หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
บทที่ 4 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายแตกต่างระหว่างซอฟต์แวร์ระบบและซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้ 2. อธิบายการทางานแบบต่างๆ ของระบบปฏิบัติการได้ 3. จาแนกประเภทของระบบปฏิบัติการแต่ละชนิดได้ 4. อธิบายการทางานของซอฟต์แวร์ประยุกต์ในแต่ละชนิดได้ 5. บอกประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์ได้ 6. อธิบายการทางานของตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์แต่ละชนิดได้ 7. อธิบายความหมายของผังงานได้ 8. สามารถเข้าใจสัญลักษณ์พื้นฐานที่ใช้ในผังงานได้ 9. สามารถจาแนกรูปแบบของผังงานได้ 10. อธิบายประโยคของผังงานและสามารถเขียนขั้นตอนและวาดผังงานเบื้องต้นได้ บทนำ การปฏิบัติงานของคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องมีซอฟต์แวร์เป็นองค์ประกอบในการสั่งการให้เครื่องจักร และ อุปกรณ์ต่างๆ ดาเนินการปฏิบัติงานต่างๆ เช่น การจัดการระบบคอมพิวเตอร์ หรือแม้แต่การจัดการประมวลผล ข้อมูล เพื่อออกรายงานตามที่ผู้ใช้งานต้องการ ความต้องการต่างๆ จะถู กปรับปรุงให้อยู่ในรูปของชุดคาสั่งเพื่อสั่ง การคอมพิวเตอร์ต่อไป ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์จึงแยกหมวดหมู่ได้เป็นสองประเภทหลักๆ ได้แก่ซอฟต์แวร์ระบบ และซอฟต์แวร์ ประยุกต์ ซอฟต์แวร์ระบบจะเกี่ยวข้องกับการจัดการคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์กับตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ส่วน ซอฟต์แวร์ประยุกต์จะได้แก่ซอฟต์แวร์ทั่วๆ ไปและซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 97
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ในการพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อใช้งานภายในหน่วยงานจะมีขั้นตอนและวิธีการแตกต่างกันไป ขึ้นกับเงื่อนไข ของหน่ ว ยงานและลั ก ษณะของงานที่ จ ะพั ฒ นา การพิจ ารณาพั ฒ นาซอฟต์ แ วร์ จาแนกได้ ห ลั ก ๆ คื อ พั ฒ นา ซอฟต์แวร์เองโดยหน่วยงานจัดจ้าง (Outsourcing) และจัดหา (procurement) ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานในหน่วยงานอาจมีการแก้ไขสาเนา ปรับปรุง เผยแพร่ ติดตั้งใช้งานฯลฯ การกระทาใน แต่ละเรื่อง อาจเกี่ยวข้องกับกฎหมายลิขสิทธิ์ โดยเฉพาะซอฟต์แวร์ที่ได้จากการจัดหา จัดจ้า ง กฎหมายลิขสิทธิ์มี บทลงโทษ และข้อยกเว้น การกระทาบางประการ การตระหนักถึงข้อห้ามและข้อยกเว้นจะช่วยให้ การใช้งาน ซอฟต์แวร์ดังกล่าวเป็นไปด้วยความถูกต้อง นับตั้งแต่อดีตกาลมาแล้วมนุษย์พยายามที่จะศึกษาเลียนแบบธรรมชาติ เพื่อควบคุมและเอาชนะ บางครั้ง ก็สาเร็จ และบางครั้ง ก็ไม่ประสบความส าเร็จมีห ลายๆ สิ่ง หลายๆ อย่างที่เกิดขึ้นมาไม่ว่าจะเป็นตัวเลข ลูกคิด เครื่องคานวณแบบ วงล้อ เครื่องคานวณแบบ อิเล็กโทรนิกส์ เครื่องคอมพิวเตอร์ มนุษย์พยายามที่ประดิษฐ์คิดค้นและสร้างเครื่องมือ เพื่อช่วยทางานทั้งโดยตรง และทางอ้อม หนึ่งใน เครื่องมือนั้นก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์ และเนื่องจากการใช้งานในยุกต์แรกๆ เป็นไปด้วยความยากลาบากเพราะ มนุษย์ต้องสื่อสารโดยตรงกับเครื่อง โดยการสับสวิสต์ บังคับการทางานเช่นเดียวกับการเปิดปิดสวิสต์ไฟฟ้า ต่อมา จึงเกิดภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลี และภาษาสูงตามลาดับ ภาษาเหล่านี้เองที่เป็นเครื่องมือในการผลิตซอฟต์แวร์
องค์ประกอบด้ำนซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่คอยสั่งการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน รวมไป ถึงการควบคุมการทางานของอุปกรณ์แวดล้อมต่างๆ เช่น Modem, CD ROM, Drive เป็นต้น ซอฟต์แวร์ เป็นสิ่งที่ มองไม่เห็นจับต้องไม่ได้ แต่รับรู้การทางานของมันได้ ซึ่งต่างกับ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ที่สามารถจับต้องได้ ซอฟต์แวร์เป็นศัพท์ที่มีความหมายกว้างขวางมาก บางครั้งอาจรวมถึง ผลลัพธ์ต่างๆ เช่น ผลการพิมพ์ที่ได้จาก เครื่องคอมพิวเตอร์ เอกสารการพัฒนาซอฟต์แวร์ ตลอดจนคู่มือการใช้ ในการสั่งงานใดๆ ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทางานตามที่เราต้องการนั้นต้องอาศัยซอฟต์แวร์เป็นตัวเชื่อมระหว่างคน หรือผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์กับเครื่อง คอมพิวเตอร์ ดั้งนั้น ซอฟต์แวร์จึงมีความสาคัญทัดเทียมกับฮาร์ดแวร์ของเครื่องคอมพิวเตอร์เลยทีเดียว ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์สามารถแยกหมวดหมู่ได้เป็นสองประเภทหลักๆ ได้แก่ซอฟต์แวร์ระบบ และซอฟต์แวร์ ประยุกต์ ซอฟต์แวร์ระบบจะเกี่ยวข้องกับการจัดการคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์กับตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ส่วน ซอฟต์แวร์ประยุกต์จะได้แก่ซอฟต์แวร์ทั่วๆ ไปและซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 98
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ภำพที่ 4-1 ประเภทของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับการทางานที่ใกล้ชิดกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์มากที่สุด โดยจะทาหน้าที่ติดต่อ ควบคุม และสั่งการให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกันให้ได้มากที่สุด รวมถึงการ บารุงรักษาระบบตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มีการใช้งานได้ยาวนานขึ้น ซอฟต์แวร์ระบบแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ ระบบปฏิบัติการ(Operation Systems) โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟต์แวร์ห รือโปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทางานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ อาจแบ่งได้เป็ นซอฟต์แวร์ สาหรับงานทั่วไป และซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน ซึ่งโดยปรกติแล้วซอฟต์แวร์ดังกล่าวมักทางานอยู่ภายใต้ ระบบปฏิบัติการหนึ่ง เช่น โปรแกรมการทาบัญชีจ่ายเงินเดือน (Payroll Program) ของแต่ละบริษัท, การคานวณ ดอกเบี้ยเงินฝากหรือเงินกู้สาหรับงานธนาคาร (Interest Computation) การทาสินค้าคงคลัง (Stock) ซึ่งมักมี เงื่อนไขหรือแบบฟอร์มแตกต่างกันไปตามความต้องการ หรือกฏเกณฑ์ของหน่วยงานแต่ละหน่วย ถึงแม้ว่าใน ปัจจุบันจะมีการโปรแกรมสาเร็จรูป สาหรับงานทางด้านต่างๆ ออกมามากมาย แต่ก็ยังจาเป็นที่จะต้องได้รับการ แก้ไขดัดแปลง ให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้อยู่เสมอ จึงยังคงถือว่าเป็นลักษณะของซอฟต์แวร์ประยุกต์อยู่
ระบบปฎิบัติกำร (Operating System) เป็นซอฟต์แวร์ที่เอาไว้ใช้สาหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ตั้งแต่ ซีพียู หน่วยความจา ไปจนถึงหน่วยนาเข้า และส่งออก (input/output device) บางครั้งก็นิยมเรียกรวมๆ ว่า แพลตฟอร์ม (platform) คอมพิวเตอร์จะทางานได้จาเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการติดตั้งอยู่ในเครื่องเสียก่อน ซึ่งก็ ขึ้นอยู่กับบริษัทผู้ผลิตเครื่องนั้นๆ ว่าจะเลือกใช้ระบบปฏิบัติการอะไรในการทางาน เราจะพบเห็นระบบปฏิบัติการ เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)
หน้า 99
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
อยู่ ใ นคอมพิ ว เตอร์ แ ทบทุ ก ประเภทตั้ ง แต่ ข นาดใหญ่ อ ย่ า งเครื่ อ งเมนเฟรม จนถึ ง ระดั บ เล็ ก สุ ด เช่ น เครื่ อ ง คอมพิวเตอร์ขนาดพกพาประเภทพีดีเอ หน้าที่หลัก ๆ ของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ มีดังนี้ 1) การจองและการกาหนดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ 2) การจัดตารางงาน (Scheduling) 3) การติดตามผลของระบบ (Monitoring) 4) การทางานหลายโปรแกรมพร้อมกัน (Multiprogramming) 5) การจัดแบ่งเวลา (Time Sharing) 6) การประมวลผลหลายชุดพร้อมกัน (Multiprocessing) ซึ่งระบบปฏิบัติการสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้ ระบบปฏิบัติกำรแบบเดี่ยว (Stand-alone OS) เป็นระบบปฏิบัติการสาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือโน๊ตบุ๊ค ที่ทางานโดยไม่มี การเชื่อมต่อ กับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น หรือหากมีการเชื่อมต่อเป็นระบบเครือข่าย เช่น LAN หรือ Internet ก็จะเรียก ระบบปฏิบัติการนี้ว่า "Client Operating System" ได้แก่ MS - DOS, MS - Windows ME, Windows server 2000, Windows XP, Windows NT, Windows server 2003, UNIX, LINUX, Mac OS, OS/2 Warp Client เนื่ อ งจากระบบปฏิบั ติ การเป็ น ส่ ว นส าคัญที่ ทาให้ เครื่องคอมพิว เตอร์ทางานได้ แต่ด้ว ยเครื่อ ง คอมพิวเตอร์ที่มีใช้อยู่ในปัจจุบันมีสถาปัตยกรรมที่แตกต่างกัน เช่น เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ที่เราใช้งานทั่วไปจะมี คุณสมบัติและการทางานที่แตกต่างจากคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น มินิคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่เป็นเครื่อง ให้บริการที่ต้องคอยให้บริการและดูแลเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นบริวารจานวนมาก ระบบปฏิบัติการที่ใช้งานกับ คอมพิวเตอร์ประเภทนี้จึงต้องมีความซับซ้อนกว่าระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ตัวอย่ำงระบบปฏิบัติกำรแบบเดี่ยว (Stand – alone OS) - ระบบปฏิบัติการดอส (Disk Operating System : DOS) เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้ สาหรับ เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเป็นหลัก ทางานโดยใช้การป้อนชุดคาสั่งที่เรียกว่า Command-Line ซึ่งต้องป้อน ข้อมูลทีละบรรทัด เพื่อให้เครื่องทางานตามคาสั่งนั้นๆ ได้ ผลิตขึ้นมาครั้งแรกมีชื่อเรียกว่า PC-DOS เพื่อใช้กับ เครื่องของบริษัท IBM ละเมื่อคอมพิวเตอร์ได้รับความนิยมมากขึ้นจนเกิดเครื่องที่ผลิตขั้นมาลอกเลียนแบบอย่าง มากมายคล้ายกับเครื่องของไอบีเอ็ม บริษัทไมโครซอฟท์ จึงได้ทาระบบปฏิบัติการแบบใหม่ออกมาเป็นของตนเอง และเรียกชื่อใหม่ภายหลังว่า MS-DOS นั่นเอง
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 100
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ภำพที่ 4-2 ระบบปฏิบัติการดอส - ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟต์วินโดวส์ (Microsoft Windows) ระบบปฏิบัติการนี้พัฒนา โดยบริษัทไมโครซอฟต์ เป็นระบบปฏิบัติการที่มีลักษณะการใช้งานแตกต่างจาก 2 ระบบแรก เนื่องจากมีส่วน ติดต่อกับผู้ใช้ (user interface) เป็นแบบที่เรียกว่าระบบติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก (Graphical User Interface : GUI) หรือที่เรียกว่า จียูไอ คือมีการแสดงผลเป็นรูปภาพ และใช้สัญลักษณ์ในรูปรายการเลือก (menu) หรือไอคอน (icon) ในการสั่งงานคอมพิวเตอร์แทนการพิมพ์คาสั่งทีละบรรทัด ทาให้การใช้งานคอมพิวเตอร์ง่ายขึ้น ทั้งยังมีสีสัน ทาให้ซอฟต์แวร์น่าใช้งานมากขึ้น เป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมสูงมากในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ทั่วไป ทั้งนี้นอกจากจะ เป็ น ความง่ า ยในการใช้ ง านที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น แล้ ว ยั ง เป็ น เพราะหลั ง จากที่ บ ริ ษั ท ไมโครซอฟต์ ไ ด้ ผ ลิ ต ระบบปฏิบัติการนี้ออกสู่ตลาด ก็ได้พัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่สามารถใช้งานบนระบบปฏิบัติการนี้ขึ้นหลาย ประเภท เช่น ซอฟต์แวร์ในกลุ่มซอฟต์แวร์ประมวลคา ซอฟต์แวร์ตารางทางาน หรือซอฟต์แวร์นาเสนอข้อมูล ซึ่ง ช่วยอานวยความสะดวกในการทางานของผู้ใช้ในทุก ๆ ด้าน ทาให้เกิดการใช้งานที่แพร่หลาย นอกจากนี้ยังได้มีการพัฒนาระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ ๆ ทีส่ นับสนุนการใช้งานกับเทคโนโลยีใหม่ที่ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่วินโดวส์ 3.0 (Windows 3.0) ซึ่งเป็นรุ่นแรกที่ทางานบนเครื่องเดียว พัฒนาเป็นเวอร์ชั่น ที่สามารถทางานเป็นกลุ่ม หรือเครือข่ายภายในองค์กรที่ใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ และพัฒนาต่อมาเป็นวินโดวส์ 95 (Windows 95), วินโดวส์ 98 (Windows 98), วินโดวส์เอ็มอี (Windows ME), วินโดวส์ เอ็นที (Windows NT), วินโดวส์ 2000 (Windows 2000), วินโดวส์เอ็กซ์พี (Windows XP), วินโดวส์วิสตา (Windows Vista), วินโดวส์ เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 101
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
เซเว่น (Windows 7), วินโดวส์เอท (Windows 8) และได้วางจาหน่ายให้กับองค์กรธุรกิจ และผู้ใช้ทั่วไปแล้ว และ พัฒ นาเป็ น ระบบปฏิบั ติ การเครื อข่า ยที่ส ามารถจั ดการด้ านการติ ดต่อ สื่ อสารระหว่ างเครื่อ งคอมพิว เตอร์บ น เครือข่าย จัดการด้านการใช้งานอุปกรณ์ร่วมกัน และดูแลจัดสรรและรักษาความปลอดภัยของข้อมูล
ภำพที่ 4-3 ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟต์วินโดวส์ - ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ (UNIX) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่อง มินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เป็นระบบปฏิบัติการ ที่สามารถใช้งานได้หลายงานพร้อมกัน และทางานได้ หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกัน ยูนิกซ์จึงใช้ได้กับเครื่องที่เชื่อมโยงและต่อกับเครื่องปลายทางได้หลายเครื่องพร้อมกัน สาหรับจุดเด่นที่น่าสนใจของ Linux ได้แก่ เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้งานได้ฟรี , สามารถทางานได้บนเครื่องพีซี ทั่วไป ที่มีหน่วยประมวลผลกลางตั้งแต่ 80386 ขึ้นไป รวมถึง Motora 680x0, Compaq (Digital) Alpha, PowerPC, SPARC เป็นต้น จึงเป็นระบบปฏิบัติการที่มีความต้องการทรัพยากรของระบบในขั้นต่า, สามารถทางาน ได้ร วดเร็ ว เนื่ องจากมีร ะบบการจั ดการหน่ว ยความจาเสมือ น (Virtual Memory) การจัด ทางานแบบ Multitasking และระบบป้องกันการรบกวนการทางานระหว่ าง Process ต่างๆ, มีกลุ่มผู้ใช้งานบนอินเทอร์เน็ต ค่อนข้างสู ง ทาให้ข้อบกพร่องต่างๆ ถูกค้น พบ และหาวิธีแก้ไขได้อย่างรวดเร็ว ทาให้ เป็นระบบปฏิบัติการที่มี คุณภาพสูงระบบหนึ่ง, สามารถใช้งานร่วมกับดอส (DOS) และ Microsoft Windows โดยการแบ่งพาติชั่น สามารถในการใช้งานไฟล์ร่วมกับระบบปฏิบัติการอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็น DOS, Microsoft Windows, NetWare, OS/2, Minix, NFS, System V เป็นระบบปฏิบัติการแบบเปิด เนื่องจากทุกฟังก์ชันมี Source Code แนบมา พร้อม Linux ออกเสียงได้หลายลักษณะ เช่น ลีนุกซ์, ไลนักซ์, ลีนิกซ์ เป็นต้น
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 102
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ภำพที่ 4-4 ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ - ระบบปฏิบัติการ Mac OS X (Macintosh Operating System) เป็นระบบปฏิบัติการ ของเครื่องแมคอินทอช เป็นผลิตภัณฑ์แรกที่ประสบความสาเร็จเกี่ยวกับการทางานแบบ GUI ในปี ค.ศ. 1984 ของ บริษัท Apple ต่อมาได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็นระบบปฏิบัติการ Mac OS โดยเวอร์ชันล่าสุดมีชื่อเรียกว่า Mac OS X (x คือเลข 10 แบบโรมัน) เหมาะสมกับคอมพิวเตอร์ที่ผลิตโดยบริษัท Apple และมีความสามารถในการทางาน หลายโปรแกรมพร้อมกัน (Multitasking) เหมาะกับงานในด้านประเภทสิ่งพิมพ์ กราฟิก และศิลปะเป็นหลัก
ภำพที่ 4-5 ระบบปฏิบัติการ Mac OS X เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 103
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
- ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ (LINUX) เป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมมาก เช่นเดียวกัน พัฒนาขึ้นมาโดยนักศึกษาชื่อว่า “Linus Torvalds” จากประเภทฟินแลนด์ LINUX เป็นระบบปฏิบัติการที่มี ลักษณะคล้ายกับ UNIX แต่มี ขนาดเล็กกว่าและทางานได้เร็วกว่า ในช่วงแรกของการพัฒนา LINUX พัฒนาขึ้นมา เพื่อแจกจ่ายให้ใช้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และพัฒนาขึ้นมาเพื่อคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเท่านั้น แต่ในช่วงหลังความ นิยมใน การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายเพิ่มสูงขึ้น จึงมีผู้พัฒนาส่วนประกอบอื่น ๆ ของ LINUX เพื่อเพิ่ม ความสามารถในการทางานทางด้านเครือข่าย และผู้ใช้ต้องเสียค่าใช้จ่ายด้วย สาหรับในประเทศไทยก็มีการพัฒนา Linux ออกมาใช้บ้างแล้ว เช่น Linux TLE ของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (National Electronics and Computer Technology Center) หรือ เนคเทค เป็นต้นและในปัจจุบันหลายๆ ประเทศได้มี การส่งเสริมให้มีการใช้ระบบปฏิบัติการตัวนี้อย่างต่อเนื่องเพื่อลดปัญหาการขาดดุลการค้า เนื่องจากการนาเข้า ซอฟต์แวร์ จ ากต่างประเทศ รวมทั้งเพื่อลดปัญหาในประเด็นของความมั่นคงที่จะไม่ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีของ ต่างประเทศอันได้แก่สหรัฐอเมริกาด้วย
ภำพที่ 4-6 ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ (LINUX) ระบบปฏิบัติกำรแบบเครือข่ำย (Network OS)
เป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบเพื่อจัดการงานด้านการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ให้ สามารถใช้ ทรัพยากรร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น ระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะมีลักษณะการทางานคล้าย กับระบบปฏิบัติการดอส จะแตกต่างในส่วนของการเพิ่มการจัดการเกี่ยวกับเครื อข่ายและการใช้อุปกรณ์ร่วมกัน รวมทั้งมีระบบป้องกันการสูญหายของข้อมูล ปัจจุบันระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะใช้หลักการประมวลผลแบบไคล แอนด์เซิร์ฟเวอร์ (Client / Server) คือ การจัดการเรียกใช้ข้อมูลและโปรแกรมจะทางานอยู่บนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ ในขณะที่ส่วนประกอบอื่น ๆ ของระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะทางานอยู่บนเครื่องไคลแอนด์ เช่น การประมวลผล และการติดต่อกับผู้ใช้ เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 104
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ตัวอย่างระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แบบเครือข่าย (Network OS) - Windows Server เป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานกับระบบเครือข่าย โดยเฉพาะ รุ่นแรกออกมาในชื่อ Windows NT และพัฒนาต่อมาเป็น Windows 2000 และรุ่นล่าสุดคือ Windows Server 2012 ผลิตมาเพื่อรองรับการใช้งานในระดับองค์กรขนาดเล็กและขนาดกลาง พัฒนาโดยบริษัท ไมโครซอฟท์ ส่วนใหญ่เหมาะกับการติดตั้งและใช้งานกับเครื่องประเภทแม่ข่าย (server)
ภำพที่ 4-7 Windows Server - OS/2 Warp Server เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายอีกรูปแบบหนึ่ง ออกแบบมาสาหรับใช้งาน คอมพิวเตอร์แบบเครือข่ายสาหรับองค์กรได้เป็นอย่างดี พัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็มเพื่อใช้เป็นระบบที่ควบคุมเครื่อง แม่ข่าย หรือ Server เช่นเดียวกัน แต่ไม่ประสบความสาเร็จอย่างที่หวัง และเลิกพัฒนาต่อไปแล้ว
ภำพที่ 4-8 OS/2 Warp Server
ภำพที่ 4-9 Solaris
- Solaris เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่อยู่ในตระกูลเดียวกับระบบปฏิบัติการ Unix (Unix Compatible) พัฒนาขึ้นโดยบริษัท Sun Microsystems เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่ออกแบบสาหรับงานด้าน โปรแกรม E–commerce และสามารถรองรับการทางานแบบเครือข่ายได้เช่นเดียวกันกับระบบอื่นๆ เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 105
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติกำรแบบฝัง (Embedded OS)
เป็นระบบปฏิบัติการที่มาพร้อมกับคอมพิวเตอร์ จัดเก็บไว้บนชิพ ROM ของเครื่องมี คุณสมบัติพิเศษ คือ ใช้หน่วยความจาน้อยและสามารถป้อนข้อมูลโดยใช้ สไตล์ลัส (Stylus) ซึ่งเป็นแท่งพลาสติกใช้เขียนตัวอักษรลง บนจอภาพได้ ตัวระบบปฏิบัติการจะมีคุณสมบัติวิเคราะห์ลายมือเขียน (Hand Writing Recognition) และทาการ แปลงเป็นตัวอักษรเข้าสู่ระบบได้อย่างถูกต้องพบได้ในคอมพิวเตอร์แบบ Hand Held เช่น Palm Top, Pocket PC เป็นต้น ระบบปฏิบัติการชนิดนี้ได้รับความนิยม คือ Windows CE, Pocket PC 2002 และ Palm OS เป็นต้น ตัวอย่างระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แบบเครือข่าย (Network OS) - Palm OS เป็นระบบปฏิบัติการที่ถือว่าเกิดขึ้นมาพร้อมๆกับการนาเอาคอมพิวเตอร์แบบ พกพามาใช้ในยุคแรกๆ ที่เรียกว่าเครื่อง Palm (ผลิตขึ้นโดยบริษัทปาล์ม) ซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายใน เวลาต่อมา เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นมาก่อน Windows CE หรือ Pocket PC OS ของไมโครซอฟท์ (เนื่องจากมีการ ผลิตเครื่องขึ้นมาก่อนนั่นเอง) ปัจจุบันอาจจะพบเห็นการนาเอาระบบนี้ไปใช้กับคอมพิวเตอร์แบบพกพาของค่าย บริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์เทคโนโลยีชั้นนานอกเหนือจากเครื่องของบริษัทปาล์มด้วย เช่น Visor (ของค่ายแฮนด์สปริงซึ่ง ปั จ จุ บั น รวมกิจ การเข้ากับ บริ ษั ทปาล์ มไปแล้ ว ) และ CLIE (ของค่ายโซนี่ซึ่งยุติการผลิ ตไปแล้ ว ) ซึ่งก็ใ ช้ ระบบปฏิบัติการแบบนี้ด้วยเช่นกัน
ภำพที่ 4-10 Palm OS เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 106
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
- Pocket PC OS บริษัทไมโครซอฟท์ ผู้ผลิตระบบปฏิบัติการยักษ์ใหญ่ ที่มีความชานาญจาก การสร้ างระบบที่ใช้ส าหรับ เครื่ องพีซีมาก่อน ได้หั นมาเน้นการผลิ ตเพื่อใช้งานร่วมกับการควบคุมในอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็กมากยิ่งขึ้น โดยสร้างระบบปฏิบัติการตัวใหม่ที่มีชื่อเรียกว่า Pocket PC OS (เดิมใช้ชื่อว่า Windows CE หรือ Windows Consumer Electronics แต่มีการตั้งชื่อใหม่นี้ภายหลังซึ่งเริ่มตั้งแต่เวอร์ ชั่น 3.0 นี้ ขึ้นไปเพื่อให้ชื่อของระบบปฏิบัติการตัวดังกล่าว เหมือนกับชื่อคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กไปเลย) สามารถรองรับการทางานแบบ multi-tasking ได้ เช่นเดียวกับ OS ตัวอื่นๆ เช่น ท่องเว็บหรือ ค้นหาข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตไปได้พร้อมๆกับการฟังเพลง หรือตรวจเช็ค e-mail ได้ไปพร้อมๆกับการสร้างบันทึก ช่วยจา เป็นต้น โดยรูปแบบและหน้าตาการทางานจะคล้ายๆกับระบบปฏิบัติการของ Windows โดยในปัจจุบัน อาจพบเห็นในโทรศัพท์มือถือประเภท Smart Phone บางรุ่นแล้ว - Symbian OS เป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาเพื่อรองรับกับเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้ สาย (wireless) โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับโทรศัพท์มือถือประเภท Smart phone นอกจากนั้นยังสนับสนุนการทางาน แบบหลายๆ งานในเวลาเดียวกันอีกด้วย (multi-tasking) ซึ่งทาให้โทรศัพท์มือถือมีความสามารถนอกเหนือจาก รับสายพูดคุยในแบบทั่วไปเพียงอย่างเดียว เช่น การบันทึกการนัดหมาย ท่องเว็บ รับและส่งอีเมล์ รวมถึงรับแฟกซ์ ได้ในเวลาเดียวกัน ผลิตโดยบริษัทซิมเบียน ซึ่งเป็นบริษัทที่ร่วมทุนระหว่างผู้ผลิตบริษัทมือถือรายใหญ่หลายค่าย นา โดย Nokia และ Sony ปัจจุบันได้มีบริษัทยักษ์ใหญ่ต่างๆ ได้นาเอา OS ชนิดนี้ไปใช้งานแล้วในโทรศัพท์มือถือของ ตน เช่น Sony Ericsson, Motorola, Nokia และ Samsung เป็นต้น
ภำพที่ 4-11 Pocket PC OS
ภำพที่ 4-12 Symbian OS
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 107
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
- แอนดรอยด์ (Android) คือระบบปฏิบัติการ (OS) หรือแพลตฟอร์มที่จะใช้ควบคุมการทางาน บนอุปกรณ์อีเล็คทรอนิกส์ต่างๆ โดยเริ่มใช้แพลตฟอร์มนี้บนโทรศัพท์มือถือ ที่จะออกในนาม Google เป็นอันดับ แรก โดย Android เป็นระบบปฏิบัติการแบบ Open Source คิอ สามารถนาไปพัฒนาโปรแกรมหรือต่อยอด แอพพลิเคชั่นได้อย่างอิสระ ไม่มีขีดจากัด ซึ่งโครงการที่เห็นเป็นรูปเป็นร่ างก็คือ การแข่งขัน Android Developer Challenge เปิดโอกาสให้นักพัฒนาโปรแกรมออกแบบแอพพลิเคชั่นบนโทรศัพท์มือถือ - IOS เป็นระบบปฏิบัติการสาหรับสมาร์ตโฟนของบริษัท แอปเปิล (Apple Inc.) เป็นระบบที่ได้ พัฒนาขึ้นสาหรับใช้ในโทรศัพท์ไอโฟน (iPhone) และต่อมาได้มีการพัฒนาต่อเพื่อใช้สาหรับไอพอตทัช (iPod touch) และไอแพด (iPad) ซึ่งระบบ IOS สามารถเชื่อมต่อไปยัง Apps Store สาหรับการเข้าถึงแอปพลิเคชั่นที่ สามารถใช้งานได้บนระบบปฎิบัติการ IOS หรือที่เรียกกันว่า IOS Application หรือ IOS Apps ซึ่งมีการแบ่งเป็น หมวดการใช้งานสาหรั บผู้ ใช้โทรศัพท์ไอโฟนสามารถทาการโหลด IOS App มาใช้งานได้ตามต้องการ และ นอกจากนี้ในปัจจุบันได้มีการพัฒนา IOS Apps สาหรับใช้งานและอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ระบบ IOS อีกมาก
ภำพที่ 4-13 Android OS
ภำพที่ 4-13 IOS
สาหรับการเลือกใช้ระบบปฏิบัติการกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น งานพิมพ์เอกสาร งานคานวณ งาน ออกแบบ หรืองานทางด้านบัญชี และมีจานวนผู้ใช้กี่คน จาเป็นต้องใช้ข้อมูลและโปรแกรมต่าง ๆ ร่วมกันหรือไม่ ผู้ใช้แต่ละคนอยู่ที่เดียวกันหรืออยู่คนละแห่ง ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะตัวประมวลผล ขนาด ความจุของหน่วยความจา โปรแกรมประยุกต์ที่มีใช้อยู่เดิมใช้กับระบบปฏิบัติการชนิดไหน ต้นทุนในการจัดหา เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 108
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติว่ามีมากน้อยเท่าไร และความสามารถในการให้บริการหลังการขายของผู้จัดจาหน่าย ซึ่งแต่ละปัจจัยก็ มีผลต่อการตัดสินใจจัดหาระบบปฏิบัติการเพื่อให้เหมาะสมกับองค์การและงบประมาณที่มี
โปรแกรมอรรถประโยชน์หรือโปรแกรมยูทิลติ ี้ (Utility Software) เป็น โปรแกรมหรื อซอฟต์แวร์ที่ช่วยสนับสนุน เพิ่มหรือขยายขีดความสามารถของโปรแกรมที่ใช้งานให้ มี ประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นโปรแกรมที่ให้บริการต่าง ๆ เช่น การจัดเรียงข้อมูลตามหลักใดหลักหนึ่ง (Sort) รวม แฟ้มข้อมูลที่เรียงลาดับแล้วเข้าด้วยกัน (Merge) หรือย้ายข้อมูลจากอุปกรณ์รับส่งอย่างหนึ่งไปยังอีกอุปกรณ์หนึ่ง รวมทั้ง โปรแกรมที่ใช้จัดการกับฮาร์ดแวร์โดยตรง โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ ยูทิลิตี้สำหรับระบบปฏิบัติกำร (OS Utility Program) เป็ นยูทิลิตี ้ที่มกั จะมักจะมีการติดตังมา ้
พร้ อมกับระบบปฏิบตั กิ ารอยูแ่ ล้ ว ซึง่ ช่วยอานวยความสะดวกสาหรับการทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เช่น - ประเภทการจัดการไฟล์ (File Manager) เป็นยูทิลิตี้ที่มีหน้าที่หลักในการจัดการเกี่ยวกับไฟล์ ต่างๆ เช่น สามารถคัดลอกแฟ้มข้อมูล เปลี่ยนชื่อแฟ้มข้อมูล ลบแฟ้มข้อมูล หรือเรียกใช้งานโปรแกรมต่างๆ ได้ อย่างสะดวก เป็นต้น ระบบปฏิบัติการ Windows รุ่นใหม่ๆยังได้เพิ่มคุณสมบัติที่เรียกว่า image viewer เพื่อนามา ปรับใช้กับไฟล์ที่เป็นรูปภพได้อีกด้วย
ภำพที่ 4-14 File Manager
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 109
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
- ประเภทการลบทิ้งโปรแกรม (Uninstaller) โปรแกรมอรรถประโยชน์ที่ใช้ในการยกเลิกโปรแกรม ที่ทาการติดตั้งไว้ในระบบ เมื่อผู้ใช้ทาการติดตั้งโปรแกรม ระบบปฏิบัติการจะทาการบันทึกโปรแกรมนั้นไว้ในระบบ ไฟล์ หากผู้ใช้ต้องการลบโปรแกรมนั้นออกจากเครื่องก็สามารถใช้ เครื่องมือยกเลิกการติดตั้งโปรแกรมได้ - ประเภทสแกนดิสก์ (Disk Scanner) เป็นเครื่องมือตรวจสอบดิสก์ เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ที่ ใช้ในการตรวจหาความเสียหายที่เกิดขึ้นกับฮาร์ดดิสก์ ผู้ใช้สามารถกาหนดให้เครื่องมือตรวจสอบดิสก์นี้ทาการซ่อม ส่วนที่เสียหายได้
ภำพที่ 4-15 Uninstaller
ภำพที่ 4-16 Disk Scanner
- ประเภทจัดเรียงพื้นที่เก็บข้อมูล (Disk Defragmenter) เป็นยูทิลิตี้ที่มีประโยชน์ในการใช้งาน อย่างมาก เพราะดิสก์ของคอมพิวเตอร์นั้นเมื่อมีการเรียกใช้งานอยู่บ่อยๆ จะทาให้เกิดการกระจัดกระจายของ ไฟล์ข้อมูลอย่างไม่เป็นระเบียบและไม่ได้อยู่เป็นกลุ่มก้อนเดียวกัน เมื่อต้ องการเรียกใช้อีกในภายหลังจะทาให้เวลา ในการดึงข้อมูลนั้นๆช้าลง โดยโปรแกรมประเภทนี้จะทาหน้าที่จัดเรียงไฟล์ต่างๆให้เป็นระเบียบมากขึ้น เพื่อช่วยใน การเข้าถึงข้อมูลให้ง่ายและเร็วกว่าเดิม - ประเภทรักษาหน้าจอ (Screen Saver) เนื่องจากเมื่อเราเปิดจอภาพของคอมพิว เตอร์ให้ทางาน และปล่อยทิ้งไว้ให้แสดงภาพเดิมโดยไม่มีการเคลื่อนไหวใดๆ เป็นเวลานาน จะเกิดรอยไหม้บนสารเรืองแสงที่ฉาบ ผิ ว จอและไม่ส ามารถลบหายออกไปได้ ซึ่ งเมื่อ เราปล่ อยทิ้ง ไว้ นานเข้า อาจส่ ง ผลให้ อ ายุ การใช้ง านของหน้ า จอคอมพิวเตอร์สั้นลงตามไปด้วย โปรแกรมประเภทนี้จะช่วยป้องกันปัญหาดังกล่าวได้เป็นอย่างดี โดยผู้ใช้งาน สามารถตั้งค่าระยะเวลาให้โปรแกรมตรวจเช็ค และเริ่มทางานได้หากไม่มีการเคลื่อนไหวใดๆของจอภาพ เช่น 5 นาที หรือ 10 นาที เป็นต้น เมื่อเราขยับเมาส์ หรือเริ่มที่จะทางานใหม่ โปรแกรมนี้ก็จะหายไป เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 110
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ภำพที่ 4-17 Disk Defragmenter
ภำพที่ 4-18 Screen Server
ยูทิลิตี้อื่นๆ (Stand-alone Utility Program)
- โปรแกรมป้องกันไวรัส (Anti Virus Program) การใช้งานคอมพิวเตอร์ร่วมกับบุคคลอื่นหลายๆ คน โดยเฉพาะเมื่อใช้กับระบบเครือข่าย สิ่งที่ตามมาก็คือ ไวรัสคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นชุดคาสั่งที่ผู้ไม่ประสงค์ดีเขียน ขึ้นมาเพื่อทาให้ประสิทธิภาพการทางานของคอมพิวเตอร์ลดลงหรื อไม่สามารถทางานต่างๆ ได้ จึงมีผู้พัฒนาเพื่อ แก้ปัญหาดังกล่าว อย่างไรก็ดี ไวรัส คอมพิวเตอร์นั้ นเกิดขึ้นใหม่อยู่ตลอดเวลา ผู้ใช้จึงต้องอัพเดทข้อมูลเพื่อให้ โปรแกรมสามารถทางานได้อย่างสมบูรณ์ตลอดเวลานั่นเอง
ภำพที่ 4-19 Anti Virus Program - โปรแกรมไฟร์วอลล์ (Firewall) เป็นโปรแกรมที่จะช่วยป้องกัน บุคคลภายนอก บุกรุกเข้ามาใน ระบบของเรา ทั้งจากอินเตอร์เน็ต หรือจาก network อื่นๆ ด้วยการ เฝ้าดู ข้อมูลที่ไม่ได้รับอนุญาต ทั้งข้อมูลที่จะ เข้ามาและข้อมูลที่อาจจะออกไปจากระบบของเรา ซึ่งข้อมูลที่ไม่ได้รับอนุญาตนี้เองที่อาจจะเป็นข้อมูลที่ผู้ไม่หวั งดี เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 111
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
เจาะเข้าระบบของเราได้ โดยบางครั้งจะเรียกว่า personal firewall เนื่องจากใช้เฉพาะส่วนตัวบนเครื่องเดียว เช่น โปรแกรม Norton Internet Security ซึ่งเป็นชุดซอฟต์แวร์ เพื่อความปลอดภัย ที่รวมโปรแกรม firewall, cookie blocking, virus scanning และ Web control ไว้ด้วยกัน แต่ถ้าหากต้องการเพียงซอฟต์แวร์ firewall อย่างเดียว สามารถใช้ Black Ice Defender, MacAfee Personal Firewall หรือ ถ้าชอบของฟรีสามารถดาวน์ โหลดโปรแกรม Zone Alarm ซึ่งสามารถช่วยป้องกันให้ปลอดภัยจากผู้ประสงค์ไม่ประสงค์ดีได้เป็นอย่างดี - โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (File Compression Utility) เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่บีบอัดไฟล์ให้มี ขนาดเล็กลง โดยไฟล์ที่ได้จากการบีบอัดไฟล์นี้ บางครั้งนิยมเรียกว่า ซิปไฟล์ (zip file) ยูทิลิตี้ที่นิยมใช้และรู้จักกัน เป็นอย่างดีเช่น Winzip, Winrar เป็นต้น แม้ในตัว Windows XP เองก็มีความสามารถในการบีบอัดไฟล์ ระดับ หนึ่งอยู่แล้ว เรียกว่าเป็น Compressed Folder
ภำพที่ 4-20 Firewall
ภำพที่ 4-21 File Compression Utility
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) การทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ในงานเฉพาะด้านซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับการควบคุมระบบ ผู้ใช้จาเป็นต้องเลือกหา ซอฟต์แวร์ให้ตรงตามความต้องการนั้นๆโดยเฉพาะ เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนาเสนองาน การจัดทาบัญชี การ ตกแต่งภาพหรือการออกแบบเว็บไซท์ นอกจากนั้นอาจต้องคานึงถึงงบประมาณในการจัดหามาใช้ด้วยว่ามีเพียงพอ หรือไม่เพียงใด โดยทั่วไปสามารถแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ตามเกณฑ์ที่ใช้แบ่งได้ดังนี้ แบ่งตำมลักษณะกำรผลิต ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้ 1) ซอฟต์แวร์ที่พัฒนำขึ้นใช้เองโดยเฉพำะ (Proprietary Software) พัฒนาขึ้นมาเหตุผลหลักคือ หน่วยงานหรือองค์กรไม่สามารถจัดหาซอฟต์แวร์ที่นามาใช้ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพดีเพียงพอกับความ ต้องการ จึงทาให้มีการสร้างซอฟต์แวร์ขึ้นมาใหม่เพื่อใช้กันในหน่วยงานโดยเฉพาะ วิธีการพัฒนาอาจทาได้ 2 วิธีคือ
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 112
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
- In-house developed สร้างและพัฒนาโดยหน่วยงานของบริษัทเองโดยทีมงานที่มีทักษะและ ความเชี่ย วชาญด้านการออกแบบและเขียนโปรแกรมโดยเฉพาะวิธีนี้นอกจากจะได้ซอฟต์แวร์ที่ตรงกับความ ต้องการแล้ว ข้อดีอีกประการหนึ่งคือ แก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ง่าย อีกทั้งสามารถควบคุมการผลิตได้ตลอดระยะเวลา การพัฒนานั้น - Contract หรือ outsource เป็นการจ้างบุคคลภายนอกให้ทาขึ้นมา โดยอาจเป็นบริษัทที่มี ความเชี่ยวชาญในการเขียนโปรแกรมหรือที่เรียกว่า software house ซึ่งสามารถขอดูผลงานที่ผ่านมาของผู้ผลิต ได้ อย่างไรก็ตาม บางครั้งอาจทาสัญญาจ้างผลิตและตกลงเรื่องาคากันตั้งแต่ต้ น พร้อมทั้งระบุระยะเวลาที่กาหนด แล้วเสร็จให้ชัดเจน เพื่อป้องกันปัญหาในภายหลังได้ 2) ซอฟต์แวร์ที่หำซื้อได้โดยทั่วไป (Off-the-shelf Software หรือ Packaged Software) งาน บางอย่ างที่พบเห็ น ทั่ว ไป เช่น การจัดพิมพ์รายงานการจัดทาฐานข้อมูล การนาเสนองาน เราอาจจะเลื อกหา ซอฟต์แวร์เพื่อมาช่วยเหลือการทางานดังกล่าวได้โดยง่าย ซึ่งมีการวางขายตามท้องตลาดทั่วไป (Off-the-shelf) การวางขายจะมี ก ารบรรจุ หี บ ห่ อ อย่ างดี แ ละสามารถน าไปติด ตั้ ง และใช้ งานได้ เ ลย บางครั้ ง จึ งนิ ย มเรี ย กว่ า โปรแกรมสาเร็จรูป (Packaged Software) นั่นเอง ทั้งนี้อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ โปรแกรมเฉพาะและ โปรแกรมมาตรฐาน - โปรแกรมเฉพาะ (customized Package) เป็นโปรแกรมที่อาจต้องขอให้ผู้ผลิตทาการเพิ่มเติม คุณสมบัติบางอย่างลงไป เพราะโปรแกรมที่วางขายอยู่นั้นยังมีข้อจากัดบางประการที่ไม่สามารถตอบสนองการ ทางานขององค์กรได้ หากมีการปรับเปลี่ยนแก้ไขเพียงเล็กน้อยก็จะทาให้ใช้งานได้ดีและเหมาะสมกับองค์กรมากขึ้น หรือบางโปรแกรมก็ทามาให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขปรับเปลี่ยนได้ในระดับหนึ่ง - โปรแกรมมาตรฐาน (standard package) เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อสามารถใช้กับงาน ทั่ว ๆ ไป ส่วนใหญ่ แล้วจะมีคุณสมบัติที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องไปปรับปรุงหรือแก้ไขส่วนของ โปรแกรมใด ๆ เพิ่มเติม เพียงแต่ศึกษาคู่มือหรือวิธีการใช้งานจากรายละเอียดที่แนบมาพร้อมกับการซื้อโปรแกรม นั้นก็สามารถใช้งานได้เลยทันที โปรแกรมที่ได้รับความนิยมอย่างมากในกลุ่ม นี้ เช่น กลุ่มของโปรแกรมสาเร็จรูป ทางด้าน Microsoft Office เป็นต้น
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 113
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ตำรำงที่ 4-1 เปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของซอฟต์แวร์ที่พัฒนาเองและซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป ซอฟต์แวร์ที่พัฒนำเอง ข้อดี
ข้อเสีย
ซอฟต์แวร์ที่หำซื้อได้โดยทั่วไป ข้อดี
ข้อเสีย
สามารถเพิ่มเงื่อนไขและ ต้องใช้ระยะเวลาในการ ความต้องการต่าง ๆ ได้ไม่ ออกแบบและพัฒนานาน จากัด มาก เพื่อที่จะให้ได้ คุณสมบัติตรงตามที่ ต้องการจริง ๆ
ค่าใช้จ่ายค่อนข้างถูก เนื่องจากบริษัทผู้ผลิต ซอฟต์แวร์เหล่านี้นา ออกมาจาหน่ายให้กับ ผู้ใช้งานเป็นจานวนมาก
คุณสมบัติบางอย่างอาจจะใช้ ไม่ได้เลย ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่ เกินความจาเป็นและไม่มี ความต้องการใช้งานใด ๆ
สามารถที่จะควบคุมและ พัฒนาให้เป็นไปตามที่ ต้องการได้ตลอดระยะ เวลาการพัฒนานั้น
ทีมงานที่พัฒนาอาจจะถูก กดดันอย่างมากเพราะ จะถูกคาดหวังว่าต้องได้ คุณสมบัติตามความ ต้องการทุกประการและยัง ต้องเสียเวลาดูแลและ บารุงรักษาระบบนั้น ๆ ตามมาอีกด้วย
เกิดความเสี่ยงในการใช้ งานต่า และสามารถศึกษา คุณสมบัติและ ประสิทธิภาพของ โปรแกรมได้โดยตรงจาก คู่มือที่มีให้
โปรแกรมจะขาดคุณสมบัติ บางอย่าง หากต้องการ เปลี่ยนแปลงอาจต้องจ่ายเงิน ในราคาที่แพงขึ้น แต่ในบาง โปรแกรมก็ไม่สามารถ เปลี่ยนแปลงได้
มีความยืดหยุ่นในการ ทางานได้ดีกว่า หากเกิด การเปลี่ยนแปลงในการใช้ งาน เช่น ข้อมูลผู้ขาย ลูกค้าหรือการปรับเปลี่ยน กลยุทธ์ธุรกิจใหม่ ๆ ซึ่งจะ แก้ไขและเปลี่ยนแปลงได้ ง่ายกว่า
มีความเสี่ยงของระบบต่อ ความผิดพลาดสูงเนื่องจาก ในระหว่างการพัฒนา ระบบหากไม่ได้นาไป ทดสอบอย่างจริงจัง อาจจะทาให้คุณสมบัติ บางอย่างของโปรแกรม และประสิทธิ ภาพ โดยรวมไม่ดีพอ จึง ทาให้เกิดปัญหาขึ้นมาได้
โปรแกรมที่ได้มีคุณภาพ ดีกว่า เนื่องจากผู้ใช้จานวน มากได้ทาการทดสอบและ แจ้งแก้ไขปัญหาของการใช้ งานกับผู้ผลิตโปรแกรมมา เป็นอย่างดีแล้ว
ไม่มีความยืดหยุ่นและอาจไม่ เหมาะสมกับงานในปัจจุบันที่ จาเป็นต้องปรับเปลี่ยนหรือ แก้ไขระบบอยู่บ่อย ๆ
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 114
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
แบ่งตำมกลุ่มกำรใช้งำน จากที่กล่าวมาข้างต้นเป็นการแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกมาตามลักษณะ
ของการผลิต อีกทางหนึ่งเราอาจแบ่งตามลักษณะของการนาไปใช้งานได้อย่างหลากหลาย ซึ่งอาจยกตัวอย่างของ โปรแกรมประกอบและแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้ 1) กลุ่มกำรใช้งำนด้ ำนธุร กิจ (business)ซอฟต์ แวร์กลุ่ มนี้จะเน้นในการใช้งานทางด้านธุรกิจ โดยเฉพาะ โดยมุ่งหวังให้การทางานมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้นกว่าการใช้แรงงานคน เช่น ใช้สาหรับการจัดพิมพ์เอกสาร นาเสนองาน รวมถึงการบันทึกนัดหมายต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันมีบริษัทซอฟต์แวร์ในกลุ่มนี้เป็นจานวนมาก โปรแกรมที่ ใช้กันในปัจจุบันอาจแบ่งเป็นกลุ่มย่อยตามลักษณะการใช้งานได้อีกดังตัวอย่างในตารางต่อไปนี้ - ซอฟต์แวร์ประมวลผลคา (Word processing) เป็นกลุ่มของโปรแกรมที่ช่วยในการประมวลผล คานั่น เอง ซึ่งคุณสมบั ติหลั ก ๆ ก็คือ สามารถจัดการเอกสารต่าง ๆ ได้ เช่น ขนาดตัวอักษรใหญ่ เล็ก รู ปแบบ ตัวอักษร เป็นต้น ปัจจุบันได้พัฒนาให้มีขีดความสามารถโดยการนาเอารูปภาพมาผนวกเข้ากับเอกสารได้ด้ว ย บางครั้งอาจจะเป็นรูปภาพที่มีอยู่แล้วที่เรียกว่า คลิปอาร์ต หรือภาพถ่ายอื่น ๆ ก็ได้ - ซอฟต์แวร์ตารางคานวณ (Spreadsheet) เป็นกลุ่มของซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับการคานวณ ต่าง ๆ โดยส่วนมากแล้วจะมีก ารทางานที่เรียกว่า ตารางคานวณ (spreadsheet) มักนาไปใช้งานด้านบัญชีและ รายการคานวณอื่น ๆ มีหน่วยเล็กที่สุดที่เรียกว่า เซล ซึ่งเป็นส่วนของบริเวณที่ทางานนั่นเอง
ภำพที่ 4-22 ซอฟต์แวร์ประมวลผลคา
ภำพที่ 4-23 ซอฟต์แวร์ตารางคานวณ
- ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูล (Database) การประมวลผลที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลจานวนมาก และ จ าเป็ น ต้ อ งใช้ ซ อฟต์ แ วร์ ที่ มี ค วามสามารถในการสร้ า งและรวบรวมข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ เช่ น การเพิ่ ม ข้ อ มู ล การ เปลี่ยนแปลงข้อมูล การลบข้อมูล หรือการจัดเรียงข้อมูลให้เป็นไปได้โดยง่าย - ซอฟต์แวร์นาเสนองาน (Presentation) เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในเรื่องของการนาเสนองานเป็น หลัก ซึ่งอาจจะใส่ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร รูปภาพ ตลอดจนภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ หรือเสียงต่าง ๆ รวมถึงเทคนิคการ นาเสนอให้มีความสวยงามน่าสนใจ เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 115
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
ภำพที่ 4-24 ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูล
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ภำพที่ 4-25 ซอฟต์แวร์นาเสนองาน
- ซอฟต์แวร์สาหรับพีดีเอ (PDA Software) ในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา จะต้อง มีซอฟต์แวร์ที่มีการใช้งานโดยเฉพาะ เช่น การสร้างเอกสาร การใช้สมุดย่อ การดูภาพ ซึ่งในพีดีเอส่วนใหญ่มักจะมี ซอฟต์แวร์ที่เรียกว่า PIM (Personal Information Manager ) รวมอยู่ไว้ด้วยเสมอ ซอฟต์แวร์กลุ่มดังกล่าวเป็น กลุ่มที่ทางานงานพื้นฐานทั่วไป เช่น ปฏิทิน สมุดรายชื่อ ซึ่งผู้ใช้สามารถที่ใช้ใช้ทางานร่วมกันกับเครื่องพีซีได้โดย การโอนถ่ายข้อมูล (synchronization ) ต่าง ๆ ได้ด้วย นอกจากนี้อาจพบเห็นโปรแกรมประเภทนี้ที่ใช้สาหรับการ จัดการสานักงานคล้าย ๆ กับที่เคยพบเห็นการทางานบนเครื่องพีซีได้ด้วย
ภำพที่ 4-26 ซอฟต์แวร์สาหรับพีดีเอ
ภำพที่ 4-27 ซอฟต์แวร์แบบกลุ่ม
- ซอฟต์แวร์แบบกลุ่ม (Software Suite) เป็นซอฟต์แวร์ที่นาเอาคุณสมบัติต่าง ๆ ของโปรแกรม แต่ละตัวมาอยู่ในกลุ่มเดียวกันแล้วทาการจาหน่ายรวมทีเดียว ซอฟต์แวร์ที่เรารู้จักกันดี เช่น Microsoft Office ซึ่ง เป็นการนาเอาโปรแกรมด้านการจัดการสานักงานของบริษัทไมโครซอฟต์ ซึ่งมีทั้งโปรแกรมประมวลผลคา การ นาเสนองาน ตารางคานวณ และอื่น ๆ มาจาหน่ายรวมไว้ด้วยกัน บริษัท Adobe ซึ่งเป็นผู้ผลิตซอฟต์แวร์ด้าน กราฟิกที่มีชื่อเสียงก็มีชุดโปรแกรมรวมกันที่เรียกว่า Adobe CS (CS ย่อมาจาก Creative Suite) ออกวางขายด้วย เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 116
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ซึ่งมีทั้งโปรแกรมตกแต่งรูป วาดภาพ ออกแบบเว็บ รวมถึงงานออกแบบกราฟิกต่าง ๆ รวมอยู่ในนั้น หรือแม้กระทั่ง โปรแกรมสาหรับการสร้างเว็บไซต์ของบริษัท Macromedia ก็มีชุดที่เรียกว่า Macromedia Studio ที่มีทั้ง โปรแกรมออกแบบเว็บ สร้างแอนนิเมชั่นรวมถึงโปรแกรมกราฟิกอื่นที่ใช้บนเว็บออกมารวมจาหน่ายเป็นชุดเดียวกัน เป็นต้น ข้อดีของการจัดทาซอฟต์แวร์แบบนี้ก็คือ ทาให้การใช้งานมีความง่ายและคล่องตัวมากขึ้น อีกทั้งยังทาให้มี ราคาถูกลงกว่าการเลือกซื้อซอฟต์แวร์แต่ละตัวมาใช้เอง (เหมือนกับการซื้อเหมายิ่งซื้อมากเท่าไหร่ก็ได้ราคาของต่อ ชิ้นที่ถูกลง) - ซอฟต์แวร์สาหรับจัดโครงการ (Project management) ใช้ในการวิเคราะห์และวางแผน โครงการเป็นหลัก ซึ่งตัวโปรแกรมสามารถช่วยให้ผู้ใช้งานมีการวางแผนงานที่ง่ายขึ้น รวมถึงความสามารถในการ จัดการกิจกรรมงาน (schedule) ติดตามงาน วิเคราะห์ต้นทุนและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ของโครงการได้ง่ายขึ้น - ซอฟต์แวร์สาหรับงานบัญชี (Accounting) หัวใจของการทางานทางด้านธุรกิจที่ขาดไม่ได้ก็คือ ส่วนงานบัญชีนั่นเอง โปรแกรมส่วนนี้จะช่วยให้บริษัทหรือหน่วยงานสามารถที่จะบันทึกข้อมูลและแสดงรายงาน ทางการเงินต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เช่น การออกงบกาไรขาดทุน งบดุล รวมถึงรายการการซื้อ ขาย เป็นต้น
ภำพที่ 4-28 ซอฟต์แวร์สาหรับจัดโครงการ
ภำพที่ 4-29 ซอฟต์แวร์สาหรับงานบัญชี
2) กลุ่มกำรใช้งำนด้ำนกรำฟิกและมัลติมีเดีย (graphic and multimedia) เป็นกลุ่มซอฟต์แวร์ ประยุ ก ต์ ที่ พั ฒ นาขึ้ น เพื่ อ ช่ ว ยส าหรั บ การจั ด การงานทางด้ า นกราฟิ ก และมั ล ติ มี เ ดี ย ให้ เ ป็ น ไปได้ โ ดยง่ า ย มี ความสามารถเสมือนเป็นผู้ช่วยในการออกแบบด้านต่าง ๆ นั่นเอง เช่น ตกแต่งภาพ วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหว รวมถึงการสร้างและออกแบบพัฒนาเว็บไซต์ ซึ่งอาจแบ่งกลุ่มย่อยลงไปได้อีกดังตารางต่อไปนี้ - ซอฟต์แวร์สาหรับงานออกแบบ (CAD – Computer-aided design) ในวงการออกแบบนั้น จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องหาซอฟต์แวร์ที่ช่วยสาหรับการออกแบบแผนผัง การออกแบบและตกแต่งบ้าน รวมถึงการจัด วัดองค์ประกอบอื่น ๆ ที่จาเป็น ความสามารถของซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ส่วนใหญ่จึงเป็นเสมือนผู้ช่วยในการออกแบบ งานด้านวิศวกรรม สถาปัตยกรรม รวมถึงงานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอื่น ๆ ด้วย เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 117
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ภำพที่ 4-30 ซอฟต์แวร์สาหรับงานออกแบบ - ซอฟต์แวร์สาหรับสิ่งพิมพ์ (Desktop publishing) เป็นกลุ่มของซอฟต์แวร์ที่ใช้สาหรับการ จัดการสิ่งพิมพ์เป็นหลัก โดยเฉพาะการออกแบบงานประเภทหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ โบว์ชัวร์ แผ่นพับหรือ แม้กระทั้งโลโก้ ซึ่งจะช่วยทาให้จัดรูปเล่มหรือลักษณะของงานเอกสารสิ่งพิมพ์ดังกล่าวมีรูปแบบที่หลากหลายและ สวยงามมากยิ่งขึ้น ส่วนใหญ่มักใช้กับหน่วยงานหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องกับสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น สานักพิมพ์ โรงพิมพ์ หรือ บริษัทออกแบบกราฟิก เป็นต้น
ภำพที่ 4-31 ซอฟต์แวร์สาหรับสิ่งพิมพ์ เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 118
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
- ซอฟต์แวร์สาหรับตกแต่งภาพ (Paint/image editing) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สาหรับการสร้าง และจัดการรู ปภาพต่าง ๆ เช่น การจั ดองค์ประกอบ สี แสงของภาพ รวมถึงการวาดภาพลายเส้นต่าง ๆ ให้ มี ลักษณะของภาพตามต้องการ เหมาะอย่างยิ่งสาหรับนักออกแบบกราฟิกต่าง ๆ ในการนาไปประยุกต์ใช้งาน เช่น งานออกแบบพาณิชย์ศิลป์ งานออกแบบและตกแต่งสินค้า เป็นต้น
ภำพที่ 4-32 ซอฟต์แวร์สาหรับตกแต่งภาพ
ภำพที่ 4-33 ซอฟต์แวร์สาหรับการตัดต่อวิดีโอและเสียง เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 119
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
- ซอฟต์แวร์สาหรับการตัดต่อวิดีโอและเสียง (Video and audio editing) เป็นซอฟต์แวร์ที่มี คุณสมบัติหลักๆ คือ การจัดการเสียงและรูปแบบไฟล์ที่เป็นภาพเคลื่อนไหว เช่น การตัดต่อวิดีโอ การผสมเสียง การสร้างเอฟเฟ็คต์สาหรับภาพเคลื่อนไหว เหมาะสาหรับใช้กับงานวงการตัดต่อภาพยนตร์ โทรทัศน์และสตูดิโอ บันทึกเสียงต่างๆ - ซอฟต์แวร์สาหรับสร้างสื่อมัลติมีเดีย (Multimedia Authoring) เป็นซอฟต์แวร์ที่ผนวกเอาสื่อ หลาย ๆ ชนิด (multimedia) เช่น ข้อความ เสียง รูปภาพ รวมถึงเทคนิคการเคลื่อนไหวต่าง ๆ มาประกอบกัน เพื่อให้การนาเสนอมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น รวมถึงความสามารถในการสร้างชิ้นงานประเภทสื่อปฏิสัมพันธ์กับ ผู้ใช้ (interactive ) ซึ่งทาให้ผลงานที่ผลิตได้มีความน่าสนใจและใช้งานง่ายมากยิ่งขึ้น เหมาะสาหรับการนาไป ประยุกต์ใช้กับสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การนาเสนองานขั้นสูง รวมถึงการจัดทา CD-Training ต่าง ๆ ด้วย
ภำพที่ 4-34 ซอฟต์แวร์สาหรับสร้างสื่อมัลติมีเดีย - ซอฟต์แวร์สาหรับสร้างเว็บ (Web page authoring) ในปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ที่ช่วยในเรื่อง การจัดการและออกแบบเว็บไซต์ต่าง ๆ เกิดขึ้นเพื่อรองรับกับผู้ใช้งานในหลาย ๆ ระดับด้วยกัน ตั้งแต่ผู้ใช้งานระดับ เริ่มต้นจนถึงระดับสูง โปรแกรมเหล่านี้มีการใช้งานได้ง่ายและสะดวกมากยิ่งขึ้น รวมทั้งมีคุณสมบัติต่าง ๆ เกี่ยวกับ การจัดเอกสารเว็บเพจประเภทเสียง ข้อความ รู ปภาพเคลื่อนไหว หรือสื่อออนไลน์ต่าง ๆ เพื่อนาเสนอบนเว็บไซต์ เป็นอย่างดี เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 120
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ภำพที่ 4-35 ซอฟต์แวร์สาหรับสร้างเว็บ 3) กลุ่มสำหรับกำรใช้งำนบนเว็บและกำรติดต่อสื่อสำร (web and communications) การ เติบโตของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทาให้มีผู้พัฒนาโปรแกรมเพื่อใช้งานเฉพาะอย่างเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมสาหรับ การตรวจเช็คอีเมล์ การท่องเว็บไซต์ การจัดการและดูแลเว็บรวมถึงการส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุม ทางไกลผ่านเครือข่าย เป็นต้น ตัวอย่างของโปรแกรมสามารถดูได้จากตารางต่อไปนี้ - ซอฟต์แวร์สาหรับจัดการอีเมล์ (Electronic mail Software) เป็นกลุ่มของซอฟต์แวร์ที่ใช้ สาหรับการส่งต่อข้อความจดหมายสาหรับผู้ใช้งาน โดยจะมีรูปแบบของการจัดการอีเมลล์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการ เช็คและตรวจรับจดหมายเข้า การสาเนาจดหมาย การแทรกรูปภาพสาหรับส่งแนบไปกับจดหมาย
ภำพที่ 4-36 ซอฟต์แวร์สาหรับจัดการอีเมล์
ภำพที่ 4-37 ซอฟต์แวร์สาหรับท่องเว็บ
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 121
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
- ซอฟต์แวร์สาหรับท่องเว็บ (Web browser) มักเรียกย่อว่า บราวเซอร์ (browser) ซึ่งเป็น ตัวโปรแกรมหลักสาหรับการเรียกดูข้อมูลบนเว็บไซต์ที่เผยแพร่อยู่ในอินเทอร์เน็ตนั่นเอง ปัจจุบันมีบริษัทผู้ผลิต ขึ้ น มารองรั บ การใช้ ง านมากมายหลายยี่ ห้ อ ซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ ต่ า ง ๆ ส าหรั บ การเรี ย กดู เ ว็ บ เพจได้ ดี ขึ้ น เช่ น ความสามารถในการแสดงผลหลาย ๆ ภาษา การเปิดดูเว็บเพจแบบออฟไลน์ การทางานร่วมกับโปรแกรมเสริมหรือ plug – in เป็นต้น - ซอฟต์แวร์สาหรับจัดประชุมทางไกล (Video Conference) เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมา เพื่อใช้สาหรับการประชุมแบบทางไกลโดยเฉพาะ ซึ่งสามารถให้ข้อมูลที่เป็นทั้งภาพเคลื่อนไหวและเสียงที่ใช้ในการ ประชุมและถ่ายทอดออกไปในระยะไกลได้โ ดยไม่ต้องคานึงถึงสถานที่ที่อยู่ห่างไกลกันอีกต่อไป เหมาะสาหรับ หน่วยงานหรือองค์กรขนาดใหญ่ที่มีหลายสาขาและไม่สามารถจัดสรรเวลาและสถานที่ตรงกันเพื่อประชุมพบหน้า กันได้ นอกจากนั้นสามารถนาเอาไปประยุกต์ใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างเพื่อนหรือคนรู้จักที่อยู่ต่างถิ่นได้อีกด้วย - ซอฟต์แวร์สาหรับถ่ายโอนไฟล์ (File Transfer) เป็นกลุ่มของโปรแกรมที่นามาใช้ในการถ่าย โอนไฟล์ข้อมูล (file transfer) บนอินเทอร์เน็ต ซึ่งเหมาะสาหรับนักพัฒนาเว็บไซต์และผู้ดูแลเว็บไซต์ที่จาเป็นต้องมี การส่งข้อมูลขึ้นไปเก็บไว้บนอินเทอร์เน็ตเพื่อให้บริการกับผู้เข้าชมเว็บนั่นเอง
ภำพที่ 4-38 ซอฟต์แวร์สาหรับจัดประชุมทางไกล
ภำพที่ 4-39 ซอฟต์แวร์สาหรับถ่ายโอนไฟล์
- ซอฟต์แวร์ประเภทส่งข้อความด่วน (Instant Messaging) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ส่งข้อความด่วน ระหว่างกัน ซึ่งผู้รับและผู้ส่งสามารถที่จะเปิดการเชื่อมต่อโปรแกรมและส่งข้อความติดต่อกันได้โดยทันทีผ่านเบอร์ อีเมล์หรือหมายเลขที่ระบุ (เหมือนกับการพูดคุย โทรศัพท์ที่มีเบอร์หรือหมายเลขก็สามารถพูดคุยกันได้) การพูดคุย ผ่านทางข้อความ นี้จะเป็นแบบส่วนตัวมากขึ้น บางโปรแกรมอาจมีการพัฒนา ให้มีขีดความสามารถใน การสนทนา แบบกลุ่ม รับส่งไฟล์ หรือสนทนาด้วยวิดีโอและเสียงได้ด้วย โปรแกรมที่ได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน เช่น ICQ, MSN Messenger, Yahoo! Messenger, Line เป็นต้น เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 122
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
- ซอฟต์แวร์สาหรับสนทนาบนอินเทอร์เน็ต (Internet Relay Chat) เป็นโปรแกรมสาหรับการ สนทนาเฉพาะกลุ่มที่มักนิยมเรียกสั้น ๆ ว่าโปรแกรม แชท (Chat ) ซึ่กงารติดต่อสื่อสารสามารถทาได้โดยการพิมพ์ ข้อความโต้ตอบกันไปมา ผู้สนทนาสามารถตั้งห้องสนทนาของตนเองเพื่อให้คนอื่นเข้ามาร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยนได้ เรียกว่า แชทรูม (Chat room ) บางโปรแกรมสามารถที่จะพูดคุยหรือโต้ตอบกันโดยใช้เสียงได้ด้วย แต่อาจจะไม่ ชัดเจนเท่ากับการพูดคุยผ่านโทรศัพท์
ภำพที่ 4-40 ซอฟต์แวร์ประเภทส่งข้อความด่วน ภำพที่ 4-41 ซอฟต์แวร์สาหรับสนทนาบนอินเทอร์เน็ต
กำรจัดหำซอฟต์แวร์มำใช้งำน โดยปกติแล้ วเราสามารถหาซอฟต์แวร์ มาใช้ งานได้ หลายวิธี ซึง่ อาจจะอยูใ่ นรูปแบบของการสัง่ ซื ้อโดยตรง กับบริ ษัทผู้ผลิตหรื อใช้ ตวั อย่างทดลองจากการดาวน์โหลดบนอินเทอร์ เน็ตได้ จึงพอสรุปวิธีการเลือกซอฟต์แวร์ มาใช้ งานดังนี ้ 1. แบบสำเร็จรูป (Packaged หรือ Ready-made Software) วิธีการนี้ผู้ใช้งานสามารถที่จะเข้าไป เดินหาซื้อได้กับตัวแทนจาหน่ายซอฟต์แวร์ที่ได้รับการแต่งตั้งจากบริษัทผู้ผลิตได้โดยตรง ซึ่งมักจะมีการเตรียมบรรจุ ภัณฑ์และเอกสารคู่มือการใช้งานไว้อยู่แล้ว ผู้ใช้สามารถที่จะหยิบเลือกซื้อได้เมื่อพอใจในตัวสินค้าซอฟต์แว ร์นั้นๆ และนาไปติดตั้งเพื่อใช้งานได้โดยทันที กรณีที่ไม่สามารถเลือกซื้อผ่านร้านตัวแทนจาหน่ายได้ อาจเข้าไปในเว็บไซท์ ของบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์นั้นๆ แล้วกรอกข้อมูลรายการชาระเงินผ่านแบบฟอร์มบนเว็บ เมื่อรายละเอียดเกี่ยวกับ การจ่ายชาระเงินของผู้ซื้อได้รับอนุมัติสามารถนาเอาซอฟต์แวร์ดังกล่าวมาใช้ได้ทันที
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 123
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
2. แบบว่ำจ้ำงทำ (Customized หรือ Tailor-made Software) กรณีที่บางองค์กรมีลักษณะงานที่ เป็นเฉพาะของตนเองและไม่สามารถนาโปรแกรมสาเร็จรูปมาประยุกต์ใช้ได้ สามารถที่จะผลิตขึ้นมาเองหรือว่าจ้าง ให้บุคคลภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญโดยเฉพาะทาการผลิตซอฟต์แวร์ออกมาให้ตรงตามคุณสมบัติที่ต้องการ ซึ่ง วิธีการนี้อาจมีค่าใช้จ่ายในการว่าจ้างให้เขียนซอฟต์แวร์ที่มีต้นทุนแพงกว่าแบบสาเร็จรูปอยู่พอสมควร 3. แบบทดลองใช้ (Shareware) ในการใช้งานโปรแกรม ผู้ใช้งานอาจมีความต้องการมีความต้องการ เพียงแค่อยากทดสอบการใช้งานของโปรแกรมนั้นๆ ก่อนว่าดีหรือไม่ และจะเหมาะสมกับงานที่ทาอยู่อย่างไรบ้าง บริษัทผู้ผลิตจึงมักจะมีโปรแกรมเพื่อให้ลูกค้าทดลองใช้งานก่อนได้ แต่อาจจะมีการการกาหนดระยะเวลาทดลองใช้ งานหรือเงื่อนไขอื่นๆ เพิ่มเติมด้วย เช่น ใช้ได้ภายใน 30 วัน หรือปรับลดคุณสมบัติบางอย่างลงไป วิธีการนี้ทาให้ ผู้ ใช้ส ามารถที่จ ะทดลองใช้ ก่อนตัดสิ น ใจซื้อ ได้ ซอฟต์ แวร์ป ระเภทนี้ส่ ว นใหญ่แล้ ว มักจะมีให้ ดาวน์โ หลดจาก อินเทอร์เน็ตโดยทั่วไป ซึ่งจะหาได้ตามเว็บไซท์ของผู้ผลิตโดยตรงหรือเว็บไซท์ที่ให้บริการดาวน์โหลดซอฟต์แวร์ โดยเฉพาะ 4. แบบใช้งำนฟรี (Freeware) ปัจจุบันเราสามารถเลือกหาโปรแกรมที่แจกให้ใช้กันฟรีๆ เพื่อตอบสนอง กับการทางานที่หลากหลายมาได้โดยง่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับแหล่งบริการดาวน์โหลดบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งมักเป็น โปรแกรมขนาดเล็กและใช้เวลาเพียงไม่กี่นาที ซึ่งผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องจ่ายเงินให้กั บผู้ผลิตแต่อย่างใด แต่เนื่องจากเป็น ของที่ให้ใช้กันฟรีๆ จึงอาจจะไม่มีคู่มือหรือเอกสารแระกอบอย่างละเอียดเหมือนกับที่ต้องเสียเงินซื้อ เนื่องจาก เป้าหมายของผู้ผลิตคือต้องการพัฒนาโปรแกรมเพื่อเผยแต่ผลงานของตนเองให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้นและทดสอบ ระบบที่พัฒ นาเพี ย งเท่ านั้ น อย่ า งไรก็ตามถึงแม้ว่าจะแจกให้ ใ ช้ฟรี ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ลิ ขสิ ทธิ์ก็ ยังเป็ นของ บริษัทผู้ผลิตอยู่ ไม่สามารถนาไปพัฒนาต่อหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงภายใต้เงื่อนไขที่กาหนดได้ 5. แบบโอเพ่นซอร์ส (Public-Domain/Open Source) ในบางองค์กรที่มีกลุ่มบุคคลผู้มีความรู้และ ความเชี่ยวชาญทางด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์พอสมควร หากต้องการใช้ซอฟต์แวร์แต่ไม่ต้องการเสียเวลาในการ พัฒนาที่ยาวนานจนเกินไป อาจจะเลือกใช้กลุ่มของซอฟต์แวร์ที่มีการเปิดให้แก้ไขปรับปรุงตัวโปรแกรมต่างๆ ได้เอง อีก ทั้ง ยั งไม่ถื อ ว่า เป็ น การละเมิ ด ลิ ข สิ ท ธิ์ ใดๆ ด้ ว ย ซึ่ง บางครั้ งเรี ยกซอฟต์แ วร์ก ลุ่ ม นี้ ว่า โอเพ่ นซอร์ส (Open Source) ซึ่งผู้ใช้งานสามารถที่จะนาเอาโค้ดต่างๆ ไปพัฒนาและประยุกต์ใช้ได้ตามความต้องการได้ภายใต้เงื่อนไขที่ กาหนดหรือระบุไว้ของผู้ผลิตดั้งเดิม
ข้อปฏิบัติหลังกำรเลือกซื้อซอฟต์แวร์ ตรวจสอบราคาและค่าบริการต่าง ๆ โดยดูในรายการของ ใบส่งของ และใบเสร็จรับเงิน อย่างถูกต้อง ทางร้านควรแยกรายละเอียดลงใน ใบส่งของ หรือใบเสร็จรับเงิน รู้ได้อย่างแน่นอนว่า เมื่อซื้อแล้ว บริการที่ได้รับหลังจากการซื้อได้แก่อะไรบ้าง เช่น บริการหลังการ ขายชนิดเต็มรูปแบบ หรือชนิดจากัด เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 124
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ในระยะประกัน(Warranty Period) นั้น เมื่อเกิดปัญหาขึ้น ผู้ซื้อได้รู้อย่างแน่นอนว่าต้อง แจ้งปัญหา ไปที่แผนกใด หรือผู้ใด และจะสามารถได้รับความช่วยเหลือหรือได้รับบริการอย่าง รวดเร็วเพียงใด
ภำษำคอมพิวเตอร์ (Computer Programming Languages) ในกระบวนการสื่อสารเบื้องต้นนั้น ประกอบด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น ผู้ส่งสาร ผู้รับสาร สารหรือ ข้อความ สื่อตัวกลาง และ ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร ซึ่งภาษาที่ใช้สื่อสารนี้ถ้าฝ่ายผู้ส่งสารและผู้รับสารสามารถเข้าใจ กันได้ก็ไม่มีปัญหาอะไร แต่ถ้าทั้งผู้ส่งสาร และผู้รับสาร ไม่สามารถสื่อสารเข้าใจกันได้ อาจจะเพราะต่างเชื้อชาติ ต่างภาษา ก็อาจจะต้องใช้ตัวกลาง มาช่วยในการสื่อสาร เพื่อให้เกิดความเข้าใจซึ่งกันและกันได้ กระบวนการสื่อสารระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ก็เช่นกัน คือจะเกี่ยวข้องกับมนุษย์และคอมพิวเตอร์ เป็นหลัก คอมพิวเตอร์นั้นรู้ และเข้าใจ แต่เฉพาะภาษาเครื่องซึ่งอยู่ในรูปของเลขฐานสอง คือ 0 และ 1 เท่านั้น ดังนั้นเมื่อใดก็ตามที่มนุษย์ ต้องการสื่อสาร กับคอมพิวเตอร์ ก็ต้องเขียนให้อยู่ ในรูปของเลขฐานสองเท่านั้น เพื่อให้ คอมพิ ว เตอร์ ส ามารถท างานได้ ตามที่ค อมพิ ว เตอร์เ ข้าใจ แต่การเขี ยนค าสั่ ง ในลั กษณะของภาษาเครื่ อ ง ซึ่ ง ประกอบด้วยเลขฐานสองนั้น มีความยุ่งยาก และยากที่จะเข้าใจได้ อีกทั้งหากเกิดความผิดพลาดในการเข้ารหัส เลขฐานสอง ก็ยั งยุ่ ง ยากในการแก้ ไขด้ว ย มนุษย์ จึงพัฒ นาการและปรับ ปรุงวิธี การ ติ ดต่อสื่ อ สารและสั่ งงาน คอมพิวเตอร์ ให้สามารถเข้าใจกันได้ง่าย ซึ่งตัวกลางที่มนุษย์ใช้ในกระบวนการนี้เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ เป็นสัญลักษณ์ที่มนุษย์พัฒนาขึ้นมาเพื่อควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ และสั่ง การให้คอมพิวเตอร์ สามารถทางาน ได้ตามที่มนุษย์ต้องการ เริ่มแรกนั้นการสั่ งให้คอมพิวเตอร์ทางาน ต้องเขียน คาสั่งอยู่ในรูปของเลขฐานสอง ซึ่งประกอบด้วยเลข 0 และ 1 จึงทาให้ การเขียนโปรแกรมควบคุมการทางาน ของ คอมพิวเตอร์ยุ่งยากมาก เพราะถ้าเข้ารหัสผิดพลาด การทางานของคอมพิวเตอร์ ก็จะผิดพลาด หรือได้ผลลัพธ์ไม่ ตรงตามจุ ด ประสงค์ ที่ ต้ อ งการ ต่ อ มามนุ ษ ย์ จึ ง พั ฒ นารู ป แบบของภาษาขึ้ น มาใหม่ โดยใช้ ร หั ส ข้ อ ความใน ภาษาอังกฤษที่เข้าใจได้ง่าย โดยมีกฏเกณฑ์ต่าง ๆ ของภาษาแตกต่างกันไป ภาษาคอมพิวเตอร์ปัจจุบันมีหลาย ภาษามากมาย แต่ละภาษาก็มีความยากง่าย และมีวัตถุประสงค์ ของภาษาแตกต่างกันไป ดังนั้นผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ จึงจ าเป็ น ต้องเลื อกใช้ภ าษาคอมพิว เตอร์ ให้ เหมาะสมกับงาน ที่ต้องการพัฒ นา และความสามารถ ในการใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์ของบุคคลนั้น ๆ
ยุคของภำษำคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาหรือมีวิวัฒนาการมาโดยลาดับเช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์ โดยจะสามารถ แบ่งออกเป็นยุค หรือเป็นรุ่นของภาษา (Generation) ซึ่งในยุคหลัง ๆจะมีการพัฒนาภาษาให้มีความสะดวก ใน การอ่าน และเขียนง่ายขึ้นกว่าภาษาในยุคแรก ๆ เนื่องจากจะมีโครงสร้างภาษาใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษ สามารถแบ่งภาษาคอมพิวเตอร์ออกได้เป็น 5 ยุค ดังนี้ เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 125
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
1. ภาษาเครื่อง (machine language) 2. ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) 3. ภาษาชั้นสูง (High level Language) 4. ภาษาขั้นสูงมาก (Very High level Language) 5. ภาษาธรรมชาติ (National Language) ภำษำเครื่อง (machine language) ก่อนปี ค.ศ. 1952 มีภาษาคอมพิวเตอร์เพียงภาษาเดียวเท่านั้น
คือ ภาษาเครื่ อง (Machine Language) ซึ่งเป็นภาษาระดับต่าที่สุด เพราะใช้เลขฐานสอง ซึ่งประกอบด้วย เลขฐานสองคือ 0 และ 1 ซึ่งจะสัมพันธ์กับการเปิด (On) และการปิด (Off) ของสัญญาณไฟฟ้า ภายในเครื่อง คอมพิวเตอร์แทนข้อมูล และคาสั่งต่าง ๆ ทั้งหมด จะเป็นภาษาที่ขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือหน่วย ประมวลผลที่ใช้ นั่นคือแต่ละเครื่องก็จะมีรูปแบบของคาสั่ง เฉพาะของตนเอง ซึ่งนักคานวณและนักเขียนโปรแกรม ในสมัยก่อน ต้องรู้จักวิธีที่จะรวมตัวเลขเพื่อแทนคาสั่งต่าง ๆ ทาให้การเขียนโปรแกรมยุ่งยากมาก เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละประเภทจะมีภาษาเครื่องที่เป็นของตนเอง ไม่สามารถนาภาษาเครื่องที่ใช้กับ เครื่องประเภทหนึ่ง ไปใช้กับเครื่องประเภทอื่นได้ เนื่องจากแต่ละระบบก็จะมีชุดคาสั่งของภาษาเครื่องที่แตกต่าง กันออกไป ซึ่งเป็นลักษณะของภาษาที่มีพัฒนาการนั้นขึ้นอยู่กับเครื่อง (Machine Dependent) คำสั่งในภำษำเครื่องจะประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1. โอเปอเรชั น โค้ ด (Operation Code) เป็ น ค าสั่ ง ที่ สั่ ง ให้ ค อมพิ ว เตอร์ ป ฏิ บั ติ ก าร เช่ น การบวก (Addition), การลบ (Substraction) เป็นต้น 2. โอเปอแรนด์ (Operands) เป็นตัวที่ระบุตาแหน่งที่เก็บของข้อมูลที่จะนาเข้าสู่คอมพิวเตอร์เพื่อนาไป ปฏิบัติการตามคาสั่งในโอเปอเรชันโค้ด ภำษำแอสเซมบลี (Assembly Language) เป็นภาษาที่มีการใช้ตัวอักษรในภาษาอังกฤษมาแทน
คาสั่งที่เป็นเลขฐานสอง และเรียกอักษรสัญลักษณ์ที่เป็นคาสั่งนี้ว่า สัญลั กษณ์ข้อความ (mnemonic codes) เพื่ อ ให้ ง่ า ยต่ อ การเขี ย นและการจดจ ามากกว่ า ภาษาเครื่ อ ง แต่ ถึ ง อย่ า งไรก็ ยั ง จั ด ภาษาแอสเซมบลี นี้ เ ป็ น ภาษาระดับต่า ดังได้กล่าวแล้วว่าเครื่องคอมพิวเตอร์จะรู้จักเฉพาะภาษาเครื่องเท่านั้น ดังนั้นจึงจาเป็นต้องมีการแปล โปรแกรมภาษาแอสเซมบลี นั้ น ให้ เป็ น ภาษาเครื่องเสี ยก่อน เพื่อให้ คอมพิว เตอร์ส ามารถทางานตามคาสั่ งใน โปรแกรมได้ การแปลภาษาแอสเซมบลี เป็นภาษาเครื่องนั้น จะต้องมีตัวแปลภาษาแอสเซมบลีที่เรียกว่า แอสเซม เบลอร์ (Assembler) เป็นตัวแปล ซึ่งภาษาแอสเซมบลี 1 คาสั่งจะสามารถแปลเป็นภาษาเครื่อง 1 คาสั่งเช่นกัน ดังนั้น ถ้าเขียนโปรแกรม ภาษาแอสเซมบลี 10 คาสั่ง ก็จะถูกแปล เป็นภาษาเครื่อง 10 คาสั่งเช่นกัน จึงเห็นได้ว่า เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 126
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ภาษาแอสเซมบลี จะมีลักษณะที่เหมือนกับภาษาเครื่อง คือ เป็นภาษาที่ขึ้นอยู่กับเครื่อง กล่าวคือเราไม่สามารถนา โปรแกรมที่เขียนด้วยแอสเซมบลี โปรแกรมเดียวกันไปใช้ในเครื่องต่างชนิดกันได้ และนอกจากนี้ผู้ที่ จะเขียน โปรแกรมภาษาแอสเซมบลีได้ จะต้องมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องของฮาร์ดแวร์เป็นอย่างดี เนื่องจากจะต้อง ยุ่ง เกี่ยวกับการใช้งานหน่วยความจา ที่เป็นรีจิสเตอร์ภายในตลอด ดังนั้นจึงเหมาะที่จะ ใช้เขียนในงาน ที่ต้องการ ความเร็ว ในการทางานสูง เช่น งานทางด้านกราฟิก หรืองานพัฒนาซอฟแวร์ ระบบต่างๆ อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าภาษานี้จะง่ายกว่าการเขียนด้วยภาษาเครื่อง แต่ก็ยังถือว่าเป็นภาษาชั้นต่าที่ยัง ยากต่อการเขียน และการเรียนรู้ให้เข้าใจได้ดี สาหรับผู้ที่ไม่มีความรู้เกี่ยวกับ ฮาร์ดแวร์เท่าใดนัก ภำษำชั้นสูง (High level Language) เรียกได้อีกอย่างว่าเป็นภาษารุ่นที่ 3 (3rd Generation
Language หรือ 3GLs) เป็นภาษาที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้สามารถเขียน และอ่านโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากมี ลักษณะเหมือนภาษาอังกฤษทั่วๆไป และที่สาคัญ คือ ผู้เขียนโปรแกรม ไม่จาเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับ ระบบ ฮาร์ดแวร์แต่อย่างใด ตัวอย่างของภาษาประเภทนี้ได้แก่ ภาษาฟอร์แทรน(Fortran) , โคบอล (Cobol) , เบสิก (Basic) , ปาสคาล (Pascal) , ซี(C) , เอดา(ADA) เป็นต้น อย่างไรก็ตามโปรแกรมที่ถูกเขียนด้วยภาษาประเภทนี้จะทางานได้ ก็ต่อเมื่อมีการแปลงให้เป็น ภาษาเครื่ อ งเสี ย ก่ อ น ซึ่ ง วิ ธี ก ารแปลงจากภาษาชั้ น สู ง ให้ เ ป็ น ภาษาเครื่ อ งนั้ น จะท าได้ โ ดยใช้ โ ปรแกรมที่ เรียกว่า คอมไพเลอร์(Compiler) หรืออินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยภาษาชั้นสูงแต่ละ ภาษาจะมีตัวแปลภาษาเฉพาะเป็นของตัวเอง ดังนั้นจึงไม่สามารถนาตัวแปลของภาษาหนึ่งไปใช้กับอีกภาษาหนึ่งได้ ตัวอย่างเช่น ภาษาโคบอลจะมีตัวแปลภาษาที่เรียกว่า โคบอลคอมไพเลอร์ ไม่สามารถนาคอมไพเลอร์ของภาษาโค บอลนี้ไปใช้แปลภาษาปาสคาลได้ เป็นต้น การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาขั้นสูงนั้นนอกจากจะให้ความสะดวกแก่ผู้เขียนเป็นอันมากแล้ว ผู้เขียนแทบจะ ไม่ต้องมีความรู้ เกี่ยวกับการทางานของ ระบบฮาร์ดแวร์ก็สามารถเขียนโปรแกรมสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานได้ นอกจากนี้ยังมีข้อดีอีกอย่างคือ สามารถนาโปรแกรม ที่เขียนนี้ ไปใช้งานบนเครื่องใดก็ได้ คือมีลักษณะที่ไม่ขึ้นอยู่ กับเครื่อง (Hardware Independent) เพียงแต่ต้องทาการแปลโปรแกรมใหม่เท่านั้น แต่อย่างไรก็ตามภาษาเครื่อง ที่ ไ ด้ จ ากการแปลภาษาชั้ น สู ง นี้ อาจเยิ่ น เย้ อ และไม่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เท่ า กั บ การเขี ย นด้ ว ยภาษาเครื่ อ งหรื อ แอสเซมบลีโดยตรง ภาษารุ่นที่ 3 นี้ ส่วนใหญ่จะจัดอยู่ในกลุ่มของ ภาษามีแบบแผน (Procedural Language) เนื่องจาก ลักษณะการเขียนโปรแกรม จะมีโครงสร้างแบบแผนที่เป็นระเบียบ กล่าวคือ งานทุกอย่างผู้เขียนโปรแกรม ต้อง เขียนโปรแกรมควบคุม การทางานเองทั้งหมด และต้องเขียนคาสั่งการทางานที่เป็นขั้นเป็นตอนทุกอย่าง ไม่ว่าจะ เป็นการสร้างแบบฟอร์มกรอกข้อมูล การประมวลผล หรือการสร้างรายงาน ซึ่งโปรแกรมที่เขียนจะค่อนข้างซับซ้อน และใช้เวลาในการพัฒนาค่อนข้างมาก เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 127
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ภาษาขั้นสูงมาก (Very High level Language) สามารถเรียกได้อีกอย่างว่า ภาษาในรุ่นที่ 4 (4GLs :
Fourth-Generation Languages) ภาษานี้เป็นภาษาที่อยู่ในระดับสูงกว่าภาษารุ่นที่ 3 มีลักษณะของภาษาที่เป็น ธรรมชาติ คล้ายกับภาษาพูดของมนุษย์ จะช่วยในเรื่องของการสร้างแบบฟอร์มบนหน้าจอ เพื่อจัดการเกี่ยวกับ ข้อมูล รวมไปถึงการออกรายงาน ซึ่งจะมีการจัดการที่ง่ายมากไม่ยุ่งยากเหมือนภาษารุ่นที่3 ตัวอย่างของภาษาใน รุ่นที่ 4 ได้แก่ Informix-4GL, Focus, Sybase, InGres เป็นต้น ลักษณะของ 4GL มีดังต่อไปนี้ 1. เป็นภาษาแบบ Nonprocedural ซึ่งหมายความว่าผู้ใช้เพียงแต่บอกคอมพิวเตอร์ว่า ต้องการอะไร แต่ ไม่ต้องบอกถึงรายละเอียดว่าต้องทาอย่างไร คอมพิวเตอร์จะเป็นผู้จัดการให้เองหมด ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการสร้าง แบบฟอร์มการรับข้อมูลจากผู้ใช้ ผู้เขียนโปรแกรมเพียงแต่ทาการออกแบบหน้าตา ของแบบฟอร์มนั้นบนโปรแกรม อิดิเตอร์(Editor) ใดๆและเก็บเป็นไฟล์ไว้ เมื่อจะเรียกใช้งานแบบฟอร์มก็เพียงแต่ใช้คาสั่งเปิดไฟล์นั้นขึ้นมา แสดง บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ได้โดยทันที ซึ่งต่างจากภาษารุ่นที่3 ซึ่งเป็นแบบ Procedural ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องเขียน รายละเอียดของโปรแกรมทั้งหมด ว่าที่บรรทัดนี้ คอลัมน์จะให้แสดงข้อความหรือข้อมูลอะไรออกมา ซึ่งถ้าต่อไปจะ มีการปรับเปลี่ยนหน้าตาของแบบฟอร์มก็จะเป็นเรื่องที่ยุ่งยากอย่างยิ่ง หรือในการสร้างรายงานด้วย 4GLs ก็ สามารถทาได้อย่างง่ายดาย เพียงแต่ระบุลงไปว่าต้องการรายงานอะไร มีข้อมูลใดที่จะนามาแสดงบ้าง โดยไม่ต้อง บอกถึงวิธีการสร้าง หรือการดึงข้อมูลแต่อย่างใด 4GLs จะจัดการให้เองหมด ดังนั้นจะเห็นว่า ภาษาในรุ่นที่4 เป็นภาษาที่ผู้เขียนโปรแกรมเพียงแต่บอกว่าต้องการอะไร (What) แต่ไม่ ต้องบอกคอมพิวเตอร์ว่าให้ทาอย่างไร (How) แต่ภาษาในรุ่นที่3 ผู้เขียนโปรแกรมต้องบอกคอมพิวเตอร์ทั้งหมดว่า ต้องการทาอะไร และต้องบอกด้ ว ยว่า ต้องท าอย่า งไร ซึ่งจะต้องสั่ งให้ คอมพิ ว เตอร์ ท างานเป็นขั้ นตอน และ คอมพิวเตอร์ก็จะมีหน้าที่ทางานตามที่ผู้เขียนโปรแกรมสั่งนั่นเอง อย่างไรก็ตาม 4GLs ก็สามารถมีรูปแบบเป็น Procedural ได้ด้วย เนื่องจากงานบางงานอาจมีความ ซับซ้อน จึงต้องอาศัยการเขียนโปรแกรมที่เป็นแบบ Procedural เข้าช่วยด้วย จึงสรุปได้ว่า 4GL จะมีรูปแบบผสม ระหว่าง Procedural และ Nonprocedural 2. ส่วนใหญ่จะพบว่า 4GLs มักจะอยู่ควบคู่กับระบบฐานข้อมูล โดยผู้ใช้ระบบฐานข้อมูลจะสามารถจัดการ ฐานข้อมูลได้โดยผ่านทาง 4GLs นี้ ส่วนประกอบของภำษำ 4GLs โดยทั่วไปแล้ว 4GLs จะประกอบด้วยส่วนสาคัญ 3 ส่วนดังต่อไปนี้ - เครื่องมือช่วยสร้างรายงาน (Report Generators) เป็นโปรแกรมสาหรับผู้ใช้ (End-users) ให้ สามารถเขียนรายงานอย่างง่ายได้ด้ว ยตนเอง โดยผู้ ใช้สามารถกาหนดเงื่อนไข และข้อมูลที่นาออกมาพิมพ์ใน รายงาน รวมถึงรูปแบบของการพิมพ์ไว้ โปรแกรมช่วยสร้างรายงานนี้ จะทาการพิมพ์รายงานตามรูปแบบที่กาหนด ไว้ให้ เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 128
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
- ภาษาช่วยค้นหาข้อมูล (Query Languages) เป็นภาษาที่ช่วยในการค้นหาหรือดึงข้อมูลจาก ฐานข้ อ มู ล ภาษานี้ จ ะง่ า ยต่ อ การใช้ ง านมาก เนื่ อ งจากจะอยู่ ใ นรู ป แบบที่ ใ กล้ เ คี ย งกั บ ภาษา อั ง กฤษมาก ตัวอย่างเช่น ภาษา SQL (Structured Query Language) ภาษา QBE (Query-By-Example) เช่น ค้นหา ข้อมูลนักเรียนที่ชื่อ กมล นามสกุล สนิทวงศ์ จากตาราง student ก็เขียนคาสั่งดังนี้ select * from student where name=”กมล” and lname=”สนิทวงศ์”; - เครื่องมือช่วยสร้างโปรแกรม (Application Generators) จะมีรูปแบบการเขียนโปรแกรมเฉพาะตัว และสามารถเรียกใช้เครื่องมือช่วยสร้างโปรแกรมนี้ทาการแปลง 4 GLs ให้กลายเป็นโปรแกรมภาษารุ่นที่ 3 ได้เช่น ภาษาโคบอล หรือภาษาซี ซึ่งอาจนาภาษาโคบอล หรือภาษาซีที่แปลงแล้วไปพัฒนาต่อ เพื่อใช้กับงานที่ซับซ้อนมาก ต่อไปได้ ประโยชน์ของภำษำ 4GL - เป็นภาษาที่ง่ายต่อการเรียนรู้ คาสั่งแต่ละคาสั่งสื่อความหมายได้อย่างชัดเจน - ประหยัดเวลาในการเขียนโปรแกรมได้มาก เนื่องจาก 1 คาสั่งของภาษา 4GL สามารถแทนคาสั่งของ ภาษารุ่นที่ 3 ถึงมากกว่า 100 คาสั่ง - สนับสนุนการจัดการฐานข้อมูล สามารถจัดการกับข้อมูลได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว - สามารถสร้างแบบฟอร์มเพื่อจัดการกับข้อมูลในฐานข้อมูล และออกรายงานได้อย่างง่ายดาย ไม่ ยุ่งยาก - มีเครื่องมือการใช้งาน เพื่ออานวยความสะดวกในการเขียนโปรแกรมมากพอสมควร - สามารถทางานในลักษณะ Interactive คือมีการตอบโต้กับผู้ใช้ได้ทันที ภำษำธรรมชำติ (National Language) เป็นภาษาในยุคที่ 5 ที่มีรูปแบบเป็นแบบ nonprocedural
เช่นเดียวกับภาษารุ่นที่ 4 การที่เรียกว่าภาษาธรรมชาติ เพราะจะสามารถสั่งงานคอมพิวเตอร์ ได้โดยใช้ภาษามนุษย์ ได้โดยตรง โดยทั่วไป คาสั่งที่มนุษย์ป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์ จะอยู่ในรูปของภาษาพูดมนุษย์ ซึ่งอาจมีรูปแบบที่ ไม่แน่นอนตายตัว แต่คอมพิวเตอร์ก็สามารถแปลคาสั่งเหล่านั้นให้อยู่ ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจคาสั่ง ได้ ถ้าคาสั่งใดไม่กระจ่างชัดเจนก็จะมีการถามกลับ เพื่อให้เข้าใจคาสั่งได้อย่างถูกต้อง ภาษาธรรมชาตินี้ ถูกสร้างขึ้นมาจากเทคโนโลยีทางด้านระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ซึ่งเป็นงาน ที่อยู่ในสาขาปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ในการที่พยายามทาให้คอมพิวเตอร์ เปรียบเสมือนกับ เป็นผู้เชี่ยวชาญ คนหนึ่งที่สามารถคิด และตัดสินใจ ได้เช่นเดียวกับมนุษย์ คอมพิวเตอร์สามารถตอบคาถามของ มนุษย์ได้อย่างถูกต้อง พร้อมทั้งมีข้อแนะนาต่าง ๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจของมนุษย์ได้อีกด้วย ระบบผู้เชี่ยวชาญนี้ จะใช้กับงานเฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง เช่นในด้านการแพทย์ ในการพยากรณ์อากาศ ในการวิเคราะห์ทางเคมี การ ลงทุน ฯลฯ ซึ่งในการนี้จะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูล และข่าวสารจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านนั้น ๆ และแปลงให้ เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 129
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
อยู่ในรูปของกฏเกณฑ์ และข้อความจริงต่าง ๆ เก็บไว้ในระบบฐานข้อมูล ของผู้เชี่ยวชาญ ที่เรียกว่า ฐานความรู้ (Knowledge Base) ซึ่งจะต้องเก็บข้อมูลที่มีอยู่เป็นจานวนมหาศาล และให้ผู้ใช้สามารถใช้กับภาษาธรรมชาติ ในการดึ ง ข้ อ มู ล จากฐานความรู้ นี้ ไ ด้ ดั ง นั้ น เราจึ ง อาจเรี ย กระบบผู้ เชี่ ย วชาญนี้ ไ ด้ อี ก อย่ า งว่ า ระบฐาน ความรู้ (Knowledge Base System)
ขั้นตอนกำรเขียนโปรแกรมโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีขั้นตอนโดยสังเขปดังนี้ 1. การวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการ (Problem Analysis and Requirement Analysis) 2. การกาหนดและคุณสมบัติของโปรแกรม (Specification) 3. การออกแบบ (Design) 4. การเขียนรหัสโปรแกรม (Coding) 5. การคอมไพล์ (Compilation) 6. การทดสอบการทางานของโปรแกรม (Testing) 7. การจัดทาเอกสาร (Documentation) 8. การเชื่อมต่อ (Integration) 9. การบารุงรักษา (Maintenance) ขั้นตอนทั้งหมดข้างต้นเป็นขั้นตอนสาหรับการพัฒนาโปรแกรมที่มีขนาดใหญ่ที่นาไปใช้จริง สาหรับการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมนั้น ส่วนใหญ่จะเน้นแค่ 4 ขั้นตอนดังนี้ 1. กำรวิเครำะห์ปัญหำและควำมต้องกำร (Problem Analysis and Requirement Analysis) เป็นการแยกแยะรายละเอียดของปัญหาและความต้องการออกเป็นส่วนย่อยๆ ให้ครอบคลุมการทางาน ของโปรแกรมที่ต้องการเขียนทั้งหมด เพื่อให้เห็นถึงองค์ประกอบ ความสัมพันธ์ ความต้องการ และแนวทางการ แก้ปัญหาที่ถูกต้องอย่างครบถ้วน 2. กำรออกแบบ (Design) เป็นการออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยการกาหนดขั้นตอน ทิศทาง รูปแบบการทางานของโปรแกรม ผลลัพธ์ของโปรแกรม วิธีการประมวลผลและสูตรสมการต่ างๆ การนาเข้าข้อมูล การกาหนดตัวแปรให้สอดคล้อง กับข้อมูล การเลือกใช้โปรแกรมภาษา ทั้งนี้เพื่อให้การทางานของโปรแกรมเป็นไปอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ มากที่สุด การออกแบบสามารถทาได้หลายวิธี แต่วิธีที่ได้รับความนิยมได้แก่ การเขียนขั้นตอนวิธี ( Algorithms) การเขียนผังงาน (Flowcharts) และการเขียนรหัสลาลอง (Pseudo Code)
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 130
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
3. กำรเขียนรหัสโปรแกรม (Coding) เป็นการเขียนรหัสโปรแกรมลงในโปรแกรมภาษาที่เลือกไว้ ตามวิธีการที่ได้ออกแบบไว้แล้ว โดยใช้ คอมพิวเตอร์ที่ทาการติดตั้งโปรแกรมภาษาเอาไว้พร้อมที่จะทาการลงรหัสโปรแกรมและทดสอบความถูกต้องของ โปรแกรม 4. กำรทดสอบกำรทำงำนของโปรแกรม (Testing) เป็นการทดสอบผลการทางานของโปรแกรมว่ามีความถูกต้องและมีประสิทธิภาพหรือไม่ การทดสอบ ทาได้โดยการป้อนค่าต่างๆ ตามที่โปรแกรมกาหนด แล้วสังเกตผลลัพธ์ที่ได้ หากพบว่าผลลัพธ์ไม่ถูกต้ องก็ย้อนกลับ ไปแก้ไขรหัสโปรแกรม หากพบว่าไม่มีประสิทธิภาพ เช่น โปรแกรมทางานช้า โปรแกรมไม่ครอบคลุมความต้องการ ก็อาจย้อนกลับไปแก้ไขรหัสโปรแกรมหรือออกแบบวิธีการแก้ปัญหาใหม่ สาหรับการทดสอบนั้นจะต้องป้อนทั้ง ข้อมูลด้านบวก (ข้อมูลที่โปรแกรมต้องการ) และข้อมูลด้านลบ (ข้อมูลที่โปรแกรมไม่ต้องการ)
กำรเขียนอัลกอริทึม กระบวนการแก้ปัญหาที่สามารถอธิบายออกมาเป็นขั้นตอนที่ชัดเจน เมื่อนาเข้าอะไร แล้วจะต้องได้ผล ลัพธ์เช่นไร กระบวนการนี้ประกอบด้วยจะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทาแบบวนซาอีก จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทางาน Algorithm ไม่ใช่คาตอบแต่เป็นชุดคาสั่งที่ทาให้ได้คาตอบ วิธีการในการอธิบาย Algorithm ได้แก่ - Natural Language อธิบายแบบใช้ภาษาที่เราสื่อสารกันทั่วไป - Pseudocode อธิบายด้วยรหัสจาลองหรือรหัสเทียม - Flowchart อธิบายด้วยแผนผัง การนาขั้นตอนวิธีไปใช้แก้ปัญหา ไม่จากัดเฉพาะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้กับปัญหา อื่นๆ ได้เช่นเดียวกัน ก่อนที่จะลงมือเขียนโปรแกรมต้องออกแบบขั้นตอนการทางานหรืออัลกอริทึม (Algorithm) ก่อนซึ่งเป็น เครื่องมือในการแสดงขั้นตอนการทางานของระบบงานใด ๆ เพื่อให้การเขียนโปรแกรมเป็นไปได้อย่างรวดเร็วและ ง่ า ยขึ้ น โดยเราจะเขี ย นอั ล กอริ ทึ ม ในลั ก ษณะผั ง งาน (Flowchart) หรื อ รหั ส จ าลองที่ เ รี ย กว่ า ซู โ ดโค้ ด (Pseudocodes) ก็ได้ ซูโ ดโค้ด (Pseudocodes) เป็น คาอธิ บายขั้ นตอนการท างานของโปรแกรม โดยใช้ถ้ อยคาผสม ระหว่างภาษาอังกฤษและภาษาการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง จะช่วยให้ผู้เขี ยนโปรแกรมสามารถพัฒนา ขั้นตอนต่างๆ ให้เป็นโปรแกรมได้ง่ ายขึ้น ส่วนใหญ่มักใช้คาเฉพาะ (Reserve Word) ที่มีในภาษาการเขียน โปรแกรมและมักเขียนด้วยตัวอักษรตัวใหญ่ ซูโดโค้ดที่ดีจะต้องมีความชัดเจน สั้นและได้ใจความ ข้อมูลต่างๆ ที่ ใช้จะถูกเขียนอยู่ในรูปของตัวแปร เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 131
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
รูปแบบ Algorithm <ชื่อของอัลกอริทึม> 1………………………………. 2………………………………. ………………………………… END ตัวอย่ำง การเขียนอัลกอริทึม สาหรับให้คอมพิวเตอร์หาค่าเฉลี่ยจากข้อมูลที่รับเข้าทางแป้นพิมพ์ ถ้าใส่ ค่าศูนย์แสดงว่าหยุดป้อนข้อมูล เขียนได้ดังนี้ Algorithm กำรหำค่ำเฉลี่ย Algorithm Average_Sum 1. เริ่มต้น 1. START 2. ตัวนับ = 0 2. count =0 3. ผลรวม = 0 3. sum = 0 4. รับค่าทางแป้นพิมพ์เก็บไว้ในตัวแปร (ข้อมูล) 4. INPUT (value) 5. ถ้า ข้อมูล มากกว่า 0 5. IF value > 0 THEN เพิ่มค่าตัวนับขึ้นหนึ่งค่า count = count +1 ผลรวม = ผลรวม + ค่าข้อมูล sum = sum + value ย้อนกลับไปทาขั้นตอนที่ 3 GOTO 3 ถ้าไม่มากกว่าไปทาขั้นตอนที่ 5 ELSE GOTO 5 6. ค่าเฉลี่ย = ผลรวมหารด้วยตัวนับ 6. average = sum / count 7. แสดงค่าเฉลี่ยทางจอภาพ (ทศนิยมสองตาแหน่ง) 7. OUTPUT (average) 8. จบ 8. END
กำรเขียนผังงำน (Flowchart) ผังงาน หรือ โฟลวชาร์ต เป็นแผนภาพที่ใช้ออกแบบและอธิบายการทางานของโปรแกรมโดยอาศัยรูปทรง ต่างๆ ควบคู่ไปกับลูกศร แต่ละรูปในแผนภาพจะหมายถึงการทางานหนึ่งขั้นตอน ส่วนลูก ศรจะแทนลาดับการ ทางานขั้นตอนต่างๆ รวมทั้งทิศทางการไหลของข้อมูลตั้งแต่เริ่มต้นจนได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ระบบงานทุกชนิดที่ ผ่านการวิเคราะห์เป็นลาดับขั้นตอนแล้ว จะสามารถเขียนเป็นผังงานได้ ประโยชน์ของผังงำน - ช่วยอธิบายลาดับขั้นตอนการทางานของโปรแกรม - ทาให้ตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้ง่าย เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 132
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
- ทาให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทางานของโปรแกรมและแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย กำรเขียนผังงำนที่ดี - เขียนตามสัญลักษณ์ที่กาหนด - ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการทางานจากบนลงล่าง - อธิบายสั้นๆ ให้เข้าใจง่าย - ทุกแผนภาพต้องมีทิศทางเข้าออก - ไม่ควรโยงลูกศรไปที่ไกลมาก ๆ ถ้าต้องทาให้ใช้สัญลักษณ์การเชื่อมต่อแทน เครื่องหมายรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งใช้สาหรับสื่อสารความหมายให้เข้าใจตรงกัน สถาบันมาตรฐานแห่งชาติ อเมริกัน (The American National Standard Institute:ANSI) ได้กาหนดสัญลักษณ์ไว้เป็นมาตรฐาน ซึ่งมี รายละเอียดรูปแบบและความหมายที่ควรทราบดังนี้ ตำรำงที่ 4-2 สัญลักษณ์ผังงาน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 133
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ตำรำงที่ 4-2 (ต่อ) สัญลักษณ์ผังงาน
ใบงำน บทที่ 4 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 134
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ใบงำน บทที่ 4 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ 1. ให้นักศึกษาเขียนแผนผังเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ซอฟต์ แวร์
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 135
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
บทที่ 4: ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ใช้งานทั่วไปที่มีการใช้งานและจาเป็นต้องมีประจาหน่วยงาน ได้แก่อะไรบ้าง จงอธิบาย ตัวแปรภาษาอินเทอร์พรีเตอร์ และคอมไพเลอร์ แต่งต่างกันอย่างไร ระบบปฏิบัติการที่ใช้เป็นระบบติดต่อใช้งานคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็นกี่กลุ่ม อะไรบ้าง จงอธิบาย ขั้นตอนการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ใช้กันทั่วไป มีอะไรบ้าง จงอธิบายเป็นข้อ ๆ ภาษาคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็นกี่ระดับ คืออะไรบ้าง อธิบาย โปรแกรมที่แปลภาษาที่เป็นภาษาระดับเป็นภาษาเครื่อง คืออะไร ยกตัวอย่างสัญลักษณ์ผังงานอย่างน้อย 5 อย่างพร้อมบอกชื่อให้ละเอียด อธิบายความหมายของซูโดโค้ด อธิบายความหมายอัลกอริทึม
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 136