CAS Newsletter Vol. 4

Page 1

จุลสารศูนยอาเซียน-จีนศึกษา

中国东盟研究中心通讯 ปที่ 2 ฉบับที่ 4 มกราคม - เมษายน 2557 Vol. No.4 January - April 2014

China ASEAN Studies Center (CAS) News Letter

Myanmar

มิงกะลาบา

บอกรับสวัสดีกับ โอกาสการลงทุนในพมา

China Focus

รูจัก SMEs จีน และนโยบายภาครัฐที่เกี่ยวของ

China in Loas :

การลงทุนของจีนในสปป.ลาว


Cover Story : วันทนีย์ เปรื่องวิทยางกูร

บอกรับสวัสดีกับโอกาสการลงทุนในพม่า “ระบบธุรกิจยุคใหม่เป็นโลกของการสร้าง Networking และการบูรณาการองค์ความรู้ข้ามศาสตร์แบบ Diversity” นี่เป็น บทเปิดงานสัมมนาจีน-อาเซียนครั้งที่ 4 ในหัวข้อ “มิงกะลาบา คว้าโอกาสการลงทุนในพม่ารับ AEC” ของ ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ เลขาธิการมูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ และประธาน Chira Academy เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2557 ณ ห้องประชุม Round ศูนย์ LUXELLENCE CENTER อาคารปัญจภูมิ

พม่ากับการพัฒนา ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ นักวิชาการผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์ และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ได้ให้เกียรติมาเป็นวิทยากรแลก เปลีย่ นความรูแ้ ละประสบการณ์ตลอด 20 ปีทไี่ ด้สมั ผัสพม่ามาตัง้ แต่ ก่อนเปิดประเทศ โดย ศ.ดร. จีระได้ชี้ให้เห็นว่า ผลจากประกาศใช้ กฎหมายการลงทุนต่างชาติฉบับใหม่ในปี พ.ศ. 2555 ที่ผ่อนปรน เรื่องสัดส่วนการถือครองหุ้นและเงินลงทุนขั้นต�่ำของต่างชาติมาก ขึ้น ตลอดจนความพยายามในการปฏิรูปโครงสร้างเพื่อรองรับการ เปลี่ยนแปลงและพัฒนาพม่าในอนาคต สิ่งเหล่านี้ได้สะท้อนให้เห็น ว่าปัจจุบนั ประเทศพม่าไม่ได้เปิดพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว แต่ ยังเริม่ เปิดกว้างทางการเมืองมากขึน้ เมือ่ ผนวกกับปัจจัยพืน้ ฐานทาง เศรษฐกิจของพม่าที่อยู่ในระดับแข็งแกร่ง ค่าจ้างแรงงานที่ต�่ำ และ ทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ ก็ยิ่งท�ำให้นักลงทุนจากทั่วทุก มุมโลกให้ความสนใจพม่าในฐานะเป็นแหล่งลงทุนแห่งใหม่ที่มี ศักยภาพสูง นอกจากนี้ ประเทศพม่ายังมีความพยายามในการ ปฏิรปู ด้านการเงินให้มปี ระสิทธิภาพเพือ่ ดึงดูดนักลงทุนต่างชาติมาก ขึน้ โดยขณะนีอ้ ยูร่ ะหว่างให้ธนาคารแห่งชาติประเทศสิงคโปร์เข้าไป พัฒนาปรับปรุง เพื่อสร้างระบบแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่ เป็นสากล และขจัดระบบแลกเงินในตลาดมืด รวมไปถึงปรับปรุง ให้การโอนก�ำไรของธุรกิจต่างชาติกลับประเทศมีความยืดหยุ่นมาก ขึน้ ยิง่ ไปกว่านัน้ รัฐบาลพม่ายังมีความตืน่ ตัวทีจ่ ะพัฒนาให้ประเทศ

กลายเป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งและระบบโลจิสติกส์ ซึ่ง รองรับทัง้ ปริมาณนักท่องเทีย่ วจากทัว่ โลกทีเ่ พิม่ ขึน้ ทุกปีในอัตราก้าว กระโดด และปริมาณการขนส่งสินค้าจากฐานการผลิตในพม่าสู่ ตลาดส่งออกส�ำคัญในอาเซียน ทั้งนี้ ปัจจุบันรัฐบาลพม่าได้ก�ำหนดกลุ่มธุรกิจที่อนุญาตให้ชาวต่าง ชาติลงทุนได้ และกลุม่ ธุรกิจทีส่ งวนไว้สำ� หรับรัฐบาลหรือต้องขอรับ สัมปทานก่อนการลงทุน ซึ่งนักธุรกิจไทยสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ จาก Myanmar Investment Commission Notification No. 1/2013 ส่วนรายระเอียดกฎหมายลงทุนต่างชาติ (Foreign Investment Law) อื่นๆ ของพม่า สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเว็ปไซด์ www.dica.gov.mm อย่างไรก็ดี ประเทศพม่ายังต้องพัฒนาในอีกหลายด้าน ไม่วา่ จะเป็น ระบบการศึกษาซึ่งขณะนี้การศึกษาขั้นพื้นฐานในพม่าสิ้นสุดเพียง เกรด 11 ท�ำให้นักศึกษาต้องสอบวัดระดับก่อนการศึกษาต่อระดับ ปริญญาในต่างประเทศ การขาดแคลนบุคลากรด้านการท่องเที่ยว และการโรงแรมรวมถึ ง การบริ ก ารที่ เ กี่ ย วข้ อ ง การสื่ อ สาร โทรคมนาคมยังขาดเทคโนโลยีทที่ นั สมัย และยังมีอปุ สรรคจากการ ควบคุมสื่ออย่างเข้มงวดโดยภาครัฐ ซึ่งล้วนส่งผลกระทบต่อการ ลงทุนส�ำหรับชาวต่างชาติและการพัฒนาประเทศพม่าในอนาคต 2


ปัจจัยบวก-ลบสำ�หรับการลงทุนในพม่า ปัจจัยด้านบวก • มีโอกาสอีกมากส�ำหรับการลงทุน ในภาคอุตสาหกรรมการผลิต • ต้นทุนค่าแรงถูก • ทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ • ปัจจัยทางภูมิศาสตร์คล้ายคลึงกับไทย • ทรัพยากรมนุษย์ยังพัฒนาได้อีกมาก

ปัจจัยด้านลบ

ที่มา: เนื้อหาจากงานสัมมนา

• ขาดแคลนไฟฟ้าซึ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่งส�ำหรับอุตสาหกรรมการผลิต • รัฐบาลควบคุมการท�ำธุรกรรมทางการเงินของบริษัทต่างชาติอย่างเข้มงวด • โครงสร้างสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานไม่เพียงพอ • นโยบายและกฎระเบียบขาดเสถียรภาพ • ระบบการบริหารและด�ำเนินธุรกิจยังไม่ได้มาตรฐานสากล

ปรัชญาความสำ�เร็จสำ�หรับการลงทุนในพม่า โดย ศ.ดร. จีระ หงส์ลดารมภ์ “การลงทุนในพม่าจะเป็นการลงทุนที่ยั่งยืน (Sustainability) ก็ต่อเมื่อนักลงทุนไทยให้ความเคารพนับถือในความเป็นมนุษย์ที่ เท่าเทียมกันของอีกฝ่าย (Mutual Respect) ไม่มุ่งหวังเข้าไปตักตวงผลประโยชน์จากทรัพยากรที่ยังมีอยู่มากในพม่าเพียง อย่างเดียว แต่จะต้องคำ�นึงถึงการแบ่งผลประโยชน์ที่เท่าเทียมกัน (Equality) สิ่งเหล่านี้จะสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกัน (Trust) ซึ่งนับเป็นหัวใจหลักที่จะทำ�ให้ความร่วมมือทางธุรกิจระหว่างสองประเทศดำ�เนินไปได้อย่างยาวนาน”

หัวใจสูค่ วามสำ�เร็จของการลงทุนในพม่า ศ. ดร.จีระได้ให้แง่คิดที่น่าสนใจเกี่ยวกับปัจจัยที่จะท�ำให้นักธุรกิจไทยประสบความส�ำเร็จในการลงทุนในประเทศพม่าไว้ 4 ประการ

ประการแรก คือ นักลงทุนต้องรูจ้ กั Learn, Share & Care คนในประเทศทีจ่ ะเข้าไปลงทุน ต้องเปิดใจเรียนรูค้ วามแตกต่าง ศึกษาประเทศ

พม่าให้ครบทุกมิติ ดำ�เนินธุรกิจด้วยความเกื้อกูลแบ่งปันกันฉันมิตร เอาใจใส่และคำ�นึงถึงผลประโยชน์ของผู้ร่วมทุน มากกว่ามุ่งแสวงหา ผลกำ�ไรเฉพาะตนเพียงอย่างเดียว

ประการต่อมา นอกจากต้องเข้าใจกฎระเบียบการลงทุนในพม่าอย่างถ่องแท้แล้ว นักธุรกิจไทยยังต้องเข้าใจภูมิศาสตร์และประชากรของ

พม่า ที่แบ่งเขตการปกครองออกเป็นแบบรัฐและเขตปกครองของชนกลุ่มน้อย ตลอดจนศึกษาแนวโน้มการพัฒนาประเทศภายใต้การนำ� ของรัฐบาลพลเรือนที่มีความเป็นประชาธิปไตยและเปิดกว้างมากขึ้น

ประการที่สาม เลือกลงทุนในธุรกิจที่รัฐบาลพม่าสนับสนุน นั่นคือธุรกิจที่เพิ่มประสิทธิผลและศักยภาพการแข่งขันให้กับธุรกิจในประเทศ

ดังนั้น การเข้าไปลงทุนในประเทศที่อยู่บนหนทางปฏิรูปอย่างพม่า นักธุรกิจไทยไม่ควรมุ่งกอบโกยผลประโยชน์เข้าตัว แต่ต้องให้ความ สำ�คัญกับการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กบั ชาวพม่า การพัฒนาทรัพยากรมุษย์ การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน และการพัฒนาระบบ การจัดการให้เป็นมาตรฐานสากล

ประการทีส่ ี่ การสร้างสายสัมพันธ์ทดี่ กี บั เจ้าหน้าทีภ่ าครัฐ ยังเป็นเรือ่ งทีไ่ ม่อาจหลีกเลีย่ งในการทำ�ธุรกิจในพม่า โดยเฉพาะการค้าชายแดน 3


Cover Story : วันทนีย์ เปรื่องวิทยางกูร ไทยกับพม่าหลัง AEC พม่าเป็นประเทศน่าสนใจส�ำหรับตัง้ ฐานการ ผลิตหรืออุตสาหกรรมที่ต้องใช้แรงงานมาก (Labor Intensive Industry) โดยเฉพาะ อย่างยิ่งภายใน 2 – 3 ปีนี้ ความแตกต่าง ด้านค่าแรง ยังน่าจะเป็นปัจจัยดึงดูดให้นัก ลงทุนไทยเข้าไปขยายฐานการผลิตในพม่า โดยเฉพาะธุรกิจสิง่ ทอ ธุรกิจการเกษตรและ แปรรูป อุตสาหกรรมโทรคมนาคม ธุรกิจ

พลังงาน การขนส่งและระบบโลจิสติกส์ รวม ไปถึงความร่วมมือด้านการพัฒนาการศึกษา และฝึ ก อบรม โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง สาขา บริการด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมที่ ไทยมีศักยภาพได้รับการยอมรับระดับโลก น่าจะเป็นกลุ่มธุรกิจไทยที่มีศักยภาพเข้าไป แข่งขันกับประเทศอื่นในพม่าได้ ค�ำถามที่ทั้งภาครัฐและเอกชนไทยต้องร่วม กันค้นหาค�ำตอบก็คือ หลังจากที่พม่ากลาย เป็นฐานการผลิตแหล่งใหม่ของ AEC แล้ว อุตสาหกรรมในประเทศไทยจะด�ำเนินไป อย่างไร เมื่อแรงงานพม่าราคาถูกทยอยเดิน ทางกลับประเทศ ธุรกิจการท่องเทีย่ วในไทย ต้องปรับตัวอย่างไร เมื่อนักท่องเที่ยวต่าง

ชาติกว่า 70% ที่เดิมเคยใช้สนามบินใน ประเทศไทยเป็นจุดเปลีย่ นเครือ่ ง เปลีย่ นรูป แบบการท่องเที่ยวเป็นบินตรงสู่สนามบิน นานาชาติย่างกุ้งแทน ที่ส�ำคัญก็คือทัศนคติ ของคนไทยต่อประเทศพม่าทีเ่ คยมองว่าเป็น ชาติผู้รุกรานควรจะเปลี่ยนเป็นบ้านพี่เมือง น้องรับการเป็นหนึ่งเดียวของ AEC ได้แล้ว หรือยัง และหากในอนาคต AEC ต้องการ เป็ น ฐานการผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารและ สินค้าเกษตรอันดับหนึง่ ของโลก ทุกประเทศ ในอาเซียนจะต้องมีความร่วมมือกันอย่าง จริงจังและเป็นเอกภาพมากขึ้น อาทิ ความ ร่ ว มมื อ พั ฒ นาพั น ธุ ์ ข ้ า วและการตลาด ระหว่างไทยกับประเทศในกลุ่ม CLMV เพื่อ เพิ่มอ�ำนาจต่อรองจากระดับภูมิภาคเป็น ระดับนานาชาติ และลดการแข่งขันระหว่าง กันในตลาดต่างประเทศ

เมือง : เมืองเนปิดอว์ (Naypyidaw) จุดเด่น : เมืองหลวง ธุรกิจที่น่าลงทุน : ธุรกิจท่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหาร และบริการที่เกี่ยวเนื่อง

เมือง : เมืองย่างกุ้ง (Yangon) จุดเด่น : นิคมอุตสาหกรรมที่มีความพร้อมด้านระบบสาธารณูปโภค ผู้บริโภคมีกำ�ลังซื้อสูง ธุรกิจที่น่าลงทุน : อุตสาหกรรมสิ่งทอ ชิ้นส่วนยานยนต์ สินค้าอุปโภค-บริโภค เมือง : เมืองมัณฑะเลย์ (Mandalay) จุดเด่น : ศูนย์กลางเศรษฐกิจทางตอนเหนือ เขตนิคมอุตสาหกรรมใหญ่อันดับ 2 ธุรกิจที่น่าลงทุน : อุตสาหกรรมการผลิต เมือง : เขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย (Dawei SEZs) จุดเด่น : เขตเศรษฐกิจพิเศษและโครงการท่าเรือน�้ำลึก ธุรกิจที่น่าลงทุน : อุตสาหกรรมหนัก-เบา การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน แหล่งลงทุนด้านพลังงาน เมือง : ชายฝั่งทะเลรัฐยะไข่ (Rakhine) จุดเด่น : แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล ธุรกิจที่น่าลงทุน : ธุรกิจท่องเที่ยว

แผนที่ เมืองน่าลงทุน ในพม่า

เมือง : เมืองพุกาม (Bagan) จุดเด่น : แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ ธุรกิจที่น่าลงทุน : ธุรกิจท่องเที่ยว เมือง : เมืองโมกก (Mogok) จุดเด่น : แหล่งอัญมณีโดยเฉพาะทับทิมพม่า ธุรกิจที่น่าลงทุน : ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ

ที่มา: เนื้อหาจากงานสัมมนา

เมือง : เขตเศรษฐกิจพิเศษเมียวดี-แม่สอด (Myawaddy - Maesot SEZs) จุดเด่น : ศูนย์กลางการค้าชายแดน ธุรกิจที่น่าลงทุน : สินค้าอุปโภค-บริโภค 4


บางอร

Country : Brunei Airport : Brunei

: ส่องอาเซียน

Country : Myanmar Airport : Yangon

International Airport Code : BWN City : บันดาร์เสรีเบกาวัน

International Airport Code : RGN City : ย่างกุ้ง

Country : Cambodia Airport : Phnom Penh

Country : Philippines Airport : The Ninoy

Total capacity (million) : 3

Total capacity (million) : 2

Aquino International Airport Code : MNL City : มะนิลา

International Airport Code : PNH City : พนมเปญ

Total capacity (million) : 2

Total capacity (million) : 32.8

Country : Indonesia Airport : Soekarno

Country : Singapore Airport : Changi

–Hatta International Airport Code : CGK City : จาร์กาตา

International Airport Code : SIN City : ซางงี

Total capacity (million) : 73 Highlight : 2013

Total capacity (million) : 62.1 Highlight : World’s

World’s Best Airport

8th Busiest Airport 2013

Country : Thailand Airport :

Country : Laos Airport : Wattay

Suvarnabhumi Airport Code : BKK City : สมุทรปราการ

International Airport Code : VTE City : เวียงจันทน์

Total capacity (million) : 51.3 Highlight : 2011 The

Total capacity (million) : 1.5

6th Busiest in Asia

Country : Malaysia Airport : Kuala

Country : Vietnam Airport : Noi Boi

Lumpur International Airport Code : KLIA City : กัวลาลัมเปอร์

International Airport Code : HAN City : ฮานอย

Total capacity (million) : 47.5 Highlight : World’s

Total capacity (million) : 9.5

Best Airport Immigration Service 2013

5


China Focus : สุภรักษ์ ธนภิญโญ

รู้จและนโยบายภาครั ัก SMEs จี น ฐที่เกี่ยวข้อง Prof. Dr. Tang Zhimin ผู้อ�ำนวยการศูนย์ อาเซียน-จีนศึกษา สถาบันการจัดการปัญญา ภิ วั ฒ น์ ได้ เข้ า ร่ ว มงานประชุ ม วิ ช าการ นานาชาติ Mekong Forum 2013 ทีจ่ งั หวัด ขอนแก่น เมื่อวันที่ 11-12 กรกฏาคม 2556 ซึ่งจัดโดยสถาบันระหว่างประเทศเพื่อการ ค้าและการพัฒนา (itd) ร่วมกับสถาบันความ ร่วมมือเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจลุ่มน�้ำโขง (MI) ภายใต้หัวข้อ “Toward more Inclusive and Equitable Growth in the Greater Mekong Subregion” ในการนี้ Prof. Dr. Tang ได้บรรยายในหัวข้อ “Improving national and regional business facilitation and development service of SMEs” เนือ้ หาทีบ่ รรยายประกอบด้วยความ รู ้ พื้ น ฐานเกี่ ย วกั บ SMEs ของจี น และ นโยบายภาครัฐที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียด ขอบเขตวิสาหกิจ ขนาดกลาง ขนาดย่อม และรายย่อยของจีน

Small and Medium Enterprises (SMEs) คือ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม เป็น วิสาหกิจที่ใช้เงินลงทุนต�่ำและจ�ำนวนการ จ้างงานไม่สงู นักเมือ่ เทียบกับวิสาหกิจขนาด ใหญ่ SMEs มีความคล่องตัวในการด�ำเนิน งานสูง สามารถปรับเปลี่ยนนโยบายการ บริหารได้รวดเร็วสอดคล้องกับสภาพตลาด ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา กล่าวกัน ว่าสัดส่วนของจ�ำนวน SMEs ทั่วโลกมีสูงถึง ร้อยละ 80 ของวิสาหกิจทัว่ โลก ประเทศจีน ก็เป็นอีกประเทศหนึง่ ทีม่ ี SMEs เป็นจ�ำนวน มาก ในปี พ.ศ. 2554 จ�ำนวน SMEs ของ จี น คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 99 ของวิ ส าหกิ จ จี น ทัง้ หมด ช่วยเพิม่ อัตราการจ้างงานถึงร้อยละ 85 และบรรดาผลิตภัณฑ์ของจีนที่ออกมา ใหม่ ในปี พ.ศ. 2554 มีผลิตภัณฑ์ที่มาจาก SMEs ถึงร้อยละ 75 นอกจากนี้รายได้จาก กลุ่มธุรกิจ SMEs คิดเป็นร้อยละ 60 ของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) จีน ทั้งหมด นับว่า SMEs มีส่วนช่วยพัฒนา เศรษฐกิจจีนเป็นอย่างมาก

ตามกฎหมายส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมของจีน ที่ประกาศในปี พ.ศ. 2546 นั้น SMEs ของจีนต้องมีเงื่อนไขที่ สอดคล้องตามที่กฎหมายก�ำหนด ทั้งด้าน มูลค่าของสินทรัพย์ ยอดขาย และอัตรา การจ้างงาน ซึง่ ธุรกิจต่างประเภทกันจะมีขอ้ ก�ำหนดทีแ่ ตกต่างกัน แต่โดยรวมแล้ว SMEs จะมีมูลค่าของสินทรัพย์ต�่ำกว่า 400 ล้าน หยวน ยอดขายต�ำ่ กว่า 300 ล้านหยวน และ มีการจ้างงานต�่ำกว่า 2,000 คน ต่อมาเมื่อ วันที่ 4 กรกฏาคม พ.ศ. 2554 รัฐบาลจีนได้ เพิ่มวิสาหกิจรายย่อย (Micro Enterprise) เข้าไปในกลุ่ม SMEs ด้วย เมื่อแยกประเภท ของธุรกิจ พบว่า วิสาหกิจขนาดกลาง (Medium Enterprise) วิสาหกิจขนาดย่อม (Small Enterprise) จะมีรายละเอียดต่าง กันเล็กน้อย (ดังตาราง)

ประเภทธุรกิจ

วิสาหกิจขนาดกลาง (หยวน)

วิสาหกิจขนาดย่อม (หยวน)

วิสาหกิจรายย่อย (หยวน)

การเกษตร การผลิต-อุตสาหกรรม ค้าปลีก

200 ล้าน > ยอดขาย ≥ 5 ล้าน 400 ล้าน > ยอดขาย ≥ 20 ล้าน 200 ล้าน > ยอดขาย ≥ 5 ล้าน

5 ล้าน > ยอดขาย ≥ 5 แสน 20 ล้าน > ยอดขาย ≥ 3 ล้าน 5 ล้าน > ยอดขาย ≥ 1 ล้าน

ยอดขาย < 5 แสน ยอดขาย < 3 ล้าน ยอดขาย < 1 ล้าน

6


นโยบายของภาครัฐบาลจีนที่เกี่ยวข้องกับ SMEs มีออกมาอย่างต่อเนื่อง เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 สภาประชาชนแห่งชาติจีนได้ ออกกฎหมายส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (Law of SMEs Promotion) ซึง่ ให้คำ� จ�ำกัดความของวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม ระบุถึงการสนับสนุน วิสาหกิจทางการเงิน ส่งเสริมการลงทุนด้าน ใหม่ๆ โดยเฉพาะนวัตกรรมทางเทคโนโลยี การพัฒนาตลาด และการบริการทางสังคม ในปี พ.ศ. 2548 รัฐสภาจีนได้ประกาศ หนังสือแสดงความเห็นเกีย่ วกับการส่งเสริม และแนะน� ำ บริ ษั ท เอกชนเกี่ ย วกั บ การ พัฒนาด้านเศรษฐกิจ (Opinion on Encouraging and Guiding Development of Individually Owned and Private Economy) ซึง่ มีเนือ้ หาเกีย่ วข้องกับการขอ ใบอนุญาต การสนับสนุนทางการเงินและ บริการทางสังคมส�ำหรับบริษัทเอกชน ในปี พ.ศ. 2552 รัฐสภาจีนได้ประกาศ หนังสือแสดงความคิดเห็นต่อการสนับสนุน SMEs เพิ่มเติม (Opinion on Further Promoting SMEs) ซึง่ มีเนือ้ หาเกีย่ วข้องกับ นโยบายของรัฐที่มีต่อ SMEs ในด้านสิ่ง แวดล้ อ ม ด้ า นการเงิ น นวั ต กรรมทาง เทคโนโลยี การปฏิรูปโครงสร้างด้านต่างๆ การพัฒนาด้านการจัดการ และการตลาด การบริการทางสังคม เป็นต้น

ในปี พ.ศ. 2553 รัฐบาลจีนได้ออกประกาศ แสดงความเห็นเกี่ยวกับการส่งเสริมและ แนะน�ำการลงทุนของภาคเอกชนให้มีการ เติบโตอย่างเข้มแข็ง (Opinion on Encouraging and Guiding the Healthy Development of Private Investment) ซึ่ง กล่าวถึงการเข้าสู่การลงทุนด้านต่างๆ ของ ภาคเอกชน ประกอบด้ ว ยการลงทุ น สาธารณู ป โภคและอุ ต สาหกรรมพื้ น ฐาน (น�้ ำ มั น และโทรคมนาคม) การเคหะ สวัสดิการทางสังคม (เช่น ยา การศึกษา และ วัฒนธรรม) การเงิน การค้า และการป้องกัน ประเทศ ในปี พ.ศ. 2554 กระทรวงอุตสาหกรรม และเทคโนโลยี ส ารสนเทศของจี น ได้ ประกาศมาตรฐานส�ำหรับวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม (Standard for SMEs) ซึง่ ก�ำหนดนิยามของ SMEs ในอุตสาหกรรม หลายประเภท อีกทั้งยังมีการกล่าวถึงการ ขยายขอบเขตของ SMEs ซึง่ จะรวมวิสาหกิจ รายย่อยเข้าด้วยกัน นอกจากนี้ กระทรวง อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศยัง ได้ออกแผนพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมฉบับที่ 12 (The 12th 5 Year Plan for SME Development) ซึง่ เป็นแผน พัฒนาระยะเวลา 5 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ.25542558 ระบุถึงเป้าหมายหน้าที่หลัก และ โครงการต่างๆ ที่จะสนับสนุนการพัฒนา SMEs

7

ในปี พ.ศ. 2555 รัฐสภาจีนได้ออกประกาศ แสดงความเห็ น ต่ อ การส่ ง เสริ ม วิ ส าหกิ จ ขนาดย่ อ มและวิ ส ากิ จ รายย่ อ ยให้ มี ก าร เติบโตอย่างเข้มแข็ง (Opinions on Further Supporting Healthy Development of Small and Micro Enterprise) ซึ่งกล่าว ถึงนโยบายสนับสนุนทางการเงิน นวัตกรรม เทคโนโลยี การปฏิรูปโครงสร้างต่างๆ การ พัฒนาด้านการตลาด การจัดการ การรวม กลุม่ อุตสาหกรรม และการบริการทางสังคม เป็นต้น ล่าสุดปี พ.ศ. 2556 กระทรวงอุตสาหกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศของจีนได้ออก ประกาศเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือใน ทางปฏิบัติแก่วิสาหกิจขนาดย่อมและราย ย่ อ ย ซึ่ ง มี จุ ด ประสงค์ ห ลั ก เพื่ อ ส่ ง เสริ ม วิสาหกิจขนาดย่อมและรายย่อยที่เน้นการ ลงทุนในด้านใหม่ๆ มีนวัตกรรมใหม่ และ เน้นการใช้แรงงานคน เป็นต้น จะเห็นได้วา่ ตลอดระยะเวลา 10 ปี ทีผ ่ า่ นมา รัฐบาลจีนได้ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ตลอดจนวิสาหกิจรายย่อย อย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้วสิ าหกิจของจีนเติบโต แข็งแกร่งขึน้ อีกทัง้ การส่งเสริมให้ SMEs “ก้าวออกไป” ลงทุนยังต่างประเทศ เป็น ส่วนหนึ่งของนโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจจีน ซึ่ง SMEs จีนเหล่านี้จะกลายเป็น “คลื่น ทุนจีนยุคใหม่” ที่จะเป็นทั้งคู่แข่งและคู่ค้าที่ สำ�คัญของวิสาหกิจในอาเซียน


China in Loas : วันทนีย์ เปรื่องวิทยางกูร

ประเภทสินค้า ทองแดง และผลิตภัณฑ์จากทองแดง

นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 จีนได้กลายเป็นประเทศนักลงทุนรายใหญ่ ติดอันดับต้นๆ ของ สปป.ลาวมาโดยตลอด การลงทุนของจีนใน สปป.ลาวโดยมากเป็นโครงการขนาดใหญ่ อาทิ อุตสาหกรรม ปูนซีเมนต์ โครงการก่อสร้างเขือ่ น การตัง้ โรงงานไฟฟ้า อุตสาหกรรม เสื้อผ้าและสิ่งทอ อุตสาหกรรมการท�ำเหมืองแร่ เป็นต้น

โลหะผสม เศษและผงแร่โลหะ

ประเทศผู้ลงทุนในลาว สูงสุด 3 อันดับแรก (ระหว่างปี พ.ศ. 2545/46 ถึงปี พ.ศ. 2555/56)

ยางพารา และผลิตภัณฑ์ยางพารา

ปี พ.ศ.

อันดับ 2

1

ไม้ ถ่านไม้ สิ่งทอและเสื้อผ้า ชาและกาแฟ ธัญพืช น�้ำมันสกัดจากเมล็ดและผลไม้ รองเท้า

3

2545/46

จีน

ไทย

มาเลเซีย

2546/47

ออสเตรเลีย

เวียดนาม

ไทย

2547/48

ไทย

ฝรั่งเศส

จีน

2548/49

ไทย

จีน

ญี่ปุ่น

2549/50

จีน

เวียดนาม

ไทย

2550/51

เวียดนาม

ไทย

จีน

2551/52

เวียดนาม

จีน

ไทย

2552/53

เวียดนาม

จีน

ไทย

2553/54

จีน

เวียดนาม

ไทย

2554/55

เวียดนาม

จีน

เกาหลีใต้

2555/56

จีน

เวียดนาม

ไทย

ผัก ภาพรวมอัตราการเติบโต

ในอดีตประเทศไทยเคยเป็นประเทศที่มีมูลค่าการลงทุนสะสมสูง ที่สุดของ สปป.ลาวมาโดยตลอด จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2553 จีนได้ แซงหน้าไทยเป็นครั้งแรกในรอบ 10 ปี ด้วยเงินลงทุนรวมกันเป็น มูลค่ากว่า 3,300 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และในปี พ.ศ. 2555 จีนได้ ระดมทุนอีกกว่า 1,330 ล้านดอลลาร์สหรัฐส�ำหรับโครงการผลิต กระแสไฟฟ้าพลังงานน�้ำและอุตสาหกรรมเหมืองแร่ จากตัวเลข ประมาณการ ณ วันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2557 โดยกระทรวงพาณิชย์ ของจีนระบุว่า ยอดลงทุนสะสมของจีนใน สปป.ลาวมีมูลค่ารวม 5,100 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งท�ำให้จีนกลายเป็นผู้ลงทุนรายใหญ่ ที่สุดของ สปป.ลาวในขณะนี้

ที่มา: Investment Promotion Department, Ministry of Planning and Investment, 2557 หมายเหตุ : ปี พ.ศ. 2546/2547 จีนเป็นผู้ลงทุนรายใหญ่อันดับ 5 รองจากประเทศสวิสเซอร์แลนด์

เช่นเดียวกับประเทศพม่า ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ ใน สปป.ลาวได้ดึงดูดนักลงทุนจากทั่วโลกในฐานะแหล่งวัตถุดิบ ส�ำคัญแหล่งใหม่ส�ำหรับป้อนเข้าสู่กระบวนการอุตสาหกรรม กรณี ประเทศจีนเราจะพบความสัมพันธ์ที่ชัดเจนระหว่างปริมาณสินค้า ส่งออกส�ำคัญจาก สปป.ลาวไปจีนคือ ทองแดงและเศษทองแดง กับ เม็ดเงินลงทุนปริมาณมหาศาลในกิจการเหมืองแร่ของจีน

สัดส่วนการลงทุนของจีนตามประเภทธุรกิจ (ปี พ.ศ. 2553) เหมืองแร่

15%

อุตสาหกรรม

10%

53%

9% 3%

5%

5%

ตามรายงานสถิติการลงทุนของจีนในลาวระหว่างปี พ.ศ. 2543 – 2554 ของกระทรวงวางแผนและลงทุนแห่ง สปป.ลาว (Ministry of Planning and Investment) ระบุวา่ ธุรกิจเหมืองแร่เป็นธุรกิจของ จีนที่มีมูลค่าลงทุนสูงสุด ด้วยเงินลงทุนสะสม 1,936 ล้านดอลลาร์ สหรัฐจากการลงทุนรวม 88 โครงการ ขณะที่ธุรกิจอุตสาหกรรม มี จ�ำนวนโครงการลงทุนมากทีส่ ดุ ถึง 193 โครงการ และมีมลู ค่าลงทุน สะสมรวม 678 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

พลังงาน การเกษตร โรงแรมและ ร้านอาหาร

ที่มา: GSICS Working Paper, 2556

8


อัตราการเติบโตความต้องการนำ�เข้าสินค้าจีน ระหว่างปี พ.ศ. 2533 - 2563 (คำ�นวณจาก 10 อันดับสินค้าส่งออกสูงสุดของลาว) อดีต ปี พ.ศ. 2533 – 2543 2544 – 2554

จีน แผนการก่อสร้าง เส้นทางรถไฟความเร็วสูง ลาว-จีน

ประมาณการ 2555 - 2563

18%

26%

23%

15%

47%

34%

14%

15%

15%

17%

13%

14%

13%

26%

21%

5%

39%

25%

18%

27%

24%

58%

29%

40%

-2%

17%

9%

42%

40%

41%

20%

28%

24%

หลวงน�้ำทา

หลวงพระบาง

วังเวียง โพนโฮง เวียงจันทน์

ที่มา: Montague Lord, 2556

ไทย

อย่างไรก็ดี การลงทุนของจีนในลาวที่ผ่านมาได้ด�ำเนินไปในทิศทาง เดียวกับแผนพัฒนาของ สปป.ลาวมาโดยตลอด ซึ่งท�ำให้ได้รับการ ตอบรับและสนับสนุนจากรัฐบาลลาวเป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเป็นการ ลงทุนในธุรกิจผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานน�้ำ ซึ่งสอดคล้องกับ แผนพัฒนาประเทศของพรรคประชาชนปฏิวัติลาวที่มีเป้าหมาย พัฒนาประเทศให้กลายเป็นผูส้ ง่ ออกพลังงานไฟฟ้ารายใหญ่ทสี่ ดุ ของ เอเชีย (Battery of Asia)

ผล เนื่องจากความขัดแย้งเรื่องกรรมสิทธิ์เหนือทางรถไฟและ ประเด็นผลประโยชน์จากการครอบครองและบริหารจัดการที่ดิน ตลอดสองฝัง่ ทางรถไฟ จนท�ำให้บริษทั ก่อสร้างจีนต้องประกาศถอน ตัวเนื่องจากไม่คุ้มค่าการลงทุน แต่ทางรัฐบาลลาวยังคงยืนยัน ด�ำเนินโครงการต่อ โดยมีแนวโน้มจะขอรับสินเชื่อจากธนาคารเพื่อ การน�ำเข้าและส่งออกของจีน (Exim Bank of China) แลกเปลี่ยน กับผลประโยชน์จากอุตสาหกรรมเหมืองแร่ใน สปป.ลาว

หรือโครงการก่อสร้างทางรถไฟความเร็วสูงระยะทาง 420 กิโลเมตร เชือ่ มระหว่างคุนหมิงกับ สปป.ลาว ตามแผนยุทธศาสตร์ของรัฐบาล กลางจีนที่ต้องการให้ สปป.ลาวเป็นประเทศเชื่อมเส้นทางจากทาง ใต้ของจีน สู่ประเทศกัมพูชา เวียดนาม และไทย ก็สอดรับกับ แนวทางการพัฒนาของ สปป.ลาวทีต่ อ้ งการปรับเปลีย่ นประเทศจาก “Land lock” สู่ประเทศ “Land link”

เป็นที่น่าสังเกตว่า ในขณะที่ประเทศพม่าก�ำลังพยายามลดอิทธิพล ของจีนในอุตสาหกรรมพลังงานด้วยการเปิดรับทุนจากชาติตะวันตกอืน่ ผ่านการปฏิรปู กฎหมายการลงทุนและระบบธุรกรรมทางการ เงินให้เป็นสากลมากขึน้ สปป.ลาวกลับยังต้องพึง่ พิงเทคโนโลยีและ เม็ดเงินจากจีนค่อนข้างสูง ท�ำให้อิทธิพลของจีนใน สปป.ลาวมีแต่ จะทวีความส�ำคัญมากขึ้น นอกจากนี้ ขณะที่อิทธิพลของจีนและ เวียดนามใน สปป.ลาวก�ำลังเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง บทบาททาง เศรษฐกิจของไทยใน สปป.ลาวกลับสวนทางเป็นขาลง เนื่องจาก ขาดการสนับสนุนที่จริงจังและต่อเนื่องจากภาครัฐไทย หรือแม้จะ มีแนวทางความร่วมมือระหว่างประเทศ แต่ก็ขาดนโยบายและ มาตรการรองรับทีช่ ดั เจน ภายใต้สถานการณ์การเมืองและเศรษฐกิจ ภายในประเทศที่ขาดเสถียรภาพ หนทางที่ภาคเอกชนไทยจะยัง ยืนหยัดได้ในสปป.ลาว คงมีเพียงแค่การรวมกลุม่ (Cluster Model) เพื่อช่วยเหลือเกื้อกูลระหว่างกันต่อไป

ด้วยขนาดรางกว้าง 1.435 เมตร รถไฟความเร็วสูงขบวนนี้จะขนส่ง ผูโ้ ดยสารด้วยความเร็วเฉลีย่ ไม่ตำ�่ กว่า 160 กม./ชม. และ 120 กม./ ชม. ส�ำหรับขบวนสินค้า เส้นทางรถไฟมูลค่า 7,200 ล้านดอลลาร์ สหรัฐสายนี้จะผ่านชายแดนลาว-จีนในจังหวัดหลวงน�้ำทา ผ่าน เวียงจันทน์-หนองคาย เข้าสูป่ ระเทศไทย และเปิดประตูมณฑลทาง ใต้ของจีนออกสู่ประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์ในอนาคต แม้ว่าท้ายสุดการร่วมทุนระหว่าง สปป.ลาวและจีนด้วยสัดส่วน 30:70 ตามสัญญา MOU ทีเ่ คยได้รา่ งไว้ในปี พ.ศ. 2553 จะไม่บรรลุ 9


CAS news pix : Prof. Dr. Tang Zhimin ผอ. ศูนย์อาเซียน-จีนศึกษา ได้รับเชิญเป็นวิทยากรร่วม พิธีเปิดสมาคมการค้าไทยหูเป่ย ในหัวข้อ “แนวโน้ม เศรษฐกิจอาเซียน-จีน และ ทิศทางการค้าไทย-หูเป่ย” สมาคมการค้าไทย-หูเป่ย ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 15 สิงหาคม 2556 ประกอบด้วยสมาชิกนักธุรกิจ หูเป่ยรุน่ ใหม่ รวมทัง้ เจ้าของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และนักธุรกิจจากหน่วยงานต่างๆ ของจีนที่เดินทางเข้ามาประกอบ ธุรกิจในเมืองไทย (18 ม.ค. 57)

อ.พิษณุ เหรียญมหาสาร ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโส ศูนย์อาเซียน-จีนศึกษา ร่วมเป็นวิทยากรพิเศษบรรยายในหัวข้อ “เปิดมิตทิ างการค้า โอกาส ทองของการลงทุนในกลุม่ ประเทศ CLMV” ในงานสัมมนา “CP All SMEs Forum 2014: บุกตลาด CLMV ...อนาคต SMEs ไทยใน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” จัดโดยศูนย์บริหารเครือข่าย SMEs บริษทั ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) ศูนย์บม่ เพาะทางธุรกิจ และ คณะ กรรมการธุรกิจค้าปลีกและส่ง สภาหอการค้าไทย (29 ม.ค. 57)

Prof. Dr. Tang Zhimin ผอ.ศูนย์อาเซียนฯ ได้รับเชิญเป็นวิทยากร พิเศษ ในงานประชุมผู้บริหารระดับสูงของธนาคารไอซีบีซี (ไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ประจ�ำปี 2014 โดยมี Mr. Ye Hu (胡晔) ประธาน คณะกรรมบริหาร ICBC ให้เกียรติต้อนรับ ในครั้งนี้ Prof. Dr. Tang ได้บรรยายในหัวข้อ “Cross Cultural Management” ซึ่งยก ตัวอย่างให้เห็นถึงความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรมระหว่างไทยกับ จีน ทั้งลักษณะนิสัย วิธีการท�ำงาน วิธีการสื่อสาร ฯลฯ และชู แนวทางการบริหารแบบปรัชญาตะวันออก (Oriental Wisdom) เช่น หลักการของหมากล้อม หลักการของหยิน-หยาง ที่เน้นการอยู่ ร่วมกันอย่างสันติ เข้าใจในความแตกต่างของวัฒนธรรม และเปิดใจ Prof.Dr.Tang Zhimin ผอ.ศูนย์อาเซียนฯ ร่วมกับอ.Nong Ren- ทีจ่ ะเรียนรูซ้ งึ่ กันและกัน ซึง่ สามารถประยุกต์ใช้ได้ทงั้ การท�ำงานและ yuan และคุณสุกัญญา อิ่มลิ้มทาน อาจารย์ประจ�ำ สถาบันการจัด การด�ำรงชีวิต (24 ม.ค. 57) การปัญญาภิวัฒน์ ส่งผลงานวิจัย “Theory and Practice of อ.พิษณุ เหรียญมหาสาร Work-Based Learning in SE Asian Context:The Case of Prof. Dr. Tang Zhimin PIM” โดยชูจดุ เด่นของรูปแบบการเรียนการสอนแบบ Work-Based และคุณ สุภรักษ์ ธนภิญโญ Learning ที่เป็นเอกลักษณ์ของสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ นักวิจยั ศูนย์อาเซียนฯ ร่วม เสนอในงานการประชุมวิชาการ สมาคมสถาบันการศึกษาขั้นอุดม กับ อ.ธัญสินี เลิศสิริวรแห่งภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (ประเทศไทย) ครั้งที่ 31 ณ พงศ์ ผช.คณบดี วิทยาลัย ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัด เชียงใหม่ โดยจัดขึน้ เพือ่ น�ำเสนอผลงานวิจยั ในหัวข้อ “Education นานาชาติ ร่วมน�ำเสนอบทความในงาน สัมมนายุทธศาสตร์ไทยfor All: Prospects & Challenges” และเพื่อคัดเลือกผลงานวิจัย จีน ครั้งที่ 2 ภายใต้หัวข้อเรื่อง “สองพันล้านพลังสร้างสันติสุข” จัด เป็นตัวแทนประเทศไทยไปน�ำเสนอที่ประเทศศรีลังกา ในเดือน โดยส�ำนักงานวิจยั แห่งชาติ (วช.) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวแห่ง ธันวาคม ทั้งนี้ งานวิจัยชิ้นนี้ ยังได้รับรางวัลยอดเยี่ยมตีพิมพ์ใน สาธารณรัฐประชาชนจีน และสถาบันวิจยั สังคมศาสตร์แห่งประเทศ จีน ณ เมืองเซี่ยะเหมิน ประเทศจีน (17-22 พ.ย. 56) หนังสือของ ASAIHL อีกด้วย (11-12 ต.ค. 56) 10


: CAS news pix คณะวิจยั ศูนย์อาเซียนฯ ได้เดินทางไป ส�ำรวจภาคสนามในประเทศจีน ภาค อีสานและภาคเหนือของไทย เพือ่ เก็บ ข้ อ มู ล ประกอบโครงการวิ จั ย เรื่ อ ง “ยุทธศาสตร์การแข่งขันเพื่อการส่ง ออกข้าวหอมมะลิไทยไปจีน” ภายใต้ แผนงานวิจยั มุง่ เป้าตอบสนองความต้องการพัฒนาประโทศโดยเร่ง ด่วน ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มเรื่องข้าว ในการดูแลของ วช. และ สวก. โดยมี อ.พิษณุ เหรียญมหาสาร ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ศูนย์อา เซียนฯ รับผิดชอบเป็นหัวหน้าโครงการ (พ.ย. 56 – ก.พ. 57)

Prof.Dr. Tang Zhimin ผอ. ศูนย์อาเซียนฯ บรรยายพิเศษในหัวข้อ “Facilitating Internationalization of RMB in Thailannd” ใน งานสัมมนา “การค้าการลงทุนระหว่างประเทศด้วยสกุลเงินหยวน (RMB)” จัดโดย Bank of China สาขากรุงเทพมหานคร โดยระบุ ปัจจัยส�ำคัญ 3 ด้านที่ช่วยขยายธุรกรรมเงินหยวนในประเทศไทย ได้แก่ ระบบท้องถิน่ เพือ่ การช�ำระเงินด้วยสกุลเงินหยวนกับเงินบาท (Local RMB Clearing System) การใช้ประโยชน์จากสัญญาสว๊อป เงินบาทกับเงินหยวนเชิงพาณิชย์ รวมทัง้ การเสนออัตราแลกเปลีย่ น โดยตรงระหว่างเงินสกุลหยวนกับบาท (RMB/Baht Direct Quote) แนวคิดของ Prof.Dr. Tang ยังสอดรับกับข้อเสนอของนายกรัฐมนตรี หลี่ เค่อเฉียง ของจีน ระหว่างเดินทางเยือนไทยเมื่อเร็วๆ นี้ ที่มี แผนการจัดตัง้ ธนาคารช�ำระเงินด้วยสกุลเงินหยวน (RMB Clearing Bank) ในประเทศไทย เพื่อพัฒนาระบบการช�ำระเงินด้วยสกุลเงิน ตราท้องถิ่นของสองประเทศ (24 ต.ค. 56)

ศูนย์อาเซียนฯ ร่วมกับศูนย์ Chinese Alliance Center และ นิตยสารการค้าอาเซียน (东盟商界)จัดงานสัมมนาจีน-อาเซียน (中国东盟论坛)ครั้งที่ 3 ในหัวข้อ “ช�ำแหละจีนศึกษาไทยและ บทบาทในอนาคต” งานนี้ได้รับเกียรติจาก Mr. Lin Xu ประธาน สมาคม Thai Chinese Culture Union ขึ้นกล่าวบรรยายพิเศษใน หัวข้อ 教育心理学与学生想象力创造力 หรือ “จิตวิทยาการเรียน การสอนกับการบ่มเพาะพลังความคิดสร้างสรรค์ให้กับนักเรียน” ส่วนช่วงเสวนา “จุดยืนของจีนศึกษาไทยกับบทบาทในอนาคต” ได้ กูรผู รู้ ดู้ า้ นจีน จากมหาวิทยาลัยชัน้ แนวหน้า 3 แห่งของประเทศไทย มาร่วมวงพูดคุย พร้อมระดมความคิดเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาใน เชิงบูรณาการอย่างเป็นระบบ (24 ต.ค. 56)

ศูนย์อาเซียนฯ และ The Holley Institute of Management จาก จีน ร่วมลงนามโครงการอบรมหลักสูตรระยะสั้นส�ำหรับผู้บริหาร ระดับสูงในไทย ภายใต้ชื่อ “共赢在东盟 Win-Win in ASEAN” น�ำ โดย Mr. Yi Huang Director of Human Resources, Executive Vice President และ Miss. Bella Yu Project Manager ตัวแทน Holley จากจีน Mr. Zhao Bin Vice President Miss. Li Xiaojie และ Miss. Song Ying Sale Representative ตัวแทน Holley ในไทยมาร่วมลงนามและเป็นสักขีพยานด้วย ในครัง้ นี้ นอกจากการ ลงนามสัญญาแล้ว ยังมีการส�ำรวจเส้นทางและสถานที่จริง ส�ำหรับ ใช้จัดอบรมในอนาคตด้วย อาทิ โรงแรม ห้องอาหาร ห้องประชุม/ ห้องเรียน สถานที่ดูงานและพักผ่อนหย่อนใจต่างๆ (28 ก.พ. 57)

Prof. Dr. Tang Zhimin ผู้อ�ำนวยการศูนย์อาเซียนฯ เป็นตัวแทน ลงนามความร่วมมือด้านการศึกษาและงานวิจยั ร่วมกับ ศูนย์ศกึ ษา ภาษาและวั ฒ นธรรมจี น มหาวิ ท ยาลั ย เซี่ ย เหมิ น สาธารณรั ฐ ประชาชนจีน น�ำโดย Mr.Zhao Mingguang ผู้อ�ำนวยการศูนย์ฯ Mrs.Qiu Yonghong ตัวแทนจากศูนย์การเรียนทางไกลสถาบัน ขงจื้อในเขตอาเซียน และ ผ.ศ. Gao Huimin ตัวแทนจากสถาบัน ขงจื้อ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (19 ธ.ค. 56) 11



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.