MBA Connected Vol.24

Page 1

Oct-Dec 2017

รุกตลาดรอบด้าน กับ 3 ทัพหน้า แห่ง โดย คุณวงศ์วิวัฒน์ ทีฆคีรีกุล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานบริหารและพัฒนาธุรกิจ

คุณชลธิดา ทีฆคีรีกุล

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานการตลาด

คุณพงศ์วิวัฒน์ ทีฆคีรีกุล

ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายการตลาดและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์

What’s Next ? 10 Social-Media Trends to Prepare for in 2018



MBA Highlight หลักสูตรปริญญาโท MBA สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ตอกย�้ำความแตกต่างอย่างมืออาชีพด้วยการเรียนรู้ กรณีศึกษาจากผู้เชี่ยวชาญจริง (REAL Cases) เรียนรู้กับมืออาชีพตัวจริง (REAL Professionals) และสามารถ ประยุกต์และใช้ในธุรกิจได้จริง (REAL Business Application)

Oct–Dec 2017

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ คุณก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์ รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อาจารย์พรวิทย์ พัชรินทร์ตนะกุล คุณสยาม โชคสว่างวงศ์ ผศ.ดร.ศรีไพร ศักดิ์รุ่งพงศากุล คุณปาริชาต บัวขาว คอลัมนิสต์กิตติมศักดิ์ ผศ.ดร.เลิศชัย สุธรรมานนท์ บรรณาธิการ ผศ.ดร.ภญ.ธัญญา สุพรประดิษฐ์ชัย หัวหน้ากองบรรณาธิการ ธมลวรรณ อัศเวศน์ กองบรรณาธิการ ภัทรกมล คีรีวัชรินทร์ เพชรไพลิน สาวะดี ภูริมาศ สว่างเมฆ เพ็ญนภา กมลาสน์มรกต สิริพร เหมัษฐิติ ศิลปกรรม เอกภพ สุขทอง นรินทร์ ศรีอุทัย อนุชิต ทะนงค์ ชัชรินทร์ จุลวรรณ

เรียนรูก้ ารวิเคราะห์ตลาดและแนวคิดการต่อยอดธุรกิจ ผ่านกูรดู า้ นการบริหารผ่านงานสัมมนา หัวข้อ “ความ ท้าทายในยุค 4.0 - พลิกวิกฤติให้ธุรกิจเป็นต่อ” โดย ได้รับเกียรติจากคุณมุกดา ไพรัชเวทย์ Managing Director, AMA Management & Consulting Co., Ltd. (อดีตผู้บริหารจาก บจก. เป๊ปซี่-โคล่า (ไทย) เทรดดิ้ง) คุณบุญเลิศ สุขเสรีทรัพย์ อดีตผู้บริหารจาก บริษัท เซเรบอส (ประเทศไทย) จ�ำกัด คุณนันทนา Director, AMA Management & Consulting Co., Ltd. (อดีตผู้บริหารจาก บจก. เป๊ปซี่-โคล่า (ไทย) เทรดดิ้ง) และด�ำเนินการเสวนาโดย อ.จิรารัตน์ จันทวัชรากร รองผูอ้ ำ� นวยส�ำนักบริการวิชาการ สถาบัน การจัดการปัญญาภิวัฒน์

อีกหนึ่งกิจกรรมส�ำคัญส�ำหรับว่าที่นักศึกษาในอนาคต “MBA Open House” เพือ่ เปิดบ้านแนะน�ำหลักสูตร MBA ทั้ง 2 สาขาวิชา เพื่อให้ผู้ที่สนใจศึกษาต่อได้รู้จัก หลักสูตร MBA และสามารถสอบถามข้อมูลได้อย่างเต็มที่ ทัง้ รายละเอียดหลักสูตร จุดเด่นและความแตกต่าง และ ทุนการศึกษา และยังเปิดโอกาสให้กับผู้ที่สนใจเรียน สามารถสอบชิงทุนการศึกษาได้ในวันเดียวกัน มีผไู้ ด้รบั ทุนการศึกษามูลค่า 80,000 บาท มากถึง 10 ทุนด้วยกัน คุณจะได้รจู้ กั หลักสูตรทีอ่ ดั แน่นความเข้มข้นด้านวิชาการ และองค์ความรู้ภาคปฏิบัติจริง ด้วยการดูงานบริษัท ยักษ์ใหญ่ทุกเทอม วิทยากรท็อปฟอร์มกว่า 40 ชีวิต อีกทั้งยังน�ำโจทย์ท้าทายจากธุรกิจจริงเข้าสู่ห้องเรียน พร้อมโอกาสร่วมงานและโอกาสทางธุรกิจกับองค์กร ชั้นน�ำพันธมิตรกลุ่มซีพี และที่คุ้มสุดกับการวิเคราะห์ ศักยภาพรายบุคคล มูลค่า 10,000 บาท ฟรี!

เตรียมพบกับ MBA OPEN HOUSE ครั้งแรกของป 2561

ในวันที่ 3 มีนาคม 2561 หามพลาด! สอบถามหรือลงทะเบียน โทร. 02 855 0471

3


COVER Story

รุกตลาดรอบด้าน กับ 3 ทัพหน้า แห่ง บริ ษั ท คาร์ ม าร์ ท จ� ำ กั ด (มหาชน) หรื อ KARMART ด�ำเนินธุรกิจน�ำเข้า ผลิต และ จัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องส�ำอางทุกประเภท และสินค้าอุปโภคบริโภคจากต่างประเทศ โดยแบ่ง ลักษณะออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแบรนด์ ที่บริษัทฯ เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายแต่เพียงผู้เดียว ในประเทศ และกลุม่ แบรนด์ทบี่ ริษทั ฯ เป็นเจ้าของ เครื่องหมายการค้าเอง MBA Connected by PIM เล่มนี้ จะพาทุกท่าน ไปรู ้ จั ก ผู ้ บ ริ ห ารรุ ่ น ใหม่ ไ ฟแรงทั้ ง 3 ท่ า น คุณวงศ์ววิ ฒ ั น์ ทีฆคีรกี ลุ ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การ สายงานบริ ห ารและพั ฒ นาธุ ร กิ จ คุ ณ ชลธิ ด า ทีฆคีรกี ลุ ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การ สายงานการตลาด และ คุณพงศ์วิวัฒน์ ทีฆคีรีกุล ผู้อ�ำนวยการ อาวุโส ฝ่ายการตลาดและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ ที่ จ ะมาเล่ า ถึ ง วิ ธี ก ารด� ำ เนิ น งานท� ำ การตลาด และบริหารธุรกิจของ KARMART รวมถึงการ สร้ า งสรรค์ สิ น ค้ า นวั ต กรรมความงามใหม่ ๆ ออกมาให้ ต รงกั บ ความต้ อ งการของตลาด และสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้า ได้ตรงจุด คุณชลธิดา ทีฆคีรีกุล

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานการตลาด

คุณพงศ์วิวัฒน์ ทีฆคีรีกุล

ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายการตลาดและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์

คุณวงศ์วิวัฒน์ ทีฆคีรีกุล

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานบริหารและพัฒนาธุรกิจ

4


1. ช่องทางคาร์มาร์ทช็อป คาร์มาร์ทช็อปเป็นธุรกิจแบบแฟรนไชส์ 100% 9 แบรนด์ ตอบโจทย์ทุกกลุ่มลูกค้า แบ่งเป็นช็อปประเภท Standalone Shop (Retail shop) 25 สาขา และคาร์มาร์ทช็อปในพื้นที่โซนบิวตี้ฮอลล์ของห้างสรรพสินค้าชั้นน�ำ คุณพงศ์วิวัฒน์ : ผลิตภัณฑ์ของคาร์มาร์ท (KARMART) มีทั้งหมด ได้แก่ The Mall และ Robinson อีก 29 สาขา 9 แบรนด์ ซึง่ แต่ละแบรนด์สร้างสรรค์ขนึ้ มาให้ตอบโจทย์ลกู ค้าครอบคลุม 2. ช่องทางร้านค้าแบบดัง้ เดิม หรือร้านค้าตัวแทนจ�ำหน่าย เพือ่ ให้สนิ ค้า ทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับรายได้ ประกอบด้วย 1. เคที่ดอลล์ (CATHY กระจายตัว เข้าถึงมือผู้บริโภคอย่างทั่วถึงและรวดเร็วยิ่งขึ้น DOLL) 2. เคที่ชู (CATHY CHOO) 3. เบบี้ไบร์ท (BABY BRIGHT) 4. เจจูวติ า้ (JEJUVITA) 5. รืน่ รมย์ (REUNROM): EVERYDAY HAPPINESS 3. ช่องทางการจัดจ�ำหน่ายแบบสมัยใหม่ ประกอบด้วย ประเภทร้านค้า 6. เครยอน (CRAYON) 7. โอปป้าสไตล์ (OPPA STYLE) 8. โบย่า (BOYA) สะดวกซื้อ (Convenience Store) ประเภทซุปเปอร์มาร์เก็ต/ไฮเปอร์ มาร์เก็ต และดิสเคาท์สโตร์ ประเภทร้านค้าเฉพาะอย่าง (Specialty 9. นูน่า (NUNA) Store) ประเภทร้านค้าในแคตตาล็อก เช่น 7-Catalog เป็นต้น 4. ช่องทางส่งออก บริษัทฯ ทุ่มเทขยายแบรนด์ไปยังต่างประเทศโดย การลงพื้นที่ศึกษาตลาด และสร้างกลยุทธ์ทางการตลาดร่วมกับคู่ค้า หรือพันธมิตรทางธุรกิจที่มีศักยภาพ ซึ่งแบ่งเป็น 3 ประเภทคือ Sole Distributor, Distributor และ Joint Venture ปัจจุบันบริษัทฯ มีจุด จัดจ�ำหน่ายในต่างประเทศทั้งหมด 11 ประเทศ ได้แก่ สิงคโปร์ กัมพูชา เวียดนาม พม่า จีน ลาว อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ บังกลาเทศ และอินเดีย โดยมีการลงทุนในรูปแบบ Joint Venture ได้แก่ เวียดนาม 5. ช่องทางการค้าธุรกิจออนไลน์ บริษัทฯ เน้นใช้เป็นช่องทางในสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้าเพื่อสร้างความภักดีต่อแบรนด์สินค้า โดย ในปัจจุบันมี 2 ประเภท คือ ร้านค้าออนไลน์ของบริษัทฯ ได้แก่ เว็บไซต์ ช่องทางการขายแบบครบวงจร www.karmarts.com Instagram: Karmarts_onlineshop และ ในแง่ของช่องทางการจัดจ�ำหน่าย บริษัทฯ ได้กระจายสินค้าผ่านร้านค้า Line: Karmarts_onlineshop ส่วนร้านค้าออนไลน์ของคู่ค้า ได้แก่ ตัวแทนจ�ำหน่ายทัว่ ประเทศทัง้ ในรูปแบบค้าส่งและค้าปลีก เพือ่ เป็นการสร้าง Shop@7 เป็นต้น จุดจ�ำหน่ายทีค่ รอบคลุมทุกแบรนด์สนิ ค้าของบริษทั ซึง่ ได้เกิดร้านค้าปลีก ท�ำการตลาดตาม “ผลิตภัณฑ์” คาร์มาร์ทขึ้น โดยการบริหารงานลักษณะแฟรนไชส์ คุณชลธิดา : ปัจจุบนั ช่องทางการจัดจ�ำหน่ายสินค้าของบริษทั ฯ มีทงั้ หมด คุณชลธิดา : เราท�ำการตลาดโดยดูจากตัวผลิตภัณฑ์ก่อน ดู Brand Concept ก่อนว่า เราท�ำมาเพื่อใคร ตอบโจทย์ใคร และไม่ขายผิดที่ 5 ช่องทางหลักๆ ได้แก่ เราจะพิจารณาว่าควรวางขายช่องทางไหน ซึ่งแต่ละแบรนด์ของเราท�ำ การตลาดต่างกัน หรือบางครั้งแบรนด์เดียวกันก็ท�ำการตลาดหลายวิธี

การสื่อสารการตลาดแบบ 360 องศา คุณพงศ์วิวัฒน์ : เราเน้นท�ำการตลาดอย่างต่อเนื่อง เรียกได้ว่า ครบ ทั้ง 360 องศา เริ่มแรก เราท�ำสื่อออนไลน์ ท�ำรีวิวเอง ให้คนใช้งานจริง ที่เรียกว่า Influencer ที่มาใช้แล้วบอกต่อ ต่อมาช่วงหลังเราใช้สื่อ ครบมากขึ้น ท�ำโฆษณาในโทรทัศน์ Transit Media จุดต่างๆ ในการ เดินทาง เช่น สนามบิน ใช้ Pretty ใช้ Beauty Blogger นอกจากนี้ยังมี การท�ำ Event และใช้ Celebrity ให้รู้จักในวงกว้างมากขึ้น 5


เลือกใช้ “ผู้ที่เชี่ยวชาญเฉพาะ” บอกเล่าผลิตภัณฑ์ คุณพงศ์ววิ ฒ ั น์ : ปัจจุบนั เริม่ มองหาผูท้ เี่ ชีย่ วชาญเฉพาะกับผลิตภัณฑ์ เช่น Makeup Artist หรือ กูรสู กั คิว้ เพราะน่าเชือ่ ถือ รวมถึงเริม่ เข้าไปเกีย่ วข้อง กับแฟชั่น เพราะเทรนด์การแต่งหน้าเปลี่ยนไปตลอดและธุรกิจความงาม ก็เป็นแฟชั่น ซึ่งเราพยายามสื่อสารกับลูกค้าให้รู้ว่าเราเป็นส่ ว นหนึ่ ง ของแฟชั่น

ถูกแบรนด์ ถูกกลุ่มเป้าหมาย ให้โดนตลาด คุณพงศ์วิวัฒน์ : คาร์มาร์ทเลือกพรีเซนเตอร์ให้เหมาะกับผลิตภัณฑ์ แต่ละกลุ่ม เช่น แบรนด์เคที่ดอลล์ เป็นเครื่องส�ำอางส�ำหรับผู้หญิงแต่ ใช้ผู้ชายที่เป็นไอดอลมาเป็นตัวดึงดูดความสนใจ หรืออย่าง Baby Bright เป็นแบรนด์ที่โตขึ้นหน่อยเลือกใช้เป็นผู้หญิง โดยเลือกคนที่แต่งหน้าจัดๆ มาปรับลุคเป็นแต่งเบาๆ ให้ดูเป็นธรรมชาติ เพื่อจะบอกว่าผู้หญิงสวย แบบธรรมชาติดีที่สุด หรืออย่าง Crayon ที่เลือกใช้ Professional โอกาสทางธุรกิจแตกต่างกันในแต่ละประเทศ อันนี้คือความน่าสนใจ Makeup และใช้คนหลากหลายเชื้อชาติ หลากหลายสีผิว เพื่อให้เห็นว่า การทีเ่ ราจะเข้าถึงลูกค้าชาวพม่าก็มแี ต่ยงั น้อย เขาอาจมีการแต่งหน้าสไตล์ เฉดสีของแบรนด์นี้มีหลากหลายสีจริงๆ ของเขา เราต้องใช้วิธีสื่อสารทางการตลาดที่ท�ำให้เขาเปลี่ยน ชวนเขา แต่งหน้าแบบใช้ Cushion แทน เราก็จะมีแนวทางในการสื่อสารไปยัง โอกาสทางธุรกิจและการส่งออกไปต่างประเทศ ผู้บริโภค ดังนั้นในการท�ำการตลาดไปต่างประเทศ จะเน้นให้ต่างกันไป ด้วยเสียงตอบรับที่ดีจากตลาดภายในประเทศ คาร์มาร์ทจึงเริ่มบทบาท ในแต่ ล ะประเทศ ศึ ก ษาตลาดและประยุ ก ต์ เป็ น ผู ้ น� ำ ในเรื่ อ งของ ใหม่ กลายเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์ความงามไปสู่ตลาดต่างประเทศ โดย Innovation เริม่ ขยายสาขาไปยังประเทศต่างๆ ในภูมภิ าคเอเชีย เช่น สิงคโปร์ กัมพูชา แนวทางในอนาคตของ KARMART พม่า เวียดนาม ลาว จีน และอินโดนีเซีย เป็นต้น โดยเป้าหมายสูงสุด ของบริ ษั ท ฯ คื อ การก้ า วเป็ น บริ ษั ท เครื่ อ งส� ำ อางอั น ดั บ หนึ่ ง ของ คุณชลธิดา : เพิ่มแบรนด์ที่เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายที่มีอยู่แล้วในเกาหลี ประเทศไทย และก้าวไกลเป็นอันดับหนึ่งของเอเชียต่อไป ที่ให้เราจัดจ�ำหน่ายให้ในเมืองไทย และเพิ่มชนิดของสินค้าให้กว้างขึ้น คุณวงศ์วิวัฒน์ : เริ่มส่งออกตั้งแต่ปี 2013 เริ่มจาก CLM ก่อน จากนั้น ไปต่อที่ Malaysia และถึงจะไป V-Vietnam ในปี 2014 โดยเริ่มจากที่ เรามีดีมานด์ ทั้งๆ ที่จริงๆ จะส่งออกในปี 2017 ปัจจุบันมี 13 ประเทศ เราเน้นอาเซียน แต่ตอนนีท้ ตี่ ะวันออกกลางก็ได้รบั การตอบรับดี ส่วนของ อาเซียนเอง พม่านัน้ ยอดขายดี เป็นเพราะเขาได้รบั อิทธิพลจากตลาดไทย เยอะ รับสือ่ ไทยเยอะวัฒนธรรมคล้ายกัน แม้วา่ จะมีโอกาสทางธุรกิจเยอะ แต่โซเชียลมีเดียเขาเพิง่ เปิดรับ เช่น เวียดนาม จึงเน้นเข้าไปท�ำตลาดอย่าง ต่อเนื่องและพยายามเข้า Modern Trade ส�ำหรับมาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ความเป็น Modern Trade ค่อนข้างแข็งมาก สิง่ ทีต่ อ้ งให้ความส�ำคัญก็คอื แต่ละทีท่ ำ� การตลาด ต่างกัน จีนและฮ่องกง เราเข้าไปในช่องทางต่างๆ ไต้หวันพฤติกรรมลูกค้า จะใกล้กับญี่ปุ่น เกาหลี เขาซื้อของพวกนี้ง่ายกว่า เหลือแค่เราท�ำตลาด ให้ต่อเนื่อง 6

นอกจากนี้ยังปรับปรุงสินค้าและปล่อยแบรนด์เคที่ดอลล์ใหม่ๆ มากขึ้น และเน้นท�ำแบรนด์ตัวเองให้เข้มแข็งมากขึ้น

อนาคตของ Cosmetics ของไทย คุ ณ วงศ์ วิ วั ฒ น์ : เราพยายามผสมผสานจุ ด เด่ น ในแต่ ล ะประเทศ เราไม่น้อยหน้าเกาหลี การตลาดของเขามาเป็นแพ็คเกจ ทุกอย่างมันโต ไปตาม Entertainment Industry Influence หมด เทรนด์โลก ไปในทางเกาหลี เกาหลีมีหน่วยงานจัด Business Matching บ่อย การท�ำการตลาดของเขาไปได้ไวและได้ผลมาก อิทธิพลท�ำให้แบรนด์ ระดับโลกอย่าง Bobbi Brown/MAC ออกผลิตภัณฑ์ตามเขา เพื่อ มารองรับตลาดเอเชีย ถ้าไทยร่วมมือกันท�ำดีๆ ก็จะเป็น Next KOREA ไม่ไกลเกินเอื้อม



What’s Next ?

10

Social-Media Trends to Prepare for in 2018

ในปีทผ ี่ า่ นมามีเรือ่ งส�ำคัญมากมายเกีย่ วกับสือ่ สังคมออนไลน์ และในปีหน้า สื่อสังคมออนไลน์ก็พร้อมที่จะสร้างความประหลาดใจให้มากยิ่งขึ้น จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการเปลี่ยนแปลงที่ก�ำลังจะมาถึง และนีค่ อื แนวโน้มของสือ่ สังคมออนไลน์ 10 ประการทีจ่ ะต้องเตรียมพร้อม 3. การลงทุนอย่างต่อเนื่องในด้าน Influencer Marketing ส�ำหรับปี 2018 นักการตลาดมากกว่า 90% ที่ใช้ Influencer เชื่อว่ากลยุทธ์การตลาดนี้ 1. การเกิดขึ้นของเทคโนโลยี AR (Augmented Reality)

จะประสบความส�ำเร็จ บริษัทต่างๆ เช่น North Face, Hubspot และ Rolex ก็ใช้กลยุทธ์นี้ทางสื่อสังคมออนไลน์เพื่อเชื่อมต่อกับผู้ชมรายใหม่ๆ และปรับปรุงการมีส่วนร่วมของผู้ชมเดิม ในปีนี้เราเห็นว่าแบรนด์ที่เลือก ใช้กลยุทธ์การโฆษณาแบบเดิมพยายามเชือ่ มต่อกับผูใ้ ช้โซเชียลมีเดีย และ ในปีหน้ามีแนวโน้มว่าแบรนด์อื่นๆ จะใช้ Influencer Marketing เพื่อเชื่อมต่อกับผู้ชมที่ไม่ชอบกลยุทธ์แบบเดิมๆ

แอปเปิ้ลประกาศเปิดตัว iPhone 8 และ iPhone X ซึ่งอุปกรณ์ทั้งสองนี้ มีชิปตัวใหม่ที่ช่วยให้โทรศัพท์สามารถมอบประสบการณ์ AR แบบพิเศษ แก่ ผู ้ ใช้ ขณะที่ AR จะมี ผ ลกระทบในเกมบนมื อ ถื อ ซึ่ ง มี โ อกาส ที่แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียจะหาวิธีรวมเทคโนโลยีใหม่เข้าด้วยกัน เช่น เป็นไปได้ว่าเร็วๆ นี้ Snapchat หรือ Instagram จะสนับสนุนตัวกรอง 4. ให้ความสนใจไปที่ Gen Z ที่อนุญาตให้ผู้ใช้ถ่ายภาพตัวเองกับเพื่อนหรือคนดังผ่าน AR ได้ การศึกษาล่าสุดโดย Goldman Sachs ได้ข้อสรุปว่า Generation Z มี คุณค่าต่อองค์กรมากกว่า Millennials วันนี้ Gen Z ที่อายุ 22 ปี ก�ำลัง เริม่ เข้าสูต่ ลาดแรงงานและจะมีกำ� ลังซือ้ เพิม่ ขึน้ ในระยะเวลาหนึง่ แบรนด์ ต่างๆ จะเริ่มตระหนักถึงเรื่องนี้ และจะเน้นเปลี่ยนกลยุทธ์ในสื่อสังคม ออนไลน์ เช่น Snapchat และ Instagram ให้สอดคล้องกัน

5. เพิ่มส่วนแบ่งแบรนด์ ในแพลตฟอร์มการรับส่งข้อความ ผู ้ ใช้ ก ว่ า 2.5 พั น ล้ า นคนทั่ ว โลกใช้ แ พลตฟอร์ ม การรั บ ส่ ง ข้ อ ความ แต่แบรนด์โดยทั่วไปยังคงมุ่งเน้นการเชื่อมต่อกับผู้บริโภคบนโซเชียล 2. ความนิยมเพิ่มขึ้นของ Instagram Stories เน็ตเวิร์คเป็นหลัก ในปีหน้า คาดว่าแบรนด์จะทุ่มเทเวลาและเงินเพื่อ ผู้คนกว่า 200 ล้านคนใช้ Instagram Stories ในแต่ละเดือน ซึ่งมากกว่า เชื่อมต่อกับผู้บริโภคในแพลตฟอร์มการรับส่งข้อความ ใช้เทคโนโลยี AI ผูใ้ ช้ Snapchat 50 ล้านคน ทัง้ ๆ ที่ Instagram Stories เพิง่ เปิดให้คนใช้ (Artificial Intelligence) ข้อความเสียง (Voice Assistants) และ ได้เพียงหนึ่งปี! นั่นหมายความว่าแบรนด์ที่สนใจในการเชื่อมต่อกับ Chatbots ซึ่งจะช่วยให้แบรนด์สามารถน�ำเสนอประสบการณ์การ ช้อปปิง้ ในแบบของคุณบนแพลตฟอร์มการรับส่งข้อความ เช่น Messenger ผู้ใช้ Instagram ต้องใช้เวลาเรียนรู้ Instagram Stories มากขึ้น WhatsApp และ Kik 8


6. การขยาย Live Streaming

9. พื้นที่ ใน Facebook กลายเป็นพื้นที่หลัก

วันนี้แบรนด์ขนาดใหญ่และขนาดเล็กเริ่มใช้การถ่ายทอดสดเพื่อดึงดูด ความสนใจของผู้ติดตาม GORUCK ผู้ผลิตกระเป๋าเป้สะพายหลัง และ ผู้จัดงานอีเวนต์ เป็นตัวอย่างหนึ่งของแบรนด์ขนาดกลางที่เติบโตได้ โดยอาศัยการถ่ายทอดสดเนื้อหาที่น่าสนใจบน Facebook มีผู้ติดตาม นับพันคนติดตามดูไลฟ์สดที่ยาวนานถึง 48 ชั่วโมงในการแข่งขันล่าสุด ในปี 2018 แบรนด์อื่นๆ จะเริ่มตระหนักถึงพลังของ Live Streaming และจะน�ำไปรวมไว้ในผังเนื้อหารายเดือนของตน

Facebook ไม่ ไ ด้ ส นใจเพี ย งแค่ ก ารถ่ า ยทอดสดเท่ า นั้ น แต่ ก� ำ ลั ง ท�ำโครงการที่เรียกว่า Spaces ซึ่งออกแบบมาเพื่อให้สามารถเชื่อมต่อ กับ VR ได้ โดย Facebook เป็นเจ้าของ Oculus ซึ่งเป็นบริษัทฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์เกี่ยวกับ VR จึงไม่น่าแปลกใจที่ยักษ์ใหญ่ของ Social Media ก�ำลังพัฒนาแพลตฟอร์มเพื่อใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีใหม่นี้ ที่ส�ำคัญ Facebook พร้อมที่จะขยายพื้นที่ Spaces ในปีหน้า และมี แนวโน้มว่า นี่จะเป็น VR Social Media แรกที่ประสบความส�ำเร็จ

7. การทบทวนอีกครั้งของ Twitter

10. Social Platforms จะมีนโยบายการก�ำกับดูแลที่ดีขึ้น

ในปีนี้ Twitter ไม่สามารถเพิ่มจ�ำนวนผู้ติดตามได้ ในขณะที่ LinkedIn Facebook และ Instagram มีผู้ติดตามเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ Twitter ยัง สูญเสียการเข้าถึงสตรีมมิง่ เกม NFL ซึง่ Amazon ได้รบั สิทธิน์ ไี้ ป ในปีหน้า มีแนวโน้มว่า ความเป็นผู้นำ� ของ Twitter จะมุ่งไปที่การทบทวนวิธีการ ท�ำงานของแพลตฟอร์ม ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นกับ Twitter ได้แก่ การขายบริษัทให้แก่นักลงทุน การเปลี่ยนแพลตฟอร์มเพื่อรวม องค์ ป ระกอบ การสมั ค รสมาชิ ก และ/หรื อ การปรั บ เปลี่ ย นตั ว เลื อ ก การโฆษณาบน Twitter ซึ่งล้าหลังกว่าแพลตฟอร์มอื่นๆ

การถูกวิจารณ์อย่างกว้างขวางถึง Facebook และ Twitter ในช่วงปีนี้ อาจเป็นไปได้ว่าแพลตฟอร์มเหล่านี้จะใช้หลักปฏิบัติด้านจริยธรรมและ นโยบายการก�ำกับดูแลเพื่อปกป้องแบรนด์จากค�ำวิจารณ์ที่จะเกิดขึ้นใน อนาคต

8. แฮงเอาท์ผ่านดิจิทัลจะกลายเป็นกระแสหลัก Houseparty คือ Video Hangout Platform ที่ใช้โดยผู้คนกว่าหนึ่งล้าน คนต่อวัน ซึ่ง Gen Z ใช้เป็นหลัก โดยเป็นวิธีการออกไปเที่ยวกับเพื่อน แบบดิ จิ ทั ล แพลตฟอร์ ม ดั ง กล่ า วประสบความส� ำ เร็ จ อย่ า งมาก ซึ่ ง Facebook ก�ำลังตรวจสอบเพื่อสร้างฟังก์ชันการท�ำงานที่คล้ายคลึงกัน ในแพลตฟอร์มของตน

แนวโน้มด้านโซเชียลมีเดียใหม่ๆ ที่จะส่งผลต่อผู้ใช้และแบรนด์ต่างๆ ก�ำลังทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น มีแนวโน้มว่า Video Streaming และ Virtual Reality จะเข้าสูก่ ระแสหลัก นอกจากนีแ้ บรนด์ยงั จะหัน ไปใช้แพลตฟอร์มโซเชียลที่ ใหม่กว่าเช่น Instagram และ Snapchat เนื่องจาก Gen Z ใช้เวลากับแพลตฟอร์มนี้มากกว่า และด้วยการ ประกาศเปิดตัว iPhones ใหม่ เทคโนโลยี AR จึงมีโอกาสทีจ่ ะกลาย เป็นส่วนหนึ่งของสื่อสังคมออนไลน์ ในแบบที่ ไม่สามารถคาดเดาได้ ล่วงหน้า สุดท้าย Twitter และ Facebook มีแนวโน้มที่จะปรับ เปลี่ ย นนโยบายเพื่ อ ปกป้ อ งแบรนด์ ข องตนจากการวิ จ ารณ์ ท าง การเมือง และเพือ่ ให้ผใู้ ช้มปี ระสบการณ์ออนไลน์ทดี่ ยี งิ่ ขึน้

ในปีทผี่ า่ นมาเราได้เห็นวิดโี อกลายเป็นสิง่ ส�ำคัญมากขึน้ ใน Social Media ไปแล้ว และการแฮงเอาท์ในกลุ่ม Live Video เป็นแนวโน้มที่เกิดขึ้นตาม ธรรมชาติ และเป็นไปได้ว่าในปีหน้า Facebook จะประกาศปล่อย ขอบคุณภาพประกอบจาก https://tctechcrunch2011.files.wordpress.com/2016/08/instagram-stories-new.png ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่คล้ายกับ Houseparty ซึ่งจะชนะใจผู้ใช้เช่นเดียวกับ https://houseparty.com/assets/img/og-image.png การเปิดตัวในส่วนของ Instagram Stories เอกสารอ้างอิง https://www.entrepreneur.com/article/300813

9


Oct-Dec 2017

เบเกอรี่ 4.0 โดย คุณร�ำไพพรรณ พรตรีสัตย์ รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส บริษัท ซีพีแรม จ�ำกัด

Management Wisdom บริหารความก้าวหน้าในอาชีพ คนเก่ง คนทดแทน คนละเรื่องเดียวกัน



EXECUTIVE Talk

เบเกอรี่ 4.0

เป็นเวลาเกือบ 30 ปีแล้ว ที่ซีพีแรมผลิตเบเกอรี่ชิ้นที่ 1 เพื่อส่งร้าน 7-Eleven สาขาที่ 1 ที่พัฒน์พงศ์ ในปี 2532 จนนับมาถึงปัจจุบัน ผลิตภัณฑ์ตรา “เลอแปง” และ “7-Fresh” ออกสู่ตลาดร้านสะดวกซื้อ กว่า 1 ล้าน 8 แสนชิ้นต่อวัน ทั่วประเทศ

ไส้หลากชนิด ขนมปังที่มีรูปร่าง ขนาด และรสชาติแตกต่างกัน พาย ยอดนิยมมากเมนู ไปจนถึงเดนิช หรือครัวซองท์ ซึ่งซีพีแรมได้น�ำความรู้ และเทคโนโลยีของตะวันตกมาผสมผสานกับองค์ความรู้ด้านการพัฒนา เครื่องจักรของตะวันออก เพื่อมุ่งสู่คุณภาพของเบเกอรี่ที่เหมาะสมกับ คนไทย โดยใส่ใจกับการน�ำศิลปะและวัฒนธรรมการกินของผู้บริโภค คนไทยเรียกเบเกอรี่ว่า “ขนม” ทั้ง “ขนมปัง” และ “ขนมเค้ก” เพราะ มาออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่อย่างต่อเนื่อง ส่งมอบให้กับลูกค้าอย่าง วัฒนธรรมการกินเบเกอรี่มาจากซีกโลกตะวันตก และผู้บริโภคคนไทย มีประสิทธิภาพ จะนึกถึงเบเกอรี่เมื่ออยากกินขนมรองท้องหรือของหวาน ขณะที่อาหาร จานหลักยังคงเป็นข้าวเจ้า แต่ตลอดเวลาของการด�ำเนินธุรกิจเบเกอรี่ การเติบโตอย่างต่อเนื่องของธุรกิจคือ การตอบสนองความต้องการของ ของซี พี แรมที่ มุ ่ ง มั่ น สร้ า งผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี คุ ณ ภาพในระดั บ ราคาคุ ้ ม ค่ า ผู้บริโภคผ่านช่วงชีวิต 6 ยุคของการพัฒนาองค์กร ได้แก่ ทีเ่ พียบพร้อมด้วยความอร่อยสูส่ งั คมไทย เพือ่ ให้เป็นทางเลือกของอาหาร ยุคที่ 1 ยุคก่อร่างสร้างตัว (พ.ศ. 2531-2535) สะดวกซื้อสะดวกรับประทาน ที่มีความหลากหลาย การรับประทาน ยุคที่ 2 ยุคแห่งการพัฒนา (พ.ศ. 2536-2540) เบเกอรีข่ องคนไทยได้พฒ ั นาเป็นอาหารมือ้ เช้าทีต่ อบโจทย์การด�ำเนินชีวติ ยุคที่ 3 ยุคสู่สากล (พ.ศ. 2541-2545) สมัยใหม่ของครอบครัวเล็ก ซึ่งต้องการความเร่งรีบที่ถูกใจและถูกปาก ยุคที่ 4 ยุคสู่ความเป็นเลิศ (พ.ศ. 2546-2550) จากขนมปังพื้นฐานที่คุ้นเคย เช่น ไส้กรอก หมูหยอง ผู้บริโภคมีความสุข ยุคที่ 5 ยุคเติบโตอย่างมั่นคง (พ.ศ. 2551-2555) กับผลิตภัณฑ์ที่คัดสรรมาน�ำเสนอหลากหลาย ทั้งแซนด์วิชชนิดต่างๆ ยุคที่ 6 ก้าวสู่...ยุคครบเครื่องด้วยนวัตกรรม (พ.ศ. 2556-2560) 2


สายการผลิตอัตโนมัติพาย เป็นอีกหนึ่งการเปลี่ยนแปลงของ Mass Customization ที่ท�ำให้ซีพีแรมเป็นผู้น�ำตลาดเพรสตี้ ด้วยยอดขาย 250,000 ชิ้นต่อวัน กับพายที่มีลักษณะเฉพาะตัว สูตรพิเศษที่ตรงกับ ความต้องการของกลุ่มลูกค้าคนไทย ด้วยไส้หลากหลาย ซึ่งน�ำความสุข มาให้กับผู้บริโภคที่เลือกสรร

คุณรำ�ไพพรรณ พรตรีสัตย์

อย่างไรก็ตาม “เสน่ห”์ ของเบเกอรีย่ งั คงเป็นการผสมผสานความ “น�ำสมัย” และความ “พืน้ ฐาน” ของความชอบของคนไทยลงสูก่ ารพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ให้ลกู ค้าได้ลองรับประทาน นับเป็นกุญแจสู่ความส�ำเร็จของการพัฒนาตลาดเบเกอรี่ ซีพีแรมจึงคง แรงงานฝีมือด้วยทักษะ ประสบการณ์ ของช่างท�ำขนมอบ ภายใต้ องค์ความรูจ้ ากทัว่ โลกและพันธมิตรทางธุรกิจร่วมกันออกแบบผลิตภัณฑ์ ใหม่ การจั ด ประยุ ก ต์ ส ายการผลิ ต แบบดั้ ง เดิ ม พื้ น บ้ า น และแบบ กึ่งอัตโนมัติ ให้เหมาะสมในการส่งมอบสินค้าและบริการสู่กลุ่มลูกค้า ที่หลากหลายทั่วประเทศ เช่น เค้กชิ้น เค้กโรล เค้กปอนด์ ทั้งในอุณหภูมิ ปกติ แ ละอุ ณ หภู มิ แช่ เ ย็ น ให้ เ ป็ น ของหวานที่ ผู ้ บ ริ โ ภคเรี ย กหาหลั ง มื้ออาหาร

ความเป็นตะวันตกและตะวันออก ความเป็น Mass และความ Homemade ความอิ่มอร่อยอย่างเต็มมื้อกับความละมุนรองท้อง หรือความ คุ ้ น เคยกั บ ความน� ำ สมั ย ทั้ ง หมดนี้ คื อ ความแตกต่ า งที่ ซี พี แรมน� ำ มา การก้าวสู่ยุคนวัตกรรม คืออีกช่วงการเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ขององค์กร ผสมผสานให้ลงตัว ก่อเกิดเป็น “เบเกอรี่ 4.0” ทีต่ อบสนองผูบ้ ริโภคอย่าง นั่นคือการมุ่งน�ำธุรกิจเข้าสู่ยุค “เบเกอรี่ 4.0” มุ่งเน้นการน�ำเทคโนโลยี มีประสิทธิภาพและอย่างต่อเนื่อง เพื่อความสุขและประโยชน์ของลูกค้า การผลิตชั้นสูง ลงทุนสูง เข้ามาบริหารเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ อย่างจริงใจตลอดไป สูงขึ้น ประสิทธิภาพสูงขึ้น ในราคาต้นทุนที่ต�่ำลง เพื่อประโยชน์แก่ ผูบ้ ริโภคจ�ำนวนมาก โดยยังคงตอบสนองความต้องการทีห่ ลากหลายของ ลูกค้าแบบ Mass Customization ได้อย่างประสบผลส�ำเร็จ รองกรรมการผูจ้ ดั การอาวุโส บริษทั ซีพแี รม จำ�กดั

การบริหารห่วงโซ่อุปทานอย่างบูรณาการ ด้วยการผนึกก�ำลังกับทุก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียน�ำมาสู่ความส�ำเร็จร่วมกัน โดยมีทีมงานที่เพียรค้นหา Voice of Customer ซึ่งเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การเป็นผู้น�ำ การผลิตสินค้าเพือ่ เป็น “อาหารเช้า” จึงเป็นหลักฐานทีด่ ขี องความส�ำเร็จ ในยุคเริ่มต้นของ “เบเกอรี่ 4.0” ซึ่งซีพีแรมเป็นรายแรกที่ผลิต “ขนมปัง แซนด์วิชกระเป๋า” หรือ “Pocket Sandwich” ซึ่งเป็นขนมปังแผ่น ตัดขอบประกบคูส่ อดไส้ตรงกลางและปิดขอบริมทุกด้าน ออกวางจ�ำหน่าย ราคา 12 บาท จนกลายเป็นสินค้าฮิตส�ำหรับคนท�ำงาน ผู้หญิงและเด็ก ด้วยไส้ยอดนิยม หมูหยอง ทูน่า ปูอัด และเมนูเทศกาล หรือเมนูใหม่ๆ อินเทรนด์ มาสลับหมุนเวียน และได้มีการต่อยอดด้วย “ดับเบิ้ลแซนด์วิช กระเป๋า” หรือ “Double Pocket Sandwich” คือ แซนด์วิชกระเป๋า สองรสชาติมาบรรจุคู่ในหนึ่งชิ้น ราคาเพียง 20 บาท ให้ลูกค้าผู้ชาย วัยท�ำงานเลือกหยิบซื้อด้วยความอิ่ม อร่อย คุ้มค่า 3


MANAGEMENT Wisdom

ผศ.ดร.เลิศชัย สุธรรมานนท์

ผู้ช่วยอธิการบดี พีไอเอ็ม และอาจารย์ประจ�ำหลักสูตร MBA-POS

บริหาร ความก้าวหน้า ในอาชีพ คนเก่ง คนทดแทน คนละเรื่องเดียวกัน

กระแสหลักของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ในปัจจุบัน ให้ความส�ำคัญ กับ 3 เรือ่ ง และเป็น 3 เรือ่ งทีส่ ร้างความสับสนอยูเ่ สมอ คือ การบริหาร ความก้าวหน้าในอาชีพ (Career Management) การบริหารคนเก่ง (Talent Management) และการสร้างคนทดแทน (Succession Management) หลายองค์กรชูการบริหารคนเก่งเป็นใหญ่เหนือกว่าเรื่องอื่น อาจเลยลึก ไปถึงการบอกว่า ทุกคนในองค์กร คือ คนเก่ง ไม่มอี ะไรใหญ่กว่าการบริหาร คนเก่งอีกแล้ว ในขณะที่บางองค์กรบริหารคนเก่ง โดยไม่ได้ออกแบบ เส้นทางความก้าวหน้าเอาไว้ ท�ำให้คนเก่งทีส่ ร้างไว้ไม่มเี ป้าหมายปลายทาง ที่จะไป คนเก่งจึงไม่แตกต่างจากคนอื่นในองค์กร แต่กลับเป็นการเพิ่ม ความคาดหวังและเป็นตัวเร่งให้บุคลากรออกจากองค์กรเร็วขึ้นกว่าเดิม ในขณะที่ต�ำแหน่งงานส�ำคัญๆ ในองค์กรกลับหาคนทดแทนได้ยาก เพราะไม่สามารถสร้างคนได้ทนั และไม่มรี ะบบสร้างคนทดแทนทีเ่ รียกว่า Succession Management เพื่อง่ายต่อการท�ำความเข้าใจจึงเสนอเป็น ภาพต่อไปนี้

4


Leadership Mgt

Career Mgt

Talent Mgt

จากภาพข้างต้น การพัฒนาผู้น�ำเป็นภาพใหญ่ของการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ องค์กรย่อมมีบุคลากรที่มีความแตกต่างและหลากหลายในเรื่อง อาชีพ บทบาท และภารกิจ แต่ต้องร่วมกันขับเคลื่อนองค์กรไปในทิศทาง เดียวกัน สิ่งที่จะผนึกประสานปัจเจกบุคคล (Individual) เข้าด้วยกัน คือ ความเป็นผู้น�ำ ผู้น�ำที่ว่าไม่ใช่เฉพาะผู้มีระดับต�ำแหน่งสูงเท่านั้น แต่เป็น บุคคลทีส่ ามารถน�ำตนเอง (Leading Yourself) น�ำทีม (Leading Team) และน�ำการท�ำงาน (Leading Performance) อย่างใดอย่างหนึ่งหรือ หลายๆ อย่างในเวลาเดียวกัน

Succession Mgt

อนึ่ง เมื่อมีสายอาชีพต่างๆ แล้ว องค์กรควรประเมินความสามารถใน การสร้างบุคลากรทดแทนในต�ำแหน่งส�ำคัญๆ ในแต่ละสายอาชีพ และ ควรประเมินความเสีย่ งทีจ่ ะรักษาบุคลากรกลุม่ นีใ้ ว้ได้ในภาวะการแข่งขัน ในตลาดแรงงาน และต้ อ งวางแผนสร้ า งคนทดแทนในต� ำ แหน่ ง นั้นๆ ล่วงหน้า หรือที่เรียกว่า การสร้างคนทดแทน (Succession Management)

การที่ อ งค์ ก รประกอบด้ ว ยหลายกลุ ่ ม อาชี พ และประสานส่ ว นต่ า งๆ เข้าด้วยกัน เพื่อสร้างคุณค่าแก่องค์กร จ�ำเป็นที่จะต้องสร้างโอกาส ความก้าวหน้าในอาชีพให้เห็น และพยากรณ์ล่วงหน้าว่ากลุ่มอาชีพใด ยังคงความส�ำคัญกับธุรกิจในอนาคต และมีความจ�ำเป็นต้องสร้างบุคลากร ในกลุม่ อาชีพดังกล่าว แนวความคิดดังกล่าวท�ำให้ตอ้ งแสวงหาการพัฒนา และการรักษาผู้มีความสามารถสูง (Talent) มีความหมาย มีโอกาส มีคุณค่าต่อองค์กรและบุคลากรที่แท้จริง การออกแบบความก้าวหน้าในอาชีพ จึงเป็นระบบพืน้ ฐาน (Fundamental) ที่ส�ำคัญในการท�ำกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ต้องจัด กลุ่มอาชีพ ก�ำหนดสมรรถนะหลัก (Core Competency) สมรรถนะ เฉพาะกลุ่มงาน (Functional/Professional Competency) และ สมรรถนะผู้น�ำ (Leadership Competency) ที่เหมาะสม แล้วจึง พยากรณ์ความส�ำคัญของสายอาชีพนั้นๆ ต่อธุรกิจในระยะ 3–5 ปีหรือ มากกว่านั้น แล้วจึงหาบุคลากรที่มีความสามารถในกลุ่มงานนั้นหรือ ใกล้เคียงกันโดยการพิจารณาจากสมรรถนะทัง้ 3 ด้านทีใ่ ช้ในกลุม่ งานนัน้ และท� ำ การเปรี ย บเที ย บระหว่ า งกลุ ่ ม งาน แล้ ว หาตั ว บุ ค คลที่ มี ผ ล การปฏิบัติงานดี (High Performance Persons) และมีศักยภาพ (High Potential Persons) เพื่อพัฒนาเป็นผู้น�ำในอนาคต (Future Leader)

สิ่งที่น�ำเสนอมาข้างต้น เชื่อว่าจะช่วยท�ำให้ความสับสนของผู้บริหารและ นักบริหารทรัพยากรมนุษย์ต่อเรื่อง การสร้างคนทดแทน (Succession Management) ในต�ำแหน่งส�ำคัญมีความเสี่ยงสูง การบริหารคนเก่ง (Talent Management) การบริหารเส้นทางความก้าวหน้าในอาชีพ และการพัฒนาผูน้ ำ� ลดลงบ้าง โดยการมองภาพรวมเต็มระบบแล้วจะเห็น ความเชื่อมโยงกันของสามเรื่องนี้ และไปพัฒนาใช้กับแต่ละองค์กรได้ ต่อไป 5


MBA Community MBA Community ฉบับนี้จะพาทุกท่านไปพบกับกิจกรรมส่งเสริมความรู้นอกห้องเรียนที่หาที่ ไหนไม่ ได้ นอกจากห้องเรียน MBA พีไอเอ็ม หลักสูตรปริญญาโท ที่ตั้งใจจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะต่างๆ ให้นักศึกษา ได้สร้างประสบการณ์เรียนผ่านกิจกรรม เช่น MBA Workshop : Fun & Fin และ กิจกรรม MBA Field Trip ศึกษาดูงานเรียนรู้จากธุรกิจจริง

MBA Workshop : Fun & Fin เป็นกิจกรรมเสริมทักษะให้กบั นักศึกษาปริญญาโทของเรา นอกเหนือ จากการเรียนในห้องเรียน ซึ่งจัดกันให้ฟินในหัวข้อ“มารยาทในการ รับประทานอาหารแบบสากล” บรรยายโดยคุณชัยวัชร์ พนอนุอดุ มสุข ผู้จัดการฝ่าย Food Academy & Chef’s Kitchen ส�ำนักงานพัฒนา โครงการพิเศษ PIM ที่มาให้ความรู้ในเรื่องของมารยาทในการรับประทาน อาหารแบบมืออาชีพเพือ่ เสริมภาพลักษณ์ทดี่ ใี ห้กบั นักศึกษา หากเวลาไปติดต่อ ธุรกิจหรือได้ร่วมวงรับประทานอาหารแบบ Full Course เมื่อไหร่จะได้ หยิบจับอุปกรณ์บนโต๊ะอาหารได้อย่างไม่เคอะเขิน และหัวข้อ “Personality Improvement : Be the Best Version of You” ได้รับเกียรติจาก ดร.วรพล อังกุรัตน์ อดีตที่ปรึกษาสถาบันพัฒนาบุคลิกภาพ John Robert Power และ ผู้ออกแบบหลักสูตรฝึกอบรม Miss Universe Thailand 2012-2015 บรรยากาศเต็มไปด้วยความสนุกสนานเป็นกันเอง และที่สำ� คัญยังได้รบั ความรู้ ที่สามารถน�ำไปช่วยพัฒนาบุคลิกภาพตัวเองให้ดีมากยิ่งขึ้นตามแบบฉบับ มืออาชีพอีกด้วย

6


MBA Field Trip ศึกษาดูงานเรียนรู้ จากผู้นำ�ธุรกิจระดับโลก True และ 3M MBA พีไอเอ็ม พานักศึกษาไปเรียนรูป้ ระสบการณ์จากสถานประกอบการ จริง โดยแต่ละที่นับว่าไม่ธรรมดา เพราะช่วยเสริมองค์ความรู้ด้านการ บริหารคนและการบริหารธุรกิจให้นักศึกษาสามารถน�ำไปใช้ได้อย่าง แท้ จ ริ ง โดยได้ เข้ า ศึ ก ษาดู ง านที่ ศู น ย์ คั ด สรรบุ ค ลากรของกลุ ่ ม ทรู (True Talent Center) ซึ่งเป็นศูนย์รับสมัครผู้ที่สนใจเข้ามาร่วมงานกับ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) โดยคุณปพนพัชร์ เอี่ยมพึ่งพร HR Expert Dep. Human Resources Management, Recruitment และคุณธนวัฒน์ แม้นจันทร์ HR Officer, Dep. Human Resources Management, Recruitment บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ให้เกียรติบรรยายเรื่องการสรรหาและการคัดเลือกบุคลากร รวมถึง น�ำเยี่ยมชมระบบการรับสมัครบุคลากรที่มีความทันสมัย ใช้เทคโนโลยี เข้ามาช่วยตั้งแต่ขั้นตอนแรกจนจบกระบวนการ โดยข้อมูลของผู้สมัคร จะถูกส่งต่อไปยังกระบวนการถัดไปแบบเรียลไทม์ สะดวกและรวดเร็ว เป็นการลดปริมาณการใช้กระดาษได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกหนึ่งสถานที่ดูงานคือ บริษัท 3เอ็ม ประเทศไทย จ�ำกัด ผู้น�ำองค์กร ระดั บ โลกด้ า นนวั ต กรรม งานนี้ นั ก ศึ ก ษาได้ รั บ ฟั ง บรรยายเกี่ ย วกั บ นวัตกรรมของบริษทั รวมถึงเทรนด์ของนวัตกรรมในอนาคต พร้อมเดินชม สินค้านวัตกรรมกว่า 2 หมื่นชิ้นที่บริษัท 3M น�ำมาเก็บไว้ในพิพิธภัณฑ์ เพื่อให้ผู้เข้าชมได้รู้ถึงที่มาของสินค้าแต่ละชิ้นและนวัตกรรมที่ 3M สร้างขึ้น บรรยายและน�ำชมสถานที่โดยคุณรุจิวรรณ เจียรวรกุล R&D Services Leader Technical Operations, R&D Center โครงการศึกษาดูงานของหลักสูตร MBA นี้จัดขึ้นในทุกๆ ภาคเรียน ให้ กั บ นั ก ศึ ก ษา เพื่ อ ตอกย�้ ำ ความเป็ น Practice for REAL การเรียนที่เน้นกรณีศึกษาจากผู้เชี่ยวชาญจริง (REAL Cases) เรียนรู้กับมืออาชีพตัวจริง (REAL Professionals) ประยุกต์ ใช้และ สร้างธุรกิจได้จริง (REAL Business Application) ของหลักสูตร MBA สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

7



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.