา้ วจึงมักถูกทอดทิง้ ให้เป็ นทีว่ า่ งเปล่ามีหญ้าขึน้ ปกคลุม การทีไ่ ม่สามารถปลูกข้าวหรือพืชอย่างอื่น ก็เนื่องจากมีสารพวกเหล็กและอะลูมนิ ัมละลายออกมาเป็ นพิษต่อพืชและยังทําให้ธาตุท่จี ําเป็ นต่อการ เจริญเติบโตของพืชบาง อย่างไม่ละลายมาเป็ นประโยชน์ต่อพืชด้วย โดยเฉพาะธาตุฟอสฟอรัสจะถูกตรึง ไว้ (fixation) และอยู่ในรูปทีไ่ ม่เป็ นประโยชน์ต่อพืช ดังนัน้ จึงถือว่าเป็ นดินที่มปี ญั หาพิเศษที่จะต้อง ปรับปรุงและแก้ไขให้เกิดประโยชน์ในการใช้เพาะปลูกได้ดนิ เปรีย้ วจัดหรือดินกรดกํามะถันทีก่ ล่าวพบมี


52

เนื้อทีป่ ระมาณ 9.0 ล้านไร่ หรือร้อยละ 2.81 ของพืน้ ทีป่ ระเทศ พบมากในทีร่ าบภาคกลางตอนใต้ ภาค ั่ ตะวันออก และภาคใต้ พบกระจัดกระจายบริเวณชายฝงทะเลในสภาพพื น้ ทีท่ น่ี ้ําทะเลเคยท่วมถึงมาก่อน 2.2 ดินเค็ม (saline and sodic soils) เป็ นดินทีม่ เี กลือทีล่ ะลายนํ้าได้เป็ นองค์ประกอบอยูส่ งู จน เป็ นอันตรายต่อพืชทีป่ ลูก ดินเค็มทีพ่ บในประเทศไทยพบมากทีส่ ุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ ั่ ประมาณ 17 ล้านไร่ หรือร้อยละ 5.5 ของพืน้ ทีท่ งั ้ ประเทศ นอกจากนี้ยงั พบดินเค็มบริเวณชายฝงทะเล (coastal saline soils) มีเนื้อทีร่ วมกันแล้วประมาณ 3 ล้านไร่ รวมกับดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อทีถ่ งึ 20 ล้านไร่ ซึ่งดินเค็มทีก่ ล่าวนี้มศี กั ยภาพในการให้ผลผลิตพืชทีป่ ลูกตํ่า บางแห่งไม่สามารถ ปลูก พืช ได้เ ลย โดยเฉพาะบริเ วณดิน เค็ม ที่ก ล่ าว ในภาคตะวันออกเฉี ย งเหนื อ ที่มีค ราบเกลือ (salt crusts) ปรากฏขึน้ ทีผ่ วิ ดิน ในช่วงฤดูแล้งซึง่ แสดงว่าดินเค็มจัด ส่วนดินเค็มชายทะเลมีใช้ประโยชน์ใน การทํานาเกลือ ปลูกผลไม้ โดยการยกร่องเป็ นต้นว่า มะพร้าว และยังคงสภาพป่าชายเลนปกคลุมอยู่ นอกจากนี้บางพืน้ ทีใ่ ช้ประโยชน์ในการเพาะเลีย้ งสัตว์น้ําชายฝงั ่ เช่น กุง้ หอย ปู และปลา เป็ นต้น 2.3 ดินทรายจัด (sandy soils) ทีพ่ บในประเทศไทยพอแบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท คือ ดินทราย ธรรมดาที่มเี นื้อที่เป็ นทรายจัดลงไปลึก และดินทรายที่มชี นั ้ ดานจับตัวกันแข็งโดยเหล็กและฮัวมัสเป็ น ตัวเชื่อมเกิดขึน้ ภายในความลึก 2 เมตร แต่สว่ นใหญ่เกิดขึน้ ตํ่ากว่า 1 เมตร จากผิวดินบน ดินทรายทัง้ 2 ประเภทนี้ มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ําและมีความสามารถในการอุม้ นํ้ าตํ่าด้วย นอกจากนี้ดนิ ทราย ทีม่ ชี นั ้ ดินดานแข็งเมือ่ นํ้าไหลซึมลงไปจะไปแช่ขงั อยู่ เพราะชัน้ ดินดานทีก่ ล่าวนํ้าซึมผ่านได้ยากทํา ให้เกิดสภาพนํ้าขังรากพืชขาดอากาศทําให้ตน้ พืชทีป่ ลูกชะงักการเจริญเติบโต ในสภาพปจั จุบนั ดินทรายจัดมีศกั ยภาพในการผลิตตํ่าและจํากัดในการเลือกชนิดของพืชที่จะ นํามาปลูกโดนเฉพาะดินทรายจัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือในช่วงฤดูแล้งจะแห้งจัดและ ั่ ในช่วง ทีท่ ง้ิ ช่วงในฤดูฝนก็จะแห้งเร็ว เช่นเดียวกันสําหรับดินทรายจัดทีพ่ บบริเวณชายฝงทะเลนั น้ มักมี ความชื้นสูงกว่าและสามารถปลูกไม้ผลบางชนิดให้ผลอยู่ ในเกณฑ์พอใช้หรือค่อนข้างดี ในบางพื้นที่ โดยเฉพาะใช้ปลูกมะพร้าว แต่อย่างไรก็ตามดินทรายจัดก็ยงั นับว่าเป็ นดินที่มปี ญั หาพิเศษต้องทําการ ปรับปรุงแก้ไข เป็ นต้นว่าด้านความอุดมสมบูรณ์ ความสามารถในการอุม้ นํ้ าของดิน และการเลือกชนิด ของพืชทีจ่ ะนํามาปลูก 2.4 ดินปนกรวด (skeletal soils) เป็ นดินทีม่ ชี นั ้ ลูกรัง เศษหินกรวดกลม และเศษหินอื่นๆ เกิดขึน้ ในความลึก 50 เซนติเมตร จากผิวดินบน และในชัน้ ทีม่ ดี นิ ปนกรวดนัน้ จะประกอบไปด้วยกรวด และเศษหินต่างๆ ทีม่ ขี นาด 2 มิลลิเมตร อยู่มากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ โดยปริมาตรชัน้ กรวดหินนี้จะเป็ น อุปสรรคต่อการชอนไชของรากพืช ทําให้พชื ชะงักการเจริญเติบโต นอกจากนี้ ดินทีม่ ชี นั ้ กรวดหินอยูม่ กั เป็ นดินทีข่ าดความชุม่ ชืน้ ในดินได้งา่ ย และปญั หาอีกอย่างหนึ่งก็คอื มีขอ้ จํากัดในการเลือกชนิดของพืชมา ปลูกถ้านํามาใช้ปลูกพืชบางชนิดโดยเฉพาะไม้ยนื ต้นต้องจัดการเป็ นพิเศษในการเตรียมหลุมปลูกดินปน กรวดทีพ่ บในประเทศไทยมีเนื้อทีป่ ระมาณ 52 ล้านไร่ หรือร้อยละ 16.3 ของพืน้ ทีท่ งั ้ ประเทศพบมากใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ ปจั จุบนั ยังใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกน้อยปกคลุมด้วยป่า แดงโปร่ง การทีใ่ ช้ประโยชน์น้อยก็เนื่องจากพืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่มชี นั ้ ลูกรังและเศษหินอยูต่ น้ื บางแห่งพบทีผ่ วิ


53

ดินบนเป็ นดินทีม่ ศี กั ยภาพในการเกษตรตํ่าควรพัฒนาเป็ นทุ่งหญ้าเลีย้ งสัตว์ ซึง่ นับเป็ นการใช้ประโยชน์ ทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ สําหรับดินประเภทนี้ 2.5 ดินบริเวณพื้นทีพ่ รุ หรือดินอินทรีย์ (organic soils) เป็ นดินทีเ่ กิดในทีล่ ุ่มตํ่า (lagoon) มี นํ้ าเค็ม และนํ้ ากร่อย จากทะเลเข้าท่วมถึงมีชนั ้ เศษพืชหรือชัน้ อินทรียสารที่สลายตัวดีแล้วและกําลัง สลายตัวสะสมกันเป็ นชัน้ หนตัง้ แต่ 50 เซนติเมตร ถึง 3 เมตร หรือหนากว่า เป็ นดินที่มศี กั ยภาพเป็ น กรดจัด (potential acidity) มีสภาพไม่อยู่ตวั ขึน้ อยูก่ บั ระดับนํ้าใต้ชนั ้ อินทรียส์ ารและเป็ นดินทีข่ าดธาตุ อาหารทีจ่ ําเป็ นต่อการเจริญเติบโตของพืชค่อนข้างรุนแรงเนื่องจากข้อจํากัดทีก่ ล่าวนี้เองดินอินทรีย์ จึง นับว่าเป็ นดินทีม่ ปี ญั หา พิเศษการพัฒนาหรือปรับปรุงแก้ไขค่อนข้างยากและลงทุนสูงเมื่อเปรียบกับดินที่ มีปญั หาอย่างอื่น ดินอินทรียพ์ บมากในภาคใต้มพี น้ื ทีร่ วมกันประมาณ 5 แสนไร่ แต่ทพ่ี บมากและเป็ นพืน้ ทีแ่ ปลง ใหญ่ ได้แก่ จังหวัดนราธิวาส มีเนื้อที่ประมาณ 4 แสนไร่ การใช้ประโยชน์ มนี ้อยจะใช้ในการปลูกข้าว บริเวณริมๆ ขอบพรุเท่านัน้ ส่วนใหญ่ในจังหวัดอื่นๆ ของภาคใต้ และภาคตะวันออกพบบ้างเป็ นพืน้ ที่ ั่ เล็กๆ และ กระจัดกระจายอยูใ่ นบริเวณพืน้ ทีช่ ายฝงทะเล 2.6 ดินเหมืองแร่รา้ ง (Tin – mined tailing lands) ถึงแม้จะพบเป็ นเนื้อทีไ่ ม่มากนักเมื่อ เปรียบเทียบ กับดินที่มปี ญั หาพิเศษที่กล่าวมาแล้ว ส่วนใหญ่พบในภาคใต้โดยเฉพาะในจังหวัดพังงา ภูเก็ต และระนอง มีเนื้อทีร่ วมกันประมาณ 159,000 ไร่ นอกจากนี้ยงั พบในภาคตะวันออกและภาคเหนือ ทีม่ กี ารทําเหมืองแร่ แต่ยงั ไม่ได้ทําการสํารวจหาพืน้ ทีว่ ่ามีปริมาณเท่าไร แต่อย่างไรก็ตามดินเหมืองแร่ ร้างนับว่าเป็ นดินที่มปี ญั หาต่อการใช้ทางการเกษตรเป็ นอย่างมาก การปรับปรุงแก้ไขหรือการพัฒนา พืน้ ทีแ่ ละดินเสือ่ มคุณภาพลงอย่างมาก พืน้ ทีเ่ ป็ นทีร่ าบขรุขระสูงๆ ตํ่าๆ เนื้อดินมีหนิ ทรายและกรวดปน อยู่มาก และมักแยกกันเป็ นส่วนของเนื้ อดินหยาบปนกรวดทรายส่วนหนึ่งและเนื้ อดินละเอียดจะไป รวมอยูก่ นั ในทีต่ ่ํา (slime area) พวกแร่ธาตุอาหารพืชถูกชะล้างออกไปในระหว่างขัน้ ตอนการทําเหมือง แร่ ฉะนัน้ ความอุดมสมบูรณ์ของดินเหมืองแร่รา้ งจึงตํ่ามาก การปรับปรุงดินเหมืองแร่รา้ งต้องคํานึงทัง้ การปรับระดับพืน้ ทีส่ มบัตทิ งั ้ ด้านกายภาพและเคมี รวมทัง้ การเลือกชนิดของพืชมาปลูกให้เหมาะสมด้วย 3. ปัญหาการชะล้างพังทลายของดิ น (soil erosion) ซึง่ ทําให้ดนิ เสื่อมโทรมนับว่าเป็ นปญั หาสําคัญอย่างหนึ่งในประเทศและจําเป็ นต้องมีการป้องกัน และแก้ไขเพื่อรักษาคุ ณภาพของดินให้เหมาะสมและใช้ประโยชน์ ในระยะเวลายาวนาน การชะล้าง พัง ทลาย ของดินในประเทศไทยเกิดขึ้น ใน 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ การชะล้างพังทลายที่เกิดขึ้นตาม ธรรมชาติ (egologic Erosion) เนื่องจากประเทศไทยตัง้ อยูศ่ ูนย์สตู รและมีปริมาณฝนตกมาก ดินบริเวณ ทีล่ าดเทจะถูกนํ้าฝนกัดกร่อนชะล้างออกไปสูท่ ต่ี ่ํา เมื่อนํ้ าฝนไหลบ่าบนผิวดิน (run off) ในขณะฝนตก และหลังฝนตกเกิดขึน้ ตามธรรมชาติ จะเกิดขึน้ มากบริเวณทีเ่ ป็ นภูเขามีความลาดเทของพืน้ ทีส่ งู และมีปา่ ไม้คลุมไม่หนาแน่ น ถ้าเป็ นบริเวณทีร่ าบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ ไม้ขน้ึ ปกคลุมหนาแน่ นการชะล้าง พังทลายในขณะนี้มกั ไม่เกิดหรือเกิดขึน้ น้อยมาก แต่อย่างไรก็ตามการชะล้างพังทลายแบบเกิดขึน้ ตาม ธรรมชาติจะน้อยขึน้ อยูก่ บั ปจั จัยหลาย อย่าง เช่น ชนิดหรือลักษณะของดิน ความลาดเทของพืน้ ที่ ความ หนาแน่นของพืชพรรณทีข่ น้ึ ปกคลุม และ ปริมาณฝนทีต่ กลงสําหรับการชะล้างพังทลาย อีกลักษณะหนึ่ง


54

นัน้ เกิดขึน้ จากการกระทําของมนุษย์หรือมนุษย์เป็ นตัวเร่งให้เกิดหรือมากขึน้ (accelerated erosion หรือ manmade erosion) การชะล้างพังทลาย ในลักษณะนี้นับว่าเกิดขึน้ มากและรุนแรงในประเทศไทย โดยเฉพาะบริเวณพืน้ ทีด่ นิ ดอนทีม่ คี วามลาดเทตัง้ แต่ 5 เปอร์เซ็นต์ ขึน้ ไป ทีใ่ ช้ในการเพาะปลูกโดยไม่มี การอนุ รกั ษ์ดนิ และนํ้ าที่เหมาะสมและจะมีความรุนแรงมากขึน้ ในบริเวณบนพืน้ ทีภ่ ูเขาที่เปิ ดป่าทําการ เพาะปลูกหรือบริเวณทีท่ าํ ไร่เลื่อนลอย ปญั หาการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทยนับว่าเป็ นปญั หารุนแรงที่ทําให้ทรัพยากรดิน และ ที่ดิน เสื่อ มโทรมทัง้ สมบัติท างด้า นกายภาพและเคมี นอกจากนี้ ย งั ก่ อ ให้เ กิด ความเสื่อ มโทรม ทางด้านสภาพ สิง่ แวดล้อมธรรมชาติ เป็ นต้นว่าก่อให้เกิดสภาพความแห้งแล้งของดิน แม่น้ํ า ลําคลอง ธรรมชาติ และแหล่งนํ้ าทีพ่ ฒ ั นาขึน้ มาตื้นเขินอันเนื่องจากตะกอนดินถูกชะล้างลงมาตกตะกอนในแหล่ง นํ้าทีก่ ล่าว ทําให้อายุการใช้งานของแหล่งนํ้าสัน้ ลง บางครัง้ ตะกอนดินทีถ่ ูกชะล้างลงสูท่ ร่ี าบตํ่าอาจทับถม ทําให้พน้ื ทีก่ ารเกษตรและ พืชทีป่ ลูกเสียหายต้องมีการลงทุนเพือ่ ปรับปรุงแก้ไขไม่ใช่น้อย แนวทางการปรับปรุงบํารุงดิ นโดยวิ ธีธรรมชาติ ดินที่ใช้ทําการเพาะปลูกที่มปี ญั หาไม่ว่าจะเป็ นดินที่เสื่อมค่า ขาดความอุดมสมบูรณ์ มีเนื้อดิน เป็ นดินเหนียว ดินทราย ดินกรวด ดินลูกรัง ดินเหมืองแร่ ดินพรุ ดินเปรีย้ ว ดินเค็ม ดินทีม่ หี น้าดินถูกชะ ล้าง ดินเหล่านี้สามารถปรับปรุงให้เกิดประโยชน์ ใช้ในการเพาะปลูกได้การปรับปรุงบํารุงดินโดยวิธี ธรรมชาติเป็ นทางหนึ่งทีส่ ามารถนํ ามาใช้ได้ เป็ นวิธที ่ที ําได้ง่าย เป็ นการใช้วสั ดุทเ่ี กิดขึน้ โดยธรรมชาติ หรือวัสดุเหลือใช้มาทําให้เกิดประโยชน์ ในการปรับปรุงบํารุงดินเป็ นการใช้พชื และสัตว์เป็ นแหล่งของธาตุ อาหารพืชในดิน ตลอดจนการเขตกรรมและระบบการจัดการเกษตรทีเ่ หมาะสม เป็ นการหลีกเลีย่ งการใช้ สารเคมีสงั เคราะห์มาใช้เป็ นวัสดุปรับปรุงบํารุงดินทําให้เกิดผลผลิตทีบ่ ริสุทธิ ์เป็ นประโยชน์ต่อผูผ้ ลิตและ ผูบ้ ริโภค ช่วยลดต้นทุนการผลิตและลดปญั หาสิง่ แวดล้อมทีเ่ ป็ นพิษอีกด้วย อย่างไรก็ตามการปรับปรุง บํารุงดินโดยวิธธี รรมชาตินนั ้ จะต้องคํานึงถึงความสมดุลทางเคมี ชีวะ และกายภาพเป็ นหลัก ซึง่ สามารถ ดําเนินการได้โดยวิธตี ่าง ๆ ดังนี้ 1. การปรับปรุงบํารุงดิ นโดยใช้ระบบพืช ประกอบด้วย 1.1 การปลูกพืชต่างชนิดแบบผสมผสาน 1.2 การปลูกพืชหมุนเวียน 1.3 การปลูกพืชสดเป็ นปุ๋ยปรับปรุงบํารุงดิน 1.4 การปลูกพืชคลุมดิน วิธดี งั กล่าวจะให้ประโยชน์ดงั นี้ 1. เพิม่ อินทรียวัตถุให้แก่ดนิ 2. สะสมธาตุอาหารให้แก่ดนิ 3. เพิม่ ปริมาณจุลนิ ทรียท์ เ่ี ป็ นประโยชน์ให้แก่ดนิ 4. ป้องกันดินเป็ นโรค 5. ป้องกันการชะล้างและพังทลายของดิน


55

6. ลดศัตรูพชื ในดิน 7. รักษาอุณหภูมดิ นิ 8. ทําให้ดนิ ร่วนซุยอ่อนนุ่มไม่แข็งกระด้าง 2. การปรับปรุงบํารุงดิ นโดยใช้วสั ดุเหลือใช้ทางการเกษตร 2.1 การใช้ป๋ ยคอกด ุ 2.2 การใช้ป๋ ยหมั ุ ก 2.3 การใช้เศษพืช การใช้วสั ดุดงั กล่าวปรับปรุงบํารุงดินจะก่อให้เกิดประโยชน์คอื 1. เพิม่ อินทรียวัตถุให้แก่ดนิ 2. เพิม่ ธาตุอาหารพืชให้แก่ดนิ 3. เพิม่ ปริมาณจุลนิ ทรียท์ เ่ี ป็ นประโยชน์ให้แก่ดนิ 4. ช่วยลดความเปรีย้ ว ความเค็ม ความเป็ นด่าง ของดินให้น้อยลง 5. ลดศัตรูพชื ในดิน 6. ช่วยให้ดนิ ร่วนซุย ดินอุม้ นํ้าได้ดขี น้ึ ดินไม่แข็ง 7. ช่วยดินมีพลังสามารถรับพลังงานจากแสงอาทิตย์ได้มากขึน้ 8. รักษาอุณหภูมดิ นิ 9. ทําให้สงิ่ แวดล้อมดีขน้ึ 3. การใช้จลุ ิ นทรีย์ (microorganisms)การใช้จุลนิ ทรียป์ รับปรุงบํารุงดินจะช่วย 3.1 สร้างธาตุอาหาร 3.2 แก้ไขการขาดสมดุลของจุลนิ ทรียใ์ นดิน 3.3 ช่วยป้องกันดินเป็ นโรค 3.4 ช่วยย่อยอินทรียส์ ารและอนินทรียส์ ารในดินให้เกิดประโยชน์ 3.5 ลดสารพิษในดินและทําให้ดนิ สะอาด 4. การปรับปรุงบํารุงดิ นโดยใช้วสั ดุที่เกิ ดจากแหล่งธรรมชาติ 4.1 การใช้ป๋ ุยมาร์ล (Mar) โดโลไมท์ (Dolomite) หินฟอสเฟต (Rock phosphate) หินฝุน่ ปะการัง และเปลือกหอยกระดูกปน่ (Ground bone) เป็ นวัสดุปรับปรุงดินเปรีย้ ว เพื่อลด ความเปรีย้ วของดินให้น้อยลง และเป็ นการเพิม่ ธาตุอาหารพืช เช่น แคลเซีย่ ม แมกนีเซียม และฟอสฟอรัสให้แก่ดนิ 4.2 การใช้แร่ยปิ ซัม (CaSO 4 2H2O) ลดความเค็มและเพิม่ ธาตุอาหาร เช่น แคลเซียม และ กํามะถันให้แก่ดนิ 5. การใช้เขตกรรม (Deep Cultivation)การไถพรวนลึกช่วยปรับปรุงดินได้ คือ 5.1 ป้องกันการเกิดโรคในดิน 5.2 ปรับปรุงสมบัตทิ างกายภาพของดิน 5.3 เพิม่ ชัน้ ดินให้สงู ขึน้


56

6. การใช้นํ้าฝน (Rain water) นํ้าฝนเป็ นนํ้ าทีเ่ กิดขึน้ โดยธรรมชาติ ขณะทีฝ่ นตกมีฟ้าแลบทําให้ก๊าซไนโตรเจนทําปฏิกริ ยิ ากับ ก๊าซไฮโดรเจนเป็ นแอมโมเนีย (NH3) ก๊าซนี้ละลายปะปนมากับนํ้ าฝนช่วยเพิม่ ธาตุไนโตรเจนในดินเป็ น ประโยชน์ต่อพืชทีป่ ลูกได้ 7. การปรับปรุงดิ นโดยใช้ไส้เดือน (Earth worm)ซึง่ ก่อให้เกิดประโยชน์ 7.1 พรวนดินทําให้ดนิ ร่วนซุย 7.2 สร้างอินทรียวัตถุ 7.3 เพิม่ ธาตุอาหารพืช 7.4 ป้องกันนํ้าท่วม 7.5 เพิม่ ช่องอากาศ ในดิน กล่าวโดยสรุปพบว่าดินทีท่ าํ การเกษตรทัวไปและ ่ ดินทีม่ ปี ญั หา ถ้านํามาใช้ในการเกษตรนัน้ เรา สามารถใช้วธิ ธี รรมชาติปรับปรุงบํารุงดินได้ โดยเฉพาะการเกษตรแบบเกษตรอินทรียซ์ ่งึ ปฏิเสธการใช้ สารเคมีสงั เคราะห์นํามาใช้ปรับปรุงบํารุงดิน การปรับปรุงบํารุงดินโดยวิธธี รรมชาติกย็ งิ่ มีความจําเป็ น เพราะเป็ นวิธกี ารทีช่ ว่ ยให้เกิดความสมดุลภายในดิน เป็ นการช่วยรักษาทรัพยากรดินให้เกิดประโยชน์ใน การเพาะปลูกได้อย่างถาวร ผลผลิตทางการเกษตรทีไ่ ด้จะเป็ นผลผลิตทีม่ คี ุณภาพบริสุทธิ ์และปลอดภัย (Safety food) จะเป็ นคุณประโยชน์ต่อผูผ้ ลิตและผูบ้ ริโภคช่วยลดต้นทุนในการผลิตและช่วยรักษา สิง่ แวดล้อมให้ดขี น้ึ ด้วย ระบบการเพาะปลูกไม้ผลที่ดี (Good Agricultural Practice) ระบบการเพาะปลูกทีด่ ี (GAP) เป็ นระบบการผลิต ทีม่ ลู นิธโิ ครงการหลวงร่วมกับสถาบันวิจยั และพัฒนาพืน้ ทีส่ ูง และกรมวิชาการเกษตร ได้นํามาใช้ในการพัฒนาการผลิตไม้ผลตัง้ แต่ปี พ.ศ.2547 เพื่อให้ ผลผลิตไม้ผลมีคุณภาพตามมาตรฐาน และความปลอดภัย ทัง้ ต่อเกษตรกรผูป้ ลูก ผูบ้ ริโภค และ สิง่ แวดล้อม ซึ่งจะเป็ นการสร้างจุดแข็งให้แก่ผลิตผลและสร้างความเชื่อมันของผู ่ บ้ ริโภค โดยเฉพาะใน สถานการณ์ท่มี กี ารแข่งขันทางการค้า ทัง้ ผลผลิตจากในประเทศและจากต่างประเทศอันเป็ นผลจาก การค้าเสรี การเพาะปลูกที่ดี (GAP) คือแนวทางการปฏิบตั ใิ นไร่นา เพื่อผลิตสินค้าปลอดภัยจากสารเคมี ทางการเกษตร โลหะหนัก ปลอดศัตรูพชื และคุณภาพถูกใจผูบ้ ริโภค ทัง้ นี้เป็ นการเน้นวิธกี ารควบคุม และป้องกันการเกิดปญั หาในกระบวนการผลิตมากกว่าการแก้ไข ข้อกําหนดของระบบ GAP ประกอบด้วย 1. แหล่งนํ้า นํ้าทีใ่ ช้ตอ้ งได้จากแหล่งทีไ่ ม่มสี ภาพแวดล้อมซึง่ ก่อให้เกิดการปนเปื้ อนวัตถุอนั ตรายและ จุลนิ ทรีย์ 2. พืน้ ทีป่ ลูก


57

ต้องเป็ นพืน้ ทีท่ ไ่ี ม่มวี ตั ถุอนั ตรายและจุลนิ ทรียท์ จ่ี ะทําให้เกิดการตกค้าง หรือปนเปื้อนในผลิตผล 3. การจัดการกระบวนการผลิตเพือ่ ให้ผลิตผลได้คุณภาพ - ปฏิบตั จิ ดั การตามแผนควบคุมการผลิต - คัดแยกผลิตผลทีด่ อ้ ยคุณภาพไว้ต่างหาก 4. การใช้วตั ถุอนั ตรายทางการเกษตร - หากมีการใช้สารเคมีในกระบวนการผลิต ให้ใช้ตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร หรือตาม ฉลากทีข่ น้ึ ทะเบียนอย่างถูกต้องกับกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - หากจําเป็ นต้องใช้สารเคมี ต้องใช้สารเคมีให้สอดคล้องกับรายการสารเคมีทป่ี ระกาศให้ใช้ - ห้ามใช้วตั ถุอนั ตรายทีร่ ะบุในทะเบียนวัตถุอนั ตรายทางการเกษตรทีห่ า้ มใช้ 5. การผลิตให้ปลอดศัตรูพชื ให้สาํ รวจการเข้าทําลายของศัตรูพชื และทําการป้องกันกําจัดเมื่อตรวจพบความเสียหาย ถ้าพบ การทําลายของศัตรูพชื ต้องคัดแยกผลผลิตไว้ต่างหาก 6. การเก็บเกีย่ วและการปฏิบตั หิ ลังการเก็บเกีย่ ว - เก็บเกีย่ วผลผลิตในระยะทีเ่ หมาะสมตามเกณฑ์ทก่ี าํ หนดไว้ในแผนควบคุมการผลิต - อุปกรณ์ท่ใี ช้ในการเก็บเกี่ยว และภาชนะบรรจุต้องสะอาด ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อ คุณภาพของผลผลิต ตลอดจนการปนเปื้อนสิง่ อันตรายทีม่ ผี ลต่อความปลอดภัยในการบริโภค 7. การเก็บรักษาและการขนย้ายผลิตผลภายในแปลง - สถานทีเ่ ก็บรักษาต้องสะอาด อากาศถ่ายเทได้ดแี ละสามารถป้องกันการปนเปื้ อนของวัตถุ แปลกปลอม วัตถุอนั ตรายและสัตว์พาหะนําโรค - อุปกรณ์และพาหนะในการขนย้ายต้องสะอาด ปราศจากการปนเปื้ อนสิง่ อันตรายทีม่ ผี ลต่อ ความปลอดภัยในการบริโภค และต้องขนย้ายผลผลิตอย่างระมัดระวัง 8. การบันทึกข้อมูล เกษตรกรทําการบันทึกข้อมูลทีเ่ กี่ยวข้องกับการใช้อนั ตรายทางการเกษตร บันทึกการป้องกัน กําจัดศัตรูพชื สมการเป้ าหมายและสมการข้อจํากัดของการจัดทําแปลงทัง้ หมด การวางแผนในการจัดทีด่ นิ ศูนย์พฒ ั นาการจัดสวัสดิการสังคมผูส้ งู อายุบา้ นบางละมุง เพือ่ เพาะปลูกพืช 4 ชนิด โดยต้องการกระจายการเพาะปลูกพืชทัง้ 4 ประเภทนี้ในทีด่ นิ โดยมีพน้ื ทีใ่ นการ เพาะปลูกเท่ากับ 270 ตารางเมตร ภายใต้งบประมาณ 3,000 บาท ชนิดของพืช ค่าใช้จา่ ย พืน้ ทีท่ ใ่ี ช้ และผลประโยชน์เชิงเศรษฐกิจมีดงั นี้


58

อยากทราบวว่า เขาต้องปลลูกพืชแต่ละเเท่าไหร่ จึงจะะมีตน้ ทุนโครรงการน้อยทีสสุ่ ดให้ ตัวแปรตัตัดสินใจ : ต้นทุนโคครงการ Z = ไม้ยนื ต้น้ A = B = ไม้เลือ้ ย C = พืชผักสวนครั ส ว พืชสมุนไพร น D = Minimum m Z = 56.44A+10B+24..75C+10.25D ภายใต้ข้ขอ้ จํากัด : 1.) พืน้ ทีเ่ พาาะปลูกทัง้ หมดไม่เกิน 2700 ตารางเมตรร สมกการ : 25A+15B+40C+400D ≤ 270 2.) ผลประโยยชน์เชิงเศรษษฐกิจ : 67.2200A+31,2000B+66,000CC+45,000D ≥ 209,4000 3.) การเพราาะปลูก : A,B,C,D > 0 องค์ควาามรูท้ ี่ต้องใชช้เพื่อการจัดทํ ด าแปลงทัง้ หมด องค์ความรูทีท้ ต่ี อ้ งใช้เพือ่ การจั ก ดทําแปลลงจากการศึกษาพบว่ ก า เริริม่ ตัง้ แต่ความมรูใ้ นการเลือกพั อ นธุ์ พืช น น้ ทีใ่ นกการทําแปลง การสํารวจสภาพดินทีจ่ ะททําการปลูก ความรู ค ใ้ นการรเตรียมดินใหห้พร้อม การคํานวณพื สําหรับการปลู ก กการปปลูก การดูแลรั ล กษา รวมถึถึงการศึกษาขข้อมูลเพิม่ เติมในการใช้ ม พน้ื ทีบ่ ริเวณแปปลงผัก ให้มี ประโยชน์สงู สุด การเลือกพั อ นธุพ์ ืช ต ง้ ปีและะปลูกตามฤดูดูกาล -ควรเลือกพันั ธุพ์ ชื ทีส่ ามาารถปลูกได้ตลอดทั -ต้องเลือกพันั ธุพ์ ชื ทีต่ อ้ งกกับความต้องการในการบ ง บริโภค -ต้องศึกษาว่าดินบริเวณทีทีท่ าํ การปลูกเหมาะสมกั ก บการปลู บ กพืชผั ช กชนิดใด ป่ ก -ต้องคํานึงถึงระยะเวลากการเก็บเกีย่ วขของพืชผักทีปลู การคํานวณพื น น้ ที่ในการทํ น าแปลลง -คํานวณพืน้ ทีใ่ ห้เกิดประโโยชน์สงู สุดในนการจัดทําแปลงผั แ ก -แบ่งแปลงใหห้เหมาะสม คํคานึงถึงทางเเดินสําหรับกาารดูแลรักษา


59

การสํารวจสภาพดิ นและการเตรียมดิ นให้พร้อมสําหรับการปลูก -ทําการพรวนดิน เพือ่ พรวนดินให้มโี ครงสร้างดีขน้ึ กําจัดวัชพืชในดินกําจัดไข่แมลงหรือโรคพืช ทีอ่ ยูใ่ นดินโดยการพรวนดินและตากทิง้ ไว้ประมาณ 7-15 วัน -การยกแปลง ใช้จอบพรวนยกแปลงสูงประมาณ 4-5 นิ้ว จากผิวดิน -การปรับปรุงเนื้อดินเนื้อดินทีป่ ลูกผักควรเป็ นดินร่วน แต่สภาพดินเดิมนัน้ จะเป็ นดินทราย จําเป็ นต้องปรับปรุงให้เนื้อดินดีขน้ึ โดยการใส่ป๋ ยหมั ุ กหรือปุ๋ยคอก ใบก้ามปูและนํ้าหมักชีวภาพ การปลูก -ศึกษาความรูใ้ นการเพาะต้นกล้าสําหรับเตรียมการปลูก -การนําพืชลงแปลงต้องคํานึงถึงชนิดของพันธุพ์ ชื ทัง้ ความสูงและความต้องการแสงแดด -การกําหนดหลุมปลูกจะกําหนดภายหลังจากเลือกชนิดผักต่างๆเพราะพืชแต่ละชนิดใช้ระยะห่าง ต่างกัน -ขัน้ ตอนการปลูกต้องระวังถึงรากของพืชเป็ นสําคัญ -หลังจากทําการลงต้นกล้าหรือเมล็ด ทําการรดนํ้า โรยใบกล้ามปูเพือ่ คลุมดินรักษาความชื่น การดูแลรักษา -วางตารางการให้น้ํา ควรรดนํ้าในช่วง เช้า- เย็น ไม่ควรรดตอนแดดจัด -การใส่ป๋ ยุ ควรทําเป็ นระยะๆ เพือ่ ให้ดนิ ร่วนซุย อุม้ นํ้า และรักษาความชืน้ -การกําจัดวัชพืช โดยการถอนด้วยมือ หรือจอบ การใช้พืน้ ที่บริ เวณแปลงผักให้มีประโยชน์ สงู สุด -การใช้รวั ้ บริเวณแปลงในการปลูกพืชเลือ้ ย


60

การออกแบบแปลง 30 เมตร 1x3 เมตร มะรุม

1x3 เมตร ตนหอม 0.5 เมตร

0.5 เมตร

0.5 เมตร

มะนาว

ผักชี

กลวย

ตะลิงปง

โหระพา

ขมิ้น

แคบาน

สะระแหน

ขา

ยี่หรา

กระชาย

มะกรูด 1 เมตร

8 เมตร

1 เมตร 1x2เมตร

20 เมตร

1x4 เมตร มะละกอ

1 เมตร 1x3 เมตร ผักแพรว

2 เมตร

บวบ ยานาง

แมงลัก ถั่วฝกยาว

S

N

จิงจูฉาย

ฟกทอง

12 เมตร แมงลัก แฟง

ทูน

ไมยืนตน ไมเลื้อย พืชผักสวนครัว พืชสมุนไพร

กระเพราขาว ตําลึง

มะเขือเปราะ

ตะไคร มะเขือยาว มะระจีน

บอระเพ็ด 1x15 เมตร ทางเขา-ออก 20 เมตร


61

การออกแบบแปลง ควรมีปจั จัยต่างๆทีค่ วรคํานึงถึง ดังนี้ 1. การเลือกสถานทีป่ ลูก ควรอยูใ่ กล้แหล่งนํ้าไม่ไกลจากทีพ่ กั อาศัยมากนัก เพือ่ ความสะดวกในการดูแล รักษาและสะดวกในการนํามาประกอบอาหาร 2. การเลือกประเภทผักสําหรับปลูก ชนิดของผักควรคํานึงถึงการใช้เนื้อทีใ่ ห้ได้ประโยชน์มากทีส่ ดุ การปลูกผักรวมทัง้ หมด 32 ชนิด เพือ่ ให้บริโภคได้อย่างหลากหลาย โดยแบ่งเป็ น ไม้ยนื ต้น 7 ชนิด ไม้เลือ้ ย 7 ชนิด พืชผักสวนครัว 12 ชนิด และพืชสมุนไพร 6 ชนิด อีกทัง้ ควรเลือกชนิดของผักที่ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม และปลูกให้ตรงกับฤดูกาล พิจารณาเปอร์เซ็นต์ความงอกของเมล็ดพันธุ์ วัน เสือ่ มอายุ ปริมาณหรือนํ้าหนัก โดยดูจากซองทีบ่ รรจุเมล็ดพันธุ์ ซึง่ จะทําให้ทราบว่า เมล็ดพันธุน์ นั ้ ใหม่ หรือเสือ่ มความงอกแล้ว เวลาวันทีผ่ ลิตถึงวันทีจ่ ะซือ้ ถ้ายิง่ นานคุณภาพเมล็ดพันธุจ์ ะลดลง 3. ดูขนาดพืน้ ที่ และรูปร่างของพืน้ ทีเ่ พือ่ ช่วยในการออกแบบในการปลูกผักแต่ละชนิด 4. ดูทศิ ทางของแสงแดด เพือ่ จะได้เลือกชนิดผักทีป่ ลูกได้เหมาะสม เช่น ผักกินผลควรปลูกในพืน้ ทีท่ ไ่ี ด้ แดดเต็มวัน เป็ นต้น 5. พิจารณาดูวา่ มีโครงสร้างอะไรทีส่ ามารถใช้เป็ นองค์ประกอบในการทําสวนผักได้บา้ ง เช่น มีกาํ แพง มี รัว้ หรือมีคา้ ง หรือไม่ บางโครงสร้าง เช่นค้าง นอกจากจะเป็ นทีป่ ลูกผักแล้ว ยังสามารถทําเป็ นทีน่ งเล่ ั่ น ได้ดว้ ย 6. คํานึงถึงการเข้าออก และการเดินรอบๆพืน้ ทีส่ วนผัก 7. ออกแบบการปลูก ไม่ให้พชื บังเงากันเอง โดยไม้ยนื ต้นอยูท่ างทิศตะวันตกเพือ่ ไม่ให้เงาของต้นไม้ใหญ่ บังต้นไม้เล็ก ไม้เลือ้ ยอยูท่ างทิศใต้ และพืชผักสวนครัวและพืชสมุนไพร อยูท่ างทิศตะวันออกและทิศ เหนือ การวางแผนขัน้ ตอนการดําเนิ นงาน การวางแผนขัน้ ตอนการดําเนินงาน เพือ่ ให้เกิดความพร้อมเมือ่ ลงมือปฏิบตั งิ านจริง มี 4 ขัน้ ดังนี้ 1. ขัน้ การศึกษา  ศึกษาข้อมูลความต้องการพืชผักทีใ่ ช้ประจํา จํานวนคนชรา วัสดุอุปกรณ์พน้ื ฐาน ของ สถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางละมุง โดยการสัมภาษณ์ผอู้ าํ นวยการหรือเจ้าหน้าทีท่ ่ี รับผิดชอบโดยตรง  ศึกษาข้อมูลด้านวิชาการในเรือ่ งดินและพืช เช่น การเลือกพืน้ ทีป่ ลูก ลักษณะดินที่ เหมาะสม การเลือกชนิดพันธุพ์ ชื ให้เหมาะสมในพืน้ ทีน่ นั ้ ๆ การเตรียมดิน วิธกี ารยก แปลงและลงต้นไม้ 2. ขัน้ เตรียมงาน  แต่งตัง้ คณะกรรมการเพือ่ รับผิดชอบในด้านต่างๆ ดังนี้


62

- ฝา่ ยการเงิน ดูแลเรือ่ งเอกสารการเบิกจ่ายทัง้ หมดในโครงการ รวมถึงจัดหาเงิน และปจั จัยทุนจากแหล่งต่างๆ เช่น รับบริจาคสิง่ ของ อุปกรณ์เครือ่ งมือ เครือ่ งใช้ ต้นไม้และเมล็ดพันธุ์ - ฝา่ ยข้อมูลวิชาการ ทําหน้าทีศ่ กึ ษาข้อมูลอย่างเป็ นระบบในเรือ่ งลักษณะดินและ พืช ทีส่ ามรถปลูกได้ในบริเวณนัน้ การแก้ปญั หาดินเค็ม การเตรียมดินและพืชที่ จะปลูก - ฝา่ ยติดต่อประสานงาน ดูแลเรือ่ งการประสานงานระหว่างอาจารย์ผดู้ แู ล โครงการกับนิสติ สาขาการบัญชีบริหาร รุน่ ที่ 9 ทัง้ ภาคปกและภาคพิเศษ รวมถึงการประสานงานกับบุคคลภายนอก ไม่วา่ จะเป็นเจ้าหน้าทีส่ ถาน สงเคราะห์คนชราบ้านบางละมุง คณาจารย์และบุคลากรทีใ่ ห้การสนับสนุ น - ฝา่ ยออกแบบแปลงและระบบนํ้า ศึกษาพืน้ ทีจ่ ริงเพือ่ ออกแบบแปลงผักให้ เหมาะสมกับสถานที่ ทิศทางและชนิดของพืชทีจ่ ะปลูก ออกแบบและติดตัง้ ระบบนํ้า  เตรียมวัสดุอุปกรณ์และเครือ่ งมือเครือ่ งใช้ในการทํางานให้เหมาะสมกับประเภทของงาน โดยเลือกใช้ทช่ี ว่ ยให้ทาํ งานได้งา่ ย ประหยัดเวลา มีความปลอดภัยในการทํางาน และ ช่วยอนุรกั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อม ตัวอย่างเช่น การเลือกใช้ใบก้ามปู กากมะพร้าว และเศษอาหารเหลือใช้จากครัวเรือน แทนการซือ้ ปุ๋ยหมักทีม่ รี าคาแพง เป็ นต้น 3. ขัน้ ดําเนินงาน รวบรวมข้อมูลเกีย่ วกับสมาชิกสาขาการบัญชีบริหาร รุน่ ที่ 9 เพือ่ จัดแบ่งหน้าทีแ่ ละปริมาณงาน ให้เหมาะสมกับเพศตารางเรียน และความสามารถของแต่ละบุคคล ดังนี้  การยกแปลง - ฝา่ ยออกแบบแปลงและระบบนํ้า จัดเตรียมและวัดพืน้ ทีแ่ ปลง ในตอนเช้าให้ เสร็จก่อนทีจ่ ะลงมือขุดแปลง - นิสติ ภาคพิเศษช่วยกันขนย้ายวัสดุอุปกรณ์และเครือ่ งมือทีต่ อ้ งใช้ไปยังสถาน สงเคราะห์คนชราบ้านบางละมุงและลงมือขุดแปลง - นิสติ ภาคปกติ ตามไปสมทบในช่วงบ่าย  การลงต้นไม้ - แบ่งกลุ่มประมาณ 10-13 คน โดยแต่ละกลุ่มจะต้องทําการเพาะเมล็ดเป็ นเวลา ประมาณ 15 วัน หรือสังเกตจากต้นกล้าทีเ่ พาะจะแตกใบอ่อนประมาณ 5 ใบ - นําต้นกล้าทีเ่ พราะได้ไปลงแปลง ตามแบบแปลนทีอ่ อกแบบไว้ เช่น ในทางทิศ เหนือและทิศตะวันออกจะลงพืชขนาดเล็ก เช่น กระเพรา พริก เป็ นต้น และใน ทิศตะวันตกและทิศใต้ ต้นไม้ใหญ่หรือไม้พมุ่ เช่น มะรุม แค กล้วย เป็ นต้น - จัดตารางการลดนํ้า พรวนดิน และใส่ป๋ ยุ


63

4. ขัน้ การประเมินผล  เตรียมการประเมินผลอย่างเป็ นระบบ เรือ่ งการลดค่าใช้จา่ ยด้านอาหารทีว่ ดั ได้จริงของ สถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางละมุง และแบบประเมินความพึงพอใจโครงการ - ออกแบบตารางแบบสอบถามความพึงพอใจ โดยจะแบ่งความพึงพอใจออกเป็ น 5 ระดับ - นําผลประเมินทีไ่ ด้มาหาค่าเฉลีย่ - นําค่าเฉลีย่ ทีไ่ ด้ในแต่ละข้อมาแปลความหมายจากเกณฑ์ดงั ต่อไปนี้ 4.51-5.00 คือเห็นด้วยมากทีส่ ดุ หรือมากทีส่ ดุ 3.51-4.50 คือเห็นด้วยอย่างมากหรือมาก 2.51-3.50 คือปานกลางหรือพอใช้ 1.51-2.50 คือไม่เห็นด้วยหรือน้อย 1.00-1.50 คือไม่เห็นด้วยอย่างยิง่ หรือน้อยทีส่ ดุ - สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ


64

กําหนดการสําหรับดําเนิ นงาน วัน/เดือน/ป วันจันทรที่ 17-ส.ค.-58 วันอังคารที่ 18-ส.ค.-58 วันพุธที่ 19-ส.ค.-58 วันพฤหัสบดีที่ 20-ส.ค.-58 วันศุกรที่ 21-ส.ค.-58 วันจันทรที่ 24-ส.ค-58 วันศุกรที่ 28-ส.ค.-58 วันอาทิตยที่ 30-ส.ค.-58 วันที่ 7-ก.ย.-58 ถึง 30-ก.ย.-58 วันพุธที่ 30-ก.ย.-58 วันศุกรที่ 30 ตุ.ค. 58

เวลา 13.30 น.-16.30 น. 16.30 น.-20.00 น.

รายการ ไปดูสถานที่เพื่อวางแผนการปรับสภาพดิน ชวยกันทําการปรับสภาพดิน

17.00 น.-20.00 น. เรียกประชุมผูที่ไปดูสถานที่ที่บานพักคนชรา เพื่อชวยกันออกแบบแปลงผัก 16.30 น.-20.00 น. อาจารยพัชนิจ เรียกประชุมคณะกรรมการของภาคปกติและคณะผูที่ออกแบบแปลง 17.00 น.-20.00 น. ประชุมเพื่อชวยกันออกแบบแปลงผัก

สถานที่ บานพักคนชรา บานพักคนชรา ใตอาคาร 17 ศูนยเรียนรวม 3 อาคาร 10 ศุนยเรียนรวม 2 หอง 10410 ใตอาคาร 17 ศูนยเรียนรวม 3

18.00 น.-20.00 น. นัดประชุมนิสิตทุกคนเพื่อทําการแบงกลุมและแบงหนาที่ความรับผิดชอบการเพาะเมล็ดผัก ใตอาคาร 6 ศูนยเรียนรวม 16.00 น.- 17.30 น. อาจารยพัชนิจ เรียกประชุมคณะกรรมการการออกแบบแปลงใหม

อาคาร 10 ศุนยเรียนรวม 2 หอง 10410

18.00 น.-20.00 น. นัดประชุมนิสิตทุกคนและแจกเมล็ดพันธุใหแตละกลุมตามที่ไดรับผิดชอบ

ใตอาคาร 6 ศูนยเรียนรวม

06.00 น.-18.00 น. อาจารยพัชนิจและนิสิตทุกคนลงมือทําการปรับสภาพดินและปรับปรุงบริเวณแปลงผัก

บานพักคนชรา

15.00 น.-18.00 น. ทําการรดน้ําตนไมและปรับสภาพดินตามวันและเวลาที่แตละกลุมไดรับมอบหมาย

บานพักคนชรา

05.30 น.-09.00 น. ทําพื้นที่ลงไมเลื้อยเพิ่ม และลงผักที่แตละกลุมไดรับมอบหมาย

บานพักคนชรา

ชวยกันกําจัดวัชพืชและปรับปรุงแปลงผัก

บานพักคนชรา

16.00 น.-18.30 น.


65

การวางแผนทีมงาน การวางแผนทีมงานเพือ่ ระบุหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบโดยมีประธานสาขาเป็ นผูน้ ําโครงการ มี ขึน้ ตอนดังนี้ 1. จัดให้มฝี า่ ยสนับสนุ นผูน้ ําโครงการมีสมาชิก 4-5 คน - ทําหน้าทีส่ นับสนุ นผูน้ ําโครงการและให้คาํ ปรึกษาแก่ผเู้ ข้าร่วม โครงการทุกคน 2. จัดให้มฝี า่ ยหาข้อมูลและวางแผนการดําเนินงาน - ทําหน้าทีห่ น้าทีร่ วบรวมข้อมูลทีจ่ าํ เป็ นสําหรับการวางแผนการ ดําเนินงานและประชาสัมพันธ์ให้ผเู้ ข้าร่วมโครงการทุกคน ทราบถึงแผน 3. จัดให้มฝี า่ ยปฏิบตั กิ าร - มีผเู้ ข้าร่วมโครงการประมาณ 150 คน แบ่งออกเป็ น 15 ทีม ทีมละ 10 คน โดยแต่ละทีมมีหน้าทีใ่ นการขุดยกแปลงพร้อม กันและรดนํ้าพรวนดินตามวันและเวลาทีไ่ ด้รบั มอบหมายของ แต่ละทีม 4. จัดให้มฝี า่ ยการเงินและบัญชี - มีผทู้ าํ หน้าทีด่ แู ละรักษาเงินและผูท้ ค่ี อยตรวจสอบจํานวนเงิน ว่าตรงกับใบเสร็จรับเงินหรือไม่ โดยผูท้ ร่ี บั ผิดชอบแต่ละหน้าที่ ต้องไม่ใช่บุคคลเดียวกัน 5. จัดให้มฝี า่ ยทํารายงานโครงการ การวางแผนงบประมาณ และแนวทางการจัดหาเงิ นทุนสนับสนุน การวางแผนงบประมาณมีการจัดสรรเงินมาจากนิสติ ชัน้ ปี ท่ี 3 และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชาเป็ นเงินทัง้ สิน้ 17,000 บาท มีคา่ ใช้จา่ ยโดยประมาณดังนี้ ไม้ 3,500 บาท เมล็ดพันธุพ์ ชื 3,000 บาท ดินผสมปุ๋ย 6,000 บาท สแลนล้อมรัว้ 2,500 บาท อุปกรณ์ทาํ สวน 2,000 บาท การดําเนิ นงาน การขุดยกแปลง


66

หลังจากวัดแปลงและขึงแปลง ขนาด ความกว้าง 1 เมตร ยาว 3 - 4 เมตร

ขัน้ ตอนที่ จัดเตรียม

1 การกําจัดต้นไม้ หรือวัชพืชออกจากแปลงปลูก และมากองรวมไว้ในแปลงที่


67

ขัน้ ตอนที่ 2ยกร่องแปลงสําหรับ การปลูกผักนิยมยกแปลงให้มลี กั ษณะนู นโค้งจากตรง กลางแปลงลาดลงสู่ขอบแปลงเพื่อป้องกันการขังของนํ้ าในแปลง และเว้นขอบแปลงเป็ นที่ราบสําหรับ ทางเดินทัง้ ขอบแปลงทัง้ สองด้าน ยกแปลงสูงประมาณ 4-5 นิ้ว จากผิวดิน โดยมีความกว้าง 1 เมตร ยาว 3 - 4 เมตร ความยาวของแปลงอยูใ่ นทิศเหนือ-ใต้ เพือ่ ให้ผกั รับแสงแดดได้ทวถึ ั่ ง

ขัน้ ตอนที่ 3 นําดินเดิมกลบต้นไม้ หรือวัชพืชทีท่ าํ ในขัน้ ตอนที่ 1 เพือ่ ปรับปรุงคุณภาพดินโดย การสร้างอาหารให้ดนิ


68

ขัน้ ตอนที่ 4 นํามูลวัวและใบก้ามปูมาโรยประมาณ 3 กิโลกรัมต่อพืน้ ที่ 1 ตารางเมตร โดยใส่ ก่อนปลูก 1 สัปดาห์เพือ่ ปรับปรุงดินให้รว่ นซุยมีสว่ นประกอบของดินดีและโรยด้วยมูลวัวอีกชัน้

ขัน้ ตอนที่ 5 นําดินทีเ่ ตรียมใส่แปลงทีป่ รับปรุงคุณภาพดินแล้วในปริมาณทีเ่ หมาะสม เนื่องจาก ดินทีม่ อี ยูไ่ ม่เหมาะสมในการเพาะปลูก


69

ขัน้ ตอนที่ 7ปรับปรุงคุณภาพด้วยด้วยนํ้าหมักชีวภาพ ซึง่ หมักจากเศษอาหารเหลือทิง้ 1 ส่วน + กากนํ้าตาล 1 ส่วนหมักทิง้ ไว้ประมาณ 5-7 วัน และนํานํ้าหมักรดดินให้ชมุ่ ในสัดส่วนนํ้าหมัก 1 ส่วนใน นํ้า 100 ส่วน

การลงพืชพันธุ์ 1. นําเมล็ดพืชผักสวนครัวเพาะปลูกในภาชนะ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 2. นําต้นกล้าทีม่ ใี บเลีย้ ง 3 ใบ มาลงแปลงทีเ่ ตรียมไว้ โดยแบ่งพืชไม้เลือ้ ย พืชขนาด เล็ก พืชขนาดใหญ่


70

การอนุบาลแปลงก่อนส่งมอบ - การดูแลรดนํ้าต้นไม้ - รดนํ้าต้นไม้ให้ถูกเวลาและถูกวิธี ควรรดนํ้าแต่เช้าตรูเ่ พราะต้นไม้สว่ นใหญ่ จะใช้ ประโยชน์จากนํ้าในตอนกลางวันเท่านัน้ (ในกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง,photosynthesis) เคล็ดลับก็คอื ทํายังไงก็ได้ให้เครือ่ งปลูกมีความชุม่ ชืน้ อยูเ่ สมอในเวลากลางวัน แต่ตอ้ งแห้ง หมาดๆในเวลากลางคืน พืชบางชนิดรดนํ้าตอนเช้าครัง้ เดียวก็พอแล้ว บางชนิดทีช่ อบชืน้ มากก็ รดอีกทีตอนเทีย่ งหรือบ่ายๆ (การรดนํ้าตอนแดดจัดมากช่วงฤดูรอ้ น แนะนําภายใต้ โรงเรือนเพาะชําเท่านัน้ เพราะในสภาพกลางแจ้งบางครัง้ หยดนํ้าทีค่ า้ งทีใ่ บ อาจทําให้ใบมี อุณหภูมสิ งู จนเกิดความเสียหายและเชือ้ ก่อโรคแทรกได้) หลีกเลีย่ งการรดนํ้าตอนหัวคํ่าอย่าง เด็ดขาดเพราะหยดนํ้าทีค่ า้ งตามซอกใบและวัสดุปลูกในเวลากลางคืนจะเอือ้ ต่อการเจริญของเชือ้ ก่อโรคได้เป็ นอย่าง


71

การส่งมอบ องค์ความรูท้ างด้านการพึง่ พาตนเองทีใ่ ช้เพือ่ การดูแปลงทีใ่ ห้ความรูก้ บั เจ้าหน้าทีท่ างศูนย์ ต้องมีการรดนํ้า พรวนดิน อย่างสมํ่าเสมอ และมีการใช้น้ําหมักทุกๆวัน แบ่งหน้าที่ สําหรับผูด้ แู ลแปลงผัก การส่งมอบแปลงพืชพันธุ์ วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ได้มกี ารส่งมองแปลงพืชพันธุใ์ ห้กบั ศูนย์พฒ ั นาการจัด สวัสดิการสังคมผูส้ งู อายุบา้ นบางละมุง

ผลที่ได้จากการจัดทําโครงการ การวิเคราะห์ความสามารถพึง่ พาตนเองของศูนย์หลังมีแปลงพืชพันธุเ์ พือ่ การพึง่ ตนเอง จากการทีไ่ ด้สง่ มอบแปลงพืชพันธุเ์ พือ่ การพึง่ ตนเองให้ทางศูนย์บา้ นพักคนชรา ทาง บ้านพักคนชราได้มอบหมายให้คนชราทีเ่ ป็ นผูด้ แู ลพืน้ ทีน่ ้ีแบ่งหน้าทีก่ นั ในการทีด่ แู ลต้นไม้ เช่น รดนํ้าต้นไม้ พรวนดิน ใส่ป๋ ยุ เป็ นต้น และจะมีแม่ครัวทีท่ าํ หน้าทีใ่ นการทําอาหารให้แก่คนชรา สามารถทีจ่ ะมาเก็บผักเพือ่ ไปทําอาหารได้ ซึง่ แปลงผักทีไ่ ด้ปลูกมีผกั หลากหลายชนิด มีทงั ้ ผัก สมุนไพร ผักสวนครัว เป็ นต้น ทําให้แม่ครัวสามารถจัดสรรผักในการทําอาหาร อีกทัง้ ผัก สมุนไพรยังสามารถช่วยบรรเทาอาการเจ็บปว่ ยของคนชราได้อกี ด้วย หลังจากทีเ่ ก็บผักแล้วต้อง มีการหมุนเวียนในการเก็บผัก เพราะผักแต่ละชนิดมีเวลาในการเจริญเติบโตไม่เท่ากัน และต้องมี การปรับปรุงดินอยูเ่ สมอ เนื่องจากในพืน้ ทีน่ นั ้ ดินเป็ นดินทราย ซึง่ ไม่เหมาะแก่การเพาะปลูก ส่วนผักบางชนิดทีเ่ ก็บแล้วหมดไป ต้องทําการปลูกผักใหม่ การปลูกผักใหม่อาจจะสอบถามจาก แม่ครัวเพือ่ ผลัดเปลีย่ นผักในการปลูกเป็นช่วงๆไป สรุปได้วา่ การมอบหมายแปลงพืชพันธุเ์ พือ่ การพึง่ ตนเองทําให้เกิดการประหยัดค่าใช้จา่ ยในการ ทําอาหารและยังช่วยลดเวลาในการหาซือ้ สินค้า ช่วยให้แม่ครัวสามารถเก็บผักในยามวิกาลได้สะดวก เพือ่ เตรียมทําอาหาร ทักษะทีไ่ ด้ฝึกฝนจากการจัดกิจกรรม 1. ฝึ กการจัดสรรเวลา ใช้เวลาให้เป็ นประโยชน์


72

2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ฝึ กการบูรณาการ ฝึ กการจัดสรรงบประมาณต้นทุน การบริหารต้นทุนทีแ่ ท้จริง ฝึ กการทํางานแข่งกับเวลา ฝึ กความอดทน และความมีระเบียบวินยั ความใส่ใจในการดูแลดินและต้นไม้ ฝึกการวางแผนงานเพือ่ ปฏิบตั งิ านจริง ฝึกการทํางานร่วมกันเป็ นหมูค่ ณะ ฝึกการแสดงความคิดเห็น ความกล้าแสดง กล้าทีจ่ ะลงมือทํา ฝึกความรับผิดชอบในหน้าทีข่ องตนเองตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ฝึ กแก้ปญั หาต่อเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้

ประโยชน์ ที่ผจู้ ดั ทําโครงการได้รบั 1. ทราบถึงการประสานงานในแต่ละฝา่ ยเพือ่ ทําให้เกิดความสัมพันธ์อนั ดีต่อหมูค่ ณะ 2. ประสบการณ์ในการปฏิบตั งิ านจริง 3. ทราบถึงกระบวนการในการทํางานในแต่ละฝา่ ย 4. การบูรณาการความรูท้ งั ้ หมดให้เกิดประโยชน์ 5. ทราบถึงกระบวนการทํางานเมือ่ ต้องแข่งกับเวลา 6. เรียนรูก้ ารปฏิบตั งิ านทีต่ อ้ งเผชิญกับปญั หาทีไ่ ม่คาดคิด 7. ทําให้จดั สรรเวลาในการทํางานได้ดยี งิ่ ขึน้ 8. ทําให้มคี วามรับผิดชอบมากยิง่ ขึน้ 9. ทําให้ใช้ความรูท้ ไ่ี ด้เรียนมาให้เกิดประโยชน์ 10. ทําให้เกิดความสัมพันธ์อนั ต่อกัน ทําให้เกิดการพูดคุยกันมากยิง่ ขึน้


73

บรรณานุกรม ศูนย์พฒ ั นาการจัดสวัสดิ การสังคมผูส้ งู อายุบา้ นบางละมุง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://thaigiving.org/organization/detail/1305/info. (วันทีค่ น้ ข้อมูล : 26 ตุลาคม 2558). ศูนย์พฒ ั นาการจัดสวัสดิ การสังคมผูส้ งู อายุบา้ นบางละมุง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.yellowpages.co.th/profile/522570791891001. (วันทีค่ น้ ข้อมูล : 26 ตุลาคม 2558).


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.