03
02
‡Ò
.ÇÔÈÇÏ ä¿¿
Decision
âË´«‹Í¹ÃÙ»
04
¿ÃÕ! Ἃ¹¾ÑºÃÇÁ¢ŒÍÁÙÅÃѺµÃ§ 1st Year Freshman
t up
Star
05
3rd Year Junior
àÃÕ¹ÃÙŒ¾×é¹°Ò¹ ÇÔÈÇÏä¿¿‡Ò·Ñé§ 4 ÊÒ¢Ò
.
2nd Year Sophomore
¹Ã¡ÊØ´æ
µÐÅØÂâ¤Ã§§Ò¹ ÇÔÈÇ¡ÃÃÁä¿¿‡Ò
4th Year Senior
06
àÃÕ¹¡ÅØ‹ÁÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹ ·Ò§ÇÔÈÇ¡ÃÃÁ
Eng
àÃÕ¹¡ÅØ‹ÁÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹ ¤³Ôµ-ÇÔ·Â
เสนทางสูวิศวกรไฟฟา 4 สาขาหลัก 5 สาขายอย ไฟฟากำลัง-อิเล็กฯ-คอนโทรล-สื่อสาร และสาขายอยอื่นๆ อยากเปนวิศวกรไฟฟา เริ่มนับหนึ่งเดี๋ยวนี้
เรียนอะไร ที่ไหน ¤³ÐÍÐäà ÊÒ¢Òä˹´Õ?
3 Parts 10 Stations
01
Áâ¹Ç ‹Ò..
àÂŒ!!. .µ´Ô á ÅŒÇ
สอบใหตดิ ?
Admissions
ตัวเรา+อาชีพ
วิศวกรไฟฟ า แผนที่การเดินทางสูอาชีพในฝน
ÍÒªÕ¾¹ÕéàËÁÒÐäËÁ?
Mix&Match
àµÃÕÂÁÊͺ µÃ§-áÍ´ÁÔªªÑè¹
พีร่ หัส กลุม มนุษยไฟฟา จุฬาฯ
07
up Level
Graduate Education
ËÅÑ¡ÊÙµÃ੾Òзҧ »ÃÔÞÞÒâ·-àÍ¡
¨º/äÁ‹¨º
10
09
08
ÊͺãºÍ¹ØÞÒµáÅÐ àµÃÕÂÁµÑÇÊÁѤçҹ
Graduation
¡çäÁ‹ÃÙŒÊÔ¹Ð
Succeed
àÂÊÊ ..
200
เนือ้ หาครอบคลุมวิศวกรรมไฟฟาสาขาตางๆ ในเลม 4 สาขาหลัก Electric Power, Electronics, Control และ Communications 5 สาขายอย Electrical Energy, Instrumentation, Automation, Mechatronics, Electromechanic Manufacturing
f
Born to be
วิศวกรไฟฟ้า
Authors Special Guests Publish#1 ISBN Pages Price Editor-in-Chief Editorial Staff Published by
Publishing Print Publishing Plate Distribution
Cradit Copyright
นวคุณ แก้วล�ำใย, วีรภัทร บุปผเวส, ธนา ศิลาโชติ ภิคเนตร อังอภิวัชร์ชวาล, วสิษฐ์ ชยาวิวัฒน์กุล อ.ดร.สุรชัย ชัยทัศนีย์, ศ.ดร.เดวิด บรรเจิดพงศ์ชัย, ผศ.ดร.เชาวน์ดิศ อัศวกุล, รศ.ดร.เอกชัย ลีลารัศมี พฤศจิกายน 2014 978-616-7720-09-8 368 หน้า 200 บาท ภีรพล คชาเจริญ สุรัสวดี วงศ์จันทร์สุข, ลัดดา คชาเจริญ Layout Designer: MEOW Illustrator: ชัชวาลย์ อ่อนอินทร์ ส�ำนักพิมพ์บายยัวร์เซลฟ์ ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด บายเนเจอร์ พับลิชชิ่ง 68/964 หมู่ 8 โครงการไพลินปาร์ค ชั้น 3 ซ.รัตนาธิเบศร์ 28 ถ.รัตนาธิเบศร์ ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทร. 02 965 7433 แฟกซ์ 02 965 7434 facebook : Born to be บริษัท โรงพิมพ์ ตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) NEO Film Prepress Solution บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) SE-EDUCATION PUBLIC COMPANY LIMITED เลขที่ 1858/87-90 อาคารทีซี ไอเอฟ ทาวเวอร์ ชั้น 19 ถ.บางนา-ตราด บางนา กรุงเทพฯ 10260 โทร. 0-2739-8222 Fax. 0-2739-8356-9 http://www.se-ed.com font : KRR-Aengaei
เนื้อหาและภาพประกอบในเล่ม ห้ามลอกเลียน ไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใด หรือทั้งหมดของหนังสือเล่มนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์
อักษรจากส�ำนักพิมพ์บายยัวร์เซลฟ์
Content Highlight
เริ่มต้นด้วยความรู้พื้นฐานวิศวกรรมไฟฟ้า เพื่อให้แยกแยะได้ว่า สาขาหลักของวิศวฯไฟฟ้ามีแขนงวิชาอะไรบ้าง ตามด้วยสาขาย่อยอื่นๆ ที่มีแกนเป็นไฟฟ้าที่น�ำไปสู่หลักสูตรต่างๆ ที่มีอยู่มากมาย ส่วนทีเ่ ป็นบทสัมภาษณ์อาจารย์ ทีช่ ว่ ยเปิดโลกวิศวกรรมไฟฟ้าให้กบั พวกเราได้อย่างลึกซึ้งถึงแก่นมากยิ่งขึ้น ซึ่งบทสัมภาษณ์จะให้แง่คิดดีๆ ที่อาจช่วยในการตัดสินใจในการศึกษาต่อได้ ครอบคลุมวิศวกรไฟฟ้าทั้งหมด 9 สาขา แบ่งออกเป็น 4 สาขา หลัก (Electrical, Electronics, Control และ Communications) 5 สาขาย่อย Electrical Energy, Instrumentation, Automation, Mechatronics, Electromechanic Manufacturing Engineer การเรียนรายวิชาของวิศวกรรมไฟฟ้าตลอด 4 ปี ครบทั้ง 4 สาขา หลัก ได้แก่ Electrical, Electronics, Control และ Communications สอดแทรกด้วยเทคนิคการเรียนและการเอาตัวรอด
Born to be PART 01 Station
01
11 Mix & Match “ตัวเรา”+”วิศวกรไฟฟ้า”
14 35 45 66 104
Station
02
03
สาขาทางเลือกภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า Rest Point A การไฟฟ้าทั้งสามแห่ง ของประเทศไทย สาขาย่อยวิศวกรรมไฟฟ้าอื่นๆ Rest Point B Teacher Interview Rest Point C มาตรฐานวิศวกรรมศาสตร์ โดย สกอ.
117 เรียนวิศวกรรมไฟฟ้าทีไ่ หนดี
Station
เส้นทางสูว่ ศิ วกรไฟฟ้า
118 121 123 126 129 130
หลักสูตร/แขนงวิชา/วิชาเอก วิศวกรรมไฟฟ้า เป็นวิศวกรไฟฟ้าสายไหนดี ชื่อปริญญาต่างๆ ของวิศวกรรมไฟฟ้า วิชาชีพวิศวกรรมควบคุมที่ต้องมี ใบ ก.ว. แขนงวิชาของวิศวกรรมไฟฟ้า หลากหลายหลักสูตรที่เปิดสอน
134 Admissions วิศวกรรมไฟฟ้า
135 วิศวฯ รับวุฒิอะไรบ้าง 137 ช่องทางสอบเข้าวิศวกรรมศาสตร์ 149 ปรับใหม่ระบบรับตรง-แอดมิชชั่นปี 59
Contents PART 02
การเรียนวิศวกรรมไฟฟ้า
Station
04
157 ปี1 เรียนกลุม่ วิชาพืน้ ฐานคณิต-วิทย์
Station
05
185 ปี2 เรียนกลุม่ วิชาพืน้ ฐานทางวิศวกรรม
Station
06
208 ปี3 เรียนรูพ ้ นื้ ฐานวิศวฯไฟฟ้าทัง้ 4 สาขา
Station
07
305 ปี4 ตะลุยโครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า PART 03
Station
08
จบแล้วไปไหน?
315 ใบประกอบวิชาชีพและเส้นทาง การท�ำงาน
315 ใบประกอบวิชาชีพ 326 เส้นทางการท�ำงาน Station
09
331 เส้นทางการศึกษาต่อ
332 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 336 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง Station
10
344 succeed
344 กุญแจส�ำคัญสู่การเป็นวิศวกรไฟฟ้า 351 Special for EE Students
MATLAB Programming
360 ประวัตพ ิ รี่ หัส
วิศวกรไฟฟ้าสร้างชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) ได้ระบุถึงบทบาทและความจ�ำเป็น ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีพลังงานในการพัฒนาเศรษฐกิจ และได้กล่าวถึงความต้องการเพิ่มประสิทธิภาพในการ ใช้พลังงานไฟฟ้าของชาติบนพื้นฐานการพัฒนาตาม แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดังนั้นความเจริญ เติบโตของภาคอุตสาหกรรมอันส่งผลต่อการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศนัน้ มีรากฐานทีส่ ำ� คัญอยูท่ ตี่ น้ ทุน การผลิตและประสิทธิภาพของขบวนการผลิต ซึ่งระบบ พลังงานไฟฟ้าถือได้ว่าเป็นปัจจัยส�ำคัญของทั้งสอง ตัวแปร นอกจากนีค้ วามมัน่ คงทางระบบพลังงานไฟฟ้าจะส่ง ผลกระทบถึงกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมโดยตรง บุคลากรทางด้านระบบพลังงานไฟฟ้าจึงมีความจ�ำเป็นที่ จะต้องได้รับการเรียนรู้ การบ่มเพาะความคิด และการ ฝึกฝนทักษะทางวิศวกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสมเพื่อ สามารถจะก�ำกับดูแลระบบพลังงานไฟฟ้าของประเทศ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วิศวกรรมไฟฟ้า Electrical Engineering เป็ น หลั ก สู ต รที่ เ กี่ ย วกั บ การน� ำ ความรู ้ พื้ น ฐาน ทางด้ า นคณิ ต ศาสตร์ แ ละวิ ท ยาศาสตร์ รวมถึ ง ต้ อ ง สามารถประยุกต์ความรู้ด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมต่างๆ เข้าด้วยกัน โดยเฉพาะองค์ความรู้ทางด้านไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ องค์ความรูท้ างด้านพลังงาน องค์ความรู้ ที่เกี่ยวเนื่องกับคณิตศาสตร์ประยุกต์ คอมพิวเตอร์และ ระบบจ�ำลอง องค์ความรู้ที่เกี่ยวเนื่องในด้านกลศาสตร์ องค์ความรูท้ เี่ กีย่ วเนือ่ งกับการบริหารจัดการระบบไฟฟ้า เพือ่ ให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ ทีจ่ ะสามารถน�ำองค์ความ รู้ทั้งหมดไปแก้ปัญหาจริงได้
ค นพบกฎกำลั ง ค นพบกฎกำลั ง อนหน าอนหน า ว า สองมาก ได บันทึกได ไว บวัน าทึกไว สองมาก คูล่ออมป คูแลต อมป ไม ได แต ไม ได พบกฎกำลั ประสบความสำเร็ จ พบกฎกำลั ประสบความสำเร็ จ งสอง งสอง แท งอำพัแท นเมืงอำพั ่อ นเมื พิมาพ นไป จนผ านไปผกผั น ทัผกผั ในการสร น ทั ้ ง แรง ในการสร างแหล งางแหล ง ้ ง แรง ถูดต วยขนสั ถูด วยขนสั ว ตีตพว ิมพ จตีนผ หนึ่งศตวรรษจึ ก า และแรง งถูก งถูไฟฟ กำเนิากระแส ดไฟฟ ากระแส ไฟฟ า และแรง กำเนิดไฟฟ จะสามารถดู จะสามารถดู ด หนึด ่งศตวรรษจึ ตีพมmaxwell ิ พ โดย maxwell ยกว า pile Volta’s pile แม เหล็กแม เหล็ก เรียกว า เรีVolta’s ของเบาๆของเบาๆ ขึ้น ขึตี้นพมิ พ โดย ได ได
Alessandro Alessandro Coulomb VoltaVolta Cavendish Coulomb Thales Cavendish Thales
1791 1791
1600 1600 1750 1750 1800 1800 550 550 1780 1780 1785 1785 1800 1800 B.C. B.C.
William Gilbert Carl Friedrich William Gilbert Carl Friedrich Luigi Galvani BenjaminLuigi Galvani Benjamin GaussGauss Frankinค นพบว ค Frankin นพบว ้อ ากล ามเนืากล ้อ ามเนื
เป นาผูโลกเรา เ สนอว าโลกเรา เป นผูเ สนอว ผู เยขีนคั ยนเขี ผู เขียนเขี มภียรนคั มภีร ได เสนอแนวคิ ได เงสนอแนวคิ ด ขาอ ดอนของกบจะ ขาอ อนของกบจะ ้นเป อนแท นเสมืงอนแท นั้นเป นนัเสมื คณิตเศาสตร กี่ยวกับเกี่ยวกับ ของประจุ บวก กเมื ของประจุ บวก กระตุ กระตุ รั บตศาสตร ่อได กรเมืับ่ อ ได คณิ กแท งใหญ แม เหล็กแม แท เงหล็ใหญ สนามแม สนามแม เหล็กโลกเหล็ในกโลก ใน บ าจากขวดไลเดน และประจุและประจุ ลบ ลไฟฟ ไฟฟ าจากขวดไลเดน ช วงต นศตวรรษที ช วงต นศตวรรษที ่ 19 ่ 19 โดยต อGauss มาใช Gauss โดยต อมาใช นหน วยของสนาม เป นหน วเป ยของสนาม Timeline วิวัฒนาการ แม เหล็กแม เหล็ก
โลกของไฟฟ้า
ค นพบสมการ ค นพบสมการ V=IR ส V=IR ง ส ง ผลให เคอร เสนอ ซอฟฟ เสนอ ผลให เคอร ซอฟฟ ผู รวบรวมกฎทั ผู รวบรวมกฎทั ้ง 4 ข อ ้ง 4 ข อ ข อ คือและ KCL และ กฎ 2 ข อกฎคือ2 KCL งทฤษฎีางทฤษฎี คลื่น คลื่น ซึ่งเป นหลักการและสร าและสร KVL ซึ่งKVL เป นหลั กการ นพบว าไฟฟ ากระแส ค นพบว าค ไฟฟ ากระแส เหล็าขึก้นไฟฟ มาาขึ้นมา น เหล็กแม ไฟฟ ่ ใช กันอยู่ ใช ใกนันอยู ใแม สามารถทำให ทิศ คำนวณที สามารถทำให เข็มทิศ เข็มคำนวณที ค.ศ. 1864 ในป ค.ศ.ในป 1864 ป จจุบัน ป จจุบัน เบนได เบนได
Hans Christian JamesJames ClerkClerk Hans Christian Georg Simon Ohm Georg Simon Ohm Maxwell Oersted Maxwell Oersted
1820 1820 1819 1819
1821 1821 AC 1888 AC 1888 DC 1880 1864 1864DC 1880 1826 1826
MichealThomas ThomasNikolas Nikolas AndreAndre Marie MarieMicheal FaradayEdisonEdison TeslaTesla Faraday Ampere Ampere
ผู ค นกพบหลัโทมัก ส เอดิโทมั แอมแปร แอมแปร และ และ ผู ค นพบหลั เอดิสนินั โคลา และ เทสลา นิโคลา เทสลา สนั ส และ บิโอต -ชาวาร การเหนีย่ การเหนี บิโอต -ชาวาร วนำ ย่ วนำ ผูร เิ ริม่ ตการผลิ ตกระแสไฟฟ า เป นผูร เิ ริเป ม่ นการผลิ กระแสไฟฟ า ได พบกฎเกณฑ แม เหล็กไฟฟ แม เหล็ า งพาณิ ได พบกฎเกณฑ า กไฟฟ ในเชิชย งพาณิ และทัง้ สองคนได ในเชิ และทัชย ง้ สองคนได ษฐ ษฐ ประดิ แรงดูดหรืแรงดู อผลัดกหรือผลักและประดิและประดิ ษฐ ประดิ ษฐ อไุปฟฟ กรณ อุปกรณ าที่สไฟฟ ำคัญาที่สำคัญ กันของกระแส ไดนาโมทีไดนาโมที ่ ไม มากมาย กันของกระแส ่ ไม มากมาย โดยเอดิโดยเอดิ สันได พสัฒันนาได พัฒนา จึงน้ เกิมาดกฎขึน้ มาใช ปฏิกใช ิยา ระบบผลิ จึงเกิดกฎขึ ิริยปาฏิกิรระบบผลิ และจ ากระแส ยไฟฟ ากระแส ตและจ าตยไฟฟ ตามชืาอ่นของท านทางเคมีทางเคมี ตรง และเทสลาได ตามชือ่ ของท ตรง และเทสลาได พัฒนาระบบ พัฒนาระบบ ผลิาตยไฟฟ และจ ากระแสสลั ยไฟฟ ากระแสสลั ผลิตและจ บ บ แบบหลายเฟส แบบหลายเฟส
01
PART เส้นทางสู่ ‘วิศวกรไฟฟ้า’
Powe
Electronics r
01
EE.Eng. Station
Mix & Match ‘ตัวเรา’+ ‘วิศวกรไฟฟ้า’
“วิศวกรรมไฟฟ้าส�ำคัญไฉน เรียนอะไร เหมาะกับเราแค่ ไหน จบไปแล้วท�ำงานอะไร” ค�ำถามเหล่านี้น่าจะเป็นค�ำถามยอดฮิต ติดชาร์ตในใจของน้องๆ ทุกคนตอนนี้กันอยู่เลยใช่มั้ยล่ะครับ การที่จะตอบค�ำถามว่า วิศวฯไฟฟ้าส�ำคัญยังไงนั้นง่ายมากเลย ครับ เพียงแค่น้องๆ ลองค้างค่าไฟที่บ้านซักสามเดือนแล้วรอ ให้การไฟฟ้ามาตัดไฟ พี่เชื่อว่าน้องๆ จะเข้าใจค�ำตอบของค�ำถาม นี้ ได้ภายในคืนแรกจนต้องรีบวิ่งไปจ่ายค่าไฟในทันทีที่การไฟฟ้า เปิดท�ำการเป็นแน่ เพราะในชีวิตประจ�ำวันของเรานั้นเต็มไปด้วย สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ต้องใช้ ไฟฟ้าแทบทั้งสิ้นนั่นเองครับ Communications
Control
Station
Station
Station
Station
Station
01
02
03
04
05
สาขาทางเลือกภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า อย่างทีพ่ ี่ได้บอกไว้ตอนแรกนะครับว่า “ศาสตร์” แห่งวิศวกรรมไฟฟ้า เป็นสิง่ ทีอ่ ยู่ ใกล้ตวั เรามากจริงๆ คราวนีเ้ ราจะมาดูกนั ว่า คนทีเ่ ข้ามาอยู่ ในโลกของวิศวกรรมไฟฟ้านั้นจะต้องเจอกับอะไรในหลักสูตรบ้าง และ แน่นอนครับ ส�ำหรับน้อง ม.ปลายที่เลือกเรียนวิศวกรรมไฟฟ้าจะต้อง ตัดสินใจด้วยนะครับว่า อยากเลือกทีจ่ ะเข้าไปเรียนในสาขาไหน ซึง่ แต่ละ สถาบันจะมีการจัดโครงสร้างทางหลักสูตรทีต่ า่ งกันเล็กน้อย บางสถาบัน มีการแบ่งสาขาย่อยตัง้ แต่ตอนทีน่ อ้ งสมัครแล้ว (คือน้องจะได้รสู้ าขาของ ตนเองตั้งแต่ปี 1 เลยครับ) ในขณะที่บางสถาบันไม่มีการแบ่งสาขาแต่ สามารถก�ำหนดวิชาทีอ่ ยากเรียนเองหรือเลือกตามความสนใจได้ ในตอน หลัง (กรณีนี้ น้องจะได้เรียนวิชาพื้นฐานของไฟฟ้าทุกสาขาในช่วงแรก แล้วค่อยแยกสาขาตามที่น้องชื่นชอบตอนปีที่ 3 นั่นเองครับ) เพื่อไม่ ให้เกิดความสับสนในการเลือกสาขาย่อย ในหัวข้อนี้พี่จะขอ พูดถึง “สาขา” ของวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งน้องจะได้ค�ำตอบอย่างคร่าวๆ ว่าสาขาไหนกันแน่นะที่จะเหมาะกับเรามากที่สุด เนือ่ งจากวิศวกรรมไฟฟ้ามันมีขอบเขตทีก่ ว้างมาก ดังนัน้ โดยทัว่ ไป จึงมีการแยกสาขาของวิศวกรรมไฟฟ้าออกเป็น 4 สาขาหลักๆ ซึ่งได้แก่ 14
สาขาไฟฟ้าก�ำลัง (Power Division) สาขาไฟฟ้าระบบควบคุม (Control Systems Division) สาขาไฟฟ้าสื่อสาร (Communication Division) สาขาไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Division) Born to be
Station
Station
Station
Station
Station
01
02
03
04
05
Rest Point B
Teacher Interview ประโยคที่ว่า “สิ่งไหนไม่รู้ก็ ให้มาถามนะ” ประโยคนี้มักจะได้ยิน ติดหูของน้องๆ กันมาโดยตลอดจากอาจารย์ผู้สอน และสิ่งหนึ่งที่น้อง feedback กลับไปหาท่านนั้น ก็คือ ความอายหรือไม่กล้าที่จะเข้าไป ถามค�ำถามกับอาจารย์ ทั้งๆ ที่น้องเองก็ยังสงสัยในสิ่งเหล่านั้นมาโดย ตลอด และพี่ก็เชื่อว่าไม่ ใช่เป็นแค่กลุ่มของน้องๆ ที่หยิบหนังสือเล่มนี้ ขึ้นมาอ่านเท่านั้นหรอกนะครับ คนอื่นๆ ก็เป็นเช่นเดียวกัน (มันเป็น นิสยั ของเด็กไทยอยูแ่ ล้วนะ แก้กนั ไม่หาย) ดังนัน้ เพือ่ ไม่ ให้เกิดสิง่ เหล่านี้ ขึน้ มาอีก และเพือ่ ให้นอ้ งได้หายข้อสงสัยหรือมีตวั ช่วยในการตัดสินใจใน การเข้ามาเรียนในคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาไฟฟ้า และในอนาคต จะได้ออกไปท�ำงานแล้วอยู่ ในสายของวิศวกรไฟฟ้าได้อย่างสมภาคภูมิ พีจ่ งึ ขออาสาแสดงให้เห็นเป็นตัวอย่าง ในการดึงความกล้าในการออกไป ถามค�ำถามยอดฮิตติดอันดับของน้องๆ ทุกคน เพื่อล่าหาค�ำตอบในจุด ที่สงสัยมานานแสนนาน กับอาจารย์ระดับผู้เชี่ยวชาญทั้ง 4 สาขาของ ภาควิชาไฟฟ้า จุฬาฯ ซึ่งอาจารย์ทั้ง 4 ท่านที่จะได้รู้จักกันต่อไปนี้นั้น ถือว่าเป็นสุดยอดของสุดยอดผู้ช�ำนาญการเฉพาะทางมากเลยทีเดียว ครับ เพราะพวกท่านทั้ง 4 จะมีมุมมองและลักษณะการท�ำงานที่ ไม่ เหมือนใคร มีเอกลักษณ์เป็นของตัวท่านเอง ซึง่ เป็นเรือ่ งทีด่ มี ากๆ ครับ 66
Born to be
Station
Station
Station
Station
Station
06
07
08
09
10
ท�ำให้ผลงานหลายๆ อย่างของท่านถูกตีพิมพ์ออกมาแล้วสร้างชื่อเสียง ให้กับทางมหาวิทยาลัยได้อย่างนับไม่ถ้วนเลยทีเดียวครับ พี่อยากให้ น้องๆ ได้รู้จักกับพวกท่านแล้วสิครับ ลองอ่านและลองจับประเด็น ใน มุมมองของอาจารย์ทั้ง 4 ท่านให้ ได้นะครับ แล้วน้องจะพบว่าแท้จริง แล้วการเป็นวิศวกรไฟฟ้า เป็นเรื่องที่ ไม่ยากเกินกว่าความสามารถของ น้องๆ ทุกคนเลยครับ ^_^ Power Q&A พวกเรามาเริ่มพูดคุยแล้วถามค�ำถามกับอาจารย์ท่านแรกกันเลย ดีกว่านะครับ อาจารย์ทา่ นแรกนี้มีชื่อว่า อาจารย์ ดร.สุรชัย ชัยทัศนีย์ ท่านเป็นอาจารย์น้องใหม่ประจ�ำภาควิชาวิศวฯไฟฟ้า สาขาไฟฟ้าก�ำลัง ที่เพิ่งเข้ามาท�ำงานได้ ไม่ถึง 7 ปีเท่านั้นเองครับ แต่ผลงานแต่ละอย่าง ของท่านนัน้ ล้วนแล้วสร้างคุณประโยชน์ตา่ งๆ ให้กบั ประเทศชาติของเรา มากมายนับไม่ถ้วนเลยทีเดียว งานภายในรั้วมหาวิทยาลัยของท่านนั้น ท่านก็ท�ำหน้าที่สอนวิชาและมอบความรู้ ให้กับนิสิตในทุกระดับชั้น ทั้ง ปริญญาตรี โท และเอก จนกระทั่ง ท่านมีนิสิตที่อยู่ภายใต้ความดูแล ของท่านอยู่เป็นจ�ำนวนมาก นับได้ ว่าเป็นอาจารย์ที่ยอดฮิตติดอันดับ ของนิสิตวิศวฯไฟฟ้า จุฬาฯ คนหนึ่ง เลยก็ว่าได้ครับ ^_^ (ไม่เก่งจริง ท�ำ ไม่ ได้นะเนี่ย) •อาจารย์ ดร.สุรชัย ชัยทัศนีย์ วิศวกรไฟฟ้า
67
Station
Station
Station
Station
Station
01
02
03
04
05
อาจารย์ท่านไม่ ได้ท�ำงานเฉพาะในรั้วมหาวิทยาลัยเท่านั้นนะครับ แต่ยังด�ำรงต�ำแหน่งเป็นที่ปรึกษาให้กับกระทรวงพลังงานและเหล่านัก วิชาการต่างๆ ที่สนใจในด้านของพลังงานไฟฟ้าในประเทศและต่าง ประเทศอีกด้วย โดยเฉพาะเรื่องของพลังงานหมุนเวียน อาจารย์ท่านนี้ จะเชี่ยวชาญเป็นพิเศษเลยล่ะครับ เรียกได้ว่าท่านเป็นคนที่มีชื่อเสียงใน วงการนีอ้ ย่างมาก ซึง่ ท่านจะมีแนวคิดหรือมุมมองต่ออาชีพวิศวกรไฟฟ้า ในด้านของไฟฟ้าก�ำลังยังไง ในอนาคตอาชีพนี้จะออกมาในรูปแบบไหน AEC จะมีผลกระทบมากรึเปล่า แล้วต้องเป็นคนยังไงถึงจะเรียกว่าเหมาะ สมกับวิศวฯไฟฟ้าก�ำลัง น้องๆ ทุกคนลองอ่านบทสัมภาษณ์นแี้ ละค้นหา ค�ำตอบเหล่านีก้ นั เองดูนะครับ ^_^ (หวังว่าน้องๆ จะชอบการสัมภาษณ์ ในครั้งนี้กันนะครับ) ในความคิดของอาจารย์แล้ว วิศวกรรมไฟฟ้าก�ำลังคืออะไรครับ วิศวกรรมไฟฟ้าก�ำลังคือ วิศวกรรมไฟฟ้าที่ศึกษาระบบไฟฟ้าที่มี ก�ำลังหรือพลังงานสูง หน่วยของก�ำลังไฟฟ้าก็คือ ค่าวัตต์ หรือวัตต์ชัว่ โมงโดยไฟฟ้าก�ำลังจะเกีย่ วกับค่าก�ำลังทีม่ าก เช่น กิ โลวัตต์ เมกะวัตต์ หรือถ้าพูดถึงเรือ่ งแรงดันไฟฟ้าก็จะเป็นระดับโวลต์ขนึ้ ไป ถ้าไฟบ้านก็จะ เป็น 220 V ขึ้นไป ในขณะที่ถ้าเป็นไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ก็จะเกี่ยวข้อง กับระดับแรงดันทีต่ ำ�่ ลงมา อย่างแรงดันระดับอุตสาหกรรมก็จะเป็น 12, 22, 24 กิโลโวลต์ ถ้าเป็นในระบบส่งก็จะเป็น 115, 230, 500 กิโลโวลต์ เป็นต้น แรงดันระดับนี้ก็จะเป็นส่วนของระบบไฟฟ้าที่วิศวกรรมไฟฟ้า ก�ำลังศึกษา 68
Born to be
Station
Station
Station
Station
Station
06
07
08
09
10
Communication Q&A คราวนี้เราก็จะมาต่อกันในสาขาที่ 3 สาขาไฟฟ้าสือ่ สารกันนะครับ อาจารย์ประจ�ำ สาขาไฟฟ้าสือ่ สารทีพ่ ี่ได้ ไปสัมภาษณ์มานีค้ อื ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เชาวน์ดศิ อัศวกุล เป็นอาจารย์อกี ท่านครับทีม่ ชี อื่ เสียงในวงการ ด้ า นไฟฟ้ า โดยเฉพาะสาขาไฟฟ้ า สื่ อ สาร เพราะท่านไม่ ได้สร้างผลงานเฉพาะในรั้ว มหาวิทยาลัยเท่านั้นนะครับ แต่ยังได้เข้า ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในภาคอุตสาหกรรม ใน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เชาวน์ดิศ อัศวกุล ฐานะวิศวกรไฟฟ้าคนหนึง่ ท่านได้เข้าไปช่วย ปรับปรุงและพัฒนาระบบการสื่อสารของ ประเทศให้มรี ะบบทีด่ มี ากยิง่ ๆ ขึน้ ไป ตามทีน่ อ้ งๆ ได้เห็นกันอยู่ในปัจจุบนั งานส่วนหนึ่งของท่านจะเกี่ยวกับด้าน Traffic Modeling and Controls in Large-Scale Network ซึ่งถ้าน้องๆ ดูจากชื่อแล้ว ก็จะพบว่า ระบบหรือแบบจ�ำลองทีท่ า่ นสนใจนัน้ ไม่ ใช่เล็กๆ เลยใช่มยั้ ล่ะ ครับ เห็นแบบนี้แล้วก็ยิ่งท�ำให้มั่นใจได้เลยครับว่า อนาคตในภายภาค หน้าของประเทศไทย จะต้องมีระบบที่เจ๋งๆ ที่เกิดจากฝีมือของท่าน อย่างแน่นอน และถ้าน้องๆ ที่อยากจะเป็นว่าที่วิศวกรไฟฟ้าของเมือง ไทยในอนาคต ก็อาจจะได้เข้ามาร่วมมือกับท่านสร้างผลงานดีๆ ชิ้นสุด ยอดนี้ด้วยก็เป็นได้นะครับ ^_^ วิศวกรไฟฟ้า
87
Station
Station
Station
Station
Station
01
02
03
04
05
ค�ำว่า “ไฟฟ้าสื่อสาร” นั้นโดยภาพรวมแล้วเราได้ศึกษาเนื้อหา เกี่ยวกับอะไรบ้างครับ? แล้วมันมีความแตกต่างกับไฟฟ้าในด้านอื่นๆ เช่น ไฟฟ้าก�ำลัง ไฟฟ้าระบบควบคุม และไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ อย่างไร บ้างครับ? “ไฟฟ้าสือ่ สาร” เป็นแขนงประยุกต์ของวิศวกรรมไฟฟ้า โดยมีเป้าหมาย ในการสร้างระบบสือ่ สารเพือ่ การรับ-ส่งข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ส่ง ได้ ไกลยิง่ ขึน้ ใช้ทรัพยากรน้อยลง ถูกต้องมากขึน้ เป็นต้น เนือ้ หาทีน่ สิ ติ จะ ได้ศึกษาด้านไฟฟ้าสื่อสารที่จุฬาฯ แบ่งเป็น 3 ส่วนครับ คือศึกษาเกี่ยว กับระบบสื่อสัญญาณ ทั้งแบบไร้สาย เช่น WiFi, 3G, 4G, satellite และแบบมีสายเช่น optical fiber, LAN (Local area network) ที่ เห็นต่อสายออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์หรือโมเด็มเราเตอร์ที่ ใช้ผ่าน โครงข่ายโทรศัพท์เดิมซึ่งเป็น WAN (Wide area network) เป็นต้น ส่วนที่สองคือเป็นการศึกษาเกี่ยวกับระบบโครงข่าย เช่น อินเทอร์เน็ต, ระบบสื่อสารเคลื่อนที่ และการจัดการเทคโนโลยี โครงข่ายโทรคมนาคม ต่างๆ และส่วนสุดท้ายคือ ศึกษาเกีย่ วกับข้อมูลสารสนเทศทีจ่ ะสือ่ สารกัน เช่น เทคโนโลยีสื่อประสม หรือ multimedia, โทรทัศน์ดิจิตอลและการ ประยุกต์ระบบสื่อสารกับงานด้านต่างๆ เช่น smart power grid, intelligent transportation system, building automation, internet application ครับ
88
Born to be
Station
Station
Station
Station
Station
06
07
08
09
10
02
EE.Eng. Station
เรียนวิศวกรรมไฟฟ้าที่ ไหนดี โดยทีมงาน Born to be
จากที่กองบรรณาธิการ Born to be ได้รวบรวมข้อมูลหลักสูตรที่ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เห็นชอบหลักสูตรแล้ว พบว่า หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ปริญญาตรี-โท-เอก ด้านไฟฟ้านัน้ เปิดกันเยอะแยะมากมายครับ แบ่งออกเป็นกลุ่ม ม.ของรัฐ ม.ในก�ำกับ ของรัฐ และ ม.เอกชน มีมหาวิทยาลัย/สถาบัน/วิทยาลัย รวมกันแล้วนับ 100 หลักสูตร มี ให้เลือกทั้งประเภทหลักสูตรไทย กึ่งอินเตอร์ (เรียน ไทย 2 ปี ต่างประเทศ 2 ปี) และนานาชาติ มีทงั้ ภาคปกติ/ต่อเนือ่ ง ภาค เช้า/ภาคสมทบ ใน Station แรกเราได้รกู้ นั ไปแล้วว่า วิศวกรรมไฟฟ้าในแต่ละสาขา เหมาะกับคนแบบไหน มัน Mix&Match กับตัวน้องรึเปล่า สมมติวา่ มัน โดนใจเข้าอย่างจัง และพร้อมยกระดับให้เป็นสาขาเป้าหมายที่ต้องสอบ ให้ตดิ ให้จงได้ ทีนกี้ ม็ าถึงขัน้ ตอนส�ำคัญทีว่ า่ “เรียนที่ ไหนดี” ก่อนทีจ่ ะไป ศึกษาช่องทางการสอบใน Next Station ยากแล้ว เลือกสาขาว่า ว่า ปวดหมอง ากยิ่งก จะเรียนที่ไหนย
วิศวกรไฟฟ้า 117
สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เป็นญาติห่างๆ ของไฟฟ้า เม่ื่อเทียบกับ 4 สาขาหลัก พี่ขอแยกออกมาต่างหาก เข้าใจตรงกันนะคะ
02
PART การเรียนวิศวกรรมไฟฟ้า ไฟฟ้า
อิเล็กฯ
สื่อสาร
คอนโทรล
Station
Station
Station
Station
Station
06
07
08
09
10
04
EE.Eng. Station
ปี1 เรียนกลุม่ วิชาพืน้ ฐานคณิต-วิทย์
ส�ำหรับชีวติ เด็กวิศวฯ ปี 1 ถ้าจะให้เริม่ นับคงจะเริม่ ต้นนับกันตัง้ แต่ ช่วงเวลาที่ประกาศผลสอบเลยก็ว่าได้ ในช่วงเวลานั้นน้องๆ หลายคน อาจจะต้องเก็บข้าวเก็บของเพื่อเตรียมตัวย้ายบ้านจากต่างจังหวัดเข้า มาหาคอนโดหรือหอพักในบริเวณใกล้ๆ มหาวิทยาลัย เพราะเพื่อนพี่ หลายคนที่บ้านอยู่ดอนเมือง ฝั่งธน หรือแม้แต่ลาดกระบังเอง ก็มาหา หอพักอยูเ่ หมือนกัน เนือ่ งจากใช้เวลาเดินทางในแต่ละวันเกือบ 4 ชัว่ โมง และบางทีเมื่อเรียนหนักๆ หรือช่วงใกล้สอบก็อาจจะท�ำให้เสียเวลา พักผ่อน หรือพักผ่อนไม่เพียงพอจนเป็นเหตุให้ ในวันพรุง่ นี้ ไม่มเี รีย่ วแรง จะมาเรียนหรือมาสอบได้ (ฟังแล้วรู้สึกน่าสงสารมากครับ) ดังนั้นการ อยู่หอพักจึงมีความจ�ำเป็นอย่างมากส�ำหรับน้องที่มีบ้านอยู่ ไกลจาก มหาวิทยาลัยมากๆ ซึ่งที่จุฬาฯเองก็มีหอพักมากมายไว้ ให้น้องมาเลือก อยู่ ในราคาทีย่ อ่ มเยาว์ แต่กจ็ ะมีกฎระเบียบมากมายทีจ่ ะต้องปฏิบตั ติ าม (ไม่งนั้ ก็ โดนไล่ออก) ส�ำหรับหอพักนอกก็มอี ยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก ราคาห้อง พักในปัจจุบันก็ราคาเกือบหมื่นบาทแล้วเหมือนกัน แต่ถ้าเป็นคอนโด ราคาก็พุ่งไปอีกหลายเท่าตัว แต่บางครั้งการศึกษาก็เป็นอะไรที่จะต้อง ลงทุนกันบ้างเหมือนกันนะครับ ^_^
วิศวกรไฟฟ้า 157
Station
Station
Station
Station
Station
06
07
08
09
10
05
EE.Eng. Station
ปี2 เรียนกลุ่มวิชาพื้นฐาน ทางวิศวกรรม
โอ้! เวลาผ่านไปเร็วจังเลยนะครับ เผลอแป๊บเดียวก็ขึ้นปี 2 กันแล้ว เมื่อกี้ยังมีความรู้สึกเหมือนใช้ชีวิตเป็นน้องใหม่ปี 1 อยู่เลย แต่ยังไง น้องๆ ก็ตอ้ งอยูก่ บั โลกแห่งความเป็นจริงนะครับ เนือ่ งจากน้องได้มาอยู่ ในจุดเริม่ ต้นของว่าทีว่ ศิ วกรไฟฟ้าในอนาคตกันแล้ว ในชีวติ ปี 2 ของน้อง นั้น จะได้เริ่มเรียนวิชาของภาคไฟฟ้ามากขึ้นกว่าตอนที่เรียนในชั้นปี 1 แต่กย็ งั ต้องเรียนวิชาทีม่ าจากภาควิชาอืน่ บ้างเล็กน้อยด้วยนะ เช่น ภาค วิชาเครือ่ งกล และพีก่ ข็ อแสดงความเสียใจ (หรือจะแสดงความยินดีดนี ะ) ด้วยกับน้องที่ ไม่ชอบภาษาหรือเกลียดเอามากๆ และได้ C หรือ D+ มา ตอนที่เรียนอยู่ปี 1 เพราะคณะวิศวฯ จุฬาฯ ได้ปรับหลักสูตรใหม่ โดย นอกจากจะเรียนวิชาจากภาคเครื่องกลแล้ว น้องยังจะต้องเรียนภาษา เพิ่มอีกด้วย ซึ่งจะต้องเพิ่ม 2 ตัว หนึ่งในนั้นเป็นภาษาเพื่อการสื่อสาร (จะได้เรียนตอนปี 2 เนี่ยแหละ) และอีกตัวเป็นภาษาเพื่อการเขียน (จะ ได้เรียนตอนอยู่ปี 4 ครับ)
วิศวกรไฟฟ้า 185
Station
Station
Station
Station
Station
01
02
03
04
05
06
EE.Eng. Station
ปี 3 เรียนรู้พื้นฐานวิศวฯไฟฟ้า ทั้ง 4 สาขา
ก้าวเข้าสู่ชีวิตปี 3 กันแล้ว เรื่องราว ในชีวิตก็จะดูมีอะไรที่จะต้องรับผิดชอบ มากขึ้น ทั้งเรื่องเรียนและเรื่องงานที่ต่าง ถาโถมกันเข้ามาอย่างมากมาย ส�ำหรับ การใช้ชีวิตในชั้นปีนี้จะมีความรู้สึกว่า ตัว เรานั้นโตขึ้นจากเดิม มีความเป็นผู้ ใหญ่ มากขึ้น เมื่อเทียบกับชีวิตในการเรียนใน ชั้นปี 2 ก่อนหน้านี้ทุกๆ คนที่ ได้เข้ามา เรียนในภาควิชาไฟฟ้า ต่างได้ถกู ปูพนื้ ฐาน เลขกันมาอย่างเมามัน มีทงั้ คนที่ได้และไม่ ได้ มีทงั้ คนเขียนใบลาออกและย้ายภาคกัน ยกใหญ่ เนื่องจากรับเลขอันโหดร้ายเหล่า นัน้ ต่อไปไม่ ไหว ซึง่ ส�ำหรับใครทีร่ อดชีวติ ปี 2 มาได้ พีก่ ข็ อชมเลยว่า นายแน่มากครับ 555+
208
Born to be
Station
Station
Station
Station
Station
06
07
08
09
10
07
EE.Eng. Station
ปี 4 ตะลุยโครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า
เมื่อไหร่จะได้เป็นวิศวฯ เต็มตัวซะทีนะ บางคนหลังจากได้ฝึกงาน ในช่วงภาคฤดูร้อนกันมาแล้ว ก็มีความรู้สึกว่า ไม่อยากเรียนต่อแล้ว อยากออกไปท�ำงานเลย เพราะมีความรู้สึกว่า ท�ำงานแล้วสบายกว่า ตอนเรียนตั้งเยอะ ไม่ต้องมาท่องจ�ำสูตร หรือแก้สมการอันน่าปวดหัว แค่เราสามารถอธิบายงานให้กบั ลูกพีท่ ดี่ แู ลเราตลอดการฝึกงานให้เข้าใจ ได้ก็พอ ชีวิตสบายสุดๆ แต่! พี่อยากจะถามน้องๆ ว่าชีวิตแบบนั้นเมื่อ ถึงเวลาจริงมันจะสบายจริงเหรอ ถ้าสบายจริงท�ำไมรุ่นพี่ของพี่บางคน ถึงบ่นได้ทุกวันว่า “เหนื่อยสุดๆ” หรือ “ต้องไปท�ำงานอีกแล้วเหรอ ไม่ อยากไปเลย” จากค�ำพูดนีก้ ท็ ำ� ให้เห็นแล้วว่า ท�ำงานจริงๆ แล้วไม่สบาย หรอกนะ เหนือ่ ยก็เหนือ่ ย และแถมต้องมีความรับผิดชอบกว่าตอนทีเ่ รียน อยู่ด้วยซ�้ำไป แต่ก็ ใช่ว่าการท�ำงานจะไม่ดีนะ ยังไงคนเราเกิดมาทุกคน ก็ต้องท�ำงานด้วยกันทั้งนั้น ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้
Project ไม่เสร็จ ชีวิตก็จบ!
วิศวกรไฟฟ้า 305
Station
Station
Station
Station
Station
06
07
08
09
10
08
EE.Eng. Station
ใบประกอบวิชาชีพ และเส้นทางการท�ำงาน
ใบประกอบวิชาชีพ ในส่วนนี้พี่ก็จะมาพูดถึงของสิ่งหนึ่งที่พี่เชื่อว่า ส�ำหรับน้องๆ ที่ มีความคิดอยากจะเรียนต่อทางด้านศาสตร์วิศวกรรม ไม่ว่าจะเป็น วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟ้า หรือถ้าจะพูดกัน จริงๆ แล้ว ถึงน้องจะไม่ ได้คิดที่จะเรียนวิศวะ พี่ก็คิดว่าน้องน่าจะเคย ได้ยินชื่อของสิ่งนี้มาแล้ว นั่นคือ “ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ควบคุม” หรือเรียกย่อๆ ว่าใบ “ก.ว.” นั่นเอง หลายคนอาจจะสงสัย ว่า “ก.ว. คืออะไร” “อยากได้ ก.ว. ต้องท�ำยังไง” “วิศวกรทุกคนต้องมี ก.ว. หรือเปล่า” พี่ก็จะบอกน้องๆ เลยว่า ไม่ต้องกังวลไปนะ พี่จะท�ำ หน้าที่อธิบายและตอบทุกข้อข้องใจ ของน้องๆ เดี๋ยวนี้เลยล่ะครับ^_^
วิศวกรไฟฟ้า 315
Station
Station
Station
Station
Station
01
02
03
04
05
ก.ว. คืออะไร “ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมในประเทศไทย เป็นใบ อนุญาตให้บุคคลประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ออกโดยสภาวิศวกร เริม่ ต้นในประเทศไทยครัง้ แรกตามพระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 ปัจจุบนั บังคับใช้ตามพระราชบัญญัตวิ ศิ วกร พ.ศ. 2542 ประกอบ ด้วยสาขาวิศวกรรมควบคุม ได้แก่ วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมไฟฟ้าก�ำลัง วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมเหมืองแร่ วิศวกรรมเคมี และวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม” (อ้างอิง จาก th.wikipedia) จากค�ำอธิบายข้างบนนะครับ พูดง่ายๆ เลยก็คือ ใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม หรือ ก.ว. คือใบประกอบวิชาชีพวิศวกร ทีจ่ ะออกให้สำ� หรับสาขาวิชาทีต่ อ้ งท�ำงานเกีย่ วข้องกับความปลอดภัยของ บุคคลหรือทรัพย์สินนั่นเอง ซึ่งมีทั้งหมด 8 สาขาได้แก่ วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมไฟฟ้าก�ำลัง วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมเหมืองแร่ วิศวกรรมเคมี วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 316
Born to be
Station
Station
Station
Station
Station
06
07
08
09
10
น้องๆ จะสังเกตเห็นว่า ไม่ ใช่ทุกสาขาที่จะสามารถหรือจ�ำเป็นต้อง ขอรับ ก.ว. อย่างเช่น วิศวกรรมไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ วิศวกรรมไฟฟ้า ระบบควบคุม หรือวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เนื่องจากว่าสาขาเหล่านี้ โดยส่วนมากแล้วงานจะไม่ส่งผลกระทบถึงความปลอดภัยต่อชีวิตและ ทรัพย์สินโดยตรง เช่น ส�ำหรับใครที่จบวิศวกรรมคอมพิวเตอร์แล้วไป ท�ำงานด้านซอฟต์แวร์หรือการเขียนโปรแกรม ซึ่งถึงจะเขียนกันออก มายังไง โปรแกรมก็ ไม่นา่ จะสร้างความอันตรายต่อชีวติ ของมนุษย์ หรือ จะไปท�ำให้คอมพิวเตอร์ระเบิดกันวินาศสันตะโรได้ แบบนีก้ ็ ไม่จำ� เป็นทีจ่ ะ ต้องขอรับ ก.ว. ก็ ได้ครับ อยากได้ ก.ว. ต้องท�ำอย่างไร ข้อส�ำคัญอย่างแรกเลยครับ น้องต้องจบคณะวิศวกรรมศาสตร์กอ่ น หรือก็คือในปริญญาของน้องจะต้องมีคำ� ว่า วศ.บ. อยู่ด้วย น้องถึงจะ สามารถมีสทิ ธิขอรับ ก.ว. ได้ แต่การจบคณะวิศวกรรมศาสตร์เป็นเพียง ขัน้ เริม่ ต้นเท่านัน้ นะ น้องจะต้องเลือกเรียนในสถาบันที่ ได้รบั การรับรอง หลักสูตรจากสภาวิศวกรด้วย ซึ่งในจุดนี้น้องสามารถไปตรวจสอบด้วย ตัวเองได้ที่ www.coe.or.th หลังจากน้องได้ตรวจสอบชือ่ สถาบันที่ ได้รบั การรับรองหลักสูตรแล้ว น้องๆ ยังจะต้องเรียนให้ครบหลักสูตรที่ทางสภาวิศวกรก�ำหนดอีกด้วย ซึ่งจะสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วนคือ
วิศวกรไฟฟ้า 317
Station
Station
Station
Station
Station
01
02
03
04
05
10 EE.Eng. Station
succeed
กุญแจส�ำคัญสู่การเป็นวิศวกรไฟฟ้า เป็นยังไงบ้างครับน้องๆ หลังจากได้อา่ นมาจนถึงจุดนี้ น้องๆ สามารถตอบตัวเองได้หรือยังครับว่า สรุปแล้ว “วิศวฯไฟฟ้า” มันใช่ ส�ำหรับน้องๆ รึเปล่า ซึง่ น้องจะเห็นได้วา่ หนทางทีจ่ ะเป็นวิศวกรไฟฟ้า มันต้องเริม่ ตัง้ แต่ การเตรียมตัวสอบเข้ามหาวิทยาลัย สอบ GAT-PAT เข้า ปี 1 เก็บเกรดเพือ่ เลือกภาควิชา (บางมหาวิทยาลัย) เรียนปี 2 ถึง ปี 4 พร้อมตัดสินใจเลือกสาขาวิชาย่อยทีต่ วั เองสนใจ ท�ำ Project จบ (Senior Project) เรียนต่อหรือสมัครงาน มันช่างเป็นอะไรทีย่ ากพอสมควร ดังนัน้ ในบทส่งท้ายนี้ พีก่ จ็ ะฝาก ค�ำแนะน�ำเล็กๆ น้อยๆ เพือ่ ให้นอ้ งมีความมัน่ ใจมากขึน้ และพร้อมที่ จะก้าวสูก่ ารเป็นวิศวกรไฟฟ้าในรุน่ ต่อไปกันนะครับ ^_^
344
Born to be
Station
Station
Station
Station
Station
06
07
08
09
10
ความพยายามอยู่ที่ไหน มหาวิทยาลัยในฝันอยู่ที่นั่น หลังจากที่น้องๆ มีเป้าหมายแล้ว ว่าอยากเข้ามาเรียนในคณะ วิศวฯ (พี่หวังว่าน้องจะตัดสินใจได้แล้วนะ 555+) ค�ำถามถัดมาก็คือ เราจะเลือกเรียนที่ ไหนดี ปัจจุบนั นีป้ ระเทศไทยเกือบจะทุกสถาบันเปิด สอนหลักสูตรวิศวฯไฟฟ้ากันอยูแ่ ล้ว ดังนัน้ พีเ่ ชือ่ ว่าสามารถตอบสนอง ความต้องการของน้องได้ทกุ คนแน่นอน หลายคนคงจะมีมหาวิทยาลัย ในดวงใจอยู่แล้ว พี่ก็ขอให้น้องสมหวังนะ อย่างที่น้องรู้กันคือ เส้น ทางการรับสมัครนัน้ ให้ โอกาสน้องมากพอสมควร ไม่วา่ จะเป็น โควตา ประเภทต่างๆ (เรียนดี โอลิมปิกวิชาการ กีฬา ฯลฯ) รับตรง และ แอดมิชชั่นกลาง ดังนั้นแล้วหากน้อง “เตรียมตัว” จริงๆ พี่ก็เชื่อว่า น้องต้องสมหวังอย่างแน่นอน พี่อยากแนะน�ำว่า “การเตรียมตัวที่ ปลอดภัยที่สุดคือการวางแผนล่วงหน้าครับ” คนที่เรียนไม่เก่งก็ต้อง อดทนซักนิดนะ ยิ่งวางแผนล่วงหน้าได้ดี ก็จะท�ำให้มี โอกาสประสบ ความส�ำเร็จมากกว่าคนที่ ไม่เตรียมตัวอีกนะครับ แต่ถา้ ผลออกมาแล้ว ไม่สมหวัง ไม่ ได้เรียนมหาวิทยาลัยทีต่ งั้ ใจไว้ พีก่ ็ ไม่อยากให้นอ้ งเสียใจ นะ เพราะไม่วา่ จะเรียนสถาบันไหน พีเ่ ชือ่ ว่าถ้าน้องยังรักในสาขาวิศวฯ ไฟฟ้า น้องจะสามารถเป็นวิศวกรไฟฟ้าทีด่ ี ได้ ในอนาคตอย่างแน่นอน “พยายามแล้วผิดหวังดีกว่าผิดหวังเพราะไม่พยายามท�ำนะครับ” ^_^
วิศวกรไฟฟ้า 345
03
02
‡Ò
.ÇÔÈÇÏ ä¿¿
Decision
âË´«‹Í¹ÃÙ»
04
¿ÃÕ! Ἃ¹¾ÑºÃÇÁ¢ŒÍÁÙÅÃѺµÃ§ 1st Year Freshman
t up
Star
05
3rd Year Junior
àÃÕ¹ÃÙŒ¾×é¹°Ò¹ ÇÔÈÇÏä¿¿‡Ò·Ñé§ 4 ÊÒ¢Ò
.
2nd Year Sophomore
¹Ã¡ÊØ´æ
µÐÅØÂâ¤Ã§§Ò¹ ÇÔÈÇ¡ÃÃÁä¿¿‡Ò
4th Year Senior
06
àÃÕ¹¡ÅØ‹ÁÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹ ·Ò§ÇÔÈÇ¡ÃÃÁ
Eng
àÃÕ¹¡ÅØ‹ÁÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹ ¤³Ôµ-ÇÔ·Â
เสนทางสูวิศวกรไฟฟา 4 สาขาหลัก 5 สาขายอย ไฟฟากำลัง-อิเล็กฯ-คอนโทรล-สื่อสาร และสาขายอยอื่นๆ อยากเปนวิศวกรไฟฟา เริ่มนับหนึ่งเดี๋ยวนี้
เรียนอะไร ที่ไหน ¤³ÐÍÐäà ÊÒ¢Òä˹´Õ?
3 Parts 10 Stations
01
Áâ¹Ç ‹Ò..
àÂŒ!!. .µ´Ô á ÅŒÇ
สอบใหตดิ ?
Admissions
ตัวเรา+อาชีพ
วิศวกรไฟฟ า แผนที่การเดินทางสูอาชีพในฝน
ÍÒªÕ¾¹ÕéàËÁÒÐäËÁ?
Mix&Match
àµÃÕÂÁÊͺ µÃ§-áÍ´ÁÔªªÑè¹
พีร่ หัส กลุม มนุษยไฟฟา จุฬาฯ
07
up Level
Graduate Education
ËÅÑ¡ÊÙµÃ੾Òзҧ »ÃÔÞÞÒâ·-àÍ¡
¨º/äÁ‹¨º
10
09
08
ÊͺãºÍ¹ØÞÒµáÅÐ àµÃÕÂÁµÑÇÊÁѤçҹ
Graduation
¡çäÁ‹ÃÙŒÊÔ¹Ð
Succeed
àÂÊÊ ..
200
เนือ้ หาครอบคลุมวิศวกรรมไฟฟาสาขาตางๆ ในเลม 4 สาขาหลัก Electric Power, Electronics, Control และ Communications 5 สาขายอย Electrical Energy, Instrumentation, Automation, Mechatronics, Electromechanic Manufacturing