บทที่ 8 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.pdf

Page 1

หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่

บทที่ 8: เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

บทที่ 8 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายการบริการโมบายบรอดแบนด์ได้ 2. บอกความเร็วในการรับส่งข้อมูลของโมบายบรอดแบนด์แบบต่างๆได้ 3. บอกลักษณะเด่นของระบบคลาวด์ได้ 4. อธิบายส่วนประกอบของคลาวด์คอมพิวติ้งได้ 5. อธิบายหลักการของ ยูนิไฟล์ คอมมิวนิเคชั่น 6. บอกความหมายของเมทาดาต้าได้ 7. บอกประโยชน์ของเสิร์ชเอ็นจินได้ 8. อธิบายการทางานของเสิร์ชเอ็นจินได้ 9. บอกความหมายของ Social Network ได้ 10. บอกความหมายของ Social Computing ได้

บทนา แนวคิดการใช้งานทางด้านไอทีที่ใช้วิธีดึงพลังและสมรรถนะจากคอมพิวเตอร์หลาย ๆ ตัวจากต่างสถานที่ ให้มาทางานสอดประสานกันเพื่อช่วยขับเคลื่อนการบริการทาง ด้านไอที ประโยชน์ของคลาวด์ คอมพิวติ้งมีอยู่ หลายประการ เช่น ช่วยให้การนาไอทีไปประยุกต์ใช้ในเชิงธุรกิจทาได้ง่ายและประหยัดขึ้นกว่าใน อดีต โดยองค์กร สามารถใช้บริการทางด้านไอทีได้ โดยไม่จาเป็นต้องลงทุนมากมายกับโครงสร้างพื้นฐานไอทีของตน อีกทั้งผู้ใช้งานก็ สามารถเลือกใช้บริการเฉพาะอย่างและเลือกเสียค่าใช้จ่าย ให้ตรงกับความต้องการเฉพาะด้านหรือสอดคล้องกับ งบประมาณของตนได้

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 201


หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่

บทที่ 8: เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

โมบายบรอดแบนด์ ทางทีโอที เปิดบริการ 3G อย่างเป็นทางการแล้วส่วนเรื่องการเปิดประมูลความถี่ 3G ที่เหลือนั้น และ ในขณะที่ผมเขียนบทความนี้อยู่ ก็ได้กาหนดว่าจะมีการประมูลกันในเดือน มี.ค. ปี '53 นี้ ก็หวังว่า ประเทศไทยเรา คงจะได้ใช้งานระบบ3G กันเสียทีนะครับ เพราะเราก็รอกันมานานแล้วเหมือนกัน และกลายเป็นประเทศสุดท้ายใน แถบนี้ที่ได้มีระบบนี้ใช้งานกัน และในวันนี้ ผมจะขอชวนท่านผู้อ่านมาคุยถึงบริการตัวหนึ่งของเทคโนโลยี 3G ที่ใช้งานกันแพร่หลายเป็น ที่นิยมกันมากทั่วโลก และหากจะว่าไปแล้ว ผมว่าบริการตัวนี้แหละที่จะเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติมากที่สุดทั้ง ในแง่การศึกษา การสื่อสาร และอื่นๆมากมาย บริการที่ว่านี้ก็คือ บริการ Mobile Broadband หรืออินเทอร์เน็ต ความเร็วสูง เคลื่อนที่นั่นเองครับ ซึ่งบริการตัวนี้นั้น ไม่จาเป็นว่าต้องเป็นบริการจากเครือข่าย 3G หรือ WCDMA ที่ กาลังกล่าวถึงอย่างเดียวหรอกครับ บริการ 3G อย่างที่ทางCAT CDMA หรือ Hutch ได้ให้บริการอยู่อย่างCDMA 1x-EVDO ก็เป็นบริการ Mobile Broadband ได้เช่นเดียวกับเทคโนโลยี WiMAX เช่นกันครับ แต่ที่พูดถึงกันมาก ทั่วโลกก็คือ Mobile Broadband ที่มาจากระบบ 3G WCDMA ครับ เพราะความนิยมที่มากกว่ามากและแนวโน้ม การพัฒนาที่เป็นไปอย่างรวดเร็วครับการพัฒนาของเทคโนโลยีสาย GSM WCDMA เมื่อกล่าวถึงการพัฒนาของเทคโนโลยีไร้สายแล้ว ก็คงต้องยอมรับกันว่า การพัฒนาเทคโนโลยีสาย GSMWCDMA มีการพัฒนาที่ต่อเนื่องยาวนาน อีกทั้งยังรวดเร็วอีกด้วย ซึ่งเมื่อพูดถึงเทคโนโลยี 2G หรือ 3G ก็ตาม ก็ มักจะอ้างอิงกับเทคโนโลยีสายนี้เป็นหลักครับ ก็จะขอเล่าคร่าวๆเกี่ยวกับเทคโนโลยีสายนี้สักนิดนะครับ เมื่อเราเริ่มยุคของดิจิตอลในโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่งเป็นยุคที่ 2 หรือ 2G นั้น การใช้งานหลักจะเป็นเรื่องของ การสนทนาด้วยเสียงเท่านั้น ระบบโทรศัพท์เ คลื่อนที่ในขณะนั้นจึงเน้นไปเรื่องของคุณภาพเสียงที่คมชัดเป็นหลัก และได้เกิดเทคโนโลยีขึ้นมาสองกลุ่มก็คือ กลุ่มของ GSM และกลุ่มของ CDMA กลุ่มที่เป็นที่นิยมมากที่สุดก็คือ กลุ่ม GSM ที่มีจุดเริ่มต้นในกลุ่มประเทศยุโรป ในขณะที่ระบบ CDMA นั้น แม้ว่าจะดีกว่าในหลายๆเรื่อง แต่ก็ไม่เป็นที่นิยมเท่ากับระบบ GSM อย่างไรก็ตาม ทั้งสองระบบก็มีการพัฒนาต่อมา เรื่อยๆ ดังนั้น ผมจะขอเน้นที่เทคโนโลยี 2G เป็นหลักนะครับ ส่วนความถี่ 3G ที่กาลังจะประมูลกันนั้น ก็ยึดถือเอา เทคโนโลยีกลุ่ม GSM-WCDMA เป็นหลักเช่นกันครับ เมื่อโลกของระบบดิจิตอลไม่ได้จากัดอยู่ที่การสื่อสารด้วยเสียงเท่านั้น ก็เริ่มที่จะมีการพัฒนาต่อไปยังการ สื่อสารข้อมูลอื่นๆ ซึ่งระบบGSM ในตอนนั้นสามารถที่จะส่งข้อมูลได้เร็วประมาณ 9.6 - 14.4 kbps เท่านั้น ซึ่ง น้อยกว่าการใช้โมเด็มต่อสายเสียอีก และยังเป็นการเชื่อมต่อแบบ Circuit Switch อีกด้วย ส่วนCDMA ก็ได้ ประมาณ 115kbps ก็ดีกว่า แต่เครื่องแพง และระบบไม่แพร่หลายนัก จึงทาให้ต้องมีการพัฒนาเทคโนโลยีกันต่อมา โลกของการสื่อสารข้อมูลเคลื่อนที่กาลังจะเริ่มขึ้น ตัวแรกที่เกิดขึ้นก็คือ HSCSD (High Speed Circuit Switched Data) ซึ่งก็ใช้การสื่อสารข้อมูลแบบ GSM เช่นเดิม แต่ใช้หลายTimeslot เท่านั้น ความเร็วสูงสุดก็คือ 38.4 -57.6 kbps แต่เนื่องจากเทคนิคนี้ ใช้ เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 202


หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่

บทที่ 8: เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ทรัพยากรความถี่ที่มีจากัดได้สิ้นเปลืองมาก จึงไม่ได้รับความนิยม ดังนั้น จึงได้เกิด GPRS (General Packet Radio Service) ขึ้น เป็นการสื่อสารแบบ Packet Switched ซึ่งจะประหยัดทรัพยากรมากกว่า ความเร็วที่ได้จากระบบ GPRS จะอยู่ที่ประมาณ 32-48 kbps ซึ่งก็พอจะเทียบเคียงได้กับโมเด็มที่ต่อผ่าน สายโทรศัพท์ยุคเก่า ที่หลายๆท่านคงจะพอจากันได้นะครับ ที่เวลาต่อดังวิ้งๆๆน่ะครับ ความเร็วระดับ นี้ ก็ได้เริ่มต้น ทาให้การสื่อสารข้อมูลผ่านระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นความจริงขึ้นมา อย่างในประเทศไทยเราตอนนั้นทั้งเอไอเอส ดีแทค ทรูมูฟต่างก็ติดตั้งระบบ GPRS เพิ่มเติมในระบบเดิมและเข้าสู่ยุค 2.5G ทาการขยายจนครอบคลุมทั่ว ประเทศในที่สุด ต่อมาก็มีการพัฒนาเป็นระบบ EDGE (Enhanced Data Rate for GSM Evolution)ซึ่งก็ถือว่าเป็นยุค 2.9G ความเร็วก็ได้ทาการพัฒนาขึ้นจนได้ความเร็วสูงสุดที่ประมาณ 236 kbps และทางประเทศไทยเองก็ได้ติดตั้ง จนได้พื้นที่ที่ครอบคลุมทั่วประเทศและยังคงใช้งานอยู่ทุกวันนี้ (เพราะเราเองก็ยังไม่มีระบบ 3G จริงๆจังๆสัก เท่าไร:) ) ทั้งหมดที่กล่าวมานี้ เป็นระบบที่นับว่ายังอยู่ในยุคของ 2G ซึ่งเทคโนโลยีที่ว่านี้ ได้รับความนิยมเป็นอย่าง มาก ล่าสุดนี้ มีผู้ใช้งานในระบบ GSM นี้ทั้งหมดมากกว่า 3,480 ล้านคนมีประเทศที่เปิดใช้งานระบบ EDGE ทั้งหมด181 ประเทศ เป็นจานวนทั้งสิ้น 443 เครือข่ายนับว่าเป็นระบบที่ประสบความสาเร็จมากที่สุดและทาให้โลก ของเรา จะว่าไปแล้ว ก็เหมือนกับสามารถที่จะเชื่อมต่อกันได้ทั้งโลกด้วยการสื่อสาร และจานวนประชากรของทั้ง โลกมีจานวน 6,797 ล้านคน นับว่าเข้าได้มากกว่า 50% เลยทีเดียวนะครับ เรียกว่าโลกของเรากาลังจะเชื่อมต่อถึง กันได้ทั้งหมดในอีกระยะเวลาไม่นานนี้แล้วนะครับ

คลาวคอมพิวติ้ง แนวความคิดของคลาวด์คอมพิวติ้ง (Cloud computing) เป็นการเข้าใช้บริการจากระบบคอมพิวเตอร์ ผ่านทางการออนไลน์ โดยที่ผู้ใช้บริการไม่จาเป็นต้องรู้ว่ามีทรัพยาการมากน้อยแค่ไหน หรือคอมพิวเตอร์ตั้งอยู่ที่ใด ไม่ต้องสนใจเรื่องการจัดการทรัพยากรโครงสร้างพื้นฐานด้านไอที (IT Infrastructure) นั้นๆ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ ระบบอีเมลฟรีต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น Google Mail (gmail) หรือ Yahoo Mail เป็นต้น คลาวด์คอมพิวติ้ง เป็นลักษณะของระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในรูปแบบของการระจายตามพื้นที่ต่างๆ มีการ เชื่อมต่อกันเป็นระบบคลัสเตอร์ (Cluster Network) ผ่านการจัดสรรทรัพยากรด้วยเทคโนโลยีเวอร์ชวลไลเซชั่น (Virtualization) เพื่อให้ตอบสนองงานบริการต่างๆ ให้รองรับกับจานวนผู้ใช้งานจานวนมากที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว รวมถึงมีระบบการจัดสรรทรัพยากรต่างๆ ให้เหมาะสมกับผู้ใช้บริการประเภทต่างๆได้ด้วย ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด Software as a service (SaaS)

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 203


หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่

บทที่ 8: เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

 ลักษณะเด่นของระบบคลาวด์คอมพิวติ้ง

- Capital expenditure: ประหยัดงบประมาณในการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานด้านไอที - Device and location independence: ไม่จากัดสถานที่ในการใช้งานและอุปกรณ์ แค่สามารถ ออนไลน์เข้าอินเทอร์เน็ตได้ก็สามารถใช้งานคลาวด์คอมพิวติ้งได้เลย - Multi-tenancy: กลุ่มผู้ใช้งานมีความต้องการการใช้งานไม่เท่ากัน ทาให้ประหยัดในการลงทุนเพื่อ จัดซื้ออุปกรณ์ในการใช้งานในคลาวด์คอมพิวติ้ง - สามารถจัดการหรือปรับเปลี่ยนระบบได้ง่าย (Sustainability) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งาน (Performance) หรือประหยัดการใช้งานทรัพยกรต่างๆ โดยไม่ต้องใช้วิศวกรที่มีความสามารถสูง ลดภาระด้านการ จ้างบุคคล - ระบบคลาวด์คอมพิวติ้งจะทาให้ตัวเองกลายเป็นระบบการทางานต่อเนื่องได้ตลอดเวลา แม้เครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่ายจะล่มไปบ้าง - Scalability: ระบบคลาวด์ออกแบบให้รองรับการขยายตัวของระบบได้ง่าย เพื่อรองรับปริมาณและ ความต้องการของผู้รับบริการ - Security: มีระบบการรักษาความปลอดภัย เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถมั่นใจในการใช้งาน - Maintainability: สามารถปรับปรุงระบบหรือซ่อมแซมได้ง่าย เพราะใช้จัดการจากส่วนกลางทั้งหมด  ส่วนประกอบของคลาวด์คอมพิวติ้ง

- Client: อุปกรณ์สาหรับเข้าใช้งานคลาวด์คอมพิวติ้ง เช่น Mobile, Thin Client - Services: บริการต่างๆที่เปิดให้บริการบนคลาวด์คอมพิวติ้ง เช่น Web service - Application: บริการ Software ต่างๆ ที่เปิดให้ใช้งานบนคลาวด์ โดยที่ผู้ใช้บริการไม่จาเป็นต้องลง Software ไว้บนเครื่องของตัวเอง อาจมีการใช้งานรวมกับ Services ด้วย - Infrastructure: โครงสร้างพื้นฐานที่รองรับกับระบบคลาวด์ โดยใช้ร่วมกับเทคโนโลยีเวอร์ชวล ไลเซชั่น (Virtualization) - Platform: เลือกเทคโนโลยีที่จะนามาใช้งาน โดยอาจจะเลือกจาก Open Source หรือ Open System ที่มีหลากหลายในท้องตลาด - Storage: เป็นปัจจัยหลักในการให้บริการ โดยอาจจะให้บริการพื้นที่จัดเก็บข้อมูล หรือรวมไปถึงการ ให้บริการด้านระบบฐานข้อมูลด้วย - Standard: ระบบคลาวด์เป็นระบบที่สร้างจาก Open Source หรือ Open System เป็นหลัก ควร เลือก standard ต่างๆที่สามารถปรับเปลี่ยน หรือโยกย้ายได้ง่าย

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 204


หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่

บทที่ 8: เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

 ผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบคลาวด์คอมพิวติ้ง จาแนกตามบทบาทและหน้าที่

- Provider (ผู้ให้บริการ): ผู้ดูแลและจัดการระบบคลาวด์คอมพิวติ้ง จัดสรรทรัพยากรต่างๆในระบบให้ เกิดการใช้งานอย่างคุ้มค่า รวมถึงคาดเดาความต้องการต่างๆในอนาคตให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ที่เข้ามา ใช้บริการ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ Amazon.com ซึ่งเป็นผู้ให้บริการคลาวด์รายแรก โดยมีจุดเด่นที่ระบบมีความ ง่ายและปรับเปลี่ยนรูปแบบได้อย่างรวดเร็ว และเก็บค่าใช้งานตามจริง - User (ผู้ที่เข้ามาใช้การบริการ): เป็นผู้เช่าใช้ระบบอย่างเดียว ไม่ต้องกาหนดหรือวางแผนเรื่องการ ลงทุนด้านทรัพยากรโครงสร้างพื้นฐานด้านไอที ไม่ต้องกังวลเรื่องการดู แลทรัพยากร เพียงวางแผนและจัดสรรการ ใช้งานให้เพียงพอกับความต้องการหรือจาเป็นต้องใช้งานจริงๆ ทาให้องค์กรประหยัดค่าใช้จ่ายเรื่องไอทีได้มาก - Vendor (เจ้าของผลิตภัณฑ์): ผู้ที่จาหน่ายระบบโครงสร้างต่างๆ ที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานกับคลาวด์ คอมพิวติ้งโดยเฉพาะ เช่น o Computer Hardware เช่น Dell, HP, IBM, SUN Microsystems o Storage เช่น SUN Microsystems, EMC, IBM o Network Infrastructure เช่น CISCO system o Computer Software เช่น 3tera, Hadoop, Q-layer o Operating Systems เช่น Solaris, Linux, AIX o Platform Virtualization เช่น SUN xVM, Citrix, VMware, Microsoft สถาปัตยกรรมโดยสรุปหลักสาคัญคือการนาเอาซอฟต์แวร์ระบบที่รองรับการให้บริการ คลาวด์คอมพิวติ้ง โดยอาศัยฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์มาทางานร่วมกันให้บริการผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต สามารถรองรับกับความ ต้องการและปริมาณของผู้ใช้งานจานวนมากๆ ได้

ยูนิไฟล์ คอมมิวนิเคชั่น (Unified Communication System) การติดต่อสื่อสารในปัจจุบัน สามารถส่งข้อมูลข่าวสารได้หลากหลายรูปแบบ ผ่านอุปกรณ์หลากหลายสื่อ ซึ่งการส่งข้อมูลข่าวสารในแต่ละรูปแบบต่างก็ต้องการอุปกรณ์รับเฉพาะด้าน เช่นการ ส่ง Fax ก็ต้องอาศัยเครื่อง Fax เป็นตัวรับข้อมูล การรับส่ง Email ผ่านคอมพิวเตอร์ หรือการรับข้อความเสียง Voice Mail ผ่านทางอุปกรณ์ โทรศัพท์ที่มีความสามารถในการเก็บข้อมูลได้ ทาให้ การรับข่าวสารแต่ล ะรูป แบบเริ่มมีความยุ่งยากการต่อการรับข้อมูลข่าวสาร โดยเฉพาะปัจจุบัน ผู้ใช้งานไม่ได้ทางานประจาอยู่ที่เดียว มีการเดินทางเพื่อติดต่อลูกค้า การทางานระหว่างสาขา หรือทางานนอก สถานที่ ทาให้การเตรียมพร้อมสาหรับอุปกรณ์รับข้อมูลทุกรูปแบบทาได้ยาก และเกิดการรับข้อมูลข่าวสารที่ล่าช้า ขึ้น จึงได้มีแนวความคิดในการรวมข้อมูลข่าวสารทุกระบบ ให้เป็น หนึ่งเดียว สามารถเชื่อมข้อมูลข่าวสารหลาย

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 205


หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่

บทที่ 8: เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

รูปแบบโดยพัฒนาด้วยการเปลี่ยนข้อมูลให้เป็นรูปแบบของ Digital ซึ่งทาให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลให้เป็นระบบ เดียวกันได้

ภาพที่ 8-1 การติดต่อสื่อสารในปัจจุบัน ปัจจุบันเทคโนโลยีในการติดต่อสื่อสารได้พัฒนาไปอย่างมาก โดยมีการติดต่อสื่อสารหลากหลายรูปแบบที่ นับวันจะยิ่งอานวยความสะดวกสบายให้กับการใช้งานมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการพูดคุยผ่านทางโทรศัพท์ มือถือ การ สนทนาผ่าน Instant Messaging จนถึงการประชุมผ่าน Voice Conference และVideo Conference อีกทั้ง รูปแบบการติดต่อสื่อสารอื่นๆ เช่น การส่งข้อความผ่านทาง Email การส่งข้อมูลFax หรือ Content ต่างๆ ซึ่งได้ พัฒนาในหลากหลายรูปแบบและใช้อุปกรณ์หรือสื่อในการเข้าถึงที่หลากหลาย ซึ่งทาให้ผู้ใช้งานพบกับปัญหาในการ เข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล หรื อ การเปลี่ ย นสถานที่ ใ ช้ ง าน ท าให้ เ กิ ด แนวความคิ ด ในการน ามาผนวกรวม เป็ น unified communication เพื่อรวมการติดต่อสื่อสารของทุกช่องทางเข้าไว้ที่ศูนย์กลาง และผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลการ ติดต่อสื่อสารได้จากทุกช่องทาง โดยปัจจุบันบริษัทต่างๆ เริ่มนาระบบ Unified Messaging System (UMSs) เข้า มาใช้ ง าน โดยระบบนี้ จ ะช่ ว ยท าให้ ผู้ ใ ช้ ง านสามารถจั ด การข้ อ มู ล ข่ า วสารหลายๆ รู ป แบบ ผ่ า นทางการใช้ บริการ Service เดียว ซึ่งสามารถเชื่อมต่อผ่านอุปกรณ์ที่หลากหลาย เช่น ผู้ใช้งานสามารถเช็ค Email และตอบ กลั บ ผ่ า นทางมื อ ถื อ สามารถเช็ ค voice-mail และ fax จาก Notebook ขณะที่ ก าลั ง เดิ น ทางได้ ซึ่ ง จะเสริ ม ประสิทธิภาพในการทางานให้ดียิ่งขึ้น เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 206


หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่

บทที่ 8: เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

 ระบบการสื่อสารแบบครบวงจร

ภาพที่ 8-2 ระบบการสื่อสารแบบครบวงจร Unified Communications เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการสื่อสาร และสถาปัตยกรรมที่เป็นการผนวกรวม แอพพลิเคชั่นด้านเสียง, วีดีโอ, ข้อมูล และระบบเคลื่อนที่เข้าด้วยกันเป็นระบบเดียว ช่วยสร้างประโยชน์ในการ ดาเนินการทางธุรกิจให้มากที่สุด และยกระดับการติดต่อสื่อสารให้สมบูรณ์ สามารถสร้างFlow การทางานและจัด องค์ประกอบของอุปกรณ์ และสื่อให้เป็นอิสระจากกัน ง่ายต่อการใช้งาน Unified Communications และ Unified Messaging ในระบบของ Unified Communication เรามักจะได้ยินคาศัพท์ที่เกี่ยวข้อง 2 คา นั่นคือ Unified Communacations และ Unified Messaging ซึ่งทั้งสองคามีความหมายใกล้เคียงกัน และอาจกล่าวได้ว่า Unified Messaging เป็นส่วนหนึ่งของ Unified Communication แต่มีข้อแตกต่างกันคือ Unified communications เป็นการติดต่อสื่อสารหลากหลายรูปแบบที่เป็นแบบ Real-time โดย คานึงถึงวิธีการและสถานที่ ที่ทาให้ผู้รับสามารถเข้าถึงการติดต่อสื่อสารได้แบบทันที โดยมองที่ผู้ใช้งานเป็นหลัก มากกว่ามองที่ตัวอุปกรณ์สื่อสาร Unified Messaging เป็นระบบที่รวมข้อมูลการติดต่อสื่อสารจากหลายๆแหล่งไว้ด้วยกัน เช่น Email, Voice mail, Fax ซึ่งเปิดให้ผู้รับสามารถเข้ามาเปิดอ่านในภายหลัง เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 207


หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่

บทที่ 8: เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

การบริหารจัดการ เมทาดาต้า Metadata คืออะไร Metadata เป็นศัพท์ทันสมัยสาหรับยุคอินเตอร์เน็ต หมายความถึงขัอมูลที่บอก รายละเอียดของข้อมูล ซึ่งอาจจะเป็นสิ่งของ กิจกรรม คน หรือหน่วยงานก็ได้ ถ้าเราแปรข้อมูลเหล่านี้ให้เป็นรูป ดิจิตอลแล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างจะมีสภาพเหมือนกัน แยกไม่ค่อยออกว่าอะไรเป็นอะไร Metadata คือป้ายหรือฉลาก สาหรับอธิบายว่าข้อมูลแต่ละรายการคืออะไร โดยเราไม่ต้องเสียเวลาเปิดดูก่อน (ตัวอย่าง เช่น กระป๋องนม ที่มี ฉลากภายนอกบอกให้เราทราบว่า สิ่งที่บรรจุอยู่ในกระป๋องเป็นนมผง หรือนมข้นหวาน หรือนมสด ผลิตโดยโรงงาน ใด ผลิตเมื่อไร หมดอายุเมื่อไร ราคาเท่าไร และผลิตเพื่ อผู้บริโภคกลุ่มใด) เช่นเดียวกัน ข้อมูลที่อยู่ในรูปดิจิตอล จาเป็นต้องมีป้ายบอกเพื่อให้เราทราบว่า รายการนี้คือชื่อเรื่องของหนังสือ หรือชื่อภาพยนตร์ที่สร้างจากหนังสือ หรือชื่อเรื่องของหนังสือที่มีผู้แปลเป็นอีกภาษาหนึ่ง สาหรับกรณีที่เป็นชื่อเฉพาะ เช่น ชื่อคน ซึ่งเราพบบ่อยๆในการ สืบค้นจาก www แต่ละครั้งที่แสดงผลมักมีจานวนมากกว่า 1 รายการ และเราต้องเลือกโดยการเดาว่า รายการนี้ น่าจะเป็นเรื่องที่เราต้องการ ด้วยเหตุนี้การสืบค้นสารสนเทศจากอินเตอร์เน็ต โดยเฉพาะจาก www จึงจาเป็นต้อง สร้าง Metadata เพื่อช่วยให้จัดข้อมูลได้ ตามลักษณะเฉพาะที่แท้จริง ของข้อมูลแต่ละรายการ เพื่อนาไปสู่การ สืบค้นที่มีประสิทธิภาพ Metadata แท้ที่จริงคือการวิเคราะห์รายการหนังสือ และวารสารที่ห้องสมุดทั่วโลกปฏิบัติมาตั้งแต่ดึกดา บรรพ์ เพราะส่วนใหญ่การพิมพ์หนังสือ และวารสารไม่ได้พิมพ์อย่างมีมาตรฐาน แม้ว่าเราจะมีมาตรฐานสากลของ ISO อยู่ก็ตาม บรรณารักษ์ถือว่าภารกิจสาคัญคือ การรวบรวมรายการสิ่งพิมพ์ ที่ ปรากฏอยู่หลากหลายรูปแบบ วิเคราะห์และจัดรูปแบบสาหรับสืบค้นง่ายๆ เสียใหม่ ให้มีรายการมาตรฐานที่ประกอบด้วย รายการผู้แต่ง ชื่อเรื่อง และคาสาคัญ ที่จะสื่อให้เราทราบว่า สารสนเทศรายการนั้นคือหนังสือ หรือวารสาร หรือฐานข้อมูล วิธีการของ บรรณารักษ์เป็นมาตรฐานสากล ใช้ได้ผลก็จริง แต่เป็น Metadata ที่มีรายละเอียดมาก เช่น U.S. MARC ค่อนข้าง ยากสาหรับคนทั่วไปที่จะใช้ ปัจจุบันสารสนเทศที่เผยแพร่ในอินเตอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้นทุกที จนกระทั่งหลายคนคิดว่า น่าจะมีวิธีแบบที่บรรณารักษ์ใช้ และสามารถสืบค้นสารสนเทศใน www ได้ถูกต้อง รวดเร็ว โดยไม่ต้องเสียเวลา คัดเลือกว่า รายการที่แสดงผลมากมาย เรื่องใดเป็นบทความวิชาการ บทโฆษณา บทภาพยนตร์ หรือบทวิจารณ์ Dublin Core Metadata Elements ประกอบด้วยรายการ ที่แสดงลักษณะพื้นฐานของสารสนเทศ 15 ข้อ เพื่อให้พัฒนาข้อมูลดิจิตอล และทาดัชนีสาหรับสืบค้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. TITLE ชื่อเรื่อง 2. AUTHOR OR CREATOR ผู้แต่ง หรือ เจ้าของงาน 3. SUBJECT OR KEYWORDS หัวเรื่อง หรือ คาสาคัญ 4. DESCRIPTION ลักษณะ 5. PUBLISHER สานักพิมพ์ 6. OTHER CONTRIBUTORS ผู้ร่วมงาน เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 208


หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่

บทที่ 8: เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

7. DATE ปี 8. RESOURCE TYPE ประเภท 9. FORMAT รูปแบบ 10. RESOURCE IDENTIFIER รหัส 11. SOURCE ต้นฉบับ 12. LANGUAGE ภาษา 13. RELATION เรื่องที่เกี่ยวข้อง 14. COVERAGE สถานที่และเวลา 15. RIGHT MANAGEMENT สิทธิ ศสท. ได้รับเชิญเป็นผู้แทนหน่วยงานไทยเข้าร่วม Dublin Core Metadata Initiative ซึ่งผู้แทนจาก ประเทศต่างๆ นัดประชุมทุกปี เพื่อปรับปรุงรายละเอียดการจัดทาข้อมูลหลายภาษา ให้มีมาตรฐานเดียวกัน โปรด ติดตามความคืบหน้าของ Dublin Core จาก http://dublincore.org

เทคโนโลยีของเสิร์ชเอ็นจิน เสิร์ ชเอนจิ น (search engine) คือ โปรแกรมที่ ช่ว ยในการสื บค้น หาข้อ มูล โดยเฉพาะข้ อมูล บน อินเทอร์เน็ตโดยครอบคลุมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่น ๆ ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่โปรแกรมหรือผู้ให้บริการแต่ละราย. เสิร์ชเอนจินส่วนใหญ่จะค้นหาข้อมูลจาก คาสาคัญ (คีย์เวิร์ด) ที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไป จากนั้นก็จะแสดงรายการผลลัพธ์ที่มันคิดว่าผู้ใช้น่าจะต้องการขึ้นมา ใน ปัจจุบัน เสิร์ชเอนจินบางตัว เช่น กูเกิล จะบันทึกประวัติก ารค้นหาและการเลือกผลลัพธ์ของผู้ใช้ไว้ด้วย และจะนา ประวัติที่บันทึกไว้นั้น มาช่วยกรองผลลัพธ์ในการค้นหาครั้งต่อ ๆ ไป สัดส่วนของผู้ใช้ในสหรัฐอเมริกา (ข้อมูลจาก นิตยสารฟอรบส์ ฉบับวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2548) 1. กูเกิล ( Google ) 36.9% 2. ยาฮูเสิร์ช (Yahoo! Search) 30.4% 3. เอ็มเอสเอ็นเสิร์ช (MSN Search) 15.7% นอกจากด้านบน เว็บอื่น ๆ ที่เป็นที่นิยมได้แก่ - เอโอแอล (AOL Search) - อาส์ก (Ask) - เอ 9 (A9) - ไป่ตู้ (Baidu) เสิร์ชเอนจิน อันดับ 1 ของประเทศจีน เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 209


หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่

บทที่ 8: เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ประโยชน์ของการค้นข้อมูลโดยใช้ search engine 1. ค้นหาเว็บที่ต้องการได้สะดวก รวดเร็ว 2. สามารถค้นหาแบบเจาะลึกได้ ไม่ว่าจะเป็น รูปภาพ, ข่าว, MP3 และอื่นๆ อีกมากมาย 3. สามารถค้นหาจากเว็บไซต์เฉพาะทาง ที่มีการจัดทาไว้ เช่น download.com เว็บไซต์ เกี่ยวกับข้อมูลและซอร์ฟแวร์ เป็นต้น 4. มีความหลากหลายในการค้นหาข้อมูล 5. รองรับการค้นหา ภาษาไทย พื้นฐานการใช้งาน Search ส่วน ค้นหาข้อมูล (Search) เป็นเครื่องมือที่ช่วยอานวยความสะดวกในการค้นหาข้อมูล สาหรับผู้ใช้ที่มี เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่แน่นอนว่าต้องการทราบข้อมูล เกี่ยวข้องกับเรื่องใด แต่ไม่รู้ว่าข้อมูลดังกล่าวอยู่ใน ส่วนใด และไม่ต้องการเสียเวลาค้นหาข้อมูลจากเว็บเพจหรือเว็บไซต์จานวนมาก ซึ่งในบางครั้งก็ยังไม่พบข้อมูลอีก ด้วย โดยโปรแกรมค้นหาข้อมูลจะจัดกลุ่มขอ้มูลที่เกี่ยวข้องหรือตรงกับ Keyword ที่ผู้ใช้ป้อน แล้วแสดงผลลัพธ์ เป็นรายการผลการค้นหา (Search Engine Results Pages : SERP) ออกมาให้ผู้ใช้เลือกเข้าไปชมข้อมูลตามที่ ต้องการ โดย ทั่วไป หากกล่ าวถึงเครื่ องมือค้นหาข้อมูล (Search Engine) แล้ ว ผู้ อ่านคงจะนึกถึง Search Engine เช่น Google, Yahoo หรือ MSN เท่านั้น แต่ในความเป็นจริงแล้ว Search Engine ยังสามารถจาแนก ตามวิธีการค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์ออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้  Internal Search Engine หรือ “Site Search” เป็นเครื่องมือค้นหาข้อมูลที่อยู่ภายในไซต์นั้น

โดยเฉพาะ ยกตัวอย่างเช่น E-Bay ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่เสนอขายสินค้าจากทั่วทุกมุมโลก ผู้ชมสามารถค้นหารายการ สินค้าโดยพิมพ์ Keyword ที่ต้องการลงในช่องป้อนข้อมูล เช่น ต้องการค้นหาต่างหูก็พิมพ์คาว่า “earring”เมื่อ กดปุ่ ม Search โปรแกรมจะประมวลผลรายการค าศั พ ท์ จ ากดั ช นี ค าศั พ ท์ ใ นฐานข้ อ มู ล ที่ ต รงกั บ ค า ว่า “earring” ออกมาแสดงผล  Internal Search Engine มักจะนามาใช้งานกรณีที่เป็นเว็บไซต์เสนอขายสินค้า และมีรายการ

สินค้าแยกย่อยหลายชนิดจนไม่สามารถแสดงผลให้อยู่ในเว็บเพจเพียง หน้าเดียวได้ ยกตัวอย่างเช่น นาฬิกาข้อมือ ที่มี ห ลายยี่ ห้ อ (Brand Name) และแต่ ล ะยี่ ห้ อ ก็ ยั ง จ าแนกออกเป็ น รุ่ นต่ า งๆ อี ก ลั ก ษณะเช่ น นี้ส ามารถ สร้าง Search Engine ภายในหน้าเว็บให้ผู้ใช้ป้อนข้อมูล อาจเป็นชื่อยี่ห้อหรือรุ่นโดยเฉพาะเพื่อจากัดกลุ่มรายการ สินค้าที่ต้องการ ค้นหาได้

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 210


หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่

บทที่ 8: เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

 External Search Engine หรือ “Web Search” เป็นเครื่องมือค้นหาข้อมูลที่อยู่ภายนอก

เว็ บ ไซต์ หรื อ เป็ น เว็ บ ที่ ค้ น หาข้ อ มู ล โดยเฉพาะซึ่ ง สามารถจ าแนกข้ อ มู ล ที่ ต้ อ งการค้ น หา ออกเป็ น ประเภท ต่างๆ เช่น ค้นหาเว็บ รู ปภาพ หรือข่าวสาร เป็นต้น External Search Engine จะใช้หลักการทางาน เช่นเดียวกับ Internal Search Engine แต่ต่างกันตรงที่ฐานข้อมูลที่ใช้จัดเก็บดัชนีเพื่อตรวจสอบกับ Keyword จะ มีขนาดใหญ่กว่า เนื่องจากฐานข้อมูลนอกจากจะใช้จัดเก็บดัชนีคาศัพท์แล้ว จะต้องเก็บชื่อ URL หรือตาแหน่งที่ จัดเก็บเพจนั้นไว้ด้วย เมื่อผู้ชมป้อน Keyword เข้ามา โปรแกรมจะทาการประมวลผลและแสดงข้อความเชื่อมโยง พร้อมทั้ง URL ของเว็บเพจที่ต้องการเชื่อมโยงไปถึง ได้แก่ Google, Yahoo และ MSN Search สาหรับ หน้า SERP ของ Search Engine ทั้ง 2 ประเภท จะประกอบด้วย รายงานผลสรุปของจานวน ข้อมูลที่ค้นหาได้ และรายการเชื่อมโยงที่ค้นหาได้ทั้งหมด (กรณีที่มีข้อมูล จานวนมาก) เรียงลาดับต่อเนื่องกัน ไป แต่หากเป็น SERP ของ External Search Engine จะแสดง URL ที่ข้อความเชื่อมโยงถึงด้วย เพราะเป็นการ ค้นหาภายนอกไซต์ ส่วน Internal Search Engine เป็นการค้นหาภายในไซต์จึงไม่จาเป็นต้องแสดง URL นอก จากนี้หากเปรียบเทียบประสิทธิภาพการค้นหาข้อมูลของ Search Engine ทั้งสองประเภทแล้ว จะ พบว่า External Search Engine สามารถช่วยผู้ใช้ค้นหาข้อมูลได้ประสบความสาเร็จมากกว่า ด้วยคุณสมบัติ ความง่ายในการเรียนรู้และง่ายต่อการใช้งานนั่นเอง ผู้อ่านลองสังเกตว่าExternal Search Engine ที่ได้รับความ นิยมอย่างมาก เช่น Google จะไม่เน้นการออกแบบส่วนอินเตอร์เฟส (Interface) ให้มีความสวยงามหรือมีภาพ กราฟฟิกมากนัก แต่มุ่งเน้นด้านประโยชน์ใช้สอย ดังนั้นหน้าเว็บจึงประกอบด้วยเครื่องมือที่จาเป็นต่อการค้นหา ข้ อ มู ล เท่ า นั้ น เช่ น ช่ อ งป้ อ นข้ อ มู ล ปุ่ ม กดค้ น หา และตั ง เลื อ กประเภทการค้ น หา เป็ น ต้ น การจั ด วาง องค์ประกอบของเครื่องมือเท่าที่จาเป็นต้องใช้งาน จะทาให้ผู้ชมไม่ต้องเสียเวลาเพื่อเรียนรู้การใช้งานเครื่องมือแต่ ละตัวมาก นัก ในขณะที่การออกแบบ Internal Search Engine จะเป็นการออกแบบตามสไตล์ของนักพัฒนาเว็บแต่ละ คน ดังนั้ น รู ป แบบอิน เตอร์ เฟส ตาแหน่ งการจัดวาง และวิ ธีการใช้งานเครื่องมือจึง แตกต่า งกันไป ซึ่งส่ ว น อินเตอร์เฟสที่เปลี่ยนไปของแต่ละเว็บไซต์ ทาให้ผู้ใช้ต้องเสียเวลาค้นหา (เมื่อตาแหน่งการจัดวางเปลี่ยนไป) และ เสียเวลาเรียนรู้องค์ประกอบนั้น (เมื่อมีทางเลือกในการค้นหาเพิ่มเติม) เนื่องจากผู้ใช้มักคุ้นเคยกับอินเตอร์เฟส ของ External Search Engine และคาดหวังว่าส่วนค้นหาข้อมูลแบบ Internal Search Engine ก็ควรจะมี ลักษณะเช่นเดียวกัน ดังนั้นหลักการออกแบบ Internal Search Engine ที่ดี สิ่งสาคัญประการแรก คือ ต้องมีลักษณะ อินเตอร์เฟสตรงตามความคาดหวังของผู้ใช้ นั่นคือ ต้องสอดคล้องกับส่วนอินเตอร์เฟสของExternal Search Engine ยกตัวอย่างเช่น ประกอบด้วยช่องป้อนข้อมูล ปุ่มกดค้นหา ป้ายคาอธิบาย รวมถึงตาแหน่งการจัดวาง ด้วย ซึ่งการออกแบบส่วนประกอบดังกล่าวจะได้อธิบายในหัวข้อถัดไป เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 211


หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่

บทที่ 8: เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

การทางานของ Search engine บริการค้นหาเวบเพจที่มีอยู่ในปัจจุบันเช่น AltaVista, Lycos, Yahoo, HotBot, InfoSeek ฯลฯ ซึ่งเรา มักเรียกโดยรวมทั้งหมดว่าเป็นเสิร์ชเอ็นจินนั้น แท้ที่จริงแล้วมีบางแห่งมีที่ทางานด้วยโดยใช้เสิร์ชเอ็นจิน และบาง แห่ งทางานด้ว ยวิธีเก็ บ เว็บ เพจไว้ เป็ น ไดเรคทอรี ซึ่ งมีค วามแตกต่ างกันโดยหลั กพื้นฐานการสร้างดัช นีชี้เวบ เพจ ไดเรคเทอรีมีการทางานที่แตกต่างกับเสิร์ชเอ็นจิน คือใช้การปรับเพิ่มข้อมูลโดยผู้ดูแลระบบเองโดยไม่ได้ทา อย่างอัตโนมัติ หากเวบไซต์ใดที่ต้องการมีรายชื่อในไดเรคเทอรีก็ต้องติดต่อไปยังผู้ดูแลไดเรคเทอรี เพื่อให้ผู้ดู แล จาแนกและจัดเก็บลงในฐานข้อมูล ระบบการเก็บแบบไดเรคเทอรีอาจให้ผลลัพธ์การค้นหาข้อมูลที่ตรงประเด็น มากกว่าเสิร์ชเอ็นจิน เพราะผ่านการแยกหมวดหมู่เองเพื่อให้สามารถค้นหาได้โดยตรง ตัวอย่างของบริการค้นหาที่ ใช้ระบบไดเรคเทอรีได้แก่ Yahoo! สาหรับเสิร์ชเอ็นจินโดยความหมายที่แท้จริงแล้วเป็นระบบซอฟต์แวร์ที่คอยอ่านข้อมูลแต่ละหน้าหรือเวบ เพจจากเวบไซต์ต่างๆโดยอัตโนมัติ จากนั้นจึงนาเวบเพจที่อ่านได้มาทาดัชนี เสิร์ชเอ็นจินจะตรวจสอบลิงค์ในแต่ละ หน้าของเวบเพจเพื่อเข้าไปอ่านเวบเพจเพื่อทาดัชนีต่อไปอีก ตัวอย่างของเสิร์ชเอ็นจินนี้ได้แก่ Alta Vista หรือ HotBot เป็นต้น ภายในของเสิร์ชเอ็นจิน โครงสร้างภายในของเสิร์ชเอ็นจินสามารถแบ่งออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ เสิร์ชเอ็นจิน = สไปเดอร์ + อินเด็กเซอร์ + เสิร์ชเอ็นจินซอฟต์แวร์

ภาพที่ 8-3 ภายในของเสิร์ชเอ็นจิน

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 212


หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่

บทที่ 8: เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

 สไปเดอร์ หรืออาจเรียกในชื่ออื่นว่า โรบอต หรือ ครอเลอร์ (Crawler) ทาหน้าที่อ่านเวบเพจในแต่ละ

เวบไซต์ แล้วตรวจสอบลิงค์เพื่อเชื่อมไปยังเวบไซต์อื่นๆ เวบเพจที่อ่านมาได้นั้นจะถูกส่งไปยังอินเด็กเซอร์ต่อไป สไป เดอร์อาจจะกลับมาอ่านเวบเพจเดิมซ้าว่ามีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ 1. สร้างคิวของเวบเพจ ที่ต้องการจะทาดัชนีโดยในคิวนั้นเริ่มต้นมีอย่างน้อยที่สุดหนึ่งเวบเพจ 2. เลือกเวบเพจขึ้นมาจากคิวหนึ่งเวบเพจ 3. อ่านข้อมูลจากเวบเพจที่เลือกขึ้นมาจากขั้นที่ 2 แล้ววิเคราะห์ว่ามีลิงค์เชื่อมไปยังเวบเพจอื่นใดบ้าง จากนัน้ ให้เพิ่มลิงค์ของเวบเพจลงคิว 4. เก็บข้อมูลจากเวบเพจโดยจัดเก็บคาที่กาหนดด้วยคาสั่ง title หรืออื่นๆเข้าสู่ฐานข้อมูล 5. กลับไปยังขั้นที่ 2 นอกจาก สไปเดอร์ จะทางานหาลิงค์เพิ่มโดยอัตโนมัตแล้ว เสิร์ชเอ็นจินส่วนใหญ่อนุญาตให้ส่ง URL เพื่อ กาหนดให้สไปเดอร์มาทาดัชนีที่เวบไซต์ใดๆได้ ในปัจจุบันมีบริการที่จะส่ง URL ไปเสิร์ชเอ็นจิน หลายๆแห่งพร้อม กันในคราวเดียวเช่นที่ www.submit-it.com  อินเด็กเซอร์ จะรับข้อมูลจากสไปเดอร์มาทาดัชนี เทคนิคการทาดัชนีมักใช้การจัดเก็บแบบแฮชชิง

เพื่อที่ช่วยให้ค้นหาข้อมูลได้สามารถค้นหาได้อย่างรวดเร็ว ขั้นตอนการทางานของอินเด็กเซอร์แบ่งออกได้เป็น 3 ขั้นตอนหลักดังรูปที่ 2 คือ กรองคาด้วยฟิล เตอร์ เนื่ องจากไฟล์ ที่ทาดัช นีอาจไม่เป็น HTML หรือไฟล์แอสกี ดังนั้นฟิล เตอร์จะ ตรวจสอบไฟล์ที่ได้ว่าเป็นไฟล์ชนิดใดสามารถนามาทาดัชนีได้หรือไม่ ถ้าได้ก็จะส่งต่อสู่ภาคการแยกคาต่อไป เสิร์ช เอ็นจินบางตัวสามารถ ทาดัชนีไฟล์อื่นๆนอกเหนือจากไฟล์ HTML ได้ด้วยเช่น Index Server ของไมโครซอฟต์ สามารถทาดัชนีคาของแฟ้มเวิร์ดหรือเอกเซลได้แยกคา ขั้นตอนนี้จะรับสายอักขระมาจากฟิลเตอร์ แล้วตัดแบ่งสาย อักขระนั้นๆออกเป็นคาๆ และเพื่อตรวจสอบต่อไปว่าควรจะนาคานั้นมาทาดัชนีหรือไม่ จัดทาดัชนี ขั้นตอนนี้จะทา หน้าที่ตรวจสอบคาศัพท์แต่ละคาที่ได้มาจากการแยกคา แล้วพิจารณาว่าคาศัพท์คานั้นสมควรที่จะนามาทาดัชนี หรือไม่ เช่นคัดทิ้งคาบางคาที่ไม่ได้ใขฃช้ประโยชน์ในการค้นหา เช่น a, an, the, you หรือ of เป็นต้น เสิร์ชเอ็นจิ นบางตัวสามารถกาหนดได้ว่าจะทาดัชนี กับคาศัพท์เหล่านี้ไว้หรือไม่

ภาพที่ 8-4 เสิร์ชเอ็นจินซอฟต์แวร์ เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 213


หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่

บทที่ 8: เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

 เสิร์ชเอ็นจินซอฟต์แวร์ เป็นส่วนของโปรแกรมที่รับคาศัพท์ที่ต้องการให้ค้นหา แล้วค้นหาในดัชนี

หลังจากนั้นจะนาข้อมูลที่ค้นหามาจัดลาดับตามความสาคัญก่อนหลังเพื่อแสดงกลับไปบนหน้าจอ โปรแกรมส่วนนี้ มักเป็นโปรแกรม cgi ที่เขียนเชื่อมโยงเข้ากับเวบเพจที่รอให้ผู้ใช้ป้อนคาศัพท์ เทคนิคในเสิร์ชเอ็นจิน ผลลัพธ์จากการค้นหาจากเสิร์ชเอ็นจินที่มีใช้งานอยู่ทั่วไปนั้น นอกจากจะได้ลิงค์ ของเวบเพจแล้วเสิร์ชเอ็นจินยังแสดงเนื้อหาข้อมูลในเวบเพจนั้นด้วย นั่นหมายความว่าเสิร์ชเอ็นจินจะต้องจัดเก็บ ข้อมูลที่นามาแสดงนั้นไว้ในฐานข้อมูล เสิร์ชเอ็นจินแต่ละตัวมีวิธีเลือกเก็บข้อมูลแตกต่างกันไปเช่น เก็บเฉพาะ อักขระ 200 ตัวแรกของเวบเพจ เสิร์ชเอ็นจินจะคัดเอาอักขระ 200 ตัวแรกที่ไม่ได้เป็นคาสั่ง HTML มาทาเป็นคา บรรยาย หรือเก็บจานวนคาที่พบในเพจเพื่อนามาแสดงเป็นคะแนนว่าเวบเพจที่ค้นได้มีความเกี่ยวข้องกับคาที่ค้นมา มากเพียงใด ตัวสไปเดอร์ในเสิร์ชเอนจินจะใช้ทรัพยากรของระบบเป็นจานวนมาก เสิร์ชเอนจินที่ดีจะมีสไปเดอร์ที่ไม่ใช้ ทรัพยากรของระบบสูงมากเกินไปโดยอาศัยเทคนิคดังเช่น ไม่อ่านเอกสาร HTML มากเกินไป แม้ว่าสไปเดอร์ จะมีความสามารถจัดการเอกสารได้ทัน เพราะอาจจะ ทาให้เครือข่ายทางานช้าลง อ่านเฉพาะส่วนที่จาเป็นต้องใช้ เช่นอาจจะอ่านมาเฉพาะส่วนที่เป็นตัวอักษร ซึ่งในโปรโตคอล HTTP มี ฟิลด์ Accept ซึ่งใช้สาหรับบอกชนิดของข้อมูลที่ต้องการ หากมีการระบุชนิดของข้อมูลลงในฟิลด์นี้ เวบเซิร์ฟเวอร์ จะส่งข้อมูลมาเฉพาะชนิดที่ระบุในไฟล์ ตรวจสอบไม่ให้อ่านเวบที่เคยอ่านไปแล้ว ข้อควรระวังของข้อนี้ก็คือ เซิร์ฟเวอร์บางเซิร์ฟเวอร์อาจจะมีชื่อ ได้หลายชื่อ เช่น web.nexor.co.uk, nercules.nexor.co.uk และ 128.243.219.1 เป็นเซิร์ฟเวอร์ เดียวกัน มัลติเสิร์ชเอ็นจิน นอกไปจากเสิร์ชเอ็นจินแล้ว ในปัจจุบันยังมีมัลติเสิร์ชเอนจิน หรือ เสิร์ชเอนจินแบบ ขนาน ซึ่งก็คือเสิร์ชเอนจินที่จะส่งคาไปถามหรือเสิร์ชเอนจินหลายๆตัวพร้อมกันในครั้งเดียว แล้วนาผลลัพธ์ที่ได้มา รวมและเรียบเรียงใหม่ ตัวอย่างของมัลติเสิร์ชเอนจิน เช่น Doqpile (http://www.doqpile.com ) Inference Find (http://m5.inference.com/find/ ) Metacrawler (http://www.metacrawler.com ) SEARCH.COM (http://www.search.com ) เสิร์ชเอนจินนับเป็นเครื่องมือสาคัญอย่างยิ่งในระบบการสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต เทคโนโลยีของการ ค้น หาข้ อมูล ให้ ได้ร วดเร็ ว และถูก ต้อ งตามที่ ต้องการยั งเป็ นหั ว ข้อ ที่มี ผู้ ส นใจพัฒ นาอย่างมาก โดยเฉพาะการ ประยุ กต์ใ ช้ห ลั ก ทางปั ญญาประดิษฐ์ เ ข้าไปช่ว ยในการทาดัช นี และค้ นหา เสิ ร์ ช เอนจินที่ ส ามารถสื บค้น คาใน ภาษาไทยก็นับว่าเป็นสิ่งที่ต้องการอย่างมาก และยังเป็นที่รอคอยให้มีการพัฒนาออกมาใช้งานได้อย่างสมบูรณ์แบบ เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 214


หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่

บทที่ 8: เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

โซเชียลคอมพิวติ้ง

ภาพที่ 8-5 โซเชียลคอมพิวติ้ง ทุกวันนี้ ใครหลายๆ คนคงปฏิเสธไม่ได้นะคับว่า วิธีชีวิตคนเราในปัจจุบัน ต้องมีความเชื่อมโยงเกี่ยวข้องกับ Social Network เพราะโลกทุกวันนี้เป็นยุคของเทคโนโลยี ถ้าใครก้าวไม่ทัน ก็อาจจะถือได้ว่า “คุณ” เป็นคนที่ล้า หลังก็เป็นได้ ดังนั้นแล้วเราจึงควรทาความเข้าใจกันก่อนดีกว่านะคับว่า Social Network แท้จริงแล้วคืออะไร Social Network คือสังคมที่อยู่บนการติดต่อสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต อาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Virtual Community โดยสมาชิกในกลุ่มไม่จาเป็นต้องมีความสัมพันธ์กัน แต่มีหัวข้อความสนใจร่วมกันมีบทสนทนาที่แสดง ถึงแนวทางความคิดในเรื่องใดเรื่องหนึ่งร่ วมกันตัวอย่างเช่น กระทู้ตามเว็บบอร์ดต่างๆซึ่งเป็น Community ที่ สมาชิกอาจไม่รู้จักกัน จริงๆ อยู่ในสถานะของคนแปลกหน้าต่อกันโดย Turnover ของการเป็นสมาชิก สาหรับ ตัวอย่าง Social Network เช่น tweeter หรือ Facebook ซึ่งเรียกได้ว่าเป็น social network เต็มรูปแบบ ซึ่งให้ ผู้คนได้มามีพื้นที่ได้ทาความรู้จักกันโดยเลือกได้ว่า ต้องการทาความรู้จักกับใคร หรือต้องการเป็นเพื่อนกับใคร และ อีกคานึงที่ทุกคนคงจะพอคุ้นหูกันอยู่บ้างนั่นคือ คาว่า “Social Computing” คือระบบคอมพิวเตอร์แบบต่างๆ ที่ สนับสนุนการทากิจกรรมของคนในสังคม หรือความสัมพันธ์ระหว่างคนในสังคมแล้วทาสิ่งเหล่านี้ให้ชัดเจนขึ้น ตัวอย่างได้แก่ SNS บล็อก เว็บไซต์ที่ให้ใช้ภาพเคลื่อนไหวร่วมกัน Social Bookmark เป็นต้น ทุกคนคงจะพอมองเห็นภาพแล้วนะคับ Social Network และ Social Computing คืออะไร ซึ่ง Social เหล่านี้เกิดขึ้นมาจากการศึกษาพฤติกรรมการใช้งานของกลุ่มผู้ใช้ ว่าแต่ละกลุ่มมีความต้องการใช้งานในด้านใดเป็น พิเศษบ้าง จึงพฒนา และมีวิวัฒนาการต่อๆมาจนถึงปัจจุบัน แล้วผมจะมาอัพเดทให้ทุกท่านได้อ่านเรื่อยๆ นะคับ

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 215


หน่วยที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่

บทที่ 8: เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ใบงาน บทที่ 8 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ให้นักศึกษาทารายงานค้นคว้าข้อมูล ตามหัวข้อต่อไปนี้ 1. อธิบายความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีประโยชน์ต่อนักศึกษาอย่างไรบ้าง 3. อธิบายว่าอุปกรณ์เทคโนโลยีและสารสนเทศในอนาคตจะมีลักษณะอย่างไรยกตัวอย่างประกอบ 4. อธิบายความหมายและแนวโน้มการใช้งานคลาวด์ คอมพิวติ้งในปัจจุบัน 5. อธิบายลักษณะของโมบายบรอดแบนด์ 6. อธิบายลักษณะการทางานของ Search engine

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology) หน้า 216


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.