หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 5: เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
บทที่ 5 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายความหมายของการสื่อสารข้อมูลได้ 2. จาแนกองค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้ 3. อธิบายการทางานชนิดของการสื่อสารข้อมูลได้ 4. บอกสื่อการของการสื่อข้อมูลได้ 5. อธิบายประเภทของการสื่อสารข้อมูลได้
บทนา ในปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่อสาร ทาให้เราหันมาให้ความสาคัญต่อการติดต่อสื่อสาร ผ่ า นเครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ ท าให้ เ ราสามารถติ ด ต่ อ เชื่ อ มโยงข้ อ มู ล ถึ ง กั น ได้ ทั่ ว โลก ไม่ ว่ า จะอยู่ ใ นรู ป ของ อินเทอร์เน็ต หรือด้านการติดต่อสื่อสารโทรคมนาคมในระยะไกลต่าง ๆ ก่อให้เกิดการนาเทคโนโลยีการสื่อสาร ข้อมูลมาใช้ในวงการธุรกิจต่าง ๆ เป็นการนาความรู้จากข้อมูลข่าวสารที่ได้รับมาสร้างทางเลือกในการตัดสินใจใน การดาเนิ น ธุรกิจ ต่าง ๆ ส่ งผลให้ เราสามารถลดต้นทุน ลดเวลาในการติดต่อสื่ อสารส่ งเสริมให้ เกิดการใช้งาน ทรัพยากรร่วมกัน ซึง่ เหมาะกับสภาพขององค์กรในปัจจุบันที่ต้องการการแข่งขันที่ค่อนข้างสูง
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 137
หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 5: เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
จากจุดเริ่มแรกทาให้มีการใช้บริการด้านการสื่อสารโทรคมนาคมเพิ่มมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการใช้งานผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และเว็บไซต์เพื่อการพาณิชย์ต่าง ๆ ส่งผลให้เกิดแรงผลักดันในการพัฒนาเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เห็นได้ง่าย ๆ จากการเปลี่ยนแปลงจากการสื่อสารแบบอนาล็อกเป็นเทคโนโลยีเครือข่าย ดิจิทัล ทาให้มีความเร็วในการส่งข้อมูลสูงขึ้น และส่งข้อมูลได้เป็นจานวนมาก ลดความผิดพลาดในการส่งข้อมูล ซึ่ง สามารถส่งสารสนเทศทั้งที่เป็นข้อมูลประเภท เสียงและวิดีโอ ไปพร้อมๆ กัน อีกทั้งการใช้ดาวเทียมสื่อสารทาให้ สามารถส่ ง ข้อมู ล ภาพและเสี ย งข้ ามซี กโลกได้อ ย่างรวดเร็ ว รวมทั้ งการใช้เซลลู ล าห์ หรื อเครือ ข่า ยไร้ ส าย อื่นๆ นับว่าเป็นการทาให้เกิดความสะดวกรวดเร็ วในการใช้อุปกรณ์แบบพกพาแบบต่างๆ ทาให้เราสามารถ ติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วโลก
ความหมายของการสื่อสารข้อมูล การสื่อสาร (Communication) หมายถึงการติดต่อระหว่างมนุษย์โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อนาเสนอหรือ แลกเปลี่ยนข่าวสาร ข้อมูล ความต้องการ ความรู้สึกนึกคิด ตลอดจนความคิดเห็นให้รับรู้ เรื่องราวร่วมกันและเกิด การตอบสนองระหว่างผู้ส่งสารกับผู้รับสาร โดยอาศัยสื่อกลางในการติดต่อสื่อสาร สื่อสารข้อมูล (Data Communication) หมายถึง การส่งหรือแลกเปลี่ยนข้อมูล และสารสนเทศ จากจุดหนึ่ง ไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยผ่านช่องทางการสื่อสาร (Communication Channel) แต่ข้อมูลที่ส่งถึงกันนั้นจะเป็นเพียง ข้อมูล (Data) เท่านั้นไม่รวมเสียงพูด (Voice) โทรคมนาคม (Telecommunication) หมายถึง การติดต่อสื่อสารระหว่างกันในระยะทางไกลๆ โดยอาศัย ช่องทางการสื่อสารเหมือนกับการสื่อสารข้อมูล แต่สามารถส่งได้ทั้งข้อมูล (Data) และเสียงพูด (Voice)
องค์ประกอบของระบบการสื่อสารข้อมูล
ภาพที่ 5-1 องค์ประกอบของระบบการสื่อสารข้อมูล เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 138
หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 5: เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
1. ผู้ส่ งหรืออุป กรณ์ส่ งข้อมูล (Sender) เป็นแหล่งต้นทางของการสื่ อสารโดยมีหน้าที่ในการให้กาเนิด ข้อมูล หรือเตรียมข้อมูล เช่น ผู้พูด คอมพิวเตอร์ต้นทาง เป็นต้น 2. ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) เป็นแหล่งปลายทางของการสื่อสาร หรือเป็นอุปกรณ์สาหรับ ข้อมูลที่จะนาข้อมูลนั้นไปใช้ดาเนินการต่อไป เช่น ผู้รับ คอมพิวเตอร์ปลายทาง เครื่องพิมพ์ 3. ข่าวสาร (Massage) เป็นตัวเนื้อหาของข้อมูล ซึ่งมีได้หลายรูปแบบดังนี้ คือ - ข้อความ (Text) ข้อมูลที่อยู่ในรูปอักขระ หรือเอกสาร เช่น ข้อความในหนังสือ เป็นต้น - เสียง (Voice) ข้อมูลเสี ยงที่แหล่ งต้นทางสร้างขึ้นมา ซึ่งอาจจะเป็นเสียงที่มนุษย์หรืออุปกรณ์ บางอย่างเป็นตัวสร้างก็ได้ - รู ป ภาพ (Image) เป็ น ข้อมูล ที่ไม่เหมือนข้อความตัว อักษรที่เรี ยงติดต่อกัน แต่จะมีลั กษณะ เหมือนรูปภาพ เช่น การสแกนภาพเข้าคอมพิวเตอร์ เป็นต้น เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลรูปภาพกับข้อมูลข้อความ แล้ว รูปภาพจะมีขนาดใหญ่กว่า - สื่อผสม (Multimedia) ข้อมูลที่ผสมลักษณะของทั้งรูปภาพ เสียงและข้อความเข้าด้วยกันโดย สามารถเคลื่อนไหวได้ เช่น การเรียนผ่านระบบ VDO conference เป็นต้น โดยข้อมูลจะมีขนาดใหญ่มาก 4. สื่อกลางหรือตัวกลางในการนาส่งข้อมูล (Medium) เป็นสื่อหรือช่องทางที่ใช้ในการนาข้อมูลจากต้น ทางไปยังปลายทาง ซึ่งอาจเป็นตัวกลางที่มีสายสัญญาณ เช่น สายไฟ หรือตัวกลางที่ไม่ใช้สายสัญญาณ เช่น อากาศ เป็นต้น 5. โปรโตคอล (Protocol) เป็นข้อกาหนดหรือข้อตกลงถึงกฎระเบียบและวิธีการที่ใช้ในการสื่อสารเพื่อให้ ผู้ส่งและผู้รับมีความเข้าใจตรงกัน
ภาพที่ 5-2 สัญญาณแอนะล็อกและสัญญาณดิจิทัล สั ญ ญาณที่ ใ ช้ ใ นระบบการสื่ อ สาร แบ่ ง ออกเป็ น 2 ประเภท คื อ สั ญ ญาณแอนะล็ อ ก (analog signal) และสัญญาณดิจิทัล (digital signal) ดังรูปที่ 5-2 สัญญาณแอนะล็ อกเป็นสัญญาณที่มีขนาดแอมพลิ จูด (amplitude) ที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาและเป็นค่าต่อเนื่อง เช่น เสียงพูด และเสียงดนตรี ส่วนสัญญาณดิจิทัล
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 139
หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 5: เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
ถู ก แทนด้ ว ยระดั บ แรงดั น ไฟฟ้ า สองระดั บ เท่ า นั้ น โดยแสดงสถานะ เป็ น “0” และ “1” ซึ่ ง ตรงกั บ รหั ส ตั ว เลขฐานสอง ในบางครั้งการสื่อสารข้อมูลต้องมีการแปลงสัญญาณแอนะล็อกและสัญญาณดิจิทัล กลับไปมา เพื่อให้อยู่ ในรูปแบบทีจ่ ะนาไปใช้งานได้ ตัวอย่างเช่น การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์สองเครื่องเข้าด้วยกันโดยผ่านระบบโทรศัพท์ ซึ่ง ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับเสียงพูด ที่มีลักษณะของสัญญาณเป็นแบบแอนะล็อก ไม่เหมาะสมสาหรับการส่ง ข้อมูลแบบดิจิทัลระหว่างคอมพิวเตอร์ จึงต้องมีอุปกรณ์ช่วยในการแปลงสัญญาณ ดิจิทัลจากคอมพิวเตอร์ เพื่อ ส่งออกไปเป็นสัญญาณแอนะล็อก จากนั้นจะแปลงกลับเป็นสัญญาณดิจิทัลเมื่อสัญญาณถูกส่งถึงผู้รับ โดยผ่าน อุ ป กรณ์ ใ นการแปลงสั ญ ญาณที่ เ รี ย กว่ า โมเด็ ม (modem) ซึ่ ง ใช้ เ ทคนิ ค การบี บ อั ด ข้ อ มู ล ร่ ว มกั บ การแก้ ไ ข ข้อผิดพลาดของข้อมูลที่อาจเกิด ขึ้นจากการส่งสัญญาณด้วย ดังรูปที่ 5-3
ภาพที่ 5-3 การแปลงระหว่างสัญญาณดิจิทัล และแอนะล็อก การถ่ายโอนข้อมูล เป็นการส่งสัญญาณออกจากอุปกรณ์ส่ง ไปยังอุปกรณ์รับโดยจาแนกได้ 2 แบบ คือ 1. การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน ทาได้โดยการส่งข้อมูลออกมาทีละหลายบิตพร้อมกันจากอุปกรณ์ส่งไป ยังอุปกรณ์ รับ ผ่านสื่ อกลางนาสัญญาณที่มีช่องทางส่ งข้อมูล หลายช่องทางโดยทั่วไปจะเป็นสายนา สัญญาณ หลายๆ เส้นที่มีจานวนสายส่งสัญญาณเท่ากับจานวนบิตที่ต้องการส่งในแต่ละครั้ง เช่นส่งข้อมูล 11110001 ออกไป พร้ อมกัน สายส่ ง ก็ ต้อ งมี 8 เส้ น นอกจากการส่ งข้ อ มูล หลั กที่ ต้ องการแล้ ว อาจมี การส่ ง ข้อ มู ล อื่ นเพิ่ มเติม ไป ด้วย เช่น บิตพาริ ตี (paritybit) ใช้ในการตรวจสอบความผิ ดพลาดของการรับสัญญาณที่ปลายทาง หรือสายที่ ควบคุมการโต้ตอบ เพื่อควบคุมจังหวะของการรับ-ส่งข้อมูลแต่ละชุด ดังรูปที่ 5-4 สายส่งข้อมูลแบบขนานที่มีความยาวไม่มาก เนื่องจากถ้าสายยาวมากเกินไปจะก่อให้เกิดปัญหาสัญญาณ สูญหายไปกับความต้าทาน ของสาย และเกิดการรบกวนกันของสัญญาณ การส่งโดยวิธีนี้จึงนิยมใช้กับการส่งข้อมูล ในระยะทางใกล้ ข้อดีของการรับ-ส่งข้อมูลชนิดนี้คือการรับ-ส่งข้อมูลทาได้เร็ว แต่มีข้อเสียที่ต้องใช้สายส่งหลายเส้น ทาให้มีค่าใช้จ่ายสูง ตัวอย่างที่พบเห็นได้บ่อย คือ การเชื่อมต่อระหว่างเมนบอร์ดกับฮาร์ดดิสก์ภายในคอมพิวเตอร์ แบบ EIDE ดังรูปที่ 5-5 ด้านซ้าย และการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับเครื่องพิมพ์ด้วยพอร์ตขนาน ดัง รูปที่ 5-5 ด้านขวา
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 140
หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 5: เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
ภาพที่ 5-4 การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน
ภาพที่ 5-5 (ด้านซ้าย) การเชื่อมต่อระหว่างเมนบอร์ดกับฮาร์ดดิสก์ และ (ด้านขวา) การเชื่อมต่อระหว่างเครื่องพิมพ์กับเครื่องคอมพิวเตอร์ 2. การถ่า ยโอนข้อมูลแบบอนุกรม ในการถ่ายโอนข้อมูล แบบอนุกรม ข้อมูลจะถูกส่งออกมาทีล ะ บิต ระหว่างจุดส่งและจุดรับ การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรมต้องการสื่อกลางสาหรับการสื่อสารเพียงช่องเดียว หรือ เพียงคู่สายเดียว ค่าใช้จ่ายในด้านของสายสัญญาณจะถูกกว่าแบบขนานสาหรับการส่งระยะทางไกลๆ การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรมจะเริ่มโดยข้อมูลแต่ละชุดจะถูกเปลี่ยนให้เป็น อนุกรมแล้วทยอยส่งออกที ละบิตไปยังจุดรับแต่เนื่องจากการทางานและการส่ง ข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆภายในเครื่องคอมพิวเตอร์จะใช้ ช่ อ งทางการสื่ อ สาร แบบขนานที่ ป ระกอบด้ ว ยชุ ด ของข้ อ มู ล หลายบิ ต ดั ง นั้ น ที่ จุ ด รั บ จะต้ อ งมี ก ลไกในการ เปลี่ ย นแปลงข้ อมูล ที่รั บ มาที ล ะบิ ตให้ เป็ น ชุดของข้อมูล ที่ล งตัว พอดีกั บขนาด ของช่องทางการสื่ อสารที่ใช้ใ น คอมพิวเตอร์เช่น บิตที่ 1 ลงที่บัส ข้อมูลเส้นที่ 1 เป็นต้น ดังรูปที่ 5-6 การเชื่อมต่อสามารถทาได้โดยใช้สายถ่ายโอน ข้อมูลแลลอนุกรม หรือที่เรียกว่า สายซีเรียล (serial cable) ในปัจจุบันมีการพัฒนาการถ่ายโอนข้อมูลแบบนุกรม ความเร็วสูงโดยใช้การเชื่อม ต่อแบบยูเอสบี ตัวอย่างการเชื่อมต่อแบบอนุกรมกับอุปกรณ์ต่างๆ ดังรูปที่ 5-7
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 141
หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 5: เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
ภาพที่ 5-6 การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม
ภาพที่ 5-7 ตัวอย่างการเชื่อมต่อแบบอนุกรมกับอุปกรณ์ต่างๆ
ชนิดของการสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับกับผู้ส่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท 1. การสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว (Simplex Transmission) เป็นการติดต่อสื่อสารเพียงทิศทางเดียว คือผู้ ส่งจะส่งข้อมูลเพียงฝั่งเดียวและโดยฝั่งรับไม่มีการตอบกลับ เช่น การกระจายเสียงของสถานีวิทยุ การส่งอีเมล์ เป็น ต้น
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 142
หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 5: เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
ภาพที่ 5-8 แสดงการสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว 2. การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน (Half Duplex Transmission) เป็นการสื่อสาร 2 ทิศทางแต่คน ละเวลากัน เช่น วิทยุสื่อสาร เป็นต้น
ภาพที่ 5-9 แสดงการสื่อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน 3. การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน (Full Duplex Transmission) เป็นการสื่อสาร 2 ทิศทาง โดย สามารถส่งข้อมูลในเวลาเดียวกันได้ เช่น การคุยโทรศัพท์ เป็นต้น
ภาพที่ 5-10 แสดงการสื่อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน
สื่อกลาง (Media) สื่อกลาง หมายถึง ตังกลางที่ทาหน้าที่ส่งผ่านข้อมูล ข่าวสารจากฝั่งผู้ส่งไปยังผู้รับ สื่อที่ใช้ส่งข้อมูลในระบบ เครือข่าย แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ สื่อกลางที่กาหนดเส้นทางได้ (Guided media) หรือระบบใช้สาย (Wired system) สัญญาณที่มีใช้ อยู่ในปัจจุบันได้แก่
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 143
หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 5: เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
1. Twisted Pair (สายคู่ตีเกลียว) สายคู่ตีเกลียวแบ่งออกเป็นสายคู่ตีเกลียวไม่หุ้มฉนวนเรียกสั้นๆ ว่า UTP (Unshielded Twisted Pair) และสายคู่ตีเกลียวหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair) - UTP (Unshielded Twisted Pair) คู่สายในสายคู่ตีเกลียวไม่หุ้มฉนวนคล้ายสายโทรศัพท์ มี หลายเส้น ซึ่งแต่ละเส้นก็จะมีสีแตกต่างไปและตลอดทั้งสายนั้นจะถูกหุ้มด้วยพลาสติก(Plastic Cover) ซึ่งการตี เกลียวลักษณะนี้จะช่วยให้มันมีคุณสมบัติในการป้องกันสัญญาณรบกวนจากอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นๆ เช่น จากเครื่องถ่าย เอกสารที่อยู่ใกล้ๆ เป็นต้น ปัจจุบันเป็นสายที่ได้รับความนิยมมากที่สุด เนื่องจากราคาถูกและติดตั้งได้ง่าย
ภาพที่ 5-11 UTP (Unshielded Twisted Pair) - STP (Shield Twisted Pair) เป็นสายคู่ลักษณะคล้ายกันกับสาย UTP แต่มีฉนวนป้องกัน สัญญาณรบกวน สายคู่ตีเกลียวหุ้มฉนวนที่เป็นโลหะถักเป็นร่างแหโลหะหรือฟอยส์ ซึ่งร่างแหนี้จะมีคุณสมบัติเป็น เกราะในการป้องกันสัญญาณรบกวนต่างๆ ภาษาเทคนิคเรียกเกราะนี้ว่า ชิลด์ (Shield) จะใช้ในกรณีที่เชื่อมต่อเป็น ระยะทางไกลเกินกว่าระยะทางที่จะใช้สาย UTP
ภาพที่ 5-12 สายคู่ตเี กลียวหุ้มฉนวน Shield Twisted Pair 2. สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) ลักษณะแกนกลางของสายโคแอกเชียลเป็นทองแดงแล้วหุ้มด้วย พลาสติกส่วนชั้นนอกหุ้มด้วยโลหะหรือฟอยล์ที่ถักเป็นร่างแหเพื่อป้องกันสัญญาณรบกวน สายโคแอกเชียล มี 2 แบบ คือ แบบหนา (thick) และแบบบาง (thin) ส่วนใหญ่ใช้กับระบบเครือข่ายแบบ Ethernet แบบเดิม ซึ่ง
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 144
หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 5: เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
ใช้เชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงไม่ต้องใช้อุปกรณ์รวมสาย (Hub) แต่ในปัจจุบันมีการใช้น้อยลง เนื่องจากถูกแทนที่ด้วยสาย UTP ที่มีราคาถูกกว่าและสามารถติดตั้งได้ง่ายกว่า
ภาพที่ 5-13 สายโคแอกเชียล 3. ใยแก้วนาแสง (Fiber-Optic) ลักษณะใยแก้วนาแสงจะส่งสัญญาณแสงวิ่งผ่านท่อแก้วหรือท่อ พลาสติกเล็กๆซึ่งท่อแก้วนี้จะถูกหุ้มด้วยเจลหรือพลาสติก เพื่อป้องกันความเสียหายและการสูญเสียของสัญญาณ มี ข้อดีตรงที่ส่งสัญญาณได้ระยะทางไกลโดยไม่มีสัญญาณรบกวน
ภาพที่ 5-14 ใยแก้วนาแสง สายกลางแบบไร้สาย (Unguided media)
เป็นสื่อกลางประเภทที่ไม่ใช้วัสดุใดๆ ในการนาสัญญาณ ซึ่งจะไม่มีการกาหนดเส้นทางให้สัญญาณเดินทาง เช่น คลื่นไมโครเวฟ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 1. ระบบคลื่นไมโครเวฟ ระบบสื่อสารด้วยคลื่นไมโครเวฟ มักใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่อยู่ในพื้นที่ที่ เชื่อมต่อด้วยสื่อประเภทอื่นลาบาก เช่น มีแม่น้าขวางกั้นอยู่ หรือการสื่อสารข้ามอาคาร เป็นต้น การส่งสัญญาณ ข้อมูลไปกับคลื่นไมโครเวฟเป็นการส่งสัญญาณข้อมูลแบบรับช่วงต่อๆ กันจากสถานีรับส่งสัญญาณหนึ่งไปยังอีก สถานีหนึ่ง โดยสามารถเกิดสัญญาณรบกวน ซึ่งสภาพดินฟ้าอากาศมีผลต่อการส่งคลื่นไมโครเวฟพอสมควร เช่นถ้า เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 145
หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 5: เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
สภาพอากาศมีฝนหรือควันมาก สัญญาณไมโครเวฟจะถูกรบกวนได้ ด้วยเหตุนี้ทาให้เครื่องส่งรับไมโครเวฟส่วน ใหญ่จะถูกออกแบบมาให้ทางานในสภาพอากาศต่างๆ ที่แตกต่างกัน
ภาพที่ 5-15 ระบบคลื่นไมโครเวฟ 2. ระบบดาวเทียม การสื่อสารผ่านดาวเทียมเป็นการสื่อสารที่สถานีรับ -ส่งที่อยู่บนพื้นดิน ส่งตรงไปยัง ดาวเทียมแล้วส่งกลับมายังตัวรับปลายทางที่พื้นดินอีกครั้งหนึ่ง ลักษณะการสื่อสารระบบดาวเทียมเหมาะสาหรับ การติดต่อสื่อสารระยะไกลที่ระบบสื่อสารอื่นๆ เข้าถึงลาบาก เช่น เดินเรืออยู่กลางทะเล
ภาพที่ 5-15 ระบบดาวเทียม สัญญาณรบกวนและสภาพดินฟ้าอากาศก็นับว่ามีผลต่อการส่งข้อมูลจากสถานีพื้นโลกกับดาวเทียมอยู่ พอสมควร เพราะว่าสภาพอากาศที่แปรปรวนจะรบกวนสัญญาณให้ผิดเพี้ยนไปได้ โดยส่วนใหญ่ดาวเทียมจะถูก ออกแบบมาให้ชดเชยการรบกวนของสภาพอากาศที่แปรปรวนเหล่านั้นเช่น ฝน หรือหมอก เป็นต้น
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 146
หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 5: เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
ประเภทการสือ่ สารข้อมูล นักวิชาการด้านการสื่อสารมวลชน ได้จาแนกประเภทของการสื่อสารไว้แตกต่างกันหลายลักษณะ ทั้งนี้ขึ้นอยู่ กับว่าจะใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการจาแนก (ปรมะ สตะเวทิน 2526 : 18 - 48 ) ในที่นี้จะแสดงการจาแนกประเภท ของการสื่อสาร โดยอาศัยเกณฑ์ในการจาแนกที่สาคัญ 3 ประการ คือ 1. จาแนกตามกระบวนการหรือการไหลของข่าวสาร 2. จาแนกตามภาษาสัญลักษณ์ที่แสดงออก 3. จาแนกตามจานวนผู้สื่อสาร จาแนกตามกระบวนการหรือการไหลของข่าวสาร แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
1) การสื่อสารทางเดียว (One-Way Communication) คือการสื่อสารที่ข่าวสารจะถูกส่งจากผู้ส่งไปยัง ผู้รับในทิศทางเดียว โดยไม่มีการตอบโต้กลับจากฝ่ายผู้รับ เช่น การสื่อสารผ่านสื่อ วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ การ ออกคาสั่งหรือมอบหมายงานโดย ฝ่ายผู้รับไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็น ซึ่งผู้รับอาจไม่เข้าใจข่าวสาร หรือเข้าใจไม่ ถูกต้องตามเจตนาของผู้ส่งและทางฝ่ายผู้ส่งเมื่อไม่ทราบปฏิกิริยาของผู้รับจึง ไม่อาจปรับการสื่อสารให้เหมาะสมได้ การสื่อสารแบบนี้สามารถทาได้รวดเร็วจึงเหมาะสาหรับการสื่อสารในเรื่องที่เข้าใจง่าย ในสถานการณ์ของการสื่อสารบางอย่าง มีความจาเป็นต้องใช้การสื่อสารทางเดียว แม้ว่าเรื่องราวที่สื่อสาร จะมีความซับซ้อนก็ตาม เช่น กรณีผู้รับและผู้ส่งไม่อาจพบปะ หรือติดต่อสื่อสารกันได้โดยตรง การสื่อสารแบบกลุ่ม ใหญ่ และการสื่อสารมวลชนซึ่งไม่อาจทราบผู้รับที่แน่นอน 2) การสื่อสารสองทาง (Two-way Communication) คือการสื่อสารที่มีการส่งข่าวสารตอบกลับไปมา ระหว่างผู้สื่อสาร ดังนั้นผู้สื่อสารแต่ละฝ่ายจึงเป็นทั้งผู้ส่งและผู้รับในขณะเดียวกัน ผู้สื่อสารมีโอกาสทราบปฏิกิริยา ตอบสนองระหว่างกัน ทาให้ทราบผลของการสื่อสารว่าบรรลุจุดประสงค์หรือไม่ และช่วยให้สามารถปรับพฤติกรรม ในการสื่อสารให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ตัวอย่างการสื่อสารแบบสองทาง เช่น การพบปะพูดคุยกั น การพูด โทรศัพท์ การออกคาสั่งหรือมอบหมายงานโดยฝ่ายรับมีโอกาสแสดงความคิดเห็น การสื่อสารแบบนี้จึงมีโอกาส ประสบผลสาเร็จได้มากกว่า แต่ถ้าเรื่องราวที่จะสื่อสารเป็นเรื่องง่าย อาจทาให้เสียเวลาโดยไม่จาเป็น ในสถานการณ์ของการสื่อสารบางอย่าง เช่น ในการสื่อสารมวลชน ซึ่งโดยปกติมีลักษณะเป็นการสื่อสาร ทางเดีย ว นั กสื่ อสารมวลชนก็มีความพยายามที่จะทาให้ มีการสื่ อสาร 2 ทางเกิดขึ้น โดยการให้ ประชาชนส่ ง จดหมาย โทรศัพท์ ตอบแบบสอบถาม กลับไปยังองค์กรสื่อมวลชน เพื่อนาผลไปปรับปรุงการสื่อสารให้บรรลุผล สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 147
หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 5: เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
จาแนกตามภาษาสัญลักษณ์ที่แสดงออก แบ่งเป็น
1) การสื่อสารเชิงวัจนะ (Verbal Communication) หมายถึงการสื่อสารด้วยการใช้ภาษาพูด หรือเขียน เป็นคาพูด ในการสื่อสาร 2) การสื่อสารเชิงอวัจนะ (Non-Verbal Communication) หมายถึงการสื่อสารโดยใช้รหัสสัญญาณ อย่างอื่น เช่น ภาษาท่าทาง การแสดงออกทางใบหน้า สายตา ตลอดจนถึงน้าเสียง ระดับเสียง ความเร็วในการพูด เป็นต้น (ปรมะ สตะเวทิน 2529 : จาแนกตามจานวนผู้สื่อสาร กิจกรรมต่างๆ ของบุคคลและสังคม ถือว่าเป็นผลมาจากการสื่อสารทั้งสิ้น
ดั ง นั้ น การสื่ อ สารจึ ง มี ข อบข่ า ยครอบคลุ ม ลั ก ษณะการสื่ อ สารของมนุ ษ ย์ 3 ลั ก ษณะคื อ (อรุ ณี ป ระภา หอม เศรษฐี 2530 : 49-90) - การสื่อสารส่วนบุคคล (Intrapersonal Communication) - การสื่อสารระหว่างบุคคล (Interpersonal Communication) - การสื่อสารมวลชน (Mass Communication)
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 148
หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 5: เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
ใบงาน บทที่ 5 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล 1. 2. 3. 4. 5.
การสื่อสารและการสื่อสารข้อมูล หมายความว่าอย่างไร ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูล มีอะไรบ้าง อธิบายพอสังเขป รูปแบบของการส่งสัญญาณข้อมูล มีอะไรบ้าง มีความแตกต่างอย่างไร จงบอกความแตกต่าง ของสื่อกลาง พร้อมอธิบาย เปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของสัญญาณแอนะล็อกกับสัญญาณดิจิทัล
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 149