มคอ 3 การตลาด

Page 1

มคอ.3

รายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2554) รหัสวิชา GOHI3101 ชื่อวิชา ภูมศิ าสตรการตลาดและอุตสาหกรรม ชื่อวิชา Geographical Marketing and Industry ภาควิชาสังคมศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


มคอ.3

สารบัญ หนา หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป

2

หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค

3

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ

4

หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรูของนักศึกษา

5

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

8

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

10

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา

11

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


มคอ.3

รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา จันทรเกษม คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ภาควิชาสังคมศาสตร

หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชารหัสวิชา GOHI3101 ภูมศิ าสตรการตลาดและอุตสาหกรรม 2. จํานวนหนวยกิต 3(3-0-6) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หลักสูตรภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเทีย่ ว วิชาเอก 4. อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชา อาจารยสุกานดา สารนอย 5. ภาคการศึกษา / ชั้นปที่เรียน 1/ 2554 ชั้นปที่ 3 ตามแผนการศึกษาของหลักสูตร 6. รายวิชาทีต่ อ งเรียนมากอน (pre-requisite) ไมมี 7. รายวิชาทีต่ อ งเรียนพรอมกัน (co-requisites) ไมมี 8. สถานที่เรียน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม รัชดา 9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งลาสุด วันที่ 18 เมษายน 2554

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


มคอ.3 หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค 1. จุดมุงหมายของรายวิชา 1. เพื่อใหนักศึกษาเขาใจในหลักการพื้นฐานดานการตลาดและอุตสาหกรรม 2. เขาใจถึงกระบวนการทางการตลาดตางๆ ตั้งแตการแบงสวนตลาด การกําหนดตลาดเปาหมาย การวาง ตําแหนงในตลาด การแขงขันในตลาด ตลอดจนการตัดสินใจเกี่ยวกับสวนประสมทางการตลาด 3. สามารถวิเคราะหและเขาใจถึงเหตุผลที่ธรุ กิจนํากลยุทธทางการตลาดนั้นมาใช 4. เพื่อใหนักศึกษาสามารถบูรณาการความรูระหวางศาสตรที่เกี่ยวของได 5. เพื่อใหนักศึกษามีความรับผิดชอบตอธุรกิจ สังคม และบริบทแวดลอม 2. วัตถุประสงคในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา 1. ใหมีความรูค วามเขาใจเกี่ยวกับวิชาภูมิศาสตร เศรษฐกิจ การตลาด และอุตสาหกรรม 2. สามารถประยุกตใชความรูทางภูมิศาสตรกับการพัฒนาการตลาดและอุตสาหกรรม 3. ใหมีจิตสํานึกในการดูแลสิ่งแวดลอมตอการพัฒนาการตลาดและอุตสาหกรรม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


มคอ.3

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ 1. คําอธิบายรายวิชา ศึกษาปจจัยตางๆทางภูมิศาสตรที่มีผลตอเศรษฐกิจดานการตลาด และอุตสาหกรรม โดยเนนการวิเคราะห การกําหนดที่ตั้ง และบริเวณของการตลาดและอุตสาหกรรม 2. จํานวนชั่วโมงที่ใชตอ ภาคการศึกษา บรรยาย

45

สอนเสริม

การฝกปฏิบัต/ิ งาน ภาคสนาม/การฝกงาน

การศึกษาดวยตนเอง

-ไมม-ี

-ไมม-ี

90 (6 คาบ x 15 สัปดาห)

(3 คาบ x 15 สัปดาห)

3. จํานวนชั่วโมงตอสัปดาหที่อาจารยใหคําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนักศึกษาเปนรายบุคคล 3 ชั่วโมง โดยระบุวัน เวลา ไวในประมวลการสอน และแจงใหนักศึกษาทร าบในชั่วโมงแรกของการเรียน การสอน

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


มคอ.3

หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรูของนักศึกษา 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมทีต่ อ งพัฒนา 1. มีทัศนคติที่ดีตอวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในหนาที่ 2. มีสวนรวมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนาองคกรและสังคม 3. มีวินัย ตรงตอเวลาและแสดงออกซึ่งคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน 1.2 วิธีการสอนที่จะใชพัฒนาการเรียนรู 1. ปฏิบัติกิจกรรมตามสถานการณ เกม และบทบาทสมมุติแลวอภิปรายถึงแนวคิด ขอคิดที่สรางความ เขาใจชีวิต เขาใจคน และเขาใจธรรมชาติ และการปฏิบัติตอกันอยางเหมาะสมและสันติ 2. อภิปรายกลุมทั้งกลุมเฉพาะ และกลุมใหญ 3. กําหนดใหนักศึกษาหากรณีตัวอยางที่เกี่ยวของแลวนํามาวิเคราะหตามศาสตรและทฤษฎีที่เรียนพรอมกับ แลกเปลี่ยนเรียนรูกัน 1.3 วิธกี ารประเมินผล 1. ประเมินจากการเขาชั้นเรียนและกิจกรรมในชั้นเรียน 2. ประเมินจากความตรงตอเวลาในการสงงานและประสิทธิภาพของงานที่ไดรับมอบหมาย 3. ประเมินจากคําตอบของขอสอบเชิงวิชาการและการประยุกตใช 2. ความรู 2.1 ความรูที่จะไดรับ 1. นักศึกษามีความรูความเขาใจลักษณะความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงภูมิศาสตรการตลาดและ อุตสาหกรรม 2. นักศึกษาสามารถประยุกตใชความรูภาคทฤษฎีและปฏิบัติไปสูการวางแผนการวิเคราะหปจจัยทาง ภูมิศาสตรการตลาดและอุตสาหกรรม 3. นักศึกษาสามารถทําการคนควาวิจัยปญหาตาง ๆ ที่เกี่ยวของโดยใชเทคนิคทางภูมิศาสตรไดอยางมี ประสิทธิภาพ 2.2 วิธกี ารสอน 1. บรรยายและทําแบบฝกปฏิบัติ 2. ใหนักศึกษาจัดกิจกรรมทางกายภาพของโลก ประเทศไทย และทํารายงาน 3. ใหนักศึกษาคนควาดวยตนเองและปฏิบัติในพื้นที่จริง สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


มคอ.3 2.3 วิธกี ารประเมินผล 1. ประเมินจากประสิทธิผลของการคนควาและรายงาน 2. ประเมินจากประสิทธิผลของแบบฝกปฏิบัติ และการปฏิบัติจริง 3. ประเมินจากคําตอบขอสอบอัตนัยทั้งทางวิชาการและการวิเคราะห 3. ทักษะทางปญญา 3.1 ทักษะทางปญญาที่ตองพัฒนา พัฒนาความสามารถในการคิดอยางเปนระบบ มีทักษะทางการวิเคราะห สังเคราะห 3.2 วิธกี ารสอน 1. บรรยายและกิจกรรมในชั้นเรียน 2. มีสวนรวมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนาองคกรและสังคม 3. มีวินัย ตรงตอเวลาและแสดงออกซึ่งคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน 3.3 วิธกี ารประเมินผลทักษะทางปญญาของนักศึกษา 1.ทดสอบยอย และปลายภาค โดยเนนขอสอบที่มีการวิเคราะหและการประยุกตความรูที่ศึกษา 2.ประเมินจากการอภิปรายแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบทีต่ อ งการพัฒนา 1.ทักษะการสรางสัมพันธภาพระหวางนักศึกษาดวยกัน 2.ทักษะความเปนผูนําและผูตามในการทํางานเปนทีม 3.ทักษะการเรียนรูดวยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายใหครบถวนตามกําหนดเวลา 4.2 วิธกี ารสอน 1.ใหทํารายงานรวมกันเปนกลุมโดยเนนการประยุกตความรูที่เรียนในวิชากับปญหาที่กําหนด 2ชี้แจงกับนักศึกษาถึงความจําเปนของทักษะตาง ๆ ในระหวางทํากิจกรรมรวมกันตลอดจนการมี มนุษยสัมพันธ 4.3 วิธกี ารประเมิน 1.ประเมินตนเอง และเพื่อน ดวยแบบฟอรมที่กําหนด 2.ประเมินรายงานที่นําเสนอและพฤติกรรมการทํางานเปนทีม 3.ประเมินพฤติกรรมนอกหองเรียน 4.ทักษะปฏิบัติการในการนําเสนอรายงาน สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


มคอ.3 5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่ตองพัฒนา 1.ทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟง การเขียน โดยการทํารายงาน และนําเสนอในชั้นเรียน 2.ทักษะในการวิเคราะหขอมูลจากกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นในประเทศไทย 3.ทักษะในการคนหาความรูเพิม่ เติมดวยตัวเองโดยการสืบคนขอมูลทางอินเทอรเน็ต 4. ทักษะในการนําเสนอรายงานโดยใชรูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.2 วิธกี ารสอน 1.เนนการสอนที่ใชปญหานํา ทฤษฏีตาม และการพัฒนาแนวคิดจากปญหาเพื่อนําไปสูการคนพบ 2. นําเสนอโดยใชรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม 3. อภิปรายรวมกันกับนักศึกษาในระหวางการสอนโดยการตั้งคําถามที่มาจากปญหาจริง หรือบทความ วิชาการ เพื่อใหนักศึกษาฝกคิดหาวิธีการแกปญหา 4. ปฏิบัติการคนควาขอมูลที่เกี่ยวของบทเรียน จากประเด็นที่อาจารยกําหนดให 5.3 วิธกี ารประเมิน 1.การจัดทํารายงาน และนําเสนอดวยสื่อเทคโนโลยีมัลติมีเดีย 2.การมีสวนรวมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย 3. การสงงาน การตอบคําถามการอภิปรายกลุม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


มคอ.3

1. แผนการสอน สัปดาหที่ 1

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล หัวขอ/รายละเอียด

จํานวน* กิจกรรมการเรียนการสอนและสือ่ ทีใ่ ช (ชั่วโมง) -อธิบายความหมายของนิยามศัพทเฉพาะ 3

รูปแบบและวิธีการศึกษาวิชาภูมิศาสตร การตลาดและอุตสาหกรรม

2-3

แนวคิดในการเขาสูการตลาดและ อุตสาหกรรม

6

4-5

-ความสัมพันธระหวางพื้นที่รูปแบบตางๆ กับการเกิดการตลาดและอุตสาหกรรม เกษตรกรรม อุตสาหกรรม ระบบสารสนเทศกับภูมิศาสตรการตลาด และอุตสาหกรรม

6

6-7

6

-ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนการสอน -ศึกษาจากอุปกรณประกอบการเรียนการสอน -ทําแบบฝกหัด -อธิบายความหมายของนิยามศัพทเฉพาะ -ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนการสอน -ทําแบบฝกหัด -ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนการสอน - นักศึกษานําเสนอและอภิปราย -ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนการสอน -ศึกษาจากอุปกรณประกอบการเรียนการสอน - กิจกรรมกลุม

ผูสอน สุกานดา สารนอย

สุกานดา สารนอย

สุกานดา สารนอย สุกานดา สารนอย

สอบกลางภาค

8 9–10

- การสงเสริมการตลาดและอุตสาหกรรม

6

11–12

แนวโนม การตัดสินใจเกี่ยวกับการตลาด และอุตสาหกรรม

6

13–15

-การอภิปรายเกี่ยวกับภูมิศาสตรการตลาด และอุตสาหกรรมของประเทศตางๆกับ ประเทศไทย

9

16

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

-ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนการสอน -ศึกษาจากอุปกรณประกอบการเรียนการสอน -ทําแบบฝกหัด -อธิบายความหมายของนิยามศัพทเฉพาะ -ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนการสอน -ศึกษาจากอุปกรณประกอบการเรียนการสอน -ทําแบบฝกหัด -ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนการสอน -นักศึกษานําเสนอและอภิปราย - กิจกรรมกลุม

สอบปลายภาค

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สุกานดา สารนอย

สุกานดา สารนอย

สุกานดา สารนอย


มคอ.3 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู ผลการเรียนรู*

วิธกี ารประเมิน**

คะแนนจากเวลาเรียน การรายงานและงานพิเศษ 1.1,1.3,2.1,2.2, กลางภาค 2.3,3.1,4.1,5.1 สอบปลายภาค 1.1,1.2,1.3,2.1, การเขาชั้นเรียน 2.3,3.1,3.2,4.1, การมีสวนรวม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้น 4.2,4.3,5.1,5.2, 5.3 เรียน 1.1,1.2,1.3,2.1, วิเคราะหกรณีศึกษา คนควา การนําเสนอรายงาน 2.3,3.1,3.2,4.1, การทํางานกลุมและผลงาน 4.2,4.3,5.1,5.2, 5.3

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

สัปดาหที่ประเมิน

สัดสวนของการ ประเมิน

ตลอดภาคการศึกษา 8 16 ตลอดภาคการศึกษา

50% 20 % 30 %

ตลอดภาคการศึกษา

40 %

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

5% 5%


มคอ.3

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. ตําราและเอกสารหลัก เอกสารประกอบการสอน วิชาภูมิศาสตรกายภาพ 2. เอกสารและขอมูลสําคัญ ประเสริฐ วิทยารัฐ และ นอม งามนิสัย .(2549) ภูมิศาสตรกายภาพ. ภาควิชาภูมิศาสตร คณะ สังคมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.กรุงเทพมหานคร พรศุลี ไสยรินทร .หลักการตลาด. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี พิษณุ จงสถิตยวัฒนา .การบริหารการตลาด. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร , 2548. ยุพดี เสตพรรณ. (2543( ภูมศิ าสตรการทองเทีย่ วไทย : Geography of Thai tourism. ราชภัฎเพชรบุรีวิทยาลงกรณ , ปทุมธานี : พิมพครั้งที่ 3 (438 หนา). ราชบัณฑิตยสถาน.(2549) พจนานุกรมศัพทภมู ศิ าสตร.ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพครั้งที่ 4 . กรุงเทพฯ .หจก. โรงพิมพชวนพิมพ. http://www.gisthai.org/about-gis/vactor-gis.html 3. เอกสารและขอมูลแนะนํา อัจจิมา เศรษฐบุตร และ สายสวรรค วัฒนพานิช .การบริหารการตลาด .กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ,2547. William J.Stanton, Michael J.Etzel and Brucc J.Walker. 2001. Marketing. th

(12 ed). New York : McGraw – Hill. นิตยสารและหนังสือพิมพธุรกิจ เชน ประชาชาติธุรกิจ ฐานเศรษฐกิจ กรุงเทพธุรกิจ นิตยสาร Marketeer Brandage เปนตน

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


มคอ.3

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา 1.การสนทนากลุมระหวางผูสอนและผูเรียน 2.การสะทอนความคิด จากพฤติกรรมของผูเรียน 3.แบบประเมินผูสอน และแบบประเมินรายวิชา 2. กลยุทธการประเมินการสอน 1.ผลการสอบ 2.การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู 3. การปรับปรุงการสอน 1.สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 2. ประมวลขอมูลจากความคิดเห็นและความสนใจของนักศึกษาในชั้นเรียน นําไปสูการปรับการ เรียนการสอนใหยืดหยุนตามสถานการณความเหมาะสมในการเรียนรายวิชานี้ 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิร์ ายวิชาของนักศึกษา การทวนสอบการใหคะแนนจากการสุมตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารยอื่น ที่ไมใชอาจารยผูสอน แตอาจารยที่ทวนสอบตองมีความรูในวิชานี้ 5. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา ปรับปรุงเนื้อหารายวิชาทุก 4 ป หรือ ตามขอเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามขอ 4

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.