หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายความหมายของคาที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และสารสนเทศได้ 2. อธิบายความหมายของระบบเทคโนโลยีสารเทศได้ 3. อธิบายความหมายของระบบคอมพิวเตอร์ได้ 4. อธิบายความหมายและส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ได้ 5. อธิบายคุณสมบัติและบอกชนิดของคอมพิวเตอร์ได้ 6. บอกวิวัฒนาการและยุคของคอมพิวเตอร์ได้ 7. เปรียบเทียบลักษณะที่สาคัญของคอมพิวเตอร์ในยุคต่างๆได้ บทนา คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเนื้อหาในบทนี้จะกล่าวสรุปในเรื่องของความหมายของคาที่เกี่ยวข้องกับ คอมพิ ว เตอร์ แ ละสารสนเทศ ระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ระบบคอมพิ ว เตอร์ ส่ ว นประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ คุณสมบัติ ชนิด วิวัฒนาการและยุคของคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะมีตารางเปรียบเทียบลักษณะที่สาคัญ ของคอมพิวเตอร์ในยุคต่างๆ โดยเป็นความรู้พื้นฐานที่นักศึกษาจะไปขยายผลในบทต่อไป
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 1
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
วิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) เป็นศาสตร์ ที่ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎี การวิเคราะห์ออกแบบ โปรแกรมภาษาและการนาไปประยุกต์ใช้งาน เพื่อให้เกิดผลโดยในการศึกษาจะต้องนาหลักการและกระบวนการแก้ปัญหาอย่างมีระบบแบบแผนมาใช้กับงาน เขียนโปรแกรมภาษา โดยการเขียนโปรแกรมได้มิได้หมายความว่าเขียนโปรแกรมดีเสมอไป ซึ่งการเขียนโปรแกรมที่ ดีต้องนาหลักการ ขั้นตอนวิธีอัลกอริทึมมาใช้ในการเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้ได้มาซึ่งโปรแกรมที่มี โครงสร้างที่ดี ง่ายต่อการตรวจสอบและรวมถึงคุณภาพของโปรแกรมด้วย ในการศึกษาวิทยาการคอมพิวเตอร์เป็น ศาสตร์ วิช าการทางคอมพิว เตอร์ ที่ศึก ษาเกี่ยวกับกระบวนการทางทฤษฎี (Theory) การนิยามนามธรรม (Abstract) การออกแบบ (Design) และบริบททางสังคม (Social Context) สามารถแบ่งออกเป็น 9 สาขาวิชา ประกอบด้วย 1. โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม (Data Structures and Algorithms) 2. การเขียนโปรแกรม (Programming Language) 3. สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture) 4. วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Methodology and Engineering) 5. ระบบปฏิบัติการ (Operating System) 6. ฐานข้อมูลและการ สืบค้นข้อสารสนเทศ (Database and Information Retrieval System) 7. การคานวณทางคณิตศาสตร์และ สัญลักษณ์ (Numerical and Symbolic Computation) 8. การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์ (Human Computer Communication) 9. ปัญญาประดิษฐ์และหุ่นยนต์ (Intelligence and Robotics)
ความหมายข้อมูลและสารสนเทศ ข้อมูล >> ในโลกปัจจุบันการทางานทุกๆ ด้านจาเป็นต้องมี “ข้อมูล” เป็นส่วนประกอบหลักในการทางาน นักวิชาการไทยจึงได้นิยามความหมายต่างๆ ไว้ดังนี้ วีระ สุภากิจ (2539: 1) นิยามข้อมูลไว้ว่า เป็นข้อเท็จจริงต่างๆ ที่ใช้แทนด้วยตัวเลข ภาษา หรือสัญลักษณ์ที่ ยังไม่มีการปรุงแต่งหรือประมวลผลใดๆ อาจแบ่งข้อมูลได้เป็น 3 ประเภท คือ ข้อเท็จจริงที่เป็นจานวน ปริมาณ ระยะทาง ข้อเท็จจริงที่ไม่เป็นตัวเลข เช่น ชื่อ ที่อยู่ ประวัติการศึกษา ข่าวสารที่ยังไม่ได้ประเมิน เช่น รายงาน บันทึก คาสั่ง ระเบียบ กฎหมาย และเหตุการณ์หรือ สภาพการณ์ต่างๆ บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ และภาคภูมิ เอี่ยมจิตกุศล (http://www.nectec.or.th/courseware) สรุปไว้ว่า ข้อมูล เป็นสิ่งที่ได้จากการสังเกต ปรากฏการณ์ การกระทา ลักษณะต่างๆ ของวัตถุ สิ่งของ คน สัตว์ หรือพืช ที่มีการ บันทึกไว้เป็นตัวเลข หรือสัญลักษณ์ต่างๆ
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 2
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์ (2545: 9) กล่าวไว้ว่า ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือข้อมูลดิบที่ยัง ไม่ผ่านการประมวลผล ยังไม่มีความหมายในการนาไปใช้งาน ข้อมูลอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร สัญลักษณ์ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทน์ และไพบูลย์ เกียรติโกมล (2545: 40) ให้ความหมายของข้อมูลไว้ว่า เป็นข้อมูลดิบที่ยัง ไม่มีความหมายในการนาไปใช้งาน และถูกรวบรวมจากแหล่งต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์การ นอกจากนักวิชาการไทยที่นิยามความหมายต่างๆ เกี่ยวกับข้อมูลไว้อย่างน่าสนใจ นักวิชาการต่างประเทศ ยังให้ความหมายที่แตกต่างกันดังนี้ สแตร์ และ เรย์โนลด์ (Stair and Raynolds, 2001:4) กล่าวไว้ว่า ข้อมูล ประกอบด้วยข้อเท็จจริง ได้แก่ ชื่อ ลูกค้า ตัวเลข เกี่ยวกับจานวนชั่วโมงการทางานในแต่ละสัปดาห์ ตัวเลขเกี่ยวกับสินค้าคงคลัง หรือ รายการสั่ง ของ เทอร์บัน และคณะ (Turban, et al., 2002: 48) นิยามไว้ว่า ข้อมูล คือ คาอธิบายพื้นฐานเกี่ยกับสิ่งของ เหตุการณ์ กิจกรรม และธุรกรรมต่างๆ ซึ่งได้รับการบันทึก จาแนก และจัดเก็บไว้ แต่ยังไม่ได้มีการจัดให้เป็นระบบ หรือแปลความหมายอย่างแน่ชัด ออซ (Oz, 2002 : 8) ได้สรุปเกี่ยวกับข้อมูล ไว้ว่า หมายถึง ข้อเท็จจริงซึ่งอยู่ในรูปแบบตัวเลข ข้อความ หรือ รูปภาพ ข้อมูลเป็นสิ่งที่ใช้เพื่อการผลิตให้ได้สารสนเทศ จากความหมายทั้งหมดที่กล่าวมา สามารถสรุปได้ว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงต่างๆอาจอยู่ในรูปของ ตัวเลข ตัวอักษร สัญลักษณ์ รูปภาพ หรือเสียงก็ได้ เช่น ข้อมูลนักศึกษา ประกอบด้วย รหัสประชาชน รหัส นักศึกษา ชื่อ นามสกุล อายุ เป็นต้น สารสนเทศ >> สาหรับผู้ที่เริ่มเรียนรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์ อาจจะสงสัยเกี่ยวกับคาว่า “ข้อมูล” และ “สารสนเทศ” ซึ่งคาสอนคานี้เป็นคาที่มักถูกใช้ควบคู่กันอยู่เสมอ จึงมีนักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมาย เกี่ยวกับคานี้ไว้อย่างหลากหลาย ประพนธ์ เจียรกูล (อ้างถึงในถนอมศรี ลิ่มศิลา, 2546) ได้ให้ความหมายสารสนเทศไว้ ดังนี้ สารสนเทศ หมายถึง 1) การรวบรวมข้อมูลที่หน่วยงานนั้นผลิตขึ้นและจากแหล่งภายนอก ซึ่งจาเป็นต่อหน่วยงานนั้นๆ 2) การจัดกระทาข้อมูลนั้นๆ โดยแปลงให้เป็นข้อสนเทศที่พร้อมจะใช้ประโยชน์ได้ 3) การจัดให้มีระบบเก็บข้อมูลอยู่เสมอ เพื่อให้อยู่ในสภาพที่ถูกต้องและทันสมัยอยู่เสมอ เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 3
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทร์ และไพบูลย์ เกียรติโกมล (2545:40) สรุปไว้ว่า ผลลัพธ์ที่เกิดจากการประมวลผลข้อมูล ดิบทีถ่ ูกจัดเก็บไว้อย่างเป็นระบบที่สามารถนาไปประกอบการทางาน หรือสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร ทา ให้ผู้บริหารสามารถแก้ไขปัญหาหรือมีทางเลือกในการดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ แม็คลอยด์ และคณะ (McLeod, et al., 2001: 12) นิยามไว้ว่า ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล หรือข้อมูลที่มี ความหมาย กอร์ดอน และกอร์ดอน (Gordon and Gordon, 1999: 6) ให้ความหมายไว้ว่า การประมวลผลข้อมูล ซึ่ง ข้อมูลจะถูกจัดการ แปลความ จัดรูปแบบ วิเคราะห์และสรุปผล อัลเทอร์ (Alter, 2002: 70) นิยามสารสนเทศไว้ว่า เป็นข้อมูลที่มีเนื้อหาและรูปแบบที่เหมาะสมสาหรับการ นาไปใช้งาน จากที่กล่าวมาข้างต้น สามารถสรุปความหมายของ สารสนเทศ ได้ดังนี้ สิ่งที่ได้จากการประมวลผลข้อมูลและ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการวางแผน การตัดสินใจและการคาดการณ์ในอนาตคได้ สารสนเทศอาจแสดงในรูป ข้อความ ตาราง แผนภูมิ หรือรูปภาพ โดยมีขั้นตอนในการประมวลผลสารสนเทศประกอบด้วย 3 ส่วนหลักๆ 1) ส่วนรับข้อมูล 2) ส่วนประมวลผล 3) ส่วนแสดงผล รับข้ อมูล ข้ อมูล
ประมวลผล กระบวนการ
แสดงผล สารสนเทศ
ผลลัพธ์ ภาพที่ 1-1 แสดงส่วนประกอบของการประมวลผลสารสนเทศ
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 4
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
วงจรสารสนเทศ ระบบสารสนเทศส่วนใหญ่มีวงจรชีวิตที่เหมือนกันตั้งแต่เกิดจนตายวงจรนี้จะเป็นขั้นตอนที่เป็นลาดับตั้งแต่ต้น จนเสร็จเรียบร้อย เป็นระบบที่ใช้งานได้ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบต้องทาความเข้าใจให้ดีว่าในแต่ละขั้นตอนจะต้องทา อะไร และทาอย่างไร ขั้นตอนการพัฒนาระบบมีอยู่ด้วยกัน 7 ขั้น ด้วยกัน คือ 1. Problem Recognition 7. Maintenance
2. Feasibility Study
3. Analysis
6. Conversion
5. Construction
4. Design ภาพที่ 1-2 วงจรการพัฒนาระบบ
วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle : SDLC) 1. เข้าใจปัญหา (Problem Recognition) 2. ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) 3. วิเคราะห์ (Analysis) 4. ออกแบบ (Design) 5. สร้างหรือพัฒนาระบบ (Construction) 6. การปรับเปลี่ยน (Conversion) 7. บารุงรักษา (Maintenance)
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 5
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
ขั้นที่ 1 : เข้าใจปัญหา (Problem Recognition) การที่จะแก้ไขระบบเดิมที่มีอยู่แล้ว ไม่ใช่เรื่องที่ง่ายนัก หรือแม้แต่การสร้างระบบใหม่ ดังนั้นควรจะมี การศึ ก ษาเสี ย ก่ อ นว่ า ความต้ อ งการของเราเพี ย งพอที่ เ ป็ น ไปได้ ห รื อ ไม่ ได้ แ ก่ "การศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ " (Feasibility Study) สรุป ขั้นตอนที่ 1 เข้าใจปัญหา หน้าที่ ตระหนักว่ามีปัญหาในระบบ ผลลัพธ์ อนุมัติการศึกษาความเป็นไปได้ เครื่องมือ ไม่มี บุคลากรและหน้าที่ความรับผิดชอบ : ผู้ใช้หรือผู้บริหารชี้แจงปัญหาต่อนักวิเคราะห์ระบบ ขั้นที่ 2 : ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) การกาหนดว่าปั ญหาคืออะไรและตัดสิ นใจว่าการพัฒ นาสร้างระบบสารสนเทศ หรือการแก้ไขระบบ สารสนเทศเดิมมีความเป็นไปได้หรือไม่โดยเสียค่าใช้จ่ายและเวลาน้อยที่สุด และได้ผลเป็นที่น่าพอใจ นักวิเคราะห์ระบบจะต้องกาหนดให้ได้ว่าการแก้ไขปัญหาดังกล่าวมีความเป็นไปได้ทางเทคนิค และ บุคลากร ความเป็นไปได้ทางด้านบุคลากร คือ บริษัทมีบุคคลที่เหมาะสมที่จะพัฒนาและติดตั้ง ระบบเพียงพอ หรือไม่ ถ้าไม่มีจะหาได้หรือไม่ จากที่ใด สรุปขั้นตอนที่ 2 การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) หน้าที่ กาหนดปัญหา และศึกษาว่าเป็นไปได้หรือไม่ที่จะเปลี่ยนแปลงระบบ ผลลัพธ์ รายงานความเป็นไปได้ เครื่องมือ เก็บรวบรวมข้อมูลของระบบและคาดคะเนความต้องการของระบบ บุคลากรและหน้าที่ความรับผิดชอบ : ผู้ใช้จะมีบทบาทสาคัญในการศึกษา 1. นักวิเคราะห์ระบบจะเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดที่จาเป็นทั้งหมดเกี่ยวกับปัญหา 2. นักวิเคราะห์ระบบคาดคะเนความต้องการของระบบและแนวทางการแก้ปัญหา 3. นักวิเคราะห์ระบบ กาหนดความต้องการที่แน่ชัดซึ่งจะใช้สาหรับขั้นตอนการวิเคราะห์ ต่อไป 4. ผู้บริหารตัดสินใจว่าจะดาเนินโครงการต่อไปหรือไม่ ขั้นที่ 3 : วิเคราะห์ (Analysis) การวิเคราะห์ระบบเริ่มตั้งแต่การศึกษาระบบการทางานของธุรกิจนั้น หลังจากนั้นกาหนดความต้องการ ของระบบใหม่ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบจะต้องใช้เทคนิคในการเก็บข้อมูล (Fact-Gathering Techniques) เมื่อจบ เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 6
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
ขั้น ตอนการวิ เคราะห์ แล้ ว นั กวิ เคราะห์ ร ะบบจะต้อ งเขี ยนรายงานสรุ ปออกมาเป็น ข้ อมู ล เฉพาะของปั ญหา (Problem Specification) สรุป ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ (Analysis) หน้าที่ กาหนดความต้องการของระบบใหม่ (ระบบใหม่ทั้งหมดหรือแก้ไขระบบเดิม) ผลลัพธ์ รายงานข้อมูลเฉพาะของปัญหา เครื่องมือ เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล Data Dictionary Data Flow Diagram บุคลากรและหน้าที่รับผิดชอบ : ผู้ใช้จะต้องให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี 1. วิเคราะห์ระบบ ศึกษาเอกสารที่มีอยู่ และศึกษาระบบเดิมเพื่อให้เข้าใจถึงขั้นตอน การทางานและทราบว่าจุดสาคัญของระบบอยู่ที่ไหน 2. นักวิเคราะห์ระบบ เตรียมรายงานความต้องการของระบบใหม่ 3. นักวิเคราะห์ระบบ เขียนแผนภาพการทางาน (Diagram) ของระบบใหม่ โดยไม่ต้องบอกว่าหน้าที่ใหม่ในระบบจะพัฒนาขึ้นมาได้อย่างไร 4. นักวิเคราะห์ระบบ เขียนสรุปรายงานข้อมูลเฉพาะของปัญหา 5. ถ้าเป็นไปได้นักวิเคราะห์ระบบอาจจะเตรียมแบบทดลองด้วย ขั้นที่ 4 : ออกแบบ (Design) ในการออกแบบโปรแกรมต้องคานึงถึงความปลอดภัย (Security) ของระบบด้วย เพื่อป้องกันการผิดพลาด ที่อาจจะเกิดขึ้น เช่น "รหัส" สาหรับผู้ใช้ที่มีสิทธิ์สารองไฟล์ข้อมูลทั้งหมด เป็นต้น นักวิเคราะห์ระบบจะต้องออกแบบฟอร์มสาหรับข้อมูลขาเข้า (Input Format) ออกแบบรายงาน (Report Format) และการแสดงผลบนจอภาพ (Screen Format) หลักการการออกแบบฟอร์มข้อมูลขาเข้าคือ ง่ายต่อการใช้งาน และป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น ถัดมาระบบจะต้องออกแบบวิธีการใช้งาน สรุปขั้นตอนที่ 4 การออกแบบ (Design) หน้าที่ ออกแบบระบบใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้และ ฝ่ายบริหาร ผลลัพธ์ ข้อมูลเฉพาะของการออกแบบ(System Design Specification)
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 7
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
เครื่องมือ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
พจนานุกรมข้อมูล Data Dictionary แผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) ข้อมูลเฉพาะการประมวลผล (Process Specification) รูปแบบข้อมูล (Data Model) รูปแบบระบบ (System Model) ผังงานระบบ (System Flow Charts) ผังงานโครงสร้าง (Structure Charts) ผังงาน HIPO (HIPO Chart) แบบฟอร์มข้อมูลขาเข้าและรายงาน
บุคลากรและหน้าที่ : 1. นักวิเคราะห์ระบบ ตัดสินใจเลือกคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ (ถ้าใช้) 2. นักวิเคราะห์ระบบ เปลี่ยนแผนภาพทั้งหลายที่ได้จากขั้นตอนการวิเคราะห์มาเป็น แผนภาพลาดับขั้น 3. นักวิเคราะห์ระบบ ออกแบบความปลอดภัยของระบบ 4. นักวิเคราะห์ระบบ ออกแบบฟอร์มข้อมูลขาเข้า รายงาน และการแสดงภาพบนจอ 5. นักวิเคราะห์ระบบ กาหนดจานวนบุคลากรในหน้าที่ต่างๆและการทางานของระบบ 6. ผู้ใช้ ฝ่ายบริหาร และนักวิเคราะห์ระบบ ทบทวน เอกสารข้อมูลเฉพาะของการ ออกแบบเพื่อความถูกต้องและสมบูรณ์แบบของระบบ ขั้นที่ 5 : สร้างหรือพัฒนาระบบ (Construction) โปรแกรมเมอร์จะเริ่มเขียนและทดสอบโปรแกรมว่า ทางานถูกต้องหรือไม่ โดยนักวิเคราะห์ระบบต้อง เตรียมสถานที่สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วจะต้องตรวจสอบว่าคอมพิวเตอร์ทางานเรียบร้อยดี หลังจากนั้นต้องควบคุมดูแลการเขียนคู่มือซึ่งประกอบด้วยข้อมูลการใช้งานสารบัญการอ้างอิ ง "Help" บน จอภาพ เป็นต้น นอกจากข้อมูลการใช้งานแล้ว ต้องมีการฝึกอบรมพนักงานที่จะเป็น ผู้ใช้งานจริงของระบบเพื่อให้ เข้าใจและทางานได้โดยไม่มีปญ ั หาอาจจะอบรมตัวต่อตัวหรือเป็นกลุ่มก็ได้ สรุปขั้นตอนที่ 5 การพัฒนาระบบ (Construction) หน้าที่ เขียนและทดสอบโปรแกรม ผลลัพธ์ โปรแกรมที่ทดสอบเรียบร้อยแล้ว เอกสารคู่มือการใช้ และการฝึกอบรม
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 8
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
เครื่องมือ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
เครื่องมือของโปรแกรมเมอร์ทั้งหลาย Editor, compiler, Structure Walkthrough, วิธีการทดสอบโปรแกรม การเขียนเอกสารประกอบการใช้งาน
บุคลากรและหน้าที่ : 1. นักวิเคราะห์ระบบ ดูแลการเตรียมสถานที่และติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ (ถ้าซื้อใหม่) 2. นักวิเคราะห์ระบบ วางแผนและดูแลการเขียนโปรแกรม ทดสอบโปรแกรม 3. โปรแกรมเมอร์เขียนและทดสอบโปรแกรม หรือแก้ไขโปรแกรม ถ้าซื้อโปรแกรม สาเร็จรูป 4. นักวิเคราะห์ระบบ วางแผนทดสอบโปรแกรม 5. ทีมที่ทางานร่วมกันทดสอบโปรแกรม 6. ผู้ใช้ตรวจสอบให้แน่ใจว่า โปรแกรมทางานตามต้องการ 7. นักวิเคราะห์ระบบ ดูแลการเขียนคู่มือการใช้งานและการฝึกอบรม ขั้นที่ 6 : การปรับเปลี่ยน (Conversion) ขั้นตอนนี้บริษัทนาระบบใหม่มาใช้แทนของเก่าภายใต้การดูแลของนักวิเคราะห์ระบบ การป้อนข้อมูลต้อง ทาให้เรียบร้อย และในที่สุดบริษัทเริ่มต้นใช้งานระบบใหม่นี้ได้ การนาระบบเข้ามาควรจะทาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ทีละน้อย ที่ดีที่สุดคือ ใช้ระบบใหม่ควบคู่ไปกับระบบเก่าไปสักระยะหนึ่ง โดยใช้ข้อมูลชุดเดียวกันแล้วเปรียบเทียบ ผลลัพธ์ว่าตรงกันหรือไม่ ถ้าเรียบร้อยก็เอาระบบเก่าออกได้ แล้วใช้ระบบใหม่ต่อไป ขั้นที่ 7 : บารุงรักษา (Maintenance) การบารุงรักษาได้แก่ การแก้ไขโปรแกรมหลังจากการใช้งานแล้ว การบารุงรักษาระบบ ควรจะอยู่ภายใต้ การดูแลของนักวิเคราะห์ระบบ เมื่อผู้บริหารต้องการแก้ไขส่วนใดนักวิเคราะห์ระบบต้องเตรียมแผนภาพต่าง ๆ และศึกษาผลกระทบต่อระบบ และให้ผู้บริหารตัดสินใจต่อไปว่าควรจะแก้ไขหรือไม่
ระบบสารสนเทศ ระบบ (System) หมายถึงกลุ่มของส่วนประกอบหรือระบบย่อยต่างๆที่มีการทางานร่วมกันเพื่อให้บรรลุ เป้ า หมายที่ ก าหนดไว้ ซึ่ ง ส่ ว นประกอบของระบบประกอบด้ ว ยการน าเข้ า สู่ ร ะบบ (Input) การประมวลผล (Process) และผลลัพธ์(Output) และการให้ข้อมูลสะท้อนกลับ(Feedback) ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถึง ระบบที่ทาหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูลเข้ามาทา การประมวลผล รวมทั้งการวิเคราะห์ เพื่อจัดทาเป็นสารสนเทศในรูปแบบต่างๆและนาส่งไปยังผู้ ที่มีสิทธิ์ได้รับ สารสนเทศเพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน การบริห ารหรือการตัดสินใจ โดยมีคอมพิวเตอร์ร้วมทั้งอุปกรณ์ต่างๆเป็น เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 9
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
เครื่องมือสนับสนุนการทางานของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศในองค์การมีหลายประเภทในแต่ละประเภทมี ได้หลายระบบ ทั้งนี้เพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์เฉพาะด้านในการทางานที่ต่างกันออกไป เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)หรือ ไอที (IT) เป็นคาที่ประกอบด้วย เทคโนโลยี และ สารสนเทศ มารวมกัน โดยแต่ละคามีความหมายคือ เทคโนโลยี (Technology) คือการประยุกต์ความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การสร้าง วิธีการดาเนินงานยังรวมถึงอุปกรณ์ต่างๆที่ ไม่เกิดตามธรรมชาติ ส่วนคาสารสนเทศ (Information) คือผลลัพธ์ที่เกิดจากกากรประมวลผลข้อมูลดิบ (raw data) ด้วยการรวบรวมข้อมูลดิบมาทาการประมวลผลไม่ว่าจะเป็นการจัดกลุ่มข้อมูล การเรียงลาดับข้อมูล การ คานวณ สรุปผลและนาเสนอในรูปแบบรายงานที่เหมาะสมกับการใช้งาน เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หมายถึง เทคโนโลยีเพื่อใช้กับการจัดการสารสนเทศโดยมีความหมายรวมถึงเทคโนโลยีการผลิต การจัดเก็บข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การวิเคราะห์และเผยแพร่ การสื่อสารโทรคมนาคมและอุปกรณ์สนับสนุน การปฏิบัติงานด้านสารสนเทศอื่นๆที่สามารถนามาประยุกต์ใช้งานร่วมกัน โดยมีเทคโนโลยีที่สาคัญ 2 สาขาคือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีด้านการสื่อสารโทรคมนาคม 1) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (Computer Technology) เป็นเทคโนโลยีที่ใช้สาหรับการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้มาซึ่งสารสนเทศในเรื่อง การจัดการข้ออมูล การ รวบรวมข้อมูลกระบวนการประมวลผลข้อมูลประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1. การนาเข้าข้อมูล (Input) 2.การ ประมวลผลข้อมูล (Data Processing) ซึ่งประกอบด้วย การแบ่งจาพวก (Classifying) การจัดเรียง (Sorting) การ สรุ ป ผล (Summarizing) การจ าลองหรื อ คั ดลอก (Reproducing) การคานวณ (Calculating) การจัด เก็ บ (Storing) การควบคุม (Controlling) 3. การแสดงผลข้อมูล (Output) 2) เทคโนโลยีด้านการสื่อสารโทรคมนาคม (Telecommunication) สารสนเทศได้มาจากการประมวลผลข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ซึ่งในปัจจุบันในการสามารถ ติดต่อสื่อสารกันทั่วโลกเทคโนโลยีด้านการสื่อสารโทรคมนาคมมีบทบาทอย่างมากในการเผยแพร่สารสนเทศไปยัง ผู้ใช้ปลายทางได้อย่างรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์โดยข้อมูลที่ส่งผ่านเป็นรูปแบบดิจิต อลที่สามารถส่งได้ทั้งข้อมูลที่เป็น ข้อความ (Text) ตัวเลข (Number) ภาพ (Image) และเสียง (Sound) ซึ่งอาจผ่านสื่อโทรคมนาคมต่างๆ เช่น วิทยุกระจายเสียง โทรศัพท์ โทรเลข โทรทัศน์และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจใช้เทคโนโลยีสายเคเบิล สายไฟเบอร์ออปติก ระบบดาวเทียม เครื่อข่ายไร้สาย ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology System) หมายถึง ระบบการประมวล ข้อมูล ที่ป ระยุ กต์ใช้เทคโนโลยี ด้านคอมพิว เตอร์และเทคโนโลยีการสื่ อสารโทรคมนาคมมาช่ว ยเป็นเครื่องมือ สนับสนุนการทางานของระบบสารสนเทศ
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 10
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
การสื่อสารและเครือข่าย ซอฟต์แวร์
บุคลากร
กระบวนการทางาน
ข้อมูล ฮาร์ดแวร์
ภาพที่ 1-3 เครื่องมือที่สนับสนุนการทางานของระบบสารสนเทศ ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลักๆ ด้วยกันดังนี้ 1. ฮาร์ดแวร์ 2. ซอฟต์แวร์ 3. ข้อมูล 4. การสื่อสารและเครือข่าย 5. กระบวนการทางาน 6. บุคลากร เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 11
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
ประเภทของระบบสารสนเทศ ปัจจุบันระบบสารสนเทศที่นามาใช้ภายในองค์กร จาแนกได้ดังนี้
ที่มา : http://bluery-ton.blogspot.com/2012_12_01_archive.html
ภาพที่ 1-4 ประเภทของระบบสารสนเทศ ระบบประมวลผลรายการประจาวัน (Transaction Processing System : TPS) ระบบประมวลผลรายการประจาวัน เป็นระบบที่เกี่ยวกับการดาเนินงานที่เกิดเป็นประจาทุกๆ วัน เช่น การบันทึกรายการสั่งซื้อสินค้าจากลูกค้าในแต่ละวัน การบันทึกการยืมคืนวัสดุประจาวัน เป็นต้น หรือเรียกอีกอย่าง หนึ่งว่า ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System : DPS) ซึ่งสารสนเทศที่ได้จะถูกนาไปทาเป็น รายงานความตามความต้องการหรือการประมวลผลขั้นสูงต่อไป มักพบเห็นการใช้ระบบ TPS หรือ DPS นี้ในระดับ การจัดการขั้นปฏิบัติการ (Operational Management) ตัวอย่าง ที่เห็นได้ชัดเจนของระบบประมวลผลรายการ คือ ร้านเช่าหนังสือ เช่น รวบรวมจานวนผู้มา เช่าหนังสือ จานวนหนังสือที่มีการยืม ประเภทหนังสือ จานวนเงินค่าเช่าหนังสือ จานวนค่าปรับหนังสือล่าช้า เป็น ต้น ถ้ามีการนาข้อมูลมาเก็บและรวบรวม จะทาให้ทราบว่าหนังสือประเภทใดมีการยืมมากที่สุด จานวนหนังสือ เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้าหรือไม่ จานวนเงินรายได้ในแต่ละวันและในแต่ละเดือน ซึ่งข้อมูลที่ได้เหล่านี้จะ สามารถนามาพิจารณาได้ว่า ควรมีการซื้อหนังสือเพิ่มหรือไม่ เป็นต้น เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 12
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
ที่มา : http://bluery-ton.blogspot.com/2012_12_01_archive.html
ภาพที่ 1-5 ลักษณะงานของระบบประมวลผลรายการ
ที่มา : http://ake-itsanan.blogspot.com/2011/05/tps-transaction-processing-systems-dp.html
ภาพที่ 1-6 ตัวอย่างลักษณะงานของระบบประมวลผลรายการแบบออนไลน์
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 13
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
การแบ่งวิธีประมวลผลข้อมูลของ TPS สามารถแบ่งได้ดังนี้ 1. ระบบการประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing System) การนาข้อมูลจากหลายๆ รายการ จาก ผู้ใช้หลายๆ คน หรือจากช่วงเวลาหลายๆ ช่วง ถูกรวมเข้าด้วยกันเพื่อนาเข้า และทาการประมวลผลเป็นกลุ่มเดียว เช่น ยอดขายรายวัน ซึ่งถูกประมวลผลเพีย งวันละหนึ่งครั้ง จะใช้ระบบการประมวผลแบบกลุ่ มนี้เมื่อข้อมูล ไม่ จาเป็นต้องปรับปรุงทันที และเมื่อมีข้อมูลจานวนมากที่คล้ายกัน ต้องถูกประมวลผลในครั้งเดียวกัน 2. ระบบการประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Processing System) รายการถูกประมวลผลเมื่อเกิด รายการนั้นขึ้น สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การประมวลผลเชิงรายการ (Transactional Processing) ข้อมูลถูกประมวลผลเมื่อป้อน ข้อมูลเข้าโดยไม่ต้องเก็บไว้ประมวลผลในภายหลัง เช่น ระบบเช็ครายการสินค้าออกของร้าน ขายของช า โดยระบบจะทาการออกใบเสร็จ รับเงินที่ แสดงรายการสิ น ค้าทั นที หลั ง จาก รายการสินค้าต่างๆ ที่ซื้อถูกประมวลผล การประมวลผลแบบทันที (Real-time Processing) ใช้ในระบบควบคุม หรือระบบที่ต้องการ ให้เกิดผลสะท้อนกลับ เช่น ขบวนการควบคุมอุณหภูมิของห้างสรรพสินค้า การทางานของ การประมวลผลแบบทันที และมีผลกระทบกับรายการที่กาลังดาเนินการอยู่นั้นทันที ถ้าผู้ใช้ หลายรายมีการแข่งขันเพื่อใช้ทรัพยากรเดียวกัน เช่น การจองที่นั่งบนเครื่องบิน วัตถุประสงค์ของ TPS มีดังนี้ 1) มุ่งจัดหาสารสนเทศทั้งหมดที่หน่วยงานต้องการตามนโยบายของหน่วยงานหรือตามกฎเกณฑ์ เพื่อ ช่วยในการปฎิบัติงาน 2) เพื่อเอื้ออานวยต่อการปฏิบัติงานประจาวันให้มีความรวดเร็ว 3) เพื่อเป็นหลักประกันว่าข้อมูลและสารสนเทศของหน่วยงานมีความถูกต้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและ รักษาความลับได้ 4) เพื่อเป็นสารสนเทศที่ป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบสารสนเทศที่ใช้ในการตัดสินใจเชื่อ เช่น MRS หรือ DSS หน้าที่ของ TPS มีดังนี้ 1) การจัดกลุ่มของข้อมูล (Classification) คือ การจัดกลุ่มข้อมูลลักษณะเหมือนกันไว้ด้วยกัน 2) การคิดคานวณ (Calculation) การคิดคานวณโดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ เช่น การคานวณภาษีขายทั้งหมดที่ต้องจ่ายในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา 3) การเรียงลาดับข้อมูล (Sorting) การจัดเรียงข้อมูลเพื่อทาให้การประมวลผลทาได้ง่ายขึ้น เช่น การ จัดเรียงข้อมูลตามจังหวัด ตามรหัสไปรษณีย์เพื่อให้การจัดส่งเร็วยิ่งขึ้น เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 14
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
4) การสรุปข้อมูล (Summarizing) เป็นการลดขนาดของข้อมูลให้เล็กหรือมีความกระทัดรัดขึ้น เช่น การ คานวณเกรดเฉลี่ยของนักศึกษาแต่ละคน 5) การเก็บ (Storage) การบันทึกเหตุการณ์ที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน อาจจาเป็นต้องเก็บรักษาข้อมูลไว้ โดยเฉพาะข้อมูลบางประเภทที่จาเป็นต้องเก็บรักษาไว้ตามกฎหมาย ลักษณะสาคัญของระบบสารสนเทศแบบ TPS มีดังนี้ มีการประมวลผลข้อมูลจานวนมาก แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่มาจากภายในและผลที่ได้เพื่อตอบสนองต่อผู้ใช้ภายในองค์การเป็นหลัก อย่างไร ก็ตามในปัจจุบันหุ้นส่วนทางการค้าอาจจะมีส่วนในการป้อนข้อมูล และอนุญาตให้หน่วยงานที่เป็น หุ้นส่วนใช้ผลที่ได้จาก TPS ได้โดยตรง กระบวนการประมวลผลข้อมูลมีการดาเนินการเป็นประจา เช่น ทุกวัน ทุกสัปดาห์ ทุกสองสัปดาห์ มีความสามารถในการเก็บฐานข้อมูลจานวนมาก มีการประมวลผลข้อมูลที่รวดเร็ว เนื่องจากมีปริมาณข้อมูลเป็นจานวนมาก คอยติดตามและรวบรวมข้อมูลภายหลังที่ผลิตข้อมูลออกมาแล้ว ข้อมูลที่ป้อนเข้าไปและที่ผลิตออกมามีลักษณะมีโครงสร้างที่ชัดเจน ความซับซ้อนในการคิดคานวณมีน้อย มีความแม่นยาค่อนข้างสูง การรักษาความปลอดภัย ตลอดจนการรักษาข้อมูลส่วนบุคคลมี ความสาคัญ ต้องมีการประมวลผลที่มีความน่าเชื่อถือสูง กระบวนการประมวลผลข้อมูลของ TPS มี 3 วิธี (Stair & Reynolds, 1999) 1) Batch Processing การประมวลผลเป็นชุดโดยการรวบรวมข้อมูลที่เกิดจากธุรกรรมที่เกิดขึ้นและรวม ไว้เป็นกลุ่มหรือเป็นชุด (Batch) เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง หรือจัดลาดับให้เรียบร้อยก่อนที่จะส่งไป ประมวลผล โดยการประมวลผลนี้จะกระทาเป็นระยะๆ (อาจจะทาทุกคืน ทุก 2-3 วัน หรือทุก สัปดาห์) 2) Online Processing คือ ข้อมูลจะได้รับการประมวลผลและทาให้เป็น Output ทันทีที่มีการป้อน ข้อมูลของธุรกรรมเกิดขึ้น เช่น การเบิกเงินจากตู้ ATM จะประมวลผลและดาเนินการทันที เมื่อมี ลูกค้าใส่รหัสและป้อนข้อมูลและคาสั่งเข้าไปในเครื่อง
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 15
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
3) Hybrid Systems เป็นวิธีการผสมผสานทั้งสองวิธี โดยอาจมีการรวบรวมข้อมูลที่เกิดขึ้นทันที แต่การ ประมวลผลจะทาให้ช่วงระยะเวลาที่กาหนด เช่น แคชเชียร์ที่ป้อนข้อมูล การซื้อขายจากลูกค้าเข้า คอมพิวเตอร์ ณ จุดขายของ แต่การประมวลผลข้อมูลจากแคชเชีร์ทุกคน อาจจะทาหลังจากนั้น (เช่น หลังเลิกงาน) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System : MIS) เป็นระบบที่ให้สารสนเทศที่ผู้บริหารต้องการ เพื่อให้สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะ รวมทั้ง สารสนเทศภายในและภายนอก สารสนเทศที่เกี่ยวพันกับองค์กรทั้งในอดีตและปัจจุบัน รวมทั้งสิ่งที่คาดว่า จะเป็นในอนาคต นอกจากนี้ระบบเอ็มไอเอสจะต้องให้สารสนเทศ ในช่วงเวลาที่เป็นประโยชน์ เพื่อให้ผู้บริหาร สามารถตัดสินใจในการวางแผนการควบคุม และการปฏิบัติการขององค์กรได้อย่างถูกต้อง แม้ว่าผู้บริหารที่จะได้รับประโยชน์จาก ระบบเอ็มไอเอสสูงสุดคือผู้บริหารระดับกลาง แต่โดยพื้นฐาน ของระบบเอ็มไอเอสแล้ว จะเป็นระบบที่ สามารถสนับสนุนข้อมูลให้ ผู้บริหารทั้งสามระดับ คือทั้งผู้บริหารระดับต้น ผู้บริหารระดับกลาง และผู้บริหารระดับสูง โดยระบบเอ็มไอเอสจะให้รายงาน ที่สรุปสารสนเทศซึ่งรวบรวมจาก ฐานข้อมูลทั้งหมดของบริษัท จุดประสงค์ ของรายงานจะเน้นให้ผู้บริหารสามารถมองเห็นแนวโน้ม และภาพรวม ขององค์กรในปัจจุบัน รวมทั้งามารถควบคุมและตรวจสอบงานของระดับปฏิบัติการด้วย อย่างไรก็ดี ขอบเขตของ รายงาน จะขึ้น อยู่ กั บ ลั ก ษณะของสารสนเทศ และจุ ด ประสงค์ ก ารใช้ ง าน โดยอาจมีร ายงานที่อ อกทุ กคาบ ระยะเวลา (เช่น งบกาไรขาดทุนหรืองบดุล) รายงานตามความต้องการ หรือรายงานตามสภาวะการณ์หรือเหตุ ผิดปกติ การประยุกต์ใช้งาน MIS สามารถแบ่งได้ 4 ระดับ ดังนี้ 1) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในการวางแผนนโยบาย กลยุทธ์ และการตัดสิ นใจของผู้ บริห าร ระดับสูง 2) ระบบสารสนเทศเพื่ อการจั ด การในส่ ว นยุท ธวิ ธีใ นการวางแผนการปฏิบั ติแ ละการตั ดสิ นใจของ ผู้บริหารระดับกลาง 3) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในระดับปฏิบัติการและการควบคุมในขั้นตอนนี้ ผู้บริหารระดับล่างจะ เป็นผู้ใช้สารสนเทศเพื่อช่วยในการปฏิบัติงาน 4) ระบบสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 16
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
ที่มา : http://bluery-ton.blogspot.com/2012_12_01_archive.html
ภาพที่ 1-7 ตัวอย่างลักษณะงานของระบบประมวลผลรายการแบบออนไลน์ ลักษณะของระบบ MIS ที่ดี จะสนับสนุนการทางานของระบบประมวลผลข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลรายวัน จะใช้ฐานข้อมูลที่ถูกรวมเข้าด้วยกัน และสนับสนุนการทางานของฝ่ายต่างๆ ในองค์กร จะช่วยให้ผู้บริหารระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง เรียกใช้ข้อมูลที่เป็นโครงสร้างได้ตามเวลาที่ ต้องการ จะมีความยืดหยุ่นและสามารถรองรับความต้องการข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงไปขององค์กร ต้องมีระบบรักษาความลับของข้อมูล และจากัดการใช้งานของบุคคลเฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 17
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation System : OAS) เป็นระบบที่นามาใช้เพื่อเอื้อประโยชน์และเพิ่มประสิทธิภาพการทางานในสานักงาน เช่น พิมพ์ดีด คอมพิว เตอร์ เครื่ องถ่ายเอกสาร โทรสาร หรือใช้เทคโนโลยีเครือข่ายการสื่ อสารขั้นสูง เช่น การสื่ อสารผ่ าน ดาวเทียม ไฟเบอร์ออปติคหรือการประชุมทางไกล เพื่อให้รวดเร็วและทันต่อความต้องการ และยังมีซอฟต์แวร์ที่ผ ลิตมาเพื่อช่วยสนับสนุนการทางาน เช่น โปรแกรมประมวลผลคา โปรแกรม ตารางงาน โปรแกรมฐานข้อมูล โปรแกรมนาเสนอผลงาน โปรแกรมออกแบบกราฟิก จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เว็บเบราเซอร์และเครื่องมือในการสร้างเว็บ โปรแกรมด้านการสื่อสารและครือข่าย เป็นต้น
ภาพที่ 1-8 อุปกรณ์ที่ช่วยอานวยความสะดวกในระบบสานักงานอัตโนมัติ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System : DSS) เป็นระบบสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของผู้บริหารกับปัญหาที่ไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า เช่น รายงานการวิเคราะห์ผลทางสถิติ หรือการแสดงผลในรูปแบบของกราฟเปรียบเทียบ และยังสามารถทาการ ปรับเปลี่ยนค่าตัวแปรต่างๆ เพื่อนามาประกอบเป็นทางเลือกในการตัดสินใจของผู้บริหารเพื่อพิจารณาผลสรุปในแต่ ละทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด และระบบสนับสนุนการตัดสินใจถูกจัดให้เป็นระบบสารสนเทศระดับของการจัดการ ขั้นกลาง (Middle Management) และขั้นสูง (Top Management) ระบบ DSS เป็นระบบที่นาสารสนเทศภายในจากระบบ TPS และ MIS มาใช้งาน แต่ก็มีบางส่วนของ สารสนเทศที่มาจากแหล่งภายนอก เช่น การนาข้อมูลราคาหุ้นของตลาดหุ้นมาประกอบการพิจารณา การนาราคา ผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งมาประกอบการพิจารณา เป็นต้น เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 18
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
ระบบสนับสนุนผู้บริหารระดับสูง (Executive Support System : ESS) เป็ น ระบบสนับ สนุ น การตัดสิ นใจประเภทหนึ่ง ซึ่งได้รับการพัฒ นามาโดยเฉพาะส าหรับผู้ บริห าร ระดับสูงเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง ผู้บริหารระดับสูงใช้ระบบ ESS เป็นเครื่องมือที่ช่วย อานวยความสะดวกรวดเร็วในการบริหารและตัดสินใจ โดยระบบจะให้ข้อมูลที่ถู กต้อง ทันสมัยตามความต้องการ เพื่ อ ใช้ ใ นการก าหนดวิ สั ย ทั ศ น์ ภารกิ จ กลยุ ท ธ์ วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละเป้ า หมาย รวมถึ ง การวางแผนระยะยาว นอกจากนี้ระบบยังช่วยอานวยความสะดวกในการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้บริหารและบุคลากรในองค์กร และ ระหว่างองค์กรด้วย โดยระบบได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถเหมาะสมและง่ายต่อการใช้งาน สอดคล้องกับ ความต้องการ ทักษะ รวมถึงความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลของผู้บริหาร ซึ่งระบบนี้ถือว่าเป็นเครื่องมือที่ช่วยใน การคานวณทั่วไปและการสื่อสาร ซึ่งจะตอบคาถาม เช่น แนวโน้มการทาธุรกิจในอนาคตควรเป็นประเภทใดบริษัท คู่แข่งมีฐานะการดาเนินงานเป็นอย่างไร จะป้องกันผลกระทบจากสภาพเศรษฐกิจที่แกว่งตัวได้อย่างไร ระบบสนับสนุนผู้บริหารระดับสูง (ESS) ถูกเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหาร : Executive Information System (EIS)” เป็นระบบสนับสนุนการตัดสินใจอีกรูปแบบหนึ่งที่นามาใช้สาหรับ ผู้บริห ารระดับสูงโดยเฉพาะ มักใช้สาหรับตรวจสอบ ควบคุม หรือดูทิศทาง แนวโน้มขององค์กรโดยภาพรวม เพื่อให้ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ต่างๆ ได้อย่างทันท่วงที ข้อมูลที่ใช้ในระบบจะนามาทั้งจากภายในและภายนอกองค์การ และจัดอยู่ในรูปแบบของข้อสรุปที่อ่านและดูข้อมูลได้ง่ าย มีการใช้งานที่ไม่ซับซ้อนมากนัก ทาให้ผู้บริหารทราบถึง แนวโน้ มได้ในเวลาที่รวดเร็ว ซึ่งสารสนเทศที่ได้จะถูกกรองหรือประมวลผลมาจากระดับปฏิบัติการหรือระดับ ส่วนกลางมาบ้างแล้ว ลักษณะของระบบสนับสนุนผู้บริหารระดับสูง มีลักษณะดังต่อไปนี้ ให้สารสนเทศที่มีประโยชน์ต่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน เชื่อมโยงกับแหล่งข้อมูลภายนอก สามารถประมวลผลในรูปแบบที่ไม่ได้กาหนดไว้ล่วงหน้า พัฒนาเฉพาะสาหรับผู้บริหาร มีระบบรักษาความปลอดภัย
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 19
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
ลักษณะของระบบ วัตถุประสงค์หลัก
ESS DSS MIS สนับสนุนการตัดสินใจของ สนับสนุนการวางแผนและ ควบคุมตรวจสอบการ ผู้บริหาร ตัดสินใจ ปฏิบัตกิ ารและสรุปผล สภาพการณ์ ข้อมูลนาเข้า ข้อมูลสรุปจากภายในและ รายงานวิเคราะห์เพื่อการ รายงานสรุป รายงานสิ่ง ภายนอกองค์การ เช่น ตัดสินใจ การพยากรณ์ ผิดปกติ สารสนเทศที่มี ข้อมูลเกี่ยวกับตัวบ่งชี้ ผล การตอบข้อถาม โครงสร้าง การปฏิบัติงานของ องค์การและปัจจัยสาคัญที่ มีผลต่อการดาเนินธุรกิจให้ ประสบความสาเร็จ ผู้ใช้ ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับต่างๆ ผู้บริหารระดับกลาง ผู้เชี่ยวชาญ นักวิเคราะห์ รูปแบบของการตัดสินใจ มีการปรับเปลี่ยน กึ่งโครงสร้าง และไม่มี มีโครงสร้างแน่นอน โครงสร้างบ่อยรูปแบบไม่ โครงสร้าง ชัดเจน หรือไม่มีโครงสร้าง การใช้ข้อมูลสนับสนุน ข้อมูลที่สนับสนุนการ ข้อมูลสนับสนุนการ ข้อมูลสนับสนุนตาม ตัดสินใจทางอ้อม ไม่มี ตัดสินใจในสถานการณ์ รูปแบบและระยะเวลาที่ กฎเกณฑ์แน่นอนตายตัว เฉพาะด้านหรือเฉพาะ กาหนด ซึ่งขึ้นกับการเลือกนา เรื่อง ข้อมูลไปใช้ ภาพที่ 1-9 เปรียบเทียบระบบ ESS กับระบบสารสนเทศอื่น ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System : ES) เป็นระบบที่ต้องอาศัยความรู้ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในสาขาต่างๆ เข้าด้วยกัน ซึ่งบางครั้งอาจ เรี ย กว่ า ระบบฐานความรู้ เป็ น ระบบจั ด เก็ บ ความรู้ ข องผู้ เ ชี่ ย วชาญที่ ไ ด้ ร วบรวมจากการศึ ก ษาวิ จั ย และ ประสบการณ์ระบบผู้เชี่ยวชาญได้นามาประยุกต์ใช้ และเกิดผลสาเร็จในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นการวิเคราะห์โรค ร้าย การค้นหาแหล่งน้ามัน การวิเคราะห์การเงิน เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 20
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
นอกจากนี้ยังจัดเป็นแขนงหนึ่งของปัญญาประดิษฐ์ (AI) เครื่องจักรอัจฉริยะที่สร้างจากความรู้ทางด้าน วิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความฉลาดทางด้านโปรแกรม คอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นใน ลักษณะการใช้คอมพิวเตอร์ ให้เรียนรู้และเข้าใจความสามารถของมนุษย์ แต่ ปัญญาประดิษฐ์ ไม่ได้ถูกจากัดด้วย ข้อสังเกต เกี่ยวกับทางด้าน ชีววิทยา ส่วนความฉลาด (Intelligent) คือ ความคิดคานวณ เพื่อให้สามารถ บรรลุได้ สู่เป้าหมาย ซึ่งสามารถพบได้ใน คน สัตว์ และเครื่องจักรบางชนิด เราไม่สามารถกาหนด รูปแบบมาตรฐาน ของ รูปแบบการคานวณได้อย่างชัดเจนว่า เป็นความฉลาดหรือไม่ เพียงแต่เราจะเข้าใจเพี ยงบางส่วนเท่านั้น ซึ่งรูปแบบ การประมวล ในลักษณะใช่หรือไม่ใช่นั้น ไม่จัดว่าเป็นปัญญาประดิษฐ์ เพราะปัญญาประดิษฐ์ จะสามารถค้นพบวิธี ในการแก้ไขปัญหานั้นด้วยตนเอง ซึ่งโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพสูงๆ เราจะโปรแกรม ที่มีประสิทธิภาพสูงๆ เราจะ โปรแกรมนั้นเพียงแค่ “บางส่วนของความฉลาดเท่านั้น” และสาหรับการมองปัญญาประดิษฐ์ว่าเป็น “แบบจาลอง ความฉลาดของมนุษย์” สามารถมองได้ แต่ความหมายนี้ จะเป็นแค่เพียง ส่วนหนึ่งของปัญญาประดิษฐ์ เท่านั้น
คอมพิวเตอร์ (Computer) คอมพิวเตอร์ หมายถึงเครื่องคานวณในรูปของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถรับข้อมูลและคาสั่งผ่าน อุปกรณ์รับข้อมูลแล้วนาข้อมูลและคาสั่งนั้นไปประมวลผลด้วยหน่วยประมวลผลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการและ แสดงผลผ่านอุปกรณ์แสดงผลตลอดจนสามารถบันทึกรายการต่างๆเอาไว้ใช้งานด้วยอุปกรณ์บัน ทึกข้อมูลสารอง ซึ่งมีลักษณะรูปร่างแตกต่างกันแต่การทางานที่เหมือนกัน
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์ (Computer)
ที่มา : Introduction to Computers หน้า 4
ภาพที่ 1-10 ระบบคอมพิวเตอร์ เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 21
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
โดยแบ่งส่วนประกอบออกเป็น 4 ส่วนด้วยกันคือ 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 2. ซอฟต์แวร์ (Software) 3. บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ (People ware) 4. ข้อมูล (Data) 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือชิ้นส่วนของคอมพิวเตอร์ที่สามารถแตะต้องสัมผัสได้ด้วยมือโดยฮาร์ดแวร์ ภายในระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยส่วนที่สาคัญ 5 ส่วน ดังนี้ o หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) o หน่วยความจาหลัก (Main Memory Unit) o อุปกรณ์นาข้อมูลเข้า (Input Devices) o อุปกรณ์แสดงผลข้อมูล (Output Devices) o อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล (Storage)
ภาพที่ 1-11 แสดงส่วนประกอบภายในระบบคอมพิวเตอร์ 1) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) เป็ น หน่ ว ยประมวลผลกลางหรื อ เรี ย กว่ า CPU โดยในไมโครคอมพิ ว เตอร์ เ รี ย ก ไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) หรือ ชิป (Chip) ซึ่งบรรจุไว้ในเมนบอร์ด คือแผงวงจรหลักซึ่งเป็นแผงวงจร ไฟฟ้าขนาดสี่เหลี่ยมผืนผ้า ประกอบด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ต่างๆ ที่นามาผนวกเข้าไว้ด้วยกันบนแผง ไม่ว่าจะ
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 22
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
เป็นช็อกเก็ตที่ใช้บรรจุโปรเซสเซอร์ หน่วยความจาสล็อตและคอนเน็ตเตอร์ต่างๆ นอกจากนี้เมนบอร์ดแต่ละรุ่นต่าง ก็มีสถาปัตยกรรมการรองรับเทคโนโลยีที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชิปเซ็ตที่บรรจุอยู่บนเมนบอร์ดแต่ละรุ่น
ภาพที่ 1-12 โปรเซสเซอร์
ภาพที่ 1-13 เมนบอร์ด
2) หน่วยความจาหลัก (Main Memory Unit) เป็นแหล่งเก็บข้อมูล(Data) และชุดคาสั่ง (Instruction) โดยแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ
ภาพที่ 1-14 RAM
ภาพที่ 1-15 ROM
RAM (Random Access Memory) ข้อมูลจะหายเมื่อไฟดับปกติจะใช้เป็น หน่วยความจาหลัก ROM (Read Only Memory) ข้อมูลจะไม่หายเมื่อไฟดับโดยปกติจะใช้บรรจุ โปรแกรมเฉพาะ เช่น ROM-BIOS (BIOS (BASIC INPUT/OUTPUT SYSTEM) เป็น โปรแกรมขนาดเล็กที่บรรจุอยุ่ในชิปจะถูฏเรียกใช้ทุกครั้งที่มีการบูตเครื่อง โดยจะมี เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 23
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
การอ่านค่าต่างๆที่กาหนดไว้อีกทั้งยังสามารถปรับแต่งอุปกรณ์ต่างๆจากโปรแกรมใน ไบออส ดังนั้นรอมไบออสจึงเป็นอุปกรณ์ที่สาคัญสาหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์) - PROM (Programmable Read Only Memory) หน่วยความจาที่สามารถ โปรแกรมได้โดยสามารถทาการบันทึกได้เพียงครั้งเดียว - EPROM (Erasable Programmable Read Only Memory) หน่วยความจาที่ สามารถโปรแกรมได้โดยสามารถทาการบันทึกและลบทิ้งได้หลายครั้ง 3) อุปกรณ์นาข้อมูลเข้า (Input Devices) เป็นอุปกรณ์สาหรับนาข้อมูลเข้าระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการประมวลผลโดยอุปกรณ์พื้นฐาน ประกอบด้วย คีย์บอร์ด เม้าส์ ไมโครโฟน สแกนเนอร์ กล้องดิจิตอล เป็นต้น
ภาพที่ 1-16 อุปกรณ์พื้นฐานสาหรับนาข้อมูลเข้า 4) อุปกรณ์แสดงผลข้อมูล (Output Devices) เป็ น อุป กรณ์ส าหรั บ แสดงผลข้อ มูล ออกจากระบบคอมพิ ว เตอร์เพื่ อการแสดงผลลั พธ์ โ ดย อุปกรณ์พื้นฐานประกอบด้วย จอภาพ เครื่องพิมพ์ ลาโพง เป็นต้น
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 24
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
ภาพที่ 1-17 อุปกรณ์พื้นฐานสาหรับแสดงผลข้อมูล 5) อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล (Storage) เป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล หรือหน่วยจัดเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage) มีไว้สาหรับ การจัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมต่างๆเพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูลเมื่อไฟดับ เช่นฮาร์ดิสก์ ซีดีรอม แฟรชไดท์ เป็นต้น
ภาพที่ 1-18 อุปกรณ์พื้นฐานสาหรับแสดงผลข้อมูล
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 25
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
2. ซอฟต์แวร์ (Software) เป็นโปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่เขียนเพื่อสั่งให้ฮาร์แวร์ทางานแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) และ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
ภาพที่ 1-19 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ภาพที่ 1-20 ซอฟต์แวร์ระบบ
3. บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ (People ware) เป็นผู้ปฏิบัติงานโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งแบ่งออกเป็น หลายระดับด้วยกัน เช่นผู้ปฏิบัติงานหรือUser โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ระบบ เป็นต้น 4. ข้อมูล (Data) ข้อมูลคือข้อมูลดิบต่างๆที่จัดเก็บลงในคอมพิวเตอร์และสามารถเรียกมาใช้งานได้ โดย ข้อมูลที่จัดเก็บจะถูกแปลงเป็นระบบเลขฐานสองที่จัดเก็บในระบบคอมพิวเตอร์ คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
1. 2. 3. 4. 5.
ความเร็ว (Speed) ความน่าเชื่อถือ (Reliability) ความเที่ยงตรงและแม่นยา (Accuracy) จัดเก็บข้อมูลได้ปริมาณมาก (Storage) ความสามารถในการสื่อสารและเครือข่าย (Communication and Networking)
ความเร็ว (Speed) คอมพิวเตอร์จะประมวลผลงานด้วยความเร็วสูง ต่างจากการประมวลผลงานในอดีตที่อาศัย แรงงานของมนุษย์ซึ่งให้ผลลัพธ์ที่ล่าช้ากว่ามาก งาน ๆ หนึ่งหากใช้แรงงานคนอาจเสียเวลาหลายวันหรือหลาย สัปดาห์ในการคิดและประมวลผล แต่หากนาเอาคอมพิวเตอร์มาใช้อาจลดเวลาและให้ผลลัพธ์ได้เพีย งไม่กี่นาที ความรวดเร็วในการประมวลผลดังกล่าวมีความจาเป็นอย่างมากต่อการดาเนินงานธุรกรรมในปัจจุบัน ผลลัพธ์ที่ได้ จากการคานวณด้วยคอมพิวเตอร์ ช่วยให้ผู้บริหารนาเอาไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจหรือดาเนินงานได้อย่าง เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 26
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
ความน่าเชื่อถือ (Reliability) ข้อมูลที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ จะมีความน่าเชื่อถือและสามารถนาไปใช้ ประโยชน์อื่น ๆ ต่อไปได้ โดยเฉพาะในปัจจุบันมีฮาร์ดแวร์ที่ผลิตขึ้นด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ใหม่ มีการคิดค้น และพัฒนาให้ดีกว่ายุคสมัยก่อนที่มีการใช้เพียงแค่หลอดสุญญากาศ การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ในปัจจุ บันจึง มีความผิดพลาดต่ามากหรือแทบไม่เกิดขึ้นเลย นั่นคือการมีความน่าเชื่อถือสูงนั่นเอง ความเที่ยงตรงและแม่นยา (Accuracy) คอมพิวเตอร์จะให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง แม่นยาและมีความผิดพลาดน้อยที่สุด การใช้แรงงานคนเพื่อ ประมวลผลเป็นเวลานาน อาจเกิดการผิดพลาดได้ เนื่องมาจากความอ่อนล้า เช่น ลงรายการผิด หรือบันทึกข้อมูล ผิดประเภท ตรงกันข้ามกับคอมพิวเตอร์ที่สามารถทางานได้อย่างต่อเนื่องและซ้า ๆ แบบเดิมได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับการป้อนข้อมูลเข้าที่ถูกต้องด้วย เนื่องจากคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทราบได้ว่าข้อมูลที่ผู้ใช้ ป้อนเข้ามานั้น เป็น อย่ างไร ผิดหรือถูก หากมีการป้อนข้อมูลผิ ด โปรแกรมหรือชุดคาสั่ งอาจประมวลผลตามที่ได้รับข้อมูลมา เช่นนั้น ซึ่งความไม่ถูกต้องดังกล่าวไม่ใช่เป็นความผิดพลาดของคอมพิวเตอร์ หากเป็นความผิดพลาดของฝั่งผู้ใช้เอง เป็นต้น จัดเก็บข้อมูลได้ปริมาณมาก (Storage) คอมพิวเตอร์สามารถจัดเก็บข้อมูลได้หลากหลายรูปแบบ ทั้งข้อมูลที่เป็นข้อความธรรมดาหลาย ๆ ล้านตัวอักษร เพลง ภาพถ่าย วิดีโอ หรือไฟล์ข้อมูลขนาดใหญ่จานวนมาก โดยมีหน่วยเก็บข้อมูลเฉพาะเป็นของ ตนเอง ช่วยให้การจัดเก็บและถ่ายเทข้อมูลเป็นไปได้โดยสะดวกมากยิ่งขึ้น ปัจจุบันมักพบเห็นหน่วยเก็บข้อมูลที่จุ ข้อมูลได้มากขึ้นและมีราคาที่ถูกลงกว่าแต่ก่อนมาก ความสามารถในการสื่อสารและเครือข่าย (Communication and Networking) คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสามารถเชื่อมโยงเข้าหากันเป็นเครือข่ายมากยิ่งขึ้น แต่เดิมอาจเป็นแค่ เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลธรรมดา แต่ด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าไปมาก เราสามารถเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องเข้าหากันเป็นเครือข่ายได้ ไม่ว่าจะเป็นเครือข่ายภายในองค์กรเล็ก ๆ หรือระดับเครือข่ายใหญ่ ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต ทาให้การประมวลผลงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และไม่จากัดอยู่ แค่พื้นที่หนึ่งอีกต่อไป คุณสมบัติ เหล่านี้อาจพบเห็นได้ในคอมพิวเตอร์แบบใหม่ ๆ ทั่วไป ชนิดของคอมพิวเตอร์ (Type)
1. 2. 3. 4.
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputers) เวิร์กสเตชั่น ( Workstations)
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 27
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
5. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีประสิทธิภาพในการ ทางานสูงมาก สามารถประมวลผลงานที่มีรูปแบบซับซ้อน มีความรวดเร็วในการคานวณได้มากกว่าพันล้านคาสั่ง ต่อวินาที และสามารถรองรับโปรเซสเซอร์ได้มากกว่า 100 ตัว ตัวอย่างการใช้งานคอมพิวเตอร์ประเภทนี้ เช่น การ พยากรณ์อากาศ การทดสอบทางอวกาศ และงานอื่นๆ สาหรับหน่วยวัดความเร็วของซูเปอร์คอมพิวเตอร์ เรียกว่า กิกะฟลอป (Gigaflops)
ภาพที่ 1-21 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์
ภาพที่ 1-22 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถและ ประสิทธิภาพรองจากซูเปอร์คอมพิวเตอร์ แต่เดิมเมนเฟรมคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีการ พัฒนามาตั้งแต่เริ่มแรก โดยตัว เครื่ องประกอบด้วยตู้ขนาดใหญ่ที่ภายในตู้มีชิ้นส่ว นและอุปกรณ์ต่างๆ อยู่เป็น จานวนมาก แต่ปัจจุบันขนาดของเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์มีขนาดลดลงมาก แต่ราคาสูงมาก ส่วนใหญ่จะใช้ใน ศูนย์คอมพิวเตอร์หลักขององค์กรต่างๆ และต้องอยู่ภายใต้สภาวะแวดล้อมที่มีการควบคุมอุณหภูมิ มีการดูแลรักษา อย่างดี ซึ่งการพัฒนาเมนเฟรมคอมพิวเตอร์นั้นมีเป้าหมายให้เป็นเครื่องที่มีขีดความสามารถสูงขึ้น โดยสร้างจุดเด่น ให้เป็นคอมพิวเตอร์ที่เป็นศูนย์กลางที่สามารถเข้าใช้งานจากผู้ใช้จานวนมากในเวลาเดียวกัน เช่น การจองตั๋วหนัง งานธนาคาร งานลงทะเบียนนักศึกษา หรือแม้กระทั่งการประกอบธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจากมีระบบความ ปลอดภัยที่มีความน่าเชื่อถือและเป็นที่ยอมรับ ถึ ง แม้ เ มนเฟรมคอมพิ ว เตอร์ จ ะมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง แต่ ปั จ จุ บั น ความนิ ย มใช้ เ ครื่ อ ง เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานต่างๆ ได้ลดน้อยลงมาก เพราะราคาเครื่องค่อนข้างแพง การใช้งานค่อนข้างยาก และมีผู้ ที่มีความรู้ เฉพาะทางด้า นนี้ ยั งน้ อย สถานศึกษาที่มีเครื่ องระดับนี้ไว้ใ ช้ส อนมีน้อย และอีกเหตุผ ล คื อ คอมพิ ว เตอร์ ข นาดเล็ ก กว่ า ได้ มี ก ารพั ฒ นาให้ มี ป ระสิ ทธิ ภ าพมากขึ้ น จนสามารถท างานเที ย บเท่ า กั บ เครื่ อ ง เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ แต่ราคาถูกกว่า เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 28
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputers) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดกลางที่มีประสิทธิภาพในการทางาน น้อยกว่าเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ และสามารถใช้งานพร้อมๆ กันได้หลายคน เช่น งานบัญชีและการเงิน งาน ออกแบบทางวิศวกรรม งานควบคุมการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งปัจจุบันธุรกิจขนาดกลางและองค์กรหลาย ประเภท รวมทั้งสถาบันการศึกษานิยมนามินิคอมพิวเตอร์มาใช้ในการให้บริการข้อมูลแก่ลูกค้า เวิร์กสเตชั่น (Workstations) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะอยู่ระหว่างมินิคอมพิวเตอร์และ ไมโครคอมพิวเตอร์ สามารถใช้กับผู้ใช้เพียงคนเดียว หรือต่อแบบเครือข่ายเพื่อใช้งานหลายคนได้ นิยมนามาใช้ด้าน วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การออกแบบกราฟิกแอนิเมชั่น และยังสามารถเพิ่มขยายหน่วยความจาหลักได้ใน ปริมาณที่มากกว่าเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ รวมทั้งมีระบบการแสดงผลและจอภาพที่มีความละเอียดสูงมาก
ภาพที่ 1-23 มินิคอมพิวเตอร์
ภาพที่ 1-24 เวิร์กสเตชั่น
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer : PC) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่นามาตั้งบนโต๊ะเพื่อใช้งาน เช่น ในสานักงาน สถานศึกษา ที่บ้าน เป็นต้น ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความคล่องตัวสูง เคลื่อนย้ายง่าย และมีประสิทธิภาพสูง มีทั้ง แบบแนวนอนและแนวตั้ง ปัจจุบันแนวโน้มการใช้งานมีมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากสามารถนามาประยุกต์การ ใช้งานได้หลายด้าน โดยเฉพาะการนาไมโครคอมพิวเตอร์หลายเครื่องมาเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายด้วยเทคนิคการ ประมวลผลแบบขนาด (Parallel Processing) ซึ่งเปรียบเสมือนกับมีโปรเซสเซอร์หลายร้อยตัวภายในระบบเดียว ทาให้มีความเร็วเทียบชั้นกับเมนเฟรมคอมพิวเตอร์หรือซูเปอร์คอมพิวเตอร์ การจาแนกประเภทผู้ใช้งาน ( Categories of user)
1) ผู้ใช้ตามบ้าน ( Home User) 2) ผูใ้ ช้ตามสานักงานขนาดเล็กหรือสานักงานตามบ้าน(Small Office/Home Office User : SOHO) 3) โมบายยูสเซอร์ (Mobile User) เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 29
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
4) ผู้ใช้ตามสานักงานขนาดใหญ่ (Large Business User) 5) เพาเวอร์ยูสเซอร์ (Power User) การนาคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้งานในด้านต่างๆ
ในปัจจุบันมีการนาคอมพิวเตอร์ไปใช้งานในด้านต่างๆมากมายเช่น งานการศึกษา งานวิศกรรม งานวิจัย งานด้านการแพทย์ งานอุตสาหกรรม งานบันเทิง เป็นต้น
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (Computer) แรกเริ่มมนุษย์ดาเนินชีวิตโดยไม่มีการบันทึกสิ่งใด มาจนกระทั่งได้มีการติดต่อค้าขายของพ่อค้า ชาวแบบีลอน (Babylonian) การจดบันทึกข้อมูลต่างๆ ลงบน clay tabletsจึงได้ถือกาเนิดขึ้น และอุปกรณ์ที่ช่วยในการ คานวนระหว่างการติดต่อซื้อขายก็ได้ถือกาเนิดขึ้นเช่นกัน อุปกรณ์คานวณในยุคแรกได้แก่ ลูกคิด (abacus) ซึ่งก็ ยังคงใช้กันต่อๆ มาจนถึงปัจจุบัน
ภาพที่ 1-25 Clay Tablets (แผ่นดินเหนียว)
ภาพที่ 1-26 ลูกคิด (abacus)
ประวัติคอมพิวเตอร์ ดาเนินมาถึง ปี พ.ศ. 2185 นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ Blaise Pascal (แบลส ปาสกาล) ได้สร้างเครื่องกลสาหรับการคานวณชื่อ Pascaline
ภาพที่ 1-27 Blaise Pascal
ภาพที่ 1-28 เครื่องกลสาหรับการคานวณชื่อ Pascaline
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 30
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
ต่อมาในปี พ.ศ. 2215 เครื่องกล pascaline ของ Blaise Pasca ได้ถูกพัฒนาเพิ่มเติมโดย Gottfried Von Leibniz นักคณิตศาสตร์ชาวเยอร์มันโดยเพิ่มสามารถในการ บวก ลบ คูณ หาร และถอดรากได้ แต่ก็ไม่มี ผู้ใดทราบว่าเครื่อง pascaline ที่ถูกพัฒนาเพิ่มเติมเครื่องนี้มีความสามารถในการคานวนแม่นยาเพียงใด
ภาพที่ 1-29 Gottfried Von Leibniz
ภาพที่ 1-30 Charles Babbage
ปี พ.ศ. 2336 นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ Charles Babbage ได้สร้างจักรกลที่มีชื่อว่า difference engine ที่มีฟังก์ชันทางตรีโกณมิติต่างๆ โดยอาศัยหลักการทางคณิตศาสตร์ และและต่อมาก็ได้สร้าง analytical engine ที่มีหลักคล้ายเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไปในปัจจุบัน จากผลงานดังกล่าว Charles Babbage ถูกยกย่องว่า เป็นบิดาของคอมพิวเตอร์และเป็นผู้ริเริ่มวางรากฐานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
ภาพที่ 1-31 Difference engine
ภาพที่ 1-32 Analytical engine
ปี พ.ศ. 2439 Herman Hollerith ได้คิดบัตรเจาะรูและเครื่องอ่านบัตร เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 31
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
ภาพที่ 1-33 Herman Hollerith
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
ภาพที่ 1-34 บัตรเจาะรู
จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2480 Howard Aiken สร้างเครื่องกล automatic calculating machine ขึ้น จุดประสงค์ของเครื่องกลชิ้นนี้ก็คือ เพื่อเชื่อมโยงเทคโนโลยีทั้งทาง electrical และ mechanical เข้ากับ บัตรเจาะรูของ Hollerith และด้วยความช่วยเหลือของนักศึกษาปริญญาและวิศวกรรมของ IBM ทีมงานของ Howard ก็ประดิษฐ automatic calculating machine สาเร็จในปี พ.ศ. 2487 โดยใช้ชื่อว่า MARK I โดยการท างานจะอยู่ ภ ายในตั ว เครื่ อ ง ซึ่ ง จะถู ก ควบคุ ม อย่ า งอั ต โนมั ติ ด้ ว ย Electromagnetic relays และ Arthmetic counters ซึ่งเป็น mechanical ดังนั้น MARK I จึงนับเป็น electromechanical computers
ภาพที่ 1-35 Howard Aiken
ภาพที่ 1-36 MARK I
และต่อมา Dr. John Vincent Atanasoff และ Clifford Berry ได้ทาการประดิษฐ์เครื่อง ABC (Atanasoff-Berry Computer) โดยใช้ หลอดสูญญากาศ (vacuum tubes) ปี พ.ศ. 2483 Dr.John W. Mauchy และ J. Presper Eckert Jr. ได้ร่วมกันพัฒนา electronic computer โดยอาศัยหลักการออกแบบบนพื้นฐานของ Dr. Atanasoff electronic computer เครื่องแรกมี ชื่อว่าENIAC แม้จะเป็นelectronic computer แต่ENIACก็ยังไม่สามารถเก็บโปรแกรมได้( stored program) จึง ได้มีการพัฒนาเป็นเครื่อง EDVAC ซึง่ ต้องอาศัยหลักการ stored program สมบูรณ์ และได้มีการพัฒนาเป็นเครื่อง EDSAC และท้ายสุดก็ได้พัฒนาเป็นเครื่องUNIVAC(Universal Automatic Computer) ในเวลาต่อมา เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 32
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
ภาพที่ 1-37 เครื่อง ABC (Atanasoff-Berry Computer)
ภาพที่ 1-39 EDVAC
ภาพที่ 1-38 ENIAC
ภาพที่ 1-40 EDSAC
ภาพที่ 1-41 UNIVAC เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 33
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
การแบ่งยุคคอมพิวเตอร์ การพัฒนาคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมีการแบ่งออกเป็นยุคต่างๆ เป็น 5 ยุค
ดังนี้ ยุคที่ 1 UNIVAC I คือเครื่องคอมพิวเตอร์เอนกประสงค์ที่ใช้ในเชิงธุรกิจ เป็นเครื่องหมายของการเริ่มต้นยุคที่ 1 เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้มีขนาดใหญ่ ใช้หลอดสุญญากาศ (Vacuum tubes) ซึ่งก่อให้เกิดความร้อนสูงมาก จึง ต้องใช้เครื่องปรับอากาศ การบารุงรักษา และพื้นที่กว้างมาก สื่อบันทึก ข้อมูลได้แก่ เทปแม่เหล็ก IBM 650 เป็น เครื่องที่สามารถทางานได้ทั้งด้านธุรกิจและวิทยาศาสตร์ หน่วยความจาเป็น ดรัมแม่เหล็ก (magnetic drum) และ ใช้บัตรเจาะรู การสั่งงานใช้ภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งเป็นภาษาตัวเลข ในระบบตัวเลขฐานสอง (binary digit)
ภาพที่ 1-42 หลอดสูญญากาศ
ภาพที่ 1-43 วงแหวนแม่เหล็ก
ยุคที่ 2 ค.ศ. 1959 ทรานซิสเตอร์และส่วนประกอบอื่น ๆ เช่น Solid state, semiconductor เป็นต้น จะมีขนาด เล็กลง ความร้อนลดลง ราคาถูกลง และต้องการพลังงานน้อยกว่าการใช้หลอดสุญญากาศ คอมพิวเตอร์ในยุคที่สอง จึ ง มี ข น า ด เ ล็ ก ล ง แ ต่ ค ว า ม เ ร็ ว สู ง ขึ้ น แ ล ะ น่ า เ ชื่ อ ถื อ ม า ก ก ว่ า ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ใ น ยุ ค ที่ 1 คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้ วงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic cores) เป็นหน่วยความจา สื่อบันทึกข้อมูลหลักใน ยุคนี้ใช้จานแม่เหล็ก (magnetic disk packs) หน่วยความจาสารองอื่น ๆ ยังคงเป็น เทปแม่เหล็ก และบัตรเจาะรู ในยุคนี้ มีการพัฒนาภาษาระดับต่า (low-level language) หรือภาษาอิงเครื่อง เป็นภาษารหัส ที่ง่ายต่อการเขียน มากกว่ าภาษาเครื่ อง เช่น ภาษาแอสเซมบลี (assembly) โดยมี โ ปรแกรมแปลภาษาคื อ แอสเซมเบลอร์ (assembler) ทาหน้าที่แปลให้เป็นภาษาเครื่อง
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 34
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
ภาพที่ 1-44 เครื่องเจาะบัตร
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
ภาพที่ 1-45 ม้วนกระดาษเจาะรู
ภาพที่ 1-46 เครื่องอ่านเทป
ยุคที่ 3 ค.ศ. 1964 IBM system/360 คือ จุดเริ่มต้นของยุคที่ 3 วงจรไอซี (IC: integrated circuits) เป็นวงจร อิเล็กทรอนิกส์ที่นามาใช้แทนวงจรทรานซิสเตอร์ ลักษณะของ IC เป็นแผ่นซิลิกอนขนาดเล็กหรือเรียกว่า ชิป (chip) เป็ น วงจรไมโครอิเล็กทรอนิ กส์ มีขนาดเล็ กกว่า น่าเชื่อถือมากกว่า ความเร็ว สูงขึ้น และ ขนาดของ คอมพิวเตอร์เล็กลง เริ่ มใช้วิธีการแบบ Time-sharing และการสื่ อสารข้อมูล ความสามารถในการประมวลผลหลาย ๆ โปรแกรมพร้อม ๆ กันเรียกว่า multi-programming ระบบปฏิบัติการ (Operating system) ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อ ควบคุมการประมวลผลคอมพิวเตอร์ ภาษาระดับสูงสาหรับเขียนโปรแกรม เช่น FORTRAN, COBOL เป็นต้น โปรแกรมสาเร็จรูปแพร่หลายมากขึ้น เครื่องขนาด มินิคอมพิวเตอร์เครื่องแรก คือ PDP-8 ของ the Digital Equipment Corporation ในปี ค.ศ. 1969
ภาพที่ 1-47 เครื่องอ่านเทปแม่เหล็ก
ภาพที่ 1-48 เทปแม่เหล็ก
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 35
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
ยุคที่ 4 ค.ศ. 1970 เทคโนโลยีหลักที่เกิดขึ้นในยุคนี้คือ วงจร LSI (large-scale integration) เป็นวงจรรวมของ วงจรตรรกะ (logic) และ หน่วยความจา (memory) ของคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ หลายพัน วงจรไว้บนแผงซิลิกอนซึ่งเป็นชิปขนาดเล็ก และถูกนามาใช้เป็นชิปหน่วยความจาแทนวงแหวนแม่เหล็ก (ซึ่งใช้ในยุค ที่ 2 และยุคที่ 3) ค.ศ. 1971 ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) ตัวแรกที่เกิดขึ้นคือ Intel 4004 เป็นวงจร รวมหน่วยประมวลผลหลักไว้บนชิปเพียงตัวเดียว ต่อมา ค.ศ. 1974 จึงมีการพัฒนา Intel 8080 เพื่อใช้ในระบบ ไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องแรกคือ Altair 8800 ต่อมา ค.ศ. 1978 Steve Jobs และ Steve Wozniak จึงพัฒนา Apple II ออกมาจาหน่าย และปี ค.ศ. 1981 IBM พัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์ออกจาหน่ายเช่นกัน กลางปี ค.ศ. 1980 พบว่ า ไมโครคอมพิ ว เตอร์ จ านวนหลายล้ า นเครื่ อ งถู ก ใช้ ใ นบ้ า น โรงเรี ย น และในธุ ร กิ จ ในยุคนี้อุปกรณ์ที่ใช้ป้อนข้อมูลโดยตรง เช่น Keyboard (แป้นพิมพ์) electronic mouse (เมาส์) light pen (ปากกาแสง) touch screen (จอสัมผัส) data tablet (แผ่นป้อนข้อมูล) เป็นต้น อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ เช่น จอภาพ แสดงข้อภาพ กราฟิก และเสียง เป็นอุปกรณ์พื้นฐานในเวลาต่อมา ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม คล้าย กับภาษามนุษย์มากขึ้น เกิดระบบจัดการฐานข้อมูล และภาษาในยุคที่ 4 หรือภาษาธรรมชาติ ไม่เพียงแต่ทาให้ โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรมง่ายขึ้นเท่านั้น ยังช่วยให้ผู้ใช้ไม่ต้องบอกวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทางาน เพียงแต่บอก ว่า งานอะไร ที่พวกเขาต้องการเท่านั้น โปรแกรมสาเร็จรูปในยุคนี้ ได้แก่ electronic spreadsheet (ตาราง ทางาน) , word processing (ประมวลผลคา) เช่น ค.ศ. 1979 โปรแกรมวิสิแคล (VisiCalc electronic spreadsheet program) และ โปรแกรมเวิร์ดสตาร์ (WordStar word processing) ค.ศ. 1982 โปรแกรมจัดการ ฐานข้อมูล DBASE II และ โปรแกรมตารางทางาน Lotus1-2-3 เป็นต้น ยุคที่ 5 เริ่มเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 คอมพิวเตอร์ในยุคนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่จากยุคที่ 4 เป็นคอมพิวเตอร์ อัจฉริยะ สามารถคิด มองเห็น ฟัง และพูดคุยได้ โครงสร้างคอมพิวเตอร์จะแตกต่างไปจากเดิม การประมวลผล ข้อมูลเป็นแบบขนาน (Parallel) แทนแบบอนุกรม (Serially) การสร้างระบบคอมพิวเตอร์อัจฉริยะ คือหนึ่งใน เป้าหมายหลักทางด้านวิทยาการเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence: AI) สิ่งที่ปรากฏในยุคนี้คือ optical computer ใช้ photonic หรือ optoelectronic เป็นวงจรมากกว่าวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ประมวลผล ข้อ มูล ด้ ว ยแสงเลเซอร์ ปฏิ บั ติก ารด้ ว ยความเร็ว ใกล้ กั บ ความไวแสง ในอนาคตจะมีข นาดเล็ กมาก เร็ ว และ biocomputer มี อ านาจมากขึ้ น จะเติ บโตจากองค์ ประกอบส าคั ญคื อ การใช้ เ ซลจากสิ่ ง มี ชี วิต เป็ นวงจร ซอฟต์ แ วร์ ค อมพิ ว เตอร์ มี ก ารเติ บ โตอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ใช้ ง่ า ยและสามารถใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ ห ลากหลาย ปรับเปลี่ยนได้ง่าย ผู้ใช้สามารถสนทนากับคอมพิวเตอร์ได้ด้วยภาษามนุษย์ โปรแกรมสาเร็จรูปจะทางานร่วมกัน เป็ น โปรแกรมอเนกประสงค์ที่ใช้งานง่าย ทาหน้าที่ต่างกันเพื่อผู้ ใช้ที่ไม่มีความรู้ทางเทคนิค เทคโนโลยีระบบ เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 36
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
สารสนเทศและเทคโนโลยีทางการสื่อสารเข้ามามีบทบาทมากขึ้น การใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสานักงาน อัตโนมัติ เช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic mail) ไปรษณีย์เสียง (voice mail) และ การประชุมผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (teleconferencing) ระบบสารสนเทศบนพื้นฐานของเทคโนโลยีการสื่อสารขั้นสูง จะรวมกับการถ่ายโอนและการประมวลผล ข้อมูล ภาพ และ เสียง รวมถึงการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีใยแก้วนาแสง (Fiber optics technology) ใน การให้บริการเครือข่ายดิจิตอล โรงงานปฏิบัติงานอัตโนมัติ ใช้ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ เช่น หุ่นยนต์ (Robotics) เปลี่ ย นไปจากโรงงานธรรมดา โรงงานอัตโนมัตินี้ เป็นผลมาจากการผลั กดั นเกี่ยวกับการทางานร่ว มกันของ คอมพิว เตอร์ ในการผลิ ต การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิ ต หุ่นยนต์ และ เทคโนโลยีการผลิตอื่น ๆ เพื่อให้กระบวนการผลิตทั้งหมดเป็นไปโดยอัตโนมัติ ธุรกิจต่าง ๆ ใช้คอมพิวเตอร์และเครือข่ าย ในการดาเนินงาน ไม่ว่าจะเป็น ค้าส่ง ค้าปลีก คลังสินค้า และ โรงงาน ผู้ จั ดการจะอาศั ย ระบบสารสนเทศส าหรับ ผู้ บริ ห ารมากขึ้น ผู้ ใช้ จะพึ่ งพาระบบผู้ เ ชี่ยวชาญ ( Expert system) ของระบบปัญญาประดิษฐ์เพื่อช่วยในการทางานตามหน้าที่ ทุกๆ วัน การใช้คอมพิวเตอร์มีอยู่ทั่วไปในชีวิตประจาวัน เช่น ระบบการโอนเงินทางธนาคาร ระบบชาระ ค่าสินค้าระบบการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในด้านวิศวกรรม เครื่องมือในการพัฒนาระบบสารสนเทศอัตโนมัติ ระบบ การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนในการศึกษา Telecommuting เป็นระบบการสื่อสารเพื่อการทางานภายในบ้าน และ ระบบ videotex สาหรับหาซื้อสินค้าในระบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronic shopping) การธนาคาร และบริการ สารสนเทศถึงบ้าน จะมีความตื่นเต้นเร้าใจมากขึ้น สังคมจะให้ความเชื่อถือ ความมั่นใจในคอมพิวเตอร์มากขึ้นเมื่อ เข้าสู่ศตวรรษที่ 21
ภาพที่ 1-49 ยุคที่ 1 หลอดสูญญากาศ
ภาพที่ 1-45 ยุคที่ 2 ทรานซิสเตอร์
ภาพที่ 1-51 ยุคที่ 3 วงจร IC
ภาพที่ 1-52 ยุคที่ 4 LSI Chip
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 37
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
ภาพที่ 1-53 ยุคที่ 5 เทคโนโลยี VLSI การเปรียบเทียบลักษณะคอมพิวเตอร์ในยุคต่างๆ ลักษณะ ยุคที่1 ยุคที่2 ยุคที่3 Circuitry speed Networking
Vacuum Tubes Hundreds None
Transistors Thousands Mainframe Base network
IC millions Mainframe and minicomputer Base network Magnetic Core Magnetic Tape Magnetic Disk
Primary Storage Secondary Storage
Magnetic Drum Magnetic Tape Magnetic Drum
Magnetic Core Magnetic Tape Magnetic Disk
Input
Punched card Paper Tape
Punched card
Key to Tape Key to Disk
Output
Punched cards Printer Report and Document
Punched cards Printer Report and Document
Printer Report and Document Video Display
Software
User-Written program Machine languages
Packaged program Symbolic Languages
Operating System High-level Languages
ยุคที่4
ยุคที่5
LSI Tens of Millions Local Area and Client/Server Network LSI /Memory ship Magnetic Tape Magnetic Disk Optical Disk Keyboard data Entry Pointing Device Optical Scanning Video Display Audio Responses Printer Report and Document
VLSI Billions Trillions Internet intranet and Extranets
Database Management System Fourth-generation Languages Microcomputer
Natural and objectOriented Languages Graphic-Interface Network-Enable Expert-Assisted Package
VLSI /Memory ship Magnetic Disk Optical Disk Voice Recognition Touch Devices Handwriting Recognition Video Display Voice Responses Hyperlinked Multimedia Document
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 38
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 : คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
ใบงาน บทที่ 1 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.
ระบบสารสนเทศคืออะไร และระบบสารสนเทศมีผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์อย่างไรบ้าง ข้อมูลกับสารสนเทศแตกต่างกันอย่างไร จงอธิบาย วงจรการพัฒนาระบบงานมีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง จงอธิบายกระบวนการได้มาของซึ่งสารสนเทศ จงอธิบายของเทคโนโลยีสารสนเทศสารสนเทศพร้อมยกตัวอย่างประกอบ จงอธิบายความแตกต่างของคอมพิวเตอร์ในยุคต่างๆมาพอเข้าใจ จงอธิบายการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ จงอธิบายส่วนประกอบภายในของระบบคอมพิวเตอร์ จงเขียน Lay out ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่นักศึกษาใช้งานพร้อมระบุชื่อตาแหน่งของชิ้นส่วน ที่นักศึกษารู้จัก 10. จงเขียนขั้นตอนการเปิด-ปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่นักศึกษาใช้งานโดยแสดงที่ละขั้นตอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 39