16 MBA Connected

Page 1

Sep-Nov 2015

โอสถสภา กับการบริหารธุรกิจให้เติบโต ภายใต้ภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว โดย คุณธรรมศักดิ์ จิตติมาพร กรรมการผู้จัดการ บริษัท โอสถสภา จ�ำกัด

Biz on the Move MBA@PIM เรียนรู้ธุรกิจจากต้นน�้ำถึงปลายน�้ำ มุ่งสู่การเป็นนักบริหารมืออาชีพ

HR Focus การบริหารการลงทุนทรัพยากรมนุษย์ ในสถานการณ์วิกฤติเศรษฐกิจ



Sep-Nov 2015

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

คุณก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์ รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อาจารย์พรวิทย์ พัชรินทร์ตนะกุล รศ.ดร.สมโรตม์ โกมลวนิช คุณสยาม โชคสว่างวงศ์ รศ.ดร.เรืองศักดิ์ แก้วธรรมชัย ผศ.ดร.ศรีไพร ศักดิ์รุ่งพงศากุล คุณปาริชาต บัวขาว

คอลัมนิสต์กิตติมศักดิ์

ดร.เลิศชัย สุธรรมานนท์ ดร.กิตติ เศรษฐวรพันธุ์ อาจารย์วิเชศ คำ�บุญรัตน์

บรรณาธิการ

ผศ.ดร.ภญ.ธัญญา สุพรประดิษฐ์ชัย

หัวหน้ากองบรรณาธิการ ธมลวรรณ อัศเวศน์

กองบรรณาธิการ

ภัทรกมล คีรีวัชรินทร์ เหมือนฝ้าย ปัญญวานิช เพชรไพลิน สาวะดี วรานี จรูญลักษณ์คนา ภูริมาศ สว่างเมฆ ปรัชนัน ทิพย์ปัญญา ศรัณย์รักษ์ กองสูงเนิน เพ็ญนภา กมลาสน์มรกต

ศิลปกรรม

เอกภพ สุขทอง ทักษกร นุ้ยเพ็ง

ปีน้ีคงเป็นปีที่ทั้งนักธุรกิจและผู้ประกอบการของไทยหลายต่อหลายรายเครียด กับการแถลงตัวเลขการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ แต่หากมองในทาง กลับกัน ประเทศไทยเคยฝ่าวิกฤติทางเศรษฐกิจทีร่ า้ ยแรงกว่านีม้ าแล้วหลายครัง้ วิกฤติในครั้งนี้คงถือเป็นเพียงอุปสรรคบนเส้นทางการเติบโตทางเศรษฐกิจของ ประเทศไทยเท่านั้น สิ่งดีๆ ที่ได้จากวิกฤติก็คือการที่ภาคธุรกิจต่างหันหน้ามา ร่วมผนึกก�ำลังต่อสู้ร่วมกัน แม้แต่บุคลากรในองค์กรเดียวกันก็ประสานพลัง สามัคคีกันเพื่อคิดหาวิธีสู้รบและตั้งรับกับวิกฤติดังกล่าว นิตยสาร MBA Connected by PIM ฉบับนี้จึงมุ่งที่จะน�ำเสนอองค์ความรู้ที่อาจ เป็นประตูทางออกบานหนึ่งให้แก่องค์กรธุรกิจทั้งหลายในการที่จะเดินหน้า ฝ่าเศรษฐกิจในยุครัดเข็มขัดเช่นนี้ไปให้ได้ ไม่ว่าจะเป็นคอลัมน์ Cover Story ที่บอกเล่าประสบการณ์การผ่านร้อนผ่านหนาวกว่า 124 ปีของบริษัทยักษ์ใหญ่ ด้านสินค้าอุปโภคบริโภคอย่างโอสถสภา ที่มีเคล็ดลับความส�ำเร็จที่ท�ำให้ธุรกิจ เติบโตอย่างยั่งยืนมาได้อย่างยาวนาน นั่นก็คือ “นวัตกรรม หรือ Innovation” นอกจากนีใ้ นคอลัมน์ HR Focus ยังเปิดมุมมองให้แก่ทกุ ท่านในเรือ่ งทีว่ า่ “ลงทุน ในทรัพยากรมนุษย์อย่างไรให้คุ้มค่าและตรงกับเป้าหมายขององค์กร” ส�ำหรับ คอลัมน์ Biz on the Move ที่ไฮไลต์ก้าวส�ำคัญในการพัฒนาหลักสูตรด้านการ ศึกษาที่ตอบโจทย์ธุรกิจที่ส�ำคัญของประเทศ โดยตั้งแต่วันที่ 9 มีนาคม 2550 เป็นต้นมา สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) ไม่เคยหยุดนิ่งแต่กลับเติบโต ขึน้ อย่างสง่างามภายใต้ปณิธานเดิมทีม่ งุ่ มัน่ ในการสร้างบุคลากรทีม่ คี วามรูค้ วาม สามารถให้กับประเทศชาติและสังคมไทย “สร้างมืออาชีพด้วยมืออาชีพ” และ ด้วยความเชี่ยวชาญและการสนับสนุนของบริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) จึงท�ำให้หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้า สมัยใหม่ หรือ Master of Business Administration Program in Modern Trade Business Management ได้ถูกพัฒนาขึ้นเป็นครั้งแรกและแห่งแรกใน ประเทศไทย จากจุ ด เด่ น ของหลั ก สู ต รที่ มี ก ารบู ร ณาการองค์ ค วามรู ้ ทั้ ง ภาคทฤษฎี ด ้ า น การจัดการธุรกิจตัง้ แต่ตน้ น�ำ้ กลางน�ำ้ ไปจนถึงปลายน�ำ้ นัน่ คือตัง้ แต่เริม่ ต้นจัดหา วัตถุดิบเพื่อน�ำมาผลิต การจัดเก็บ จนไปสิ้นสุดกระบวนการคือส่งสินค้าถึง มือลูกค้า และการศึกษาดูงานในองค์กรส�ำคัญทีห่ ลากหลายทัง้ ภาครัฐและเอกชน เชื่อมั่นว่ามหาบัณฑิตทุกท่านจะได้รับองค์ความรู้ แนวคิด สั่งสมประสบการณ์ จากกระบวนการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน พัฒนาศักยภาพของตนเอง รวมถึงสามารถน�ำสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้อย่างครบวงจรนี้ไปประยุกต์ใช้ใน ภาคธุรกิจได้ เป็นอีกหนึ่งพลังส�ำคัญในการผลักดันช่วยกันพัฒนาประเทศชาติ และสังคมไทยต่อไป ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.ธัญญา สุพรประดิษฐ์ชัย บรรณาธิการ


by Penny Pen

โครงการสัมมนาพิเศษ Professional Development Program (PDP) by Panyapiwat MBA ............................................................................................................................................................................

เริ่มกันที่งานแรกของโครงการ PDP กับงานสัมมนาพิเศษในหัวข้อ “กลยุทธ์การสรรหาและคัดเลือกคน” ณ หอประชุมปัญญาภิวัฒน์ สถาบั น การจั ด การปัญ ญาภิวัฒน์ ถ.แจ้งวัฒนะ เมื่อ วั น ที่ 19 สิงหาคม 2558 โดยได้รับเกียรติจาก คุณอับดุลเหล๊าะ เลิศอริยะ พงษ์กลุ รองกรรมการผูจ้ ดั การอาวุโส บริษทั เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) มาให้ความรู้ในหัวข้อ “กลยุทธ์การสรรหาและ คัดเลือกคน” (Recruitment and Selection Strategies)

ธุรกิจเบเกอร์รี่ คุณร�ำไพพรรณ พรตรีสัตย์ รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท ซีพี แรม จ�ำกัด กล่าวให้ความรู้ในเรื่องของ CP RAM Journey เส้นทางสูค่ วามส�ำเร็จของ CP RAM และกลยุทธ์การแก้ปญ ั หา ฝ่าวิกฤติ พร้อมทัง้ เคล็ดลับการน�ำองค์กรเพือ่ การเติบโตอย่างยัง่ ยืน

โครงการ Professional Development Program (PDP) จัดโดย หลั ก สู ต ร MBA สถาบั น การจั ด การปั ญญาภิ วัฒ น์ เ ป็ น ประจ�ำ ทุกเดือน เพือ่ เป็น Knowledge Sharing ให้แก่บคุ คลทัว่ ไปทีส่ นใจ ต่อด้วยงานสัมมนาพิเศษของโครงการ PDP อีกเช่นกันในหัวข้อ เข้าร่วมรับฟังกว่า 100 ที่นั่ง ท่านที่สนใจงานสัมมนาดีๆ สามารถ “ผู้น�ำยุคใหม่กับการน�ำองค์กรฝ่าวิกฤติในสไตล์ CP RAM” เมื่อ ติดตามข่าวสารได้ที่ Panyapiwat MBA Fanpage หรือเว็บไซต์ วันที่ 7 ตุลาคม 2558 โดยได้รบั เกียรติจากผูบ้ ริหารหญิงคนเก่งแห่ง http://mba.pim.ac.th 4


PANYAPIWAT MBA Practice for REAL at Panyapiwat MBA แนวทางธุรกิจค้าปลีกปี 59 .................................................................................... ส�ำนักบริหารเครือข่ายทางธุรกิจ บริษทั ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) จัดงานสัมมนาในหัวข้อ แนวทางธุรกิจค้าปลีกปี 59 และการบริหาร จัดการสู่อนาคตกับ เซเว่น อีเลฟเว่น ณ หอประชุมปัญญาภิวัฒน์ โดยได้รับเกียรติจาก คุณปิยวัฒน์ ฐิตะสัทธาวรกุล กรรมการ ผู้จัดการ บมจ. ซีพี ออลล์ คุณชวน นิ่มกิตติกุล รองกรรมการ ผู้จัดการอาวุโส บมจ. ซีพี ออลล์ และคุณอ�ำพา ยงพิศาลภพ รองกรรมการผู้จัดการ บมจ. ซีพี ออลล์ มาบอกเล่าแนวทางธุรกิจ ค้าปลีกปี 59 นอกจากนี้ ยังมีบูธแสดงสินค้าจากคู่ค้า อาทิ โค้ก มาม่า โอวัลติน เลย์ เนสกาแฟ นมตราหมี โคอะลา มาร์ช มิเนเร่ น�้ำดื่มเพอร์ร่า นมแอนลีน ฯลฯ มาร่วมแสดงสินค้ากันอย่างคับคั่ง

ต้อนรับวิทยากร พร้อมด้วยหลากหลาย Case Studies เพื่อให้ความรู้กับเหล่านักศึกษา MBA ดังนี้ วิทยากรหลักสูตร MBA in Modern Trade Business Management

............................................................................ 20.06.58

คุณเนาวรัตน์ เขมาภิรมย์

ผู้อ�ำนวยการศูนย์กระจายสินค้าโลจิสติกส์

การดำ�เนินงาน การควบคุม และการวัดผลงานศูนย์กระจายสินค้า

............................................................................ 27.06.58

“The Great Gatsby” iMBA Byenior #Batch1 .................................................................................... หลักสูตร iMBA ได้จดั งาน iMBA Byenior #Batch1 (Graduation Party) เพื่อแสดงความยินดีให้กับนักศึกษา รุ่น 1 ณ ห้องกิเลน ธาราปาร์ค ในธีมงาน “The Great Gatsby” กิจกรรมในครัง้ นีเ้ ป็น งานฉลองจบการศึกษาครัง้ แรกของหลักสูตร ภายในงานมีกจิ กรรม มากมาย ประกอบด้วยการกล่าวเปิดงานจาก Prof.Dr.Tang Zhimin คณบดี วิทยาลัยนานาชาติ มีการมอบประกาศนียบัตร ให้แก่ทปี่ รึกษาทางธุรกิจ (Corporate Mentors) ทีเ่ ป็นผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านธุรกิจทีไ่ ด้รบั เชิญมาเป็นทีป่ รึกษาของนักศึกษา iMBA และมอบ ประกาศนียบัตรแก่นักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น พร้อมทั้งมอบ ของที่ระลึกให้นักศึกษาทุกคน จากนั้นมีการแสดงกลองสะบัดชัย และต่ อ ด้ ว ยการแสดงของนั ก ศึ ก ษา iMBA งานนี้ มี ก ารร่ ว ม รับประทานอาหารและร่วมเล่นเกมต่างๆ ด้วยกัน สร้างความ ประทับใจให้กับผู้เข้าร่วมงานทุกท่าน

คุณธีรศักดิ์ วงศ์ปิยะ

บริษัท ครายออน อินโนเวเตอร์ จ�ำกัด

Innovation Consultant Banking Innovation with MIS and Customer Innovation

............................................................................ 27.06.2558

คุณนิวัฒน์ ดาวลอย

วิทยากรที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญทางด้านธุรกิจค้าปลีก

Market Segmentation in Modern Trade Business

............................................................................ 28.06.2558

ดร.วิชัย ว่องศิลป์วัฒนา

วิทยากรและที่ปรึกษาด้านการขายและการตลาด

Leadership

5


วิทยากรหลักสูตร MBA in Modern Trade Business Management

............................................................................ 11.07.58

รศ.ดร.เสรี วงษ์มณฑา

ประธาน หจก. กู๊ด คอมมิวนิเคชั่น อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญประจ�ำบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร

Power of Word of Mouth กลยุทธ์การตลาดปากต่อปาก

............................................................................ 12.07.2558

หลักสูตร MBA in People Managemant and Organization Strategy

............................................................................

คุณวรพันธ์ โลกิตสถาพร

19.07.58

การวิเคราะห์ข้อมูลลูกค้าและพฤติกรรมลูกค้า

รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส ด้านทรัพยากรบุคคลธุรกิจอาหารสัตว์และฟาร์มเลี้ยงสัตว์ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการบริษัท สถาพรบุ๊คส์ จ�ำกัด

............................................................................ 19.07.2558

คุณก้องเกียรติ พรรณวดี

ผู้จัดการทั่วไปด้านพัฒนาลูกค้าและตลาด บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน)

คุณอับดุลเหล๊าะ เลิศอริยะพงษ์กุล

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ข้ามชาติ กรณีศึกษา บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำ�กัด (มหาชน)

............................................................................

แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อ

............................................................................ 25.07.2558

คุณกานต์ ประพฤติชอบ กรรมการผู้จัดการ บริษัท แอมเบี้ยน ซอฟท์ จ�ำกัด

How to design and develop smart MIS for retail industry

............................................................................ 26.07.2558

ดร.กุสุมา เทพรักษ์

อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาศิลปการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

การพัฒนาบุคลิกภาพ และการนำ�เสนอสู่เส้นทางนักบริหารมืออาชีพ

11.07.58

คุณจักรินทร์ พงษ์ศรีรัตน์ บริษัท ซัมซุง (ประเทศไทย) จ�ำกัด

HRIS in Big Data Analytic.

............................................................................ 8.08.58

คุณจรูญศักดิ์ ฉวีศักดิ์

ผู้จัดการทั่วไปอาวุโส ส�ำนักระบบและกลยุทธ์งานบุคคล บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน)

การประยุกต์การวางแผนสายอาชีพ และการบริหารผู้มีความสามารถสูง กรณีศึกษา บริษัท ซีพี ออลล์ จากัด (มหาชน)

Real

Business Application

6


สถาบันเดล คาร์เนกี ประเทศไทย

คุณทิพย์สุคนธ์ กอบอารยธรรม ผู้อำ�นวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคล โรงแรมหลุยส์ แทเวิร์น ในเครือ เดอะ มิราเคิล กรุ๊ป โฮเทล

บริษัท แอลเอฟ เอเชีย (ประเทศไทย) จำ�กัด

สมาคมแฟรนไชส์ไทย

10.07.58

14.07.58

บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำ�กัด (มหาชน) และ หจก.จิสประพัจน์ (ยาสมุนไพรตรา เฌอเอม)

22.07.58

บี เอส ซี คอสเมโทโลจี โดยบริษัท ไอ.ซี.ซี.อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด

13.08.58

บริษัท กรีนสปอต จำ�กัด

20.08.58

บริษัท อีทีซี แอพเพรซัล จำ�กัด และบริษัท ปวีณ์มล จำ�กัด (KA Cream)

16.07.58

06.08.58

16.08.58

7


ย้อนกลับไปเมื่อ 50 ปีก่อน โอสถสภาได้สร้างเซ็กเม้นต์ ใหม่ ให้กับตลาดเครื่องดื่มในประเทศไทย โดยการน�ำเข้าเครื่องดื่ม ให้พลังงาน "ลิโพวิตันดี" จากประเทศญี่ปุ่นเข้ามาเป็นเจ้าแรก นับเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างตลาดเครื่องดื่มให้พลังงานใน ประเทศไทย 20 ปีต่อจากนั้น โอสถสภาประสบความส�ำเร็จโดย การสร้างแบรนด์เครื่องดื่มให้พลังงานของตัวเอง ภายใต้ชื่อ "M-150" ออกสูต่ ลาด พร้อมการน�ำเสนอแนวคิดด้านการตลาด ที่แปลกใหม่ ท�ำให้ M -150 ก้าวขึ้นสู่การเป็นผู้น�ำในตลาดเครื่อง ดื่มให้พลังงานในประเทศไทย บริษัทของคนไทยยักษ์ ใหญ่แห่งนี้ ผ่านร้อนผ่านหนาวมากว่า 124 ปี และยังคงรักษาต�ำแหน่งผู้น�ำ อยู่เสมอแม้ในภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว อะไรคือหัวใจส�ำคัญ ที่ท�ำให้โอสถสภายังคงรักษาความเป็นผู้น�ำในตลาดเครื่องดื่ม ให้พลังงานและมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง MBA Connected ฉบับนี้จะพาไปพูดคุยกับ คุณธรรมศักดิ์ จิตติมาพร กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท โอสถสภา จ�ำกัด ผู้น�ำที่จะน�ำพาโอสถสภาก้าว สู่ปีที่ 125 ของการด�ำเนินธุรกิจที่ก�ำลังเติบโตอย่างไม่หยุดยั้ง

คุณธรรมศักดิ์ จิตติมาพร 8

กรรมการผู้จัดการ บริษัท โอสถสภา จ�ำกัด


ในภาวะเศรษฐกิจทีเ่ ริม่ ส่งสัญญาณชะลอ ตัว ซึ่งเห็นได้ชัดตั้งแต่ครึ่งปีหลังเป็นต้น มา ท�ำให้ภาคธุรกิจไทยจ�ำเป็นต้องเตรียม พร้ อ มในการรั บ มื อ และปรั บ เปลี่ ย น กลยุ ท ธ์ ใ ห้ ทั น กั บ สถานการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น โอสถสภาในฐานะผู้น�ำในตลาดเครื่องดื่ม ให้พลังงานมีวิธีการบริหารจัดการธุรกิจ อย่างไรให้มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง

สร้างความแตกต่างผสานนวัตกรรม สภาพทางธุรกิจในปัจจุบันมีความพลิกผัน และมีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว การสร้างนวัตกรรมเริ่มเข้ามามีบทบาทต่อเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมมากยิ่งขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เหล่านี้ จะท�ำให้พฤติกรรมของผูบ้ ริโภคปรับเปลีย่ นไปด้วย แนวทางทีธ่ รุ กิจ จะประสบความส�ำเร็จและเจริญเติบโตต่อไปในอนาคต คือการสร้าง นวัตกรรมเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าและแนวโน้ม การบริโภคของลูกค้าในอนาคต โอสถสภาเราสร้างโอกาสจากความ ต้องการทีแ่ ตกต่างของกลุม่ เป้าหมายด้วยกลยุทธ์ Multi Brand ใน กลุม่ เครือ่ งดืม่ ให้พลังงาน อาทิ เครือ่ งดืม่ ฉลาม, .357, SHARK Cool Bite, M-Storm, โสมอินซัม ท�ำให้เครือ่ งดืม่ ให้พลังงานทัง้ หมดของ โอสถสภามีมาร์เก็ตแชร์ถึง 70% หรือ 2 ใน 3 ของตลาดรวม

กลยุทธ์ส�ำคัญที่โอสถสภาให้ความส�ำคัญมาตลอด 124 ปีของการ ด�ำเนินธุรกิจ ไม่วา่ สภาวะทางเศรษฐกิจจะเป็นอย่างไร คือการรักษา และพั ฒ นาคุ ณ ภาพสิ น ค้ า ให้ ไ ด้ ม าตรฐานอยู ่ เ สมอ ตลอดจน การสร้างความแตกต่างให้กับสินค้าด้วยนวัตกรรม และมองหา โอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ ภายใต้การบริหารจัดการด้านต้นทุนที่มี “โอสถสภาให้ความส�ำคัญในการพัฒนาสินค้ามาตั้งแต่แรก เพราะ ประสิทธิภาพ เรารู้ดีว่า หากไม่มีอะไรใหม่ๆ มาให้ผู้บริโภค องค์กรและผลิตภัณฑ์ รักษาและพัฒนาคุณภาพสินค้าให้ได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับ ก็จะล้าหลังไปเรื่อยๆ ทุกๆ วันเราจึงมองหาโอกาส แล้วพยายาม การรักษาคุณภาพสินค้าทีอ่ อกสูต่ ลาดมากว่า 50 ปีอย่างลิโพวิตนั ดี พัฒนาสิ่งต่างๆ บางอย่างเราต้องพัฒนาก่อนที่ผู้บริโภคจะรู้ตัวว่า และเครื่องดื่มให้ก�ำลังงานอื่นๆ โดยเฉพาะ M-150 ที่มียอดขาย ต้องการเสียอีก ทุกวันนี้ Stage การพัฒนาสินค้าของโอสถสภาจึง อันดับ 1 ให้มีมาตรฐาน มีรสชาติที่ถูกปากถูกใจผู้บริโภคอยู่เสมอ ข้ามขัน้ ไปสูก่ ารหา Unmet Need ของผูบ้ ริโภคมากกว่าการ Serve นั้นไม่ใช่เรื่องง่าย หากไม่มีการควบคุมคุณภาพและระบบบริหาร Need” จัดการที่ดีตลอดจนทีมงานที่มีประสิทธิภาพ เราไม่เพียงส่งมอบ สินค้าที่มีคุณภาพแก่ผู้บริโภคเท่านั้น แต่ยังสร้างความผูกพันต่อ แบรนด์ผา่ นกิจกรรมส่งเสริมการตลาดต่างๆ ทีต่ รงกับความต้องการ ของลูกค้า เพิ่มช่องทางการกระจายสินค้าให้ลูกค้าเข้าถึงง่าย และ เจาะตลาดให้ตรงกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน

ไม่ เ พี ย งแค่ นั้ น โอสถสภายั ง Diversify ธุ ร กิ จ ไปยั ง กลุ ่ ม ของ คอนซูเมอร์โปรดักต์ตัวอื่นๆ อย่าง เบบี้มายด์ ทเวลฟ์พลัส ยูทิป ท�ำให้ผู้บริโภคเกิดการรับรู้ในเรื่องของการน�ำนวัตกรรมที่ทันสมัย มาพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เข้ากับกลุม่ ลูกค้าทาร์เก็ตใหม่ๆ ซึง่ ก็สะท้อน ให้เกิดภาพลักษณ์ และความน่าเชื่อถือตามมา

9


สร้างความได้เปรียบในการบริหารจัดการต้นทุน การด�ำเนินธุรกิจให้ประสบความส�ำเร็จมายาวนานกว่า 100 ปี ไม่สามารถเกิดขึน้ ได้โดยล�ำพังหากไม่มพี นั ธมิตร คูค่ า้ ลูกค้า ทีช่ ว่ ย สนับสนุนและส่งเสริมให้ธรุ กิจด�ำเนินไปได้ตามเป้าหมาย โอสถสภา มี พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ ทั้ ง ระบบซั พ พลายเชนตั้ ง แต่ ต ้ น น�้ ำ ไปถึ ง ปลายน�้ำ ท�ำให้เรามีความได้เปรียบในการบริหารจัดการต้นทุน ตั้งแต่การคัดสรรวัตถุดิบที่มีคุณภาพ การผลิตและบรรจุภัณฑ์ ไปจนถึงระบบโลจิสติกส์ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจน เช่น จากการที่ เรามีโรงงานผลิตขวดแก้วของเราเอง ตั้งอยู่ในพื้นที่เดียวกันกับ โรงงานบรรจุเครื่องดื่ม ท�ำให้เราสามารถลดค่าใช้จ่ายในเรื่อง การผลิตลง ไม่ผลักภาระให้กับผู้บริโภค

มองหาตลาดลูกค้าใหม่และขยายตัวสู่กลุ่มประเทศ ในภูมิภาคอาเซียน โอสถสภามีความเข้มแข็งในด้านการจัดจ�ำหน่ายที่ครอบคลุมถึง 99.9% กว่า 6 แสนร้านค้าทั่วประเทศ มีระบบกระจายสินค้าไปสู่ ผู ้ บ ริ โ ภคได้ อ ย่ า งสะดวก รวดเร็ ว มี ก ระบวนการท� ำ งานที่ มี ประสิทธิภาพ ด้วยความแข็งแกร่งในจุดนี้ ท�ำให้บริษทั ชัน้ น�ำในกลุม่ ธุรกิจเครือ่ งดืม่ ทีม่ ชี อื่ เสียงจากญีป่ นุ่ เข้ามาร่วมทุนกับโอสถสภา เช่น ไทโชฟาร์มาซูติคอล, คาลพิส, เฮ้าส์ ฟู้ด และคาโกเมะ ซึ่งแต่ละ บริ ษั ท นั้ น มี ชื่ อ เสี ย งและมี จุ ด เด่ น ในเรื่ อ งของ Product Innovation เป็นแบรนด์ทแี่ ข็งแกร่งและยังเป็นผูน้ ำ� ตลาดในประเทศญี่ปุ่น จึงเกิดความร่วม มือทางธุรกิจกับบริษัทชั้นน�ำ ในญี่ปุ่นจัดตั้งเป็น

10

บริษทั ร่วมทุน อาทิ Osotspa Taisho / Calpis Osotspa / House Osotspa / Osotspa Kagome และล่าสุดโอสถสภาได้ขยายธุรกิจ เครื่องดื่มโดยจัดตั้ง บริษัท Osotspa Loi Hein เพื่อจัดจ�ำหน่าย เครื่องดื่มในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ “เรื่องนี้ไม่ได้เกิดขึ้นโดยบังเอิญ แต่เกิดจากกระบวนการท�ำงาน ความนิยมของสินค้า วิธบี ริหารจัดการ จนเรียกว่าเป็น Innovation ของการท�ำงานด้านการจัดจ�ำหน่าย ซึง่ สามารถต่อยอดธุรกิจให้กบั องค์กรในเวลาต่อมาได้ด้วย เปิดทางให้ผู้ร่วมทุนต่างชาติเข้ามา Joint Venture ท�ำตลาดในเมืองไทยร่วมกันกับโอสถสภา ตรงนี้ ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า โอกาสทางธุ ร กิ จ ของเราคงไม่ เ กิ ด หากนั ก ลงทุ น รายต่างๆ ไม่เห็นศักยภาพการจัดจ�ำหน่ายของเรา” ถึงแม้จะเป็นองค์กรของคนไทยทีอ่ ยูม่ ากว่า 124 ปี เรามีวฒ ั นธรรม องค์กรอยู่กันแบบครอบครัวใหญ่ มีพนักงานหลากหลายช่วงอายุ จึงท�ำให้เปิดกว้างทางด้านความคิด ให้พนักงานกล้าที่จะคิด กล้าที่จะท�ำ ภายใต้การสนับสนุนของผู้บริหาร ที่ทุกรุ่น ทุกสมัย ให้ความส�ำคัญกับการเปิดรับความคิดเห็นใหม่ๆ อันน�ำไปสู่การ คิดค้นสร้างสรรค์สินค้าใหม่ๆ ให้ครองใจผู้บริโภค และนี่จึงเป็น เหตุผลส�ำคัญที่ท�ำให้โอสถสภายังคงเป็นองค์กรที่ แข็งแกร่งบนสมรภูมิการแข่งขันทางธุรกิจ



หลักสูตรแรกในประเทศไทย ที่สร้างนักบริหารธุรกิจ การค้าสมัยใหม่อย่างมืออาชีพ

MBA in ModernTrade Business Management

ในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล การด�ำเนินธุรกิจมีการแข่งขันกันสูงขึ้น แนวโน้มการเจริญเติบโตของธุรกิจการค้าสมัยใหม่ในภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ยงั คงมีสงู เช่นกัน โดยปัจจัยหลักมาจากโอกาสใน การท�ำให้ธุรกิจเป็นสมัยใหม่ (Modernization) ที่มีอีกมาก การ เจริญเติบโตของกลุ่มชนชั้นกลาง และการลงทุนจากต่างประเทศ ซึง่ เป็นกุญแจส�ำคัญทีช่ ว่ ยขับเคลือ่ นธุรกิจการค้าสมัยใหม่ในเอเชีย นอกจากนี้การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 ยัง เป็นการเปิดโอกาสทางธุรกิจที่ส�ำคัญยิ่ง เนื่องด้วยขนาดของ ประชากรและอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ของประเทศในกลุ่มนี้ ดังนั้นการด�ำเนินธุรกิจในยุคนี้จึงต้องมี การปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้บริโภค และ สภาวะของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ มหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจ (Corporate University) เป็นสถาบันการศึกษาเอกชนทีไ่ ด้รบั การ สนับสนุนโดยบริษทั ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) ผูบ้ ริหารร้านสะดวก ซือ้ เซเว่น-อีเลฟเว่น และเกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจค้าปลีกและค้าส่ง มีองค์ ความรูแ้ ละความเชีย่ วชาญการบริหารธุรกิจการค้าสมัยใหม่ มีความ พร้อมทั้งทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ความสามารถในเชิงธุรกิจ สถานประกอบการ และพันธมิตรเครือข่ายทางธุรกิจ เพื่อสร้างนัก ธุรกิจมืออาชีพทีช่ ว่ ยตอบโจทย์ธรุ กิจในตลาด AEC ได้อย่างแท้จริง

12

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรีไพร ศักดิ์รุ่งพงศากุล ผู้อ�ำนวยการหลักสูตร MBA สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ (MBA in MTM)


Practice for Real ความต่างอย่างมืออาชีพ

เสริมความแกร่งทางธุรกิจด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้วยความมุ่งมั่นในการถ่ายทอดองค์ความรู้ ประสบการณ์ และ และนวัตกรรมทางธุรกิจ

ในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) ถ้ากล่าวถึงเทรนด์ เศรษฐกิจโลก ก็มักจะพูดถึงกระแสการตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) ที่มีการใช้สื่อดิจิทัลเพื่อการท�ำธุรกิจ หลักสูตร MBA เล็งเห็นถึงความส�ำคัญและแนวโน้มดังกล่าว จึงได้ปรับเปลีย่ นและ เพิ่ ม เนื้ อ หาวิ ช าให้ ทั น สมั ย สอดคล้ อ งกั บ บริ บ ททางธุ ร กิ จ ที่ เปลี่ยนแปลงไป เช่น เศรษฐศาสตร์สมัยใหม่ส�ำหรับการตัดสินใจ ทางธุรกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศส�ำหรับธุรกิจการค้าสมัยใหม่ ที่ โดยแบ่งการสอนนักศึกษาเป็น 3 ขั้น ดังนี้ เรียนรู้ช่องทางการท�ำธุรกิจอย่าง Omni Channel การใช้ข้อมูล • ขั้นที่ 1 : ค้นหาตัวตนนักบริหาร (Executive Self-Discovery) ขนาดใหญ่ (Big Data) เพื่อการวิเคราะห์ทางการตลาดและ เป็นการวิเคราะห์ความสามารถส่วนบุคคลด้วย P-PAC ซึ่งเป็นการ การวางแผนธุรกิจ รวมถึงการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อ วิเคราะห์ลายผิวเพื่อวางแผนการเรียนรู้และเสริมศักยภาพใน สร้างนวัตกรรมทางธุรกิจให้เป็นผู้ประกอบการในภูมิภาคอาเซียน อย่างมืออาชีพ การบริหารธุรกิจ การสร้างนักธุรกิจมืออาชีพด้านธุรกิจการค้าสมัยใหม่ของสถาบัน การจัดการปัญญาภิวัฒน์ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขา วิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ หรือ MBA in MTM จึงเป็น หลักสูตรที่ออกแบบและเน้นการเรียนรู้การจัดการธุรกิจการค้า สมัยใหม่และซัพพลายเซน ตัง้ แต่ตน้ น�ำ้ ถึงปลายน�ำ้ ในสนามจริงแห่ง โลกธุรกิจตามแนวคิด Practice for Real at Panyapiwat MBA

• ขั้นที่ 2 : สร้างหลักสูตรที่ให้นักศึกษาได้เรียนรู้และปฏิบัติสู่การ เป็นมืออาชีพ (Professional-based Learning and Practice) โดยให้นกั ศึกษาได้เรียนรูธ้ รุ กิจจริงจากต้นน�ำ้ จนถึงปลายน�ำ้ เพือ่ มุง่ สู่การเป็นนักจัดการและผู้น�ำ สร้างสรรค์นวัตกรรมทางธุรกิจผ่าน Current Business Issues และการศึกษาดูงานธุรกิจชั้นน�ำทั้งใน และต่างประเทศ • ขั้นที่ 3 : นักศึกษาได้เรียนรู้จากเครือข่ายและแบบจ�ำลองทาง ธุรกิจทีเ่ ปรียบเสมือนอยูใ่ นสนามจริง (Business Simulation and Networking) ด้วยการเชือ่ มโยงทฤษฎีสกู่ ารแก้ปญ ั หาธุรกิจในภาค ปฏิบตั ิ ศึกษาและวิจยั การตลาดและสร้างโมเดลธุรกิจจริง ด้วยการ ให้ค�ำปรึกษาในการจัดตั้งและขยายธุรกิจ มอบโอกาสในการสร้าง เครือข่ายทางธุรกิจเพื่อให้สามารถต่อยอดกับธุรกิจกลุ่มซีพี ออลล์ และบริษัทพันธมิตรอื่นๆ ได้จริง

หลั ก สู ต ร MBA@PIM จะได้ รั บ การถ่ า ยทอดความรู ้ แ ละ ประสบการณ์ผ่านวิทยากรจากภาคธุรกิจที่มีประสบการณ์ระดับ นานาชาติทั้งจาก CP ALL เอง และจากภาคธุรกิจอื่นๆ ที่เป็น เครือข่ายพันธมิตร มาแบ่งปันความส�ำเร็จและกลยุทธ์ทางธุรกิจ ทุก รายวิชามีสัดส่วนการเรียนจากกรณีศึกษาจริงขององค์กรชั้นน�ำ ต่างๆ ไม่ต�่ำกว่า 30% และยังมี Business Mentor ที่คอยเป็น พี่เลี้ยงให้ค�ำปรึกษาและค�ำแนะน�ำในการท�ำธุรกิจอย่างใกล้ชิด ซึ่ง ขณะนีท้ าง PIM ได้ดำ� เนินการพัฒนาหลักสูตร MBA in MTM พร้อม เปิดสอนในปีการศึกษา 2559 ซึ่งเปิดโอกาสให้คนที่สนใจเข้าร่วม สัมผัสประสบการณ์หอ้ งเรียนจริงในหัวข้อบรรยายพิเศษต่างๆ โดย สามารถติดต่อเข้ามาที่ PIM เพือ่ สอบถามข้อมูลและส�ำรองทีน่ งั่ ได้

13


หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

Master of Business Administration Program in Modern Trade Business Management

การจัดการธุรกิจการคาสมัยใหม คนหาตัวตนนักบริหาร

วิเคราะหความสามารถบุคคลเพ�อวางแผน รูปแบบการเรียนรูและใชศักยภาพในการบริหาร โดยใชศาสตรดานลายผิววิทยา (Dermatoglyphics)

เรียนรูสูมืออาชีพ เรียนรูธุรกิจจากตนน้ำสูปลายน้ำ (Supply Chain) ผานองคความรู 3 สวน Management

Innovation

Leadership

ธุรกิจสนามจริง งานวิจัยจากปญหาจริงในธุรกิจ โครงการใหคำปรึกษาในการจัดตั้งและขยายธุรกิจ จับคูธุรกิจกับเครือ CP สรางเครือขายธุรกิจในอาเซียน

เป ด รับสมัคร

สอบถามรายละเอียดหลักสูตรเพิ่มเติมไดที่ โทร. 14 02-832-0413, 02-837-1117, 02-832-0416, 02-832-0471

สอบชิงทุน แลววันนี้

E-mail : mba@pim.ac.th Website : http://mba.pim.ac.th Facebook : www.facebook.com/mbapanyapiwat


หลักสูตรแรกและหลักสูตรเดียวในประเทศไทย ที่ครอบคลุมการจัดการธุรกิจการคาสมัยใหมและการบริหารซัพพลายเชนแบบครบวงจร Information Technology for Modern Trade Business and Supply Chain Franchising and Business Partnership Management Global Marketing Strategy

Supply Chain Sourcing Strategy in Modern Trade Business

Warehouse & Inventory Management

เนื้อหาวิชาเดน

Business Enterprise Management Freight Transportation & Distribution

Digital Enterprise Management

หลักสูตรนี้เหมาะกับ

เศรษฐศาสตรสมัยใหมสำหรับการตัดสินใจทางธุรกิจ การจัดการการตลาดแบบองครวม การจัดการการปฏิบัติการและโซคุณคา นวัตกรรมและความคิดสรางสรรคทางธุรกิจ ความเปนผูประกอบการ

ผูที่ตองการสรางธุรกิจเปนของตัวเอง ผูที่ตองการขยายธุรกิจอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผูที่ตองการทำงานหรือผูที่อยู ในธุรกิจการคาสมัยใหม ผูบริหารที่ตองการขยายองคความรูดานการบริหารธุรกิจ

Practice for REAL REAL Cases REAL Professionals REAL Business Application

สนใจศึกษาตอระดับปริญญาโท

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการคาสมัยใหม โทร : 02-832-0413, 02-832-0416, 02-832-0471, 02-837-1117 Email : mba@pim.ac.th Website : https://mba.pim.ac.th Facebook : https://www.facebook.com/mbapanyapiwat Address : สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน 85/1 หมู 2 ถ.แจงวัฒนะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 15


ดร.เลิศชัย สุธรรมนนท์

ผู้อำ�นวยการหลักสูตร MBA สาขาวิชาการบริหารคนและกลยุทธ์องค์การ (MBA in POS)

การบริหารการลงทุน ทรัพยากรมนุษย์ ในสถานการณ์ วิกฤติเศรษฐกิจ การแถลงตัวเลขทางเศรษฐกิจจากส�ำนักต่างๆ ที่บ่งบอกสถานการณ์ชะลอตัวหรือบางส�ำนักเรียกว่าก�ำลังเข้าสูว่ กิ ฤติ ปรากฏการณ์ ที่ว่านี้ เช่น การส่งออกติดลบมาเป็นเวลาหลายเดือนและไม่มี แนวโน้มทีด่ ขี นึ้ ตลาดหุน้ ตก ผลิตผลทางการเกษตรตกต�ำ่ ฉุดก�ำลัง ซือ้ ของประชาชนกลุม่ ใหญ่ของประเทศ เหตุการณ์ระเบิดกลางเมือง ท�ำให้นักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เป็นความหวังเดียวของเศรษฐกิจ ไทยปัจจุบันนี้หดหายไปด้วย ปรากฎการณ์มหภาคข้างต้นเป็นที่รับรู้ทั่วไป ในขณะที่ในระดับ จุลภาคในที่นี้หมายถึงในสถานประกอบการของแต่ละท่านเองก็มี ผลกระทบมากบ้างน้อยบ้าง แล้วแต่กลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจ บาง องค์กรยอดขายสินค้าและบริการต�ำ่ ลงอย่างต่อเนือ่ ง ต้องลดก�ำลัง การผลิต หรือแม้กระทัง่ ลดจ�ำนวนพนักงาน ในบางองค์กรถึงขัน้ ยุติ การด�ำเนินการหรือย้ายฐานการด�ำเนินธุรกิจ ในโลกาภิวัฒน์ที่แสนสลับซับซ้อน การด�ำเนินธุรกิจมีผลกระทบ เกี่ยวเนื่องกันไปทั่วโลก การจัดการในเชิงกลยุทธ์จึงเป็นส่วนที่ ส�ำคัญ แต่อย่างไรก็ตาม การจัดการเพื่อสร้างความสามารถในการ แข่งขันจากภายในก็เป็นเรื่องที่ส�ำคัญไม่แพ้กัน โดยเฉพาะประเด็น เกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์ที่เป็นทุนที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับองค์กร หรืออาจกลายเป็นภาระขององค์กรก็ได้หากจัดการผิดพลาด การ ลงทุนในทรัพยากรมนุษย์ทที่ ำ� ให้เกิดทุนมนุษย์ทมี่ คี ณ ุ ค่าจึงมีความ ส�ำคัญอย่างยิ่ง การบริหารค่าตอบแทนที่เป็นการลงทุนสร้างมูลค่าเพิ่มกับองค์การ องค์กรที่ใช้เทคโนโลยีสูง ใช้คนน้อย ต้นทุนด้านทรัพยากรมนุษย์ อาจมี สั ด ส่ ว นไม่ ม ากเมื่อเทียบกับ ค่าใช้จ่ายในการด�ำ เนิ น การ ทั้งหมด แต่ในบางองค์กร ต้นทุนทรัพยากรมนุษย์มากกว่า 40% ของค่าใช้จ่ายด�ำเนินการทั้งหมด และยังไม่มีแนวทางใช้เทคโนโลยี อื่นมาทดแทนได้ ค�ำถามใหญ่ที่ต้องตอบ คือ การบริหารการลงทุน เพิ่มในทรัพยากรมนุษย์อย่างไร จึงจะมีประสิทธิภาพสูงที่สุด 16

การลงทุนในทรัพยากรมนุษย์ที่ส�ำคัญอย่างหนึ่ง คือ การบริหาร ค่าตอบแทนที่ส่งผลดีต่อผลการด�ำเนินธุรกิจ โดยที่การบริหาร ค่าตอบแทนเป็นสิง่ ทีอ่ งค์กรต้องลงทุนเพิม่ มากขึน้ เรือ่ ยๆ ยังเป็น ผลมาจากข้อผูกพันตามสัญญาจ้าง หรือกฎหมาย หรือเหตุผล ทางการบริหารอื่นก็ตาม ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้ เส้นทาง กลยุทธ์ 3P คือ 1) การบริหารค่าตอบแทนตามค่าของงาน (Pay for Position) 2) การบริหารค่าตอบแทนตามผลงาน (Pay for Performance) 3) การบริหารผลตอบแทนตามศักยภาพ (Pay for Potential) กลยุทธ์ 3P ออกแบบมาเพื่อรองรับกลยุทธ์การบริหารทรัพยากร มนุษย์ที่มีหลากหลายวัตถุประสงค์ ซึ่งองค์กรสามารถเลือกใช้ได้ ตามสถานการณ์ ในขณะที่มีเงินอย่างจ�ำกัดและต้องรอเศรษฐกิจ ฟื้นตัว ซึ่งจะเกิดเมื่อไหร่ยังบอกได้ยาก


การบริหารค่าตอบแทนตามผลงาน (Pay for Performance Path)

นอกจากพิจารณาตาม P1 แล้ว ในข้อเท็จจริงของแต่ละบุคคล ในแต่ละปีมีผลงานที่แตกต่างกัน องค์กรต้องหันไปทบทวนระบบ การบริหารผลงานให้เข้มแข็ง เชือ่ มโยงกับเป้าหมายทางธุรกิจ และ สอดคล้องกันทัง้ องค์กร มีการทบทวนการปฏิบตั งิ าน มี Feedback และยกระดับผลงานให้สงู ขึน้ เรือ่ ยๆ ผลงานทีแ่ ตกต่างกันควรน�ำไป บริหารค่าตอบแทน P2 คือ จ้างตามผลงาน เช่น เป็น Performance Bonus หรือ Performance Incentive เป็นหลัก ส่วนจะน�ำมาประกอบการขึ้นเงินเดือน (Merit Increase) ด้วยก็ ต้องใช้ความระมัดระวัง และใช้ประกอบกับ P1 เพราะเป็นระบบ ที่จ่ายแล้วในทางกฎหมายไทยไม่สามารถน�ำคืนมาได้

การบริหารผลตอบแทนตามศักยภาพ (Pay for Potential Path)

การบริหารทรัพยากรมนุษย์เป็นการลงทุนในระยะยาว บางกรณี จึงต้องจ่ายเพือ่ สร้างคนเก่ง หรือสร้างผูบ้ ริหารในอนาคตขององค์กร ทั้งนี้ในวันนี้ผลงานของเขาเหล่านั้นอาจยังไม่ชัดเจน ในรูปของ Retention Bonus จ่ายแบบมีเงือ่ นไขผูกพันระยะยาว หรือ Stock Option ส�ำหรับผูบ้ ริหารทีอ่ ยูใ่ นตลาดหลักทรัพย์ ทัง้ นีต้ อ้ งพิจารณา P1 และ P2 ประกอบด้วย ในระดับทีท่ ำ� ให้มคี วามเสมอภาคภายใน คือ ต�ำแหน่งระดับเดียวกันค่างานใกล้เคียงกันควรได้รับ P1 ที่ใกล้ เคียงกัน และหากพิจารณาแล้วผลงานอยูใ่ นระดับใดก็ควรจ่าย P2 ในระดับเดียวกันนั้นด้วย

การบริหารค่าตอบแทนตามค่าของงาน (Pay for Position Path)

การบริหารค่าตอบแทนอย่างบูรณาการ น�ำพาองค์กรผ่านวิกฤติ

ที่น�ำเสนอข้างต้นจะเห็นว่ากลยุทธ์การบริหารค่าตอบแทน 3 แบบ มีวัตถุประสงค์ที่ต่างกัน การที่องค์กรมีทรัพยากรที่จ�ำกัด จึงต้อง เลื อ กจ่ า ยโดยใช้ วิ ธี ก ารหรื อ อาจเรี ย กได้ ว ่ า เป็ น การลงทุ น ใน ทรัพยากรมนุษย์ให้ตรงเป้าหมายขององค์กร จึงต้องมีเครือ่ งมือวัด ที่บอกได้ว่าบุคลากรแต่ละคนเป็นคนประเภทไหน หรือหลายๆ ประเภทร่วมกัน คือ

ถึงเวลาที่องค์กรต้องทบทวนกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจที่มีการ เปลี่ยนแปลงว่า มีผลต่อโครงสร้างองค์การและค่าของงานในบาง ต�ำแหน่งหรือไม่ ควรมีการทบทวนค่าของงานใหม่ ซึ่งเรียกว่า การประเมินค่าของงาน (Evaluation) ซึง่ ไม่ใช่ประเมินผลงานของ ผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งนัน้ แต่เป็นการตรวจสอบว่าต�ำแหน่งนัน้ ยังมีคณ ุ ค่า • High or Low Job Value (Position) ต่อการด�ำเนินธุรกิจเหมือนเดิมหรือไม่ เช่น ต�ำแหน่งงานนี้มีการ เมื่อเทียบกันภายในและราคาในตลาด Outsourcing ไปบางส่วนแล้ว เมื่อท�ำการประเมินค่าของงานใหม่ • High or Low Performance พบว่ามีคา่ น้อยลง เมือ่ น�ำค่างานไปเปรียบเทียบกับค่างานลักษณะ เมื่อเทียบกับเป้าหมายที่สอดคล้องกับเป้าหมายทางธุรกิจ เดียวกันขององค์กรอืน่ ในการส�ำรวจค่าจ้าง ท�ำให้รคู้ า่ ตอบแทนของ งานในตลาดลดลง จึงต้องปรับโครงสร้างค่าจ้างและจัดตัวบุคคล • High or Low Potential ตามความเหมาะสม บางต�ำแหน่งงานอาจต้องลดอัตราการขึ้น เพื่อการสะสมทุนมนุษย์เพื่ออนาคต เงินเดือนในปีนี้ลง และอาจต้องท�ำอีกหลายๆ ปี ตามค่าของงาน ด้ ว ยกลยุ ท ธ์ ที่ น� ำ เสนอมานี้ เชื่ อ มั่ น ว่ า จะท� ำ ให้ ก ารลงทุ น ใน และราคาในตลาดอย่างมีศิลปะ เพราะเป็นการจัดการเกี่ยวกับคน ทรัพยากรมนุษย์มผี ลตอบแทนทัง้ ในปัจจุบนั และในอนาคตเพิม่ ขึน้ ที่มีความละเอียดอ่อนสูง ได้อย่างเป็นระบบ และน�ำองค์กรฝ่าวิกฤติได้

17


iMBA@PIM by RosyPink

ลยุทธ์การบริหาร สวัสดีค่ะท่านผู้อ่านทุกท่าน พบกันเช่นเคยกับคอลัมน์ iMBA@ PIM ซึ่งในฉบับนี้ คุณกมลวรรณ รัตนบรรเจิดกุล Corporate Planning Assistant General Manager ของ Nissan Motor Asia Pacific Co., Ltd. จะมาพูดคุยกับเราถึงกลยุทธ์ การบริหารงานโดยรวมของนิสสันในประเทศไทย คุณกมลวรรณ รัตนบรรเจิดกุล

Corporate Planning Assistant General Manager Nissan Motor Asia Pacific Co., Ltd.

18

2. นโยบายภาครัฐ ว่าเอื้ออ�ำนวยต่อการลงทุนหรือไม่ มีสิทธิ ประโยชน์ด้านภาษีอย่างไร 3. คู่แข่ง ซึ่งมีทั้งข้อดีและข้อเสีย ในมุมของข้อดีคือ ในตลาด ที่มีคู่แข่งมาก มักมีลูกค้ามากเช่นเดียวกัน ข้อเสียคือ หากสินค้าเรา เสียเปรียบคู่แข่ง ทั้งด้านราคา สมรรถนะ ย่อมเสียเปรียบ

หากจะมองย้อนหลังตลาดรถยนต์ในเมืองไทยไปในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา ค่ายรถยนต์ในเมืองไทยมีการแข่งขันกันอย่างเข้มข้น เพราะเหตุใดจึงต้องมองที่ปัจจัยทั้งสามตัว? ทั้งลด แลก แจก แถม ส่งผลให้รถยนต์ในเมืองไทยมีปริมาณ คุณกมลวรรณ : เนื่องจากในอุตสาหกรรมรถยนต์นั้น ถูกก�ำหนด เพิ่มขึ้นอย่างมากเมื่อเทียบกับอดีตที่ผ่านมา ทิศทางทางการตลาดโดยนโยบายภาครัฐ มีกฎหมายที่ควบคุม นิสสัน เป็นหนึ่งในค่ายรถยักษ์ใหญ่ในประเทศไทย ซึ่งมีส่วนแบ่ง การผลิตตั้งแต่ต้นน�้ำจนถึงปลายน�้ำ ยกตัวอย่างเช่น กรมศุลกากร ทางการตลาดที่สูงมากในประเทศไทย ดังนั้น เมื่อเศรษฐกิจใน ควบคุมการน�ำเข้าชิน้ ส่วนทีน่ ำ� เข้ามาประกอบรถยนต์ เพือ่ ให้ทราบ ประเทศไทยไม่ได้อยูใ่ นสภาวะทีเ่ ข้มแข็งนัก บวกกับผลกระทบจาก ว่าชิ้นส่วนการผลิตนั้นมาจากแหล่งใด และประเทศคู่ค่านั้นมี โครงการรถคันแรก จึงส่งผลโดยตรงกับหลายๆ บริษัทรวมทั้ง ข้อตกลงทางการค้าเสรีอย่างไร กระทรวงอุตสาหกรรมด�ำเนินการ นิ ส สั น อยู ่ ไ ม่ น ้ อ ย แต่ เ นื่ อ งจากนิ ส สั น เองนั้ น ค่ อ นข้ า งมี ค วาม ควบคุมมาตรฐานการผลิต กระทรวงพาณิชย์ด�ำเนินการควบคุม แข็งแกร่งทางด้านผลิตภัณฑ์ และความแข็งแรงในการบริหาร ด้านราคา องค์กร ท�ำให้นิสสันสามารถยืนหยัดอยู่ท่ามกลางกระแสธุรกิจ นโยบายภาครั ฐ นั้ น มี ส ่ ว นส� ำ คั ญ อย่ า งมากในการพั ฒ นา ที่ผันผวนอย่างต่อเนื่อง อุตสาหกรรมยานยนต์ ซึ่งรัฐบาลไทยท�ำการส่งเสริมมาอย่าง นิสสันมีกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจอย่างไร เมื่อประสบ ต่อเนื่อง ท�ำให้อุตสาหกรรมยานยนต์ของประเทศไทยเป็นผู้น�ำใน กับสภาวะเศรษฐกิจถดถอย บริษัทฯ มีนโยบายในการ อาเซียนอยู่ในขณะนี้ เริ่มจากครั้งที่ประเทศไทยต้องการน�ำเข้า รับมืออย่างไร? ชิ้นส่วนเพื่อเข้ามาประกอบเป็นรถยนต์ หลังจากรัฐบาลได้ให้การ คุณกมลวรรณ : เริ่มต้นเลยนั้น ผู้ลงทุนจ�ำเป็นต้องเข้าใจพื้นฐาน สนับสนุนอย่างต่อเนือ่ ง ท�ำให้บริษทั รถยนต์ญปี่ นุ่ สนใจเข้ามาลงทุน ตลาดรถยนต์ ซึง่ ในการตัดสินใจลงทุนนัน้ ผูล้ งทุนจะพิจารณาปัจจัย ทั้งผลิตชิ้นส่วนและรถยนต์ เกิดการจ้างงาน ถ่ายโอนเทคโนโลยี ส�ำคัญ 3 ประการ ได้แก่ อุตสาหกรรมชิน้ ส่วนยานยนต์จงึ เติบโตไปพร้อมๆ กับอุตสาหกรรม 1. สภาพเศรษฐกิจของแต่ละประเทศ เช่น รายได้ต่อหัวของ รถยนต์ จนถึงปัจจุบนั มีการลดการน�ำเข้าลงเหลือเพียงบางชิน้ ส่วน ประชากร อัตราเงินเฟ้อ รวมถึงอุปนิสัยการบริโภคของประชากร เท่านัน้ รวมทัง้ ภาครัฐยังมีการสนับสนุนด้านการพัฒนาฝีมอื แรงงาน ฯลฯ


1. ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี ค วามสามารถในการแข่ ง ขั น และเพิ่ ม ส่วนแบ่งทางการตลาดและก่อให้เกิดผลก�ำไร 2. การสร้างแบรนด์ให้แข็งแกร่ง 3. เครือข่ายผู้จ�ำหน่ายหรือดีลเลอร์ที่มีคุณภาพ ทั้งด้าน การขายและการให้บริการหลังการขาย 4. ต้นทุนที่สามารถแข่งขันได้ โดยภาพรวม บริษทั รถยนต์ตา่ งก็มงุ่ ทีจ่ ะเพิม่ ส่วนแบ่งทางการตลาด ซึ่งจ�ำเป็นจะต้องมีผลิตภัณฑ์ที่ดี มีคุณภาพ เพื่อเพิ่มยอดขาย การ ทีม่ เี ครือข่ายผูจ้ ำ� หน่ายทีแ่ ข็งแรงและการมีตน้ ทุนทีส่ ามารถแข่งขัน ได้ จะช่วยเพิ่มผลก�ำไรให้กับบริษัท

กลยุทธ์ใดที่มีความจ�ำเป็นจะต้องเปลี่ยน และควรน�ำ กลยุทธ์ใหม่ใดมาปรับใช้?

ท�ำให้เกิดแรงงานที่มีการพัฒนา น�ำไปสู่แรงงานฝีมือ จากนั้นไทย เราจึงเริ่มการผลิตเพื่อการส่งออก ซึ่งปัจจุบัน ไทยเป็นศูนย์กลาง การผลิตรถกระบะและรถอีโคคาร์ ส่งออกไปยังอาเซียนและทัว่ โลก

คุณกมลวรรณ: เมื่อบริษัทรถยนต์เผชิญกับสภาพตลาดขาลงหรือ การแข่งขันที่สูงขึ้นโดยทั่วไป มักเพิ่มส่วนลดให้กับลูกค้าหรือเพิ่ม ช่องทางการสือ่ สารกับลูกค้า เพือ่ ให้ลกู ค้าได้รบั รูเ้ กีย่ วกับผลิตภัณฑ์ และสุดท้ายคือการลดต้นทุนด้านการผลิตเนื่องจากบริษัทรถยนต์ ไม่สามารถจะมุง่ เพิม่ ยอดขายโดยให้สว่ นลดได้ตลอดไป เพราะเป็น สิง่ ทีไ่ ม่ยงั่ ยืนและเป็นการท�ำลายแบรนด์ จึงต้องมองกลับมาข้างใน บริษัทเองเพื่อท�ำในสิ่งที่ยั่งยืนกว่า เช่น การปรับปรุงกระบวน การผลิต ปรับปรุงคุณภาพสินค้าและการบริการหลังการขาย ซึ่ง เป็นการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการภายใน จึงจะสามารถ ท�ำให้เกิดผลก�ำไรและความยั่งยืนเนื่องจากลูกค้าเกิดความเชื่อมั่น ในคุณภาพของสินค้าและบริการ จึงกลับมาใช้บริการ และเปลี่ยน รถคันใหม่เมื่อถึงเวลา ดังนั้น แบรนด์ที่แข็งแรง สินค้ามีความดึงดูด น่าสนใจ และเครือข่ายผูจ้ ำ� หน่ายทีม่ คี ณ ุ ภาพจะน�ำไปสูผ่ ลตอบแทน ที่ยั่งยืน

นอกจากนี้ นโยบายภาครัฐที่ควบคุมมาตรฐานด้านความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมมีความส�ำคัญ เนื่องจากรถยนต์เป็นสินค้าที่ผลิต ของเสีย โดยเฉพาะก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จึงท�ำให้รัฐบาลมี มาตรการในการก�ำหนดการปล่อยของเสีย โดยเริ่มจากปีหน้า เป็นต้นไป จะเริ่มใช้โครงสร้างภาษีสรรพสามิตใหม่ที่จัดเก็บโดยคิด จากอัตราการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึง่ เปลีย่ นจากรูปแบบ เก่าที่ก�ำหนดโดยวัดจากขนาดของเครื่องยนต์ เป็นการวัดจากการ ปล่อยของเสียแทน ดังนั้นต่อจากนี้ไปภาษีสรรพสามิตจะเป็นตัว สุดท้ายนี้ในฐานะที่ท่านเคยมาเป็นวิทยากรให้กับ iMBA ก�ำหนดเทคโนโลยีของเครื่องยนต์ หากใครผลิตเครื่องยนต์แล้ว ท่านประทับใจหลักสูตรเราอย่างไร? ปล่อยของเสียน้อยก็จะได้สิทธิประโยชน์ด้านภาษีมาก คุณกมลวรรณ: สิ่งที่ PIM มีนั้นแตกต่างกว่าที่อื่น คือการเรียนแบบ สุดท้ายแล้ว การแข่งขันหรือคูแ่ ข่งนัน้ ต้องบอกว่า เทรนด์ของตลาด Work-based Education ซึ่งมีประสิทธิภาพมากกว่าการเรียนแต่ ของประเทศไทยเริม่ เปลีย่ นจากเดิมทีใ่ ช้รถกระบะเป็นรถนัง่ มาเป็น ในห้องเรียนเหมือนสถาบันอื่น ซึ่งหลักสูตร iMBA นั้นมีแหล่ง รถยนต์นั่ง ตั้งแต่รัฐมีการส่งเสริมการผลิตรถยนต์อีโคคาร์ จึงท�ำให้ ทรัพยากรอยู่มากมาย เช่น มีอาจารย์ที่หลากหลายทั้งภาคธุรกิจ ความต้องการของตลาดรถยนต์เพิ่มขึ้น ท�ำให้สัดส่วนระหว่าง และภาคการศึกษา มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกเพื่อรองรับความ ต้องการในการใช้งานของนักศึกษาและช่วยในการท�ำแผนธุรกิจ รถกระบะและรถเก๋งมีขนาดเกือบเท่ากันในปัจจุบัน ให้เกิดขึ้นได้จริง

เมือ่ ธุรกิจก�ำลังเข้าสูภ่ าวะเสีย่ ง นิสสันเตรียมพร้อมอย่างไร บ้าง? คุณกมลวรรณ : การลดความเสี่ยงต้องเริ่มจากการวางแผนที่ดี เรามีการท�ำแผนธุรกิจระยะสั้นและระยะยาว ซึ่งอุตสาหกรรม รถยนต์โดยทั่วไป ให้ความส�ำคัญกับเสาหลักส�ำคัญสี่ประการ คือ

Create Professionals by Professional s

iMBA@PIM http://interprogram.pim.ac.th E-mail: iMBA@pim.ac.th Tel. 02 832 0944-5, 02 837 1209

19


by PintaMamy & PennyPen Alumni's Corner ฉบับนี้ ขออัพเดทเรื่องราวต่างๆ ของ ศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน ไฮไลท์ประกอบด้วย กลเม็ดเคล็ดลับใน การท�ำธุรกิจของคุณโอ๋ - สิทธินี ทองใบ ศิษย์เก่า MBA รุ่น 6 ที่ประสบความส�ำเร็จในการท�ำธุรกิจ พร้อมโชว์กิจกรรมสัมมนา ในหัวข้อ “รวยด้วยหัวคิด” ทีน่ กั ศึกษาทัง้ สองสาขาได้ผนึกก�ำลัง โชว์ความสามารถจัดขึน้ และอัพเดทข่าวคราวศิษย์เก่าในเรือ่ งต่างๆ ให้ได้ร่วมแสดงความยินดีกัน รวมถึงแนะน�ำอาจารย์ ใหม่ของ MBA ให้ทุกท่านได้รู้จักกันด้วยในคอลัมน์นี้

ศิษย์เก่าเล่าเรื่อง แรงบันดาลใจในการเริ่มทำ�ธุรกิจของคุณคืออะไร ? คุณโอ๋ : ย้อนหลังไปราว 27 ปีก่อน คุณแม่เริ่มก่อตั้งธุรกิจด้วยตัว ของท่านเอง โดยเริม่ ผลิตและจ�ำหน่ายกระถางส�ำหรับปลูกบอนไซ (ไม้ดดั สไตล์ญปี่ นุ่ ) ทีย่ า่ นจตุจกั ร ใช้ชอื่ ร้านว่า “ร้านผดุงฉัตร” แล้ว ติดต่อรับสินค้าจากโรงงานทัว่ ประเทศ จนกระทัง่ เลิกผลิตสินค้าไป สู่ธุรกิจซื้อมาขายไปอย่างเดียว

คุณโอ๋อยากแนะนำ�อะไรกับรุ่นน้อง PANYAPIWAT MBA ไหม ?

การมาเรียน MBA เหมือนเราก�ำลังได้อ่านหนังสือเล่มใหญ่หลาก หลายเล่ม หลายเรื่องราว โดยมีท่านอาจารย์เป็นผู้ช่วยแนะน�ำ หนังสือดีๆให้เรา บางครั้งท่านก็เล่าให้เราฟังอย่างออกรส จงเรียน ให้สนุก และไม่ว่าจะเป็นพนักงานเงินเดือนหรือเจ้าของกิจการ ไฮไลท์อยู่ที่ พ.ศ. 2552 เมื่อลูกๆ เริ่มสร้างเว็บไซต์ของร้าน โดยใช้ แค่ท�ำสิ่งที่เราเป็นอยู่ให้สนุก แต่เอาให้สุด ความส�ำเร็จก็ไม่ไกล ชื่อ www.i-pot.net จนเริ่มมีออเดอร์ทางเว็บไซต์เพิ่มมากขึ้น จึง เกินเอื้อมแน่นอน เริ่มลุยท�ำการตลาดออนไลน์โดยใช้ Google Adword เป็นร้าน กระถางร้านแรกของประเทศไทย และจับเทรนด์ความต้องการของ ลูกค้าว่า กระถางต้นไม้ประเภทคอนกรีตได้รบั ความนิยมและมียอด สั่งซื้อมากที่สุด จึงหันกลับมาเริ่มผลิตสินค้าเองและพัฒนารูปแบบ สินค้าให้มีความโดดเด่น ต่อมาลูกๆ จึงลาออกจากงานประจ�ำมา ต่อยอดธุรกิจของคุณแม่อย่างเต็มที่ โดยใช้ความรูด้ า้ นการออกแบบ ของน้องชาย ความรู้ทางวิศวกรรมของพี่ชาย และความรู้ด้าน การตลาดและการวางกลยุทธ์ธุรกิจของดิฉัน ผลักดัน I-POT ให้ เป็นที่รู้จักในนามของผู้ผลิตกระถางคอนกรีตคุณภาพสูงสไตล์ โมเดิร์น และเป็นร้านค้าที่มีสินค้าให้เลือกหลากหลายที่สุด ศิษย์เก่า MBA รุ่น 6

คุณโอ๋

กลยุทธ์ที่ทำ�ให้ธุรกิจของคุณโอ๋ประสบความสำ�เร็จ คืออะไร ? อ ย่าคิดว่าตัวเองเก่งแล้วไม่อยากฟังคนอืน่ พยายามศึกษาไปเรือ่ ยๆ ใครท�ำอะไรใหม่ๆ ก็พยายามเข้าไปเรียนรู้ อย่าหยุดพัฒนาตัวเอง และสินค้า ความส�ำเร็จไม่ได้มาง่ายๆ อาจต้องเผชิญกับความ ล้มเหลวครัง้ แล้วครัง้ เล่า แต่อย่าสูญเสียความเชือ่ มัน่ ทีจ่ ะก้าวต่อไป 20


แนะนำ�อาจารย่ ในฐานะอาจารย์น้องใหม่ของ “MBA สาขาการบริหารคนและกลยุทธ์องค์การ” อาจารย์รู้สึกประทับใจหลักสูตรนี้อย่างไรบ้าง ? อาจารย์ ดร.ธนาสิทธิ์ เพิ่มเพียร : สิ่งที่ได้จากการท�ำงานที่นี่คือประสบการณ์อันล�้ำค่า ท�ำให้ได้พัฒนา ตนเองอย่างต่อเนื่อง ซึ่งต้องบอกเลยว่าดีใจแทนนักศึกษา MBA หลักสูตรปริญญาโทด้านการบริหารคน (People Management) ทีไ่ ด้เข้าใจถึงกลยุทธ์และเครือ่ งมือทีส่ ามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในการบริหารคน และองค์การได้เป็นอย่างดี รวมทัง้ ได้รบั รูแ้ ละเข้าใจแนวโน้ม (Trends) ใหม่ๆ ในการบริหารคนและองค์การ ที่เปลี่ยนแปลงไปตามโลกของธุรกิจอีกด้วย

นิยามของ “Supply Chain” ในมุมมองของอาจารย์ ดร.บุญเลิศ คืออะไร ? อาจารย์ ดร.บุญเลิศ วงศ์เจริญแสงสิริ : หากเปรียบองค์กรธุรกิจหรือสังคมใดๆ เป็นร่างกายมนุษย์ Supply Chain เปรียบเสมือนระบบล�ำเลียงอาหารและเส้นเลือดหล่อเลี้ยงที่น�ำพาอาหารและสิ่งจ�ำเป็น ต่างๆ ต่อร่างกาย ไปหล่อเลี้ยงส่วนต่างๆ ให้แข็งแรง ดังนั้น องค์กรหรือสังคมใดที่สามารถจัดการ Supply Chain ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็จะเป็นองค์กรที่แข็งแกร่ง พร้อมจะเติบโตอย่างยั่งยืน

อาจารย์รู้สึกประทับใจต่อ “ครอบครัว MBA” แห่งนี้อย่างไร? อาจารย์ ดร.พีรภาว์ ทวีสุข : อาจารย์ภูมิใจที่ได้เห็นพัฒนาการของนักศึกษาแบบก้าวกระโดดอย่าง มืออาชีพ ทั้งการเสนอแผนธุรกิจและการเข้าสู่เวทีการประกวดแผนธุรกิจ อาจารย์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ ครอบครัว MBA แห่งนี้ พร้อมจะผลักดัน สนับสนุน และเป็นก�ำลังใจให้กับนักศึกษาได้เติบโตอย่างยั่งยืน ทั้งทางด้านธุรกิจและจิตใจที่ดีงาม เพื่อสร้างประโยชน์แก่สังคมต่อไปในอนาคต

มีความประทับใจอะไรในรั้ว PIM มากที่สุด ? อาจารย์ ดร.บรินดา สัณหฉวี : ก่อนเข้ามาท�ำงานที่ PIM อาจารย์ท�ำงานในภาคธุรกิจมาตลอด PIM เป็น ที่ท�ำงานแห่งแรกที่ผันตัวเองมาเป็นอาจารย์ ทุกคนให้การต้อนรับอย่างอบอุ่นและให้ค�ำแนะน�ำในการ ท�ำงานที่เป็นประโยชน์ สิ่งที่อาจารย์รู้สึกประทับใจที่สุดใน PIM คือ ความน่ารักของนักศึกษา นักศึกษา ที่นี่มีสัมมาคารวะมาก และพร้อมที่จะรับฟังค�ำแนะน�ำต่างๆ จากอาจารย์เป็นอย่างดีค่ะ

ความประทับใจของอาจารย์ในฐานะ “ผู้พัฒนาหลักสูตร” MBA สาขาวิชาการจัดการ ธุรกิจการค้าสมัยใหม่ ? อาจารย์ ดร.ปาลิดา ศรีศรก�ำพล : อาจารย์รู้สึกยินดีอย่างยิ่งค่ะที่ได้มีโอกาสเข้ามาพัฒนาและปรับปรุง หลักสูตร MBA ให้กับ PIM ของเรา จากเดิมที่เราเน้นความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านการจัดการธุรกิจค้าปลีก แต่ในหลักสูตรใหม่ เราเพิ่มองค์ความรู้ของธุรกิจการค้าสมัยใหม่ ที่เข้าใจธุรกิจอย่างลึกซึ้งตั้งแต่ต้นน�้ำถึง ปลายน�้ำ ซึ่งต้องบอกเลยว่า เป็นสาขาที่จะท�ำให้นักศึกษามีความเป็นผู้น�ำ มีความเชี่ยวชาญการบริหาร จัดการและสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมได้ สิ่งที่ท�ำให้อาจารย์ประทับใจมากเลยก็คือ การได้รับความ ช่วยเหลือและร่วมมือเป็นอย่างดีจากนักศึกษา ทั้งศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกๆ ท่านค่ะ จึงท�ำให้หลักสูตรปรับปรุงของเราส�ำเร็จลุล่วงและพร้อมส�ำหรับการเรียนการสอนในปี 2559 นี้ค่ะ 21


สัมมนาพิเศษในหัวข้อ “รวยด้วยหัวคิด และธุรกิจของคนรุ่นใหม่” มาต่อด้วยกิจกรรมของศิษย์ปัจจุบันกันบ้าง เราว่าศิษย์เก่าเราเจ๋ง แล้ว แต่ศษิ ย์ปจั จุบนั ของเราก็ไม่นอ้ ยหน้า ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งกิจกรรม หรือวิชาการ เราไม่ธรรมดาเลยจริงๆ ล่าสุด MBA สาขาวิชา บริหารธุรกิจ วิชาเอกการจัดการธุรกิจค้าปลีก และวิชาเอกการ จัดการโลจิสติกส์ ร่วมกันโชว์ฝีมือจัดงานสัมมนาพิเศษในหัวข้อ “รวยด้วยหัวคิด และธุรกิจของคนรุ่นใหม่” ซึ่งเป็นหนึ่งในวิชา สัมมนาของนักศึกษาหลักสูตร MBA เพื่อช่วยเพิ่มพูนความรู้ความ สามารถให้แก่นักศึกษาในด้านการท�ำกิจกรรมร่วมกัน และการจัด งานสัมมนาอย่างมืออาชีพ อีกทัง้ ยังเป็นการแบ่งปันองค์ความรูด้ า้ น ธุรกิจ ซึง่ เป็นการให้บริการวิชาการและส่งเสริมความรูใ้ ห้แก่บคุ คล ที่สนใจ โดยงานสัมมนาครั้งนี้ได้รับเกียรติจากคุณศุภชัย ปาจริยานนท์ (คุณหมอคิด) นักธุรกิจไอที เจ้าของฉายาอัจฉริยะร้อยล้าน ด้วยวัยทีไ่ ม่ถงึ 30 ปี และคุณรักพงษ์ วงศ์เวไนย (คุณแชมป์) เจ้าของ เพจชื่อดัง ธรรมทาน และนักธุรกิจท่องเที่ยวทั่วโลกชื่อดังจาก เว็บไซต์โลกโสภา (www.loksopha.com) ทีม่ าร่วมแบ่งปันความรู้ และประสบการณ์ในการท�ำงาน อีกทั้งยังเผยเคล็ดลับความส�ำเร็จ จากคนที่วิ่งตามความฝัน สู่ความรวยแบบไม่คาดฝัน ด้วย “ไอเดีย และความแตกต่าง” งานสัมมนานี้ได้รับการตอบรับดีมาก และถือ เป็นความท้าทายของนักศึกษาทั้งสองสาขาที่ต้องยอมรับในความ สามารถจริงๆ

ศึกษาดูงาน ล่าสุดทาง PIM ได้พานักศึกษาไปศึกษาดูงานไกลถึงอยุธยา เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้การสร้างธุรกิจจากสถานที่ปฏิบัติงานจริง และเรียนรู้เคล็ดลับวิธีการแก้ปัญหาจริงในองค์กรธุรกิจ เริ่มที่บริษัท โตโยไซกัน (ประเทศไทย) จ�ำกัด เจ้าของนวัตกรรมระดับโลกใน การผลิตและบรรจุขวดเครือ่ งดืม่ ต่างๆ อาทิ อิชติ นั โออิชิ ยูนฟิ มาลี ทิปโก้ เถ้าแก่นอ้ ย ฟูจิ และยีห่ อ้ อืน่ ๆ อีกมากมาย ทางบริษทั ได้ทำ� การ ต้อนรับนักศึกษาเป็นอย่างดี อีกทั้งยังได้ให้ความรู้ในการผลิตขวดพลาสติกแต่ละยี่ห้อ บรรจุภัณฑ์ต่างๆ รวมถึงพานักศึกษาเยี่ยมชม 22


กระบวนการผลิตอีกด้วย ต่อด้วยสถานทีด่ งู านช่วงบ่ายทีบ่ ริษทั ข้าว ซี.พี. จ�ำกัด (โรงงานข้าวนครหลวง) ภายใต้แบรนด์ขา้ วตราฉัตร โรงงาน ผลิตข้าวขนาดใหญ่และทันสมัยทีส่ ดุ ในประเทศไทย โดยทางบริษทั ข้าวตราฉัตรได้ให้การต้อนรับ และพาเยีย่ มชมกระบวนการผลิต ตัง้ แต่ การพัฒนาสายพันธุแ์ ละคัดเลือกข้าวทีด่ ที สี่ ดุ ต่อด้วยวิธกี ารขัดสีขา้ วเปลือกทีห่ ลากหลาย จนถึงการคัดสรรบรรจุภณ ั ฑ์แต่ละแบบทีต่ อ้ งใช้ ความแข็งแรง คงทน และไม่เสีย่ งต่อการรัว่ ในการขนส่งข้าว การศึกษาดูงานในครัง้ นีไ้ ด้รบั เสียงตอบรับทีด่ มี ากจากนักศึกษาเลยทีเดียว

GOOD NEWS พักเรื่องเรียนมาแจ้งข่าวดีให้ชาว MBA ได้เฮกัน กับตัวจิ๋วน้อย สมาชิกใหม่ของครอบครัวคีรีวัชรินทร์ “น้องไอด้า” ลูกสาวคนที่ สองของคุณเจี๊ยบ - ภัทรกมล คีรีวัชรินทร์ นักศึกษา MBA รุ่นที่ 6 และตัวจิว๋ น้อยสมาชิกใหม่ของครอบครัวกัลยาหัตถ์ “น้องหมูนอ้ ย” ลูกชายของคุณป๋อม - ศิระ กัลยาหัตถ์ นักศึกษา MBA รุ่นที่ 6 เช่น เดียวกัน

น้อง ้า ไอด

นอกจากนี้ยังมีข่าวดีของพี่วิทย์ - สุวิทย์ ราชเดิม นักศึกษา MBA รุน่ 7 ทีไ่ ด้เลือ่ นต�ำแหน่งเป็น Production Vice President บริษทั จี.เค.แอสเซ็มบลี้ จ�ำกัด ในเครือบริษัท กันกุล เอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด (มหาชน) พวกเราชาว MBA ขอแสดงความยินดีให้กับทั้งสอง ครอบครัวและพี่วิทย์มา ณ ที่นี้ด้วยนะคะ

น้อง ย หมูน้อ

พี่วิทย์

ท่านสามารถส่งข่าวสารของสมาชิกในรุ่นของท่านเพื่อร่วม แสดงความยินดีลงในคอลัมน์ Alumni’s Corner นีไ้ ด้ทางอีเมล mba@pim.ac.th

ติดตามความสนุกครั้งต่อไปได้ทาง ค้นหาค�ำว่า “Panyapiwat MBA Fanpage” 23



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.