10 MBA Connected

Page 1

จับตาอนาคต เกษตรไทย ในทศวรรษหน้ า โดย มนตรี คงตระกูลเทียน

รองประธานกรรมการ กลุ่มธุรกิจพืชครบวงจร เครือเจริญโภคภัณฑ์

Biz on the Move

“Content Marketing Strategy”

Logistics Intelligence

“On-demand : Real-time : Micro-match Logistics”

HR Focus

“ต�ำราพิชัยสงครามของนัก HR”

Panyapiwat MBA เปิดรับสมัครนักศึกษา ตั้งแต่บัดนี้จนถึง 29 เม.ย. 57

สนใจติดต่อ 0 2832 0416

March-May

2014



ในยุคปัจจุบนั ปัจจัยเสีย่ งทีม่ ผี ลต่อการด�ำเนินธุรกิจมีมากมายหลายปัจจัยเมือ่ เทียบกับในยุคก่อนๆ ผลกระทบอันเนือ่ งมาจากโลกาภิวฒ ั น์ทำ� ให้องค์กรต้องเผชิญกับการเปลีย่ นแปลงทีร่ วดเร็วรุนแรง ในทุกๆ ด้าน ส่งผลให้การด�ำเนินธุรกิจให้ประสบความส�ำเร็จเป็นไปได้ยากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นผล กระทบทางด้านเศรษฐกิจทีเ่ ชือ่ มโยงกันระหว่างหลายประเทศ ผลกระทบจากภัยธรรมชาติในอีก ซีกโลกหนึ่งที่สามารถส่งผลต่อเศรษฐกิจในประเทศอื่นๆ ได้เร็วขึ้น ผลกระทบด้านการเมืองที่มี ความตื่นตัวในเรื่องสิทธิเสรีภาพมากขึ้น และผลกระทบด้านเทคโนโลยีที่ท�ำให้สังคมเกิดค่านิยม และพฤติกรรมแบบใหม่ เป็นต้น ดังนั้นองค์กรจึงจ�ำเป็นต้องเฝ้าระวัง มีการเตรียมความพร้อม และปรับตัวให้ทันเพื่อเผชิญหน้ากับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว

March-May

2014

ส�ำหรับ MBA Connected by PIM ฉบับนี้ ขอน�ำเสนอเนื้อหาที่น่าสนใจในประเด็นที่เกี่ยวข้อง กับการปรับตัวและแนวโน้ม (Trend) ทีน่ า่ จับตามอง ทัง้ ในเรือ่ งของแนวโน้มอุตสาหกรรมอาหาร ของโลก การน�ำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้เพื่อส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร แนวโน้มของ การขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในองค์กรทุกขนาด แนวโน้มและความเป็นไปได้ ทางการตลาดที่น่าจะเกิดขึ้นอันเนื่องมาจากพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปของผู้บริโภค รวมไปถึง แนวโน้มของการจัดการโลจิสติกส์ยุคใหม่ที่มีความสลับซับซ้อนมากยิ่งขึ้น

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

การคาดการณ์แนวโน้มอย่างเป็นระบบต่างกันอย่างสิน้ เชิงเมือ่ เทียบกับการท�ำนายทีเ่ กิดจากการ สันนิษฐานเอาเอง ที่ส�ำคัญผลลัพธ์จากการคาดการณ์แนวโน้มจะถูกน�ำไปใช้ในการก�ำหนด วิสัยทัศน์ ทิศทางและภารกิจในการด�ำเนินธุรกิจขององค์กรด้วย หากคาดการณ์ผิดพลาดอาจ ส่งผลท�ำให้องค์กรต้องเผชิญกับความเสี่ยงในการด�ำเนินกิจการ อาจน�ำไปสู่ความสูญเสียที่ใหญ่ และยากเกินกว่าที่จะแก้ไขได้ทัน ดังตัวอย่างที่เกิดขึ้นมากมายเป็นกรณีให้เราได้ศึกษา เช่น กรณี ของบริษัท Kodak ที่เคยเป็นผู้ผลิตฟิล์มถ่ายภาพที่มียอดขายอันดับหนึ่งของโลก มีส่วนแบ่งการ ตลาดถึง 90% เป็นผูน้ ำ� ทางด้านเทคโนโลยีการถ่ายภาพและยังเป็นผูพ้ ฒ ั นากล้องดิจติ อลรายแรก ของโลกอีกด้วย แต่กลับติดยึดอยู่กับผลิตภัณฑ์และวิธีการแบบเก่าๆ ติดกับดักความส�ำเร็จของ ตัวเอง ไม่ทันมองเห็นความเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มที่จะเกิดขึ้น ท�ำให้องค์กรต้องเผชิญกับ สถานการณ์อันเลวร้ายจนถึงกับต้องประกาศล้มละลาย

คอลัมนิสต์กิตติมศักดิ์

เพื่อเป็นก�ำลังใจให้กับผู้ที่ก�ำลังเผชิญกับปัญหารอบด้านทางธุรกิจ ขอปิดท้ายบทบรรณาธิการ ฉบับนี้ด้วยข้อคิดของ Nelson Mandela ที่ว่า "The greatest glory in living lies not in never falling, but in rising every time we fall." ชัยชนะที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในชีวิตนั้นไม่ใช่ได้มา จากการทีเ่ ราไม่เคยล้มลงเลย แต่หากเป็นการทีเ่ ราสามารถลุกขึน้ มาได้ทกุ ครัง้ ทีเ่ ราล้มลงต่างหาก ทั้งหมดนี้เชื่อว่าเมื่อผ่านวิกฤติช่วงนี้ไปได้ ทุกๆ ท่านจะลุกขึ้นเดินหน้าได้อย่างแน่นอน

คุณก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์ รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อาจารย์พรวิทย์ พัชรินทร์ตนะกุล รศ.ดร.สมโรตม์ โกมลวนิช คุณสยาม โชคสว่างวงศ์ รศ.ดร.เรืองศักดิ์ แก้วธรรมชัย ผศ.ดร.ศรีไพร ศักดิ์รุ่งพงศากุล คุณปาริชาต บัวขาว ดร.เลิศชัย สุธรรมานนท์ ดร.กิตติ เศรษฐวรพันธุ์ อาจารย์วิเชศ คำ�บุญรัตน์

บรรณาธิการ

ดร.ภญ.ธัญญา สุพรประดิษฐ์ชัย

ดร.ภญ.ธัญญา สุพรประดิษฐ์ชัย บรรณาธิการ

หัวหน้ากองบรรณาธิการ ธมลวรรณ อัศเวศน์

กองบรรณาธิการ

ภัทรกมล คีรีวัชรินทร์ เหมือนฝ้าย ปัญญวานิช เพชรไพลิน สายสุวรรณ วรานี จรูญลักษณ์คนา ภูริมาศ สว่างเมฆ อรุณรัตน์ มงคลพิทักษ์กุล

ศิลปกรรม

เอกภพ สุขทอง

3


เปิดบ้านหลักสูตร MBA กับ งาน PIM Open House for 2014 ผ่านไปแล้ว กับกิจกรรม PIM Open House for 2014 ทั้ง 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 จัดขึ้นในวัน อาทิตย์ที่ 15 ธันวาคม 2556 มีผู้ให้ความ สนใจเข้าร่วมงาน จ�ำนวน 49 คน และเนื่อง ด้วยกระแสการตอบรับของบุคคลทั่วไปมี มาอย่างต่อเนื่อง Panyapiwat MBA จึงจัด งานนีข้ นึ้ ครัง้ ที่ 2 ในวันอาทิตย์ที่ 16 มีนาคม 2557 มีผู้ให้ความสนใจเข้าร่วมงานเพิ่มขึ้น ถึง 96 คน งานนีจ้ ดั ขึน้ ณ หอประชุมปัญญา ภิวัฒน์ โดยได้รับเกียรติจาก อ.พรวิทย์ พัชรินทร์ตนะกุล รองอธิการบดีฝา่ ยวิชาการ ให้เกียรติกล่าวเปิดงานและให้การต้อนรับ MBA Candidates ต่อด้วยการแนะน�ำ ธุรกิจ CP ALL และ PIM โดยคุณธมลวรรณ อัศเวศน์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์พัฒนาเครือข่าย ทางธุรกิจ ส�ำนักบริการวิชาการ เพื่อให้ MBA Candidates ได้ทราบถึงธุรกิจต่างๆ ของ CP ALL และทราบถึงความแตกต่าง ของ Panyapiwat MBA รวมถึงประโยชน์ ที่นักศึกษาจะได้รับจากที่ PIM เป็น Corporate University ของ CP ALL 4

ต่อด้วยช่วง Q&A ที่ MBA Candidates ทุก คน ซักถามทุกข้อสงสัยกันอย่างเต็มที่ และ ต่อด้วยการแชร์ประสบการณ์ในรั้ว PIM ของรุ่นพี่ ที่ต้องบอกว่าถ่ายทอดกันอย่าง ไม่มปี ดิ บัง เช่น เหตุผลในการตัดสินใจเลือก เรียนทีน่ ี่ ความรูส้ กึ ประทับใจต่างๆ ทัง้ เรือ่ ง ความเชี่ยวชาญของอาจารย์และวิทยากร ที่มาสอน คอนเนคชั่นที่ได้จากห้องเรียน และเน็ตเวิร์คที่ได้จากเพื่อนๆ ท้ายสุดปิด งานช่วงเช้าด้วยการพาเดินเยีย่ มชมสถาบัน ให้ MBA Candidates ได้พบเห็นสิง่ อ�ำนวย ความสะดวกต่างๆ ในการมาเข้าศึกษาที่ จากนัน้ เข้าสูช่ ว่ งการแนะน�ำหลักสูตร MBA PIM แห่งนี้ ตั้งแต่ CP Food World ห้อง และแนะแนวข้อสอบ โดยผูอ้ ำ� นวยการและ สมุด ห้อง Relax Room และห้องเรียน คณาจารย์ ข องหลั ก สู ต ร MBA ทั้ ง 3 เป็นต้น หลักสูตร ประกอบด้วย สาขาวิชาบริหาร ต่อจากนั้น ในช่วงบ่าย MBA Candidates ธุรกิจ วิชาเอกการจัดการธุรกิจค้าปลีก วิชา ได้มีโอกาสสัมผัสห้องเรียน Panyapiwat เอกการจัดการโลจิสติกส์ และสาขาวิชา MBA กับงานบรรยายพิเศษ CEO Talk for กลยุทธ์การบริหารทรัพยากรมนุษย์และ Wisdom ซึง่ ในครัง้ ที่ 1 MBA Candidates องค์การ (S-HRM) ได้รับเกียรติจาก คุณประเสริฐศักดิ์ องค์ วัฒนกุล ประธานบริษทั E.C.I Group เครือ เจริญโภคภัณฑ์ ประเทศจีน ถ่ายทอดผ่าน ประสบการณ์บนเส้นทางของนักบริหารมือ อาชีพในจีนกว่า 30 ปี ในหัวข้อ CEO Talk for Wisdom ตอน ถนนแห่งความมั่งคั่งสู่ แดนมังกร ท�ำให้ MBA Candidates ในวัน นั้นได้รู้จักและมองจีนอย่างเข้าใจในทุกมิติ ตั้ ง แต่ วิ วั ฒ นาการความก้ า วหน้ า ของจีน ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จของจีน และท�ำให้ ทราบถึงความน่าสนใจของตลาดประเทศ จีนทีเ่ ป็นโอกาสใหม่ของนักธุรกิจไทยในการ เข้าไปด�ำเนินธุรกิจ


และในครั้งที่ 2 MBA Candidates ได้พบกับงานบรรยายพิเศษ CEO Talk for Wisdom ตอน “กลยุทธ์ Trade Marketing”ถ่ายทอด ผ่านประสบการณ์บนเส้นทางของนักบริหารการตลาดมืออาชีพ โดยได้รบั เกียรติจาก คุณสมบุญ ประสิทธิจ์ ตู ระกูล อดีตประธานกรรมการ บริหาร บริษัท ดีเคเอสเอช (ประเทศไทย) จ�ำกัด บอกเล่ากลยุทธ์การท�ำการตลาดต่างๆ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาและผู้เข้าร่วมงาน เป็นอย่างมาก

บรรยายพิเศษ Sustainable Organization Development Case Study กรณีศึกษา การพัฒนาความยั่งยืนองค์กรของเครือเจริญโภคภัณฑ์ ส�ำนักบริการวิชาการ ร่วมกับ ส�ำนักทรัพยากรมนุษย์ PIM จัดโครงการบรรยายพิเศษ Knowledge Sharing ในหัวข้อ“Sustainable Organization Development Case Study กรณีศึกษา การพัฒนาความยั่งยืนองค์กรของเครือเจริญโภคภัณฑ์” หนึ่งในองค์กรไทย ระดับโลกทีไ่ ด้รบั การยอมรับ ในด้านการพัฒนาองค์กร โดยได้รบั เกียรติจาก คุณพัชรี คงตระกูลเทียน รองกรรมการผูจ้ ดั การอาวุโส ส�ำนัก พัฒนาความยัง่ ยืนองค์กร เครือเจริญโภคภัณฑ์ (CP) ให้เกียรติมาเป็นวิทยากร เมือ่ วันพฤหัสบดีที่ 23 มกราคม 2557 ณ หอประชุมปัญญา ภิวัฒน์ โดยคุณพัชรีให้ความรู้เรื่องปรัชญา 3 ประโยชน์ สู่ความยั่งยืน หัวใจส�ำคัญที่ท�ำให้เครือเจริญโภคภัณฑ์ประสบความส�ำเร็จในการ ด�ำเนินธุรกิจ และบทบาทของส�ำนักพัฒนาความยั่งยืนองค์กร เครือเจริญโภคภัณฑ์ ที่มุ่งมั่นและมีส่วนสนับสนุนให้ทุกกลุ่มธุรกิจใน CP ด�ำเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคมภายใต้การจัดการที่ดี 5


CP ALL SMEs Forum 2014 ตอน "บุกตลาด CLMV...อนาคต SMEs ไทยในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน" ศูนย์บริหารเครือข่าย SMEs บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) ศูนย์บม่ เพาะทางธุรกิจ PIM และคณะกรรมการธุรกิจค้าปลีกและ ค้าส่ง สภาหอการค้าไทย ร่วมกันจัดงานใหญ่ประจ�ำปี "CP ALL SMEs Forum 2014" ตอน "บุกตลาด CLMV...อนาคต SMEs ไทยในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน" เมื่อวันพุธที่ 29 มกราคม 2557 ณ หอประชุมปัญญาภิวัฒน์ ภายในงานพบกับกูรูผู้มาก ไปด้วยความรู้และประสบการณ์ในด้านการค้ากับกลุ่มประเทศ CLMV ซึ่งได้แก่ กัมพูชา สปป.ลาว พม่า เวียดนาม ที่มาร่วมเวที เสวนา ในหัวข้อ “เปิดมิติทางการค้า โอกาสทองของการลงทุน ในกลุม่ ประเทศ CLMV” ด�ำเนินการเสวนา โดย คุณกิตติ สิงหาปัด ผู้ประกาศข่าวรายการข่าว 3 มิติ

6

บรรยายพิเศษ Wel-B ขนมเพื่อสุขภาพ 100 ล้าน สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ร่วมกับ ส�ำนักบริหารเครือข่าย ทางธุรกิจ บริษทั ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) จัดการบรรยายพิเศษ ในหัวข้อ “Wel-B ขนมเพื่อสุขภาพ 100 ล้าน” โดยได้รับเกียรติ จาก คุณณัฐวุฒิ เผ่าปรีชา Managing Director บริษัท โจ-ลี่ แฟมิลี่ จ�ำกัด ให้เกียรติมาเป็นวิทยากร เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 13 กุมภาพันธ์ 2557 ณ หอประชุมปัญญาภิวัฒน์ โดยคุณณัฐวุฒิ ได้บอกเล่าถึงนวัตกรรมการผลิตทีแ่ ปลกใหม่ในการแปรรูปผลไม้ ให้เป็นขนมขบเคี้ยวเพื่อสุขภาพ ที่เรียกว่า “Vacuum Freezedried” พร้อมเผยเคล็ดลับกลยุทธ์ทางการตลาด การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์และการสร้างแบรนด์ รวมถึงการหาตลาด โอกาส อุปสรรค และความท้าทายในการท�ำธุรกิจ


PANYAPIWAT MBA

"Create Professionals by Professionals" ต้อนรับวิทยากร พร้อมด้วยหลากหลาย Case Studies สู่ห้องเรียนของเรา หลักสูตร MBA in Retail Business Management & Logistics Management

หลักสูตร MBA in Strategic Human Resource and Organization Management

14 ธันวาคม 2556

11 มกราคม 2557

หัวหน้าภาควิชาสื่อสารแบรนด์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ หัวข้อ : “Building Strong Brands” และ “Workshop –Marketing Communication Strategic Plan”

ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการให้ค�ำปรึกษา บริษัท เดอะ เลคเชอร์เลอร์ คอนซัลติง พลัส จ�ำกัด หัวข้อ : Hard Side OD - เครื่องมือและการเลือกใช้เครื่องมือ เพื่อการพัฒนา องค์การและการบริหารความเปลี่ยนแปลง - KM & LO

ผศ.ดร.เสริมยศ ธรรมรักษ์

1 กุมภาพันธ์ 2557

ดร.วินิจ วิเศษสุวรรณภูมิ

นักวิชาการช�ำนาญ ส�ำนักบริหารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่ กรมสรรพากร กระทรวงการคลัง หัวข้อ : ภาษีกับผู้ประกอบการค้าปลีกและค้าส่ง

อ.ศราวุฒิ พันธุชงค์

11 มกราคม 2557

อ.เกรียงศักดิ์ เทพผดุงพร

12 มกราคม 2557

กรรมการผู้จัดการ บริษัท อ�ำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จ�ำกัด หัวข้อ : การพัฒนาองค์การ การเปลีย่ นแปลงในบริบทโลก ด้วยการสร้างวัฒนธรรมและการบริหารการเปลี่ยนแปลง กรณีศึกษา บริษัท อ�ำพลฟูดส์

Assistant Director, True Innovation Center หัวข้อ : True Innovation

18 มกราคม 2557

ดร.พณิชิต กิตติปัญญางาม 2 กุมภาพันธ์ 2557

อ.วรัตน์ ตรีสุทรรศน์

Customer Service & Distribution Group Manager Supply Chain Management บริษทั เนสท์เล่ (ไทย) จ�ำกัด หัวข้อ : Logistics and Distribution Strategic 14 ธันวาคม 2556

อ.ทรงวุฒิ ดีจงกิจ

Deputy General Manager บริษทั โตโยต้า มอเตอร์ เอเชีย แปซิฟิค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด หัวข้อ : Global Production Planning 14 ธันวาคม 2556

อ.นิพนธ์ สุดแก้ว

Vice President-Human Resource SAMART Group บริษัท สามารถ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) หั ว ข้ อ : การพั ฒ นาองค์ ก าร และการบริ ห ารการ เปลี่ยนแปลงด้วยการสร้างวัฒนธรรมองค์กร กรณีศึกษา บมจ. สามารถคอร์ปอเรชั่น 18 มกราคม 2557

อ.กมล ลิ้มประเสริฐ

Sustainability & Organization Development Manager Regional Business, SCG Cement – Building Meterials Business หัวข้อ : การพัฒนาองค์การและการบริหารการเปลี่ยน แปลงด้วย TQM Process Improvement และ 6 Sigma (กรณีศึกษา SCG)

อ.โทมัส เฟอร์นันเดซ

Logistics and Consulting บริษัท แฟร์ แอนด์ อีซี่ จ�ำกัด หัวข้อ : “International trade document and terms” และ “Global sourcing for humanitarian logistics”

7


นายมนตรี คงตระกูลเทียน

คณบดี คณะนวัตกรรมการจัดการเกษตร PIM และรองประธานกรรมการ กลุ่มธุรกิจพืชครบวงจร (CP Crop) เครือเจริญโภคภัณฑ์

อนาคต เกษตรไทย ในทศวรรษหน้า เสี่ยง vs ท้าทาย ผลกระทบ vs โอกาส

ประเทศไทยถือเป็นประเทศที่มีความได้เปรียบประเทศอื่นๆ ใน การผลิตพืชผลทางการเกษตร ทั้งในส่วนของพืชอาหาร และใน ส่วนของพืชพลังงานทดแทน ส่งผลให้ประเทศไทยเป็นผูน้ ำ� ในการ ส่งออกพืชผลเกษตรหลายชนิดด้วยกัน ไปยังตลาดประเทศคู่ค้า ที่ส�ำคัญต่างๆ แต่อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันพบว่าภาคการ

เกษตรไทย ต้ อ งเผชิ ญ กั บ ปั จ จั ย ความเสี่ ย งและความ ท้าทายต่างๆ ทัง้ ทีส่ ร้างให้เกิดผลกระทบและโอกาสในเวลา เดียวกัน ขึน้ กับว่าจะสามารถวางแผนรับการเปลีย่ นแปลง ได้ดีเพียงไร อันได้แก่

8

การเพิ่มขึ้นของจ�ำนวนประชากรโลก โดยมีการคาด การณ์ว่าในอนาคตปี 2593 ประชากรโลกจะมีจ�ำนวนเพิ่ม ขึ้นถึง 9 พันล้านคน จึงถือเป็นโอกาสและความท้าทายต่อ ภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหารของไทย ในการ ผลิตอาหารเพื่อตอบสนองความต้องการบริโภคที่เพิ่มขึ้น พื้นที่เพาะปลูกพืชมีจ�ำนวนจ�ำกัด ประเทศไทยมีพื้นที่

การเกษตรจ�ำนวน 150 ล้านไร่ โดยมีพืชเศรษฐกิจหลัก ได้แก่ ข้าว, ยางพารา, มันส�ำปะหลัง, ข้าวโพด, อ้อย และ ปาล์มน�้ำมัน เป็นต้น ดังนั้นเราควรจะด�ำเนินการผลิตและ พัฒนานวัตกรรมส�ำหรับการเกษตรอย่างต่อเนือ่ งก่อให้เกิด ประสิทธิภาพในการใช้ทดี่ นิ อย่างคุม้ ค่า เพือ่ ลดการสูญเสีย ตลอดห่วงโซ่การผลิตและการบริโภค


การสร้างโอกาสจากการรวมตัวทาง ด้วยเหตุผลดังกล่าว ทางสถาบันการจัด เศรษฐกิจระดับอาเซียน โดยการสร้าง การปัญญาภิวฒ ั น์ เครือเจริญโภคภัณฑ์ ความร่วมมือในระดับภูมภิ าค ถ่ายทอดแลก จึงได้จัดตั้งคณะนวัตกรรมการจัดการ เปลี่ยนเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อสร้าง เกษตรขึ้น โดยพัฒนาในเรื่องของรูป ความได้เปรียบในการแข่งขัน โดยส่งเสริม แบบและหลักสูตรการเรียนการสอน การผลิ ต สิ น ค้ า เกษตรด้ ว ยการถ่ า ยทอด เพือ่ สร้างให้นกั เกษตรรุน่ ใหม่มแี นวคิด เทคโนโลยีและองค์ความรูไ้ ปยังประเทศทีม่ ี เป็ น นั ก จั ด การเกษตร โดยจะต้ อ ง ต้ น ทุ น การผลิ ต ที่ แข่ ง ขั น ได้ แ ละน� ำ เข้ า สามารถเป็ น ผู ้ บู ร ณาการนวั ต กรรม ผลผลิตมาเพื่อเป็นวัตถุดิบในการแปรรูป ความรูท้ างวิชาการเกษตรเข้ากับความ เช่ น การส่ ง เสริ ม การผลิ ต ข้ า วขาวใน รูท้ างเศรษฐศาสตร์ และความรูท้ างการ ประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อส่งออกไปยังตลาด ต่างๆ โดยทีไ่ ทยยังคงการผลิตข้าวหอมมะลิ จัดการไปใช้ในการบริหารกระบวนการ เกษตรอย่างได้ผลดีในเชิงธุรกิจ เพื่อ เป็นหลักไว้ เตรียมพร้อมส�ำหรับการเป็นนักจัดการ ส่งเสริมนักเกษตรรุ่นใหม่ ให้มีความรู้ใน เกษตร หรือผูป้ ระกอบการธุรกิจเกษตร การบริ ห ารจั ด การการเกษตร เพื่ อ ให้ ในอนาคต ซึ่งควรต้องมีความรู้ความ สอดคล้องกับนโยบาย Smart Farmer และ Smart Officer ของทางกระทรวงเกษตร เข้าใจในเรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้ และสหกรณ์ เนื่องจากการก้าวเข้าสู่เกษตร ในยุคใหม่ ส่งผลให้ความต้องการบุคลากร ทางการเกษตรเปลี่ยนแปลงไป บริษัทหรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร ไม่ได้ ต้ อ งการบุ ค ลากรที่ มี ค วามรู ้ ท างด้ า น วิชาการอย่างเดียว มากไปกว่านั้นคือต้อง สามารถลงมือปฏิบัติงานได้จริงและเข้าใจ การบริหารจัดการที่ดีด้วย

สร้างโอกาสจากการจัดสรรพื้นที่การ เกษตร (Zoning) ตามนโยบายของกระ

ทรวงเกษตรฯ โดยจัดสรรเลือกพื้นที่การ ผลิ ต ให้ เ หมาะสม เนื่ อ งจากไทยมี พื้ น ที่ การเกษตรจ� ำ กั ด โดยจากข้ อ มู ล ของ กระทรวงเกษตรฯ พบว่า ภายในพื้นที่ 150 ล้านไร่ มีพื้นที่ปลูกข้าว 64 ล้านไร่ ใน จ� ำ นวนนี้ มี เขตพื้ น ที่ เ หมาะสมปลู ก ข้ า ว ทั้งสิ้น 48 ล้านไร่ หากน�ำมาเพาะปลูกข้าว จะได้ผลผลิตข้าวที่ 31.8 ล้านตันข้าวเปลือก ซึ่งเพียงพอต่อการบริโภคและการส่งออก ไปยังต่างประเทศ และพื้นที่ข้าวในส่วนที่ เหลือ 16 ล้านไร่สามารถน�ำมาปรับเปลี่ยน ไปปลูกพืชที่เหมาะสมชนิดอื่นแทน เพื่อ สร้ า งให้ เ กิ ด การใช้ ที่ ดิ น อย่ า งคุ ้ ม ค่ า เกษตรกรสามารถลดต้นทุนจากการท�ำการ เกษตรได้ เนื่องจากปัจจัยการผลิตได้ถูกใช้ อย่างมีประสิทธิภาพเหมาะสมกับความ การจัดการด้วยนวัตกรรมการเกษตรทัน ต้องการของพืชแต่ละชนิด สมัย (Smart Agriculture) เช่น การ ประยุ ก ต์ ใช้ ร ะบบเกษตรกรรมความ ในการนี้ ทางเครือเจริญโภคภัณฑ์จึงได้ แม่นย�ำสูง ซึง่ จะมีการน�ำเทคโนโลยีทที่ นั ท�ำการวิจัยและทดลองโครงการส่งเสริม สมั ย เกี่ ย วกั บ GIS, GPS ภาพถ่ า ย การปลูกข้าว ปาล์มน�้ำมัน มะพร้าว เลี้ยง ดาวเทียม ร่วมกับ GISTDA และฐาน ปลาและกุง้ เพือ่ เพิม่ รายได้ให้เกษตรกรและ ข้ อ มู ล การเกษตรที่ มี อ ยู ่ ใ นหน่ ว ยงาน ลดพื้นที่การปลูกข้าว ซึ่งเป็นการท�ำการ ต่างๆ ทัง้ ในภาครัฐและเอกชนมาบูรณา- เกษตรแบบผสมผสานตามแนวพระราชด�ำริ การเป็นระบบการจัดการเกษตรทันสมัย โดยท�ำการปลูกพืช พร้อมกับการเลี้ยงสัตว์ ที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมเพื่อเพิ่ม น�้ำ เพื่อใช้ประโยชน์พื้นที่สูงสุด ด้วยการ วางแผนบริหารจัดการอย่างลงตัว ประกอบ ประสิทธิภาพอย่างยั่งยืน เรียนรู้เรื่องการรวบรวมและจัดซื้อวัตถุ ด้วยการปลูกข้าว เลี้ยงปลา เลี้ยงกุ้ง และ ปลูกต้นมะพร้าว และต้นปาล์มบนคันนา ดิบคุณภาพ ขนาดใหญ่ เมื่อมีแมลงระบาดในนาข้าว ก็ การเพิ่มมูลค่าด้วยการแปรรูป การบริหารจัดการคลังสินค้าและการขนส่ง สามารถบริหารจัดการด้วยการใช้น�้ำท่วม ต้นข้าว เพื่อให้แมลงเป็นอาหารของปลา การตลาดภายในและต่างประเทศ หลังจากนั้นก็ปล่อยน�้ำออกโดยไม่มีการใช้ การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ สารเคมีก�ำจัดแมลง เมื่อถึงระยะการเก็บ การบัญชีและการเงิน เกี่ยวข้าวเสร็จแล้ว จะปล่อยน�้ำท่วมพื้นที่ การจัดการองค์การและบุคลากร นาทัง้ หมดเพือ่ ให้ปลาและกุง้ สามารถเจริญ เติ บ โตได้ ต ่ อ เนื่ อ งอี ก 4 เดื อ นส่ ง ผลให้ เกษตรกรสามารถมีผลตอบแทน ทั้งจาก การปลู ก พื ช และการเลี้ ย งสั ต ว์ ไ ด้ อ ย่ า ง ต่อเนื่องและคุ้มค่ากับการลงทุน

9


การพัฒนาอุตสาหกรรมพืชพลังงานทดแทน นอกจากรูปแบบเกษตรแบบผสมผสานดังกล่าวแล้ว การส่งเสริมปลูกพืชพลังงาน ทดแทน เช่น ปาล์มน�้ำมัน อ้อยและมันส�ำปะหลัง ในพื้นที่ 16 ล้านไร่ที่เหลือ ยังเป็นการสร้างโอกาสให้กับการเกษตรไทยได้อีกทางหนึ่ง โดยพบว่าปัจจุบันในปี 2556 (มค.- ต.ค.) มีการน�ำเข้าเชื้อเพลิงกว่า 1.2 ล้านล้านบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปี 2555 ที่ 0.39 % เพื่อตอบ สนองความต้องการบริโภคน�้ำมันเชื้อเพลิงที่เพิ่มขึ้น ทั้งน�้ำมันเบนซินที่ 20 ล้านลิตร/วัน และดีเซลที่ 56 ล้านลิตร/วัน

ดังนัน้ เพือ่ ลดการพึง่ พาพลังงานจากต่างประเทศ เราจึงควรหันกลับมาส่งเสริมการปลูกน�ำ้ มันบนดิน จากพืชส�ำคัญทีส่ ามารถผลิตได้เอง ในประเทศ โดยการสร้างสมดุลในการผลิตพืชอาหารและพืชพลังงาน ด้วยการจัดสรรพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมทางเศรษฐกิจในการปลูกข้าว ไปใช้ในการผลิตพืชพลังงาน รวมถึงวางแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการแปรรูปพืชพลังงานต่างๆ

โอกาสของพืชผักและผลไม้ของไทย

ปัจจุบันมีหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่พัฒนารูปแบบของผักและผลไม้ปลอดสารพิษ ผลิตภายใต้โรงเรือนระบบปิด รวมถึงผัก ไฮโดรโปนิกส์ ซึ่งเชื่อมั่นว่าในอนาคตไทยจะมีศักยภาพในการแข่งขันและการแปรรูปเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าผักและผลไม้ได้ โดยผลไม้ที่ มีโอกาสในการส่งออกมาก ได้แก่ ทุเรียน โดยเฉพาะการขยายตัวของการส่งออกทุเรียนไปยังตลาดจีน ซึ่งพบว่าในปี 2555 มีปริมาณ การส่งออกทุเรียนไปจีนถึง 204,586 ตัน จากปริมาณการส่งออก 75,000 ตันในปี 2550 หรือเพิ่มขึ้นกว่า 3 เท่าตัว จากโอกาสที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าภาคการเกษตรของไทยยังคงมีศักยภาพในการแข่งขัน ทั้งในเรื่องของพืชอาหารและ

พืชพลังงาน ซึ่งเป็นหน้าที่ของทั้งภาครัฐ หน่วยงานวิจัยต่างๆ กระทรวงเกษตรฯ กระทรวงอุตสาหกรรม ภาคเอกชน รวม ถึงหน่วยงานด้านการศึกษา ทีจ่ ะต้องวางแผนทีช่ ดั เจนในการพัฒนาด้านการแปรรูปเพือ่ เพิม่ มูลค่านวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่ทันสมัยให้กับสินค้าเกษตร รวมถึงการพัฒนาบุคลากรทางการเกษตร เพื่อตอบสนองความต้องการในการบริโภคทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ ทั้งในด้านของอุตสาหกรรมอาหารและสินค้าอุปโภค ซึ่งหากประเทศไทยมีการเตรียมความพร้อมและมีการวางแผนการพัฒนาที่สอดคล้องและชัดเจนแล้ว ก็เชื่อมั่นว่า การเกษตรในอนาคต ของประเทศไทยจะสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการเกษตร ให้เป็นยุคของเกษตรทันสมัยและยั่งยืนได้อย่างแน่นอน 10


สอบถามรายละเอยีดเพมิเตมิ

โทร 0 2832 0200 ถงึ 14 www.pim.ac.th


ดร.ภญ.ธัญญา สุพรประดิษฐ์ชัย

อาจารย์ประจำ�หลักสูตร MBA in Retail Business Management

Marketing Trend

ภาวะการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และ เทคโนโลยี ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภค ดังนั้นจึงมีความจ�ำเป็น อย่างยิง่ ทีน่ กั การตลาดจะต้องน�ำข้อมูลพืน้ ฐานเหล่านีม้ าวิเคราะห์ แนวโน้มและความเป็นไปได้ทางการตลาดที่น่าจะเกิดขึ้น

การตลาดกลายเป็นสิ่งที่น่าท้าทาย น่าสนุก น่าตื่นเต้น และน่า ปวดหัวส�ำหรับนักการตลาด เพราะยิ่งนับวันการตลาดแบบ Push Marketing อย่างในอดีตนัน้ ได้รบั ความน่าเชือ่ ถือและความน่าสนใจ ลดน้อยลงทุกที ผูบ้ ริโภคมีความต้องการทีจ่ ะค้นหาข้อมูลของสินค้า ส�ำหรับนักการตลาดในยุคเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Net- เอง นักการตลาดจึงต้องคิดค้นหากลยุทธ์ใหม่ๆ พร้อมๆ ไปกับความ work) อย่างในปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและ จ�ำเป็นทีจ่ ะต้องก้าวให้ทนั เทคโนโลยีทเี่ ปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็ว พฤติกรรมการแบ่งปันข้อมูลข่าวสารของผู้บริโภค ท�ำให้การท�ำ นี้ด้วยเพื่อให้สินค้าของตนได้รับความสนใจ แนวโน้มทางการตลาดหนึ่งที่เห็นได้ชัดเจนคือ การใช้ Content Marketing Strategy ซึ่งเป็นกลยุทธ์การท�ำการตลาดโดยเน้นเนื้อหา ทีน่ า่ สนใจ เพือ่ ให้เข้าถึงผูบ้ ริโภคได้อย่างแท้จริงโดยอาศัยเทคโนโลยีเป็นสือ่ ในปัจจุบนั กลยุทธ์ดงั กล่าวยังไม่มรี ปู แบบทีต่ ายตัว แต่ผลลัพธ์ ทีไ่ ด้จะต้องน�ำเสนอความคิดสร้างสรรค์ทที่ ำ� ให้ผบู้ ริโภคถูกใจและจดจ�ำสินค้าได้ ผูบ้ ริโภคให้ความสนใจใน Smart Device และใช้ Social Media เพิ่มมากขึ้น หากนักการตลาดสามารถวิเคราะห์พฤติกรรมดังกล่าวและน�ำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้เป็นเครื่องมือในการท�ำ การตลาด ก็จะสามารถเพิ่มความได้เปรียบทางการแข่งขันในตลาด เพราะจะท�ำให้ผู้บริโภคจดจ�ำสินค้าของตนได้

Grow Your Business Using Content Marketing

B2C Content Marketing Usage (by Tactic)

Source: http://dendritepark.com

12

Source: http://contentmarketinginstitute.com


ข้อมูลวิจัยจาก Content Marketing Institute เปิดเผยว่าในปี 2013 ที่ผ่านมานักการ ตลาด B2C (Business-to-customer) ใช้ Content Marketing ผ่านทาง Social Media ถึง 84% ตามมาด้วยเว็บไซต์ของบริษัท 84% และ e-newsletters 78% โดยช่องทางที่ถูก ใช้มากที่สุดอันดับที่ 1 ถึง 4 คือ Facebook (90%) Twitter (69%) YouTube (65%) และ LinkedIn (51%)

Percentage of Australian Marketers that Use Various Social Media Platforms to Distribute Content

Source: http://contentmarketinginstitute.com

Beand video on YouTube is skyrocketing Monthly Videos Published on YouTube by Global Top 100 Brands

ถึงแม้วา่ จะไม่สามารถวัดประสิทธิผลจากการ ใช้ Content Marketing Strategy ผ่านทาง Social Media ได้อย่างชัดเจนก็ตาม แต่ในปี 2014 นีม้ กี ารคาดการณ์วา่ นักการตลาด B2C จะหันมาเพิ่มการท�ำการตลาดผ่าน Social Media มากขึ้นกว่าปีก่อน เพราะดูเหมือนว่า พฤติกรรมการบริโภคสื่อจะมีบทบาทส�ำคัญ อย่างมากต่อการบริโภคสินค้าและสามารถ ช่วยเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาดได้ จากกรณี ศึ ก ษาพบว่ า แบรนด์ ที่ มี ก ารจั ด อั น ดั บ ว่ า มี มู ล ค่ า ของแบรนด์ สู ง สุ ด 100 แบรนด์ (Interbrand’s Top 100) ในปี 2012 ใช้ Video Content Marketing ผ่านทาง เว็บไซต์ Youtube รวมกันมีจ�ำนวนมากถึง เกือบหนึง่ หมืน่ เรือ่ งต่อเดือน และเมือ่ ประเมิน ค่าใช้จ่ายของทั้ง 100 แบรนด์พบว่า น่าจะมี การใช้จ่ายรวมกันอยู่ที่ประมาณ 4,300 ล้าน ดอลล่าร์สหรัฐ นอกจากนี้ แบรนด์ดงั กล่าวยัง เชือ่ มต่อ Video Content ของตนจากเว็บไซต์ Youtube เข้ากับหน้าเว็บไซต์ของบริษัทอีก ด้วย ทั้งนี้เพื่อเป็นการเชื่อมต่อ 2 platforms นี้เข้าด้วยกันและเพื่อเพิ่มผลการค้นหาข้อมูล สินค้าของตนผ่านทาง Search Engine อย่าง Google พฤติกรรมที่น่าสนใจอย่างหนึ่งที่พบ คือ หากผูบ้ ริโภคชอบเรือ่ งราวใน Video ก็จะ ส่งต่อให้กับเพื่อนๆ ผ่านทางเครือข่ายสังคม ออนไลน์ ซึ่ ง เป็ น การช่ ว ยเพิ่ ม Word of Mouth จนเลยไปถึ ง การสร้ า งความรู ้ สึ ก ผูกพันกับแบรนด์ (Brand Engagement) ได้

Source: Pixability Caffeine YouTube Marketing Software

การเลือกใช้ Content Marketing นัน้ ขึน้ อยูก่ บั ผูบ้ ริโภคกลุม่ เป้าหมายทีเ่ ป็นผูร้ บั ข้อมูลข่าวสาร การใช้ทกุ ช่องทางการสือ่ สารของ Social Media อาจไม่ใช่คำ� ตอบทีด่ ที สี่ ดุ หรือคุม้ ค่าทีส่ ดุ เพราะประสิทธิผลทีไ่ ด้ขนึ้ อยูก่ บั พฤติกรรมการบริโภคสือ่ ของกลุม่ เป้าหมายด้วย นอกจาก นี้การท�ำ Content Marketing ในแต่ละช่องทางนั้นจ�ำเป็นจะต้องได้ผู้ที่มีทักษะทางด้านนั้นๆ ซึ่งนั่นหมายถึงค่าใช้จ่ายและงบประมาณ ด้วย อย่างไรก็ดี ถึงแม้ธุรกิจของคุณจะไม่ใช่ธุรกิจที่ขายสินค้าออนไลน์ แต่ลูกค้าของคุณใช้ Social Media และ Internet ในการค้นหา ข้อมูลเกีย่ วกับสินค้าของคุณและเพือ่ ค้นหาว่าคนอืน่ ๆ ในสังคมเครือข่ายออนไลน์พดู ถึงสินค้าหรือธุรกิจของคุณอย่างไรบ้าง ดังนัน้ Social Media จึงมีความส�ำคัญมากต่อการท�ำการตลาดในยุคปัจจุบันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ [ตัวอย่าง Video Content Marketing ที่น่าสนใจในเว็บไซต์ Youtube: 1) Virgin America Safety Video และ 2) New K-Mobile Banking PLUS]

13


รศ.ดร.เรืองศักดิ์ แก้วธรรมชัย

ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายแผนงานวิชาการ และอาจารย์ประจำ�หลักสูตร MBA in Logistics Management

Logistics Trend : โลจิสติกส์ยุคใหม่

Life Style

เพื่อคนยุคใหม่

“ปิ๊งป่อง” เสียงโทรศัพท์มือถือของผมดังขึ้นในตอนรุ่งเช้าของวันหนึ่ง บ่งบอกว่ามีอีเมลใหม่เข้ามา พร้อมกับข้อความบอกว่า “ตอนนี้ หนังสือที่ท่านสั่งได้ถูกส่งไปยังสาขาที่ท่านต้องการแล้วนะคะ ท่านสามารถไปรับได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปค่ะ” ซึ่งการสั่งซื้อหนังสือครั้งนี้ ท�ำให้ผมรู้สึกสะดวกสบายอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน และอย่างน้อยผมรู้สึกว่าประเทศไทยเริ่มสะดวกสบายเหมือนสมัยผมอยู่ที่ญี่ปุ่นแล้ว ล่ะ (ยกเว้นเรื่องรถติด ที่ชาตินี้ทั้งชาติคงไม่หมดไปจากเมืองไทยแน่นอน ถ้ายังขืนสร้างถนนมากกว่าสร้างรางรถไฟ) ท�ำไมผมถึงคิดอย่าง นี้ บางคนอาจจะบอกว่าเชย เพราะฉันสัง่ หนังสือออนไลน์มาตัง้ นานแล้ว อันนีผ้ มไม่เถียงเพราะผมก็สงั่ ของออนไลน์อยูเ่ สมอๆ แต่ทที่ ำ� ให้ ผมรู้สึกดีใจเพราะว่าในประเทศไทยเริ่มมีระบบโลจิสติกส์ที่ครบวงจรมากขึ้น มีความแม่นย�ำและรวดเร็วมากขึ้น ทั้งนี้เพราะผมสามารถ หาหนังสือที่อยากได้ผ่านเว็บไซต์ จ่ายเงินผ่านบัตรเครดิตในตอนสามทุ่ม วันรุ่งขึ้นมีอีเมลบอกว่า การจ่ายเงินผ่านบัตรเรียบร้อย และอีก วันหนึง่ ก็มอี เี มลบอกให้ไปรับทีร่ า้ นสาขาทีผ่ มผ่านทุกวันตอนเย็น โดยทีค่ วามจริงผมสามารถเลือกให้สง่ ทางไปรษณียก์ ไ็ ด้ แต่ปญ ั หาทีเ่ กิด ตามมาคือ ไปรษณีย์จะมาส่งตอนกลางวันซึ่งไม่มีคนอยู่บ้าน และท�ำให้ต้องไปติดต่อรับเองที่ไปรษณีย์หรือต้องให้มาส่งใหม่อีกครั้ง ซึ่งไม่ สะดวกส�ำหรับผมเลย ผมก็เลยเลือกร้านสาขาที่ผมสามารถไปรับได้โดยสะดวก นี่ถ้าร้านหนังสือนี้สามารถไปส่งที่ร้าน 7-Eleven ได้ก็จะ ดีกว่านี้ เพราะผมจะสามารถเดินไปรับสินค้าได้เลยนะนี่ (อันนี้เป็นความหวังเล็กๆ ครับ) เอาล่ะครับ..ทีนี้มาว่าถึงเรื่องราวที่ผมโม้ข้างบนดีกว่า ครับว่า มันเกีย่ วข้องกับโลจิสติกส์ยคุ ใหม่ได้อย่างไร ทุก ท่านลองส�ำรวจตัวตนของท่านเองในปัจจุบันดูดีไหม ครับว่า ท่านใช้ชีวิตหรือที่เรียกเป็นภาษาอังกฤษเท่ๆ ว่า Life Style กันอย่างไรบ้าง โดยผมจะเขียนเป็นข้อๆ ดังต่อไปนี้นะครับ ท่านลองดูว่าตรงกับท่านกี่ข้อ

ท่านยุง่ มากขึน้ ทุกวัน ทัง้ ทีเ่ ทคโนโลยีทนั สมัยมาก ขึ้น ท่านจะมีความรู้สึกโมโห (ศัพท์วัยรุ่นเรียกว่า มีนำ�้ โห) ทุกครัง้ ถ้าต้องรออะไรนานๆ เพราะท่าน คิดว่าเวลาของท่านเป็นเงินเป็นทอง (แต่ไม่เห็น บ่นเลยเวลาเล่นไลน์หรือ Facebook)

14

ท่านเริ่มรู้สึกเบื่อหน่ายและขี้เกียจกับการที่ต้องออกไป ข้างนอกเพื่อไปท�ำธุรกรรมต่างๆ เช่น ไปธนาคาร ไปซื้อ ของ โดยเฉพาะการต้องขับรถออกไปข้างนอก ซึ่งต้อง ผจญกับรถติดบนถนน และทีเ่ ลวร้ายกว่านัน้ ก็คอื เมือ่ พบ ว่าไม่มีที่จอดรถเวลาไปถึงที่หมายปลายทาง

ท่านขาดโทรศัพท์มือถือไม่ได้ วันไหนที่ท่านลืมโทรศัพท์ มือถือ หรือแบตหมด ท่านจะรู้สึกลงแดงทันที เหมือน ท่านถูกตัดขาดจากโลกนี้โดยสิ้นเชิง ทั้งที่ความจริงท่าน ยังมีชีวิตอยู่ และถึงแม้ท่านจะมีโทรศัพท์มือ ถืออยูใ่ นมือก็ตาม ท่านก็จะตัดขาดจากทุก คนในครอบครัวโดยการนัง่ เล่นโทรศัพท์ มือถือของท่านโดยไม่สนใจคนอื่น และท่านถ่ายรูปตัวเองบ่อยๆ

ท่านกินข้าวนอกบ้านมากกว่ากินข้าว ที่บ้าน หรือบางทีก็กินข้าวส�ำเร็จรูป มากกว่าจะท�ำกับข้าวกินเอง

ที่บ้านของท่านมีจ�ำนวนสมาชิกใน ครอบครัวไม่เกินสี่คนหรือน้อยกว่า นี้ และบางครัง้ ท่านต้องท�ำกิจกรรม บางอย่างโดยล�ำพังมากขึ้น


ท่านรู้สึกขี้เกียจมากขึ้นที่ต้องแบกสัมภาระเวลา ไปไหนมาไหน ทัง้ นีถ้ า้ ท่านสามารถไปไหนมาไหน โดยใช้รถไฟฟ้าได้ ท่านจะไม่ขับรถยนต์ไปเอง

ท่านเริม่ ไม่อา่ นหนังสือพิมพ์ แต่จะ หันไปอ่านข่าวออนไลน์แทน

ทั้ง 7 ข้อนี้ ถ้าตรงกับชีวิตของท่านตั้งแต่ 4 ข้อขึ้นไป ท่านเริ่มเป็นคนยุคใหม่แล้วครับ (คนยุคใหม่นี้มีคนเรียกว่ายุค Gen Me ซึ่งมาจากค�ำว่า Millennium Generation) แล้วท่านคงจะบ่นว่า “อุต๊ะ! แล้วมันเกี่ยวกับโลจิสติกส์ยุค ใหม่ตรงไหน” ความจริงเกี่ยวข้องกันอย่างมากเลยทีเดียว ท่านลองย้อนกลับไปดูนสิ ัยทัง้ 7 ข้อข้างบนดูนะครับ และ ลองคิดดูว่า โฉมหน้าของโลจิสติกส์ในอนาคตจะเป็นอย่างไร จากนั้นลองเทียบกับแนวคิดของผมต่อไปนี้ดูนะครับ

โฉมหน้าโลจิสติกส์ยุคใหม่ ในความเห็นของผม การติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ ลู ก ค้ า นั้ น จะต้ อ งผ่ า น โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ โดย เฉพาะ Smart phone มิ ฉ ะนั้ น ลู ก ค้ า จะเมิ น บริ ษั ท ของคุ ณ เพราะ ชีวิตของลูกค้าแขวนไว้ กับโทรศัพท์มือถือ

ลู ก ค้ า มี ค วามอดทนใน การรอต�่ ำ ดั ง นั้ น ท่ า น ต้องออกแบบการขนส่ง ที่รวดเร็วและตรงเวลา แต่ถ้าท่านท�ำไม่ได้ ให้ ท่านใช้มือถือบอกลูกค้า ว่า สินค้าอยู่ที่ไหน และ จะถึ ง เมื่ อ ไร อั น นี้ ช ่ ว ย ท่ า นได้ บ ้ า งเนื่ อ งจาก ลูกค้าจะไม่โวยวายมาก ถ้ารู้สถานะ

สินค้าประเภทอาหารที่ ทานได้สะดวกรวดเร็วจะ มีความต้องการเพิ่มมาก ขึ้น ดังนั้นโลจิสติกส์ของ อาหารโดยเฉพาะอาหาร พร้ อ มทานจะรุ ่ ง มาก ภายในระยะ 10-20 ปีนี้ ดังนัน้ ใครทีท่ ำ� โลจิสติกส์ ด้ า นนี้ โ อกาสรวยมี สู ง มาก

การขายสิ น ค้ า แบบ ออนไลน์ผ่าน e-commerce จะมี ม ากขึ้ น นอกจากนั้น ธุรกิจรับส่งสินค้าหรือการส่งของ ก็จะมีมากขึ้น ซึ่งส่งผล ให้ โ ลจิ ส ติ ก ส์ บ ริ ก าร (Service Logistics) มี มากขึ้ น ดั ง นั้ น การให้ บริ ก ารที่ เ ป็ น บุ ค คลที่ สาม (Third Party Logistics) จะทวี ค วาม ส�ำคัญมากขึ้นเรื่อยๆ

ลูกค้าที่ท่านจะเจอมาก ขึ้น คือ ลูกค้าที่จะไม่จง รักภักดีต่อท่านมากนัก แต่จะจงรักภักดีต่อคุณ ภาพของงานของท่ า น ซึง่ สิง่ ทีล่ กู ค้าต้อง การคือ รวดเร็ว (speed) เรียบร้อย (Perfect) หลากหลาย (Variety) และไหลลื่น (Smooth)

แนวโน้มที่ผมคาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตดังที่เขียนไว้ข้างบนนั้น จะมีลักษณะคล้ายกับสิ่งที่ผมเรียกขึ้นมาเองว่า On-demand, Real-time and Micro-match Logistics ซึ่งเป็นระบบที่ต้องมีความรวดเร็วในการจัดส่งและยืดหยุ่นเนื่องจากลูกค้าส่วนมากต้องการสินค้าหรือบริการ แบบทันทีทันใดมากขึ้น และจะเป็นสินค้าที่ตรงกับความต้องการของตัวเองมากที่สุด ลักษณะแบบนี้จะท�ำให้โลจิสติกส์ยุคใหม่มีความซับซ้อน มากยิ่งขึ้นครับ ซึ่งจะต้องออกแบบให้ดีตั้งแต่ต้นน�้ำ ตั้งแต่การสรรหาวัตถุดิบ มาถึงกลางน�้ำซึ่งก็คือการออกแบบและการผลิต จนถึงปลายน�้ำซึ่ง ก็คือการจัดส่งหรือการกระจายสินค้า ซึ่งท่านสามารถท�ำได้แน่นอนครับถ้าท่านเข้าใจสิ่งที่ลูกค้าสมัยใหม่ต้องการได้อย่างแจ่มแจ้ง ถ้าใครยัง ไม่เข้าใจก็กลับไปใช้ Facebook หรือใช้ไลน์มากขึ้น ลองสังเกตข้อความที่ท่านเห็นและลองตีความหมายของค�ำพูดคนยุคใหม่ดูนะครับ ผมว่า ท่านจะมองเห็นสิ่งที่ผมเขียนไว้ข้างบนแน่นอนครับ สวัสดีครับ ขออนุญาตไปสั่งไก่ทอด Delivery ก่อนนะครับ ขี้เกียจออกไปนอกบ้านครับ รถติด!!

15


ดร.เลิศชัย สุธรรมานนท์

ผู้อำ�นวยการหลักสูตร MBA in S-HRM

อาจารย์วิเชศ คำ�บุญรัตน์

หัวหน้าสาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์

ในฐานะที่ ผู้ เ ขี ย นได้ มี ป ระสบการณ์ ทั้ ง ใน วงการวิ ช าการ และมี ป ระสบการณ์ ใน งานภาคบริหารทรัพยากรมนุษย์ จึงขอ รวบรวมข้ อ มู ล เพื่ อ พยากรณ์ แ นวโน้ ม ทิศทางการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ในปี ค.ศ. 2014 เป็นต้นไปว่า แนวโน้มใดจะเป็น แนวโน้มสำ�คัญทีผ ่ บู้ ริหารและนักทรัพยากร มนุษย์ควรต้องเตรียมการรับมือ เหมือน ดั่งตำ�ราพิชัยสงครามของซุนวูที่กล่าวว่า “รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้งชนะร้อยครั้ง”

HUMAN CAPITAL

เริ่มต้นด้วยกระแสที่มาแรงและยังจะเป็น กระแสต่อไปอีกหลายปี โดยขอเริม่ จากการ ส�ำรวจโดย IBM กับผูบ้ ริหารระดับสูงทัว่ โลก จ�ำนวน 1,700 คนจาก 64 ประเทศ พบว่า ผู้บริหารมากถึง 71% ให้ความส�ำคัญและ เห็นว่า ปัจจัยหลักที่จะท�ำให้ธุรกิจเติบโต อย่ า งยั่ ง ยื น ก็ คื อ ทุ น มนุ ษ ย์ (Human Capital) ซึ่ ง มากกว่ า การสร้ า งความ สัมพันธ์กับลูกค้า และการสร้างนวัตกรรม ของสิ น ค้ า และบริ ก ารเสี ย อี ก เหตุ ที่ ทุ น มนุษย์หรือทรัพยากรมนุษย์มีความส�ำคัญ อาจเนื่องจากมนุษย์เป็นผู้ขับเคลื่อนปัจจัย ต่างๆ ทั้งเงินทุน เครื่องจักร และอื่นๆ อีก มากมายของทั้งองค์กร เมื่อเห็นแนวโน้ม เช่นนี้ ผูบ้ ริหารและนักทรัพยากรมนุษย์ของ แต่ ล ะองค์ ก าร ต้ อ งให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ บุ ค ลากรในองค์ ก าร ด้ ว ยการก� ำ หนด 16

กลยุทธ์ นโยบาย แนวปฏิบัติ ตลอดจน กิ จ กรรมที่ ส นองตอบความต้ อ งการของ บุคลากรในองค์การ และผลประกอบการ ขององค์การ แนวโน้มทีส่ อง คือ แนวโน้มการขาดแคลน ผู้มีความสามารถสูง (Talent) ในทุก ขนาดขององค์การ โดย Martin-Chua, E. ได้ ศึกษาพบว่า ภาคธุรกิจในเอเชียประสบ ปั ญ หาการขาดแคลนบุ ค ลากรที่ มี ค วาม สามารถสูง จนเรียกได้ว่า เกิดสงครามการ แย่งชิงผูม้ คี วามสามารถสูง โดยประเทศจีน มีความรุนแรงสูงสุด รองลงมาคือ ประเทศ มาเลเซีย ออสเตรเลีย อินโดนีเซีย และ สิงคโปร์ ตามล�ำดับ ด้วยเหตุเนือ่ งจากบุคคล เหล่านีม้ ปี ระสิทธิภาพในการท�ำงานทีเ่ หนือ กว่าบุคคลทั่วไป สามารถน�ำองค์การไปสู่ ความส�ำเร็จได้ โดยปกติบุคคลเหล่านี้จะมี

ไม่เกิน 3% ถึง 5% ของพนักงานองค์การ ความกังวลเรื่องความขาดแคลนผู้มีความ สามารถสูงนี้ สะท้อนให้เห็นได้จากการ สอบถามผู้บริหารระดับสูง (CEO) มากกว่า 1,000 คนทั่วโลก พบว่า ผู้บริหาร 72% มี ความกังวลที่จะขาดผู้มีความสามารถสูงที่ พร้อมจะท�ำงาน ซึ่งมากกว่าความกังวลใน เรื่องราคาพลังงาน ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ และทรัพย์สินทางปัญญา ดังนั้น ผู้บริหาร และนักทรัพยากรมนุษย์ของแต่ละองค์การ ต้องให้ค�ำนิยามของผู้มีความสามารถสูงว่า คือต�ำแหน่งใด ต้องก�ำหนดวิธีหรือแนวทาง ในการคัดเลือกบุคลากรเพื่อเป็นผู้มีความ สามารถสูงขององค์การ ต้องก�ำหนดระบบ การบริหารจัดการผูม้ คี วามสามารถสูงอย่าง เป็ น ระบบ และบูรณาการกับระบบการ บริหารทรัพยากรมนุษย์ และการพัฒนาอืน่ ๆ


แนวโน้มที่สาม คือ แนวโน้ม ด้านความสามารถในการเป็น ผู้น�ำ (Leadership Capability) แนวโน้มนี้มีการวิจัยโดย APM Group และ Professor Bruce McKenzie พบว่า ผู้น�ำ ในอนาคตในประเทศไทยต้องมี ความสามารถ 6 ด้าน คือ

3.3 การสร้ า งความร่ ว มมื อ (Collaboration) การเป็นผู้น�ำ ที่มีประสิทธิภาพในการสื่อสาร เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่าง บุคลากรที่มีความหลากหลาย ภายในองค์การ สร้างให้เกิดการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่าง เท่าเทียมท�ำให้เห็นภาพหลาก 3.1 ความหยุ่นตัว หรือความ หลาย ต่างมุม สามารถในการปรับฟื้นคืนได้ 3.4 ความศรัทธา (Trust) การ (Resilience) การเป็นผู้น�ำต้อง เป็นผู้น�ำที่สามารถเรียกศรัทธา มีความหยุ่นตัว แม้ในสถาน- ความมั่นใจ และความไว้วางใจ การณ์ที่มีความไม่แน่นอนและ ในตั ว ผู ้ น� ำ คื น กลั บ มาให้ ผู ้ ที่ คลุ ม เครื อ สามารถประเมิ น ท� ำ งานด้ ว ยสั ม ผั ส ได้ ถึ ง ความ ความเสี่ ย งที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ใน โปร่งใสในการตัดสินใจ อนาคต และเตรี ย มแผนงาน 3.5 การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง รองรับหากเกิดความเสีย่ งเหล่านัน้ (Continuous Learning) การ 3.2 ความยืดหยุ่น (Flexibility) การเป็ น ผู ้ น� ำ ต้ อ งมี ค วาม ยืดหยุ่นสามารถตอบสนองต่อ สถานการณ์ ไ ด้ อ ย่ า งฉั บ พลั น และหาทางออกได้อย่างสร้าง สรรค์ แม้อยูใ่ นสถานการณ์ทไี่ ม่ เอื้ออ�ำนวย

เป็ น ผู ้ น� ำ ต้ อ งพร้ อ มก้ า วสู ่ อนาคตด้วยการเรียนรู้อย่างต่อ เนือ่ งสม�่ำเสมอ และทีส่ �ำคัญคือ ต้องมีความสามารถทีจ่ ะยอมรับ ได้วา่ “ตัวเองยังไม่รพู้ อ”

3.6 ความสามารถในการบริหาร จัดการงาน ทั้งในระยะสั้นและ ระยะยาว (Prospering - Short & Long term) โดยผู้น�ำที่มี ความสามารถต้ อ งบริ ห าร จัดการงานในระยะสั้น แล้วยัง ค�ำนึงถึงผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ในระยะยาวควบคู่กันไปด้วย แนวโน้มที่สี่ คือ แนวโน้มรูป แบบการพั ฒ นาทรั พ ยากร มนุษย์ที่เปลี่ยนไป (Human Resource Development) ผลจากการวิจยั โดย American Society for Training & Development พบว่า การคง ความรู้ของผู้เรียนหลังจากผ่าน การเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ ไป แล้ว 14 สัปดาห์ การเรียนโดย นั่งฟังบรรยายเพียงอย่างเดียว หรือที่นิยมใช้ คือการส่งเข้ารับ การฝึกอบรม มีผลการคงอยู่ ของความรู้เหลือเพียง 5% แต่ การเรียนรู้ด้วยวิธีการสอนงาน แบบตัวต่อตัว หรือเรียนแบบ เรียนรูด้ ว้ ยตนเองและการลงมือ ท�ำในงาน มีผลการคงเหลือของ

ความรู้มากถึง 90% และ 75% ตามล�ำดับ ดังนั้น แนวโน้มการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์จะเริ่ม เปลีย่ นไปจากเดิม เป็นการเรียน รู้ในรูปแบบ 70/20/10 ของ Center for Creative Leadership (CCL) นั่นคือ การเรียนรู้ 70% จะเป็นการเรียนรูจ้ ากการ ท�ำงาน 20% ถัดมาเป็นการ เรียนรู้จากหัวหน้า และ 10% สุดท้ายเป็นการเรียนรู้ด้วยการ เข้ า ฝึ ก อบรมหรื อ การอ่ า น หนังสือด้วยตนเอง

Human Resource Analytic

Human Resource Development

HR Trend beyond 2014

Talent

Human Capital

Leadership Capability

แนวโน้มที่ห้า คือ แนวโน้มการ ประเมินประสิทธิภาพงานด้าน ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ที่ เ ข้ ม ข้ น (Human Resource Analytic) แนวโน้มนี้จะเป็นการ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลด้าน ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ทั้ ง ในอดี ต และปัจจุบัน เช่น ข้อมูลด้าน บุคลากร (Employee Data) ข้อมูลการจ้างงาน ข้อมูลผลการ ปฏิบัติงาน ข้อมูลการลาออก เป็นต้น เพื่อพยากรณ์แนวโน้ม ในอนาคต และจัดล�ำดับความ ส� ำ คั ญ การประเมิ น ดั ง กล่ า ว เป็นการสร้างคุณค่าให้กับงาน ด้ า นทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ที่ เ น้ น ประสิทธิภาพของการบริหาร ท รั พ ย า ก ร ม นุ ษ ย ์ กั บ ผ ล ประกอบการขององค์ ก าร เป็นการสร้างโอกาสใหม่ๆ ให้ กับงานด้านทรัพยากรมนุษย์ ผูเ้ ขียนหวังว่าแนวโน้มห้าด้านนี้ คงจะเป็ น ประโยชน์ ส� ำ หรั บ องค์ ก ารต่ า งๆ ที่ ต ้ อ งเตรี ย ม รับมือ เพื่อผลักดันองค์การเป็น องค์การทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงได้

เอกสารอ้างอิง APM Group, (2013). Life and Death Challenge for Thai Organizations. http://www.apm.co.th/solutions%20mail/thank/2020%20Thai%20Leadership.pdf. Berger, L. A., & Berger, D. R. (Eds.). (2011). The Talent Management Handbook: Creating a Sustainable Competitive Advantage by Selecting, Developing, and Promoting the Best People. New York: McGraw-Hill. Jac, F. E. (2010). The New HR Analytics: Predicting the Economic Value of Your Company's Human Capital Investments. AMACOM Div American Mgmt Assn. Lawler III, E. E., Levenson, A., & Boudreau, J. W. (2004). HR Metrics and Analytics: Uses and Impacts. Human Resource Planning Journal, 27(4), 27-35. Lawler III, E. E. (2008). Talent: Making people your competitive advantage. San Francisco: Jossey-Bass A Wiley Imprint. Martin-Chua, E. (2009). Maximizing Human Capital in Asia: From the Inside Out. Wiley.com. Pickens. C. (2556). Create a Smarter Workforce: Strategic Overview : ออนไลน์. แหล่งที่มา : http://public.dhe.ibm.com/software/ph/downloads/1a_01_CHRO_Create_a_ Smarter_Workforce_Strategic_Overview_Carla_Pickens.pdf. Rabin R. (2013). Blended Learning for Leadership: The CCl Approach. http://www.ccl.org/leadership/pdf/research/BlendedLearningLeadership.pdf.

17


18



iMBA@PIM หากกล่าวถึงค�ำว่า “นวัตกรรม” (Innovation) ผู้คนส่วนใหญ่อาจจะนึกถึงเครื่องมือสมัยใหม่ หรือเทคโนโลยีสุดล�้ำ ที่มาช่วยให้การใช้ชีวิตสะดวก คล่องตัว และทันสมัยมากขึ้น เพราะนวัตกรรมคือ การปรับปรุงหรือประยุกต์สิ่งที่มีอยู่ ให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง เกิดสิ่งที่แตกต่าง พบมุมมองใหม่ และ เกิดการพัฒนา ในเชิงธุรกิจ กระแสความเปลี่ยนแปลงเริ่มมีการย้ายข้าง จากตะวันตกมาสู่ตะวันออก อาจจะเห็นได้จากบทบาท ของประเทศตะวันตกก�ำลังลดลง ความเป็นเอเชียเริม่ ดึงดูด กลุ่มนักธุรกิจ นักบริหาร และนักลงทุนมากขึ้น ตัวอย่างเช่น เมื่อประเทศจีน หรือกลุ่มประเทศอาเซียน เช่น พม่า ลาว มีการ เปิดประเทศอย่างเป็นทางการ นักลงทุนต่างชาติต่างหลั่งไหลเข้าไป จับจองโอกาสและหาช่องทางทางธุรกิจกันมากมาย การท�ำธุรกิจในโลก ฝัง่ ตะวันออก โดยเฉพาะในกลุม่ ประเทศอาเซียนนัน้ จะมีเสน่หเ์ ฉพาะตัว ในด้านการบริหารที่ให้เกียรติกัน ยึดถือในเรื่องระบบอาวุโส มีการสร้าง เครือข่ายความร่วมมือกับคู่ค้ามากกว่าการแย่งชิงและตัดรอนทางธุรกิจ เป็นต้น กลุ่มประเทศอาเซียนจึงถือเป็นอีกกลุ่มที่มีความน่าสนใจไม่น้อย

20


การศึกษาเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยสร้างนวัตกรรม ใน ขณะเดียวกันก็เป็นส่วนช่วยเตรียมให้ผสู้ นใจพร้อม รับกับนวัตกรรมของโลกธุรกิจได้อกี ด้วย จากข้อมูล ของศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ (iHDC) อธิบาย เกี่ยวกับการเรียนรู้ที่ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไว้ อย่างน่าสนใจว่า การเรียนรู้บูรณาการ (สมอง ใจ และวิญญาณ) พัฒนา 3 ด้านไปพร้อมๆ กัน และ ส่งเสริมเกือ้ กูลซึง่ กันและกัน ในภาษาอังกฤษเรียก ว่า Integrative Learning หรือในบางที่เรียกว่า Transformative Learning ซึ่งแปลเป็นไทยได้ 2 แบบว่า (1) การเรียนรูเ้ พือ่ การเปลีย่ นแปลงระดับ รากฐาน คือ เปลี่ยนจากสัญชาตญาณสัตว์ เป็น มนุษย์ผมู้ จี ติ ใจสูง ซึง่ มนุษย์ทกุ คนบรรลุได้ในฐานะ บุคคลทางโลก ไม่ต้องเข้าวัด หรือไม่ต้องบวช (2) เป็นการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง หรือ งอกงามภายในตน ตรงกันข้ามกับการเรียนรู้แบบ รับถ่ายทอดความรูม้ าจากภายนอก การเรียนรูแ้ บบ Integrative Learning สอดคล้ อ งกั บ การ บริ ห ารธุ ร กิ จ ในเชิ ง ตะวั น ออก คื อ เน้ น ความ ออมชอม แสวงหาความร่วมมือ และเติบโตไปด้วย กันเพื่อความยั่งยืนทางธุรกิจ

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ภาคภาษาอังกฤษ (iMBA) ของสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ภายใต้ บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) เป็นหนึ่งในตัวอย่าง หลั ก สู ต รบริ ห ารธุ ร กิ จ ที่ บู ร ณาการทั้ ง ทฤษฎี ก าร บริหารและเน้นการเรียนรูก้ ารปฏิบตั ทิ ใี่ ช้ได้จริง พร้อม ทั้งสร้างความเข้าใจในการบริหารธุรกิจเชิงตะวันออก ที่เป็นแนวโน้มธุรกิจของโลกปัจจุบัน ที่มีทั้งกลุ่มวิชา หลักในด้านการบริหารธุรกิจ และกลุ่มวิชา ChinaAEC Module ทีเ่ น้นทัง้ หลักคิดและหลักปฏิบตั ใิ นการ บริหารธุรกิจในโลกตะวันออก เป็นต้น หากสนใจข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับหลักสูตร สามารถเข้า เยี่ยมชมเว็บไซต์ หรือติดตามข่าวสารและกิจกรรม ของหลักสูตร iMBA ได้ที่ Facebook fanpage: iMBA@PIM และ PIM Intranet หรือติดต่อมาที่ Email: iMBA@pim.ac.th โทร.02 832 0944-5, 02 832 0486


Alunmni’s Corner ฉบับนี้ ขอไม่พลาดการรายงานเหตุการณ์ส�ำคัญ ของเหล่าชาว Panyapiwat MBA แน่นอนค่ะ ซึ่งนั่นก็คือ

วันแห่งความส�ำเร็จที่พวกเรารอคอย... ช่อดอกไม้.. ตุ๊กตาหมี.. ช่างภาพ.. ข้อความแสดงความยินดี.. น�้ำตาแห่งความปลาบปลื้ม.. ในชีวิตหนึ่งคงจะมีเพียงไม่กี่วัน

และนั่นจะเป็นวันใดไปไม่ได้ ถ้าไม่ ใช่วันแห่งความส�ำเร็จของมหาบัณฑิตรุ่นที่ 3 แห่งสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์นี้ ที่เข้าร่วม พิธีประสาทปริญญาบัตร ประจ�ำปีการศึกษา 2555 ไปเมื่อวันอาทิตย์ที่ 9 มีนาคม 2557 ที่ผ่านมา เมื่อเหล่าบัณฑิตและมหาบัณฑิตเพลิดเพลินกับการถ่ายรูปและ เยี่ยมชมบูธต่างๆ แล้ว ก็ถึงเวลาเรียกรวมบัณฑิตและมหาบัณฑิต เพือ่ ถ่ายรูปหมูบ่ นอัฒจันทร์รว่ มกับคณาจารย์และผูบ้ ริหาร ซึง่ เรียก ได้ว่าเป็นภาพแห่งความทรงจ�ำเลยทีเดียว เพราะคงไม่มีช่วงเวลา ใดทีท่ กุ ท่านจะสามารถมารวมตัวเพือ่ ถ่ายภาพเป็นทีร่ ะลึกได้พร้อม เพรียงกันแบบนี้อีกแล้ว

ไปซิ่งกะพวกเพ่ ไหมน้อง!! บรรยากาศวันงานในช่วงเช้าของสถาบัน เต็มไปด้วยพ่อแม่ ญาติ สนิทมิตรสหายของเหล่าบัณฑิตและมหาบัณฑิตที่มาร่วมแสดง ความยินดีกันอย่างอุ่นหนาฝาคั่ง บริเวณรอบสนามกีฬาถูกตกแต่ง ด้วยซุ้มต่างๆ ของแต่ละคณะ แต่ละสาขาวิชา รวมทั้งซุ้มที่รุ่นน้อง ตระเตรียมส�ำหรับให้รนุ่ พีไ่ ด้ถา่ ยรูปกัน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ซุม้ ของ พี่น้องชาว Panyapiwat MBA ที่สร้างสรรค์ขึ้นส�ำหรับรุ่นพี่ พร้อม ตุก๊ ตาหมีนอ้ ยสุดน่ารักทีร่ อแสดงความยินดีกบั พีๆ่ ทุกคน โดยมีรนุ่ น้องแกนน�ำคนเก่ง อย่างคุณธีและคุณอู๋ MBA in Retail Business Management รุ่น 6 ดูแล นอกจากนี้ยังมีเหล่าคู่ค้าของทาง บมจ. ซีพี ออลล์ ที่มาร่วมออกบูธ แจกสินค้ามากมาย

22

จากนั้นก็ถึงก�ำหนดการที่ส�ำคัญของงานในวันนี้ เหล่ามหาบัณฑิต จากรั้ว PIM เดินแถวอย่างสง่างามเพื่อเข้าสู่ห้องพิธีการ ซึ่งถือ เป็นการเริ่มงานประสาทปริญญาบัตรอย่างเป็นทางการ ระหว่าง ทางเดินเข้าสู่ห้องพิธีการนั้น ก็สร้างความประทับใจให้กับมหา บัณฑิตของเราเป็นอย่างมาก เพราะการเปิดตัวอันสุดแสนอลังการ ด้วยวงโยธวาทิต เพื่อน�ำมหาบัณฑิตและบัณฑิตเดินผ่านซุ้มประตู เข้าสู่หอประชุมปัญญาภิวัฒน์ พร้อมเสียงปรบมือต้อนรับตลอดที่ ดังกึกก้องไปทั่วหอประชุม หน้าตาอันปลื้มปิติยินดีของเหล่ามหา บัณฑิตและบัณฑิต เปรียบเสมือนแรงผลักดันให้รนุ่ น้องทีร่ อต้อนรับ มีแรงผลักดันที่จะมีวันนี้แบบพี่ๆ ในอนาคต


ติดตามความสนุกครั้งต่อไปได้ทาง ค้นหาค�ำว่า “Panyapiwat MBA”

เมือ่ เข้าสูห่ อ้ งพิธกี ารเรียบร้อย พิธไี ด้เริม่ ขึน้ ในเวลาประมาณ 14.00 น. ท่านประธานธนินท์ เจียรวนนท์ ประธานกรรมการและประธานคณะ ผู้บริหารเครือเจริญโภคภัณฑ์ ซึ่งเป็นประธานในพิธีเดินทางมาถึง พร้อมกรรมการสภาสถาบัน ผู้บริหารสถาบัน โดยท่านประธานธนินท์ ให้เกียรติประสาทปริญญาบัตรแก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษาด้วยสีหน้ายิม้ แย้ม แสดงความยินดีกับความส�ำเร็จของทุกคน และยิ่งไปกว่านั้น โอวาทที่ ท่านประธานธนินท์ได้มอบให้กบั ผูส้ ำ� เร็จการศึกษาในห้องทุกคน ล้วน เป็นสาระความรู้ที่มีประโยชน์ซึ่งสามารถน�ำไปใช้ในการด�ำเนินชีวิต ส่วนตัวและชีวิตในการท�ำงานได้เป็นอย่างดี เมือ่ ท่านประธานธนินท์เดินทางกลับ ก็เป็นอันเสร็จสิน้ พิธกี าร แต่ความ ประทับใจยังไม่จบเพียงแค่นี้ เหล่ามหาบัณฑิตพบกับ Big Surprise อีกครั้งเมื่อมีพลุหมุนสายรุ้งที่พวยพุ่งมาจากทุกทิศทางทั่วห้อง ถือ เป็นการฉลองความส�ำเร็จอันยิ่งใหญ่ร่วมกัน ปิดท้ายด้วยการตั้งแถวส่งมหาบัณฑิตและบัณฑิตออกจากหอประชุม เป็นอันเสร็จสิ้นพิธีที่น่าประทับใจในวันนั้น

เฮฮาหน้าบานกันทุกคน จบซะทีนะ เย้!!!

หลังจากแสดงความยินดีกับรุ่นพี่ Panyapiwat MBA ในพิธีประสาท ปริญญาบัตรกันไปแล้ว กลับมาดูกิจกรรมดีๆ ของรุ่นน้อง Panyapiwat MBA กันบ้าง กับกิจกรรมปลูกป่าชายเลนเพื่อสังคม กระชับความ สัมพันธ์น้องพี่ ของ MBA in S-HRM ณ กองพันลาดตระเวนหน่วย บัญชาการนาวิกโยธิน ต.สัตหีบ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี เมื่อวันอาทิตย์ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2557 ที่ผ่านมา

บรรยากาศการเดินทางในครั้งนี้เต็มไปด้วยความสนุกสนานตื่นเต้น เร้าใจ เริ่มตั้งแต่กิจกรรมบนรถโค้ชที่สนุกสนานจนไม่มีใครหลับ เมื่อ มาถึงที่หมาย พี่น้องชาว S-HRM ก็กระโดดลงรถโค้ช โดยที่ไม่มีใคร คาดคิดว่าจะมีเหตุการณ์ที่ไม่นึกไม่ฝันเกิดขึ้น ที่อยู่ๆ พี่ทหารก็จะมา เอาตัวพี่ๆ ไปท�ำกิจกรรมกัน เหมือนได้เข้าค่ายฝึกทหารโดยที่ไม่มี การเตรียมตัวกันมาก่อนเลย

กิจกรรมแรกทีส่ ดุ โหด มันส์ ฮา แต่สร้างความสัมพันธ์ทดี่ เี ป็นอย่างยิง่ นั่นก็คือ กิจกรรม Team Building ซึ่งกติกาคือ แบ่งคนเป็นสองทีม ประกอบด้วย ทีมรุ่งเรือง และทีมไม่รู้สินะ (ที่มีอาจารย์ต้นร่วมทีม ด้วย) แข่งพายเรือกันเพือ่ ฝึกความสามัคคี ผลการแข่งขันเกมแรก ทีม รุง่ เรืองก็ชนะไปตามชือ่ ปล่อยให้ทมี ไม่รสู้ นิ ะ ยังคงชิวๆ ไม่รสู้ นิ ะต่อไป

จากนั้น ต่อด้วยกิจกรรม Adventure เช่น กระโดดหอวัดใจและด�ำ น�้ำ และปิดท้ายด้วยกิจกรรมที่เป็นไฮไลต์ของวันนี้ นั่นก็คือ กิจกรรม ปลูกป่าชายเลน ที่พี่น้องชาว S-HRM ได้ช่วยกันปลูกเพื่อสังคมและ สิ่งแวดล้อม ต้องบอกเลยว่ากิจกรรมในวันนี้ นอกจากจะได้อิ่มเอมใจ กับการช่วยเหลือสังคม อิ่มเอมกับความสนุกสนาน ได้กระชับความ สัมพันธ์รนุ่ พีร่ นุ่ น้องในสาขาวิชาเดียวกันแล้ว ในแต่ละกิจกรรมได้สอด แทรกความรูใ้ นเรือ่ งการบริหารทีมงาน การจัดการเชิงกลยุทธ์ในการ บรรลุเป้าหมายเพือ่ ประสบความส�ำเร็จ รวมถึงการวิเคราะห์คแู่ ข่งอีกด้วย

กิจกรรมดีๆ และภาพความประทับใจต่างๆ ใน Panyapiwat MBA จะเป็นเช่นไรต่อไป โปรดติดตามฉบับหน้า!!

23



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.