มคอ.3
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2554) รหัสวิชา GOHI 1102 ชื่อวิชา แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตรสําหรับการทองเที่ยว ชื่อวิชา Maps and Tools for Geography for Tourism ภาควิชาสังคมศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว
ภาควิชาสังคมศาสตร
คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
มคอ.3
สารบัญ หนา หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป
2
หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค
3
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ
4
หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรูของนักศึกษา
5
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
8
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
10
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
11
สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว
ภาควิชาสังคมศาสตร
คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
มคอ.3
รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา จันทรเกษม คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ภาควิชาสังคมศาสตร
หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชารหัสวิชา GOHI 1102 แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตรสําหรับการทองเที่ยว 2. จํานวนหนวยกิต 3(2-2-5) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หลักสูตรภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว วิชาเอก 4. อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชา อาจารยสุกานดา สารนอย 5. ภาคการศึกษา / ชั้นปที่เรียน 1/ 2554 ชั้นปที่1 ตามแผนการศึกษาของหลักสูตร 6. รายวิชาทีต่ อ งเรียนมากอน (pre-requisite) ไมมี 7. รายวิชาทีต่ อ งเรียนพรอมกัน (co-requisites) ไมมี 8. สถานที่เรียน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม รัชดา 9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งลาสุด วันที่ 18 เมษายน 2554
สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว
ภาควิชาสังคมศาสตร
คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
มคอ.3
หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค 1. จุดมุงหมายของรายวิชา -เพื่อใหนักศึกษามีความรู ทางวิชาการ เรือ่ ง การใชเครื่องมือทางภูมิศาสตร ในการ ศึกษา สํารวจขอมูล วิเคราะหขอมูลเพื่อการวางแผนและพัฒนาการทองเที่ยว และมีคุณธรรม จริยธรรมที่เหมาะสม 2. วัตถุประสงคในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา - เปลี่ยนชื่อ และทักษะรายวิชาเพื่อใหสอดคลองกับรายละเอียดของเนื้อหา - เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนใหนักศึกษาสามารถพัฒนาทักษะการเรียนรูดวยตนเองและ สงเสริมใหดึงศักยภาพของตนออกมาได
สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว
ภาควิชาสังคมศาสตร
คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
มคอ.3
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ 1. คําอธิบายรายวิชา การใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการสํารวจขอมูล การเก็บขอมูล วิเคราะหขอมูลเพื่อการ วางแผนและพัฒนาการทองเที่ยว แหลงทองเที่ยว องคประกอบที่เหมาะสมกับการทองเที่ยว สําหรับ การประกอบกิจกรรมทางดานนันทนาการเศรษฐกิจ 2. จํานวนชั่วโมงที่ใชตอ ภาคการศึกษา บรรยาย
สอนเสริม
30 (2 ชั่วโมง * 15 สัปดาห)
-
การฝกปฏิบัต/ิ งาน ภาคสนาม/การฝกงาน
การศึกษาดวยตนเอง
30
75
(2 ชั่วโมง * 15 สัปดาห)
(5 ชั่วโมง * 15 สัปดาห)
3. จํานวนชั่วโมงตอสัปดาหที่อาจารยใหคําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนักศึกษาเปนรายบุคคล 3 ชั่วโมง โดยระบุวัน เวลา ไวในประมวลการสอน และแจงใหนักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการเรียน การสอน
สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว
ภาควิชาสังคมศาสตร
คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
มคอ.3
หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรูของนักศึกษา 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมทีต่ อ งพัฒนา 1. มีทัศนคติที่ดีตอวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในหนาที่ 2. มีสวนรวมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนาองคกรและสังคม 3. มีวินัย ตรงตอเวลาและแสดงออกซึ่งคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน 1.2 วิธกี ารสอนที่จะใชพัฒนาการเรียนรู 1. อธิบายเครื่องมือที่ใชในการเรียนการสอนและประสบการณจริงที่เกิดขึ้น 2. ใหนักศึกษาไดใช พรอมลงมือปฏิบัติเครื่องมือจริง 3. ใหนักศึกษาจัดกิจกรรมและวางแผนการทองเที่ยว 1.3 วิธกี ารประเมินผล 1. ประเมินจากการเขาชั้นเรียนและกิจกรรมในชั้นเรียน 2. ประเมินจากความตรงตอเวลาในการสงงานและประสิทธิภาพของงานที่ไดรับมอบหมาย 3. ประเมินจากคําตอบของขอสอบเชิงวิชาการและการประยุกตใช 2. ความรู 2.1 ความรูที่จะไดรับ 1. นักศึกษามีความรูความเขาใจเครื่องมือทางภูมิศาสตรที่มีความสําคัญตอการพัฒนาการทองเที่ยว 2. นักศึกษาสามารถประยุกตใชความรูภาคทฤษฎีและปฏิบัติไปสูการวางแผนการพัฒนาการทองเที่ยวได 2.2 วิธกี ารสอน 1. บรรยายและทําแบบฝกปฏิบัติ 2. ใหนักศึกษาจัดทําแผนผัง แผนที่แหลงทองเที่ยวและทํารายงาน 3. ใหนักศึกษาคนควาดวยตนเองและปฏิบัติในพื้นที่จริง 2.3 วิธกี ารประเมินผล 1. ประเมินจากประสิทธิผลของการคนควาและรายงาน 2. ประเมินจากประสิทธิผลของแบบฝกปฏิบัติ และการปฏิบัติจริง 3. ประเมินจากคําตอบขอสอบอัตนัยทั้งทางวิชาการและการวิเคราะห
สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว
ภาควิชาสังคมศาสตร
คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
มคอ.3 3. ทักษะทางปญญา 3.1 ทักษะทางปญญาที่ตองพัฒนา 1. สามารถประยุกตใชความรูทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติไปสูการวางแผนการทองเที่ยว 2. สามารถประมวลความรูและศึกษาขอมูลเพื่อวิเคราะหพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน 3.2 วิธกี ารสอน 1. บรรยายและกิจกรรมในชั้นเรียน 2. มีสวนรวมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนาองคกรและสังคม 3. มีวินัย ตรงตอเวลาและแสดงออกซึ่งคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน 3.3 วิธกี ารประเมินผลทักษะทางปญญาของนักศึกษา 1. ทดสอบยอย และปลายภาค โดยเนนขอสอบที่มีการวิเคราะหและการประยุกตความรูทศี่ ึกษา 2. โดยพิจารณาจากผลงานที่สงมาใหตรวจวาผูเรียนมีความเขาใจเรื่องที่เรียนมากนอยเพียงใด 4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบที่ตองการพัฒนา 1. ทักษะการสรางสัมพันธภาพระหวางนักศึกษาดวยกัน 2. ทักษะความเปนผูนําและผูตามในการทํางานเปนทีม 3. ทักษะการเรียนรูดวยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายใหครบถวนตามกําหนดเวลา 4.2 วิธกี ารสอน 1. ใหทํารายงานรวมกันเปนกลุมโดยเนนการประยุกตความรูที่เรียนในวิชากับปญหาที่กําหนด 2. ชี้แจงกับนักศึกษาถึงความจําเปนของทักษะตาง ๆ ในระหวางทํากิจกรรมรวมกันตลอดจนการมี มนุษยสัมพันธ 4.3 วิธกี ารประเมิน 1. ประเมินตนเอง และเพื่อน ดวยแบบฟอรมที่กําหนด 2. ประเมินรายงานที่นําเสนอและพฤติกรรมการทํางานเปนทีม 3. ประเมินพฤติกรรมนอกหองเรียน 4. ทักษะปฏิบัติการในการนําเสนอรายงาน
สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว
ภาควิชาสังคมศาสตร
คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
มคอ.3 5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่ตองพัฒนา 1. ทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟง การเขียน โดยการทํารายงาน และนําเสนอในชั้นเรียน 2. ทักษะในการวิเคราะหขอมูลจากกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นในประเทศไทย 3. ทักษะในการคนหาความรูเพิ่มเติมดวยตัวเองโดยการสืบคนขอมูลทางอินเทอรเน็ต 4. ทักษะในการนําเสนอรายงานโดยใชรปู แบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.2 วิธกี ารสอน 1. เนนการสอนที่ใชปญหานํา ทฤษฏีตาม และการพัฒนาแนวคิดจากปญหาเพื่อนําไปสูการคนพบ 2. นําเสนอโดยใชรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม 3. อภิปรายรวมกันกับนักศึกษาในระหวางการสอนโดยการตั้งคําถามที่มาจากปญหาจริง หรือบทความ วิชาการ เพื่อใหนักศึกษาฝกคิดหาวิธีการแกปญหา 4. ปฏิบัติการคนควาขอมูลที่เกี่ยวของบทเรียน จากประเด็นที่อาจารยกําหนดให 5.3 วิธกี ารประเมิน 1. การจัดทํารายงาน และนําเสนอดวยสือ่ เทคโนโลยีมัลติมีเดีย 2. การมีสวนรวมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย 3. การสงงาน การตอบคําถามการอภิปรายกลุม
สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว
ภาควิชาสังคมศาสตร
คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
มคอ.3
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน สัปดาหที่
หัวขอ/รายละเอียด
จํานวน* กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช (ชั่วโมง) -อธิบายความหมายของนิยามศัพทเฉพาะ 6
1-2
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับภูมิศาสตร - ภูมิหลังภูมิศาสตร - ภูมิศาสตรกับการทองเที่ยว
3-4
เครื่องมือทางภูมิศาสตร - แผนที่
6
5-7
เครื่องมือทางภูมิศาสตร(ตอ) -ภาพถายทางอากาศ -ภาพถายจากดาวเทียม
9
เครื่องมือทางภูมิศาสตร(ตอ) -เข็มทิศ -เครื่องระบุพิกัดภูมิศาสตร ระบบสารสนเทศทางภูมศิ าสตร
6
เครื่องมือทางภูมิศาสตรกับการทองเที่ยว -การใชแผนที่เพื่อการทองเที่ยวในพื้นที่จริง -แหลงที่มาของแผนที่เพื่อการทองเที่ยว
9
8 9-10 11-12 13-15
6
-ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนการสอน -ศึกษาจากอุปกรณประกอบการเรียนการสอน -กิจกรรมกลุม -อธิบายความหมายของนิยามศัพทเฉพาะ -ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนการสอน -ศึกษาจากอุปกรณประกอบการเรียนการสอน -ทําแบบฝกหัด -ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนการสอน -ทําแบบฝกหัด - กิจกรรมอภิปรายกลุม
สุกานดา สารนอย
สุกานดา สารนอย
สุกานดา สารนอย
สุกานดา สารนอย
สุกานดา สารนอย
สุกานดา สารนอย
สอบปลายภาค
16
สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว
-ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนการสอน -ศึกษาจากอุปกรณประกอบการเรียนการสอน -ทําแบบฝกหัด -อธิบายความหมายของนิยามศัพทเฉพาะ -ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนการสอน -ศึกษาจากอุปกรณประกอบการเรียนการสอน -ทําแบบฝกหัด -ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนการสอน -ศึกษาจากอุปกรณประกอบการเรียนการสอน - กิจกรรมกลุม สอบกลางภาค
ผูสอน
ภาควิชาสังคมศาสตร
คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
มคอ.3 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู ผลการเรียนรู*
วิธกี ารประเมิน**
สัปดาหที่ประเมิน
สัดสวนของการ ประเมิน
คะแนนจากเวลาเรียน การรายงานและงานพิเศษ กลางภาค สอบปลายภาค 1.1,1.2,1.3,2.1, การเขาชั้นเรียน 2.3,3.1,3.2,4.1, การมีสวนรวม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้น 4.2,4.3,5.1,5.2, 5.3 เรียน
ตลอดภาคการศึกษา 8 16 ตลอดภาคการศึกษา
50% 20 % 30 %
1.1,1.2,1.3,2.1, วิเคราะหกรณีศึกษา คนควา การนําเสนอรายงาน 2.3,3.1,3.2,4.1, การทํางานกลุมและผลงาน 4.2,4.3,5.1,5.2, 5.3
ตลอดภาคการศึกษา
40 %
1.1,1.3,2.1,2.2, 2.3,3.1,4.1,5.1
สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว
ภาควิชาสังคมศาสตร
5% 5%
คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
มคอ.3
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. ตําราและเอกสารหลัก เอกสารประกอบการสอน วิชาแผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตรสําหรับการทองเที่ยว 2. เอกสารและขอมูลสําคัญ กวี วรกวิน .(2546)ภูมศิ าสตรการทองเทีย่ วประเทศไทย. พัฒนาคุณภาพวิชาการ จํากัด กรุงเทพฯ. นอม งามนิสัย. (2534). การแปลความหมายจากแผนที.่ ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.กรุงเทพมหานคร ผองศรี จั่นหาว. (2550).แผนที่และเทคนิคทางภูมิศาสตร. ไทยวัฒนาพานิช จํากัด. กรุงเทพฯ สุรภี อิงคากุล.(2545) การวิเคราะหขอ มูลระยะไกล. ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพฯ. http://www.gisthai.org/about-gis/vactor-gis.html 3. เอกสารและขอมูลแนะนํา วรรณา วงษวาณิช. ภูมศิ าสตรการทองเทีย่ ว. กรุงเทพฯ : วิรัตน เอ็ดดูเคชั่น, 2546 พิมพครั้งที่ 2 (459 หนา). วิชัย เทียนนอย. ภูมศิ าสตรการทองเทีย่ วไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, 2540 พิมพครั้งที่ 3 . สรรคใจ กลิ่นดาว. (2531). ระบบฐานขอมูลเชิงแผนที่เพื่อการวางแผน ติดตาม วิเคราะห และประเมินผล. แผนสิ่งแวดลอมจังหวัดและทองถิ่น ป 2543. หนา 64. อรสา สุกสวาง และคณะ. (2546). การสํารวจและการแผนทีก่ บั การพัฒนาประเทศอยาง ยั่งยืน หนา GIS & MAP 248. กรุงเทพฯ:
สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว
ภาควิชาสังคมศาสตร
คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
มคอ.3
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา 1. การสนทนากลุมระหวางผูสอนและผูเ รียน 2. การสะทอนความคิด จากพฤติกรรมของผูเรียน 3. แบบประเมินผูสอน และแบบประเมินรายวิชา 2. กลยุทธการประเมินการสอน 1. ผลการสอบ 2. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู 3. การปรับปรุงการสอน 1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 2. ประมวลขอมูลจากความคิดเห็นและความสนใจของนักศึกษาในชั้นเรียน นําไปสูการปรับการ เรียนการสอนใหยืดหยุนตามสถานการณความเหมาะสมในการเรียนรายวิชานี้ 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิร์ ายวิชาของนักศึกษา การทวนสอบการใหคะแนนจากการสุมตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารยอื่น ที่ไมใชอาจารยผูสอน แต อาจารยที่ทวนสอบตองมีความรูในวิชานี้ 5. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา ปรับปรุงเนื้อหารายวิชาทุก 4 ป หรือ ตามขอเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามขอ 4
สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว
ภาควิชาสังคมศาสตร
คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม