Mar-May 2015
Chief Energy Officer โดย คุณสุพัตรา เป้าเปี่ยมทรัพย์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มบริษัทยูนิลีเวอร์ประเทศไทย
Biz on the Move
Another Step Another Journey of CP Fresh Mart
Logistics Intelligence Supply Chain Management เฟืองชิ้นส�ำคัญในการขับเคลื่อนองค์กร
HR Focus สร้างผู้น�ำยุค VUCA World จากโลกาภิวัฒน์สู่ VUCA World
Mar-May 2015
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์
คุณก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์ รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อาจารย์พรวิทย์ พัชรินทร์ตนะกุล รศ.ดร.สมโรตม์ โกมลวนิช คุณสยาม โชคสว่างวงศ์ รศ.ดร.เรืองศักดิ์ แก้วธรรมชัย ผศ.ดร.ศรีไพร ศักดิ์รุ่งพงศากุล คุณปาริชาต บัวขาว
คอลัมนิสต์กิตติมศักดิ์
ดร.เลิศชัย สุธรรมานนท์ ดร.กิตติ เศรษฐวรพันธุ์ อาจารย์วิเชศ คำ�บุญรัตน์
บรรณาธิการ
ดร.ภญ.ธัญญา สุพรประดิษฐ์ชัย
หัวหน้ากองบรรณาธิการ
ในโลกของธุรกิจที่มีการแข่งขันสูง การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วเพราะนอกจากจะ แข่งขันกันเองระหว่างธุรกิจในประเทศทีน่ บั วันมีแต่จะเพิม่ จ�ำนวนมากขึน้ แล้ว ยังมีการลงทุนของ ธุรกิจข้ามชาติหลากหลายสัญชาติที่มีเงินลงทุนที่สูงกว่าและมีประสบการณ์ที่มากกว่ารุกคืบเข้า มา ท�ำให้หมากในกระดานมีผู้แข่งขันหน้าใหม่ที่แข็งแกร่งกว่าเข้ามาร่วมเล่นด้วย จากที่เคยใช้ กลยุทธ์ทางการตลาดในเชิงรุกก็อาจจะท�ำให้หลายๆ ธุรกิจต้องปรับเปลี่ยนมาใช้กลยุทธ์ตั้งรับ แทน ประกอบกับการเตรียมเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community : AEC) ในปลายปี 2558 นี้ที่กระตุ้นให้นักธุรกิจของไทยเองออกไปเจาะตลาดอาเซียนมากขึ้น เพราะการขยายตลาดภายในประเทศมีข้อจ�ำกัดในเรื่องของจ�ำนวนผู้บริโภค ซึ่งการขยายธุรกิจ ออกสูต่ ลาดทีใ่ หญ่ขนึ้ ถือเป็นสิง่ ส�ำคัญเพราะจะท�ำให้มจี ำ� นวนผูบ้ ริโภคสินค้าทีม่ ากขึน้ มีตลาดที่ ใหญ่ขึ้น ส่งผลต่อไปยังผลก�ำไรที่น่าจะเพิ่มขึ้นด้วย ซึ่งถือเป็นการขยายฐานความมั่นคงให้กับ ธุรกิจ แต่การขยายตลาดให้ใหญ่ขึ้นก็ใช่ว่าจะขายสินค้าได้เสมอไป สินค้าที่ขายดีเป็นเทน�้ำเทท่าใน ประเทศหนึ่งก็อาจตกม้าตายได้ในอีกหลายประเทศขึ้นอยู่กับผู้บริโภคในประเทศนั้นๆ และไม่มี ยุคใดในอดีตที่ผ่านมาที่สื่อดิจิตอลจะมีอิทธิพลอย่างมากในการก�ำหนดวิธีคิด ทัศนคติ และการ ด�ำเนินชีวิตของผู้บริโภคเฉกเช่นในยุคนี้ เทคโนโลยีทางการสือ่ สารเป็นอีกหนึง่ ปัจจัยเสริมทีท่ �ำให้พฤติกรรมผูบ้ ริโภคเปลีย่ นแปลงไปอย่าง รวดเร็ว งานวิจัยในอดีตบ่งชี้ว่า กลุ่มผู้บริโภคอายุ 40 ปีขึ้นไปเป็นกลุ่มที่มีความจงรักภักดีต่อ แบรนด์ใดแบรนด์หนึ่งมากที่สุด แต่ปัจจุบันกลับพบว่าผู้บริโภคกลุ่มนี้เปิดรับสื่อดิจิตอลมากขึ้น มีการหาข้อมูลการซือ้ สินค้าจากโซเชียลมีเดียมากขึน้ และพร้อมทีจ่ ะเปลีย่ นใจไปซือ้ สินค้าแบรนด์ อื่นทันทีหากได้รับข้อเสนอที่ดีกว่าแบรนด์เดิม ในตลาดทีผ่ บู้ ริโภคเป็นใหญ่และมีความส�ำคัญต่อธุรกิจ จึงจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องศึกษาผูบ้ ริโภค ให้ละเอียดว่า มีพฤติกรรมการซื้ออย่างไร แรงจูงใจในการซื้อเกิดขึ้นมาจากอะไร แหล่งข้อมูล อะไรที่ผู้บริโภคน�ำมาใช้เพื่อช่วยในการตัดสินใจ เพราะข้อมูลต่างๆ เหล่านี้ล้วนเป็นประโยชน์ ในการวางแผนธุรกิจในอนาคต
กองบรรณาธิการ
อย่างไรก็ดี คงมิใช่งานวิจัยทางด้านพฤติกรรมผู้บริโภคเท่านั้นที่มีความส�ำคัญ ดังจะเห็นได้ว่า มี หลายๆ หน่วยงานทั้งของภาครัฐและเอกชน รวมถึงสถาบันการศึกษาแทบทุกแห่งที่ท�ำงานวิจัย ในด้านต่างๆ และได้เผยแพร่ผลงานออกสู่สายตาสาธารณชนเป็นจ�ำนวนมากในแต่ละปี
ศิลปกรรม
แต่งานวิจยั ทีด่ แี ละถือว่าประสบความส�ำเร็จได้นนั้ ไม่นา่ จะใช้ปริมาณของงานวิจยั เป็นตัวชีว้ ดั แต่ น่าจะพิสูจน์ได้ด้วยสิ่งอื่น สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ภายใต้การสนับสนุนของบริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาที่ต้องการยกระดับมาตรฐานงานวิจัยด้วย การผลิตงานวิจัยที่น�ำไปใช้แก้ปัญหาให้กับองค์กรได้ สร้างงานวิจัยที่ดีมีคุณภาพที่น�ำไปพัฒนา ต่อยอดและใช้ประโยชน์ได้จริง เป็นประโยชน์ทั้งต่อตัวผู้ท�ำวิจัยเอง องค์กร ประเทศชาติและ สังคม ไม่ใช่งานวิจยั ประเภท “งานวิจยั ขึน้ หิง้ ” อย่างทีเ่ ป็นปัญหาสะสมมาอย่างยาวนานในแวดวง การศึกษาและการวิจัยของไทย
ธมลวรรณ อัศเวศน์
ภัทรกมล คีรีวัชรินทร์ เหมือนฝ้าย ปัญญวานิช เพชรไพลิน สาวะดี วรานี จรูญลักษณ์คนา ภูริมาศ สว่างเมฆ อรุณรัตน์ มงคลพิทักษ์กุล ศิริจันทร์ สุขญาติเจริญ เอกภพ สุขทอง
ดร.ภญ.ธัญญา สุพรประดิษฐ์ชัย บรรณาธิการ
by Bluebearry
รศ.ดร.จีรเดช อู่สวัสดิ์
เปิดบ้าน Panyapiwat MBA กับงาน PIM Open House for 2015 MBA Candidates #2 ............................................................................................................................................................................ ผ่านไปแล้วกับกิจกรรมเปิดบ้าน Panyapiwat MBA ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2558 มี ผู ้ ส นใจรั บ ฟั ง การแนะแนวการ ศึกษาต่อในหลักสูตร MBA ของ PIM กว่า 104 คน ในงานมีการแนะน�ำ PIM ซึ่งเป็น Corporate University ที่สามารถสร้าง
โอกาสทางการศึกษาและการท�ำธุรกิจให้ แก่ นั ก ศึ ก ษา และการบรรยายพิ เ ศษใน หัวข้อ “MBA: The Best Choice for Future Leader” โดย รศ.ดร.จี ร เดช อู่สวัสดิ์ ที่ปรึกษาด้านการศึกษา บมจ.ซีพี ออลล์ และมีการแนะน�ำหลักสูตร MBA ทัง้
2 สาขา คือ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ วิชาเอก การจัดการธุรกิจค้าปลีก และสาขาวิชาการ บริหารคนและกลยุทธ์องค์การ ซึง่ ปรับปรุง ใหม่ล่าสุดเหมาะส�ำหรับ Future Leader ที่จะก้าวไปสู่ผู้บริหารองค์กรอย่างแท้จริง ติดตามข้อมูลหลักสูตรและชมคลิปงานนี้ ได้ที่ http://mba.pim.ac.th
PIM Executive Lounge ครัง้ ที่ 7 “ยูซา่ ” น้�ำ อ้อยโซดาเลมอน .................................................................................... ผลงานสุดเจ๋งจากนักศึกษา ป.โท PIM หลักสูตร MBA สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ (PIM) จัดงาน PIM .................................................................................... Executive Lounge ครัง้ ที่ 7 เผยหลักสูตรทีต่ อบโจทย์ธรุ กิจได้จริง ใน 3 มิติ จากห้องเรียน “สร้างธุรกิจจริง-ร่วมธุรกิจจริง-พัฒนา ธุรกิจ” ภายใต้แนวคิด Practice for REAL งานนี้มีสื่อมวลชนตอบ รับเข้าร่วมงานกันอย่างคับคั่ง เช่น ไทยทีวีสีช่อง 3 เว็บไซต์ Eduzones นิตยสาร U-Junction หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ ฯลฯ
4
นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) สาขาวิชา บริหารธุรกิจ วิชาเอกการจัดการธุรกิจค้าปลีก รุ่นที่ 8 ของ PIM คิดค้นผลิตภัณฑ์น�้ำอ้อยโซดาเลมอนยี่ห้อ “ยูซ่า” เข้าร่วมการ ประกวดนวัตกรรมแผนธุรกิจของนักศึกษากับรายการ Innovation Move : Season 2 ซึ่งจัดโดยสถานีโทรทัศน์ Smart SME และ สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) โดย สามารถผ่านการคัดเลือกติด 1 ใน 9 ทีมจาก 30 ทีม คว้าเงินรางวัล 300,000 บาท มาเป็นทุนสนับสนุนการวิจัยผลิตภัณฑ์เพื่อออกสู่ ตลาดได้จริงต่อไป
งานเสวนาพิเศษ CEO Battle : “กลยุทธ์การสร้างแบรนด์อย่างยัง่ ยืน” (Beyond Branding) ............................................................................................................................................................................ CP ALL ร่วมกับหลักสูตร MBA สถาบันการ จัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) จัดงานเสวนา หัวข้อ “CEO Battle : กลยุทธ์การสร้าง แบรนด์อย่างยั่งยืน” (Beyond Branding) เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2558 ณ อาคารหอ ประชุมปัญญาภิวัฒน์ โดยได้รับเกียรติจาก
วิทยากรผู้ร่วมเสวนา ประกอบด้วย คุณ อานุสรา จิตต์มติ รภาพ รองประธานกรรมการ บริษทั ไปรษณียไ์ ทย จ�ำกัด ผูพ้ ลิกโฉมธุรกิจ ไปรษณียไ์ ทย ทีไ่ ม่ใช่แค่เรือ่ งการส่งจดหมาย อีกต่อไป และคุณชนินทร์ อรรจนานันท์ ผูอ้ ำ� นวยการพัฒนาธุรกิจ เขตภูมภิ าคเอเชีย
Friesland Campina AMEA Pte. Ltd. ผู้อยู่เบื้องหลังการผลักดันให้ผลิตภัณฑ์นม พร้อมดืม่ UHT “โฟร์โมสต์” ครองยอดขาย อันดับหนึ่งอย่างต่อเนื่องในประเทศไทย และด�ำเนินงานเสวนาโดย ดร.กรุณา อักษราวุธ ที่ปรึกษาด้านการศึกษาของ CP ALL
Professional Development Program (PDP) กลยุทธ์การปรับตัวและการตัง้ รับการค้าปลีกยุคใหม่ การสร้างคน แบบฉบับ CP ALL กรณีศกึ ษา Asia Book .................................................................................... .................................................................................... CP ALL ร่วมกับ PIM จัดการบรรยายพิเศษ หัวข้อ “Professional Development Program (PDP) - การสร้างคน แบบฉบับ CP ALL” ในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2558 ณ อาคารอเนกประสงค์ PIM งานนี้ได้รับเกียรติจาก อ.วิเชศ ค�ำบุญรัตน์ หัวหน้าสาขาวิชาการ จัดการทรัพยากรมนุษย์ คณะวิทยาการจัดการ PIM มาถ่ายทอด องค์ความรูข้ องการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และการดูแลบุคลากร มากกว่า 130,000 คนทัว่ ประเทศของ CP ALL รวมไปถึงการพัฒนา บุคลากรในแบบฉบับ CP ALL
PIM จัดงานสัมมนาหัวข้อ "กลยุทธ์การปรับตัวและการตั้งรับการ ค้าปลีกยุคใหม่กรณีศึกษา Asia Book" ในวันพุธที่ 28 มกราคม 2558 ณ อาคารหอประชุมปัญญาภิวัฒน์ งานนี้ได้รับเกียรติจาก คุณเกรียงศักดิ์ ธรรมยุติการ Sales Director บริษัท เอเชียบุ๊คส์ จ�ำกัด มาถ่ายทอดความรู้เรื่องวิวัฒนาการทางธุรกิจของธุรกิจ หนังสือจากอดีตจนถึงปัจจุบนั กลยุทธ์การตลาดแต่ละยุคสมัย รวม ถึงกลยุทธ์ที่ใช้ในการแข่งขันกับตลาดออนไลน์
5
PANYAPIWAT MBA Practice for REAL at Panyapiwat MBA
(REAL Cases : REAL Professionals : REAL Business Application)
ต้อนรับวิทยากร พร้อมด้วยหลากหลาย Case Studies สู่ห้องเรียน หลักสูตร MBA in Retail Business Management ................................................................................................................................. 31.01.58 ผศ.ดร.บุญมา ชัยเสถียรทรัพย์ ผู้อำ�นวยการอาวุโส ฝ่ายทรัพยากรบุคคล บริษัท ดีเอชแอล โกลเบิล ฟอร์เวิร์ดดิ้ง (ประเทศไทย) จำ�กัด
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ใน ธุรกิจโลจิสติกส์ : กรณีศึกษา DHL Excel Supply Chain
8.02.58 ดร.วินิจ วิเศษสุวรรณภูมิ
นักวิชาการภาษีชำ�นาญการพิเศษ กรมสรรพากร กระทรวงการคลัง
การจัดการภาษีธุรกิจค้าปลีก และค้าส่ง และเทคนิคการลด หย่อนภาษีค้าปลีกและค้าส่ง
7.02.58 ดร.พีระพงศ์ กิติเวชโภคาวัฒน์
ประธานที่ปรึกษา บริษัท บิสิเนส โค้ช แอนด์ คอนซัลติ้ง จำ�กัด
8.02.58 คุณคณิทธิ์ สว่างวโรรส
ที่ปรึกษาประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ซีพี ออลล์ จำ�กัด (มหาชน)
รู้จักแฟรนไชส์อย่างรู้จริง
Operations Consulting and Reengineering
14.02.58 คุณนุชรัตน์ พรพุทธษา
14.02.58 ดร.นรีเทพ เกษแดงสกลวุฒิ
ผู้จัดการทั่วไปด้านพัฒนาธุรกิจแฟรนไชส์ บริษัท ซีพี ออลล์ จำ�กัด (มหาชน)
กระบวนการสร้างโอกาสทางธุรกิจ โดยผ่านระบบแฟรนไชส์
15.02.58 รศ.สุชาติ เหล่าปรีดา
นักวิชาการ สำ�นักรับรองระบบคุณภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย (วว.)
มาตรฐานและการรับรองระบบงาน
7.03.58 รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์
อาจารย์ประจำ�คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
1. Planning and budgetary control 2. Decentralization, Responsibility Accounting & Performance Measurement
อธิการบดี สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM)
การเปิดเสรีทางการค้ากับเศรษฐกิจไทย
หลักสูตร MBA in People Management and Organization Strategy ............................................................................................... 7.02.58 ดร.คณาภรณ์ กัมพลกัญจนา 1.02.58 คุณพัชมณ หงษ์พานิช บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)
Talent Management and Succession Planning
8.02.58 คุณอภิสิทธิ์ ธโนปจัย
Senior Consultant DDI-Asia / Pacific International, Ltd.
Leadership Development in VUCA World and Trend
Deputy Manager of General Merchandise Department (Consumer Service Business Division) บริษัท มิตซุยแอนด์คัมปนี (ไทยแลนด์) จำ�กัด
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์ในบริบท ความเป็นสากลแบบญี่ปุ่น
8.02.58 คุณพิเชษฐ์ พิพัฒนาศักดิ์ บริษัท เบทาโกร จำ�กัด
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • การบริหารโครงการฝึกอบรม • Training Development • การบริหาร HRD Unit (Academy)
7.02.58 คุณนาฎฤดี อาจหาญวงศ์
รองประธานกรรมการบริหาร ฝ่ายทรัพยากรบุคคล ประเทศไทยและอินโดไชน่า บริษัท ยูนิลีเวอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด
กลยุทธ์การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ในบริบทแบบตะวันตก
14.02.58 คุณเวโรจน์ ลิ้มจรูญ
ผู้อำ�นวยการอาวุโสสายงานทรัพยากรมนุษย์ บริษัท บ้านปู จำ�กัด (มหาชน)
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ระหว่างประเทศ (International HRM)
Real
Business Application 6
23.01.58
19.03.58
บริษัท ซัมซุง (ประเทศไทย) จำ�กัด 29.01.58
บริษัท จีโอดีส วิลสัน ไทย จำ�กัด
20.03.58
บริษัท คิวรอน จำ�กัด (Le' sasha) 26.02.58
บริษัท ยูนิไทย กรุ๊ป จำ�กัด
บริษัท อควา ปุริ แลบบอราทอรีส์ จำ�กัด (AIM Thai)
26.03.58
บริษัท สยามฟู้ดส์ จำ�กัด 18.03.58
บริษัท โรงงานไทยแลนด์นิตติ้ง จำ�กัด ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด บี เมด ฟามาซูติคอล บริษัท ซีบร้า ทรานส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด 7
คุณสุพัตรา เป้าเปี่ยมทรัพย์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มบริษัทยูนิลีเวอร์ประเทศไทย
เมือ่ เอ่ยถึง “ยูนลิ เี วอร์” ผูบ้ ริโภคชาวไทย รู ้ จั ก ดี ว ่ า คื อ ผู ้ ผ ลิ ต และจ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า อุปโภคบริโภคระดับโลกที่ด�ำเนินธุรกิจยืน หยัดอย่างแข็งแกร่งในประเทศไทยมากว่า 83 ปี ปัจจุบัน ยูนิลีเวอร์ มี 8 โรงงาน ผลิต พร้อมด้วยพนักงานราว 4,000 ชีวิต และตอบสนองความต้องการของผู้ บริโภคด้วยผลิตภัณฑ์กว่า 30 แบรนด์ ซึง่ จากการส�ำรวจพบว่า ในแต่ละครัวเรือนจะ มีผลิตภัณฑ์ของยูนิลีเวอร์ครัวเรือนละ อย่างน้อย 1 ชิ้น เมื่อเร็วๆ นี้ ยูนิลีเวอร์สร้างความฮือฮาอีก ครั้ง เมื่อประกาศแต่งตั้ง “ประธานเจ้า หน้าทีบ่ ริหาร” หรือ “CEO” “หญิงไทยคน แรก” ที่ได้รับความไว้วางใจจากผู้บริหาร ยูนิลีเวอร์ระดับโลกขึ้นกุมบังเหียนธุรกิจใน ประเทศไทยที่ มี ย อดขายในแต่ ล ะปี ก ว่ า 40,000 ล้านบาท ส�ำหรับเธอแล้วนิยามค�ำ ว่า “CEO” นั้น ไม่ได้หมายถึง “Chief Executive Officer” แต่จะมีความหมายที่ สะท้อนบทบาทและตัวตนของท่านอย่างไร MBA Connected ฉบับนี้ มีความยินดีพา ท่านท�ำความรู้จักกับเส้นทางชีวิตและการ ท�ำงานของ คุณสุพัตรา เป้าเปี่ยมทรัพย์ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร กลุ ่ ม บริ ษั ท ยูนิลีเวอร์ประเทศไทย คนล่าสุด 8
CEO = Chief Energy Officer “ผู้น�ำที่ท�ำหน้าที่สร้างพลัง”
ของสุพัตรา เป้าเปี่ยมทรัพย์ CEO หญิงคนแรกแห่งบ้าน พลิกความ “ผิดหวัง” ให้เป็น “โอกาส”
กล้าเปลี่ยน เพื่อลับอาวุธในต่างแดน
คุณสุพัตรา เล่าความหลังให้ฟังถึงวัยเยาว์ว่า เติบโตในต�ำบลเล็กๆ ในจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึง่ เป็นช่วงทีค่ ณ ุ สุพตั ราใช้ชวี ติ ในวัยเด็กอย่าง สนุกสนาน ซุกซน แต่เมื่อนึกย้อนกลับไป ก็เห็นภาพสะท้อนความ เป็นผู้น�ำที่มีมาตั้งแต่เด็กของตนเอง เพราะมักจะเป็นหัวหน้ากลุ่ม น�ำเพื่อนๆ ท�ำกิจกรรมต่างๆ อยู่เสมอ ด้วยความที่เป็นเด็กเรียนดี คุณสุพัตราจึงมีความใฝ่ฝันเหมือนเด็กเรียนดีทั่วไปในสมัยนั้นว่า อยากจะเป็นหมอ จึงตั้งใจเข้ามาศึกษาต่อที่กรุงเทพฯ เพื่อสานฝัน ของตั ว เอง แต่ โชคชะตาก็ น� ำ พาให้ เ ธอต้ อ งเผชิ ญ กั บ ความ เปลีย่ นแปลงและการตัดสินใจครัง้ ใหญ่ เพราะกลับได้เข้าเรียนระดับ มัธยมปลายในโรงเรียนสายอาชีพที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก ในการเรียน “ตอนนัน้ ทัง้ ผิดหวังว่า เมือ่ มาทางสายอาชีพแล้ว ความ ตัง้ ใจทีจ่ ะเป็นหมอก็คงจะเป็นไปไม่ได้ แถมยังต้องเจอกับความยาก ของภาษาอังกฤษ เพราะตัง้ แต่เด็กกว่าจะเริม่ เรียนภาษาอังกฤษคือ ชั้น ป. 5 ท�ำให้เรียนตามเพื่อนแทบไม่ทัน” แต่คุณสุพัตราไม่ปล่อย ให้ความผิดหวังและสับสนบั่นทอนพลังใจของตนเองนานเกินไป ตัดสินใจเดินหน้าต่อในเส้นทางทีเ่ ลือกแล้ว “แม้วา่ รูส้ กึ เสียดาย แต่ พีใ่ ช้โอกาสนีเ้ ป็นแรงผลักดันความมุง่ มัน่ และปลุกปัน้ ฝันของตัวเอง ใหม่เพื่อก้าวสู่เส้นทางสายธุรกิจอย่างเต็มตัว” คุณสุพัตราปลุกไฟ ในตัวเอง สร้างแรงบันดาลใจใหม่อีกครั้งอย่างไม่รอช้า และไม่ยอม ที่จะปล่อยให้เวลาผ่านไปกับอดีต เธอมุ่งหน้าเข้าศึกษาต่อระดับ มหาวิทยาลัยและสามารถคว้าปริญญาบัตรด้านบริหารธุรกิจได้ใน ที่ สุ ด จากนั้ น ได้ ทุ น จากสโมสรโรตารี ไ ปศึ ก ษาปริ ญ ญาโทที่ สหรัฐอเมริกา ก่อนที่จะเริ่มต้นเส้นทางการท�ำงานด้วยการเป็นนัก วิจัยที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และก้าวเข้าสู่รั้วประตูบ้านยูนิลีเวอร์ ในฐานะผูจ้ ดั การวิจยั ตลาดผลิตภัณฑ์เส้นผม ศูนย์นวัตกรรมเส้นผม เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปี 2535
“หนึง่ ในความเป็นผูน้ ำ� ทีด่ ี เราต้องกล้าสร้างตัวแทนหรือลูกน้องให้ เก่งกาจ ไม่เพียงแต่ทดั เทียม แต่ตอ้ งท�ำให้เก่งกว่า” นัน่ คือค�ำกล่าว ของคุณสุพัตรา เมื่อเธอต้องช่วยสร้างทีมวิจัยตลาดของยูนิลีเวอร์ ให้แข็งแกร่ง และส่งไม้ต่อให้ลูกน้องได้ขึ้นมาดูแลต่อ เพื่อเธอจะได้ เริม่ สานฝันของตนเองอีกครัง้ ในการเข้าสูเ่ ส้นทางนักการตลาด ตาม แบบฉบับขององค์กรอย่างยูนิลีเวอร์ ที่เปิดโอกาสและฝึกฝนให้ พนักงานได้เรียนรู้ใน categories ต่างๆ ให้ได้มากที่สุด ซึ่งเธอได้ เรียนรู้ในการดูแลผลิตภัณฑ์ต่างๆ อย่างหลากหลายด้วยความ ท้าทาย จนมาถึงในช่วงปี 2547 ชีวิตของคุณสุพัตราจึงเข้าสู่การ เปลีย่ นแปลงอีกครัง้ แม้ในขณะนัน้ คุณสุพตั ราจะได้ทำ� งานด้านการ ตลาดตามที่ใจรัก พร้อมด้วยครอบครัวที่อบอุ่นและลูกสาวที่น่ารัก อีก 2 คน แต่ด้วยวิสัยทัศน์ที่เห็นว่า ภาษาอังกฤษจะเป็นสิ่งส�ำคัญ ส�ำหรับหนุม่ สาวในเจนเนอเรชัน่ ต่อไป รวมถึงความต้องการพัฒนา ตนเองอย่างต่อเนื่อง เมื่อโอกาสมาถึง เธอจึง “กล้าเปลี่ยน และ กล้าเสี่ยง” อีกครั้ง เพื่อลูก โดยตัดสินใจไปท�ำงานที่ยูนิลีเวอร์ ประเทศมาเลเซี ย ในต� ำ แหน่ ง รองประธานกรรมการบริ ห าร ผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ในครัวเรือนและเครื่องใช้ส่วนบุคคล เพื่อดูแล สายงานกลุม่ ผลิตภัณฑ์ในครัวเรือน โดยมีผบู้ ริโภคทีต่ อ้ งดูแลถึง 25 ล้านคน และเส้นทางชีวิตก็ท�ำให้เดินทางต่ออีกครั้งไปยังประเทศ จีน ด้วยความรับผิดชอบที่มากขึ้น เพราะร่วมเป็นหนึ่งในผู้บริหาร ระดับโลกในการก�ำหนดวิสัยทัศน์ สร้างนวัตกรรมและคิดค้น กลยุทธ์ของธุรกิจอาหาร ให้กับประเทศในเอเชีย 9 ประเทศ โดย รวมเป็นเวลากว่า 5 ปี
9
10
ขึ้นท�ำเนียบ CEO หญิงไทยคนแรก
มุ่งมั่นสร้างพลัง น�ำองค์กรสู่เป้าหมาย
หลังจากคุณสุพัตราได้มีโอกาสเก็บเกี่ยวประสบการณ์ในต่างแดน จากหลากหลายประเทศในแถบเอเชียนานหลายปี กระทัง่ ปี 2552 จึงได้เดินทางกลับประเทศไทย เพื่อด�ำรงต�ำแหน่ง “รองประธาน กรรมการบริหาร ธุรกิจอาหารและไอศกรีม” รวมถึงผลิตภัณฑ์ใน ครัวเรือน ตามล�ำดับ การกลับมาครั้งนี้ในฐานะผู้บริหารระดับสูง และเป็นหนึ่งในคณะกรรมการบริหารของยูนิลีเวอร์ประเทศไทย ที่มีส่วนก�ำหนดทิศทางและนโยบายของบริษัท คุณสุพัตราได้ริเริ่ม การท�ำแคมเปญการตลาดแบบใหม่ โดยใส่โจทย์ดา้ นสังคมให้อยูบ่ น เส้นทางเดียวกันกับโจทย์ของธุรกิจ ซึง่ คุณสุพตั ราเห็นว่า แคมเปญ การตลาดรูปแบบนี้จะมีความยั่งยืนทั้งด้านธุรกิจ พร้อมไปกับการ ท�ำสิ่งดีๆ แก่สังคมด้วย และที่ส�ำคัญสร้างความรักความผูกพัน ระหว่างแบรนด์และผูบ้ ริโภคได้เป็นอย่างดี ซึง่ พิสจู น์ความส�ำเร็จได้ จากโครงการมื้อเช้าเราพร้อมกับคนอร์ เพื่อรณรงค์ให้เด็กไทยกิน อาหารเช้า โครงการส่งเสริมการเรียนรู้นอกห้องเรียนของบรีส ไป จนถึงโครงการยูนลิ เี วอร์รบั ขวัญคนไทยกลับบ้าน เมือ่ ครัง้ ทีป่ ระเทศ เกิดเหตุอทุ กภัยใหญ่ เป็นต้น ไม่เพียงเท่านัน้ ด้วยความเป็นนักการ ตลาดมือฉมัง คุณสุพตั รายังสร้างทอล์กออฟเดอะทาวน์ดว้ ยการส่ง แคมแปญการตลาดรีลอนช์แม็กนั่ม ที่ท�ำให้คนไทยฟินกับแม็กนั่ม กันทั่วประเทศ และกวาดรางวัลด้านการตลาดมาเกือบทุกสถาบัน ดังนั้น ด้วยผลงานที่โดดเด่นอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 22 ปี พร้อมด้วยประสบการณ์ ทั้งในประเทศและในระดับภูมิภาค ใน ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ค รบทุ ก กลุ ่ ม ผนวกกั บ สไตล์ ก ารท� ำ งานที่ ก ล้ า ที่ จ ะ เปลี่ยนแปลง คิดสร้างสรรค์ ทดลองสิ่งใหม่ๆ ตลอดเวลา เมื่อเวลา ที่ใช่มาถึง จึงท�ำให้คุณสุพัตราผงาดขึ้นแท่นผู้น�ำสูงสุดขององค์กร อย่างเต็มภาคภูมิ
นับเป็นความท้าทายไม่ใช่นอ้ ย เมือ่ คุณสุพตั ราต้องขึน้ มากุมบังเหียน องค์กรท่ามกลางสภาวะเศรษฐกิจโลกทีผ่ นั ผวนและซบเซา เมือ่ ถาม ถึงความท้าทายดังกล่าว คุณสุพตั รากล่าวด้วยรอยยิม้ ทีเ่ ต็มไปด้วย พลังว่า “เราเชื่อมั่นในทีมผู้บริหารและพนักงานทุกคน ยูนิลีเวอร์ อยู่คู่กับเมืองไทยและคนไทยมากว่า 83 ปี ผ่านร้อนผ่านหนาวมา ด้วยกัน ด้วยความเข้าใจผู้บริโภคชาวไทยอย่างลึกซึ้ง เรามั่นใจว่า เราจะผ่านพ้นวิกฤตในแต่ละครั้งไปได้ด้วยดี” พร้อมกล่าวเสริมว่า “ในสถานการณ์ เช่ น นี้ ผู ้ น� ำ ที่ ดี ต ้ อ งสร้ า งแรงบั น ดาลใจให้ กั บ พนักงานได้ เราต้องสร้างให้พนักงานฝันให้ไกลกว่าสิง่ ทีเ่ ราฝัน และ พร้อมจะไปด้วยกัน” ส�ำหรับเป้าหมายระยะยาว CEO ท่านนี้กล่าวว่า “ต้องการสร้าง การเติบโตอย่างยั่งยืนแก่องค์กรทั้งด้านธุรกิจ สังคม และสิ่ง แวดล้อม ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคด้วยนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ โดยผ่านการท�ำงานร่วมกันกับพันธมิตรหรือคู่ค้าทาง ธุรกิจ และที่ส�ำคัญการพัฒนาศักยภาพบุคลากร พี่ต้องการสร้าง แรงบันดาลใจให้พนักงานออกไปท�ำงานในต่างประเทศมากขึน้ เพือ่ เพิม่ พูนประสบการณ์และน�ำกลับมาสร้างประโยชน์แก่ประเทศไทย” ทุกจังหวะก้าวเดินของคุณสุพัตราล้วนมีเป้าหมาย ไม่ท้อแท้ต่อบท ทดสอบหรือความท้าทายใดๆ พร้อมเปลี่ยนวิกฤตให้เป็นโอกาส เต็มไปด้วยความมุ่งมั่นและพลัง เพราะมีเป้าหมายที่ชัดเจนรออยู่ ดังนั้น คุณสุพัตราจึงนิยามความหมาย “CEO” ในแบบของตนเอง ว่า คือ “Chief Energy Officer” “ผู้น�ำที่ท�ำหน้าที่สร้างพลัง” “องค์กรที่จะส�ำเร็จได้ ต้องมีพลังและชีวิต เริ่มจากการมีผู้น�ำที่มี พลัง ถ่ายทอดพลังและสร้างแรงบันดาลใจแก่พนักงานและท�ำให้ พนักงานมีความสุข” และนีค่ อื บทสรุปอันล�ำ้ ค่าทีไ่ ด้จากการสนทนา กับ CEO หญิงคนแรกของยูนิลีเวอร์ประเทศไทย ในวันนี้
คุณชัยยุทธ ทิพย์สุวรรณพร
Senior Vice President – Retail Business บริษัท ซีพีเอฟ เทรดดิ้ง จำ�กัด
Another Step Another Journey of เพราะการแข่งขันอย่างดุเดือดในธุรกิจค้าปลีกสมัยนี้ ท�ำให้เราได้เห็นผูผ ้ ลิตสินค้าและบริการต่างๆ ต่างงัดกลยุทธ์ทางการตลาดออกมา ใช้เพื่อแย่งชิง Market share ท�ำให้ตัวเองมีที่ยืนอยู่ ในตลาดให้จงได้ Biz on the Move ฉบับนี้ก็เช่นกัน เราได้รับเกียรติจากผู้ บริหารวิสัยทัศน์ไกล คุณชัยยุทธ ทิพย์สุวรรณพร Senior Vice President – Retail Business บริษัท ซีพีเอฟ เทรดดิ้ง จ�ำกัด มาปอกเปลือกกลยุทธ์ของ CP Fresh Mart ว่าให้ความส�ำคัญในเรื่องใดที่ท�ำให้กิจการเจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว ในปัจจุบันธุรกิจค้าปลีกมีความเจริญก้าวหน้าและขยายตัวอย่าง รวดเร็ว มีผปู้ ระกอบการค้าปลีกเกิดขึน้ มากมายทัง้ กิจการขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ ส่งผลท�ำให้มูลค่าในธุรกิจค้าปลีกเติบโตขึ้นในทุกๆ ปี มีกระแสเงินหมุนเวียนรวมกันมากกว่าปีละ 2.7 ล้านล้านบาท ประกอบกับทีผ่ า่ นมานัน้ พฤติกรรมของผูบ้ ริโภคมีการเปลีย่ นแปลง อยูต่ ลอดเวลา เพราะฉะนัน้ จึงเป็นเรือ่ งปกติทแี่ ต่ละธุรกิจต้องมีการ ปรับตัวให้เข้ากับตลาดอยู่ตลอดเวลาเช่นกัน เพื่อตอบสนองความ ต้องการของผู้บริโภคให้ได้มากที่สุด
ลูกค้ามาเป็นปัจจัยหลักในการตัดสินใจท�ำสิง่ ต่างๆ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งการพัฒนารูปแบบธุรกิจ ซีพี เฟรชมาร์ทได้มีการพัฒนารูปแบบ ธุรกิจมาตลอดเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคที่ เปลีย่ นแปลงไป เมือ่ เดือนธันวาคม 2557 ทีผ่ า่ นมา ซีพี เฟรชมาร์ท ได้เปิดตัวคอนเซ็ปต์ร้านรูปแบบใหม่ หรือที่เรียกว่า “Modern Home Meal Solution” ซึ่งการพัฒนาร้านรูปแบบใหม่นี้เกิดขึ้น จากการร่วมมือกับทาง BCG (Boston Consulting Group) โดย เริ่มจากการส�ำรวจความต้องการและความพึงพอใจของลูกค้า มี การจัดท�ำทัง้ แบบสอบถาม (Questionnaire Survey) และการท�ำ การเข้าใจและการทราบความต้องการของผู้บริโภคจึงเป็นหัวใจ สนทนาเป็นกลุ่ม (Focus Group) ส�ำคัญในการท�ำธุรกิจของซีพี เฟรชมาร์ท เราให้ความส�ำคัญกับ ผูบ้ ริโภคเป็นล�ำดับแรก ไม่วา่ จะมีการด�ำเนินการท�ำอะไร เราจะน�ำ 12
จากผลการส�ำรวจพฤติกรรมผู้บริโภคไทย ในสังคมเมือง พบว่า วิถีชีวิตของผู้บริโภค เปลีย่ นแปลงไป ทัง้ ทีม่ คี รอบครัวและยังโสด มีชีวิตทันสมัยและมีเวลาจ�ำกัด แต่อยาก ลองท�ำอาหารรับประทานและสังสรรค์กับ ครอบครัวและกลุม่ เพือ่ นทีบ่ า้ น โดยมีความ ต้องการวัตถุดิบเพื่อน�ำมาประกอบการท�ำ อาหารทัง้ เครือ่ งปรุง อาหารพร้อมปรุง และ อาหารพร้อมทาน และยังพบว่าผูท้ มี่ รี ายได้ ปานกลางมีจำ� นวนมากขึน้ พร้อมทัง้ มีความ ต้องการในการรับประทานอาหารที่บ้าน โดยเฉพาะมื้อเช้าและมื้อเย็น แทนการรับ ประทานจากร้านอาหารทั่วไป
เมือ่ ได้ผลส�ำรวจพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคและ น�ำมาวิเคราะห์ผล เราจึงได้คอนเซ็ปต์รูป แบบร้านใหม่คือ “Modern Home Meal Solution” เป็นร้านขายผลิตภัณฑ์อาหาร และการบริการรูปแบบใหม่ที่อยู่ใกล้บ้าน คุณเพื่อความสะดวกในทุกมื้อดีๆ ทุกๆ วัน กับคนในครอบครัวคุณ เหมือนยกตลาดสด มาอยู่ข้างบ้านคุณ ร้านนี้ออกแบบมาเพื่อ คนรักอาหาร ไม่ว่าคุณจะเป็นคน Love to Cook (รักที่จะโชว์ฝีมือ) ครบเครื่องทุก ความสดของวัตถุดิบ พร้อมให้คุณจัดเต็ม โชว์ฝีมือ อวดได้หลากหลายเมนู หรือคน Love to Try (รักที่จะลอง) ให้คุณสนุก เพลิดเพลินกับการเข้าครัวในมื้อพิเศษของ คุณ สุดท้ายเอาใจคน Love to Eat (รักที่ จะทาน) ให้ คุ ณ สามารถเลื อ กสรรความ อร่อยในทุกมือ้ ด้วยอาหารพร้อมรับประทาน ให้เลือกอย่างมากมาย นอกจากนี้ยังมีการ จัดหาผลิตภัณฑ์เพิม่ มากกว่า 1,000 รายการ ทั้งอาหารสด-ผักสด ผลไม้ เครื่องปรุงรส อาหารพร้อมปรุง อาหารสดหั่นชิ้น อาหาร แช่แข็ง อาหารพร้อมรับประทานและกับข้าว พร้อมรับประทาน เพื่อรองรับการเลือกซื้อ สินค้า การเตรียมอาหารและการรับประทาน อาหาร ในบ้านให้ครบครันในทุกขั้นตอน
หลังจากทีไ่ ด้ทดลองเปิดร้านคอนเซ็ปต์ใหม่ ซีพี เฟรชมาร์ทได้รับผลตอบรับจากลูกค้า อย่างดีมาก แต่ทางเราก็ยังคงจัดท�ำแบบ ส�ำรวจของลูกค้าอย่างต่อเนื่อง และน�ำผล ที่ได้มาปรับปรุงร้านรูปแบบใหม่ของเราที่ ก�ำลังด�ำเนินการขยายสาขาต่อไปเรื่อยๆ เพราะเราต้องการสร้างประสบการณ์ทดี่ ใี ห้ กั บ ลู ก ค้ า เมื่ อ เข้ า มาซื้ อ สิ น ค้ า ในร้ า นซี พี เฟรชมาร์ทคอนเซ็ปท์ใหม่ เนือ่ งจากปัจจุบนั นี้ ประสบการณ์เป็นปัจจัยส�ำคัญที่มีผลต่อ การตัดสินใจเลือกซือ้ สินค้า และยังเป็นเรือ่ ง ที่ส�ำคัญอย่างมากในธุรกิจค้าปลีก ทุกครั้ง ในการเข้ามาในร้านซีพี เฟรชมาร์ท สามารถ ท�ำให้ลูกค้าได้รับความพึงพอใจ ไม่ว่าจะ เป็นเรื่องของการให้บริการที่อบอุ่นเป็น กันเอง การแนะน�ำสินค้าต่างๆ ได้ตรงกับที่ ลูกค้าต้องการจากพนักงาน รวมทัง้ การเติม เต็มสินค้าให้พร้อมอยูเ่ สมอ มีสนิ ค้าให้เลือก หลากหลาย ครบถ้วนตามความต้องการ ของลูกค้า จะสามารถท�ำให้ลูกค้าได้รับ ประสบการณ์การเลือกซือ้ สินค้าทีด่ ี และได้ รับความรู้สึกว่า “ทุกมื้อมีแต่เรื่องดีๆ ที่ ซีพี เฟรชมาร์ท” 13
LOGISTICS Intelligence
กระบวนการ Supply Chain Management หรือ SCM เป็นกระบวนการของการบริหารทุกขั้นตอน นับตั้งแต่การน�ำเข้าวัตถุดิบสู่ กระบวนการผลิต กระบวนการสั่งซื้อ จนกระทั่งส่งสินค้าถึงมือลูกค้าให้มีความต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพสูงสุด พร้อมกับสร้างระบบ ให้เกิดการไหลเวียนของข้อมูลที่ท�ำให้เกิดกระบวนการท�ำงานของแต่ละหน่วยงานส่งผ่านไปทั่วทั้งองค์กร รวมไปถึงลูกค้าและผู้จัดส่ง วัตถุดิบด้วย SCM จึงมีส่วนส�ำคัญที่ช่วยให้องค์กรยกระดับความสามารถในการบริหาร เช่น การลดสินค้าคงคลัง การเพิ่มผลิตภาพหรือ การลดความสูญเปล่าในกระบวนการท�ำงาน ส่งเสริมความเติบโตของธุรกิจช่วยเพิม่ โอกาสในการออกสินค้าใหม่ให้เร็วขึน้ การเปิดตลาด ใหม่ๆ การสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้ามากขึ้น ส่งเสริมความยั่งยืนของธุรกิจ เช่น การลดต้นทุนธุรกิจ การบริหารเงินทุนหมุนเวียน เป็นต้น การด�ำเนินธุรกิจในยุคนี้ให้ประสบความ ส�ำเร็จและมีความได้เปรียบในการแข่งขัน อย่างแท้จริง องค์กรไม่สามารถด�ำเนินการ ท�ำโดยล�ำพังได้ ดังนั้นการปรับมุมมองการ ด�ำเนินงานเข้าสู่แนวคิด SCM จึงควรมี ความเข้าใจความหมายของ SCM อย่างครบ ถ้วนเพือ่ ทีจ่ ะสามารถพิจารณาและก�ำหนด กลยุ ท ธ์ ไ ด้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง การบริ ห ารใน ปัจจุบันและอนาคตนั้นองค์กรจะต้องให้ ความส�ำคัญกับเรื่องต่างๆ ดังนี้
14
• ผู้น�ำองค์กรในอนาคตจะเกี่ยวข้องกับการ สร้างพันธมิตร ในอนาคตการพัฒนาองค์กร จะเป็นไปในลักษณะของการสร้างเครือข่าย (Networking Organization)
ท�ำได้ยากขึน้ ท�ำให้องค์กรต้องเน้นการตอบ สนองลูกค้าเป็นรายๆ และให้ความส�ำคัญ กับราคามากขึ้น ลูกค้ามีความคาดหวังต่อ บริการมากขึ้น
• ช่องทางธุรกิจใหม่ๆ ก�ำลังเปลี่ยนแปลง และเปิดโอกาสทางธุรกิจ ช่องทางดั้งเดิม ก�ำลังเปลี่ยนแปลงตัวเองเพื่อรักษาสภาพ ทางการตลาด มี ก ารก� ำ หนดพาณิ ช ย์ อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce) และช่องทางใหม่มีการรวบรวมคนกลาง • การท�ำก�ำไรในปัจจุบันท�ำได้ยากขึ้น ใน และก�ำหนดการลงทุนธุรกิจใหม่ อนาคตองค์กรอาจต้องมีการจัดการผลก�ำไร • การมีช่องทางมากขึ้น กระแสโลกาภิวัตน์ อย่างเจาะจงตามประเภทลูกค้าและสินค้า การมีลูกค้าที่หลากหลาย จ�ำนวนคู่แข่งที่ และมองหาโอกาสในการสร้ า งก� ำ ไรใน เพิ่มขึ้น เหล่านี้ท�ำให้การบริหารองค์กร อนาคตระยะยาว
• การประเมินผล และการน�ำทิศทางองค์กร มุ ่ ง เน้ น มู ล ค่ า ของหุ ้ น และมู ล ค่ า เพิ่มของ ธุรกิจ • คุณภาพถือเป็นสิ่งบังคับที่ต้องมีอยู่แล้ว ลู ก ค้ า ไม่ ต ้ อ งการสิ น ค้ า หลากหลายแต่ ต้องการสินค้าทีเ่ หมาะกับตน องค์กรจะต้อง เน้ น การท� ำ ตลาดเจาะจงโดยใช้ แ หล่ ง วัตถุดบิ ร่วมกัน รวมทัง้ เน้นการผลิตสินค้าที่ มีลักษณะเฉพาะตัวมากขึ้น
คุณนลิน วิภูษณมังคละ
Managing Director บริษัท ซีบร้า ทรานส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด
ในแต่ละองค์กรต่างมีระบบ SCM แล้ว แต่ สิ่งที่ส�ำคัญ คือ ระบบ SCM ขององค์กร ที่ ประกอบไปด้วย ผู้ส่งมอบ ผู้ผลิต ผู้จัด จ�ำหน่ายและลูกค้านั้น แต่ละหน่วยมีความ เข้มแข็ง หรือมีคณ ุ ภาพมากน้อยเพียงใด ซึง่ หมายความว่าองค์กรมีการจัดระบบให้มี ความยืดหยุ่น และสามารถปรับตัวรองรับ ความเปลีย่ นแปลงของตลาดได้ดเี พียงใด มี หน่วยวัดความส�ำเร็จของระบบโดยรวมที่ ชัดเจนหรือไม่ มีการพัฒนาระบบในตัวเอง ได้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องอย่างไร
ซีบร้า ทรานส์ อินเตอร์เนชั่นแนล เน้นเติบโตอย่างยั่งยืนด้วยคุณภาพ ปัจจุบันมีการแข่งขันในโลกธุรกิจขนส่งสินค้าสูงขึ้น อีกทั้งการรุกคืบของบริษัทข้ามชาติที่มีเงินลงทุนในการประกอบการสูงเข้ามาซื้อ กิจการธุรกิจขนส่งภายในประเทศค่อนข้างมาก ท�ำให้บริษัท ซีบร้า ทรานส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด บริษัทสัญชาติไทยต้องลุกขึ้นมา สร้างภูมิต้านทานให้ตัวเองและพนักงานในบริษัทให้เข้มแข็ง เพื่อที่จะยืนหยัดอยู่ในโลกแห่งการแข่งขันได้ ด้วยวิสยั ทัศน์ของผูบ้ ริหารของบริษทั ซีบร้า ทรานส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด คุณนลิน วิภษู ณมังคละ Managing Director ได้เห็น ความส�ำคัญในการปรับเปลี่ยนทิศทางของ ธุ ร กิ จ เพื่ อ รองรั บ การเปลี่ ย นแปลงใน อนาคต ที่จะเชื่อมโยงธุรกิจขนส่งแบบครบ วงจร เพื่อตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยเน้นที่ การให้บริการแบบครบวงจร ตั้งแต่การ บริการในส่วนของคลังสินค้า การจัดเก็บ สินค้าอย่างมีระบบและส่งมอบสินค้าถึงมือ ลูกค้าในเวลาที่ต้องการอย่างถูกต้องและ ครบถ้วน การบริการขนส่งสินค้าทางเรือ และทางอากาศ ทั้งน�ำเข้าและส่งออก รวม ถึงการขนส่งสินค้าข้ามแดน การให้บริการ ขนย้ายสิ่งของ (Relocation) การเดิน พิธีการศุลกากรในขั้นตอนต่างๆ
ในส่วนของ Supply Chain นัน้ ทางบริษทั ฯ มีการท�ำงานให้สอดคล้องกับความต้องการ ของลู ก ค้ า อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี ก าร วางแผนร่วมกันเพื่อที่จะให้บริการได้ตรง ตามความต้องการของลูกค้าในช่วงเวลา และปริมาณที่เหมาะสม ด้วยต้นทุนในการ ด�ำเนินงานต�่ำ แต่ได้สินค้าและบริการที่มี คุณภาพสูง เราต้องเชื่อมโยงติดต่อกับคู่ค้า มากมาย จนเกิดเป็นเครือข่าย (Network) ในการท�ำงานโดยยึดลูกค้าเป็นศูนย์กลาง โดยทั้ ง หมดนี้ ล ้ ว นแต่ มี เ ป้ า หมายเพื่ อ ให้ ลูกค้าเกิดความพึงพอใจและสามารถเพิ่ม ศักยภาพในการแข่งขัน และนอกจากนี้ ทาง บริษัทฯ ยังเพิ่มความมั่นใจและสร้างความ เชื่ อ มั่ น ให้ ลู ก ค้ า ด้ ว ยการบริ ก ารภายใต้ มาตรฐาน ISO 9001 : 2008 เพื่อเตรียม พร้อมก้าวสูก่ ารแข่งขันในตลาดเสรีในตลาด AEC
อีกสิ่งหนึ่งที่ท�ำให้บริษัทฯ สามารถด�ำเนิน กิจการมามากกว่า 20 ปีนั้น เป็นเพราะผู้ บริหารเล็งเห็นความส�ำคัญของพนักงาน คอยใส่ใจดูแลความเป็นอยู่ สภาพแวดล้อม ในทีท่ ำ� งานเป็นส่วนประกอบส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ พนักงานมีความสุขในการท�ำงาน เพราะเรา เชือ่ ว่าสิง่ เหล่านีเ้ ป็นปัจจัยส�ำคัญขององค์กร ที่จะส่งผลให้การบริการมีคุณภาพและน่า ประทับใจ และถือเป็นรากฐานในการสร้าง การเติบโตอย่างยั่งยืนให้เกิดขึ้นจริง
สอบถามข้อมูลและบริการเพิ่มเติมที่ 0 2697 4927 / 4930 หรือ e-mail: contact@seabra.co.th, marketing@seabra.co.th
15
ดร.เลิศชัย สุธรรมนนท์
ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายวางแผนและพัฒนา และผู้อำ�นวยการหลักสูตร MBA POS
ความตื่นตัวศึกษาความเป็นโลกาภิวัฒน์มีมาอย่างต่อเนื่อง ดังปรากฏการณ์ส�ำคัญๆ ที่เกิดขึ้น เช่น หนังสือโลกแบน “The World is Flat” ของ Thomas L. Friedman (2005) ที่กล่าวถึงการเชื่อมโลกของธุรกิจข้อมูลข่าวสารอย่างไม่มีขอบเขต การตื่นตัวสู่ยุคประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC 2015) อย่างเป็นทางการพร้อมๆ กับการกล่าวถึงโลกยุค VUCA World ซึ่งเป็นการกล่าวถึงโลกยุคใหม่หลัง สงครามเย็น โดยผูก้ ล่าวคนแรกๆ คือกองทัพอเมริกนั ได้อธิบายสถานการณ์ของโลกผ่านค�ำส�ำคัญ 4 ค�ำ (4 Keywords) ตัง้ แต่ ปี 2012 คือ
Volatile
โลกและสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่มีความเปลี่ยนแปลง อย่างไม่จ�ำกัดรูปแบบ (Pattern) พยากรณ์ได้ยาก
Uncertain
โลกที่เต็มไปด้วยความไม่แน่นอน ความยุ่งยากสลับซับซ้อน ยากแก่การตัดสินใจ ยากแก่การสาวหาสาเหตุ และท�ำความเข้าใจ
จะเห็ น ว่ า VUCA World ไม่ ใช่ เรื่ อ งใหม่ แต่ เ ป็ น ล� ำ ดั บ ของ พัฒนาการจากกระแสเดิมเพียงแต่เพิ่มความเข้มข้น และคงยังไม่ ได้เป็นคลื่นลูกสุดท้ายจุดสูงสุดของพัฒนาการแต่อย่างใด เพียงแต่ ว่าองค์กรและผู้น�ำต้องเท่าทันต่อกระแสแห่งความเปลี่ยนแปลงนี้ จึงจะอยู่รอดได้ โดยเฉพาะประเทศไทยที่ระบบเศรษฐกิจแบบเปิด ต้องพึ่งพาการส่งออกเกินกว่าครึ่งหนึ่งของ GDP ประเทศ รวมถึง การท่องเทีย่ วและความรูท้ างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเป็น ประเทศทีถ่ กู รวมอยูใ่ นทุกเหลีย่ มการเจรจาการค้า เช่น สามเหลีย่ ม เศรษฐกิจ สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ ห้าเหลี่ยมเศรษฐกิจ หรือหกเหลี่ยม เศรษฐกิจ ที่ประกอบไปด้วยไทย กัมพูชา ลาว เวียดนาม พม่า จีน เป็นต้น ดังนั้นทุกองคาพยพของระบบเศรษฐกิจ ธุรกิจ และสังคม ไทยต้องตกอยู่ในบริบท VUCA World อย่างเข้มข้น 16
Complex
Ambiguous
ความคลุมเครือไม่ชัดเจน ในสถานการณ์ ต้องการภาวะผู้น�ำ เพื่อน�ำองค์กรสู่ความส�ำเร็จ ที่แตกต่างจากผู้น�ำคนอื่นๆ
องค์กรต้องการผู้น�ำอย่างไรใน VUCA World
ท่ามกลางกระแสของ VUCA World ทีก่ ล่าวข้างต้น The Conference Board (2014) ได้ทำ� วิจยั โดยการสอบถาม CEO ทัว่ โลก 1,020 คน พบว่าการด�ำเนินธุรกิจในอนาคต สิง่ ทีเ่ ป็นความท้าทายทีส่ ดุ อันดับ ที่ 1 คือเรื่องทุนมนุษย์หรือการบริหารคนในองค์กร อย่างที่ 2 คือ ขีดความสามารถของการสร้างนวัตกรรม ซึง่ ว่าไปแล้วก็มาจากพืน้ ฐานเรื่องของคนนั่นเอง เมื่อถามต่อว่าผู้น�ำทั้งหลายมีความพร้อม เรือ่ งการบริหารคนเพียงใด พบว่าไม่ถงึ 50% เท่านัน้ ทีต่ อบว่าพร้อม (DDI 2015) ดังนั้นการพัฒนาคนโดยเฉพาะผู้น�ำที่พร้อมสร้างคน ให้เป็นผู้น�ำในอนาคต จึงมีความส�ำคัญอย่างยิ่ง ทั้งในฐานะความ ท้าทายสูงสุดและเป็น Gap สูงสุดขององค์กรในยุค VUCA World
Bob Johannes เสนอแบบเกลือจิ้มเกลือว่า VUCA World ต้องแก้ด้วย VUCA Leadership กล่าวคือผู้น�ำองค์กรในโลกยุคนี้ต้องการผู้ที่มีคุณสมบัติ ดังนี้
Vision มีวิสัยทัศน์ คือการมอง ไกลกว่า มองเห็นก่อน และมอง ได้หลายแง่มุมกว่าในยุคก่อนๆ VUCA World ที่ซับซ้อน ก็จะ ชัดขึ้นและบริหารความเสี่ยงได้
Understanding เข้าใจปรากฎ การณ์ต่างๆ ง่ายขึ้น ข้อมูลใน โลกมีมากมาย (Big Data) เลือก ศึกษาท�ำความเข้าใจแบบฉับไว จึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่ง ซึ่ง ท� ำ ให้ ส ามารถการเลื อ กใช้ ไ ด้ อย่ า งเหมาะสมท� ำ ให้ ส ถานะ การณ์แบบ VUCA World ผ่อน คลายลง
Clarity มีความชัดเจน หรือ ท�ำให้เป้าหมาย ทิศทาง และ เส้นทางขององค์กรชัดเจนที่สุด มิฉะนัน้ จะน�ำองค์กรได้อย่างช้า และผิดพลาด เพราะสถานการณ์ ภายนอกมีความซับซ้อน คลุม เครื อ ใช้ รู ป แบบยากแก่ ก าร พยากรณ์อยู่แล้ว ผู้น�ำต้องสร้าง ความชัดเจนภายในองค์การให้ได้
Agility มีความฉับไว คือตอบ สนองต่ อ สถานการณ์ แ ละผู้มี ส่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย อย่ า งฉั บ ไว ท�ำนองปลาเร็วกินปลาช้าไม่ใช่ ปลาใหญ่ กิ น ปลาเล็ ก แบบแต่ ก่อนอีกแล้ว องค์กรยุค VUCA World ต้องก้าวเร็ว และปรับ ทิศทางเร็วเมือ่ ประเมินว่าพลาด
การสร้างผู้น�ำยุค VUCA World สมรรถนะผูน้ ำ� ทัง้ 4 ข้อทลายแนวความคิดเกีย่ วกับสมรรถนะแบบ ดั้งเดิมที่จ�ำแนกว่าประกอบด้วย ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และลักษณะนิสัย (Attribute) และเชื่อว่าความส�ำเร็จของ งานขึ้นกับลักษณะนิสัยเป็นหลัก ตรงข้ามกับทุกสมรรถนะต้อง ประกอบด้วยทัง้ 3 องค์ประกอบ เช่น สมรรถนะผูน้ �ำทีม่ ี ความฉับไว (Agility) ต้องการความรู้ที่ทันสมัย ต้องการทักษะที่ใช้กับงานยุค ใหม่ และต้องลงมืออย่างรวดเร็ว ท�ำให้เกิดค�ำถามได้เช่นกันว่า ทฤษฎีวา่ ด้วยสมรรถนะ (Competency) ดัง้ เดิมทีใ่ ห้น�้ำหนักความ ส�ำเร็จของงานกับลักษณะนิสัยมากกว่าความรู้และทักษะ จะยังคง ใช้ได้หรือไม่ ค�ำตอบคือยังใช้ได้อยู่ เพียงแต่ต้องท�ำสมรรถนะทั้ง 4 ตัวให้มมี ติ คิ รบพร้อมกันคือ เป็นทัง้ ความรู้ ทักษะ และลักษณะนิสยั ในตัวเดียวกันคือ มีวสิ ยั ทัศน์เห็นไกล เห็นก่อนและต้องท�ำให้ผตู้ าม คล้อยตามได้กอ่ นด้วย (Vision) เข้าใจเรือ่ งยากๆ ได้เร็ว และพัฒนา ให้ผตู้ ามยอมรับ เรียนรูแ้ ละเข้าใจในทิศทางเดียวกัน (Understanding) มีความชัดเจน เสนอเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ให้มผี ตู้ ดิ ตาม เชือ่ ถือ และไม่หลงทาง (Clarity) และสุดท้ายคือฉับไว ที่นอกจากตัวเอง ปรับเปลี่ยนเร็วแล้วยังรวมถึงน�ำการเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นกับผู้ ตามได้ฉับไวด้วย (Agility)
สูตรการพัฒนาผู้น�ำที่กล่าวขานกันมากว่า 70:20:10 (Center for Creative Leadership 2014) หรือสูตรอื่นๆ ในท�ำนองเดียวกัน กับหลายส�ำนัก ทีน่ ำ� เสนอออกมาในลักษณะการพัฒนาแบบประสม ประสาน กล่าวคือ การพัฒนาผู้น�ำโดยการลงมือปฏิบัติ (Doing) 70% การเรียนรู้จากการแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น (Others) 20% และ การเรียนรู้ในการฝึกอบรม (Training) 10% จะเห็นว่าการพัฒนา ในส่วน 70:20 มีเทคนิคที่ใช้ได้หลายรูปแบบประกอบกัน เช่น On The Job Training, Job Assignment, Coaching หรือ Mentoring เป็นต้น อย่างไรก็ตามหลายๆ คนคงยังตั้งค�ำถามกับสูตรส�ำเร็จดังกล่าวว่า ส่งผลได้ดีเพียงใด เป็นสูตรที่เหมาะสมกับ VUCA World หรือไม่ ในทัศนะของผู้เขียน คล้อยตามสูตรดังกล่าว แต่ต้องตีความการ เรียนรู้โดยการลงมือท�ำเป็นความหมายกว้าง กล่าวคือ ทุกวันที่ ท�ำงานคือการเรียนรู้มีการเก็บสะสมบทเรียนพัฒนาขึ้นทุกๆ เวลา แล้วเก็บความรู้ที่ได้ลงมือปฏิบัติมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น (Group Learning) เช่น การ Coaching หรือ Mentoring ส่วน การ Training ซึ่งเป็นส่วน 10% นั้น เป็นการรับข้อมูลข่าวสาร ความรูใ้ หม่ให้ทนั สถานการณ์เท่านัน้ ดังนัน้ ทุกๆ วัน–เวลาทีท่ ำ� งาน และการอยู่ในห้องฝึกอบรมต่างเป็นการเรียนรู้ 17
ภาวะผู น ้ � ำ “เรือที่จะโลดแล่นออกสู่ท้องทะเลกว้างในทิศทาง ที่เหมาะสมได้นั้น จำ�เป็นจะต้องมีหางเสือที่ดีในการกำ�หนดเส้นทาง”
by Wanderer
หากจะเปรียบองค์กรและหน่วยงานต่างๆ ของเราเป็นดั่งเรือส�ำเภาล�ำหนึ่ง แน่นอนว่าสิ่งส�ำคัญอย่างหนึ่งที่จะน�ำพาให้เรือล�ำนี้มุ่งไปสู่ จุดหมายได้ตามที่ต้องการนั้นคงจะหนีไม่พ้นหางเสือที่ดีเยี่ยมอย่าง “ผู้บริหารที่มีภาวะผู้น� ำ” (Leadership) ที่ช่วยให้สามารถน�ำพา องค์กรฝ่าฟันกับคลื่นลมและมรสุม หรือก็คือความเปลี่ยนแปลงและเหตุการณ์ไม่คาดฝันในการด�ำเนินธุรกิจผ่านไปได้ด้วยดี Believe it or not ในฉบับนี้ขอน�ำเสนอ “ความหมายของภาวะผู้น�ำ” ในมุมมองต่างๆ ของนักธุรกิจแนวหน้าของประเทศไทยกันค่ะ ขุนพลมือหนึง่ จากธุรกิจกระดาษ “เอสซีจี เปเปอร์” หนึง่ ในธุรกิจ หลักของบริษัทปูนซิเมนต์ไทย จ� ำ กั ด (มหาชน) “รุ ่ ง โรจน์ รังสิโยภาส” กล่าวถึงมุมมอง เรื่องภาวะผู้น�ำผ่านแนวทางใน การคัดเลือกผู้น�ำว่า “ในการ คัดเลือกผู้บริหารระดับสูงของ
ในส่ ว นของผู ้ น� ำ องค์ ก รด้ า น พลังงาน “ดร.ไพรินทร์ ชูโชติ ถาวร” ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริหารและกรรมการผู้จัดการ ใหญ่ “บริ ษั ท ปตท. จ� ำ กั ด (มหาชน)” ได้กล่าวว่า “ผู้น�ำที่ ดีนั้นคือผู้ที่มีความรับผิดชอบ แบบ 360 องศา ไม่ว่าจะเป็น
“ตัน ภาสกรนที” บิ๊กบอสแห่ง อิ ชิ ตั น กรุ ๊ ป เจ้ า ของวลี เ ด็ ด “ผูน้ ำ� ต้องสูไ้ ม่ถอย กัดไม่ปล่อย" เพราะเขาได้ผา่ นการต่อสูม้ าทุก รูปแบบ ล้มเหลวมาหลายครั้ง จนเป็นหนี้กว่า 100 ล้านบาท แต่เขาไม่เคยท้อและไม่เคยหยุด จนกระทัง่ พาตนเองและทีมงาน
“ก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์” กุนซือ ใหญ่ แ ห่ ง ธุ ร กิ จ ค้ า ปลี ก ชื่ อ ดั ง อย่าง “ซีพี ออลล์” ได้ให้ค�ำ จ�ำกัดความของวิถีแห่งผู้น�ำว่า “การเป็นผู้น�ำต้องมีจิตใจกว้าง ขวาง มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ไม่ โอ้อวดตนเอง ยกความดีความ ชอบให้แก่ลูกน้อง และมีความ
องค์ ก รนั้ น เรื่ อ งของความ สามารถคงไม่ ต ้ อ งพู ด ถึ ง ทุ ก ท่ า นล้ ว นแล้ ว แต่ มี ค วาม สามารถโดดเด่นเฉพาะตัวอยู่ แล้ว แต่สิ่งส�ำคัญที่สุดในการ ตัดสินใจเลือกผู้น�ำของเอสซีจีก็ คือ “การเลือกคนทีม่ คี วามดีอยู่ ในตัวมากทีส่ ดุ ” ใครเป็นคนดีได้ มากกว่ากัน..นั่นคือสิ่งส�ำคัญที่ เอสซีจใี ห้ความหมายส�ำหรับค�ำ ว่า “ผู้น�ำ” (ที่มา: http://www.
ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ตนเอง เพื่อนร่วมงาน ทีมงาน รวมไป ถึ ง การสนั บ สนุ น ให้ อ งค์ ก ร ด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมทั่วทั้งองค์กร อันเป็น รากฐานส� ำ คั ญ ในการด� ำ เนิ น ธุรกิจ” ซึ่งหากทุกธุรกิจมีความ รับผิดชอบต่อสังคม แน่นอน เลยว่าประเทศชาติของเราก็จะ สามารถเติบโตไปได้อย่างยัง่ ยืน ต่อไป (ที่มา: http://www.คนเก่งคน
สู่ความเป็นผู้น�ำในธุรกิจอาหาร และเครือ่ งดืม่ อย่างทุกวันนี้ คุณ ตันเชื่อว่า “ผู้น�ำต้องเป็นผู้สร้าง ก�ำลังใจให้แก่ทีมงาน ต้องหมั่น ศึกษาหาความรู้ รู้จักวิเคราะห์ สถานการณ์ เหตุการณ์ และ ปัจจัยทีเ่ กิดขึน้ เพือ่ น�ำมาเตรียม ความพร้อมให้กบั องค์กร ทุกคน แพ้ได้ ล้มเหลวได้ แต่ต้องไม่ล้ม เลิ ก ผู ้ ล ้ ม เลิ ก คื อ ผู ้ ที่ ล ้ ม เหลว เท่านั้น” (ที่มา: https://phongzah-
ยุ ติ ธ รรม เท่ า นี้ ลู ก น้ อ งก็ จ ะ ยินยอมพร้อมใจและพร้อมจะ ปฏิบัติตามค�ำสั่งอย่างเคร่งครัด นอกจากนี้การสรรหาคนเก่งไว้ รอบตั ว เรา จะก่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์มากมายแก่ทั้งหน่วย งานและองค์กรของเรา” (ที่มา:
bangkokbiznews.com/news/)
ดี.com/)
http://www.manager.co.th/iBizChannel)
run.wordpress.com)
Believe it or not เชื่อว่า ทุกคนคาดหวังที่จะได้เป็นผู้น�ำที่ประสบความส�ำเร็จ เป็นที่ยอมรับ และได้รับการยกย่องชื่นชมจากหัวหน้า งานหรือทีมงาน แต่ไม่ว่าคุณจะเป็นผู้น�ำในรูปแบบไหน ที่ส�ำคัญจะต้องเป็นผู้น�ำที่เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งเป็นสิ่งส�ำคัญที่จะ น�ำพาองค์กรและประเทศชาติเติบโตได้อย่างยั่งยืน 18
iMBA@PIM by RosyPink
ผู้น�ำ ทางธุรกิจ ในยุคศตวรรษ ที่ 21 อาจารย์ดิเรก ทิศานุทิศ
ประจำ�หลักสูตร iMBA สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
ตัวอย่างเช่น Skype เกิดขึน้ เพือ่ ให้มกี ารโทร ติดต่อกันระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่าน เครือข่ายการสือ่ สาร รวมทัง้ การโทรแบบค่า โทรราคาถูกระหว่างโทรศัพท์แบบพื้นฐาน ยั ง ผลให้ เ กิ ด ผลกระทบต่ อ ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก าร โทรศัพท์แบบเดิม ระบบการตลาดแบบ ออนไลน์กก็ ำ� ลังส่งผลกระทบต่อศูนย์การค้า สภาพแวดล้ อ มทางธุ ร กิ จ ในปั จ จุ บั น มี ต่างๆ อย่างน่ากลัว (ที่มา : http://www. ลักษณะที่มีความซับซ้อน (complexity) mckinsey.com/features/sizing%20 ไม่แน่นอน (uncertainty) และมีความไม่ the%20internet%20economy.aspx) ต่อเนื่อง (discontinuity) สภาพแวดล้อม ผู ้ น� ำ ทางธุ ร กิ จ ยั ง ต้ อ งเผชิ ญ กั บ สภาพ ทางธุรกิจจะมีความซับซ้อนจากการที่มีผู้ แวดล้อมทางธุรกิจทีม่ คี วามไม่แน่นอน หาก เกี่ยวข้องเพิ่มมากขึ้น มีโมเดลทางการผลิต ผูน้ ำ� ทางธุรกิจไม่จบั ตาในอุตสาหกรรมทัง้ ที่ และธุรกิจที่เกิดจากนวัตกรรมใหม่ๆ ของ เกีย่ วข้องและไม่เกีย่ วข้องแล้ว อาจพบว่าตน นักคิดในเจเนอเรชั่นใหม่ ซึ่งน�ำโมเดลทาง ได้มาถึงจุดจบของผลิตภัณฑ์ ซึง่ อาจรวมไป ธุรกิจใหม่ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อนในอดีตมาใช้ ถึงจุดจบขององค์กร และของระบบการผลิต โมเดลใหม่ๆ ทางธุรกิจเหล่านี้มีผลกระทบ ทัง้ หมดด้วย ตัวอย่างทีด่ คี อื Blackberry ซึง่ ต่อธุรกิจรูปแบบเดิมๆ ที่ใช้อยู่ โดยได้เข้า เคยเป็นธุรกิจใหญ่ในตลาดสมาร์ทโฟนใน ครองส่ ว นแบ่ ง ตลาดไปอย่ า งมากมาย ตอนปลายยุค 90’s แต่ก็ต้องมาพ่ายแพ้ต่อ คอลัมน์ iMBA@PIM ในฉบับนี้ขอน�ำท่านผู้ อ่านไปรู้จักกับการเป็นผู้น�ำทางธุรกิจ ผ่าน มุมมองของ อาจารย์ดิเรก ทิศานุทิศ ผู้สอน วิชา Leadership หนึง่ ในทีมอาจารย์ทเี่ ต็ม เปี่ยมไปด้วยความสามารถทั้งทางด้านการ ศึกษาและธุรกิจประจ�ำหลักสูตร iMBA ของ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
20
Apple iPhone และ Google Android เนื่องจากไม่สามารถแข่งขันกับคู่แข่งได้ทั้ง ในด้านความเชี่ยวชาญ และความเข้าใจ ความต้องการของลูกค้า ความไม่ตอ่ เนือ่ งในทางธุรกิจ สะท้อนให้เห็น ว่า ความส�ำเร็จในอดีตขององค์กร ไม่ได้ ประกันความเป็นผู้น�ำทางธุรกิจในอนาคต ขององค์กรนั้น องค์กรต่างๆ ในทุกวันนี้ไม่ รูส้ กึ พอใจกับความเป็นผูน้ ำ� ในอุตสาหกรรม หรือธุรกิจของตน และท�ำอย่างเดิมเรื่อยไป ในอนาคต ตัวอย่างที่ส� ำคัญคือ Blockbuster บริษทั ให้เช่าวีดโิ อซึง่ ด�ำเนินธุรกิจไป ได้อย่างดีมากในตอนปลายยุค 90’s แต่ กลับไม่สามารถด�ำเนินธุรกิจในโมเดลนัน้ ต่อ ไปได้ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงในด้าน พฤติกรรมการซื้อและทางเลือกของลูกค้า โดยลูกค้าเปลี่ยนไปนิยมการใช้ระบบยืม ออนไลน์ เช่น Netflix หรือหันไปหา Redbox (ผูใ้ ห้บริการ DVD ทางตูห้ ยอดเหรียญ)
“ผู้น�ำทางธุรกิจในยุคศตวรรษที่ 21 ต้องเผชิญกับสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดยั้ง”
ผู้น�ำทางธุรกิจแห่งศตวรรษที่ 21 จะเป็น ผูน้ ำ� ก�ำลังคนทีม่ คี วามหลากหลาย ซึง่ ทัง้ ใน แง่ มุ มของคนที่ อ ยู ่ ใ นเจเนอเรชั่ น ต่ า งกั น และต้องมาท�ำงานอยู่ด้วยกัน จากกลุ่มคน ที่เกิดในช่วงปลายยุค Baby Boom ไป จนถึงคนยุคเจเนอเรชั่น X เจเนอเรชั่น Y และเจเนอเรชั่น 2020 ที่ก�ำลังเกิดขึ้น นอก เหนื อ ไปจากนี้ ก� ำ ลั ง คนผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านยั ง มี ความหลากหลายไปอีกในแง่ของวัฒนธรรม และกลุ่มชาติพันธุ์ ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเพิ่มแรง กดดั น อย่ า งหนั ก ให้ กั บ ผู ้ น� ำ ซึ่ ง จะต้ อ ง สามารถน�ำธุรกิจไปด้วยความยืดหยุ่นและ เข้าอกเข้าใจ เพื่อให้บรรลุผลส�ำเร็จทั้งใน ระดับเป้าหมายย่อย วัตถุประสงค์ และ เป้าหมายสูงสุด
ดั ง นั้ น ผู ้ น� ำ ทางธุ ร กิ จ ในศตวรรษที่ 21 แนวคิดใหม่ๆ ที่ได้มาจากการวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นับเป็นความส�ำคัญใน จ�ำเป็นทีจ่ ะต้องมีความฉลาดในการน�ำ โดย ล�ำดับต้นๆ ที่จะประกันความยั่งยืนของธุรกิจ เพื่อตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมทาง ต้องเป็นทัง้ Team Leader, Team Builder ธุรกิจทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะเช่นนี้ ผูน้ �ำธุรกิจจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องน�ำก�ำไรส่วนหนึง่ ของธุรกิจของ และ Team Member เขาใช้ไปในการวางแผนกลยุทธ์ในด้านการวิจัยและพัฒนาอย่างดี เพื่อให้มีการผลิต การเป็นผู้น�ำทางธุรกิจที่ดีต้องกล้าคิด กล้า สินค้าและบริการใหม่ๆ ออกมาอย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ ให้บริการแก่ลกู ค้าทีม่ คี วามต้องการ ท�ำ กล้าเสี่ยง อย่างค�ำที่เราเคยได้ยินกันมา ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปอย่างต่อเนือ่ ง ตัวอย่างทีเ่ ห็นจากอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ ก็เช่น ว่า “ผู้น�ำต้องโดดเด่น” Toyota Prius ซึ่งเป็นรถยนต์ระบบ Hybrid ที่ใช้ไฟฟ้าอย่างเต็มรูปแบบ และ Nissan หลักสูตร iMBA เป็นหนึ่งในหลักสูตรที่เน้น LEAF ซึ่งเป็นรถยนต์ที่ใช้ไฟฟ้าทั้งหมด โมเดลเหล่านี้ได้รับการต้อนรับอย่างท่วมท้น เรื่ อ งการพั ฒ นาความเป็ น ผู ้ น� ำ ให้ แ ก่ จากลูกค้า นักศึกษาทีจ่ ะก้าวไปเป็นผูบ้ ริหารในอนาคต ทั้งเรื่องการบริหารคนและบริหารต่อยอด ธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ หากสนใจข้อมูล เพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักสูตร iMBA สามารถ เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ หรือติดตามข่าวสาร และกิจกรรมของหลักสูตร iMBA ได้ที่ iMBA@PIM และ http://interprogram.pim.ac.th หรือ E-mail: iMBA@pim.ac.th โทร.02 832 0944-5, 02 837 1209
Create Professionals by Professionals
21
พอถึงเวลาบ่ายโมงตรง เสียงเพลงบรรเลง ของวงโยธวาทิตสุดยิ่งใหญ่อลังการก็ดังขึ้น เพื่อน�ำมหาบัณฑิตและบัณฑิตเดินผ่านซุ้ม by Bluebearry ประตูเพื่อเข้าสู่หอประชุมปัญญาภิวัฒน์ ระหว่างทางเดินนั้นก็เต็มไปด้วยเสียงปรบ มือจากรุน่ น้อง PIM ทีม่ ายืนร่วมแสดงความ ในที่สุดวันที่รอคอยของมหาบัณฑิตทุกคนก็มาถึง หลังจากเหน็ดเหนื่อยจากการศึกษา ยินดีตลอดสองข้างทาง สร้างความประทับ เล่าเรียนอย่างเต็มที่ตลอดระยะเวลา 2 ปี ซึ่งจะเป็นวันใดไปเสียไม่ได้ ถ้าไม่ใช่วันสุดพิเศษ ใจและความภูมิใจให้แก่มหาบัณฑิตและ อันน่าจดจ�ำของทุกคนในพิธีประสาทปริญญาบัตรบัณฑิตและมหาบัณฑิต รุ่นที่ 4 เมื่อวัน บัณฑิตอย่างยิ่ง ที่ 9 มีนาคม 2558 ที่ผ่านมา งานประสาทปริญญาบัตรในปี 2556 นี้ สถาบันฯ ได้รับเกียรติจาก ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร.นพ.กระแส ชนะวงศ์ นายก สภาสถาบัน ให้เกียรติเป็นประธานในพิธี ประสาทปริ ญ ญาบั ต รให้ กั บ บั ณ ฑิ ต และ มหาบัณฑิตทุกท่าน
ช่วงเช้ามหาบัณฑิตทุกคนรวมตัวกันอย่าง พร้อมเพรียงทีอ่ ฒ ั จันทร์เพือ่ บันทึกภาพหมู่ ร่วมกันกับคณาจารย์และผูบ้ ริหารของ PIM จากนั้นทุกท่านก็ได้พักผ่อนตามอัธยาศัย บางท่านก็ถ่ายรูปเล่นระหว่างรอเรียกรวม ตัว บางท่านก็แวะเยี่ยมชมบูธต่างๆ ที่มา แจกผลิตภัณฑ์ให้ผู้มาร่วมงานได้ชม ใช้ ชิม ลิ้มลองกันอย่างสนุกสนานและเอร็ดอร่อย
22
ปิดท้ายภาพความประทับใจในหอประชุม กันด้วยพลุสายรุ้งที่เหล่าบัณฑิตและมหา บัณฑิตร่วมกันดึงเพือ่ ฉลองความส�ำเร็จของ ตัวเอง บอกได้เลยว่านี่คือช่วงเวลาที่ดีที่สุด ครั้งหนึ่งส�ำหรับทุกคนที่มีโอกาสอยู่ในพิธี ครั้งนี้เลยทีเดียว ในนามของ Panyapiwat MBA ขอแสดงความยินดีกับมหาบัณฑิต ทุกท่านมา ณ ที่นี้ด้วย
ติดตามความสนุกครั้งต่อไปได้ทาง ค้นหาค�ำว่า “Panyapiwat MBA”
มาถึงศิษย์รุ่นปัจจุบันที่ยังคงไฟแรงมุ่งหน้า ศึกษาหาความรู้เพื่อตามรอยรุ่นพี่กันบ้าง เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2558 ที่ผ่านมา คณาจารย์ แ ละเจ้ า หน้ า ที่ พ านั ก ศึ ก ษา หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ เข้าศึกษา ดูงานธุรกิจชัน้ น�ำในประเทศ ตอกย�ำ้ จุดเด่น
ของหลักสูตรภายใต้แนวคิด Practice for Real ที่ให้นักศึกษาได้สัมผัส Real Cases จริง ณ สถาบัน M Academy และบริษัท ยูนิ-เพรสซิเดนท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
บุคลากรของ บริษัท แมคไทย จ�ำกัด และ วิสัยทัศน์ของสถาบันที่ต้องการสร้างแรง บันดาลใจเพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น โดย เน้นการปรับเปลีย่ นวิธคี ดิ ของคน และสร้าง เริ่มที่สถาบัน M Academy ในช่วงเช้า ทัศนคติให้เป็นบวก เพราะถือว่าการเปลีย่ น นักศึกษาได้เข้าเยีย่ มชมสถานทีภ่ ายในศูนย์ ความคิดคนให้เป็นบวกคือจุดเริ่มต้นของ ฝึกอบรม รวมถึงเรียนรู้กลยุทธ์การบริหาร การเปลี่ยนแปลง ต่อด้วยในช่วงบ่ายเข้าเยี่ยมชม บริษัท ยูนิเพรสซิเดนท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ในเครือ บริษัท ยูนิ-เพรสซิเดนท์ เอ็นเตอร์ไพรส์ ผู้ ผลิตและจัดจ�ำหน่ายอาหารที่ใหญ่ที่สุดใน ประเทศไต้หวัน ในวันนี้นักศึกษาได้เรียนรู้ ผลิตภัณฑ์เครือ่ งดืม่ หลากหลายชนิดภายใต้ แบรนด์ยอดนิยม “ยูนิฟ” รวมถึงได้เข้า เยี่ยมชมกระบวนการผลิตอีกด้วย กิจกรรมดีๆ และภาพความประทับใจต่างๆ ใน Panyapiwat MBA จะเป็นเช่นไรต่อไป โปรดติดตามฉบับหน้าค่ะ 23
ศูนยพัฒนาเครือขายทางธุรกิจ สำนักบริการวิชาการ สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน
Business Networking Center Academic Services Office I Panyapiwat Institute of Management
CP All Business Experience
PIM Academic Expert
g
04 Busine ss F ield 03 Inhou Trip se T rain 02 Publ in ic T rai 01 Kno wl g nin ring e Sha edg
SERVICES
Knowledge Sharing
Why BNC ?
Public Training
Inhouse Training
Business Field Trip
CP All Know-How
Course Content
Professional Instructors
Retail and Wholesale Management
Professional Academic Team
Academic Expert
Training Proficiency Test
Logistic and Warehouse
Tailor-Made Course
Professional Expert
Course Satisfaction Survey
Managerial Management Skill
Practical Knowledge
Tank of Business Guru
Retail Service Excellence
Course Assessment
Cover All Business Level
For more Information, please contact Business Networking Center I Academic Services Office Tel: 02 832 0980, 02 837 1092-3