Jun-Aug 2015
กุญแจสู่ความยั่งยืน ของธุรกิจในประชาคมอาเซียน ตามแบบฉบับ CPF โดย คุณอดิเรก ศรีประทักษ์
กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานคณะผู้บริหาร บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน)
Biz on the Move มิงกะลาบา วันนี้คุณรู้จักเมียนมาดีแค่ไหน
HR Focus Action Learning รูปแบบการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ ในยุคเศรษฐกิจถดถอย
หากมองภาพใหญ่ทงั้ หมดของการจัดตัง้ สมาคมอาเซียน (ASEAN Community) จะพบว่าประกอบไปด้วย 3 เสาหลักๆ คือ ประชาคมการเมืองความมัน่ คงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community หรือ APSC) ที่มุ่งเน้นไปที่การสร้าง เสถียรภาพทางการเมืองและสันติสขุ ของประเทศในแถบภูมภิ าค ประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community หรือ ASCC) ที่ มีเป้าหมายมุง่ พัฒนาทางด้านสังคมและวัฒนธรรมเพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ ของ ประชาชนในภูมิภาค และประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community หรือ AEC) ที่มุ่งเน้นไปที่การพัฒนาความมั่นคง มั่งคั่ง และเพิ่มขีด ความสามารถทางการแข่งขันของประเทศสมาชิกกับภูมิภาคอื่นๆ
Jun-Aug 2015
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์
คุณก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์ รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อาจารย์พรวิทย์ พัชรินทร์ตนะกุล รศ.ดร.สมโรตม์ โกมลวนิช คุณสยาม โชคสว่างวงศ์ รศ.ดร.เรืองศักดิ์ แก้วธรรมชัย ผศ.ดร.ศรีไพร ศักดิ์รุ่งพงศากุล คุณปาริชาต บัวขาว
คอลัมนิสต์กิตติมศักดิ์
ดร.เลิศชัย สุธรรมานนท์ ดร.กิตติ เศรษฐวรพันธุ์ อาจารย์วิเชศ คำ�บุญรัตน์
บรรณาธิการ
ผศ.ดร.ภญ.ธัญญา สุพรประดิษฐ์ชัย
หัวหน้ากองบรรณาธิการ ธมลวรรณ อัศเวศน์
กองบรรณาธิการ
ภัทรกมล คีรีวัชรินทร์ เหมือนฝ้าย ปัญญวานิช เพชรไพลิน สาวะดี วรานี จรูญลักษณ์คนา ภูริมาศ สว่างเมฆ ปรัชนัน ทิพย์ปัญญา ศรัณย์รักษ์ กองสูงเนิน เพ็ญนภา กมลาสน์มรกต
ศิลปกรรม
เอกภพ สุขทอง ทักษกร นุ้ยเพ็ง
อีกเพียง 4 เดือน ประเทศไทยก็จะก้าวเข้าสู่การเป็นส่วนหนึ่งของประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ภายใต้สภาวะเศรษฐกิจที่ตกต�่ำตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมา ก�ำลังซือ้ ของผูบ้ ริโภคทีล่ ดลง ปัญหาหนีค้ รัวเรือนและปัญหาหนีเ้ สียในระบบท�ำให้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนถูกกล่าวถึงมากขึ้น เพราะเป็นเรื่องของการค้าและ การลงทุนระหว่างประเทศสมาชิกทีจ่ ะส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจทัง้ ของภูมภิ าคนี้ และของโลก เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น นิตยสาร MBA Connected by PIM ฉบับนีจ้ งึ ได้นำ� บทสัมภาษณ์ของคุณอดิเรก ศรีประทักษ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานคณะผู้บริหาร บริษัทเจริญ โภคภั ณ ฑ์ อ าหาร (CPF) มาน� ำ เสนอแก่ ท ่ า นผู ้ อ ่ า นเพื่ อ เป็ น การแบ่ ง ปั น ประสบการณ์ตรง มุมมอง และแนวคิดในการปรับตัวของธุรกิจใหญ่ในตลาด อาเซียน มีการคาดการณ์ว่า ระบบเศรษฐกิจโลกจะเคลื่อนย้ายศูนย์กลางมายังภูมิภาค เอเชียเพิ่มขึ้น ประเทศต่างๆ ที่เป็นสมาชิกอาเซียนจะค่อยๆ เปิดเสรีทางการค้า มากขึ้นเรื่อยๆ เมื่อเห็นถึงประโยชน์ที่จะได้รับ ที่ส�ำคัญจะเกิดการรวมกลุ่มทาง เศรษฐกิจขนาดใหญ่ 3 กลุ่มทั่วโลก ได้แก่ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาค เอเชียตะวันออก (ASEAN+3 และ ASEAN +6) การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจใน อเมริกา (ประกอบด้วย LAFTA, CACM และ Mercosur) และการรวมกลุ่มทาง เศรษฐกิจในยุโรป (EU) โลกเปลี่ ย นแปลงไปทุ ก วิ น าที และไม่ มี สิ่ ง ใดบนโลกใบนี้ ที่ ห ยุ ด อยู ่ นิ่ ง คงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงเลย ยิ่งในโลกธุรกิจที่ระบบเศรษฐกิจมีความเชื่อมโยงกันอย่าง มากเฉกเช่นในยุคปัจจุบนั ด้วยแล้ว การปรับตัวปรับกลยุทธ์ของภาคธุรกิจเพือ่ ให้ ทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนไปจึงเป็นสิ่งที่มีความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่ง ขอเป็น ก�ำลังใจให้นักธุรกิจไทยและผู้อ่านทุกท่านนะคะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.ธัญญา สุพรประดิษฐ์ชัย บรรณาธิการ
by Bluebearry
รูจ้ กั ตลาดอาเซียน เตรียมพร้อมอย่างไรให้ประสบความสำ�เร็จ โอกาสและความท้าทายในการลงทุน ............................................................................................................................................................................
หลักสูตร iMBA จัดงานสัมมนา เจาะลึก ธุรกิจไทยในตลาดอาเซียน เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2558 โดยได้รับเกียรติจาก วิทยากรผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ โดยตรงในการเปิดตลาดอาเซียนมาร่วม สั ม มนา คุ ณ สนั่ น อั ง อุ บ ลกุ ล ประธาน
กรรมการและกรรมการผู ้ จั ด การ บมจ. ศรีไทยซุปเปอร์แวร์ และคุณอรนุช ผการัตน์ ประธานสมาคมผู้ประกอบการในกัมพูชา ผู้บริหารบริษัท อินทราแม่โขง จ�ำกัด และ บริษทั เฟิรส์ ทราเวล จ�ำกัด วิทยากรต่างเล่า ถึงประสบการณ์ในการลงทุนในประเทศ
เพือ่ นบ้าน เช่น เวียดนาม สิงคโปร์ อินโดนีเซีย กัมพูชา การเตรียมความพร้อมในการลงทุน รวมถึงการเรียนรู้วิธีการปรับตัว การใช้ โอกาสและช่องทางต่างๆ ในการด�ำเนินธุรกิจ ต่างแดนให้ประสบความส�ำเร็จ
เปิดตัวหลักสูตร POS & เสวนาพิเศษ “วิกฤตธุรกิจไทย ขาดคนหรือคนขาดศักยภาพ” ............................................................................................................................................................................
MBA สาขาการบริ ห ารคนและกลยุ ท ธ์ องค์การ เปิดตัวหลักสูตร People Management and Organization Strategy (POS) หรือ การบริหารคนและกลยุทธ์ องค์การ ภายในงานยังจัดเสวนาในหัวข้อ “วิ ก ฤตธุ ร กิ จ ไทย ขาดคนหรื อ คนขาด ศักยภาพ” เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2558 โดย
4
ได้รับเกียรติจากผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร คนมาร่วมแสดงความคิดเห็น คือ คุณสุเมธ เหล่าโมราพร ผู้อ�ำนวยการสถาบันผู้น�ำ เครือเจริญโภคภัณฑ์ คุณมุกดา ไพรัชเวทย์ กรรมการผูจ้ ดั การกลุม่ ธุรกิจอาหารในกลุม่ บริษัทเป๊ปซี่-โคล่า (ไทย) เทรดดิ้ง จ�ำกัด และคุ ณ สุ ร ชั ย ชาญอนุ เ ดช กรรมการ
ผูอ้ ำ� นวยการบริษทั เคที เรสทัวรองค์ จ�ำกัด และด� ำ เนิ น รายการโดย ดร.เลิ ศ ชั ย สุธรรมานนท์ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวางแผน และพัฒนา และผูอ้ ำ� นวยการหลักสูตร MBA สาขาวิชาบริหารคนและกลยุทธ์องค์การ งานนี้มีผู้เข้าร่วมรับฟังเป็นจ�ำนวนมาก
CEO ผูน้ �ำ แห่งการสร้างพลัง ............................................................................................................................................................................
ส�ำนักบริหารเครือข่ายทางธุรกิจ บมจ.ซีพี ออลล์ ร่ ว มกั บ หลั ก สู ต ร MBA จั ด งาน สัมมนาพิเศษภายใต้หวั ข้อ “CEO ผูน้ ำ� แห่ง การสร้างพลัง” เมือ่ วันที่ 12 มิถนุ ายน 2558
ณ อาคาร CP ALL Academy โดยได้รับ ที่มาแบ่งปันประสบการณ์ Leadership เกี ย รติ จ ากคุ ณ สุ พั ต รา เป้ า เปี ่ ย มทรั พ ย์ Journey และการเสริมสร้างแรงบันดาลใจ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร กลุ ่ ม บริ ษั ท ในการท�ำงาน ยูนิลีเวอร์ประเทศไทย CEO หญิงคนแรก
ถอดรหัสคูค่ า้ : เจาะลึกการค้าการลงทุนในความตกลง TPP ............................................................................................................................................................................
ศูนย์อาเซียน-จีนศึกษา PIM จัดงานสัมมนา หัวข้อ “ถอดรหัสคู่ค้า: เจาะลึกการค้าการ ลงทุนในความตกลง TPP” ภายใต้โครงการ จั ด จ้ า งที่ ป รึ ก ษาการจั ด ท� ำ ความตกลง หุ ้ น ส่ ว นทางเศรษฐกิ จ ภาคพื้ น แปซิ ฟ ิ ก (Trans-pacific Partnership: TPP) เมื่อ
วั น ที่ 19 มิ ถุ น ายน 2558 ณ แกรนด์ เมอร์ เ คี ย ว ฟอร์ จู น งานนี้ ไ ด้ รั บ การ สนับสนุนจากกรมเจรจาการค้าระหว่าง ประเทศ กระทรวงพาณิชย์ และจัดขึ้นเพื่อ เผยแพร่ผลการศึกษาวิจยั เบือ้ งต้นและสร้าง ความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับความตกลง TPP
ในหมู่ประชาชน รวมทั้งระดมความคิดเห็น ของทุกภาคส่วนต่อการทีไ่ ทยจะเข้า/ไม่เข้า ร่ ว มความตกลง TPP โดยได้ รั บ เกี ย รติ จากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิจากหลากหลาย สาขา
Luxellence Center จัดหลักสูตรผูบ้ ริหาร เจาะลึกกลยุทธ์การส่งมอบประสบการณ์และบริการหรู ............................................................................................................................................................................ ศูนย์องค์ความรู้ด้านลักชัวรี่ (Luxellence Center) ภายใต้การบริหารของ บมจ. ซีพี ออลล์ จัดหลักสูตรผู้บริหาร “การส่งมอบ ประสบการณ์และบริการหรู (Luxury Experience & Service)” ณ โรงแรมแกรนด์ ไฮแอท เอราวั ณ โดยได้ รั บ เกี ย รติ จ าก วิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการธุรกิจ แบรนด์หรูมากว่า 20 ปี อาจารย์เดนิส
มอริเซ็ต และ ดร.ฐิติพร สงวนปิยะพันธ์ ผู้อ�ำนวยการ Luxellence Center มาร่วม แบ่งปันกลยุทธ์การส่งมอบประสบการณ์ และบริการหรู พร้อมกรณีศกึ ษาของโรงแรม แมนดาริน โอเรียนเต็ล และบริการเลขา ไลฟ์สไตล์สดุ หรู ควินเทสเซ็นเชียลลี่ ภายใน งานเต็มไปด้วยผู้บริหารรุ่นใหม่ที่ให้ความ สนใจเข้าร่วมอบรมกันอย่างคับคั่ง 5
Sit in Real Class กับ Panyapiwat MBA : Power of Word of Mouth ............................................................................................................................................................................
หลักสูตร MBA จัดบรรยายพิเศษภายใต้ หัวข้อ “Power of Word of Mouth : กลยุทธ์การตลาดปากต่อปาก” เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2558 ณ อาคาร CP ALL Academy พร้อมทัง้ เปิดห้องเรียนให้บคุ คล ภายนอกที่สนใจในหลักสูตร MBA เข้าร่วม
สัมผัสบรรยากาศการเรียนจริงกับนักศึกษา Sit-in ในคลาสเรียนแบบไม่มีกั๊ก ซึ่งได้รับ ปริญญาโท การบรรยายในครัง้ นีไ้ ด้รบั เกียรติ ความสนใจจากผู้ที่มาร่วมรับฟังบรรยาย จาก รศ.ดร.เสรี วงษ์มณฑา ผูเ้ ชีย่ วชาญด้าน เป็นจ�ำนวนมาก กลยุทธ์ทางการตลาด มาบรรยายพร้อมให้ คาถากลยุทธ์ในการบอกต่อแบบ WOWW!!! และ BUZZ!!! แก่นักศึกษาและผู้ที่มาร่วม
HR System Analytic Tools for Business Result ............................................................................................................................................................................
หลักสูตร MBA สาขาการบริหารคนและ กลยุทธ์องค์การ ร่วมกับโครงการ Professional Development Program ซึ่งเป็น โครงการ Knowledge Sharing จัดบรรยาย พิเศษในหัวข้อ “HR System Analytic Tools for Business Result” ในวันที่ 16
กรกฎาคม 2558 ณ อาคารอเนกประสงค์ PIM งานสัมมนาครั้งนี้ได้รับเกียรติจากกูรู ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ดร.เลิศชัย สุ ธ รรมานนท์ มาบรรยายพิ เ ศษพร้ อ ม วิ เ คราะห์ แ ละน� ำ เสนอทางเลื อ กในการ บริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด
ส�ำหรับธุรกิจ เพื่อบูรณาการระบบบริหาร ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ เ ข้ า กั บ องค์ ก ารเพื่ อ เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันทาง ธุรกิจและความส�ำเร็จของธุรกิจในภาวะ วิกฤติ
Real
Business Application
6
23.04.58
25.06.58
บริษัท โกจิโซ ดิสทริบิวชั่น จำ�กัด
บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท พี แอนด์ พี ฟู้ดแอนด์เบฟเวอเรจ จำ�กัด
บริษัท เพียวกรีน จำ�กัด
04.06.58
01.07.58
ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท อุตสาหกรรมทำ�เครื่องแก้วไทย จำ�กัด (มหาชน)
16.06.58
10.07.58
Well hotels & Resorts
บริษัท ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด (มหาชน) บริษัท สมุนไพรไทยหงส์ไทย จำ�กัด 7
กุญแจสู่ความยั่งยืน ของธุรกิจในประชาคม อาเซียนตามแบบฉบับ CPF จากวิสยั ทัศน์อนั ยาวไกลของท่านธนินท์ เจียรวนนท์ ประธานกรรมการ และประธานคณะผูบ้ ริหาร เครือเจริญโภคภัณฑ์ (เครือซีพ)ี ทีต่ อ้ งการ เห็นธุรกิจในเครือซีพี (CP Group) สามารถเติบโตเป็นองค์กรชั้นน�ำ ระดับโลก โดยการเข้าไปลงทุนในประเทศต่างๆ ตลอดระยะเวลากว่า 94 ปีทผ ี่ า่ นมา และได้ยดึ หลักปรัชญาการด�ำเนินธุรกิจแบบ “3 ประโยชน์ สู่ความยั่งยืน” ด้วยการลงทุนและขยายธุรกิจที่คำ� นึงถึง 1) ประโยชน์ ทีจ่ ะเกิดต่อประเทศชาติทบี่ ริษทั เข้าไปลงทุน 2) เกิดประโยชน์ตอ่ ประชาชน ของประเทศนั้นๆ รวมทั้งประเทศไทย และ 3) เกิดประโยชน์ต่อบริษัท ในล�ำดับสุดท้าย ซึ่งเป็นปรัชญาที่สร้างการเติบโตที่ครอบคลุมมิติด้าน เศรษฐกิจ มิติด้านสังคม และมิติด้านความยั่งยืนไปพร้อมๆ กัน บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) หรือ CPF เป็นองค์กร หนึ่งในเครือซีพี และด�ำเนินธุรกิจตามปรัชญา 3 ประโยชน์ของท่าน ประธานธนินท์ เจียรวนนท์ ข้างต้นด้วยการก�ำหนดโมเดลการผลิตอาหาร ครบวงจรตั้งแต่ต้นน�้ำ (อาหารสัตว์) กลางน�้ำ (การเลี้ยงสัตว์ในฟาร์ม) และที่ปลายน�้ำ (การแปรรูปอาหาร รวมทั้งการขายและการขนส่ง) โดย เน้นการสร้างความมัน่ คงทางอาหารให้ประชากรโลก สร้างงานและอาชีพ ให้กับประชาชนของทุกประเทศที่ไปลงทุน โดย Forbe ได้จัดให้ CPF เป็นบริษัทอันดับที่ 1,454 ใน Forbe 2000 บริษัทที่ใหญ่ที่สุดในโลก ด้วย Market Cap จ�ำนวน $US 5.4 พันล้าน ซึ่งถือเป็นความส�ำเร็จ
คุณอดิเรก ศรีประทักษ์
กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานคณะผู้บริหาร บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน)
8
อันยิ่งใหญ่ของ CPF ที่ได้มาจากวิสัยทัศน์อันเลิศล�ำ้ ของผู้น�ำระดับ สูง และได้รบั ความร่วมมือจากบุคลากรของบริษทั ในทุกระดับเป็น อย่างดี ดังนั้น CPF จึงตระหนักถึงความส�ำคัญของบุคลากร และ ถ้ามองถึงความยั่งยืนของธุรกิจที่ต้องก้าวต่อไปในอนาคต จ�ำเป็น อย่างยิง่ ที่ CPF ต้องสร้าง “คนรุน่ ใหม่” ขึน้ เสริมก�ำลังอย่างต่อเนือ่ ง
ต้นน�้ำของการสร้างคน CPF ร่วมมือกับสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) ซึ่งเป็น องค์กรภายใต้สายงานธุรกิจซีพี ออลล์ (CP ALL) ในเครือซีพี ในการจัดตั้ง “คณะอุตสาหกรรมเกษตร” ขึ้นเพื่อผลิตบุคลากร เข้าเสริมทัพของ CPF ความร่วมมือครั้งนี้ เป็นการผนึกก�ำลัง ความเป็นเลิศของสององค์กร คือ CPF ที่มีความช�ำนาญในสาขา เกษตรอุตสาหกรรมและอาหารในระดับโลก และ PIM ที่มีความ เชีย่ วชาญด้านการจัดการศึกษาแบบ Corporate University เป็น แห่งแรกของประเทศไทย ได้รว่ มกันสร้างคณะอุตสาหกรรมเกษตร ให้มีโครงสร้างการเรียนการสอนในมิติใหม่เพื่อผลิตบัณฑิต ให้เป็น ทั้ง “คนดี” และเป็น “คนเก่ง” ทีม่ ีความรู้ มีความสามารถ มีความ เป็นผู้น�ำ และพร้อมที่จะร่วมขับเคลื่อน CPF ให้ก้าวไกลต่อไป อย่างไม่หยุดยั้ง คณะอุตสาหกรรมเกษตร PIM ได้รับการรับรองวิทยฐานะจาก ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (สกอ.) ให้เปิดการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2558 โดยมี นักศึกษารุน่ แรกเข้าศึกษาหลักสูตร “การจัดการเทคโนโลยีฟาร์ม” จ�ำนวน 50 คน เป็นหลักสูตรที่ได้รับการออกแบบให้ตอบสนองต่อ ธุรกิจของ CPF ทีก่ ลางน�้ำ (ด้านฟาร์มเลีย้ งสัตว์) ของบริษทั ด�ำเนิน การสอนโดยคณาจารย์มอื อาชีพและผูช้ ำ� นาญการในด้านต่างๆ จาก CPF โดยนักศึกษาเรียนทฤษฎีในห้องเรียน 45% และเข้าฝึก ปฏิบตั งิ านภาคสนามในสถานทีท่ ำ� งานจริงๆ เกีย่ วกับการเลีย้ งสัตว์ การจัดการเทคโนโลยีฟาร์ม และการจัดการสิง่ แวดล้อม ทีฟ่ าร์มไก่ และฟาร์มหมูของ CPF อีก 55% เป็นไปตามวิสัยทัศน์ของ PIM
คือ สร้างบัณฑิตมืออาชีพด้วยการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง (Creating Professionals through Work-Based Education) โดยทั้ง CPF และ PIM คาดหวังว่า บัณฑิตที่สำ� เร็จการศึกษาแล้ว จะสามารถปฏิบัติงานจริงได้ทันที และในขณะที่นักศึกษารุ่นแรก ของคณะอุตสาหกรรมเกษตร PIM ก�ำลังศึกษาเล่าเรียนในหลักสูตร แรก “การจัดการเทคโนโลยีฟาร์ม” อย่างมีประสิทธิภาพอยู่ใน ขณะนี้ คณะฯ ได้เตรียมความพร้อมที่จะเปิดสอนหลักสูตรที่ 2 คือ “การจัดการเทคโนโลยีแปรรูปอาหาร” ในปี 2559 ต่อไป ซึ่งเป็น หลักสูตรที่ตอบสนองต่อธุรกิจที่ปลายน�้ำ (ด้านแปรรูปอาหาร) ของบริษัท เชื่อมโยงกับหลักสูตรแรก โดยการน�ำผลผลิตเนื้อสัตว์ จากฟาร์มเลี้ยงสัตว์ของหลักสูตรแรก มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ อาหารในหลักสูตรที่สอง ธุรกิจของ CPF มีการเติบโต 10%-15% ทุกปีอย่างต่อเนื่อง และ มีการขยายธุรกิจไปยัง 14 ประเทศทั่วโลกโดยมีศูนย์กลางอยู่ใน ประเทศไทยนั้น จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องสร้างบุคลากรชั้นเลิศให้กับ ทุกประเทศ ดังนั้น คณะอุตสาหกรรมเกษตร PIM จึงวางแผนเปิด หลักสูตร “การจัดการเทคโนโลยีฟาร์ม” และหลักสูตร “การจัดการ เทคโนโลยีแปรรูปอาหาร” เป็นภาษาอังกฤษทั้งสองหลักสูตร โดย มีแผนรับนักเรียนเทียบเท่าชั้นมัธยม 6 สายวิทยาศาสตร์จาก 14 ประเทศ ส่งเข้ามาเรียนในประเทศไทย แล้วส่งบัณฑิตที่สำ� เร็จ การศึกษากลับไปปฏิบัติงานใน Operation ของ CPF ในประเทศ นั้นๆ เพื่อสร้างการเจริญเติบโตของธุรกิจในแต่ละประเทศทั่วโลก ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันกับประเทศไทย และร่วมกันก้าวไปสู่ วิสัยทัศน์ “ครัวของโลก” ต่อไป
ความยั่งยืนของธุรกิจ CPF ในอาเซียน การลงทุ น ของ CPF ในต่ า งประเทศนั้ น หากพิ จ ารณาในมิ ติ เศรษฐศาสตร์แล้ว CPF เป็นผู้ผลิตอาหารสัตว์อันดับ 1 ของโลก เป็นผู้น�ำอันดับ 2 ของโลกด้านธุรกิจสุกร เป็นผู้นำ� อันดับ 5 ของ โลกด้านธุรกิจไก่เนื้อ และ CPF ส่งออกกุ้งเป็นอันดับ 1 ของโลก
9
ท�ำให้สามารถกล่าวได้ว่า CPF เป็นองค์กรชั้นน�ำระดับโลกด้าน เกษตรอุตสาหกรรมและอาหารครบวงจรทีส่ ามารถแข่งขันในระดับ เวทีโลกได้ และหากพิจารณาในมิตทิ างสังคมแล้ว ผลิตภัณฑ์ที่ CPF วางจ�ำหน่ายไปมากกว่า 40 ประเทศใน 5 ทวีปทั่วโลก เป็นการ สร้างอาหารให้กับมวลมนุษยชาติ ซึ่งอาหารเป็น 1 ใน 4 ปัจจัย ส�ำหรับการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ และเพื่อให้เกิดการด�ำเนินการ อย่างเป็นระบบเกิดขึ้น CPF จึงก�ำหนดนโยบายการด�ำเนินธุรกิจที่ ค�ำนึงถึง “ความมั่นคงอาหาร” (Food Security), สังคมพึ่งตน (Self Sufficient Society), และดินน�้ำป่าคงอยู่ (Balance of Nature) ท�ำให้เกิดความสมดุลของมิติทางเศรษฐกิจ มิติทางสังคม ของประชากร 3,000 ล้านคนใน 14 ประเทศที่ CPF ไปลงทุน และ มิติด้านสิ่งแวดล้อม ที่จะน�ำไปสู่ความยั่งยืนในที่สุด ส�ำหรับกระแสประชาคมอาเซียน (ASEAN) นั้น อาจจะไม่ใช่เรื่อง ใหม่ส�ำหรับ CPF เพราะ CPF ได้เข้าไปลงทุนและด�ำเนินธุรกิจแล้ว ใน 6 ประเทศของอาเซียน เช่น CPF เข้าไปลงทุนในประเทศ เวียดนามกว่า 20 ปีโดยได้รับเชิญจากรัฐบาลเวียดนามให้ไปช่วย พัฒนาด้านเกษตรอุตสาหกรรมและอาหาร ซึ่ง CPF ได้น�ำโมเดล ความส�ำเร็จของประเทศไทยเข้าไปปรับรูปแบบลงทุนแบบครบ วงจรตั้งแต่ Feed-Farm-Food-Trade ให้ครอบคลุมธุรกิจอาหาร สัตว์บกและอาหารสัตว์นำ�้ ฟาร์มไก่เนื้อ ไก่ไข่ หมู กุ้ง ปลา และ ผลิตภัณฑ์อาหารส�ำเร็จรูป ครอบคลุมห่วงโซ่คณ ุ ค่า (Value-Chain) จนถึงร้านค้าปลีก เช่น ซุ้มไก่ย่างห้าดาว และร้านซีพีเฟรชมาร์ท ปัจจุบนั บริษทั “ซีพเี วียดนาม” ซึง่ เป็นบริษทั ลูกของ CPF ได้พฒ ั นา บริษัทจนเป็นผู้น�ำด้านธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมและอาหารใน ประเทศเวียดนาม ได้สร้างประโยชน์ให้กบั ธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรม และอาหารของประเทศเวียดนาม ได้สร้างประโยชน์ให้กบั ประชาชน ชาวเวียดนามโดยการสร้างงานและสร้างอาชีพที่มั่นคง ซึ่งเป็นการ ด�ำเนินธุรกิจตามปรัชญา 3 ประโยชน์ดังกล่าวแล้วข้างต้น ซึ่งการ สร้างประโยชน์ให้กับประเทศเวียดนามและสร้างประโยชน์ให้กับ
10
ประชาชนเวียดนาม ท�ำให้บริษัทสามารถขยายธุรกิจและมีการ เติบโตอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ส่วนประเทศอื่นๆ ในอาเซียน (ASEAN) ก็เช่นกัน CPF ได้ลงทุน และด�ำเนินธุรกิจในประเทศมาเลเซียแล้วเกือบ 30 ปี โดยใช้โมเดล ธุรกิจสัตว์บกและธุรกิจสัตว์น�้ำแบบครบวงจรในลักษณะเดียวกัน กับประเทศไทยพร้อมทัง้ ใช้ปรัชญา 3 ประโยชน์ทำ� ให้ธรุ กิจประสบ ความส�ำเร็จและเติบโตอย่างต่อเนื่อง และเป็นโมเดลที่ CPF น�ำไป ใช้ขยายธุรกิจในประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศลาว และประเทศ กัมพูชา จน CPF ถูกจัดให้เป็นผู้นำ� ด้านธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรม และอาหารของกลุ่มประชาคมอาเซียนมาถึงทุกวันนี้ โดยสรุปแล้ว CPF ได้รับการยอมรับจากประเทศต่างๆ ให้เข้าไป ลงทุนเกีย่ วกับเกษตรอุตสาหกรรมและอาหาร โดยก�ำหนดนโยบาย อย่างชัดเจนเกีย่ วกับอาหารปลอดภัย สามารถตรวจสอบย้อนกลับ ได้ทกุ ขัน้ ตอน เป็นฐานในการสร้างระบบอาหารทีม่ นั่ คงให้กบั ชุมชน และสังคม มีการด�ำเนินการในทุกขัน้ ตอนทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม น�ำไปสู่การพัฒนาด้านอาหารยั่งยืน (Food Safety, Security, Sustainability) ส่งผลต่อการเติบโตเศรษฐกิจของทุกประเทศใน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC (ASEAN Economic Community) ให้เจริญเติบโตด้วยกันอย่างมั่นคงและยั่งยืน การ ก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอย่างสมบูรณ์แบบที่จะเกิด ขึ้นในวันที่ 31 ธันวาคม 2558 นี้ นับเป็นช่วงเวลาที่สำ� คัญและเป็น โอกาสที่ดีต่อทุกองค์กรทุกและภาคส่วนของประเทศไทย ซึ่งรวม ถึง บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) หรือ CPF ที่มี ความพร้อมที่จะให้ความร่วมมือเป็นศูนย์กลางเชื่อมต่อระบบ เกษตรอุตสาหกรรมและอาหารกับประเทศต่างๆ ในอาเซียน ทั้งหมด ท�ำให้เกิดความเชื่อมโยง (ASEAN Connectivity) ไปยัง ทุกประเทศ และร่วมกันยกระดับมาตรฐานสากลพร้อมทั้งขยาย เครือข่ายไปทั่วโลก (Globalization) อย่างยั่งยืน
อาจารย์ณิชยา ศรีสุชาต
คณะบริหารธุรกิจ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
มิงกะลาบา
วันนี้คุณรู้จักเมียนมาดีแค่ไหน
หลั ง จากการปล่ อ ยตั ว สตรี ผู ้ มี บ ทบาท ทางการเมืองจากการกักบริเวณในบ้านพัก ในปี 2010 และมี ก ารเลื อ กตั้ ง ซึ่ ง น� ำ นาง ออง ซาน ซูจี เข้าสู่สภาของเมียนมา
ก็ เ สมื อ นว่ า ได้ ท� ำ การเปิ ด ประเทศโดย สมบูรณ์ ในยามนีห้ ากคุณได้เดินทางไปตาม หัวเมืองส�ำคัญๆ ของเมียนมาแล้วล่ะก็ คุณจะพบว่า ทุกๆ ที่ที่ ไปล้วนเต็มไปด้วย
หากถามว่าเป็นเพราะอะไร ทัง้ นี้ สาเหตุหลักคงจะหนีไม่พน้ จ�ำนวน ประชากรที่มากถึง 51 ล้านคน การเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างก้าว กระโดดโดยมีการเติบโตของ GDP ที่สวยงามถึง 8.7% ในปี 2014 ทรัพยากรธรรมชาติอันมากมายมหาศาลทั้งป่าไม้ ก๊าซธรรมชาติ น�้ำ มั น และหิ น มี ค ่า และโอกาสทางการตลาดและการลงทุ น เนือ่ งจากเมียนมายังต้องการการพัฒนาด้านโครงสร้างพืน้ ฐานของ ประเทศ (Infrastructure) และยั ง ไม่ ส ามารถผลิ ต สิ น ค้ า อุปโภคบริโภคได้มากนักเพือ่ ตอบสนองความต้องการของประชากร ทัง้ หมด สินค้าส่วนใหญ่ทถี่ กู น�ำมาขายในประเทศนัน้ ล้วนเป็นสินค้า น�ำเข้ามาจากประเทศต่างๆ ทั้งประเทศจีน มาเลเซีย รวมทั้ง ประเทศไทย ซึง่ ชาวเมียนมานัน้ ต่างยกนิว้ ให้แบรนด์สนิ ค้าบ้านเรา นั้นเป็นที่ 1 ด้านคุณภาพ ชนิดที่ว่ามีสินค้าเลียนแบบหรือสินค้าที่ พิมพ์ค�ำภาษาไทยลงในบรรจุภัณฑ์เกิดขึ้นมามากมาย 12
นักธุรกิจ นักลงทุน และนักท่องเทีย่ วหลาก เชื้อชาติ ที่ตบเท้ากันเข้ามาเยี่ยมเยียน และ แสวงหาโอกาสทางการค้าในดินแดนแห่งนี้ อย่างมากมายมหาศาลเลยทีเดียว
ประชากรเมียนมาจ�ำนวน 1 ใน 3 ของประเทศนัน้ อาศัยอยูใ่ นเมือง ใหญ่ ซึ่งปัจจุบันมีอินเทอร์เน็ตซึ่งใช้ผ่านคอมพิวเตอร์ หรือแม้ กระทั่งซิมการ์ดโทรศัพท์ 3G เข้าถึงเรียบร้อยแล้ว พื้นเดิมของคน เมียนมามีความเคร่งศาสนาเป็นอย่างยิง่ และนิยมใช้เวลาในวันหยุด ที่วัดหรือศาสนสถานต่างๆ ซึ่งจุดนี้ แบรนด์ต่างๆ เข้าไปท�ำตลาด ในประเทศ ต่างเข้าอกเข้าใจผู้บริโภคเป็นอย่างดี เช่น สีทาบ้าน บางยี่ห้อ มีการท�ำการตลาดโดยน�ำสีทาก�ำแพงวัดวาอารามให้ฟรี เป็นการท�ำบุญ โฆษณา และสร้างแบรนด์ไปในตัว กล่าวถึงตรงนี้ หลายๆ ท่านคงรู้สึกสนใจเมียนมาขึ้นมาบ้างไม่มาก ก็น้อย และเมืองเศรษฐกิจที่ก�ำลังถูกจับตามอง ณ เวลานี้ ก็คงหนี ไม่พ้นเมืองส�ำคัญทั้ง 3 แห่ง ได้แก่ ย่างกุ้ง มันฑะเลย์ และ เนปิดอว์
: เมืองย่างกุ้ง :
: เมืองมัณฑะเลย์ :
: เมืองเนปิดอว์ :
ลมหายใจแห่งเมียนมา ถึงแม้ว่ารัฐบาลจะทำ�การย้ายเมืองหลวง ไปที่ เ มื อ งเนปิ ด อว์ เมื อ งหลวงแห่ ง ใหม่ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว แต่ ย่ า งกุ้ ง ยั ง เป็ น เมื อ ง เศรษฐกิ จ และศู น ย์ ก ลางการคมนาคม หลั ก ของประเทศอยู่ ดี ด้ ว ยประชากรที่ หนาแน่นกว่า 4.3 ล้านคน ในด้านเศรษฐกิจ ย่างกุง้ ยังแน่นขนัดไปด้วยตลาดค้าปลีกและ ค้าส่ง สำ�นักงานของบริษทั ข้ามชาติ โรงแรม 5 ดาว ร้านอาหารนานาชาติ ท่าเรือ ห้าง สรรพสินค้า ในด้านการค้า ย่างกุ้งยังเป็น จุ ด รวบรวมและกระจายสิ น ค้ า ที่ ส่ ง ผ่ า น ชายแดนไทย โดยเส้นทางที่นิยมใช้จะมี การผ่านเมืองเมียวดี และนำ�มาส่งที่ย่างกุ้ง ก่ อ นจะถู ก กระจายต่ อ ไปยั ง เมื อ งต่ า งๆ รถสิบล้อบรรทุกสินค้าเต็มคันจะนำ�สินค้า มาลงทีต่ ลาดค้าส่งทีส่ ำ�คัญของย่างกุง้ ได้แก่ มิงกะลาเซ ตันเซ และบเยงนองเซ เป็นต้น
เมืองที่ขานรับการเติบโตของอาเซียน เมืองใหญ่อันดับ 2 ด้วยท�ำเลที่ตั้งอันเหมาะเจาะคือกึ่งกลาง ประเทศพอดี มัณฑะเลย์จึงเป็นศูนย์กลาง ทางเศรษฐกิ จ ตอนกลางและเหนื อ ของ ประเทศ ประชากรกว่า 30% สามารถพูด ภาษาจีนได้ และมีคนจีนย้ายมาตั้งรกราก กันมากมายทัง้ ค้าขายและลงทุน มัณฑะเลย์ นั้นมีถนนตัดตรงเข้าถึงเมืองมูเซ ซึ่งเป็น เมืองที่มีพรมแดนติดกับเมืองรุ่ยลี่ ประเทศ จีน ซึ่งเส้นทางนี้เป็นเส้นทางหลักในการ ขนส่งสินค้าจากจีนเข้ามาในเมียนมา
ว่ า กั น ว่ า เนปิ ด อว์ คื อ เมื อ งหลวงใหม่ ที่ มี สาธารณูปโภคพื้นฐานที่ดีที่สุดในเมียนมา ถนน 18 เลน สนามบินนานาชาติ รัฐสภา และศูนย์ราชการที่ดูโอ่อ่านั้นเป็นฝีมือของ รัฐบาลทีไ่ ด้เนรมิตขึน้ เพือ่ เป็นศูนย์กลางการ บริหารประเทศ และสอดรับการเติบโตของ อาเซียน อย่างไรก็ตาม หากสังเกตให้ดีจะ พบว่า เนปิดอว์เป็นเมืองที่มีประชากรอยู่ ไม่มากนัก อาจจะพบเห็นรถวิ่ง 2-3 คันบน ถนน 18 เลนเท่านั้น เนปิดอว์ยังคงต้อง อาศัยเวลาอีกมากเพื่อที่จะดึงดูดผู้คนให้ ย้ายมาตั้งหลักแหล่ง
ทุกวันนี้ หากจะถามใครที่อยู่ในแวดวงธุรกิจ ก็มักจะนึกถึงเมียนมาในฐานะตลาดน้องใหม่แห่งอาเซียน อันอุดมไปด้วยโอกาสทางธุรกิจ ที่หาไม่ได้อีกแล้วในทวีปนี้ และหากคุณก�ำลังหาช่องทางขยายธุรกิจสู่ AEC การบุกตลาดนี้ย่อมเป็นก้าวแรกที่ดีส�ำหรับคุณ
13
ดร.เลิศชัย สุธรรมนนท์
ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายวางแผนและพัฒนา และผู้อำ�นวยการหลักสูตร MBA POS
Action Learning ทุกส�ำนักวิชาการและวิจัยทางเศรษฐกิจ และธุ ร กิ จ ต่ า งออกมายอมรั บ แล้ ว ว่ า เศรษฐกิจไทยปี 2558 และอาจต่อเนื่อง ถึงปี 2559 ยังเปราะบางหรืออาจมีการ ฟื้นตัวอย่างช้าๆ กว่าที่คาดคิด ยิ่งเจอ ภาวะภัยแล้งผสมโรงเข้ามาด้วย ยิ่งฉุด ให้เกิดการชะลอตัวลงไปอีกและส่งผล กระทบอย่ า งกว้ า งขวาง รวมถึ ง นั ก บริหารหรือนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ด้วย หลายองค์กรเริ่มควบคุมโดยการ ลดงบประมาณด้านการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ ทั้งที่ท่องติดปากอยู่ตลอดว่า ทรัพยากรมนุษย์มีความส�ำคัญสูงสุด ต่อความส�ำเร็จขององค์กร 14
รูปแบบการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ ในยุคเศรษฐกิจ ถดถอย นักบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จะวางกลยุทธ์ในการบริหารอย่างไร จึงจะช่วยองค์กร ให้ฟันฝ่าวิกฤติการณ์นี้ไปได้ โดยที่ยังคงความส�ำคัญของงานด้านพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ทั้งในสายตาของพนักงานและผู้บริหารไว้ให้ได้ การเรียนรู้จากการลงมือท�ำหรือที่เรียกว่า Action Learning เป็นหนึ่งทางออกที่ขอน�ำเสนอเพื่อพิจารณา
การเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติ (Action Learning) เรื่องเก่าที่มีมนต์ขลัง การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการลงมือท�ำที่เรียกว่า Action Learning เกิดขึ้นอย่างเป็น ระบบครั้งแรก โดย Reg Revans ในปี 1930s เป็นวิธีการแก้ปัญหาพร้อมกับการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ โดยใช้ปญั หาจริง ลงมือปฏิบตั จิ ริง ท�ำให้เกิดการเรียนรูแ้ บบ Real Time & Real Problem ในระหว่างลงมือท�ำ โดยเป็นการเรียนรูแ้ ละลงมือท�ำกันเป็นทีมขนาดเล็กๆ 6–8 คน ซึ่งท�ำให้การเรียนรู้มีความลึกซึ้ง หลากหลาย และทรงคุณค่าอย่างยิ่งด้วยสูตรดังต่อไปนี้ Learning = Program + Question
กล่าวคือ การเรียนรู้ไม่ได้เกิด เองโดยบังเอิญ แต่เกิดจากการ จัด Program ที่มีวัตถุประสงค์ เฉพาะเจาะจง ซึ่ ง มั ก มาจาก ปัญหาจริงที่เกิดขึ้นในองค์การ ขณะนัน้ ๆ จัดทีมเพือ่ การเรียนรู้ ทีม่ าจากหลายๆ หน่วยงาน ร่วม กันแก้ปัญหา ด้วยวิธีการเรียนรู้ แบบตั้งค�ำถาม (Question) ที่ เหมาะสม ประกอบด้วย How? Why? Where? Who? และ Whom? เพื่อเข้าถึงสาเหตุของ ปัญหา และก�ำหนดวิธีการแก้ ปัญหานั้นๆ
วิธีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ แบบนี้เงียบหายไปบางช่วง แต่ มาโด่งดังเป็นที่กล่าวถึงอย่าง มากด้วยอิทธิพลของนักวิชาการ ด้ า นพั ฒ นาองค์ ก ารแห่ ง การ เรียนรูท้ า่ นหนึง่ คือ Michael J. Marguardt ที่ น� ำ เสนอว่ า Action Learning เป็นเครือ่ งมือ พัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ และน�ำเสนอกรณีศกึ ษาในบริษทั ชั้นน�ำของโลกจ�ำนวนมาก เช่น Boeing, Heineken, LG Electronics, Dew Chemical และ อื่นๆ อีกจ�ำนวนมาก เรียกว่า ทุ ก ประเภทธุ ร กิ จ สามารถน� ำ วิธีการนี้ไปใช้ได้
ประยุกต์ใช้ Action Learning อย่างไร
อี ก ท่ า นหนึ่ ง คื อ Noel M. Tichy อดีตที่ปรึกษาด้านการ พั ฒ นาผู ้ น� ำ ขององค์ ก รชั้ น น� ำ จ�ำนวนมาก รวมทั้งเครือเจริญ โภคภัณฑ์ แต่ที่ท�ำให้มีชื่อเสียง โด่งดังมากคือ การเป็นทีป่ รึกษา ให้กับ GE ในยุคที่ Jack Welch เป็ น CEO โดยท่ า นได้ ป ลุ ก กระแสของวิธกี ารพัฒนาทรัพยากร มนุษย์แบบ 70:20:10 โดยที่ 70 เป็นการเรียนรูจ้ ากประสบการณ์ ตรงคือการลงมือปฏิบัติ และ การท�ำงานโดยปกติ (Experiential Learning) 20 เป็นการ เรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับ ผู้อื่น (Social Learning) เช่น
การสอนงาน (Coach) และ 10 เป็ น การเรี ย นรู ้ จ ากหลั ก สู ต ร ฝึกอบรม (Formal Learning) ทั้ ง นี้ ยั ง พบอี ก ว่ า การพั ฒ นา ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ด ้ ว ยสู ต ร 70:20:10 นอกจากได้ผลดีแล้ว ยังสามารถลดค่าใช้จ่ายในการ พั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ล งได้ ประมาณ 75% อีกด้วย ดังนั้น Action Learning จึงสามารถ เป็ น ค� ำ ตอบด้ ว ยการพั ฒ นา ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ข ององค์ ก ร ธุรกิจไทยในยามนี้ได้
PIM Action Learning Process
กระบวนหลักของการท�ำ Action Learning ไม่แตกต่างกันมากนัก แต่อาจมีรายละเอียดที่แตกต่างกันบ้าง แต่อย่างไรก็ตาม โอกาส ที่จะน�ำมาใช้ประสบความส�ำเร็จหรือไม่ขึ้นอยู่กับความใส่ใจราย ละเอียดเหล่านี้ PIM HR Excellence Center หน่วยงานให้บริการด้านบริหารและ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของ PIM ได้พัฒนาวิธีการท� ำ Action Learning โดยผสมผสานกับหลักสูตรการพัฒนาแบบ 70 : 20 : 10 ไว้อย่างน่าสนใจ ดังนี้ อนึ่ง ในระหว่างกระบวนการควรมีการประเมินผล จากภาพข้างต้น การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วยการลงมือทำ� โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง เมื่ อ จบกระบวนการแล้ ว มี 7 กระบวนการสำ�คัญ คือ นั ก ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ส ามารถค� ำ นวณมู ล ค่ า ของ 1. เรียนรูว้ ธิ กี าร Action Learning (Learning How to Action Learning Work) โครงการที่มีการลงมือปฏิบัติ และค่าใช้จ่ายทางตรง กับกลุ่มเป้าหมายและผู้บริหารระดับสูง 2. รับปัญหาหรือนโยบายจากผู้บริหาร ทางอ้อม ประมาณผลตอบแทนการลงทุน (Return มาเป็นโจทย์ในการท�ำ Action Learning (Problem or Policy) ซึ่งควรเป็น on Investment) ได้ ประเด็นจริงที่ซับซ้อนที่องค์กรต้องการแก้ไขหรือพัฒนา 3. จัดตั้งทีมเรียนรู้ จะเห็นว่าการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แบบ Action (Group leaning) ซึ่งควรมีความหลากหลายจ�ำนวน 6-8 คน ให้โอกาสท�ำความ Learning เป็ น การท� ำ ให้ สู ต รการพั ฒ นาแบบ เข้าใจโจทย์และรับข้อมูลจากผู้บริหาร 4. การให้ค�ำแนะน�ำหรือให้การปรึกษาใน 70:20:10 เกิดขึ้นได้จริง ทั้งยังท�ำให้การท�ำงานปกติ รูปแบบ Coaching หรือ Mentoring ตามความเหมาะสม หรือท�ำทัง้ สองรูปแบบ เป็ น เรื่ อ งของการพั ฒ นาไปพร้ อ มๆ กั น และยั ง โดยแบ่งบทบาทระหว่างผู้บริหาร ซึ่งควรเป็นพี่เลี้ยง (Mentor) และนักบริหาร เป็ น การพั ฒ นาที่ เ กิ ด ผลตอบแทนทั น ที เพราะ ทรัพยากรมนุษย์สามารถเล่นบทของ Coach ได้ ซึ่งท�ำให้นักทรัพยากรมนุษย์ เป็นการลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้โจทย์จริงที่องค์กร มีคุณค่าในสายตาผู้บริหารมากขึ้น 5. การทดลองปฏิบัติ (Tryout) ในขอบเขต ต้องการและเกิดมูลค่าจริง ที่สามารถประเมินผลได้ ที่ควบคุมความเสี่ยงได้ 6. การลงมือปฏิบัติ เต็มรูปแบบ (Action Taken on) อย่ า งเป็ น รู ป ธรรม Action Learning จึ ง เป็ น เมื่อได้ข้อสรุปจากข้อ 5 แล้ว 7. การทบทวนและสรุปบทเรียน (Review and ทางเลื อ กของการพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ใ น Reflect) เพื่อให้ได้ทั้งงานและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไปพร้อมๆ กัน สถานการณ์เศรษฐกิจชะลอตัวหรือตกต�ำ่ ในขณะนี้ 15
by Wanderer
ยิ่งเข้าใกล้ช่วงปลายปีมากขึ้นเท่าไหร่ ดูเหมือนกระแสเกี่ยวกับเรื่อง การเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) หรือทีเ่ ราเรียกกันสัน้ ๆ ว่า “AEC” จะยิ่งมีความตื่นตัวมากขึ้นเท่านั้น!! บางองค์กรธุรกิจเตรียมความพร้อมเพื่อตั้งรับการเข้า สู่ AEC อย่างเต็มที่ หรือเดินหน้าขยายตัวเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้านเป็นที่เรียบร้อยแล้ว แต่ ในขณะเดียวกัน...เชื่อหรือไม่ว่า ยังมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับข้อตกลงของ กลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอยู่ไม่น้อย Believe it or not ฉบับนี้จึงขอยกตัวอย่าง ข้อเท็จจริงที่ยังมีการเข้าใจกันผิดแบบสุดๆ เกี่ยวกับ AEC มาให้เราได้รื้อความเข้าใจกันใหม่ จะมีเรื่องอะไรบ้าง...ไปติดตามกันดีกว่าค่ะ
ประเทศไทยจะเกิดการ เปลีย่ นแปลงอย่างมหาศาลในการ เข้าสูเ่ ศรษฐกิจไร้พรมแดนในยุค AEC
AEC ก่อให้เกิดการเคลื่อนย้าย แรงงานทุกประเภทโดยเสรี
Myth : “ต่อไปนี้..แรงงานฝีมือจากต่าง ชาติจะต้องทะลักเข้ามาในไทยแน่ๆ!!” ค�ำ พูดที่ท�ำให้คนไทยกังวลไปตามๆ กันว่า Myth : ว่ากันว่า..เมือ่ มีการเปิด AEC การ จะโดนแรงงานจากเพื่อนบ้านเข้ามาแย่ง ลงทุนจะเสรีมากขึ้น ชนิดที่ว่าใครจะไป ต� ำ แหน่ ง การงาน หรื อ ก่ อ ให้ เ กิ ด การ นักลงทุนอาเซียนสามารถลงทุน ในธุรกิจบริการได้อย่างเสรี โดย ลงทุนในประเทศไหนก็ได้ ทั้งยังส่งออก- แข่งขันกันอย่างมหาศาลหรือไม่ ้ จำ�กัด น�ำเข้าสินค้าต่างๆ ไปสู่ประเทศสมาชิกได้ Fact : ตามกรอบข้อตกลงจริงๆ มีขอ้ จ�ำกัด ไม่มขี อ โดยปราศจากก�ำแพงภาษี อยู่เพียง 7 สายอาชีพเท่านั้น ได้แก่ นัก Myth : “การถือครองหุ้นของประเทศ Fact : จริงๆ แล้ว อัตราภาษีศุลกากร ส�ำรวจ วิศวกร แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล สมาชิก AEC เป็นสัดส่วน 100% ของ (Tariffs) ได้มีการปรับลดกว่า 99.5% ไป บั ญ ชี และสถาปนิ ก ทั้ ง นี้ ก ฎหมายของ สาขาต่างๆ โดยเฉพาะสาขาบริการ”
16
ตั้งแต่ปี 2536 แล้ว (ตามกรอบเขตการค้า เสรีอาเซียน AFTA-CEPT) ดังนั้นเมื่อเข้าสู่ AEC ไทยจึงแทบจะไม่เกิดผลกระทบต่อ การเปลี่ยนแปลงนี้เลย นอกจากนี้ประเทศ สมาชิกยังมีกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่สร้างขึ้นมา เพิม่ เติมเพือ่ กีดกันการค้าเสรีมากยิง่ ขึน้ เช่น การก�ำหนดมาตรฐานสินค้าที่แตกต่างจาก มาตรฐานสินค้าสากล หรือข้อบังคับต่างๆ ในการขนส่งสินค้าเข้าสู่ตลาด ฯลฯ
หลายประเทศสมาชิ ก ก็ ไ ม่ เ อื้ อ ต่ อ การ เคลื่อนย้ายแรงงานเสรีอย่างแท้จริง เช่น ผู้ที่เข้ามาเป็นแพทย์ในไทยจ�ำเป็นจะต้อง สามารถเข้าใจภาษาไทยและท�ำข้อสอบวิชา ภาษาไทยได้ตามเกณฑ์กฎหมายก�ำหนด จากข้อมูลนี.้ ..ส�ำหรับประเทศไทยน่าจะพบ การไหลออกของแรงงานไทยไปสู่ประเทศ ที่สามารถจ่ายค่าจ้างได้ในอัตราที่สูงกว่า เช่น ประเทศสิงคโปร์ หรือมาเลเซีย
Fact : แท้จริงแล้วการเปิดเสรีในภาคธุรกิจ บริการ ชาติอาเซียนจะถือครองหุน้ ในธุรกิจ บริการได้อย่างน้อย 70% โดยขึ้นอยู่กับ กฎหมายภายในประเทศด้ ว ย ทั้ ง นี้ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน และ เวียดนาม ยังคงจ�ำกัดสัดส่วนการถือครอง หุ้นไว้ที่น้อยกว่า 51% ส่วนประเทศไทยยัง ก�ำหนดให้สัดส่วนผู้ถือครองหุ้นได้ไม่เกิน 49% เท่านั้น
(ที่มา: http://www.prachachat.net/)
(ที่มา: http://www.thairath.co.th/)
(ที่มา: http://thaipublica.org/)
“การสรางคนใหประสบความสำเร็จ ตองเริ่มจากรากฐานที่ดี...
ผมเชื่อมั่นมาตลอดวา เด็กๆ ควรมีโอกาสเรียนในสิ่งที่เหมาะกับตัวเอง ควบคูกับปลูกฝงทักษะชีวิตที่จำเปน คือการจัดการ การสื่อสาร และคุณธรรม โรงเรียนสาธิตแหงสถาบันการจัดการปญญาภิวัฒนแหงนี้ คือแหลงสรางผูนำแหงศตวรรษที่ 21 แนนอนวาเราอยากแบงปนสิ่งที่ตั้งใจทำ สิ่งที่ดีที่สุด ใหกับเยาวชนในสังคมไดเรียน”
เปนเลิศดานที่ถนัด
อัจฉริยะสรางได
เด็กจึงมีเปาหมาย แรงบันดาลใจ และพัฒนาตนเองไดไมสิ้นสุด
จัดกระบวนการเรียนการสอน ที่เหมาะสมกับเด็กเปนรายบุคคล ตอเนื่อง 6 ป
เนนอังกฤษ & จีน ในหองเรียน และชีวิตประจำวัน
ร.ร.สาธิต ภายใต
Corporate University ดีที่สุดของไทย หลักสูตรและครูคุณภาพโดย คณะศึกษาศาสตร PIM
ประสบการณจริง
กระบวนการเรียนรูแบบลงมือทำ จึงคิดวิเคราะหและแกปญหาเปน
สรางนักบริหารจัดการ
ที่เกงและดี
11 ความโดดเดน โรงเรียนสาธิต แหงสถาบันการจัดการ ปญญาภิวัฒน*
Counseling Service
สมบูรณแบบที่สุด ครอบคลุมมัธยม-อุดมศึกษา และการทำงาน
กอศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์
ประธานกรรมการบริหาร บมจ. ซีพี ออลล
ซื่อสัตย กตัญ¬ู รูหนาที่ มีวินัย เปนพลเมืองที่ดีของสังคม สื่อสารมีประสิทธิภาพ และมี กลยุทธดานการบริหารจัดการ
35 คน/หอง
เอาใจใสและใหคำปรึกษา อยางใกลชิด
เครือขาย มหาวิทยาลัยทั่วโลก
โอกาสเรียนตอมหาวิทยาลัยคุณภาพ ในแคนาดา นิวซีแลนด ญี่ปุน และจีน
Smart Classroom
หองเรียนทันสมัย สิ่งแวดลอมเหมาะกับ วัย 13-18 ป ทั้งมิติการเรียนรู ไลฟสไตล และความปลอดภัย
Network Integration
สิทธิพิเศษจากเครือขายและพันธมิตร ระดับสากลของเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมซีพี และ PIM
โรงเรียนมัธยมศึกษาเอกชนคุณภาพ โดยกลุมซีพี
รับสมัครนักเรียนชั้น ม.1 ปการศึกษา 2560
ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป (จำนวนจำกัด)
- สงวนสิทธิ์สำหรับผูยื่นความจำนงเขามากอน -
สอบถามเพิ่มเติมที่ satit.pim โทร. 0 2832 0210 หรือ 0 2837 1208 17 *อยูในระหวางการกอสราง
iMBA@PIM by RosyPink
ธุรกิจอาหารในกลุ่มประเทศอาเซียน คุณสุภัค หมื่นนิกร
ที่ปรึกษาทางธุรกิจ ประจำ�หลักสูตร iMBA สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
สวัสดีท่านผู้อ่านทุกท่าน คอลัมน์ iMBA@PIM ฉบับนี้ ขอตามกระแส AEC กับเขา บ้าง ในช่วงนี้เรื่อง AEC ก�ำลังเป็นที่สนใจ บวกกับการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของ ตลาดในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งหนึ่งในธุรกิจที่น่าจับตามองคงหนีไม่พ้น “ธุรกิจอาหาร” ครัง้ นี้ ได้รบั เกียรติจากคุณสุภคั หมืน่ นิกร Chief Executive Officer (CEO) บริษทั อีซี่ส์ อินเตอร์เนชั่นแนลแฟรนไชส์ จ�ำกัด ร้านอาหารมอร์เก้น เรสเตอรองแอนด์ คาเฟ่ (MORGEN Restaurant & Cafe') และผู้ก่อตั้งสถาบันธุรกิจแฟรนไชส์ อาหาร (Food Franchise Institute: FFI) มาให้มุมมองที่น่าสนใจค่ะ
ในส่วนของแนวโน้มเกี่ยวกับธุรกิจอาหาร และร้านอาหารใน ประเทศไทยและกลุ่มประเทศอาเซียน คุณสุภัคได้แบ่งธุรกิจ ร้านอาหารเป็น 3 ประเภทคือ 1.ร้านอาหารขนาดเล็ก 2.ร้าน อาหารที่มีสาขามากกว่า 1 สาขา หรือเรียกว่าก�ำลังจะกลาย เป็น Chain Restaurant และ 3.Chain Restaurant ซึ่ง แนวโน้มของธุรกิจส�ำหรับร้านอาหารขนาดเล็กก็จ�ำเป็นต้อง ปรับเปลีย่ นกลยุทธ์การบริหารให้รวดเร็วและทันสมัยขึน้ เพือ่ รองรับลูกค้าทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ในส่วนของร้าน อาหารที่ก�ำลังจะเป็น Chain Restaurant นั้นมีแนวโน้มใน การขยายตัวภายใน 3-5 ปี ซึ่งแปลว่าจะมี Learning Curve สั้นลงเมื่อเทียบกับ Chain Restaurant รุ่นแรกๆ ที่ใช้เวลา ประมาณ 10 ปีขึ้นไป ซึ่งในเวลานี้มีประมาณสิบกว่าแบรนด์ และจะมีการขยายตัวเป็น 30-40 แบรนด์ในไม่ช้า แต่สิ่งที่จะ ต้องท�ำก่อนทีจ่ ะก้าวไปลงทุนในกลุม่ ประเทศ CLMV1 คือ ต้อง ฝึ ก ฝนฝี มื อ กลยุ ท ธ์ ก ารบริ ห ารในเมื อ งไทยให้ แข็ ง แรงดี เสียก่อนแล้วจึงไปบุกตลาด CLMV CLMV หมายถึง ประเทศ กัมพูชา ลาว เมียนมา เวียดนาม สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
1 2
18
คุณสุภัคมองว่า ธุรกิจอาหารเป็นธุรกิจที่น่าจับตามองมากที่สุด และจะ สามารถเจาะเข้าสู่ตลาดอาเซียนได้ง่ายที่สุด รองลงมาน่าจะเป็นธุรกิจ ด้านการศึกษา เนื่องจากภาษาอังกฤษจะกลายเป็นภาษากลางในการ สื่อสาร และล�ำดับที่ 3 คือ ธุรกิจการบริการ เพราะเมื่อมีการรวมตัวเป็น อาเซียนกันแล้ว จะท�ำให้เกิดการไหลเวียนเข้าออกของประชาชนในกลุม่ ส่งผลให้ธุรกิจทั้ง 2 ประเภทเกิดความคล่องตัวสูงตามกันไป แต่หากจะ มองเฉพาะในส่วนธุรกิจอาหารแล้ว การลงทุนธุรกิจแฟรนไชส์รา้ นอาหาร นัน้ ประเทศ สปป.ลาว2 เป็นประเทศเพือ่ นบ้านในกลุม่ อาเซียนทีค่ ณ ุ สุภคั มองว่าน่าสนใจเป็นอันดับแรก เนื่องจากพื้นฐานทางด้านวัฒนธรรม รสชาติ และไลฟ์สไตล์ คล้ายคลึงและใกล้ชิดกับประเทศไทย ส่วน เมียนมา เวียดนาม กัมพูชานั้น คุณสุภัคมองว่า ถ้าวาง Roadmap ไว้ 15 ปี คิดว่าอีกไม่เกิน 5 ปี แฟรนไชส์อาหารไทยจะขยายตัวกระจายอยู่ ในประเทศเหล่านี้อย่างแน่นอ่ น และในปีที่ 6-10 ธุรกิจแฟรนไชส์อาหาร ไทยจะเริ่มขยายไปสู่ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และบรูไน ตามล�ำดับ ส่วนปีที่ 11-15 จะสามารถบุกตลาดสู่ประเทศ ที่พัฒนาแล้ว เช่น ฮ่องกง ไต้หวัน ญี่ปุ่น จีน
Create Professionals by Professionals
iMBA@PIM http://interprogram.pim.ac.th E-mail: iMBA@pim.ac.th Tel. 02 832 0944-5, 02 837 1209 ส่ ว นอุ ป สรรคในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ นั้ น ผู้ประกอบการจ�ำเป็นต้องพัฒนากลยุทธ์ การบริหาร โดยเฉพาะเรื่องบุคลากร ต้อง สามารถสื่อสารกับลูกค้าได้ อย่างน้อยคือ ภาษาอังกฤษซึ่งเป็นภาษากลางที่ส�ำคัญ ดังนั้น หลักสูตรที่สอนโดยใช้ภาษาอังกฤษ จะเป็ น เทรนด์ ก ารศึ ก ษาที่ ม าแรง ทั้ ง นี้ คุณสุภัคได้กล่าวถึงหลักสูตรปริญญาโท ด้ า นบริ ห ารธุ ร กิ จ ภาคภาษาอั ง กฤษ (iMBA) ที่ คุ ณ สุ ภั ค ได้ ใ ห้ เ กี ย รติ ม าเป็ น ที่ปรึกษาทางธุรกิจ (Corporate Mentor) ให้แก่นักศึกษาของเรา และยังช่วยผลักดัน ให้นักศึกษาในหลักสูตร iMBA ประสบ ความส�ำเร็จในการเปิดธุรกิจเป็นของตัวเอง ไปหลายราย นอกจากนี้ในหลักสูตร iMBA ยังมีเนื้อหารายละเอียดหลักสูตรที่มีความ สอดประสานเพื่อการเตรียมพร้อมเข้าสู่ การเป็นประชาคมอาเซียนอีกด้วย
“ผมมีความเชื่ออยู่อย่างหนึ่งว่า มหาวิทยาลัยที่แท้จริงคือมหาวิทยาลัยชีวิต ซึ่งมหาวิทยาลัย ทั่วไปในบ้านเราก็คือมหาวิทยาลัย ชีวิตคือชีวิต สองส่วนนี้มันแยกกัน แต่สถาบันการจัดการ ปัญญาภิวัฒน์ Breakthrough เรื่องนี้หมดแล้ว” คุณสุภัคกล่าว ความหลากหลายของ นักศึกษาของหลักสูตร iMBA เป็นเรื่องที่โดดเด่นเนื่องจากมีหลากหลายประเทศ เช่น พม่า เวียดนาม กัมพูชา เนปาล ภูฏาน จีน ฟิลิปปินส์ เคนยา และไทย รวมอยู่ในชั้นเรียนเดียวกัน ซึง่ เป็นประโยชน์อย่างมากในการเรียนรูพ้ ฤติกรรมของลูกค้าในประเทศทีแ่ ตกต่างกัน ความ เป็นเพื่อนสามารถต่อยอดทางธุรกิจได้ ส่วนทีมงาน อาจารย์ เจ้าหน้าที่ ทุกคนต่างอุทิศตัว และทุ่มเทอย่างเต็มที่ให้กับ iMBA โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Mentor Program ซึ่งเป็นที่ทราบ กันดีอยู่แล้วว่า จะมีการสรรหาบุคคลที่มีประสบการณ์ความเชี่ยวชาญทั้งทางด้านวิชาการ และทางด้านธุรกิจ ซึง่ ไม่ใช่เพียงแค่เป็นผูท้ มี่ คี วามรู้ แต่ยงั ต้องเป็นบุคคลทีม่ คี วามเข้าใจและ อุทศิ เวลาให้กบั นักศึกษาอย่างแท้จริง และยังมีกจิ กรรมมากมายทีเ่ ป็นประโยชน์แก่นกั ศึกษา เช่น Networking Day ซึ่งในส่วนนี้คุณสุภัคก็ได้ให้เกียรติมาเป็น Guest Speaker ใน Networking Day ซึ่งเป็นช่องทางที่ท�ำให้นักศึกษาได้รับประโยชน์อย่างแท้จริง นักศึกษา หลายคนทีเ่ ข้ามาเรียนในหลักสูตร iMBA แล้วเกิดแรงบันดาลใจในการอยากมีธรุ กิจเป็นของ ตัวเอง และที่ส�ำคัญทางผู้บริหารของ PIM มีความทุ่มเทให้กับนักศึกษาอย่างแท้จริง ท�ำให้ นักศึกษาที่ได้ส�ำเร็จการศึกษาจากที่นี่ไปนั้นล้วนแล้วแต่มีคุณภาพและมีโอกาสประสบ ความส�ำเร็จ เนื่องจากพวกเขาได้เจอชีวิตการท�ำงานจริง ซึ่งเป็นโอกาสที่ดีที่นักศึกษาจะน�ำ ไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป 19
by AngieMamy
สวัสดีชาว Panyapiwat MBA ทุกท่าน เปิดเทอมกันแล้ว เราได้ ต้อนรับเหล่านักศึกษาหน้าใหม่มาสู่รั้ว PIM เป็นที่เรียบร้อย ดังนั้น MBA Alumni’s Corner ฉบับนี้ต้องขอใช้พื้นที่บอกเล่าเรื่องราว ของพี่น้อง และกิจกรรมเด็ดๆ กันแบบเต็มเหนี่ยวหน่อยนะคะ
ปฐมนิเทศน้องใหม่ MBA ปัญญาภิวัฒน์
Panyapiwat MBA ต้อนรับนักศึกษาใหม่ ของปีการศึกษา 2558 ด้วยการปฐมนิเทศ ปีนี้เรามีน้องใหม่ 2 สาขา จ�ำนวน 119 คน ด้วยกัน คือสาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก และสาขาการบริหารคนและกลยุทธ์องค์การ เริ่มต้นด้วยการลงทะเบียน ทุกคนคงคิดว่า แค่เซ็นๆ ชื่อใช่มั้ยล่ะ แต่เราธรรมดาซะ ที่ไหน จัดทั้งทีต้องแตกต่าง แค่เซ็นชื่อลง กระดาษไม่พอ ต้องจับเป่าลูกโป่งเขียนชื่อ ติดซะหน่อย ท�ำเอาหลายคนงงกันเลยที เดียว แต่กย็ อมท�ำตามและยังสนุกสนานกับ การเป่าลูกโป่งอีกต่างหาก 20
ความสนุกก�ำลังจะเริ่มต้นขึ้น หลังจากที่ ลงทะเบียนกันเสร็จเรียบร้อยแล้ว นักศึกษา ก็เข้ามานั่งรอเพื่อนๆ ในห้อง ทีมงานก็ไม่ รอช้า เริ่มจัดกิจกรรมฮาเฮพาสนุกทันที ทั้งเล่นเกมจับคู่ แจกลูกโป่งหาเพื่อน ทาย ชื่ อ อายุ และเล่ น เกมอื่ น ๆ อี ก มากมาย เพือ่ ให้รจู้ กั กันมากขึน้ ทุกคนต่างสนุกสนาน ที่ได้รู้จักเพื่อนที่มาจากบริษัทต่างๆ แถมได้ พั น ธมิ ต รใหม่ ๆ อี ก ด้ ว ย นอกจากนี้ ยั ง ปิ ด ท้ า ยด้ ว ยการเซลฟี กั น สุ ด เหวี่ ย งจาก ทีมงานที่เตรียมมาให้นักศึกษาโดยเฉพาะ
หลังจากเสร็จกิจกรรมฮาเฮพาสนุกแล้ว ก็ถึงช่วงเวลาของการปฐมนิเทศอย่างเป็น ทางการ โดยได้รบั เกียรติจาก รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อธิการบดี PIM กล่าวให้ โอวาทและให้ ข ้ อ คิ ด แก่ นั ก ศึ ก ษาในการ ด�ำเนินชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยอีกครั้ง จาก นัน้ จึงส่งมอบช่วงเวลาต่อไปให้กบั คณาจารย์ ประจ�ำสาขามาแนะน�ำหลักสูตร ต่อด้วย เรือ่ งต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการเป็นนักศึกษา ใน PIM หลั ง จากนั้ น จึ ง เป็ น ช่ ว งเวลาที่ นักศึกษาต่างแยกย้ายไปหาอาจารย์ประจ�ำ หลักสูตรของแต่ละสาขา กิจกรรมปฐมนิเทศในวันนีท้ ำ� ให้นกั ศึกษาได้ รับทั้งความรู้ ได้รู้จักเพื่อนใหม่ และได้รับ ความสนุกเพลิดเพลิน ทางทีมงานก็ต้อง ขอกล่ า วค� ำ ว่ า ยิ น ดี ต ้ อ นรั บ ทุ ก ท่ า นสู ่ ครอบครัว Panyapiwat MBA ค่ะ
น้องใหม่ MBA ปัญญาภิวัฒน์ คราวนี้เรามาท�ำความรู้จักน้องใหม่กันบ้าง ว่าเป็นใคร มาจากที่ ไหน และท�ำไมถึงเลือก Panyapiwat MBA
MBA in People Management and Organization Strategy รุ่น POS 5 กันตภณ คณาวิฑูรย์
นิภา อัครจันทโชติ
เจ้าหน้าที่บุคคล บริษัท ไทยบริติช ซีเคียวริตี้ พริ้นติ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ในเครือปูนซิเมนต์ไทย
เลือกเรียนที่ PIM เพราะนอกจากการเรียนการสอนแบบภาค ทฤษฎีแล้ว ยังมีการเชิญวิทยากรพิเศษซึ่งเป็นผู้บริหารจาก บริษัทชั้นน�ำของประเทศมาให้ความรู้และแชร์ประสบการณ์ จากกรณีศึกษาที่ได้มีการน�ำไปใช้แก้ปัญหาจริงในโลกของธุรกิจ นอกจากนี้ยังมีทุนการศึกษาอีกด้วย จึงไม่ลังเลที่จะเข้ามาเป็น นักศึกษาของ PIM
ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารทุนมนุษย์ บริษัท ไทยซัมมิท โอโตพาร์ท อินดัสตรี จ�ำกัด และ กลุ่มบริษัทไทยซัมมิทฯ
เหตุผลที่ตัดสินใจเลือกเรียนปริญญาโทต่อที่ PIM นั้น เนื่องจาก ครั้งแรกมีความประทับใจที่เข้าร่วมอบรมโครงการ CPO รุ่นที่ 3 ของ PIM เห็นว่าทางสถาบันได้มีการคัดเลือกวิทยากรที่มีคุณวุฒิ และประสบการณ์การท�ำงานในระดับประเทศมาถ่ายทอดความรู้ ที่เป็นประโยชน์และช่วยจุดประกายงานใหม่ๆ ในองค์กร ซึ่งเมื่อ ทาง PIM ประชาสัมพันธ์โครงการ MBA POS ให้ทราบ จึงมีความ เชือ่ มัน่ ว่า ทางสถาบันจะยังคงคุณภาพในด้านการเรียน โดยคัดสรร คณาจารย์และวิทยากรที่มีความรู้และประสบการณ์จริง
MBA in Retail Business Management รุ่น 9 ชัยวัฒน์ เดชจิจารุวัฒน์
พนักงานวิเคราะห์และวางแผน บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)
เบื้องต้นเกิดจากความสนใจในค�ำว่า ธุรกิจค้าปลีก ซึ่งเป็นสาขา วิชาที่น่าสนใจ และมีความหลากหลายในการตอบสนองความ ต้องการหรือพฤติกรรมของผู้บริโภค ส�ำหรับเหตุผลที่เลือกเรียน ที่ Panyapiwat MBA เนือ่ งจากมีความเชือ่ ว่ากลุม่ บริษทั CP เป็น 1 ในบริษัทชั้นน�ำที่ด�ำเนินธุรกิจค้าปลีกได้อย่างดีและครอบคลุม ในหลายกลุม่ อุตสาหกรรม ประกอบกับวิธกี ารเรียนการสอนของ ที่ นี่ เ น้ น ภาคปฏิ บั ติ น� ำ ประสบการณ์ จ ริ ง จากผู ้ เชี่ ย วชาญมา เป็น Case Study เพราะธุรกิจค้าปลีก เป็นธุรกิจที่ค่อนข้าง Dynamic มาก สิ่งที่ส�ำคัญในการบริหารคือการปรับมุมมองให้ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและข้อมูลตลาดตลอดเวลา การเรียน ที่เน้นภาคปฏิบัติจึงน่าจะท�ำให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจและน�ำไป ประยุกต์ใช้ในการท�ำงานได้ดีที่สุด
พิชัย ศิริกิจ
ผู้จัดการแผนกวิศวกรรมทีเอ็มพี บริษัท สแปนชั่น (ไทยแลนด์) จ�ำกัด
ผมได้มีโอกาสติดตามการเติบโตของ PIM อย่างต่อเนื่อง เห็น พัฒนาการอย่างมีประสิทธิภาพของสถาบัน มีการเปิดสอนคณะ ต่างๆ หลากหลายมากขึ้น และเมื่อได้มีโอกาสเข้ามาศึกษาข้อมูล หลักสูตร MBA สาขาวิชาบริหารธุรกิจ วิชาเอกการจัดการธุรกิจ ค้าปลีก แล้วพบว่า เป็นหลักสูตรที่ครอบคลุมการจัดการธุรกิจ ค้าปลีกอย่างแท้จริง ทั้งยังมีการปรับปรุงให้มีความทันสมัย ต่อธุรกิจในปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา และมีการน�ำองค์ความรู้และ ประสบการณ์ จ ริ ง จากภาคธุ ร กิ จ เข้ า มาเพิ่ ม เติ ม ในหลั ก สู ต ร ให้มีความเข้มข้นมากขึ้น จึงท�ำให้มีความมั่นใจเป็นอย่างยิ่งที่ได้ เข้ามาเป็นนักศึกษาใน PIM เพื่อจะได้พัฒนาตนเองไปสู่การ ท�ำงานภาคปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิผลในอนาคต
21
First meet MBA
เปิดเทอมใหม่ รับน้องใหม่ ไฉไลกว่ า เดิ ม กั บ กิ จ กรรม MBA First Meet ฉบับโดนๆ เมื่อวันที่ 4-5 กรกฎาคม 2558 Panyapiwat MBA จัดงานรับน้องแบบไม่ธรรมดา กับสโลแกน รับน้องใหม่ทงั้ ทีเอาให้ดเี อาให้ โดน กับ MBA First meet ที่พากันไปไกล ถึงผางามรีสอร์ท จ.ราชบุรี ไปไกลอย่างนี้ ก็ตอ้ งมีกจิ กรรมเด็ดๆ ให้นกั ศึกษาได้ลมิ้ รส กันอย่างแน่นอน เริ่มต้นจากการเดินทางจาก PIM ไปยัง ราชบุรี ระหว่างนั่งรถ เราจะไม่ปล่อยให้ เสียเวลาไปเปล่าๆ ทั้งเล่นเกมทั้งแจกของ รางวั ล อุ ่ น เครื่ อ งกั น ไปยาวๆ จนไปถึ ง ราชบุรีเลยทีเดียว หลังจากไปถึงที่หมาย แล้ ว ภารกิ จ ต่ อ ไปคื อ กิ จ กรรมละลาย พฤติ ก รรมตามฐานต่ า งๆ ซึ่ ง โหดมากๆ ขอบอก กิจกรรมฐานต่างๆ เป็นกิจกรรมให้รวมกลุม่ ร่วมกันท�ำกิจกรรมเพื่อรักษาไข่ อย่าเพิ่ง คิดไกลนะคะ รักษาไข่(นก) แต่ละฐานเป็น เกมเกี่ยวกับนก และการร่วมด้วยช่วยกัน 22
แต่กอ่ นทีจ่ ะไปเริม่ ปาร์ตี้ เราก็ไม่ลมื ขัน้ ตอน ส�ำคัญในการรับน้อง นั่นก็คือพิธีบายศรี สู ่ ข วั ญ ซึ่ ง ได้ รั บ เกี ย รติ จ าก อ.พรวิ ท ย์ พัชรินทร์ตนะกุล รองอธิการบดีฝา่ ยวิชาการ PIM กล่าวเปิดงานและให้โอวาทต้อนรับ นักศึกษาสูร่ วั้ PIM พร้อมกับคณาจารย์จาก ทั้ง 2 สาขา รวมถึงการผูกข้อมือสู่ขวัญ นักศึกษาใหม่ทกุ คน ซึง่ รุน่ พีต่ า่ งก็ทำ� หน้าที่ หลังจากจบกิจกรรมแรก ก็แยกย้ายกันไป ดูแลและช่วยเหลือน้องๆ กันอย่างเต็มที่ อาบน�้ำ เตรียมตัวไปงานปาร์ตี้ในค�่ำคืนนี้ หลังพิธีบายศรีเสร็จ ก็ถึงช่วงเวลาที่ทุกคน แต่ ล ะคนต่ า งจั ด หนั ก จั ด เต็ ม กั บ ชุ ด ใน รอคอยกับ Cowboy Night Party เพราะ ธีมคาวบอยที่เตรียมมางานนี้โดยเฉพาะ แต่ละกลุม่ เตรียมการแสดงมาอย่างดุเดือด รักษาไข่ ซึ่งต้องใช้ความสามัคคี ความเป็น ที ม ในการท� ำ กิ จ กรรมครั้ ง นี้ นั ก ศึ ก ษา ทุกคนทั้งรุ่นพี่รุ่นน้องต่างช่วยกันท�ำหน้าที่ ของตนเองอย่างสุดความสามารถ ช่วยทีม ตัวเองในการรักษาไข่ตามฐานต่างๆ ไม่ว่า จะเป็นฐานนกเงือก ฐานนกอินทรีย์ ฐาน แองกรีเ้ บิรด์ และอืน่ ๆ อีกมาก สนุกแค่ไหน ดูจากภาพเอานะคะ
ติดตามความสนุกครั้งต่อไปได้ทาง ค้นหาค�ำว่า “Panyapiwat MBA”
ดาวเดือนดวงใหม่ปี 58
งานแต่งคุณแพร
งานแต่งคุณอรวรรณ
แบบไม่มใี ครยอมใคร เริม่ ต้นด้วยการแสดง เปิ ด จากผางามรี ส อร์ ท กั บ ชุ ด การแสดง กระบองไฟเพื่อต้อนรับคณะ หลังจากนั้นก็ ต่อด้วยการแสดงชุดพิเศษจากคณาจารย์ ได้รับเสียงกรี๊ดและได้ใจจากนักศึกษาไป เต็ ม ๆ หลั ง จากนั้ น ก็ เ ป็ น การแสดงของ นักศึกษารุน่ พีแ่ ละรุน่ น้อง และการประกวด ดาวเดือนตามล�ำดับ ซึ่งต�ำแหน่งดาวและ เดือนตกเป็นของนักศึกษาสาขาการจัดการ ธุรกิจค้าปลีก คุณพัชร์ทวัญ ใจห้าว และ คุ ณ รั ต นอนั น ต์ ชาญชั ย ส่ ว นต� ำ แหน่ ง ดาวเคราะห์ตกเป็นของนักศึกษาสาขาการ บริหารคนและกลยุทธ์องค์กร (POS) คุณ ธัญวัฒน์ ศรีมติ รานนท์ ทุกคนต่างสนุกสนาน แดนซ์ ลื ม อายุ กั บ ปาร์ ตี้ ค าวบอยสุ ด มั น หลังจากจบกิจกรรมก็แยกย้ายกันไปนอน เก็บแรงไว้สำ� หรับวันพรุ่งนี้
เช้ า วั น ต่ อ มาได้ แ ยกกั น ท� ำ กิ จ กรรมตาม สาขา โดยให้ รุ ่ น พี่ ม าแบ่ ง ปั น ความรู ้ ประสบการณ์ในการเรียนและการใช้ชีวิต ในรัว้ PIM และจับน้องรหัสพีร่ หัส พร้อมทัง้ ท�ำความรู้จัก ขอใจแลกเบอร์โทรกันทั้ง สาขา ปิดท้ายด้วยกิจกรรมซึง้ ไปกับการร้อง เพลงเราและนาย ถ่ายรูปหมูก่ อ่ นขึน้ รถกลับ กรุงเทพฯ ท�ำเอานักศึกษาหลายคนประทับ ใจซา คลอกันเลย ส�ำหรับกิจกรรมในครั้งนี้ ส� ำ เร็ จ ลุ ล ่ ว งไปด้ ว ยดี ด ้ ว ยความร่ ว มมื อ จากคณาจารย์ ทีมงาน นักศึกษา ได้รับทั้ง เสี ย งตอบรั บ และความประทั บ ใจอย่ า ง ล้ น หลาม ต้ อ งขอขอบคุ ณ ทุ ก ท่ า นมา ณ โอกาสนี้
และสุดท้าย ต้องขอส่งท้ายด้วยข่าวน่ายินดี ส�ำหรับ Panyapiwat MBA รุ่น 6 กับงาน มงคลสมรสของ 2 สาว ทีส่ ละโสดใกล้ๆ กัน คือ คุณอรวรรณ วงศ์ค�ำชัย จากสาขาวิชา Retail Business Management กับ เจ้าบ่าวคุณกฤศวัสส์ นิธิพัฒน์ธนกุล ซึ่งได้ ท�ำพิธแี บบไทยๆ กันไปเมือ่ วันที่ 21 มิ.ย.58 ที่จังหวัดนครปฐม ส่วนอีกสาวคือ คุณแพร คุปติวิทยากุล ทายาทห้างเอกภาพ ประจ�ำ จังหวัดสระบุรี จากสาขาวิชา Logistics Management กับหนุ่มโรงน�้ำแข็ง คุณ วุฒชิ ยั โชติภมู เิ จริญกาล ซึง่ เข้าพิธสี มรสกัน ไปเมื่อวันที่ 27 มิ.ย.58 ณ โรงแรมเกี่ยวอัน จ.สระบุรี งานนีม้ คี นแอบแซวว่า เหมือนเป็น งานแต่งงานประจ�ำจังหวัดกันเลยทีเดียว ก็ ต้องขอแสดงความยินดีอย่างยิ่งและขอ อวยพรให้ทั้งคู่ครองรักกันยืนยาวนะคะ ทางทีมงานขอลาไปก่อน แล้วเจอกันใหม่ กับ Alumni’s Corner ฉบับหน้าค่ะ
N
N
23
ศูนยพัฒนาเครือขายทางธุรกิจ สำนักบริการวิชาการ สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน
Business Networking Center Academic Services Office I Panyapiwat Institute of Management
CP All Business Experience
PIM Academic Expert
g
04 Busine ss F ield 03 Inhou Trip se T rain 02 Publ in ic T rai 01 Kno wl g nin ring e Sha edg
SERVICES
Knowledge Sharing
Why BNC ?
Public Training
Inhouse Training
Business Field Trip
CP All Know-How
Course Content
Professional Instructors
Retail and Wholesale Management
Professional Academic Team
Academic Expert
Training Proficiency Test
Logistic and Warehouse
Tailor-Made Course
Professional Expert
Course Satisfaction Survey
Managerial Management Skill
Practical Knowledge
Tank of Business Guru
Retail Service Excellence
Course Assessment
Cover All Business Level
For more Information, please contact Business Networking Center I Academic Services Office Tel: 02 832 0980, 02 837 1092-3