06 MBA Connected

Page 1

Biz on the Move : เคล็ดลับความส�ำเร็จส่งตรง จากแดนอาทิตย์อุทัย

HR Focus :

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ แบบญี่ปุ่น : Toyota

Consumer Focus :

LUXURY BRANDS ในประเทศญี่ปุ่น


Business System Development Program หลักสูตรเพ�อพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพระบบงานธุรกิจ

หลักสูตรระยะสั้นที่สรางผูเชี่ยวชาญในการออกแบบและพัฒนา ระบบงานธุรกิจบนพื้นฐานของการบูรณาการดานทรัพยากร บุคคล เทคโนโลยี และกระบวนการทางธุรกิจเขาดวยกันอยาง กลมกลืน --------------------------------------------------------------------ทักษะสำคัญทีอ่ งคกรทุกระดับตองมี เพ�อความสำเร็จอยางยัง่ ยืน A key to optimize your margins with ZERO investment A short cut to build up corporate’s core capability

ระยะเวลาอบรม 3.5 เดือน รวม 15 สัปดาห เรียนสัปดาหละ 2 วัน (ทุกวันศุกร-เสาร) ตั้งแตเวลา 09.00 - 16.00 น. จำนวนผูเขาอบรม: ไมเกิน 45 ทาน คุณสมบัติผูสมัคร: สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีไมจำกัดสาขา มีประสบการณการทำงานไมนอยกวา 2 ป ควรมีความถนัดดานการใชคอมพิวเตอร ดานการคำนวณ และการส�อสาร

สมัครเขาอบรม หรือสอบถาม รายละเอียดหลักสูตร

An opportunity to develop a better process with professional mentors เหมาะสำหรับ:

ผูบริหารขององคกรทุกระดับ ผูจัดการโครงการ ผูจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ผูจัดการโรงงาน ผูจัดการบัญชีและการเงิน นักวิเคราะหระบบ พนักงานบริษัทที่ปรึกษาระบบงานธรุกิจ

สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน (PIM) 85/1 หมู 2 ถนนแจงวัฒนะ ตำบลบางตลาด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท

0 2832 0413 bsd@pim.ac.th www.pim.ac.th/bsd

วิทยากรมากประสบการณจากองคกรชั้นนำ - SCG Accounting Services - SCG Logistics Management - KPMG Phoomchai Audit - Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos - Pantavanij - GoSoft (Thailand)

- CP ALL - Pricewaterhouse Coopers Thailand (PwC) - Ernst & Young International - IBM Thailand - Freewill Solutions - ผูเชี่ยวชาญจากสภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ และนักวิชาการผูเชี่ยวชาญดานการพัฒนาระบบงาน จากมหาวิทยาลัยชั้นนำ

Increase your profit with zero investment


ถึงแม้จะประสบกับภัยพิบตั ทิ รี่ า้ ยแรง แต่ญปี่ นุ่ ก็ได้แสดงให้ประจักษ์ตอ่ ชาวโลกว่าคนญีป่ นุ่ มีระเบียบ วินัย มีความเข้มแข็งกล้าหาญ ไม่ตื่นตระหนกตกใจแบบตัวใครตัวมันจนเกิดความโกลาหล ภาพชาว ญี่ปุ่นเข้าแถวรอรับอาหาร น�้ำ และเสื้อผ้าเป็นไปอย่างมีระเบียบเรียบร้อยและสงบนิ่ง (แม้แต่เด็ก เล็กๆ) แสดงออกถึงวัฒนธรรมอันเข้มแข็งล�้ำลึก ที่ส�ำคัญคือจิตใจที่สามัคคีเป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกัน ของคนญี่ปุ่นในการเผชิญหน้ากับภัยพิบัติ โลกไม่ได้เห็นคนญี่ปุ่นหนีปัญหา มีแต่ร่วมกันเผชิญชะตา กรรมเดียวกัน เป็นที่น่าชื่นชมอย่างยิ่ง สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้โลกเห็นถึงคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์ ความส�ำคัญของการศึกษา และการอบรมจิตใจที่ควรเอาเป็นแบบอย่าง อย่างไรก็ตาม การเน้นมองเฉพาะเรื่องการจัดระเบียบทางสังคมของญี่ปุ่นเท่านั้น ยังไม่อาจท�ำให้เรา ล่วงรู้ถึงเหตุที่เป็นพื้นฐานผลักดันให้ญี่ปุ่นประสบความส�ำเร็จทางเศรษฐกิจได้ ประเทศญี่ปุ่นผ่าน มรสุมที่โหมซัดเข้ามาอยู่ตลอด ไม่ว่าจะเป็นสงครามโลกครั้งที่ 2 วิกฤตการณ์น�้ำมันในปี 1973 และ 1978 ภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่แตกภายในประเทศในปี 1985-1989 และโดยเฉพาะอย่างยิ่งสึนามิ ในปี 2011 ที่ยังผลให้ชาวโลกต่างอัศจรรย์ใจและมุ่งความสนใจไปยังประเทศนี้มากขึ้น ทั้งนี้เพราะ ประเทศญี่ปุ่นสามารถจัดการกับปัญหาต่างๆ ที่ดูเหมือนเป็นปัญหาที่แก้ไขได้ยากมากเหล่านั้นได้ สามารถพลิกผันประเทศทีเ่ กือบล่มสลายเพราะแพ้สงครามมาเป็นประเทศทีม่ ศี กั ยภาพในการพัฒนา สูง และจะพัฒนาต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง ญี่ปุ่นมีความโดดเด่นทั้งทางด้านเทคโนโลยี การผลิต การจัด จ�ำหน่าย การขนส่ง โลจิสติกส์ และที่ส�ำคัญคุณภาพของคนในประเทศ แม้ในเอเชียเองบางประเทศ ก็มีเป้าหมายในการพัฒนาประเทศโดยใช้ญี่ปุ่นเป็นต้นแบบ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

คุณก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์ รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อาจารย์พรวิทย์ พัชรินทร์ตนะกุล รศ.ดร.สมโรตม์ โกมลวนิช คุณสยาม โชคสว่างวงศ์ รศ.ดร.เรืองศักดิ์ แก้วธรรมชัย คุณปาริชาต บัวขาว

คอลัมนิสต์กิตติมศักดิ์

ดร.เลิศชัย สุธรรมานนท์ ดร.กิตติ เศรษฐวรพันธุ์ อาจารย์วิเชศ คำ�บุญรัตน์

บรรณาธิการ

ดร.ภญ.ธัญญา สุพรประดิษฐ์ชัย

หัวหน้ากองบรรณาธิการ ธมลวรรณ อัศเวศน์

กองบรรณาธิการ

ภัทรกมล ภู่เจริญ ฑิมภ์พร พรตรีสัตย์ ภัททิรา ภาสะเตมีย์ วรานี จรูญลักษณ์คนา นฤมล ปันเป็ง อรุณรัตน์ มงคลพิทักษ์กุล

ศิลปกรรม

วาร์วี ชานวิทิตกุล เอกภพ สุขทอง จุฬนี ศิริขันธ์

ต้องยอมรับว่าญี่ปุ่นไม่ได้เป็นประเทศที่เต็มไปด้วยความสุข และยังมีปัญหาต่างๆ อยู่ในระดับหนึ่ง อีกทั้งลักษณะเฉพาะของวัฒนธรรมประเพณีของไทยก็แตกต่างจากญี่ปุ่น ดังนั้นเราคงไม่สามารถรับ มาใช้ตามได้อย่างง่ายๆ ในทันที แต่สามารถพิจารณาไตร่ตรองรับเอาแบบแผนบางอย่างมาปรับใช้ ให้ เ ป็ น ประโยชน์ บ นพื้ น ฐานของประเทศของเราได้ ที่ ส� ำ คั ญ ญี่ ปุ ่ น พิ สู จ น์ ใ ห้ เ ห็ น แล้ ว ว่ า การ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างแบบปฏิรูประบบนั้นมีทางเป็นไปได้ การนั่งมองผู้อื่นอาจช่วยให้เราคิดอะไร ออก และบางทีเราอาจจะได้เห็นตัวเราเองจากตรงนั้น เพราะการเดินออกจากตัวเองมามองคนอื่น ก็อาจท�ำให้เราได้เห็นกระจกบานใหญ่ที่ท�ำให้เรามองเห็นตัวเราเองชัดขึ้น สิ่งหนึ่งที่ได้เรียนรู้จาก ประเทศญี่ปุ่นคือ ไม่ว่าจะเกิดปัญหาอะไรก็ตาม วินัยของคนในชาติจะช่วยชาติให้พ้นภัยได้ แต่หาก แม้ว่าจะไม่เกิดปัญหาอะไรขึ้นเลย แต่ถ้าคนในชาติขาดวินัย ชาติก็ล่มจมได้ เราอยากให้นิตยสาร MBA Connected by PIM เป็นเหมือนเทียนอีกเล่มหนึ่งที่มอบแสงสว่างทาง ปัญญาให้กับสังคมไทย การจะน�ำพาประเทศชาติให้ก้าวไปข้างหน้าในระบบเศรษฐกิจปัจจุบัน คง ต้องเป็นเรื่องที่ทุกภาคส่วนต้องร่วมด้วยช่วยกันท�ำ การท�ำงานแบบแยกส่วนแบบเดิมๆ คงไม่ทันต่อ สถานการณ์โลกที่เปลี่ยนไป ทั้งภาครัฐ เอกชน การศึกษา และภาคธุรกิจต้องประสานเป็นเครือข่าย ร่วมมือกันสร้างชาติด้วยการสร้างคนในชาติให้มีคุณภาพ การยกระดับคุณภาพของคนท�ำได้ยาก แต่เป็นสิ่งที่เป็นจริงได้ โดยต้องคิดและท�ำด้วยวิธีการใหม่และรับผิดชอบร่วมกันทุกภาคส่วนจึงจะ ได้ผลลัพธ์ใหม่ที่ดีและคุ้มค่า สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ได้ถูกก่อตั้งขึ้นด้วยจุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาการศึกษา ด้วยการสร้าง องค์ความรู้ใหม่ที่ตอบโจทย์ความต้องการของภาคธุรกิจ รวมทั้งเป็นตัวเชื่อมประสานความร่วมมือ ระหว่างเครือข่ายพันธมิตรในธุรกิจต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนเข้ากับภาคการศึกษา เรามุ่งหวังที่จะ ยกระดั บ คุ ณ ภาพทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ข องประเทศให้ มี ทั้ ง องค์ ค วามรู ้ ท างด้ า นวิ ช าการและมี ประสบการณ์ที่กว้าง หลากหลาย และทันต่อการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาโดยไม่ได้จ�ำกัดอยู่เพียง เฉพาะธุรกิจในกลุ่มบริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) เท่านั้น ดร.ภญ.ธัญญา สุพรประดิษฐ์ชัย บรรณาธิการ

3


ซีพี ออลล์ จัดเสวนาใหญ่ ความร่วมมือระหว่างอาเซียน-จีน

คุณก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์ (กลาง) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ. ซีพี ออลล์ ผู้บริหารเซเว่น อีเลฟเว่น ร้านอิ่มสะดวกของคนไทย เป็นประธานเปิดงานเสวนาใหญ่ความร่วมมือระหว่างสาธารณรัฐ ประชาชนจีนกับภูมิภาคอาเซียน “China & AEC: Partnership Beyond 2015” จัดโดย ศูนย์อาเซียน-จีนศึกษา (cas) ในกลุ่ม ซีพี ออลล์ และมหาวิทยาลัยธุรกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ (UIBE) สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมี เกา เหวินควน (ที่3 จาก ขวา) ที่ปรึกษาเศรษฐกิจและการพาณิชย์ สถานเอกอัครราชฑูต สาธารณรัฐประชาชนจีน ประจ�ำประเทศไทย, หลี่ กวงฮุย (ที่ 3 จากซ้าย) รองผู้อ�ำนวยการ สถาบันการค้าระหว่างประเทศและ ความร่ ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ กระทรวงพาณิ ช ย์ สาธารณรั ฐ ประชาชนจีน และศาสตราจารย์ ดร.ซั่ง ไป่ชวน (ที่ 2 จากขวา) คณบดี สถาบันวิจัยเศรษฐกิจระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยธุรกิจ และเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ร่วมงาน ณ ห้องนภาลัย โรงแรม ดุสิตธานี เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 15 พฤศจิกายน 2555 ถือเป็นงาน เสวนา International Forum ครั้งแรกของศูนย์ CAS ได้รับ ความสนใจจากนักธุรกิจมากมายทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ

4

เมือ่ วันศุกร์ที่ 16 พฤศจิกายน 2555 ดร.ภญ.ธัญญา สุพรประดิษฐ์ชยั เป็นตัวแทน คณะครูอาจารย์/วิทยากรพิเศษ และนักศึกษา MBA รุ่น 5 น�ำเงินไปร่วมบริจาค เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 17,999 บาท ในงานนิทรรศการภาพถ่ายเพื่อผู้พิการทางสายตา “จากตาเราสู่ ใจเขา” หรือ “From My Eyes to Your Heart” ที่จัดขึ้นที่ ศูนย์การค้า Terminal 21 ซึ่งเป็นนิทรรศการภาพถ่ายเพื่อผู้พิการ ทางสายตา ในครั้งนี้เป็นการจัดครั้งแรกในประเทศไทย โดยกลุ่ม ช่ า งภาพอิ ส ระ Escape ร่ ว มมื อ กั บ สมาคมถ่ า ยภาพแห่ ง ประเทศไทยในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ สมาคมคนตาบอดแห่ ง ประเทศไทย และภาควิ ช าประติ ม ากรรม คณะจิ ต รกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยประธานจัดงานนี้มิใช่คนอื่นไกล แต่ คือ ท่านอาจารย์นพพล ชูกลิ่น Managing Director บริษัท รีเทล บิซิเนส โซลูชั่นส์ จ�ำกัด ซึ่งเป็นอาจารย์วิทยากรพิเศษที่เคย มาสอนนักศึกษา MBA รุ่น 5 ในวิชาสัมมนา หัวข้อ Current Issues


ศูนย์พัฒนาเครือข่ายทางธุรกิจ PIM จัดงานเสวนา “Drive Your Organization to Excellence and Sustainability” หรือ ถอดรหัสการขับเคลื่อนสู่องค์กรแห่งความเป็นเลิศและยั่งยืน เมื่อวันศุกร์ที่ 14 ธันวาคม 2555 ณ ห้องสุรศักดิ์ โรงแรม อิสติน แกรนด์ สาทร กรุงเทพฯ เพื่อแนะน�ำเคล็ดลับส�ำคัญในการบูรณา การระบบงานทุ ก ฟั ง ก์ ชั่ น ขององค์ ก รเข้ า ไว้ ด ้ ว ยกั น อย่ า งมี ประสิทธิภาพ และท�ำให้องค์กรธุรกิจทั่วไปเห็นความส�ำคัญของ การมีระบบงานที่มีประสิทธิภาพในองค์กร โดย ได้รับเกียรติจาก คุณพิชัย ชุณหวชิร นายกสภาวิชาวิชาชีพ บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาให้นิยาม และความส�ำคัญของ ระบบงานธุรกิจที่มีประสิทธิภาพในองค์กร รวมถึงความส�ำคัญ ของนักพัฒนาระบบงานธุรกิจ จากนั้น เป็นการเสวนาระหว่างผู้ บริหาร 3 กลุ่มธุรกิจใหญ่ใช้ประเด็นการมีระบบงานธุรกิจใน องค์กรที่ดีจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานระหว่างหน่วยงาน หลักต่างๆ อย่างไร และมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับการ เปลี่ยนแปลงของแต่ละองค์กร ได้แก่ คุณลักษณะน้อย พึ่งรัศมี ผู้อ�ำนวยการอาวุโสส�ำนักงานผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ การเงินการ ลงทุนบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จ�ำกัด (มหาชน) คุณปริศนา ประหาร ข้าศึก ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่บัญชีองค์กร บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) และ คุณไปรเทพ ซอโสตถิกุล กรรมการในเครือ ซีคอน กรุ๊ป และผู้เชี่ยวชาญด้านการวางระบบงานธุรกิจ ซึ่งมีผู้ บริ ห ารจากหลากหลายองค์ ก รให้ ค วามสนใจเข้ า ร่ ว มฟั ง เป็ น จ�ำนวนมาก

ต้อนรับศักราชใหม่ 2556 ด้วยงานสัมมนา “CP ALL SMEs FORUM 2013” เพื่อผู้ประกอบการ SMEs จัดโดยศูนย์บ่มเพาะ ทางธุรกิจ PIM ซึ่งจัดเป็นปีที่ 4 แล้ว ภายใต้ชื่องาน เมื่อวันศุกร์ ที่ 18 มกราคม 2556 ณ Convention Hall อาคารหอประชุม PIM เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการ SMEs มีความรู้ความเข้าใจ ธุรกิจค้าปลีก ให้ข้อมูลความเคลื่อนไหวที่เป็นประโยชน์ในเชิงลึก เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับธุรกิจ SMEs และ เพื่อเป็นการแบ่งปันประสบการณ์และสร้างแรงบันดาลใจในการ ท�ำธุรกิจของผู้ประกอบการ SMEs โดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญทางด้านธุรกิจค้าปลีกตัวจริง คุณปิยะ วั ฒ น์ ฐิ ต ะสั ท ธาวรกุ ล กรรมการผู ้ จั ด การ บมจ.ซี พี ออลล์ บรรยายในหัวข้อ “เปิดประตูสู่ธุรกิจค้าปลีก...อีกหนึ่งทางเลือก ของผู ้ ป ระกอบการ SMEs” และต่ อ ด้ ว ยการเสวนาหั ว ข้ อ “โอกาสของ SMEs กับธุรกิจ E-Commerce ในแบบ 7-Eleven” โดยคุณอ�ำพา ยงพิศาลภพ รองกรรมการผู้จัดการ และคุณ ผรินทร์ สงฆ์ประชา ผู้จัดการฝ่าย E-Commerce บมจ.ซีพี ออลล์ ซึ่งในงานนี้มีการออกบูธจากบริษัทในกลุ่มฯ และผู้ประกอบการ SMEs กว่า 40 บูธ

ปีการศึกษา 2555 นี้ นักศึกษา MBA ทั้ง 3 สาขา ได้รับเกียรติอย่างสูงจากท่านอธิการบดี รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ บรรยายใน เรื่องของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ในหัวข้อ “เตรียมความพร้อม HR ไทย สู่เป้าหมาย HUB ของ Mainland ASEAN” เมื่อ วันเสาร์ที่ 20 ตุลาคม 2555 และมาให้ความรู้ในด้านของเศรษฐศาสตร์ ให้กับนักศึกษาสาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีกและการจัดการ โลจิสติกส์ ในหัวข้อ “วิกฤติการเงินโลกกับการตั้งรับของไทย” เมื่อวันเสาร์ที่ 17 พฤศจิกายน 2555 ซึ่งท่านอธิการบดีก็ไม่ท�ำให้ การรอคอยของนักศึกษาผิดหวัง ให้ความรู้และมองมุมต่างๆ รอบด้านจนลืมเวลากันเลยทีเดียว

รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ กับนักศึกษา MBA S-HRM

รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ กับนักศึกษา MBA RT & LG

5


หลักสูตร MBA

หลักสูตร MBA in Retail Business Management & Logistics Management ปี 1

in Retail Business Management & Logistics Management เตรียมการตั้งรับ

3 พ.ย. 55

คุณจิรบูลย์ วิทยสิงห์ ประธานสมาพันธ์อุตสาหกรรมของขวัญอาเซียน หัวข้อ : การบริหารการตลาดในยุค AEC

3 พ.ย. 55

คุณดวงใจ พันธ์ทวีวรากร

Human Resource Manager Damco Logistics (Thailand) Co., Ltd. หัวข้อ : การพัฒนาองค์การ

10 พ.ย. 55

คุณบุญยิ่ง คงอาชาภัทร

Executive Vice President จาก บริษัท True Value (Thailand) จ�ำกัด

20 ตค.55

คุณชัชวาล โรจนประไพ

ผู้อ�ำนวยการฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ บริษัท คาโอ คอมเมเชียล (ประเทศไทย)

หัวข้อ : การบริหารเชิงกลยุทธ์ Strategic Executive

27 ตค.55

คุณเวโรจน์ ลิ้มจรูญ

ผู้อ�ำนวยการอาวุโสสายงานทรัพยากรบุคคล บริษัท บ้านปู จ�ำกัด (มหาชน)

หัวข้อ : เมื่อองค์กรไทยก้าวสู่ International ด้วยกลยุทธ์การ จัดการองค์การที่มีประสิทธิภาพสูง

27 ตค.55

อาจารย์พรวิทย์ พัชรินทร์ตนะกุล

หัวข้อ : อนาคตธุรกิจไทยสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

18 พ.ย. 55

คุณทรงพล ชีวะปัญญาโรจน์

รองกรรมการผู้จัดการ สายงานผลิตภัณฑ์บรรษัทและ ผู้ประกอบการ ธนาคาร กสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) หัวข้อ : ความพร้อมของตลาดเงินและตลาดทุนไทยใน การเข้าสู่ AEC

สำ�หรับวิทยากรพิเศษในรอบนี้ของหลักสูตร จะเห็นได้ว่าทาง MBA-SHRM ตั้งใจเน้นด้าน การปฏิบัติเชิงกลยุทธ์ และการเตรียมการของ องค์กรในรูปแบบต่างๆ

รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

หัวข้อ : ความสามารถในการแข่งขัน...ที่แข็งแกร่ง ด้วยกลยุทธ์การจัดการองค์การประสิทธิภาพ สูงแบบเยอรมัน

หลักสูตร MBA in Retail Business Management & Logistics Management ปี 2

27 ตค.55

หัวข้อ : AEC กับผลกระทบวิชาชีพการเงินและบัญชี

24 พย 55

3 พย. 55

27 ม.ค. 56

รองผู ้ อ� ำ นวยการฝ่ า ยวางแผนเทคโนโลยี สารสนเทศ ธนาคารกสิกรไทย

รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) หัวข้อ : กลยุทธ์การสรรหา คัดเลือก และการใช้ Net working อย่างมีประสิทธิภาพ

18 พ.ย. 55

คุณจินตนา เตชะมนตรีกุล

หุ้นส่วนผู้จัดการ ส�ำนักงานสอบบัญชี ซี แอนด์ เอ

คุณเกรียงชัย บุญโพธิ์อภิชาติ

Head of Finance and Investor Relations บริษัท ซีพีออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) หัวข้อ : แนวโน้มและโอกาสธุรกิจค้าปลีกก้าวสู่ตลาด AEC

คุณอนุเชฏฐ์ วงศ์สายัณห์

หัวข้อ : e-Commerce & Bank 4 Tomorrow

นักวิชาการภาษีช�ำนาญการ ส�ำนักบริหารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่ หัวข้อ : กรมสรรพากร กระทรวงการคลัง กฎข้อ บังคับในการประกอบธุรกิจของประเทศไทย

3 ก.พ. 56

คุณภาณุมาศ ศรีสุข

ที่ ป รึ ก ษาส� ำ นั ก กรรมการผู ้ จั ด การใหญ่ บริษัท เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น จ�ำกัด

คุณสยาม โชคสว่างวงศ์

อดีตกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั มาลีสามพราน จ�ำกัด (มหาชน)

หัวข้อ : แลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านการบริการระบบ สารสนเทศเพื่อการด�ำเนินธุรกิจร้านสะดวกซื้อ

ดร. วินิจ วิเศษสุวรรณภูมิ

หัวข้อ : การบริหารค่าจ้าง ตามแนว International Company (ยุโรป)

Deputy Head, Software Engineering (MIS & CRM) บริษัท โกซอฟท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

อดีตรองปลัดกระทรวงพาณิชย์และที่ปรึกษาด้าน การศึกษา บมจ. ซีพี ออลล์

3 ก.พ. 56

Compensation Manager, บริษัท เบเยอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

4 พย.55

คุณชไมพร สุธรรมวงศ์

หัวข้อ : ศักยภาพของประเทศไทยในการเป็น ศูนย์กลางโลจิสติกส์อาเซียน

คุณสุทัศน์ อุดมโสภกิจ

1 ธค. 55

27 ม.ค. 56

คุณพิษณุ เหรียญมหาสาร

คุที่ปณ บรรจง จิตต์แจ้ง รึกษา บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) และ

หัวข้อ : กลยุทธ์การจัดการองค์การประสิทธิภาพสูง สไตล์ญี่ปุ่น : ความเติบโตอย่างยั่งยืน

26 มกราคม 2556

4 พย.55

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท อีซี่ส์ อินเตอร์เนชั่นแนล แฟรนไชส์ จ�ำกัด หัวข้อ : กลยุทธ์และกระบวนการสร้างโอกาสทาง ธุรกิจโดยผ่านระบบแฟรนไชส์

Asia Pacific Global Production Center, Toyota Motor Thailand Co., Ltd. หัวข้อ : การบริหารทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ในบริบท วัฒนธรรมองค์กร สไตล์ญี่ปุ่น

คุณสุภัค หมื่นนิกร

27 มกราคม 2556

คุณอภิชาติ เจียรสาธิต

Policy and Plan Analyst Office of the PRIME MINISTER

คุDirector, ณสุHuman ทิน Resource เห็นประเสริ ฐ Development

6 มค 56

คุผู้จัดณการฝ่ปภิ ญญา ทานสัมฤทธิ์ ายพัฒนาและส่งเสริมการเรียนรู้ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) หัวข้อ : พัฒนาผู้น�ำและผู้มีความสามารถสูง สู่การแข่งขันระดับสากล

หัวข้อ : อนาคตธุรกิจขนส่งเพื่อเปิดรับ AEC

หัวข้อ : นโยบายด้านโลจิสติกส์จากสภาพัฒน์ เพื่อการแข่งขัน ในเวทีอาเซียนของบริษัทโลจิสติกส์ไทย

3 ก.พ. 56

27 มกราคม 2556

20 มค 56

Assistance Director Supply Chain Management บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

ผู้จัดการฝ่ายคลังสินค้า บริษัท วี-เซริ์ฟกรุ๊ป จ�ำกัด

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ส�ำนักพัฒนาบุคคลและ ระบบคุณภาพ บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน)

คุณอนวัช เพ็งอุดม

หัวข้อ : กลยุทธ์การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานใน สถานการณ์วิกฤติ

6

กับกระแส AEC ที่ก�ำลังจะเข้ามาใน เวลาอันใกล้นี้ ดังนั้น จึงได้เรียน เชิญวิทยากรพิเศษมากมายมาให้ ความรู้กับเหล่านักศึกษาในหัวข้อที่ เกี่ยวกับ AEC โดยมีวิทยากรพิเศษ และหัวข้อที่น่าสนใจมากมายดังนี้

หลักสูตร MBA in Strategic Human Resource and Organization Management

คุณส�ำเริง อินทร์วงษ์

หัวข้อ : นวัตกรรมการจัดการคลังสินค้า

คุณปัทมา เอื้ออรรถการ

หัวข้อ : กลยุทธ์การฝึกอบรมและพัฒนา สู่...เป้าหมาย 1 หมื่น สาขา


วันที่ 13 พฤศจิกายน 2555

คุณ เสกสรรค์ ดารากร ณ อยุธยา

ผู้อำ�นวยการพัฒนาเครือข่ายจัดจำ�หน่าย และทีมผู้บริหาร จากบริษัท ปูนซิเมนต์ ไทย จำ�กัด (มหาชน)

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2555 ทีมผู้บริหารจากบริษัท ปตท.บริหารธุรกิจค้าปลีก จำ�กัด

วันที่ 18 ธันวาคม 2555 ทีมผู้บริหารจาก บริษัท ปตท.จำ�กัด (มหาชน)

วันที่ 13 พฤศจิกายน 2555

ทีมผู้บริหารจาก บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)

วันที่ 4 ธันวาคม 2555

ดร.สิทธิวัฒน์ กำ�กัดวงษ์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ และทีมผู้บริหาร จาก บริษัท หลักทรัพย์ ดีบีเอส วิคเคอร์ส ( ประเทศไทย ) จำ�กัด

วันที่ 17 ธันวาคม 2555 ทีมผู้บริหารจากบริษัท ซีเอฟจี เซอร์วิส จำ�กัด (“ศรีสวัสดิ์ เงินติดล้อ”)

วันที่ 16 มกราคม 2556

คุณเกสรา รัตนภูวกิจ

Human Resources Manager บริษัท เอช ไทย (ประเทศไทย) จำ�กัด หรือ ผู้ผลิตเสื้อผ้าแบรนด์H&M

วันที่ 25 มกราคม 2556 ทีมผู้บริหาร บริษัท ผลิตภัณฑ์บิค (ประเทศไทย) จำ�กัด และทีมผู้บริหาร บริษัท นาโนเมด อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด

7


ก้าวสู่ความเป็น “มืออาชีพ” ด้วยการเรียนรู้จาก “มืออาชีพตัวจริง” Create professionals by professionals

ร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับห้องเรียน MBA

ในแบบ “Real World Practice – Oriented” เรียนผ่าน Current Business Issues ที่เชื่อมโยงทฤษฎีสู่การแก้ปัญหาธุรกิจในภาคปฏิบัติ โอกาสในการสร้างเครือข่ายเพื่อต่อยอดความร่วมมือทางธุรกิจ เรียนรู้จากคณาจารย์ชั้นนำ� และผู้บริหารมืออาชีพ

เปิดรับสมัครนักศึกษา

และผู้ที่ต้องการสอบชิงทุนการศึกษาตั้งแต่บัดนี้ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

โทรศัพท์ : 02 832 0280 โทรศัพท์มือถือ : 081 481 7317 E-mail : mba@pim.ac.th website : www.pim.ac.th/mba 85/1 หมู่ 2 ถนนแจ้งวัฒนะ อำ�เภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 M.B.A. in Strategic

Human Resource and Organization Management

สู่เส้นชัยความสำ�เร็จ ด้วยกลยุทธ์การบริหารทีมงานและองค์กรอย่างมืออาชีพ

M.B.A. in Business

Administration Logistics Management

เกาะติดกระแสโลจิสติกส์ เพื่อตอบโจทย์ธุรกิจอย่างทันท่วงที

M.B.A. in Business

Administration Retail Business Management รู้จริง ทำ�จริง จากมืออาชีพตัวจริง


วันนี้ ญี่ปุ่นถือเป็นประเทศมหาอ�ำนาจที่ทรง

อิทธิพลประเทศหนึ่งในโลก แต่กว่าญี่ปุ่นจะก้าว ขึ้นมาเป็นมหาอ�ำนาจอันดับต้นๆ ของโลกไม่ ใช่ เรื่องง่าย และหัวใจส�ำคัญที่ผลักดันให้ประเทศ ญี่ปุ่นก้าวมาได้ถึงวันนี้ คือ “คน” Cover Story ฉบับนี้ จะน�ำเสนอวิธีการสร้าง และพัฒนาคนแบบฉบับญี่ปุ่น โดยได้รับเกียรติ จาก รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อธิการบดี สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ (PIM) มาร่วม วิเคราะห์มุมมองต่างๆ ที่ท�ำให้ประเทศญี่ปุ่น ประเทศขนาดกลางๆ เล็ ก ๆ จากเกาะกลาง มหาสมุ ท รแปซิ ฟ ิ ค กลายเป็ น ประเทศที่ ท รง อิทธิพลระดับโลก

9


สร้าง “คน” ให้เต็ม “คน” แบบญี่ปุ่น คนญีป่ นุ่ ถูกหล่อหลอมให้มคี วามรับผิดชอบ ต่อตนเองมาตั้งแต่เด็กๆ เริ่มจากสถาบัน แรกคือสถาบันครอบครัว พ่อแม่เน้นให้ลูก ดูแลตัวเอง เด็กๆ ต้องไปโรงเรียนเองซึง่ ส่วน ใหญ่เรียนใกล้บ้าน จึงมักจะเดินหรือไม่ก็ขี่ จักรยานไปโรงเรียนเอง ถ้าเด็กคนไหนให้พอ่ แม่ไปส่งทีโ่ รงเรียนนีถ่ อื เป็นเรือ่ งน่าอายมาก เมือ่ เข้าโรงเรียน เด็กนักเรียนญีป่ นุ่ ได้รบั การ ปลูกฝังให้มคี วามรับผิดชอบ โดยเฉพาะหลัง การเลือกตั้งล่าสุด (16 ธันวาคม 2556) ที่ รัฐบาลญี่ปุ่นเข้ามารับต�ำแหน่ง ก็ได้มี Education Reform หรือ ปฏิรูปการศึกษา ซึ่ง จุดเด่นที่แตกต่างไปจากเดิม คือเน้นให้เด็ก นั ก เรี ย นญี่ ปุ ่ น ที่ เรี ย นอยู ่ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษา ทุกคนต้องเรียนและฝึกงานไปด้วย สัปดาห์ ละ 1 วัน เพื่อจะได้รู้จัก เรียนรู้และรักการ ท�ำงาน จะได้เติบโตขึ้นมาเป็นผู้ใหญ่ที่มี ความรับผิดชอบและมีวุฒิภาวะ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญ ส�ำหรับการศึกษาญี่ปุ่นอีก 3 ด้าน ได้แก่ 10

1. ปีการศึกษา 2556 เป็นต้นไป ภาคการ เป็นจริงๆ หลังจากนัน้ ก็จะค่อยๆ เติบโตขึน้ ศึกษาญีป่ นุ่ จะเริม่ เปิดเรียนตามโลกตะวันตก ไปเป็นผู้บริหาร คือช่วงเดือนกันยายน สิ่งที่ถือว่าเป็นเสน่ห์ในการท�ำงานของคน 2. จะรวบหลักสูตรเพื่อให้ระยะเวลาเรียน ญี่ปุ่นคือคนญี่ปุ่นมี Sense of Belongings สัน้ ลงจากเดิมมัธยมศึกษา 6 ปี อาจจะเหลือ คือมีความรู้สึกเป็นเจ้าของสูง Loyalty มี เพียง 5 ปี ความภักดีต่อองค์กรสูง และเกิดเป็นการ ท�ำงานแบบ Life-time Employment คือ 3. เพิ่มความเข้มข้นของหลักสูตร โดยเน้น คนญี่ ปุ ่ น มั ก จะท� ำ งานที่ เ ดี ย วจนกระทั่ ง STEM คื อ Science, Technology, เกษียณ นอกจากนี้คนญี่ปุ่นยังเป็นชาติที่มี Engineering และ Mathematics Seniority คือการนับถือกันตามล�ำดับขั้น ส�ำหรับการเริ่มท�ำงาน จากค่านิยมว่าไม่ สูง เห็นได้ชัดจากความแตกต่างด้านภาษา จ�ำเป็นต้องเรียนในระบบการศึกษาให้สูง ที่ใช้ หากพูดกับคนรุ่นเดียวกันจะเป็นแบบ มาก คนญี่ปุ่นจึงไม่นิยมเรียน MBA เพราะ หนึง่ พูดกับคนทีอ่ าวุโสกว่าก็จะเป็นอีกแบบ เชือ่ ว่าการเรียนรูท้ ดี่ ที สี่ ดุ คือการได้ลงมือท�ำ หนึ่ง รวมถึงท่าทีในการแสงออกก็จะแตก จริงๆ กล่าวคือคนญี่ปุ่นเน้น Work-based ต่างกันอีกด้วย Learning การเรียนรู้ผ่านการท�ำงาน ไม่ใช่ Text-based Learning การเรียนรู้ผ่าน ไทย-ญี่ปุ่น ต�ำรา ดังนั้นเมื่อคนญี่ปุ่นทุกคนเริ่มท�ำงาน แตกต่างไม่แตกแยก จะถือว่าเริม่ นับหนึง่ เท่ากันหมด ทุกคนต้อง เวียนไปท�ำงานในแผนกต่างๆ จนครบทุก คนไทยมีวัฒนธรรมที่แตกต่างจากคนญี่ปุ่น แผนก เพื่อจะได้เห็นภาพงานในองค์รวม ค่อนข้างมาก เริ่มตั้งแต่ครอบครัว พ่อแม่ โดยแต่ละแผนกจะต้องท�ำงานแบบ Func- ส่ ว นใหญ่ มี ลู ก แค่ 1-2 คน จึ ง ดู แ ล tionalism คือต้องรู้แบบรู้จริง และท�ำงาน ประคบประหงมลูกมาก พอเด็กไทยโตขึ้น


มาก็มักเป็นเด็กที่มีความเป็นปัจเจกบุคคล สูง เช่น อยู่กับพ่อแม่แต่ก็ยังนั่งเล่นมือถือ ตอนเรียนหนังสือก็เน้นเรียน ไม่ได้มกี จิ กรรม ใดๆ ที่จะช่วยให้เกิดความสัมพันธ์อันดีกับ บุคคลอื่น พอจบมาท�ำงานก็ท�ำงานไม่ตรง สาย และสิ่งที่ถือเป็นจุดแตกต่างอย่างเห็น ได้ชัดคือคนไทยไม่ค่อยมี Loyalty ความ ภักดีต่อองค์กร จึงเปลี่ยนงานบ่อย ท�ำงาน ไปสัก 2-3 ปีกเ็ ปลีย่ นงาน ซึง่ ก่อให้เกิดความ เสียหายต่อองค์กรมาก เพราะการทีจ่ ะสอน และสร้างให้พนักงานหนึ่งคนท�ำงานเป็น และท�ำงานได้อย่างดีนั้นต้องลงทุนทั้งเงิน และเวลา เมื่อปัจจุบันเกิด Collective Culture คือ วัฒนธรรมแบบรวมกลุ่ม มีการแลกเปลี่ยน วัฒนธรรม โดยหนึ่งในประเทศที่เข้ามามี บทบาทต่อประเทศไทยอย่างมากก็หนีไม่ พ้นประเทศญี่ปุ่น แต่ความแตกต่างหลาย ด้าน ทัง้ คนไทยและคนญีป่ นุ่ ต่างก็ตอ้ งปรับ ตัวเพือ่ ให้สามารถท�ำงานและใช้ชวี ติ อยูร่ ว่ ม กันได้ หากย้อนกลับไปเมื่อ 50 ปีที่แล้ว ช่วงแรก ที่ญี่ปุ่นเริ่มเข้ามามีบทบาทในประเทศไทย ปฏิกิริยาในเวลานั้นคือคนไทยต่อต้านคน ญี่ปุ่น สินค้าญี่ปุ่น บริษัทญี่ปุ่นและประเทศ ญี่ปุ่นเป็นอย่างมาก จนประเทศญี่ปุ่นต้อง ลุ ก ขึ้ น มาเปลี่ ย นแปลง เพื่ อ ให้ ค นไทย

ยอมรั บ ซึ่ ง ประเทศญี่ ปุ ่ น ได้ ส ร้ า งความ เปลี่ยนแปลงใน 4 ด้านด้วยกัน ได้แก่ 1. Country Image ประเทศญีป่ นุ่ ให้คการ ช่วยเหลือประเทศไทยหลายเรื่อง เช่น ให้ โอกาสเด็กไทยได้ไปศึกษาต่อที่ประเทศ ญี่ปุ่น 2. Company Image บริษัทญี่ปุ่นที่เข้า มาท�ำธุรกิจในประเทศไทย ต้องมีความชอบ ธรรม ไม่กดขี่แรงงาน และเริ่มท�ำกิจกรรม เพื่อสังคม (CSR - Corporate Social Responsibility) 3. Product Image ผลิตสินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพ สูง จากการเป็นผูผ้ ลิตสินค้าซึง่ ส่วนใหญ่เป็น สินค้าคุณภาพต�่ำหรือไม่ก็เป็นของปลอม ก็ เปลีย่ นไปสูป่ ระเทศผูผ้ ลิตสินค้าคุณภาพสูง 4. People Image จากเดิมที่คนญี่ปุ่นจะ มีลักษณะกระโชกโฮกฮาก ก็เปลี่ยนมาเป็น ยิ้มง่าย เคารพสิทธิของผู้อื่น และมีความ สุภาพมากขึ้น หลังจากนั้นมาความสัมพันธ์ ระหว่างคนไทยกับคนญีป่ นุ่ ก็ดขี นึ้ เป็นอย่าง มาก

หัวใจหลักในการเปลี่ยนแปลงมีอยู่ 4 อย่าง ได้แก่ 1. Credibility พนักงานในทุกระดับต้อง มีความน่าเชื่อถือ 2. Respect ลูกน้องต้องเคารพหัวหน้า ใน ขณะเดียวกันหัวหน้าก็ต้องเคารพลูกน้อง หัวหน้าต้องท�ำให้ลูกน้องรู้สึกว่าเขาส�ำคัญ 3. Fairness ในองค์กรต้องมีความยุตธิ รรม 4. Vision ผู้น�ำองค์กรต้องมีวิสัยทัศน์ที่ดี ท�ำให้ลกู น้องมัน่ ใจว่าเขาจะน�ำองค์กรได้ อีก สิ่งที่มีความส� ำ คัญไม่แพ้ กั นก็คือเรื่องผล ตอบแทนและสวัสดิการต่างๆ คนท�ำงาน ควรจะได้รับผลตอบแทน และสวัสดิการที่ สมเหตุ ส มผล สิ่ ง เหล่ า นี้ เ องจะสามารถ รักษาคนให้ท�ำงานกับองค์กรได้นาน

บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) เป็น องค์ ก รขนาดใหญ่ ที่ มี ก ารเติ บ โตสู ง ซึ่ ง แน่นอนว่าหนีไม่พ้นปัญหาในเรื่องของคน เช่นกัน พนักงานหลายคนมาท�ำงานไม่นาน ก็ลาออก บริษัทเองก็เสียหาย และองค์กร พันธมิตรหลายพันบริษัทของเรา ทุกบริษัท ต่างก็ประสบปัญหาเดียวกันทัง้ สิน้ ทางกลุม่ ก้าวใหม่แห่งการเปลีย่ นแปลง ซีพี ออลล์จึงตัดสินใจตั้งสถาบันการจัดการ ของคนไทย ปัญญาภิวัฒน์ขึ้นมา ไม่ใช่เพราะต้องการ อย่างไรก็ตามคนไทยเองก็ต้องปรับตัวเช่น สร้างคนให้มาท�ำงานกับเรา แต่ต้องการ กัน วิธีการปรับตัวที่ดีที่สุด ต้องเริ่มตั้งแต่ สร้างคนให้กับภาคธุรกิจอย่างยั่งยืน สถาบันครอบครัว เพราะเป็นสถาบันแรกที่ จุดเด่นของ PIM เน้นการเรียนรู้ควบคู่กับ มีหน้าที่หล่อหลอมเด็ก หลังจากนั้นจึงเป็น การท�ำงาน (Work-based Learning) เพื่อ หน้าทีข่ องสถานศึกษา ตัง้ แต่ระดับโรงเรียน ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ เ กิ ด การเรี ย นรู ้ จ ากการ จนถึงระดับมหาวิทยาลัย สถานศึกษาต้อง ท�ำงาน เมื่อจบแล้วก็ท�ำงานเป็น ซึ่งบริษัท เน้นสร้าง Human Relationship คือความ พันธมิตรต่างๆ ก็มองถึงความส�ำคัญในการ สัมพันธ์อันดีระหว่างเพื่อนนักเรียนด้วยกัน สร้างคน ต่างก็ชว่ ยกันมาร่วมแชร์องค์ความ ให้ เ ด็ ก ทุ ก คนเรี ย นรู ้ ก ารท� ำ งานเป็ น ที ม รู้ แชร์ประสบการณ์จากภาคธุรกิจ ท�ำให้ นอกจากนีย้ งั ควรเน้นสร้าง TSR - Teacher นักศึกษามีความรู้กว้างนอกเหนือจากใน Student Relationship หรือความสัมพันธ์ ต� ำ ราเรี ย น อี ก สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ว างแผนไว้ ใ ห้ อันดีระหว่างครูกับนักเรียน เน้นให้ครูมี นักศึกษาคือโอกาสการเติบโตในหน้าที่การ บทบาทมากกว่าการเป็นผู้สอน แต่มีส่วน งาน หรือ Career Path เพราะหากเขามอง ช่วยในการเป็นแบบอย่างทีด่ ี และอบรมเด็ก เห็นเส้นทางการเติบโตของตัวเองในการ ทุกเรือ่ ง หลังจากเรียนจบก็ยงั ไปมาหาสู่กนั ท�ำงาน เขาก็จะไม่อยากไปไหน ซึ่งอยาก ได้ สิ่งเหล่านี้จะเป็นการเตรียมความพร้อม ฝากให้ทกุ องค์กรช่วยกัน คนละเล็กละน้อย ให้เด็กๆ ก่อนที่จะเริ่มท�ำงาน ส�ำหรับตัว เพื่อจะได้สร้างเด็กไทยที่เก่ง และมีความ สามารถไม่แพ้เด็กชาติใดในโลก องค์กรธุรกิจเองก็ต้องช่วยกัน 11


เคล็ดลับความส�ำเร็จส่งตรงจากแดนอาทิตย์อุทัย ในประเทศไทยมีบริษัทข้ามชาติหลายบริษัทเข้ามาลงทุน และนาทีนี้คงปฏิเสธไม่ได้ว่าบริษัทสายเลือดญี่ปุ่นอย่างบริษัท คาโอ คอมเมอร์เชียล (ประเทศไทย) จ�ำกัด ถือเป็นบริษัทต่างชาติอันดับต้นๆ ที่ประสบความส�ำเร็จอย่างท่วมท้น ส�ำหรับ Biz on the Move ฉบับนี้ จะล้วงลึกถึงกลยุทธ์เด็ดที่ท�ำให้คาโอผงาดอยู่ ในวงการสินค้าอุปโภคได้กว่าครึ่งศตวรรษ

ความส�ำเร็จของ KAO ตามหลัก Yoki-Monozukuri

คาโอ (Kao) บริษัทชั้นน�ำด้านผลิตภัณฑ์ดูแลความ สะอาดครัวเรือนและชีวิตประจ�ำวัน ซึ่งก่อตั้งใน ญีป่ นุ่ มายาวนานกว่า 120 ปี และเป็นเวลาเกือบ 50 ปีที่บริษัท คาโอ คอมเมอร์เชียล (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้เข้ามาร่วมสร้างสรรค์ความสะอาด ความ งาม และสุขอนามัยที่ดีแก่ชาวไทย ภายใต้แบรนด์ ในเครือคาโอ ซึ่งหลายคนคุ้นเคยเป็นอย่างดี เช่น แฟซ่า บิโอเร เมจิกคลีน แอทแทค ลอรีเอะฯลฯ

Yoki-Monozukuri คือ หัวใจ ส�ำคัญของการด�ำเนินธุรกิจ

แก่นแท้ของแนวคิดนี้ คือการค้นหาความพึงพอใจ สูงสุดของผูบ้ ริโภคทีต่ อ้ งการจากผลิตภัณฑ์แล้วน�ำไป พัฒนาอย่างมีระบบ จนน�ำไปสู่ระบบการผลิตสินค้า ให้ได้คุณภาพสูงมีประโยชน์ตรงตามความต้องการ และสอดคล้องกับสไตล์การใช้ชวี ติ ของผูใ้ ช้แต่ละกลุม่ อีกทั้งเรายังน�ำผลก�ำไรย้อนกลับไปลงทุนวิจัยพัฒนา สินค้าให้ดยี งิ่ ขึน้ ซึง่ จะส่งผลดีกบั ทัง้ คูค่ า้ และผูบ้ ริโภค เพราะพวกเขาจะรูส้ กึ ว่า ก�ำลังจะได้สนิ ค้าทีด่ ยี งิ่ ๆ ขึน้ ไป โดยเรายึดมั่นในความจริงใจต่อผู้บริโภคเป็น ส�ำคัญ และเราได้ด�ำเนินนโยบายการพัฒนาสินค้า ควบคู่ไปกับการรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม อีกด้วย

ตั ว อย่ า งที่ เ ห็ น ได้ อ ย่ า งชั ด เจนจาก 3 ประเภท ผลิตภัณฑ์ที่เราสามารถตอบโจทย์ได้ตรงใจผู้บริโภค ท�ำให้สินค้าดังกล่าวได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี ตัวแรก คือ ครีมกันแดดบิโอเร ยูวี ทีม่ ยี อดขายเป็น อันดับ 1 ในญี่ปุ่น แต่พอตั้งใจน�ำมาจ�ำหน่ายที่นี่ ก็ ต้องเริม่ ต้นจากการศึกษาพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคชาว ไทยอีกครัง้ ภายใต้เงือ่ นไขด้านสภาพแวดล้อมทีแ่ ตก ต่างออกไปจากญีป่ นุ่ เพราะประเทศไทยมีแดดทีแ่ รง กว่า จึงต้องการครีมที่มีค่า SPF และประสิทธิภาพในการป้องกัน รังสี UVA, UVB สูงมากๆ แต่ต้องไม่เหนียวเหนอะหนะเวลาเหงื่อ ออก และควรมีเนื้อครีมที่บางเบาสามารถทาทับเครื่องส�ำอางได้ โดยไม่เป็นคราบ ซึง่ คาโอก็มเี ทคโนโลยีในการผลิตครีมกันแดด SPF 50 แต่เนือ้ บางเบามาก ซึง่ ตอบโจทย์ความต้องการของสาวออฟฟิศ ที่ต้องเดินออกไปเจอแสงแดดภายนอก แล้วจึงกลับมาซับหน้าเติม บริษัททุ่มเททั้งด้านทรัพยากรบุคคล (นักวิจัย) และลงทุนกับ เครือ่ งส�ำอางอีกครัง้ ท�ำให้สนิ ค้าตัวนีเ้ ป็นทีช่ นื่ ชอบของผูไ้ ด้ทดลอง สถาบันวิจัยของเราเองทั้งในญี่ปุ่นและประเทศไทย อีกทั้งมีการ ใช้และมีการพูดถึงและแนะน�ำให้ใช้ต่อกันมาก โดยเฉพาะใน ศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคอย่างลึกซึ้ง และระดมความคิดเพื่อสร้าง ออนไลน์แม้แต่บรรดา Beauty Blogger ชื่อดังหลายคนก็รีวิวผล ทดสอบไว้ดีมาก สินค้าหรือนวัตกรรมใหม่ๆ ออกมาอยู่เสมอ ปัจจัยความส�ำเร็จของคาโอในวันนี้ ล้วนมีที่มาจาก แนวคิด Yoki-Monozukuri (ยูกิ-โมโนซุคูริ) ซึ่ง ผูอ้ ำ� นวยการส่วนการตลาด ธุรกิจสินค้าอุปโภค หนึง่ ในผูบ้ ริหารคนส�ำคัญของ บริษทั คาโอ ประเทศไทย คุณโทรุ นิชิกุชิ (Toru Nishiguchi) ได้พูดถึงหลัก การที่เปรียบเสมือนหัวใจขององค์กรนี้ว่า “เรามุ่ง เน้นพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อตอบสนองความพึงพอใจ สูงสุดของผู้บริโภค เพราะผู้บริโภคคือจุดเริ่มต้นของการพัฒนา สินค้า (Consumer driven) โดยความหมายตรงตัวของ YokiMonozukuri นั้น ค�ำว่า Yoki ภาษาญี่ปุ่นแปลว่า ดี ส่วน Monozukuri นัน้ หมายถึง การพัฒนาสินค้า แต่สำ� หรับพนักงานคาโอแล้ว ค�ำนีม้ คี วามหมายกับพวกเรามากกว่านัน้ เพราะเป็นทัง้ ค่านิยมและ เจตนารมณ์ที่จะสร้างสรรค์สินค้าที่เป็นเลิศให้แก่ผู้บริโภค

12


หรือในกรณี ลอรีเอะ ทีมคาโอวิจัยพบว่าผู้หญิงยุคใหม่ต้องการ ความคล่องแคล่วในการท�ำงานแม้วันนั้นของเดือน เราจึงพัฒนา ผลิตภัณฑ์ให้มีความบางสุดเพียง 1 มิลลิเมตร แต่มีประสิทธิภาพ ซึมซับสูง อีกทั้งแยกประเภทผลิตภัณฑ์เป็นแบบกลางวัน ซึ่ง สามารถยืดหยุ่นรับกับสรีระที่ต้องเคลือ่ นไหว และแบบกลางคืน ที่ นอกจากจะบาง สวมใส่สบายแล้ว ยังมีความยาวพิเศษเพื่อความ เหมาะสมกับสรีระขณะนอนหลับและสามารถซึมซับได้ทวั่ ถึงไม่เกิด การซึมเปื้อน และกรณีศึกษาสุดท้าย คือ ผงซักฟอกแอทแทค พบว่า 2-3 ปีที่ ผ่านมา ผู้บริโภคเริ่มซักผ้าด้วยเครื่องมากขึ้น ส่งผลให้ผู้บริโภคเริ่ม เปลี่ยนมาใช้ผงซักฟอกสูตรเข้มข้น เพราะสามารถท�ำความสะอาด สูงกว่าแต่ราคาใกล้เคียงสูตรมาตรฐาน เราจึงพัฒนา “แอทแทค ทรี ดี คลีน แอ็คชั่น” สูตรเข้มข้นใหม่ล่าสุดที่มีนวัตกรรมรวม 3 พลัง สะอาด “พลังซักผ้าขาว” “พลังฆ่าเชื้อ” และ “พลังขจัดคราบ” เพื่อผ้าสะอาดครบ 3 มิติ และยังมีผงซักฟอกสูตรเข้มข้นหลายสูตร ที่ผู้บริโภคสามารถเลือกใช้ตามความต้องการ เช่น สูตร 3 in 1 ที่ ผสมน�้ำยาปรับผ้านุ่ม หรือ สูตร Clean & Protect ปกป้องเสื้อผ้า จากแบคทีเรีย นอกจากนัน้ ก็ยงั มีสตู รส�ำหรับซักมือ และสูตรน�ำ้ อีก ด้วย

โทรมาสอบถามข้อมูลและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ต่างๆ เพิ่มเติมได้โดยตรง”

CSR ใส่ ใจ จากใจ ด้วยใจ

เพราะคาโอมีความเชื่อว่าการปฏิบัติตามหลัก Yoki-Monozukuri ให้ครบทุกมิตินั้น การเข้าไปมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือสังคมนับ เป็นหนึ่งสิ่งที่ควรตระหนักควบคู่ไปกับการพัฒนาองค์กรและ ผลิตภัณฑ์ของตนเอง ซึ่งค�ำตอบในส่วนนี้ ผู้บริหารของคาโอได้ให้ มุมมองและเจตนารมณ์ไว้ว่า

“เราเป็นองค์กรที่เติบโตคู่สังคมไทยมานาน บริษัทคาโอจึงรู้สึก ภูมิใจอย่างยิ่งที่ได้เป็นส่วนหนึ่งในการร่วมช่วยเหลือคนไทย เช่น ตอนมหาอุทกภัยเมื่อปลายปีก่อน คาโอได้เข้าไปช่วยเหลือโดยน�ำ ผลิตภัณฑ์ของเราไปร่วมล้างท�ำความสะอาดโรงเรียนหลายแห่ง ภายหลังจากน�้ำลดลง พร้อมทั้งน�ำโฟมล้างมือบิโอเรไปมอบให้แก่ โรงเรียนต่างๆ เพิ่มเติม เพื่อเป็นการป้องกันเชื้อโรคต่างๆ ซึ่งมา พร้อมกับน�้ำท่วม ทุกกิจกรรมพวกเราตั้งใจท�ำให้ด้วยความจริงใจ เหมือนกับทีผ่ บู้ ริโภคชาวไทยมอบความจริงใจและเชือ่ ใจผลิตภัณฑ์ ของเรามาตลอด 50 ปี” และทั้งหมดนี้ คงไม่มีค�ำอธิบายใดส�ำหรับ การบริหารบริษัทคาโอภายใต้แนวคิด Yoki-Monozukuri ได้ดีไป ุ ด้วยความจริงใจ” ทั้ง 3 กรณีที่ว่า หากมองให้ลึกลงไปแล้ว ทั้งหมดเริ่มต้นจากความ กว่าค�ำว่า “ไม่หยุดสร้างสรรค์สงิ่ ทีด่ ที สี่ ดุ ให้คณ ใส่ใจทีจ่ ะให้ผบู้ ริโภคได้ใช้ผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพ ตรงกับความต้องการ สูงสุดของผู้บริโภคในแต่ละกลุ่ม”

ช่องทางกระจายสินค้า อีกหนึ่งปัจจัยของความส�ำเร็จ

การมีช่องทางการกระจายสินค้าที่ดี ก็เปรียบเสมือนมีทางด่วน พิเศษ ซึ่งช่วยกระจายสินค้าให้ถึงมือผู้บริโภคได้อย่างราบรื่น รวดเร็ว และทั่วถึง “คาโอเองได้ศึกษา และเล็งเห็นถึงพฤติกรรม ของผู้บริโภคที่มาจับจ่ายในแต่ละช่องทาง เราจึงได้เลือกสินค้าที่มี ขนาดเหมาะสม เช่น หากจ�ำหน่ายในร้านสะดวกซื้อ ขนาดสินค้าที่ เหมาะสมส่วนใหญ่กจ็ ะเป็นขนาดเล็ก ราคาต่อชิน้ ไม่สงู มาก เป็นต้น

สื่อสารกับผู้บริโภค

“เราเน้นผลิตโฆษณาทีส่ อื่ สารถึงการแก้ปญ ั หาให้ผบู้ ริโภคอย่างตรง จุดทีส่ ดุ โดยแสดงให้เห็นถึง คุณภาพของสินค้าทีส่ ามารถตอบความ ต้องการของผูบ้ ริโภค และใช้สอื่ สารมวลชน เช่น โทรทัศน์เป็นหลัก แต่ในขณะเดียวกัน ก็ไม่ละเลยช่องทางการสื่อสารกับผู้บริโภคยุค ใหม่ด้วยสื่อออนไลน์ ซึ่งสามารถเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภครุ่นใหม่ๆ ได้ดี โดยคาโอได้สร้างหน้า แฟนเพจบนเฟสบุค๊ ของแบรนด์ตา่ งๆ ขึน้ ไม่ ว่าจะเป็น Biore Thailand หรือ Laurier My brand และ ATTACK Family เพือ่ เพิม่ โอกาสในการสือ่ สารและท�ำกิจกรรมแบบสองทาง กับผูบ้ ริโภค (Interactive) อีกทัง้ เรายังมีฝา่ ยบริการลูกค้าทีส่ ามารถ 13


รศ.ดร.เรืองศักดิ์ แก้วธรรมชัย คณบดี คณะบริหารธุรกิจ PIM

โลจิสติกส์ขั้นเทพ

ประสบการณ์จากแดนซามูไร สวัสดีครับ พบกันอีกครั้งครับกับสาระและ เรือ่ งราวของโลจิสติกส์ทนี่ า่ สนใจ ฉบับนีข้ อ พูดคุยกันแบบสบายๆ นะครับ โดยผมจะ ขอย้ อ นรอยอดี ต ขณะเรี ย นหนั ง สื อ ที่ ประเทศญี่ปุ่นเมื่อสัก 20 ปีที่แล้ว ช่วง ประมาณ ค.ศ.1990-1997 เพื่อไปเริ่มต้น สืบเสาะหาบริการการขนส่งขั้นเทพที่ผม เคยเจอแบบคาดไม่ถงึ ตัง้ แต่ยคุ นัน้ (สมัยนัน้ ยังไม่มีศัพท์ค�ำว่า “โลจิสติกส์” เกิดขึ้นจึง ยังใช้ค�ำว่าขนส่งกันอยู่) จนกระทั่งถึงปี ปัจจุบันซึ่งการขนส่งถูกจัดให้เป็นส่วนหนึ่ง ของโลจิสติกส์ไปแล้ว ฉะนั้นจะเชยอย่าง มากถ้าท่านตั้งชื่อบริษัทแล้วตามหลังชื่อ บริษัทว่า “ขนส่ง” ก่อนจะย้อนรอย ผมขอให้ทา่ นนึกว่าขณะนี้ ท่านก�ำลังนั่งกินกุ้งล็อบสเตอร์ตัวโตอยู่ที่ ภูเก็ต แล้วมันอร่อยมาก เลยอยากซื้อแบบ สดๆ ส่งมาให้คุณพ่อที่อยู่เชียงใหม่ คุณคิด ว่าจะท�ำอย่างไร ซื้อใส่กล่องส่งเครื่องบิน

14

(เจ้าหน้าที่ไม่ยอมให้น�ำขึ้นเครื่องแน่นอน) หรือจะส่งไปรษณีย์ (เจ้าหน้าที่ไปรษณีย์ คงจะบอกคุณว่าไม่มกี ล่องโฟมครับ) คุณคง ปวดหัวน่าดูและกุ้งคงจะเน่าก่อนถึงปลาย ทางแน่นอน นี่เป็นสถานการณ์ในบ้านเรา ณ ปัจจุบันนะครับ ทีนี้ย้อนรอยกลับไปเมื่อประมาณ 20 ปีที่ แล้ว ผมเจอประสบการณ์การโลจิสติกส์ขนั้ เทพ (เรียกเท่ๆ ว่า God Level Logistics ก็ได้ครับ) ซึ่งเจอมากับตัวเอง 2 เรื่อง เรื่อง แรก ประมาณปี 1992 ระหว่ า งเรี ย น ปริญญาโทปีที่ 2 ช่วงปิดเทอมหน้าร้อน เดื อ นสิ ง หาคม ผมไปเป็ น สต๊ า ฟของ โครงการน�ำเด็กนักเรียนประถมและมัธยม ไปเข้าค่ายที่เกาะโอกินาวา ซึ่งต้องเดินทาง โดยเครื่องบินอย่างเดียว เนื่องจากอยู่ห่าง เมืองโอคายามาที่ผมอยู่ประมาณพันกว่า กิโลเมตร ตอนไปถึงโอกินาวาก็เดินตลาดสด เห็นกุ้งล็อบสเตอร์ตัวโต ซึ่งเป็นพันธุ์เฉพาะ ทีโ่ อกินาว่าทีเดียว ผมได้ทานกุง้ ล็อบสเตอร์ สดๆ รสชาติ อ ร่ อ ยมาก ท� ำ ให้ ผ มนึ ก ถึ ง อาจารย์ทปี่ รึกษาทีข่ ณะนัน้ อยูเ่ มืองโอซาก้า ซึ่งห่างจากเกาะโอกินาวาพันกว่ากิโลเมตร เช่นกัน ผมก็เลยบ่นให้เพื่อนฟังว่า “ถ้าส่ง ไปได้กน็ า่ จะดีนะ” เพือ่ นคนญีป่ นุ่ ก็พดู สวน มาเลยว่า “ท�ำไมไม่ส่งล่ะ ง่ายจะตาย” ว่า

แล้ ว ก็ เ ดิ น ไปบอกแม่ ค ้ า ว่ า ขอใบส่ ง ของ หน่อย ผมจ�ำได้วา่ สัญลักษณ์ของบริษทั เป็น รูปแมวด�ำคาบลูก ซึ่งชื่อญี่ปุ่นเรียกว่า Kuroneko Yamato (คูโระเนกโกะ ยามาโตะ) Kuroneko แปลว่าแมวด�ำ ส่วน Yamato เป็นชื่อบริษัท ผมเขียนที่อยู่ของอาจารย์ส่ง ให้แม่คา้ จ่ายเงินค่าสินค้าซึง่ แพงพอสมควร แต่บวกค่าส่งอีกไม่มาก ซึ่งผมก็ตกใจว่า ท�ำไมมันง่ายอย่างนี้ ไม่ต้องขนไปสนามบิน หรือไม่ต้องขับรถไปไปรษณีย์ ก็ส่งได้แล้ว หลังจากนั้นก็โทรไปบอกอาจารย์ว่าซื้อกุ้ง ตัวโตส่งไปให้นะครับ วันรุง่ ขึน้ อาจารย์กโ็ ทร มาบอกว่า “ขอบใจนะ กุง้ อร่อยมาก ยังสดๆ อยู่เลยนะ” ผมรู้สึกตกใจระบบการส่งใน ประเทศญีป่ นุ่ มาก นีข่ นาดส่งจากเกาะระยะ ทางพันกว่ากิโลเมตร แล้วยังส่งไปถึงบ้าน อีก ใช้เวลาวันเดียว และกุ้งยังสดอยู่ ซึ่งผม คิดว่าถ้าผมนั่งอยู่ที่ภูเก็ตแล้วจะส่งกุ้งมา จริงๆ เหมือนเหตุการณ์ทพี่ ดู ไปข้างต้น ชีวติ ผมคงจะล�ำบากน่าดู เอาล่ะครับ อีกตัวอย่างคือ ช่วงเวลาไล่เลี่ย กัน หน้าร้อนปีตอ่ มา ผมไปอยูก่ บั ครอบครัว ชาวญี่ปุ่นแบบโฮมสเตย์ ห่างจากที่พักของ ผมประมาณสัก 200 กิโลเมตร เดินทางโดย รถไฟใช้ เ วลาประมาณ 2 ชั่ ว โมงครึ่ ง เนื่องจากเป็นภูเขาสูงและต้องต่อรถ เป็น


ครอบครัวทีอ่ ยูใ่ นชนบทมาก ทีน่ เี่ ป็นแหล่ง ปลูกผักและเลีย้ งวัวนมทีม่ ชี อื่ เสียงมากทีส่ ดุ ของจังหวัดที่ผมอยู่ เนื่องจากอากาศหนาว และมีหิมะตกชุก ผมไปอยู่ที่นี่ปีละครั้งและ ครั้งละหนึ่งเดือน ตลอด 4 ปีหลังสุดที่เรียน อยู่ญี่ปุ่น วันหนึ่งหลังจากกลับมาเรียนตาม ปรกติที่มหาวิทยาลัย คุณแม่โทรมาบอกว่า วันนีจ้ ะส่งของไปให้ ส่งมาช่วงสายๆ และให้ อยู่รอรับตอนเย็นนะ เป็นของสดมาก เย็น วันนั้นผมก็ได้รับของ แกะดูปรากฏว่าเป็น เนื้อส�ำหรับย่างสัก 4-5 แพ็ค นมสด และโย เกิร์ตอีกหลายกล่อง รวมถึงผักสดๆ อีก จ�ำนวนมาก ขณะได้รับของผมตกใจอยู่ 2 อย่างคือ หนึง่ ท�ำไมมาถึงเร็ว และสอง ท�ำไม สินค้าไปส่งต่อได้เลย ทีนี้ถ้าจะท�ำให้ดีกว่า นัน้ คือข้อมูลจากร้านค้าซึ่งกระจัดกระจาย ของยังเย็นๆ อยู่และสดมาก ทัว่ ไปทีส่ ง่ ไปยังบริษทั ขนส่งในแต่ละช่วง จะ สองเหตุการณ์ที่เจอในขณะนั้น ผมขอเรียก ท�ำให้บริษัทขนส่งทราบปริมาณการขนส่ง ว่าโลจิสติกส์ขั้นเทพครับ ตอนนั้นผมยังไม่ ท�ำให้จัดขนาดรถที่เหมาะสม คันเล็กหรือ ค่อยรู้จักกับวิธีขนส่งของญี่ปุ่นมากนักจึง คันใหญ่ และสามารถจัดเส้นทางการวิ่ง ค่อนข้างแปลกใจ แต่ภายหลังขณะเรียนวิชา (Routing) ที่สั้นที่สุดได้อีกด้วย ทีนี้กุ้งสดๆ สั ม มนากั บ อาจารย์แ ละเพื่อนๆ ต้องน�ำ จ�ำนวนมากก็สามารถถูกรวบรวมขึ้นเครื่อง เสนองาน ถึงเข้าใจวิธกี ารต่างๆ ซึง่ ห้องวิจยั บิน พอถึงสนามบินปลายทางก็สง่ ไปคัดแยก ที่ผมสังกัดอยู่มีการวิจัยเรื่องการขนส่งด้วย ที่ศูนย์กระจายสินค้า จากศูนย์กระจาย โดยเฉพาะการขนส่งหลายสถานะ (Inter- สินค้า รถส่งของตามเส้นทางปรกติจะน�ำกุง้ modal Transportation) จึงท�ำให้ผม สดๆ ไปส่งยังบ้านอาจารย์ของผม ซึง่ ใช้เวลา เข้าใจในวิธกี ารท�ำโลจิสติกส์ขนั้ เทพได้ กลับ ไม่นานนัก ทั้งหมดนี้ท�ำเป็นระบบครับ ใช้ ไปที่ ตั ว อย่ า งการส่ ง กุ ้ ง ก็ แ ล้ ว กั น นะครั บ ทัง้ รถรับของ เครือ่ งบิน รถไฟ และรถส่งของ แม่ค้าแต่ละเจ้ามีใบส่งของอยู่ ดังนั้นเราจึง ท�ำเรื่องส่งสินค้าจากที่ร้านค้าได้เลย และมี ผมขอให้ท่านลองคิดดูนะครับว่าจะออก การส่งข้อมูลให้บริษัทขนส่งคู่ค้า เช่น Ku- แบบระบบโลจิสติกส์ขนั้ เทพอย่างไร เพือ่ ส่ง roneko Yamato มารับ ซึ่งปรกติบริษัท เหล่านี้มาส่งสินค้าอยู่แล้ว จึงสามารถรับ

นมสดหรือเนือ้ วัวสดๆ ให้ลกู ค้าทีส่ งั่ ซือ้ จาก ฟาร์มโคราชเข้ามายังปลายทางกรุงเทพฯ โดยมีเงื่อนไข 3 อย่างคือ อย่างแรก ส่ง ภายในเวลาไม่เกิน 1 วัน อย่างที่สอง ของ ต้องสด และสุดท้าย ท่านต้องไม่ขาดทุนจาก การขนส่ง (เนื่องจากบางครั้งอาจจะมีการ ส่งของจ�ำนวนน้อย) ถ้าท่านออกแบบระบบ นี้ได้ในเมืองไทย Kuroneko Yamato ของ ญีป่ นุ่ ทีว่ า่ แน่ จะอายท่านแน่นอนครับ และ ถ้าท่านอยากได้ของรางวัลจากทางทีมงาน MBA ท่านสามารถส่งอีเมลระบบโลจิสติกส์ ขั้นเทพของท่านมาที่ ruengsak@yahoo. com ได้นะครับ ถ้าค�ำตอบของท่านถูกใจ ผมจะให้ทีมงานส่งของรางวัลไปให้ เจอกัน ใหม่ฉบับต่อไปครับ

15


หากถามว่าการบริหารอะไรมีความยากที่สุด? หลายคนคงมีค�ำตอบเดียวกันว่า “การบริหารคน” เพราะการบริหารคนเป็นเรื่องที่ต้อง ใช้ทั้งศาสตร์และศิลป์ เนื่องจากในแต่ละองค์กรมีความหลากหลายของบุคลากร ตั้งแต่กลุ่มชาย-หญิง กลุ่มที่เพิ่งจบการศึกษาหรือมี ประสบการณ์ กลุ่มงานโรงงาน งานส�ำนักงาน รวมถึงความแตกต่างในแง่ของความต้องการ อารมณ์ ความรู้สึกของแต่ละกลุ่มหรือแต่ละ บุคคล ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยที่ท�ำให้งานบริหารคนมีความซับซ้อนและท้าทายนักบริหารทุกคน ส�ำหรับกรณีของประเทศไทย ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน คงไม่มีใครปฏิเสธได้ว่า ญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ติดอันดับ 1 ในการเข้ามาลงทุน ซึ่งมี ประเภทธุรกิจหลายด้าน อาทิ อุตสาหกรรมรถยนต์และชิน้ ส่วน อุตสาหกรรมไฟฟ้าและเครือ่ งอิเล็กทรอนิกส์ การเงินการธนาคาร เป็นต้น แม้แต่ในขณะนี้การลงทุนของญี่ปุ่นในไทยก็มีแนวโน้มการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง อาทิ ในช่วง 11 เดือนแรกของปี 2555 มีการขยายการ ลงทุนถึงร้อยละ 85 จากบทบาทด้านการลงทุนของญี่ปุ่นที่มีต่อประเทศไทย ท�ำให้การศึกษาเพื่อท�ำความเข้าใจมุมมองและแนวคิดในแง่ของการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ของบริษัทญี่ปุ่นจึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง จากประสบการณ์ของผู้เขียนที่ได้ท�ำงานในบริษัทญี่ปุ่นมากกว่า 20 ปี เห็นว่าการบริหารทรัพยากรมนุษย์แบบญี่ปุ่น Toyota มีรูปแบบและเอกลักษณ์ที่ส�ำคัญๆ ในเรื่อง 3 เรื่อง ดังนี้

1. แนวคิดในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 2. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ : ค่านิยม แบบ Toyota ขององค์กร Toyota Way ผู้เขียนเชื่อว่าเป้าหมายของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของแต่ละ องค์กรคงไม่แตกต่างกันมากนัก คือ เพือ่ ให้องค์กร (Organization) มีผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศ (Optimize Performance) และให้ บุคลากร (People) ท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพด้วยวิธีการดูแล และพัฒนาพนักงานตามความเหมาะสมขององค์กรนั้นๆ ดังภาพ

จากแนวคิดในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของ Toyota ที่ถูก ก�ำหนดไว้เป็นแนวทางในการบริหารงาน และต่อมาได้มกี ารพัฒนา มาเป็น “Toyota Way : ค่านิยมขององค์กร” มีองค์ประกอบส�ำคัญ 2 ส่วน คือ Continuous Improvement (การปรับปรุงและพัฒนา อย่างต่อเนื่อง) และ Respect for People (การเคารพและให้ ความส�ำคัญกับคน) ซึ่งองค์ประกอบส�ำคัญ 2 ส่วน จะสอดคล้อง กับการปฏิบัติใน 5 หลักการ ซึ่ง Continuous Improvement (การปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง) จะสอดคล้องกับ 3 หลัก การ คือ

1. Challenge คือสิง่ ทีท่ า้ ทายส�ำหรับพนักงานทุกคนในการทีจ่ ะ

ต้องก�ำหนดว่าเป้าหมายตนเองเป็นอย่างไร มี GAP อะไร และจะ ปิด GAP นัน้ ได้อย่างไร จะท�ำให้ทกุ คนต้องมีจติ ใจพัฒนา มองการณ์ ไกล และมีการร่วมตัดสินใจ

16

Toyota มี แ นวคิ ด พื้ น ฐานในการบริ ห าร ทรัพยากรมนุษย์ที่ให้ความส�ำคัญกับพนักงาน เป็นสิ่งส�ำคัญโดย “เชื่อว่าองค์กรจะประสบผล ส�ำเร็จหรือล้มเหลว ล้วนมาจากพนักงานเป็น ส�ำคัญ” ซึง่ เป็นค�ำพูดของอดีตประธานบริษทั โต โยต้าฯ ประเทศญี่ปุ่น Mr.Eiiji Toyoda

2. Kaizen คือ การปรับปรุงพัฒนางานตลอดเวลา พร้อมทัง้ มีการ ถ่ายทอด เผยแพร่ บอกต่อ เกิดการเรียนรู้ และพัฒนาร่วมกัน

3. Genchi Genbutsu คือ ต้องรู้ต้นตอของปัญหาและตัดสิน ใจแก้ไขปัญหาที่รวดเร็ว โดยมีข้อผิดพลาด และความเสี่ยงน้อย


Respect for People (การเคารพและให้ความส�ำคัญกับคน) จะสอดคล้องกับ 2 หลักการ คือ

บทสรุป : การบริหารทรัพกรมนุษย์ที่ท้าทายในอนาคต

Respect คือ ให้ความส�ำคัญเห็นคุณค่าของความเป็นคน มีการ การบริหารทรัพยากรมนุษย์เป็นสิ่งที่จะต้องท�ำร่วมกันทุกคน ทั้ง สื่อสารด้วยความจริงใจ มีเหตุมีผล

ผู้น�ำองค์กร (CEO) หัวหน้างาน (Line Manager) เราไม่ควรที่จะ Teamwork คือ การท�ำงานเป็นทีม มีการส่งเสริมพัฒนาบุคลากร ผลักบทบาทให้เป็นเฉพาะหน่วยงานด้าน HR เพียงล�ำพัง ให้เจริญเติบโตในสายอาชีพ เพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรทั้ง ความท้าทายส�ำคัญที่จะเกิดขึ้นในอนาคต อาทิ รายบุคคล และทีม มุ่งเน้นความส�ำเร็จของทีมเป็นหลัก แต่ขณะ การบริหารต้นทุนแรงงาน Labour Cost ที่สูงขึ้นจากนโยบาย เดียวกันก็สนใจและให้ความส�ำคัญกับปัจเจกบุคคลในทีม ดังภาพ รัฐบาลที่ให้จ้างแรงงานทั่วไปวันละ 300 บาท และจ้าง ปริญญาตรี 15,000 บาท การขาดแรงงานบางสาขา และจ้างงานคนต่างชาติ ในยุค AEC ที่จะเกิดขึ้นปี 2558 การพัฒนาพนักงานให้มีขีดความสามารถที่สูงขึ้น เข้าใจใน เรื่อง Cross Culture ในการท�ำงาน แม้ว่าจะมีสิ่งที่ท้าทาย และอุปสรรคที่จะเกิดขึ้นในอนาคต หาก แต่ละองค์กรสามารถน�ำระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ มาปรับ พนักงานทุกคน ทุกระดับ ถูกคาดหวังที่จะต้องน�ำ 2 องค์ประกอบ ใช้ให้สอดคล้องกับแนวคิด ค่านิยม และสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้น ไปปฏิบัติตลอดเวลาในขณะท�ำงาน ซี่งบริษัทฯมีความเชื่อว่าจะ รวมถึงการพัฒนาพนักงานได้ทันกับการเปลี่ยนแปลง ก็เชื่อได้ว่า ท�ำให้องค์กรประสบผลส�ำเร็จได้ตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ โตโย- องค์กรของท่านก็จะมีความเจริญเติบโตและมั่นคง ยั่งยืนต่อไป ต้าฯ จึงน�ำ Toyota Way เป็นค่านิยมองค์กรมาเป็นพื้นฐานในการ ท�ำขีดความสามารถ (Core Competency) เพื่อจะท�ำให้ง่ายใน การบ่งบอกพฤติกรรมการเปลีย่ นแปลงทีช่ ดั เจน ซึง่ จะเป็นพีน้ ฐาน ทีส่ ำ� คัญในการน�ำไปเชือ่ มกับระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ดัง ภาพ

3. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ : Competency Based HR Integration เพือ่ ให้การบริหารทรัพยากรมนุษย์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผล พนักงานเกิดความพึงพอใจ มีแรงจูงใจทีด่ ใี นการท�ำงาน ตลอดเวลา โตโยต้าฯได้นำ� ขีดความสามารถ (Core Competency) มาเป็นตัวหลักทีจ่ ะไปเชือ่ มกับระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่ ส�ำคัญๆ อาทิ การจ้างงาน (Employment) การประเมินผลงาน (Performance Appraisal) การเลือ่ นต�ำแหน่ง (Promotion) การ ฝึกอบรม (Training) เป็นต้น

คุณสุทิน เห็นประเสริฐ

Director, Human Resource Development Asia Pacific Global Production Center, Toyota Motor Thailand Co., Ltd.

17


เชื่อหรือไม่

เชื่อหรือไม่

ประเทศญี่ปุ่นนั้น แม้จะมีพื้นที่น้อยกว่าประเทศไทย แต่ประชากรของญี่ปุ่นนั้นมีมากเป็น อันดับที่ 10 ของโลก คือประมาณ ล้านคน

128

น�้ำพุร้อน (Onsen) ในประเทศญี่ปุ่นมีจ�ำนวน มากกว่า แห่งทั่วประเทศ ทั้งนี้เนื่องจาก ชาวญี่ปุ่นเชื่อว่าการแช่น�้ำแร่นั้น นอกจากจะท�ำให้ ร่างกายสะอาดแล้ว ยังช่วยให้รู้สึกผ่อนคลาย เสริมสร้างความสงบและฟื้นฟูจิตใจ ของชาวญี่ปุ่นให้กลับมาเข้มแข็ง มีชีวิตชีวาอีกด้วย

2,300

แหลง ทมี่ า www.wikipedia.org \ w ww.j edu cat ion .co m

wagyu.net www. .th \ ll.co .cpa ww \w

เชื่อหรือไม่

ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศที่มี จ�ำนวนสาขาของร้านสะดวกซื้อ “7-ELEVEN” มากที่สุดในโลกคือ ประมาณกว่า สาขาทั่วประเทศ

13,000

เชื่อหรือไม่

“เนื้อวากิว”(Wagyu) หรือ “เนื้อโกเบ”(Kobe Beef) มีราคาแพงมาก เหตุผลที่ท�ำให้

เชื่อหรือไม่

ปัจจุบันนี้บริษัทอิโต-โยคะโดได้เข้าซื้อ (take over) กิจการ และร้านสาขาของ ร้าน ในประเทศสหรัฐอเมริกา ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

“7-ELEVEN”

เป็นเพราะวัวที่น�ำมาท�ำเนื้อประเภทนี้ต้องเป็นเพศเมียที่ บริสุทธิ์สีด�ำสนิท เติบโตในบรรยากาศที่เงียบสงบ ในโรง เรือนที่อากาศเย็น และถ่ายเทสะดวก วัวต้องออก ก�ำลังกายไม่มากจนเกินไป อาหารที่ให้ก็ต้องมี เส้นใยมากๆ ที่ส�ำคัญต้องให้วัวกินเบียร์ อย่างน้อยสัปดาห์ละหนึ่งครั้งและ จะเชือดเมื่ออายุได้ 3 ปี



โดย ดร.ฐิติพร สงวนปิยะพันธ์ ผู้อำ�นวยการ Luxellence Center

LUXURY BRANDS ในประเทศญี่ปุ่น

“ญี่ปุ่น ประเทศที่มีพื้นที่ขนาดเท่ารัฐมอนแทนา รัฐที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 4 ของประเทศสหรัฐอเมริกา ปกคลุมไปด้วย

ร้านแบรนท์เนมมากมาย อาทิ ร้าน Bulgari 34 สาขา, Chanel 37 สาขา, Coach 115 สาขา, Gucci 49 สาขา , Salvatore Ferragamo 64 สาขา, Tiffany & Co 50 สาขา และร้านค้าของกลุ่ม LVMH กว่า 250 ร้าน”

Source: Japan External Trade Organization, February 14, 2007

ญี่ปุ่นได้รับการยอมรับว่าเป็นตลาดส�ำหรับ แบรนด์หรูและเติบโตอย่างรวดเร็วระหว่าง ปลายทศวรรษที่ 1980 และต้น 1990 ในปี 2004 ผู้บริโภคชาวญี่ปุ่นซื้อสินค้าคิดเป็น 41% ของยอดขายของสินค้าหรูทั้งหมด, ชาวอเมริกนั 17% และชาวยุโรป 16% และ ยังมีการขยายตัวของการช้อปปิ้งเกิดขึ้นใน อิ น เดี ย รั ส เซี ย ดู ไ บ และแน่น อนว่าใน ประเทศจีนด้วย ซึ่งถือว่าเป็นขุมทองแห่ง ใหม่ แต่จากวันนี้เป็นต้นไปการขายของ แบรนด์หรูในประเทศญี่ปุ่นลดลงอย่างต่อ เนื่องและในปี 2011 มีมูลค่าประมาณครึ่ง หนึ่งในของปี 1996

จากศิลปะการพับกระดาษแบบดั้งเดิมของ ญี่ปุ่นที่เรียกว่า โอริกามิ (Origami) ท�ำให้ สไตล์เสื้อผ้าอัดพลีตกลายเป็นไอคอนของ แบรนด์ แ ละผ้ า พลี ต ก็ เ ป็ น เสมื อ นเครื่ อ ง หมายการค้าของแบรนด์ Issey Miyake ไป โดยปริยาย ถือเป็นศิลปะแฟชั่นชั้นสูงที่ทั่ว โลกยอมรับและคนทั่วไปสามารถใช้งานได้ จริง คุณรู้หรือไม่ ว่าแม้แต่เสื้อคอเต่าสีด�ำ อันเรียบง่ายที่เป็นเอกลักษณ์ของ Steve Jobs ก็ยงั ถูกออกแบบโดยนักออกแบบชาว ญี่ปุ่นผู้นี้

โบเต้ คือ กุญแจสู่ผิวสวยซึ่งมาจากภาษา ฝรั่งเศส (CLÉ = กุญแจ de PEAU = ของ ผิว BEAUTÉ = ความงาม) เพื่อแสดงความ คารวะถึงแหล่งก�ำเนิดความหรูหราฟู่ฟ่า และเป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ แ ห่ ง ความประณี ต บรรจงของชนชัน้ สูง ชือ่ นีส้ อื่ ความหมายถึง ความคิดที่ว่า ผลิตภัณฑ์อันแสนพิเศษนี้จะ มอบกุญแจให้กบั สุภาพสตรีแต่ละท่าน เพือ่ ปรนเปรอผิวพรรณและเข้าถึงความงาม เฉพาะบุคคลอันเป็นเอกลักษณ์ สิ่งที่เคลย์ เดอ โป โบเต้ ในฐานะแบรนด์ซึ่งแสดงออก ถึง “วิทยาการชั้นสูง” และ “วิวัฒนาการ” มีความมุง่ หวังจึงเป็น การพยายามถ่ายทอด ภาพลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ที่ TOP OF INTELLIGENCE & ELEGANCE

แบรนด์หรูสัญชาติญี่ปุ่น มีอะไรบ้าง มาทำ�ความรูจ้ กั กัน ISSEY MIYAKE (อิซเซ มิยาเกะ) Clé de Peau Beauté COMME des GARCONS Issey Miyake เป็นหนึ่งในแบรนด์สัญชาติ (เคลย์ เดอ โป โบเต้) (กอม เดส์ กาซงส์) ญีป่ นุ่ ทีไ่ ด้รบั การยอมรับในแวดวงแฟชัน่ ทัว่ โลก ด้วยแนวการออกแบบทีเ่ รียบหรู เปีย่ ม ด้ ว ยจิ ต วิ ญ ญาณตะวั น ออก บนพื้ น ฐาน ความเชื่อว่า ศิลปะ แฟชั่น ปรัญญา เป็นสิ่ง ที่ผสมผสานกันอย่างแยกไม่ออก เสื้อผ้าที่ ออกแบบโดยมีการอัดพลีตของ Issey Miyake ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ความนิยม อย่างหยุดไม่อยูบ่ นเวทีแฟชัน่ ชัน้ สูงในปารีส ซึง่ การจับพลีตนัน้ ก็นา่ จะมีแรงบันดาลใจมา 20

Clé de Peau Beauté ถือก�ำเนิดขึ้นในปี 1982 ในฐานะแบรนด์ที่หรูหราที่สุดของ ชิเซโด้ด้วยการใช้วิทยาการเอกสิทธิ์ชั้นสูง ระดับโลก และเป็นเครื่องส�ำอางรายแรกที่ สถาปนาหนทางใหม่โดยการเปิดประตูสู่ ความงามสมบูรณ์แบบ จากนั้นได้มีการ พั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยมุ ่ ง สู ่ ก ารเป็ น แบรนด์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ถ นอมผิ ว ชั้ น สู ง อย่ า ง แท้จริง ความหมายของชื่อ เคลย์ เดอ โป

COMME des GARCONS ถือก�ำเนิดในปี 1969 จากจุดเริม่ ต้นเมือ่ ครัง้ ที่ Kawakubo Rei ท�ำงานในฐานะสไตลิสต์อิสระ ทว่าไม่ สามารถหาเสื้ อ ผ้ า ที่ เ หมาะกั บ ความคิ ด สร้างสรรค์ของเธอ จึงเริ่มออกแบบเสื้อผ้า ด้วยตนเองภายใต้ชื่อ COMME des GARCONS ซึ่งได้จัดตั้งเป็นบริษัทในเวลาต่อมา เมื่อปี 1973 แม้เวลาจะล่วงเลยมา 40 กว่า ปีแล้ว COMME des GARCONS ก็ยังคง


เปี ่ ย มพลั ง คงความเยาว์ วั ย และความ avant garde ไม่เสื่อมคลาย ชื่อ COMME des GARCONS นั้นมีที่มาง่ายๆ จากเพียง ความชอบของ Kawakubo Rei ใน “เสียง” ของวลีภาษาฝรั่งเศสนี้ ซึ่งมีความหมายที่ แปลว่า “ดั่งเด็กผู้ชาย” เพียงชื่อก็สะท้อน ถึงความเป็นกบฏ ไร้ซึ่งกรอบแห่งระเบียบ แบบแผน อันเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นของ COMME des GARCONSโลโก้รูปหัวใจมีต านี้ออกแบบโดยศิลปินชาวโปแลนด์ที่ตั้ง รกรากในนิวยอร์คชื่อ Filip Pagowski เขา มีผลงานร่วมกับ COMME des GARCONS ตั้ ง แต่ เ มื่ อ ครั้ ง คอลเลคชั่ น Fall/Winter2000-01 ในลายเส้นลวดลายรูปตาและ ปาก ที่จริงรูปหัวใจมีตานี้เป็นหนึ่งในดีไซน์ ทีอ่ อกแบบให้กบั COMME des GARCONS เมือ่ ปี 1999 ทว่าไม่ได้ถกู น�ำมาใช้ในเวลานัน้ แต่ในทีส่ ดุ ก็กลับมาโดดเด่น ใช้เป็นโลโก้ของ PLAY จนเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ที่คุ้นตาทั่ว โลก ปัจจุบัน COMME des GARCONS มี ร้านมากกว่า 200 สาขาทั่วโลก และเมื่อไม่ นานมานี้ได้จับมือกับ Hermès สร้างสรรค์ ผ้าพันคอคอลเลคชั่นพิเศษในจ�ำนวนสุด จ�ำกัดเพียง 200 ผืนต่อแบบ

รองเท้า นาฬิกา และเครื่องประดับต่างๆ นอกจากนี้ก็ยังมีวินโดว์ดิสเพลย์จากฝีมือ ของ Yayoi Kusama ซึ่งมีเอกลักษณ์ของ งานเป็นลายจุดที่เธอมักจะน�ำมาใช้กับการ สร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะ เป็นลายจุดบนล�ำต้น ลายจุดที่ละเลงทั่วทั้ง ห้อง หรือแม้กระทัง่ ลายจุดบนตัวคนเป็นต้น นี่ไม่ใช่ครั้งแรกที่มาร์ค เจค็อบร่วมมือกับ ศิลปินชื่อดัง โดยเมื่อปี 2009 เขาได้ร่วมมือ กับ Takashi Murakami โดยน�ำแรงบันดาล ใจจากลายเส้นและงานศิลปะแบบกราฟิตี้ มาสร้างสรรค์เป็นผลงานได้อย่างน่าสนใจ ด้วยสไตล์ของ Murakami ที่สะท้อนออก มาในแนวประชดประชัน (Ironic) แต่แฝง ไปด้วยความน่าเอ็นดูแบบเด็กๆ (Childlike)

Onion Head และ Panda ให้เกิดเป็น ลวดลายบนกระเป๋ า และ Accessories ใหม่ๆ คอลเลคชั่นของ Murakami ได้รับ การตอบรับอย่างดีจากสาวกหลุยส์ วิตตอง ทั่วโลก และในประเทศญี่ปุ่นบ้านเกิดของ Murakami ก็ได้รบั การตอบรับอย่างดีไม่แพ้ ประเทศอืน่ ๆ ยิง่ ได้ชอื่ ว่าผูอ้ อกแบบเป็นชาว ญีป่ นุ่ ด้วยแล้ว ยิง่ สร้างกระแสความนิยมชม ชอบในตัวสินค้าได้มากยิ่งขึ้นไปอีก เดิมทีชาวญี่ปุ่นก็นิยมซื้อสินค้าแบรนด์เนม และมีคณ ุ ภาพดีอยูแ่ ล้ว ด้วยรายได้เฉลีย่ ต่อ หัวของประชากรที่ค่อนข้างสูง ท�ำให้ชาว ญี่ปุ่นมีก�ำลังซื้อสูงด้วยเช่นกัน การขยายกรอบการออกแบบโดยผสาน ความเป็ น ตะวั น ออกให้ เข้ า กั บ แบรนด์ เป็นการขยายฐานลูกค้าใหม่ทชี่ นื่ ชอบสินค้า ที่มีลวดลายที่สดใส ไม่ชอบความซ�้ำซาก จ�ำเจ และยังสร้างความแปลกใหม่ให้เกิดกับ กลุ่มลูกค้าเก่าอีกด้วย

ล่าสุด Louis Vuitton ร่วมจับมือศิลปิน ญี่ปุ่นเจ้าของฉายา polka dot artist เพื่อ ออกแบบคอลเล็กชั่น

หลายปีมานี้ Louis Vuitton มักจะร่วมมือ กั บ ศิ ล ปิ น ร่ ว มสมั ย หลายคน เพื่ อ ท� ำ ให้ แบรนด์ได้เชื่อมโยงกับงานศิลปะของประ เทศนั้ น ๆ มากขึ้ น ล่ า สุ ด มาร์ ค เจค็ อ บ Creative Director ของ Louis Vuitton ร่วมมือกับศิลปินชาวญี่ปุ่น Yayoi Kusamat เจ้าของฉายา Polka Dot Artist หรือ ศิลปินลายจุด เพื่อร่วมสร้างสรรค์คอลเล็ก ชั่นล่าสุดที่ประกอบด้วย เสื้อผ้า กระเป๋า

สุ ด ท้ า ยเรามาดู 10 อั น ดั บ LUXURY BRANDS ที่เป็นที่นิยมในประเทศญี่ปุ่น 1. Louis Vuitton Murakami ได้หล่อหลอมวัฒนธรรมสไตล์ 2. Coach 3. Hermes ญีป่ นุ่ ผสานกับแนวทางศิลปะทีต่ นถนัดผ่าน 4. Gucci ลวดลายที่ตนออกแบบ คือ ลวดลายของ 5. Chanel

ดอกซากุระ Sakura และ Characters ไม่ ว่าจะเป็น LV Hands, Flower Hat Man,

6. Bottega Veneta 7. Bulgari 8. Cartier 9. Christian Dior 10. Tiffany

Source : JMRN August 2007 Consumer Survey: Attitudes Toward Luxury Brands, Japan Market Resource Network, August 2007.

21


สวัสดีปีใหม่พี่น้อง Panyapiwat MBA ทุกท่าน แม้ว่ามาช้า ไปหน่อย แต่ก็ยังดีกว่าไม่มานะคะ ขอให้ปีมะเส็งนี้เป็นปีที่ดี ไม่ แพ้ปีมังกรทอง คิดเงินขอให้ได้เงิน คิดทองขอให้ได้ทอง สุขภาพแข็งแรงตลอดปีและตลอดไป Alumni’s Corner ฉบับนี้ จะขอประมวลเหตุการณ์ดีๆ ในช่วงปลายปี 2555 ผ่านตัวหนังสือ ว่าแล้วก็ ไปดูกันดีกว่าว่ามีเรื่องอะไรกันบ้าง เริม่ แรกเลยส�ำหรับ Panyapiwat MBA รุน่ 6 กับการประเดิมดูงาน ในประเทศครั้งแรก ขอแบบเบาๆ ก่อน ในวันพุธที่ 21 พฤศจิกายน 2555 ได้เยี่ยมชมบริษัทชั้นน�ำถึง 2 แห่ง โดยช่วงเช้าไปเยี่ยมชม พร้อมช้อปปิ้งของตกแต่งบ้านกันที่บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ต่อกันที่ช่วงบ่าย ก็ไปเยี่ยมชมบริษัท 3เอ็ม (ประเทศไทย) จ�ำกัด พอได้เข้าไปรู้จัก ถึงรู้ว่าสินค้าของ 3เอ็ม นั้น อยูร่ อบตัวเราแทบทัง้ สิน้ (ส�ำหรับท่านทีไ่ ม่ได้ไป ลองถามเพือ่ นๆ ที่ ไปดูได้) อย่างไรก็ตาม ต้องขอกราบขอบพระคุณท่านผู้บริหารจาก ทั้ง 2 บริษัทที่ให้การต้อนรับอย่างอบอุ่นมา ณ โอกาสนี้ด้วย แต่ กิจกรรมดีๆ แบบนี้ก็ยังไม่หมด เพราะแว่วว่า Panyapiwat MBA รุ่น 6 ก็ก�ำลังจะไปดูงานอีกครั้งเร็วๆ นี้ ซึ่งครั้งนี้เห็นว่าจะไปต่าง จังหวัดซะด้วยสิ

ต่อกันด้วยข่าวที่น่ายินดีอย่างยิ่งส�ำหรับคุณพุฒธิธาดา กุลวัฒน์ ภากร (คุณสา) และคุณเฉลิมชัย ศิรินันทวิทยา (คุณแสบ) สาว สวยและหนุม่ หล่อจากสาขาวิชา Retail Business Management ที่ลั่นระฆังวิวาห์ส่งท้ายปีมังกรทองกันไปเมื่อวันอาทิตย์ที่ 25 พฤศจิกายน 2555 ที่อาคารไทยซัมมิท ในนามของ Panyapiwat MBA จึงขอแสดงความยินดีย้อนหลังมา ณ ที่นี้ด้วย ขอให้คุณสา และคุณแสบอยู่ครองคู่กันอย่างมีความสุข ถือไม้เท้ายอดทอง กระบองยอดเพชร มีหลานน่ารักๆ ให้กับชาว Panyapiwat MBA เร็วๆ นะคะ

ื่อน

และผองเพ

่าวสาว จัดเต็มทั้งบ 22


อีกข่าวที่ถือว่าน่ายินดีไม่แพ้กัน ขอร่วมอนุโมทนาบุญกับคุณเอก ปฏิรูป ขอสกุลไพศาล ที่เข้าพิธีอุปสมบทไปเมื่อวันเสาร์ที่ 22 ธันวาคม 2555 ที่วัดมะเดื่อ ซึ่งคุณเอกได้รับฉายาว่า “ปฏิรูปัง” โดยคุณเอกได้บวชเป็นเวลาทั้งสิ้น 7 วัน

ความประทับใจให้กับน้องๆ และทีมงานเป็นอย่างมาก ปิดท้าย กิจกรรม Open House ด้วยการฟังบรรยายจากคุณปิยะวัฒน์ ฐิต ะสัทธาวรกุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งให้เกียรติมาบรรยายในหัวข้อ “ทิศทางธุรกิจค้าปลีกปี 56 และ การเตรียมองค์กรสูก่ ารแข่งขัน AEC” ซึง่ เป็นประโยชน์สำ� หรับชาว ปีที่ผ่านมาเป็นปีที่มีเรื่องราวดีๆ ของ Panyapiwat MBA รุ่น 6 Panyapiwat MBA ทุกคนเป็นอย่างมาก จริงๆ อย่างไรก็ตามปี 2556 นี้ ก็มกี จิ กรรมดีๆ ให้กบั รุน่ น้องทีก่ ำ� ลัง จะมาเป็นส่วนหนึง่ ของครอบครัว Panyapiwat MBA กิจกรรมนัน้ ส�ำหรับกิจกรรมดีๆ เช่นนี้ ผู้เขียนรับรองว่าจะมีออกมาอย่างต่อ คืองาน Open House เป็นการเปิดบ้านให้ผู้สมัครและผู้ที่สนใจ เนื่องตลอดปี 2556 แน่ แล้วพบกับความสนุกครั้งต่อไปใน Alumหลักสูตร MBA มีโอกาสท�ำความรู้จักกับบ้าน Panyapiwat แห่งนี้ ni’s Corner เล่มหน้านะคะ กิจกรรมจัดขึ้นเมื่อวันอาทิตย์ที่ 20 มกราคม ที่ผ่านมา โดยสีสัน ส�ำคัญของงานคือการทีพ่ ๆี่ Panyapiwat MBA หลายท่านสละเวลา มาท�ำความรู้จัก สร้างความคุ้นเคย และร่วมประทานอาหารกลาง วันกับน้องๆ ถึงแม้รุ่นพี่บางท่านไม่มีเรียนแต่ก็ยังอุตส่าห์มา สร้าง เล็งไว้ก่อน หลายคนในนี้จะเข้ามาร

่วมเป็นครอบครัวเดียวกับเราในไม

่ช้า

ชาว Panyapiwat MBA ขอร่วมอนุโมทนาบุญมา ณ ที่นี้

งานยุ่ง เรียนหนั

อมใจมาต้อนรับน้องๆ กก็ไม่หวั่น MBAรุ่น 6 ต่างพร้

ติดตามความสนุกครั้งต่อไปได้ทาง ค้นหาค�ำว่า “Panyapiwat MBA” 23


Experience the World's Fashion and Luxury Capital... Learn, Live and Love Paris

Executive Education IFA Paris’s Certificate in Luxury Brand Management May–July 2013 (3 Months) DATELINE: April 1st, 2013 Limited Seats Available APPLY NOW!!! MODULE Luxury Environment

Marketing & Management

• History & Creative Foundations • Industry Segments

• Buying & Merchandising • Branding • Distribution

• Trends & Future

Socio-Cultural • Cultural Aspect

Personal & Professional Development • Capstone Project

LUXELLENCE CENTER TARA SATHORN BUILDING, 19th FLOOR, 119 SOI SATHORN 5, SATHORN TAI ROAD, BANGKOK 10120

Tel: +66 (2) 648 2940 - 2 I Email: luxellence@luxellencecenter.com www.luxellencecenter.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.