Issue July 2015
06 14 16 18 20 21 22 23
PIM Highlight คนเก่ง PIM Living with Innovation โลกใบกว้าง PIM in Trend เรื่องจีนจากซีหนาน Our Network โรงเรียนพี่โรงเรียนน้อง
สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (Panyapiwat Institute of Management) PIM Magazine : พี ไอ เอ็ม แมกกาซีน ปีที่ 6 ฉบับที่ 32 เดือนกรกฎาคม 2558 สำ�นักสื่อสารองค์กร
ที่ปรึกษา สยาม โชคสว่างวงศ์ บรรณาธิการบริหาร ปาริชาต บัวขาว บรรณาธิการ วาร์วี ชานวิทิตกุล กองบรรณาธิการ ภูริมาศ สว่างเมฆ ศิริจันทร์ สุขญาติเจริญ มนตกานต์ วีรชัยเดชอุดม ลภัสรดา โพธิ์นาค รวิดา ภิญโญ ปีย์ณัฐ นาคคล้าย พิสูจน์อักษร สุธาสินี พ่วงพลับ คทาเทพ พงศ์ทอง กันย์อักษร ชื่นชมภู อรทัย ทับทองห้วย ชนติกาญ วนารักษ์สกุล นักเขียนรับเชิญ อ.เกวรินทร์ ฉันทนะสุขศิลป์ อ.ชนกานต์ กิ่งแก้ว อ.ศรายุทธ ปลัดกอง วิญญ์รวี ช่อวิเชียร ศิลปกรรม นัฐพล คงแสง ทักษกร นุ้ยเพ็ง เอกภพ สุขทอง กิตติพัฒน์ พันเรือง 85/1 หมู่ 2 ถนนแจ้งวัฒนะ ตำ�บลบางตลาด อำ�เภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0 2832 0200 ถึง 14 โทรสาร 0 2832 0391 85/1, Moo 2, Chaengwattana Road, Bang-Talad, Pakkred, Nonthaburi, 11120 THAILAND Tel. 0 2832 0200 to 14 Fax 0 2832 0391 www.pim.ac.th www.facebook.com/pimfanpage Line : @pim.line
pimmag@pim.ac.th ครบ 1 ปีเต็มที่ PIM เปิดสาขาวิชาวิศวกรรมการผลิตยานยนต์ หลั ก สู ต รปริ ญ ญาตรี 4 ปี ข องคณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี นั ก ศึ ก ษารุ ่ น แรกหลายคนตั้ ง ใจมาเรี ย นรู ้ ผ ่ า น ประสบการณ์จริง (Work-based Education) เพือ่ กลับไปสานต่อ กิจการของครอบครัว หรือเริ่มต้นธุรกิจเกี่ยวกับยานยนต์ของ ตนเองในอนาคต และอีกหลายคนที่เห็นโอกาสทางอาชีพใน อุ ต สาหกรรมยานยนต์ ซึ่ ง เป็ น อุ ต สาหกรรมหลั ก ของไทย ครองฐานการผลิตอันดับ 1 ในกลุ่มประเทศอาเซียน PIM Magazine ฉบับนี้ จึงขอสรุปเรื่องราวเกี่ยวกับอุตสาหกรรม ยานยนต์ในประเทศไทยมาให้อา่ นแบบเข้าใจง่ายๆ ตัง้ แต่ประวัติ ความเป็นมาของรถยนต์ ส่วนประกอบ ชื่อเรียกผู้ผลิตชิ้นส่วน ยานยนต์ล�ำดับต่างๆ เกร็ดความรู้และเทคโนโลยีใหม่ล่าสุดใน โลกยนตรกรรม ปิดท้ายด้วยการแนะน�ำหลักสูตรวิศวกรรมการ ผลิตยานยนต์ PIM ที่น่าจับตามองสุดๆ ตั้งแต่ซีพีร่วมทุนกับ เซี่ยงไฮ้ ออโตโมทีฟ วางจ�ำหน่ายรถยนต์สัญชาติอังกฤษ MG ไปเมื่อปีกลาย เล่มนี้โลกใบกว้างขอตามอาจารย์หนุ่มไฟแรงคณะวิศวะฯ ไป เที่ยวไกลถึงไอซ์แลนด์ อินเทรนด์กับการฝึกภาษาจีนด้วยการดู ซีรีย์สนุกๆ และสินค้าแปลกจากซีหนาน รู้จักสมาร์ทโฟนถอด ประกอบ องค์กรบิ๊กไซส์สัญชาติเยอรมัน ฟุคส์ ผู้ผลิตและ จ�ำหน่ายสารหล่อลื่นในอุตสาหกรรมยานยนต์ และโรงเรียน สมุทรสาครวิทยาลัย ที่มีศิษย์เก่าหลายคนมาเรียนต่อที่ PIM PIM สร้างมืออาชีพ ด้วยการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง วาร์วี ชานวิทิตกุล
3
ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ และประชุมผู้ปกครอง ประจำ�ปีการศึกษา 2558
สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ (PIM) จัดงานปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ และประชุมผูป้ กครอง ประจำ�ปีการศึกษา 2558 โดยมี รศ.ดร. สมภพ มานะรังสรรค์ อธิการบดี PIM เป็นประธานในพิธี และ อ.พรวิทย์ พัชรินทร์ตนะกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ร่วมกันกล่าว ต้อนรับ พร้อมทั้งให้โอวาทสำ�หรับการใช้ชีวิตในรั้ว PIM แก่นักศึกษาชั้นปีที่ 1 จากทุกคณะกว่า 4,000 คน ภายในงานมีเสวนาพิเศษ จากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญของ PIM หัวข้อ “ฝึกฝนสู่ความสำ�เร็จ” และ “ฝึกงานสไตล์ Work-based Education” แต่ละคณะต่างก็จัด กิจกรรมรับน้องใหม่อย่างสนุกสนาน เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักกันและสร้างความคุ้นเคยกับบ้านหลังใหม่นี้อย่างอบอุ่น
นวัตกรรมธุรกิจ นำ�ร้าน 7-Eleven สู่ความทันสมัย
คณะบริหารธุรกิจ ร่วมกับสำ�นักอธิการบดี PIM จัดประกวดโครงการนวัตกรรมธุรกิจ ครั้งที่ 2 เพื่อต่อยอดนวัตกรรมที่นำ�ไปใช้ได้จริง ภายในร้าน 7-Eleven โดยมีคุณก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์ เป็นประธาน โครงการที่ได้รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ “สัญญาณตัวเลขหน้าช่องกด เงิน” จากคณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ หน่วยการเรียนทางไกล จ.ชลบุรี รองชนะเลิศอันดับที่ 1 ได้แก่ “Planogram Electronic” จากคณะนวัตกรรมการจัดการเกษตร และรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 “ถุงกระดาษ All in one Foods” จากคณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ หน่วยการเรียนทางไกล จ.สงขลา
4
PIM ปั้นนักจัดการธุรกิจอาหารคุณภาพ ตรงใจผู้ประกอบการ
∴Visitors∵
คณะกรรมการสภาคณบดีสาขาการเกษตร แห่งประเทศไทย
คณะการจั ด การธุ รกิจอาหาร PIM จัด งานเปิด ตัวหลั กสู ตรปริ ญ ญาตรี สาขาวิ ช า การจัดการธุรกิจอาหาร และสาขาวิชาการจัดการธุรกิจภัตตาคาร โดยได้รับเกียรติจาก อ.พรวิทย์ พัชรินทร์ตนะกุล รองอธิการบดีฝา่ ยวิชาการ กล่าวต้อนรับและเปิดงาน ภายใน งานมี เ สวนาพิ เ ศษ หั ว ข้ อ “สร้ า งธุ ร กิ จ อาหาร รุ ก ...เร็ ว ...แรง” จากวิ ท ยากรมาก ประสบการณ์ในวงการธุรกิจอาหาร คุณปณิธาน เศรษฐบุตร คุณสุภัค หมื่นนิกร และ คุณไพศาล อ่าวสถาพร หลักสูตรนี้ตอบโจทย์ภาคธุรกิจอาหาร และผลิตนักศึกษาที่มี ความเชี่ยวชาญในสายอาชีพการจัดการธุรกิจอาหารโดยตรง เพื่อรองรับการขยายตัว เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
คณะพลเอก วาภิรมย์ มนัสรังษี รองสมุหราชองครักษ์
วันคล้ายวันสถาปนาคณะอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
PIM และ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำ�กัด (มหาชน) หรือ CPF ร่วมกันจัดงานวัน คล้ายวันสถาปนาคณะอุตสาหกรรมเกษตร เนือ่ งในโอกาสทีเ่ ปิดการเรียนการสอนสาขา วิชาการจัดการเทคโนโลยีฟาร์มครบรอบ 1 ปี เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2558 โดยมีคุณ อดิเรก ศรีประทักษ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานคณะผู้บริหาร CPF ให้เกียรติ เป็นประธาน พร้อมมอบทุนการศึกษาแก่นักศึกษารุ่นแรก 51 คน ภายในงานมีการ บรรยายพิเศษโดยวิทยากรต่างชาติจาก Iowa State University ผูม้ คี วามเชีย่ วชาญด้าน การจัดการฟาร์ม เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์อาหาร ดำ�เนินการบรรยาย และสรุปเนื้อหาตลอดรายการโดย รศ.ดร.สมบัติ ธีระตระกูลชัย ที่ปรึกษาด้านการศึกษา ของคณะอุตสาหกรรมเกษตร
โรงเรียนนานาชาติไทย-จีน
5
Hig PIM hlig ht
5
รถยนต์ ปัจจัยที่ ของมนุษย์ 1769
งานชุมนุม 1905 รถยนตครั้งแรก ในกรุงรัตนโกสินทร ประดิษฐรถจักร ขับเคล�อนดวยไอน้ำคันแรก
1879 สรางรถที่ ใชน้ำมันเบนซิน เปนครั้งแรก
1904 รถยนต พระที่นั่งคันแรก ในประวัติศาสตรไทย
ชาวตางชาตินำรถยนต คันแรกเขามาในสยาม
มาเพื่อช่วยในการดำ�เนินชีวิตให้สะดวกสบายมากยิ่งขึ้น รถยนต์ อาจเปรียบได้กับบ้านหลังเล็ก ให้ผู้ขับขี่ใช้โดยสารถึงจุดหมาย ปลายทางได้อย่างรวดเร็ว ปลอดภัย และเป็นส่วนตัวตามต้องการ เมื่อออกเดินทางสู่ท้องถนนเราจะพบรถยนต์หลากยี่ห้อ หลาย สีสัน และรูปแบบ สนองตอบต่อวัตถุประสงค์ของผู้บริโภคที่ แตกต่างกัน เช่น รถหรูหรา รถสมรรถนะสูงสำ�หรับผู้ชื่นชอบ ความเร็ว แรง หรือรถอเนกประสงค์ สมบุกสมบัน สามารถขับ ตะลุยในทุกสถานการณ์ มีพื้นที่ใช้สอยกว้างขวางเหมาะสำ�หรับ ครอบครัว ภายใต้ระบบความปลอดภัยทีก่ อ่ ให้เกิดความมัน่ ใจแก่ ผู้ใช้รถยนต์ ปั จ จุ บั น การผลิ ต ยานยนต์ มี วิ วั ฒ นาการก้ า วลํ้ า ไปไกลตาม เทคโนโลยี ที่ รุ ด หน้ า คำ�นึ ง ถึ ง การใช้ พ ลั ง งานสะอาดเพื่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม โดยมี ท รั พ ยากรมนุ ษ ย์ เ ป็ น กลไกสำ�คั ญ ที่ ทำ�ให้ อุ ต สาหกรรมการผลิ ต ยานยนต์ มี คุ ณ ภาพ สร้ า งมู ล ค่ า ทาง เศรษฐกิจมหาศาล
2011
1909
ตราพระราชบัญญัติ รถยนตฉบับแรกใน ประเทศไทยมีรถยนต จดทะเบียนทั่ว ประเทศไทย 412 คัน
กอตั้งสมาคม ผูผลิตชิ้นสวน ยานยนตไทย
1964
1924
TOYOTA เขามาทำตลาด ในประเทศไทย
สงครามโลกครั้งที่ 1
1901 1939 - 1945
1962
1959
2012
ยอดจำหนายรถยนต ปายแดงสูงที่สุดใน ประวัติศาสตรไทย หรือ 1.4 ลานคัน
2013
เซี่ยงไฮ ออโตโมทีฟ (SAIC) รวมทุนกลุมบริษัทซีพี ตั้งโรงงานผลิตรถยนต MG ในประเทศไทย
2014
คณะวิศวกรรมศาสตร และเทคโนโลยี PIM เปดสอนสาขาวิชา วิศวกรรมการ ผลิตยานยนต
สงครามโลกครั้งที่ 2
เสนทางสูอุตสาหกรรมยานยนตไทย 6
1978
1914 - 1918
1933 รถคันแรกที่เริ่ม ผลิตทีละจำนวน มากผานสายพาน
รัฐบาลไทยคืน ภาษีรถยนตคันแรก
HONDA เขามาทำตลาด ในประเทศไทย
1903
1886 เปนรถยนตคันแรก ที่วางจำหนาย
รถยนต์ พาหนะทีก่ ล่าวได้วา่ เป็นปัจจัยที่ 5 ของมนุษย์ ถูกผลิต
SAIC Motor-CP จัดจำหนายรถยนต เปนครั้งแรกในประเทศไทย
ส่วนประกอบของรถยนต์ รถยนต์ประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ มากมาย โดยแบ่งออกเป็นระบบต่างๆ ที่สำ�คัญดังนี้
ทีม่ า : Huib Seegers
- ระบบเบรก ทำ�หน้าที่ชะลอความเร็วของรถ หรือทำ�ให้รถหยุด ระบบเครือ่ งยนต์ มีหน้าทีแ่ ปลงพลังงานเชือ้ เพลิง เช่น นาํ้ มัน ให้ ตามความต้องการของผู้ขับรถ รถส่วนใหญ่ในปัจจุบันใช้การ เป็ น พลั ง งานกลขั บเคลื่อ นรถยนต์ไ ด้ รถยนต์แบ่งตามกำ�ลั ง ถ่ายทอดแรงเหยียบที่แป้นเบรกไปถึงตัวอุปกรณ์หยุดล้อด้วย ขับเคลื่อน ดังนี้ คือ รถที่ใช้เครื่องยนต์แก๊สโซลีน (นํ้ามันเบนซิน) ระบบไฮดรอลิก รถที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซล รถไฮบริด (Hybrid Vehicle) รถพลังงาน ไฟฟ้า (Electric Vehicle - EV) รถยนต์เซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cell ระบบไฟฟ้า ได้แก่ ไฟฟ้าสำ�หรับเครื่องยนต์ และไฟฟ้าสำ�หรับ ตัวถัง Vehicle - FCV)
ระบบส่งกำ�ลัง ถ่ายทอดการหมุนของเครื่องยนต์ไปยังล้อเพื่อให้ ระบบโครงรถและตัวถัง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คือ โครงรถและ
เคลื่อนที่ได้ การส่งกำ�ลังหมุนนี้ผ่านส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ ตัวถังแยกจากกัน และทัง้ หมดเป็นชิน้ เดียวกัน โครงรถเป็นรากฐาน หลายส่วน เช่น คลัทช์ เกียร์ เพลาขับ เฟืองท้าย เพลา และล้อ ทีท่ ำ�ให้รถยนต์แข็งแรงและทำ�หน้าที่รองรับตัวถัง อันได้แก่ โครง หลังคา ฝากระโปรง ประตู กระบะ ฝาท้าย กันชน ฯลฯ ระบบนี้ ระบบช่วงล่าง อันประกอบด้วย ระบบรองรับ ระบบบังคับเลี้ยว ช่วยปกป้องผู้ขับขี่และทรัพย์สินที่อยู่ภายในรถ และเป็นจุดหลัก และระบบเบรก ที่คนให้ความสำ�คัญในการเลือกซื้อรถ - ระบบรองรับ เป็นระบบกันสะเทือนที่จะช่วยให้เกิดความ อุปกรณ์ภายในและการตกแต่ง มีหน้าที่อำ�นวยความสะดวก นุ่มนวล สะดวกสบาย และการทรงตัวที่ดีในขณะขับขี่ สบาย และช่วยในการรักษาความปลอดภัยให้แก่ผู้ขับขี่และผู้ - ระบบบังคับเลี้ยว ทำ�หน้าที่บังคับให้รถเลี้ยวไปตามทิศทาง โดยสาร เช่น เบาะนั่ง แผงประตู เข็มขัดนิรภัย ถุงลมนิรภัย พรม ที่ต้องการ ประกอบด้วยพวงมาลัย กระปุกเกียร์ คันชัก คันส่ง หลังคา พรมพืน้ รถ ระบบช่วยนำ�ทาง เครือ่ งปรับอากาศ วิทยุ ฯลฯ
7
รถยนต์
เรื่องน่ารู้
ใช้พลังงานจากไหน ?
พลังงานดัง้ เดิมทีไ่ ด้จากการกลัน่ ปิโตรเลียม
เกี่ยวกับยานยนต์
1. น้ำ�มันเบนซิน
2. น้ำ�มันดีเซล
3. ก๊าซ
พลังงานทดแทนเพื่อสิ่งแวดล้อม 1. ไฮบริด (ไฟฟ้ากับน้ำ�มัน)
บริษัท ประกอบยานยนต์ (Assembler)
โครงสร้าง อุตสาหกรรม ยานยนต์ไทย
2. ไฮโดรเจน
ผู้ผลิตชิ้นส่วนระบบหลัก (Tier 1)
บริษัทประกอบยานยนต์ (Assembler)
ในประเทศไทยแบ่ ง ออกเป็น รถยนต์นั่ง รถกระบะ รถยนต์เพื่อการพาณิชย์ และ รถจักรยานยนต์ ยี่ห้อที่รู้จักกันดี ได้แก่ Toyota, Honda, Ford, Mazda, Nissan, Mitsubishi, MG, Chevrolet, BMW, Mercedes-Benz ฯลฯ
ผู้ผลิตชิ้นส่วนขนาดกลางและขนาดเล็ก (Tier 2 & Tier 3)
ปี 2014
ที่สุด
สี ข าวเป็ น ที่ นิ ย มมากที่ สุ ด เพราะเป็นสีคลาสสิก ให้ความ รู้สึกปลอดภัย ไม่ดูดกลืนความ ร้อน ดูแลง่าย และขายต่อได้ ราคา
28% 18%
ของ รถยนต์
13% 10% 9% 10.23 ล้านคัน 10.14 ล้านคัน
8
3. ไฟฟ้า
9.92 ล้านคัน
รถยนต์ที่ขายดีที่สุดในโลก
สีขาว
สีดำ� สีเงิน / เทา สีธรรมชาติ* สีแดง
สีรถยนต์ยอดฮิ ต *สีทอง, เบจ, เหลือง, ส้ม, และน้ำ�ตาล
Just In Time (JIT) การผลิตแบบทันเวลาของโตโยต้าที่วงการอุตสาหกรรม ยานยนต์และบริษัททั่วโลกนิยมนำ�ไปใช้ เราจะไม่เห็นวัสดุ คงคลังในสต็อกโรงงาน ไม่ต้องผลิตทีละเยอะๆ แต่ผลิต เฉพาะรถยนต์รุ่นที่ลูกค้าต้องการ ในเวลาที่ต้องการ ด้วย คุณภาพมาตรฐาน ต้นทุนการผลิตจึงตาํ่ กว่ารถยนต์คา่ ยอืน่ ด้วยข้อดีดังนี้ แม้กระทั่งโบอิงก็ใช้ระบบ Just In Time ผลิต เครื่องบินเช่นกัน
อุตสาหกรรม ยานยนต์กับ เศรษฐกิจไทย Tier 2 & Tier 3
Tier 1
เป็ น ผู้ ผ ลิ ต ชิ้ น ส่ ว นที่ จำ�หน่ า ยในตลาด อะไหล่ทดแทนหรือผู้ผลิตที่สนับสนุนด้าน การผลิต เป็นกลุ่มที่จัดหาวัตถุดิบให้กับ ผู้ผลิต Tier 1 ซึ่งส่วนใหญ่เป็น SMEs ไทย
กลุ่มผู้ผลิตชิ้นส่วนเพื่อใช้ในการประกอบ ยานยนต์สำ�เร็จรูป ผลิตชิน้ ส่วนคุณภาพสูง ส่ ง ให้ โ รงงานประกอบรถยนต์ โ ดยตรง ทำ�หน้ า ที่ ผ ลิ ต เครื่ อ งยนต์ ชุ ด ส่ ง กำ�ลั ง และระบบขับเคลื่อน ได้แก่ เพลาราวลิ้น Common Rail เฟืองและเพลาต่างๆ
ภูมิภาคที่ผลิตรถยนต์ เป็นอันดับ 1 คือ เอเชีย ผูน้ ำ�ได้แก่ ประเทศจีน มีคา่ ยรถยนต์ ยักษ์ใหญ่ไม่ว่าจะเป็นฝั่งยุโรป อเมริกา หรือ ญี่ปุ่น จำ�นวนมากเข้าไปลงทุนร่วมกับผู้ผลิต รถยนต์ของจีน เพราะจีนคือตลาดขนาดใหญ่ ที่สำ�คัญแห่งหนึ่งของโลก
งานแสดงรถยนต์ยอดนิยม International Automobile Exhibition (IAA)
อุ ต ส า ห ก ร ร ม ย า น ย น ต์ เ ป็ น ห นึ่ ง ใ น อุตสาหกรรมหลักของโลกซึ่งมีแนวโน้มการ เติบโตอย่างไม่หยุดยั้ง บริษัทผู้ผลิตรถยนต์ เล็งเห็นว่าไทยเป็นฐานการผลิตศักยภาพสูง พร้ อ มรั บ เทคโนโลยี ก ารผลิ ต ยานยนต์ อั น ทั น สมั ย และเป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม ด้ ว ย นโยบายสนับสนุนของภาครัฐ ความร่วมมือ จากภาคเอกชนจะทำ�ให้ ไ ทยกลายเป็ น ศูนย์กลางการผลิตรถยนต์ทั้งในอาเซียนและ โลก ที่ผ่านมาไทยเคยผลิตรถยนต์ได้ถึง 2.45 ล้านคัน ติดอันดับที่ 9 ของประเทศผู้ผลิต รถยนต์ โ ลกมาแล้ ว และเมื่ อ มี ก ารเปิ ด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เงินลงทุน จากต่ า งชาติ จ ะหลั่ ง ไหลเข้ า มาอี ก มาก ช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจของไทยให้มีความ แข็งแกร่งยิ่งขึ้น
ที่แฟรงก์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี เป็นงานแสดง รถที่ดีที่สุดและใหญ่ที่สุดในโลกที่จัดขึ้นทุกปี โดยกลุ่ ม อุ ต สาหกรรมยานยนต์ ข องเยอรมนี ภายในงานจะรวมเอาสุดยอดรถยนต์ของทุก ยี่ห้อ รวมถึงมอเตอร์ไซค์มาไว้ในงานนี้
9
ก้าวสู่พลังงานทางเลือก กับยนตรกรรมไร้มลพิษ ในยุคที่โลกมีปัญหาด้านมลภาวะ ค่ายรถยนต์ต่างๆ เล็งเห็นความสําคัญของวิธีการจัดการมลภาวะบนท้องถนน วิธีหนึ่งที่หลายค่ายเลือกก็คือ การผลิตรถยนต์ พลังงานทดแทน ทั้งระบบไฟฟ้า และ ไฮโดรเจน ขณะนี้มีรถยนต์พลังงานทางเลือกรุ่นใหม่ ออกมาให้ยลโฉมกันแล้วทั่วโลก
Toyota Mirai รถยนต์เติมไฮโดรเจน ไม่ง้อน�้ำมัน
BMW i3 รถไฟฟ้ารูปทรงแฮทช์แบค
ที่ใช้วัสดุคาร์บอนไฟเบอร์ในการประกอบตัวถัง
Mitsubishi i MiEV รถยนต์ขับเคลื่อนพลังงานไฟฟ้า
ที่ทางมิตซูบิชิจับมือกับการไฟฟ้าญี่ปุ่นสร้างจุดชาร์จไฟตามสถานที่ส�ำคัญ
Mercedes Benz B-Class Electric Drive รถไฟฟ้าจาก Mercedes Benz ที่มีระบบช่วยจอดอัจฉริยะ
10
Nissan Leaf รถไฟฟ้าที่ขายไปแล้วกว่า 100,000 คันทั่วโลก
Chevrolet Volt รถพลังงานไฟฟ้า ที่สามารถขับได้ไกล ถึง 570 กิโลเมตรต่อการชาร์จหนึ่งครั้ง
Tesla Motors
รถพลังงานไฟฟ้าจากสหรัฐอเมริกา
BYD
รถพลังงานไฟฟ้า จากจีน
Tesla Roadster รถสปอร์ตไฟฟ้าที่มีก�ำลังสูงถึง 288 แรงม้า
Tesla Model S รถพลังงานไฟฟ้าที่มีความเร็วสูงสุดอยู่ที่ 201 กม./ชม.
K9 รถโดยสารไฟฟ้าใช้งานจริงในหลายประเทศทั่วโลก
Tesla Model X รถยนต์เอสยูวีพลังงานไฟฟ้าแบบขับเคลื่อนสี่ล้อ
E6 รถยนต์นั่งไฟฟ้า ที่ใช้เวลาในการชาร์จเพียง 2 ชั่วโมง
11
ปี พ.ศ. 2557 ประเทศไทยติดอันดับ ประเทศที่ผลิตยานยนต์เป็นอันดับ ที่ 1 ของอาเซียน และตัง้ เป้าหมาย ที่ จ ะผลิ ต ยานยนต์ ใ ห้ ไ ด้ ป ี ล ะ 3,000,000 คันในปี พ.ศ. 2560 โครงสร้ า งอุ ต สาหกรรมยาน ยนต์ไทยประกอบไปด้วย บริษทั ผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ 17 ราย และผลิ ต มอเตอร์ ไ ซค์ ร ายใหญ่ 8 ราย บริษัทผลิตชิ้นส่วนระบบหลัก
(Tier 1) จ�ำนวนประมาณ 700 ราย และ บริษทั ผลิตชิน้ ส่วนขนาดกลางและขนาด เล็ก (Tier 2, Tier 3) อีกเป็นจ�ำนวนมาก ประกอบกับอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยมี การพั ฒ นาอย่ า งเข้ ม แข็ ง ด้ ว ยการ สนับสนุนจากนโยบายของรัฐบาล ท�ำให้ ความต้องการด้านก�ำลังคนสายเทคนิค ระดับช่างฝีมือและวิศวกรของประเทศ เพิ่มสูงขึ้นอย่างมากในระยะ 5-10 ปี ข้างหน้า
“อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ ต้องการคนทำ�งานประมาณ 500,000 คน ภายใน 5 ปี (พ.ศ.2554-2558) แต่ในความเป็นจริงแล้ว เราสามารถผลิตคน ได้เพียง คนเท่านั้น”
150,000
- สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
เครือข่ายพันธมิตรของ PIM MG เป็นแบรนด์รถยนต์สัญชาติอังกฤษที่ถือก�ำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 2467 ในประเทศไทยมี การด�ำเนินงานโดย บริษทั เอสเอไอซี มอเตอร์-ซีพี จ�ำกัด ซึง่ เป็นการร่วมทุนระหว่างบริษทั เซีย่ งไฮ้ ออโต้โมทีฟ อินดัสทรี คอร์ปอเรชัน่ (SAIC) ผูผ้ ลิตรถยนต์รายใหญ่ทสี่ ดุ ในประเทศ จีน กับเครือเจริญโภคภัณฑ์ (CP) บริษัท เอสเอไอซี มอเตอร์-ซีพี ได้ตั้งฐานการผลิตใน ประเทศไทยเพือ่ ประกอบรถยนต์ภายใต้แบรนด์ MG จากประเทศอังกฤษ ส�ำหรับจ�ำหน่าย ในไทยและภูมิภาคอาเซียน และยังมีบริษัท เอ็มจี เซลส์ (ประเทศไทย) ดูแลด้านการขาย การตลาด บริการหลังการขาย และการจัดจ�ำหน่าย ปัจจุบันมีโรงงานประกอบรถยนต์ใน นิคมอุตสาหกรรมเหมราชอีสเทิร์น ซีบอร์ด จ.ชลบุรี ซึ่งมีก�ำลังการผลิตอยู่ที่ 50,000 คัน ต่อปี และก�ำลังก่อสร้างโรงงานใหม่ทจี่ ะสามารถผลิตรถยนต์ได้ 150,000 คันต่อปีอกี ด้วย
12
วิศวกรรมการผลิตยานยนต์ PIM
Autumotive Manufacturing Engineering (AME) สถาบั น การจั ด การปั ญ ญาภิ วั ฒ น์ (PIM) เล็งเห็นความจ�ำเป็นในการ พั ฒ นาก� ำ ลั ง คนเพื่ อ สนองความ ต้องการของอุตสาหกรรมยานยนต์ใน ประเทศ โดยอาศั ย พื้ น ฐานหลั ก สู ต ร วิศวกรรมอุตสาหการที่มีอยู่เดิมผสม ผสานกับวิชาการด้านวิศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยียานยนต์ในปัจจุบนั ทีเ่ ป็น เครือ่ งยนต์สนั ดาปภายใน และแนวโน้มการ พัฒนาในอนาคตสู่ยานยนต์ไฮบริดและ ยานยนต์พลังงานไฟฟ้า
สถานที่ฝึก ปฎิบัติงาน ชั้นปีที่ 2-4
ชั้นปีที่ 1
หลักสูตรวิศวกรรมการผลิตยานยนต์ PIM เริม่ เปิดการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2557 โดยนักศึกษาจะได้เรียนรู้ตั้งแต่กระบวนการ ออกแบบอุตสาหกรรม การผลิตยานยนต์และ ชิ้ น ส่ ว น การบ� ำ รุ ง รั ก ษา ฝึ ก ทั ก ษะการ วางแผนและบริหารจัดการการผลิตแบบครบ วงจร โดยเรียนรู้ทฤษฎีในห้องเรียนควบคู่กับ การฝึกปฏิบตั งิ านจริงตามระบบการเรียนการ สอนแบบ Work-based Education เพื่อให้ บั ณ ฑิ ต ของเรามี ค วามพร้ อ มส� ำ หรั บ การ ปฏิบัติงานจริงในทันทีที่เรียนจบ
นักศึกษาจะต้องเข้าฝึกปฏิบัติงานภายในร้าน 7-Eleven
เข้าฝึกปฏิบัติงานกับบริษัทชั้นน�ำที่เป็นพันธมิตร ได้แก่ บริษัทผู้ผลิตและประกอบยานยนต์ รถจักรยานยนต์ ผู้ผลิตชิ้นส่วนและอะไหล่ ตลอดจนศูนย์บริการยานยนต์ ต่างๆ ทั่วประเทศ ดังนี้
โอกาสในการทำ�งาน บัณฑิตที่เรียนจบจากสาขาวิชานี้มีโอกาสได้รับคัดเลือกเข้าท�ำงาน ในบริษัทร่วมทุนผลิตรถยนต์ในเครือซีพี นอกจากนี้ยังสามารถ ท�ำงานได้หลากหลาย เช่น วิศวกรการผลิตยานยนต์ วิศวกรทดสอบและประกันคุณภาพ นักวิจัยและพัฒนายานยนต์ ผู้ประกอบการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
โอกาสในการเรียนต่อ สามารถเรี ย นต่ อ ระดั บ ปริ ญ ญาโทและเอก ในสาขาวิ ช า วิ ศ วกรรมยานยนต์ วิ ศ วกรรมการผลิ ต และสาขาวิ ช าที่ เกี่ยวข้องในมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ
13
คนเก่ง PIM
“ทดลองท�ำงานเล็กๆ ก่อน ถือว่าเริ่มต้นชีวิตการท�ำงาน มันก็โอเคกว่า เพราะเราเรียนเพื่อที่จะไปท�ำงาน”
ไข่มุก ฉัตรฤทัย ปุรินัย
สาวคิดบวก ผูม้ องเห็นโอกาสทางการศึกษา จบสายวิทย์-คณิต จากโรงเรียนบุณฑริกวิทยาคาร จ.อุบลราชธานี รู้จัก PIM ผ่านทีมแนะแนว จึงทราบว่ามีสาขาเปิดใหม่ด้วย คือ วิศวกรรมการผลิตยานยนต์ และมีโควต้าทุนให้ จึงสนใจ และไปสอบสัมภาษณ์ ก่อนตัดสินใจก้าวเข้าสู่รั้ว PIM ในที่สุด
ตัดสินใจเลือก PIM เลือก PIM เพราะได้ทุนด้วยส่วนหนึ่ง แล้วก็มีรุ่นพี่ที่เรียนอยู่แล้วมาแนะน�ำว่า เรียน PIM ดีกว่า ได้เรียนด้วยฝึก ท�ำงานจริงด้วย ก็ลองมาเรียนดูก่อน คิดว่ายังไงก็จะแอดมิชชั่นดูอีกที แต่พอเข้ามาเรียนจริงๆ แล้ว อาจารย์ให้ ความสนใจพวกเรามาก ดูแลเอาใจใส่อย่างดี เลยตัดสินใจเรียนที่นี่เลย ตอนนี้ทั้งรุ่นมี 43 คน ทางครอบครัวก็สนับสนุนให้เรียนที่ PIM เพราะคุณพ่อเคยมาฟังเรื่องระบบการเรียนการสอน ของสถาบัน จึงมั่นใจในปัญญาภิวัฒน์ พ่อบอกว่า พ่อไปฟังมาแล้ว พ่อเป็นข้าราชการครู ท�ำไมพ่อจะไม่รู้ว่าครูที่ไหนสอนยังไง สถาบันไหนดี ตอนเลือกสาขาขอเลือกวิศวกรรม การผลิตยานยนต์ พ่อก็บอกว่า ถ้าเรียนไหวก็เรียนเลย พ่อสนับสนุนเต็มที่
สิ่งที่ ได้รับ
PIM ส่งเราเข้าสู่กระบวนการท�ำงาน สอนให้เราได้ทดลองก่อนจากงานเล็กๆ ถือว่า เป็นการเริ่มต้นชีวิตการท�ำงาน มันก็โอเคกว่า เพราะเราเรียนเพื่อที่จะไปท�ำงาน ใน สถาบันอื่นอาจจะเน้นทฤษฎี แต่ PIM เน้นประสบการณ์จริง ซึ่งเราว่าดีกว่า เพราะ เราจะได้เรียนทฤษฎีไปด้วย เรียนจากประสบการณ์ไปด้วย สามารถประยุกต์ใช้ กับการท�ำงานจริงได้ พอจบปี 4 เราก็พร้อมที่จะไปท�ำงานจริงๆ แล้วถ้าเราท�ำงานเป็น ใครๆ ก็ต้องการเรา
ฝากถึงน้องทีจ่ ะเข้ามาเรียนทีน่ ี่ ต้องมีวนิ ยั เป็นอันดับแรก PIM เป็นมหาวิทยาลัยแห่งองค์กร ธุรกิจของ CP All หลายคนมองเข้ามาก็ชอบการเรียนการสอน ความเอาใจใส่ของอาจารย์ พาไปศึกษาดูงานโรงงานใหญ่ๆ ที่พิเศษเลยคือ เราไม่ต้องไปวิ่งหาสถานที่ฝึกงานเหมือน คนอื่น แม้จะเรียนวิศวะฯ แต่เราก็ได้เริ่มฝึกงานที่ร้านเซเว่นก่อน เป็นเหมือนการสอน ให้เริ่มท�ำงานในองค์กรเล็กๆ มันมีการเรียนรู้ ก่อนเข้าไปฝึกในองค์กรชั้นน�ำขนาดใหญ่ ที่เป็นเครือข่ายของ PIM กล้าบอกใครอย่างไม่อายเลยค่ะว่า ฝึกงานเซเว่นมาแล้ว
อนาคตการท�ำงาน มองในมุมที่เป็นผู้หญิง งานด้านยานยนต์อาจจะหายาก แต่มองอีกมุมหนึ่งคือ งาน ยานยนต์ไม่จำ� เป็นต้องไปท�ำงานหนักเสมอไป มันก็มหี ลายอย่าง วิศวกรไม่ตอ้ งลงไปเหมือน ช่างทั่วๆ ไป หรือยังมีอาชีพทางเลือกอื่นๆ อย่างไปสอบครูด้านวิศวกรรม ซึ่งยานยนต์ก็เป็น สาขาที่เปิดใหม่ด้วย มั่นใจใน PIM ค่ะ เพราะรู้ว่าที่นี่มั่นคงอยู่แล้ว ถ้าเขากล้าเปิด แสดงว่า เขามั่นใจแล้ว ในอนาคตไข่มุกอยากเป็นอาจารย์ให้ความรู้ด้านวิศวกรรมศาสตร์ค่ะ
14
“ครอบครัวสนับสนุนให้เรียนที่ PIM เพราะเราจะได้เรียนรู้จากงานจริง จบมาแล้วก็กลับไปเริ่มธุรกิจของเราเอง”
แชมป์ ณัชพล สุจิรพัฒน์พงษ์
หนุ่มหลงรักยานยนต์ ผู้ฝันเปิดกิจการเป็นของตัวเอง
หนุม่ หล่อในโครงการ PIM Brand Ambassador เรียนจบวิทย์-คณิต จากโรงเรียน พระหฤทัยนนทบุรี พ่วงดีกรีนกั ว่ายน�ำ้ ประจ�ำโรงเรียน เริม่ สนใจยานยนต์จากการรูจ้ กั โครงการแข่งขันประกอบรถยนต์ และเคยผ่านการเข้าร่วมแคมป์วิศวกรรมศาสตร์ มาแล้ว
เลือกวิศวกรรมการผลิตยานยนต์ แชมป์ตัดสินใจเรียนวิศวกรรมการผลิตยานยนต์ PIM เพราะความชอบเป็นทุนเดิม บวกกับหลักสูตรการเรียนการแบบ Work-based Education ทีท่ ำ� ให้ทำ� งานเป็น ก่อนคนอื่นๆ ทางครอบครัวก็สนับสนุนสิ่งที่ชอบ พ่อบอกว่า จบมาแล้วก็กลับ มาเปิดกิจการของเราเอง ที่พ่อสนับสนุนให้เรียนที่ PIM เพราะเราจะได้เจอกับ งานจริง และเรียนรู้จากประสบการณ์จริง แชมป์เคยมีโอกาสเข้าค่ายวิศวกรรมของ มศว. เป็นช่วงที่ก�ำลังค้นหาตัวเองอยู่ และมีโอกาสไปเห็นโครงการหนึง่ ซึง่ นักศึกษาจะรวมตัวกันท�ำรถฟอร์มลู า ตัง้ แต่ ออกแบบโครงตัวถังรถ เชื่อมเหล็ก ผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์ มีการหาสปอนเซอร์ จากบริษัทต่างๆ และเมื่อส�ำเร็จเป็นรูปร่าง แต่ละมหาวิทยาลัยก็จัดการแข่งขัน กัน ผมว่าเป็นโครงการทีด่ นี ะ ท�ำให้ได้เอาความรูม้ าใช้จริง ได้เจอสถานการณ์จริง ต้องแก้ไขปัญหาจริง แล้วยังได้เพื่อนใหม่ด้วย ผมอยากให้ PIM ได้ไปร่วมโครงการ กับมหาวิทยาลัยอื่นๆ ด้วย
เรียนที่ PIM เรียนที่นี่ต้องปรับตัวหลายอย่าง เพราะ PIM ไม่เหมือนที่อื่น เราต้องโตขึ้น ต้องคิดเอง แก้ปัญหาได้ เรียนในมหาวิทยาลัย อาจารย์ก็สอนแบบมหาวิทยาลัย ไม่เหมือนตอน เด็กๆ เราต้องรับผิดชอบตัวเองเรียนให้จบใน 4 ปี ส่วนตัวผมเป็นคนไม่คอ่ ยเทีย่ วไม่คอ่ ย เล่นอยู่แล้ว เลยมุ่งเรียนเต็มที่ ยิ่งโตขึ้นยิ่งรู้ว่าเงินมันหายาก ผมก็ต้องวางแผนเรื่อง การเงิน และแบ่งเวลาดีๆ ฝากถึงน้องที่จะเข้ามาเรียนที่นี่ ต้องมีวินัยเป็นอันดับแรก ท�ำยังไงให้เรียนแล้วเข้าใจ เอาไปใช้เป็น อ่านหนังสือทบทวนเยอะๆ ขึ้นอยู่กับเทคนิคของแต่ละบุคคลด้วย ไม่ตอ้ งกลัวความล�ำบาก เพราะความล�ำบากสอนให้เราอดทน ความอดทนสอนให้เรา ก้าวต่อไป คนอืน่ ท�ำได้ เราก็ตอ้ งท�ำได้ มองไปยังทีส่ งู และก้าวขึน้ บันไดไป คิดอะไรให้ แน่นอน ตัดสินใจให้เด็ดขาด และมีแผนส�ำรองให้กับชีวิตเสมอ
15
Living with Innovation : อ.ศรายุทธ ปลัดกอง คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
สมาร์ ท โฟน แบบถอดประกอบ หลายคนคงเคยประสบปั ญ หาเมื่ อ ต้ อ ง มองหา Smartphone เพือ่ ใช้งานสักเครือ่ ง ด้ ว ยความต่ า งกั น เพี ย งเล็ ก น้ อ ยของ Smartphone กับลักษณะการใช้งานที่ คล้ายกันในหลายๆ รุ่น จึงทำ�ให้ยากต่อ การเลือกใช้ เพราะ Smartphone ในท้อง ตลาดนับร้อยยี่ห้อมีให้เลือกเป็นหมื่นรุ่น ต่างก็มสี เปคทีแ่ ตกต่างกัน ถึงแม้วา่ ผูผ้ ลิต โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ หลายบริ ษั ท จะสร้ า ง เว็บไซต์ หรือมี Application เพื่อใช้เลือก ซื้ อ Smartphone ให้ เ หมาะสมกั บ วัตถุประสงค์ของการใช้งาน เช่น เน้นการ ใช้งานในสำ�นักงานในรูปแบบงานเอกสาร Word, Excel, Power Point จดบันทึก หรือ
PROJECT ARA
การใช้งานในชีวิตประจำ�วัน เน้นการถ่าย รูป Social Network, การแชท, การตั้ง กระทู,้ เปลีย่ นสเตตัส หรือคอมเม้นต์ตา่ งๆ แม้ ก ระทั่ ง การใช้ ง านเพื่ อ ความบั น เทิ ง ดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม หลายคนจึงตัดสิน ใจเลื อ กดู Smartphone ราคาแพง มี ศักยภาพสูง เพราะต้องการหน้าจอสวย กล้องชัด CPU แรง แต่ในบางครั้งผู้ผลิต แต่ละรายก็ไม่สามารถตอบสนองความ ต้องการได้อย่างครบถ้วน จึงยากในการ ตัดสินใจเลือกอยู่ดี
มีแนวคิดในการขายโทรศัพท์มือถือแบบ ตามสัง่ Project Ara (Project Ara Module Developer Conference) โดยเริ่มจาก ผูผ้ ลิตทีต่ อ้ งการขาย Smartphone แบบที่ ลูกค้าสามารถเลือกได้ว่า โทรศัพท์มือถือ ทีเ่ ราจะใช้นนั้ ต้องการแบบไหน มี Module จากปัญหาดังกล่าว คงจะดีไม่นอ้ ยหากเรา อะไรบ้าง เช่น เลือก CPU, RAM และความ สามารถออกแบบสเปคโทรศัพท์ได้เอง จึง ละเอียดของหน้าจอเองได้ตามที่ต้องการ
Smartphone แบบถอดประกอบนัน้ เปลี่ยน Module อะไรได้บ้าง ? • CPU - Single Core, Dual Core หรือ Quad Core มีความเร็วหลายระดับให้เลือกใช้ • Ram - 1 GB, 2 GB หรือ 4 GB • การ์ดจอ - 2 มิติ หรือ 3 มิติ • หน้าจอ และ Speaker • กล้องหน้า และ กล้องหลัง ปรับเปลี่ยนตั้งแต่ระดับ VGA, 3 M, 5 M, 8 M, 12 M ได้ตามต้องการ
16
• Wifi BT NFC (Near field communication) ตามที่เราอยากใช้งาน • 4G LTE, 3G, 2G • Interface Output Port เช่น USB Chart, HDMI • Battery
ทำ�ไมต้อง Smartphone แบบถอดประกอบ ? หากผู้ ใ ช้ ง านสามารถเลื อ กสเปคของ Smartphone เองได้ นอกจากจะได้ Smartphone ตรงตามความต้องการแล้ว ยังสามารถกำ�หนดงบประมาณได้เองอีก ด้วย ผู้ใช้งานสามารถเลือก Module และ จัดสเปคตามเงินในกระเป๋าของตนเอง จึง เป็นอีกทางเลือกทีน่ า่ สนใจ เพือ่ เข้าถึงผูใ้ ช้
งานทีม่ หี ลากหลายระดับ อีกทัง้ จะได้ราคา Smartphone ที่ เ หมาะสมกั บ ลั ก ษณะ การใช้งานของแต่ละบุคคล รวมถึงความ สามารถอัพเกรดเครือ่ ง Smartphone เพือ่ รองรับระบบปฏิบตั กิ ารสูงขึน้ เพราะระบบ ปฏิบัติการใหม่ ก็จะสามารถใช้ Feather และ Application ใหม่ๆ ได้อีกด้วย
จากการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์เอง สู่ Smartphone ในอนาคตอาจเป็นการ ถอดประกอบ Smart Watch ก็ได้ อีก ไม่นานคงจะได้เห็นนวัตกรรมใหม่ๆ จาก การแข่ ง ขั น ของบริ ษั ท โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ แต่ ล ะค่ า ยที่ ต้ อ งการส่ ว นแบ่ ง ทางการ ตลาดอย่างแน่นอน
17
โลกใบกว้ า ง ดินแดนมหัศจรรย์
แห่งไฟและน้ำ�แข็ง ไอซ์ แ ลนด์ (Iceland) เป็ น ประเทศที่ มี ลั ก ษณะเป็ น เกาะ บนมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือทีห่ า่ งไกล ตัง้ อยูก่ งึ่ กลางระหว่าง ทวีปยุโรปและอเมริกาเหนือ ไม่ได้มีแต่ความหนาวเย็นหรือหิมะ ปกคลุมทั่วประเทศอย่างที่เข้าใจกัน แต่มีภูมิประเทศที่สวยงาม เต็มไปด้วยธารน�ำ้ แข็ง ทุง่ หญ้า น�ำ้ ตก ภูเขาน�ำ้ แข็ง น�ำ้ พุรอ้ น และ ภูเขาไฟอีกด้วย ไอซ์แลนด์มปี ระชากรเบาบางเพียง 320,000 คน มีฤดูหนาวที่ไม่ได้หนาวจัด เนื่องจากอิทธิพลของกระแสน�้ำอุ่น โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยในเดือนมกราคม 0 ˚C ส่วนฤดูร้อนมีอากาศ เย็นสบาย มีอุณหภูมิเฉลี่ยในเดือนกรกฎาคม 11 ˚C ด้วยท�ำเลที่ ตัง้ อยูบ่ นแนวแผ่นเปลือกโลกแยกตัว ผ่าเข้ากลางประเทศ ท�ำให้ ไอซ์แลนด์นั้นมีภูเขาไฟเกิดขึ้นมากมาย ล่าสุดเมื่อปี พ.ศ. 2553 ได้มีการปะทุของภูเขาไฟเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ (Eyjafjallajokull) ท�ำให้เถ้าถ่านฟุ้งกระจายเป็นบริเวณกว้าง มีการปิด น่ า นฟ้ า ทั่วยุโรปเป็นการปิดการจราจรที่ใหญ่ที่สุดนับตั้งแต่ สงครามโลกครั้งที่ 2 เลยทีเดียว แม้คนไอซ์แลนด์จะเสี่ยงกับภัย ภู เ ขาไฟ แต่ ค นที่ นี่ก็ไ ด้ใช้ประโยชน์จากพลังงานความร้ อน ใต้ พิภพ (Geothermal) มาผลิตกระแสไฟฟ้า โดยใช้ความร้อน จากแม็กมาและน�้ำพุร้อนใต้ดินได้ไอน�้ำมาปั่นกังหันผลิตไฟฟ้า นั่นเอง
ภาพประกอบทั้งหมด ถ่ายโดย อ.ชนกานต์ กิ่งแก้ว ยกเว้นภาพออโรรา ถ่ายโดย Moyan Brenn
18
ICE ICEL THE LAND OF
ด้วยภูมอิ ากาศทีค่ อ่ นข้างหนาวเย็น การปลูกพืชผักเป็นไปได้ยาก แต่ก็มีการใช้พลังงานความร้อนน�ำน�้ำร้อนจากใต้ดินมาท�ำให้มี อุณหภูมิที่เหมาะสมแม้ในฤดูหนาวก็ตาม ฤดูหนาวที่ไอซ์แลนด์ จะมีกลางคืนทีย่ าวนานมาก ในตอนกลางวันจะมีแสงแดดแค่ 4-5 ชั่วโมงเท่านั้น แม้แสงแดดในตอนกลางวันจะน้อยนิด แต่ที่นี่ก็มี ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติอันมหัศจรรย์ที่สามารถมองเห็นด้วย ตาเปล่าได้ ในเวลากลางคืนในวันที่ฟ้าโปร่ง จะมีแสงสีเขียวเรือง บนท้องฟ้าในเวลากลางคืนเรียกว่า แสงเหนือ หรือ ออโรรา (Aurora) โดยมักจะเกิดขึ้นแถบขั้วโลกที่มีสนามแม่เหล็กโลก
ELAND LAND
โลกใบกว้าง : อ.ชนกานต์ กิ่งแก้ว คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
FIRE AND ICE
ส่วนในฤดูร้อนเป็นฤดูท่องเที่ยวของที่นี่ อากาศจะเย็นสบาย มีกลางวันทีย่ าวนาน ในบางวันดวงอาทิตย์จะไม่ตกดิน ซึง่ เรียกว่า ดวงอาทิตย์เทีย่ งคืน หรือ Midnight Sun สามารถใช้เวลาท่องเทีย่ ว ได้ทงั้ วันแตกต่างจากฤดูหนาวทีม่ กี ลางวันทีส่ นั้ มาก จุดหมายแรก ที่นักท่องเที่ยวมาถึงคือ เมืองเรคยาวิก (Reykjavik) ซึ่งเป็นเมือง หลวงที่อยู่เหนือที่สุดในโลก แม้จะห่างไกล แต่ก็เป็นเมืองหลวงที่ ทันสมัย เป็นที่อยู่ของประชากรส่วนใหญ่ที่นี่ มีสถาปัตยกรรมที่ สวยงาม เช่น โบสถ์ประจ�ำเมือง โรงละครประจ�ำเมือง
และกิ จ กรรมที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วชอบท� ำคื อ นั่งเรือออกไปดูวาฬ และดู น กพั ฟ ฟิ น (Puffin) ที่ ห น้ า ตาน่ า รั ก ซึ่ ง จะอพยพจาก ขั้ ว โลกเหนื อมาในช่ ว งฤดู ร ้ อน
ประเทศไอซ์แลนด์ ได้รบั การจัดอันดับจากผลการส�ำรวจ ‘Global Peace Index 2014’ ของสถาบันวิจยั ทางเศรษฐกิจและสันติภาพ (IEP) ว่าเป็นประเทศสงบที่สุดในโลกอีกด้วย และไอซ์แลนด์ยัง เป็นประเทศที่รักษาธรรมชาติได้อย่างสมบูรณ์ มีสถานที่ท่อง เที่ยวที่สวยงาม อากาศดี ผู้คนเป็นมิตร มีอะไรที่น่าสนใจอีก ออกไปนอกเมืองไม่ไกลมีเส้นทางท่องเที่ยว The Golden Circle มากมายให้ค้นพบในประเทศแห่งนี้….ที่ไอซ์แลนด์ เป็นเส้นทางวงกลมไปยังสถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมคือ อุทยาน ซิงก์เวตลีร์ (Thingvellir) และจุดต่อไปคือไกเซอร์ (Geysir) เป็น น�้ำพุร้อนที่จะมีน�้ำพวยพุ่งออกมามาก น�้ำตกกุลฟอส (Gullfoss) ที่เป็นน�้ำตกขนาดใหญ่มีต้นก�ำเนิดมาจากการละลายของธาร น�้ำแข็ง นอกจากนั้นยังมีปากปล่องภูเขาไฟเคริด (Kerid) เป็น ปล่องภูเขาไฟเก่าที่ดับไปแล้ว มีทะเลสาบอยู่ในตัว ปล่ อ งภู เ ขาไฟอี ก ด้ ว ย และยั ง มี สถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่ สวยงามอีกมากมาย นอกจากนีย้ งั มีการผ่อนคลายโดยการแช่นำ�้ ร้อนที่ Blue Lagoon เป็นบ่อน�้ำร้อนสีฟ้า ซึ่งเป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยว
19
PIM in Trend : อ.เกวรินทร์ ฉันทนะสุขศิลป์ คณะศิลปศาสตร์
เรียนภาษาและวัฒนธรรมจาก ซีรยี จ์ นี สำ�หรับ ใครหลายคนที่ชอบภาษา อาจมีจุดเริ่มต้นมาจาก
การดูภาพยนตร์ ฟังเพลง หรือมีนักร้อง นักแสดงเป็นต้นแบบ ยิ่งมีความชื่นชอบ สนใจ ก็ยิ่งอยากติดตามเรื่องราวของเขา เหล่านั้นว่า เป็นใคร มาจากไหน และเคยทำ�อะไรมาบ้าง ตอนนี้ มี สื่ อ ทั น สมั ย การค้ น หาข่ า วสารข้ อ มู ล ของดารานั ก ร้ อ งช่ า ง ง่ า ยดาย แต่ ปั ญ หาติ ด อยู่ ต รงที่ เ มื่ อ ได้ ข้ อ มู ล มาแล้ ว เข้ า ใจ มากน้อยแค่ไหน และทำ�อย่างไรให้สนุกสนานไปพร้อมกันได้ ดิฉันเป็นคนหนึ่งที่ชอบดูภาพยนตร์ ซีรีย์ และละครมาก เพราะ เนือ้ เรือ่ งสนุก ยิง่ พระเอกนางเอกหน้าตาน่ารัก ยิง่ น่าติดตาม เดิมที ดิฉันมีปัญหาคือ ดูซีรีย์แล้วฟังไม่ออก สาเหตุมาจากตอนนั้น เพิ่งเริ่มเรียนภาษาจีน คลังคำ�ศัพท์ที่มีก็ค่อนข้างน้อย แต่ไม่ได้ ทำ�ให้ท้อใจ กลับมีความอยากรู้มากขึ้นว่าในเรื่องคุยอะไรกัน หมายความว่าอย่างไร เพราะจริงๆ แล้ว ถึงแม้ฟังไม่ออก ดูภาพ ก็พอเดาเหตุการณ์ได้ แต่ก็ยังไม่เข้าใจความหมายของเนื้อเรื่อง ทั้งหมด ดังนั้น จึงใช้วิธีดูสองรอบ รอบแรกดูจนจบถึงแม้ว่าฟัง ไม่ออก รอบทีส่ องช่วงไหนเจอคำ�ศัพท์ทไี่ ม่รู้ ก็หยุดหาความหมาย เดี๋ยวนั้นและจดลงสมุดเอาไว้ นอกจากจะเข้าใจเรื่องราวมากขึ้น ยังเพิ่มคลังคำ�ศัพท์ของตนเองด้วยอีกทางหนึ่ง ได้ฟังสำ�เนียง ที่ถูกต้องจากเจ้าของภาษา ฝึกฟังและพูดตามประโยคที่ใช้บ่อย ในชีวติ ประจำ�วัน จึงทำ�ให้การเรียนภาษาจีนในช่วงแรกพัฒนาไป อย่างรวดเร็ว ทั้งๆ ที่เริ่มต้นจากศูนย์
อีกเรือ่ งหนึง่ ทีน่ า่ สนใจคือ ซีรยี ย์ อ้ นยุค “บูเช็กเทียน” (武媚娘传奇 อู่เม่ยเหนียงฉวนฉี) ซึ่งนำ�แสดงโดย ฟ่าน ปิงปิง เรื่องนี้ไม่เพียง แต่เราจะได้รู้ประวัติของพระนางบูเช็กเทียน ซึ่งเป็นจักรพรรดินี องค์เดียวของประเทศจีน แต่เรายังได้เรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ และวัฒนธรรม ต่างๆ ในสมัยราชวงศ์ถังอีกด้วย เรื่องแรกที่เริ่มดูคือ “รักนี้เพื่อเธอ” หรือ Lavender (薰衣草 ซุ น อี้ ฉ่ า ว) เป็ น เรื่ อ งราวความรั ก ของเพื่ อ นข้ า งบ้ า นสมั ย เด็ ก ที่ต้องแยกจากกัน จึงได้มอบของขวัญแทนใจให้แก่กันไว้ ก่อนที่ พระเอกจะต้องย้ายบ้านตามครอบครัวไปอยู่ที่อื่น เมื่อโตขึ้น ทั้งสองได้กลับมาพบและรักกันอีกครั้งจากของขวัญทั้งสองชิ้น ประโยคหนึ่งในซีรีย์ที่ยังคงก้องอยู่ในหูจนทุกวันนี้ เพราะพระเอก พูดบ่อยมาก ยํ้าว่ามากจริงๆ ค่ะ คือประโยค 为了你我一定 会回来。(เว่ยเลอหนี่หว่ออี๋ติ้งฮุ่ยหุยหลาย) มีความหมายว่า “เพื่อเธอแล้ว ฉันจะต้องกลับมาอย่างแน่นอน”
20
การดู ซี รี ย์ น อกจากจะช่ ว ยฝึ ก ฝนภาษาของเราแล้ ว ยั ง ทำ�ให้ เรี ย นรู้ วั ฒ นธรรมจี น หลายด้ า น ไม่ ว่ า เป็ น การใช้ ชี วิ ต การ ทำ�งาน การเข้าสังคม ฯลฯ ถึงแม้ว่าการเรียนภาษาต่างประเทศ จะไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ก็ไม่ยากเกินความสามารถของพวกเรา ทุ ก คน เพี ย งแค่ ล องหาสิ่ ง ที่ ช อบ แล้ ว เรี ย นรู้ จ ากสิ่ ง เหล่ า นั้ น เท่ า นี้ ก ารเรี ย นภาษาต่ า งประเทศและพู ด ได้ เ หมื อ นเจ้ า ของ ภาษา ก็จะไม่ใช่อุปสรรคของเราอีกต่อไป ว่างๆ ก็อย่าลืมไปหา ซีรีย์ดูกันนะคะ
บันทึกประสบการณ์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 2-3 สาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์ PIM ระหว่างเรียนและใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยซีหนาน นครฉงชิ่ง : เรื่องจีนจากซีหนาน
ผลิตภัณฑ์แปลกใหม่ ทีพ่ บในประเทศจีน เมื่อเดินทางมาถึงประเทศจีน ดิฉันเจอผลิตภัณฑ์ที่ไม่เคยเห็น มาก่อนไม่ว่าจะเป็นอาหาร ของใช้ในชีวิตประจำ�วัน ส่วนหนึ่ง เป็ น การนำ�วั ต ถุ ดิ บ ที่ มี ใ นท้ อ งถิ่ น มาประยุ ก ต์ เ ป็ น สิ น ค้ า ที่ สอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้คน ผลิตภัณฑ์ที่แปลกตาสำ�หรับดิฉัน เป็นอาหารว่าง มีการนำ�เนือ้ สัตว์หลายประเภทมาแปรรูปในแบบ ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเนื้อวัวตากแห้ง เนื้อแพะหมักเครื่องเทศ แต่ที่ เห็นครั้งแรกไม่กล้ากิน พอลองซื้อมากินกลับอร่อย คือ ขาไก่ดอง คล้ายยำ�เล็บมือนางของไทย ทำ�จากขาไก่หมักดองกับเครื่องเทศ เกลือ นํ้าตาล ผงชูรส และพริกดอง นำ�มาบรรจุถุงสุญญากาศ หลายขนาด ขาไก่ดองมีหลายรสชาติ รสเปรี้ยวเผ็ด รสเผ็ดหอม รสดัง้ เดิม ทีเ่ มืองฉงชิง่ จะมีรสหมาล่าซึง่ เป็นเครือ่ งเทศท้องถิน่ ของ ทีน่ ดี้ ว้ ย แต่ดฉิ นั ชอบรสเปรีย้ วเผ็ดเพราะใกล้เคียงกับรสแบบไทย ขาไก่ดองผ่านกระบวนการทำ�สุกมาแล้วจึงกินได้ทนั ที เป็นกับข้าว ได้ สร้างสรรค์เมนูใหม่ๆ ก็เข้าท่าดี นิยมกินทั้งคนจีนและคน ต่างชาติ หาซื้อได้ตามซุปเปอร์มาร์เก็ตหรือร้านขายของชำ�ทั่วไป สุวนันท์ ยอดมหาวรรณ
ผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยวที่ประเทศจีนอย่าง “เลย์” มันฝรั่งทอด กรอบมีรสชาติแปลกใหม่อย่างที่บ้านเราไม่มีวางขาย และสร้าง ความประหลาดใจให้ดฉิ นั เช่น รสแตงกวา เมือ่ เปิดซองจะได้กลิน่ แตงกวาชวนให้หยิบกิน พอลิ้มรสก็ได้สัมผัสแตงกวาหอมเย็น ซื้อกลับไปกินที่ประเทศไทยคงชื่นใจน่าดู ส่วนอีกรสหนึ่ง คือ รส โยเกิรต์ ตอนทีไ่ ด้กลิน่ ดิฉนั ไม่อาจคาดเดาได้เลยว่ารสชาติจะเป็น อย่างไร แต่พอกินแล้วจะได้รสของโยเกิร์ตเปรี้ยวๆ หวานๆ มาอยู่ กับมันฝรั่ง คนที่ชอบกินโยเกิร์ตคงถูกใจน่าดู กิติยา แก้วทา
21
Our Network : วิญญ์รวี ช่อวิเชียร ศูนย์เครือข่ายเยอรมัน ส�ำนักบริการวิชาการ
ส่วนฟุคส์ในประเทศไทยนั้นมีส�ำนักงานใหญ่อยู่ที่เขตพญาไท และมีคลังเก็บสินค้าอยู่ที่จังหวัดสมุทรปราการ โดยฟุคส์จะเน้น เจาะกลุม่ ตลาด OEM (Original Equipment Manufacturer) หรือ ผู้ผลิตชิ้นส่วนหลัก ที่น�ำไปใช้ในการผลิตยานยนต์ เช่น Toyota, Benz, BMW กลุ่มผู้ผลิตชิ้นส่วนประกอบรถยนต์ และยังเน้นใน กลุม่ เฉพาะทางอย่างกลุม่ อาหารอีกด้วย นอกจากนี้ ฟุคส์ยงั มีการ บริการเปลี่ยนถ่ายน�้ำมันให้กับลูกค้า ทั้งนี้ เพื่อแสดงให้เห็นว่า ผูบ้ ริหารฟุคส์มวี สิ ยั ทัศน์กว้างไกลในด้านการศึกษานัน้ ฟุคส์ได้มี การลงนามความร่วมมือทางการศึกษาระบบทวิภาคีกับสถาบัน การศึกษาต่างๆ เช่นเดียวกัน
สวัสดีคะ่ พบกันอีกครัง้ กับเรือ่ งเล่าขององค์กร บิ๊ ก ไซส์ ในฉบั บ นี้ ข อแนะน� ำ องค์ ก รที่ เ ป็ น พันธมิตรกับสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) ของเรา ซึ่งองค์กรที่จะพูดถึงในเล่มนี้ เป็นองค์กรระดับโลกด้านยานยนต์ท่ีรู้จักในนาม บริษัท ฟุคส์ ลูบริแคนท์ส (ประเทศไทย) จ�ำกัด น้องๆ อาจจะสงสัยว่า เอ๊ะ! ท�ำไมชือ่ บริษทั นี้ออก เสียงยากจัง เขาท�ำกิจการอะไรกัน เรามารู้จัก กับฟุคส์กันค่ะ
ฟุ ค ส์ (FUCHS)
เป็ น บริ ษั ท สั ญ ชาติ เ ยอรมั น ที่ มี ส�ำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองมันน์ไฮม์ (Mannheim) ประเทศ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี โดยฟุคส์มีความเชี่ยวชาญด้าน การผลิ ต และจั ด จ� ำ หน่ า ยสารหล่ อ ลื่ น ทุ ก ประเภท และมี โรงงานกระจายอยู่ทั่วโลก ซึ่งยอดขายส่วนใหญ่นั้นจะอยู่ใน บริเวณทวีปยุโรป
งานสัมมนาเครือข่ายยานยนต์ “เทคโนโลยีของน�ำ้ มันหล่อลืน่ กับการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับรถยนต์ยคุ ใหม่” สนใจรายละเอียดเพิ่มเติมติดต่อ บริษัท ฟุคส์ ลูบริแคนท์ส (ประเทศไทย) จ�ำกัด 252 อาคารเอสพีอี ทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนพหลโยธิน โทรศัพท์ 0 2615 0168-75 แฟกซ์ 0 2675 0167 www.fuchs.co.th
22
คุณชยุต เต็มนิธิกุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท ฟุคส์ ลูบริแคนท์ส (ประเทศไทย) จ�ำกัด
ในส่วนความร่วมมือกับ PIM นั้น ฟุคส์ได้ร่วมมือกับสาขาวิชา วิศวกรรมการผลิตยานยนต์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ในการเป็นวิทยากรบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับน�้ำมันหล่อลื่นใน ด้านต่างๆ พร้อมทั้งยินดีเข้าร่วมกิจกรรมกับ PIM อย่างต่อเนื่อง หวังเป็นอย่างยิ่งว่าน้องๆ จะได้รู้จักบริษัทด้านยานยนต์สัญชาติ เยอรมันในประเทศไทยทีน่ า่ สนใจเพิม่ ขึน้ อีก 1 บริษทั และหากน้องๆ คนไหนสนใจที่จะเรียนรู้กับ มืออาชีพโดยตรงแล้ว PIM แห่งนีแ้ หละทีจ่ ะเป็นค�ำตอบ ของน้องๆ แล้วพบกันใหม่ ฉบับหน้าค่ะ
โรงเรียนพี่โรงเรียนน้อง
โรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย โรงเรียนสังกัดส�ำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 สถานศึกษาขนาดใหญ่ ที่มีความเป็นมาเก่าแก่ตั้งแต่ปี 2458 สนับสนุนให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 จ�ำนวนห้องเรียน 68 ห้อง ซึ่งในปีการศึกษา 2557 มีนักเรียนรวม ทั้งสิ้น 2,995 คน
บุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ พัฒนาสถานศึกษาให้มี ความเจริญก้าวหน้า ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ทุกภาคส่วน ให้สมดังเจตนารมณ์ทตี่ อ้ งการให้ศษิ ย์เป็นผูม้ คี วาม รู้ทางวิชาการเป็นเลิศ และมีคุณธรรม สื่อสารได้หลายภาษา แก้ ปัญหาด้วยการใช้กระบวนการวิจยั ใช้เทคโนโลยีทที่ นั สมัย มีความ รับผิดชอบต่อสังคมและเป็นพลโลกที่มีคุณภาพ
การจัดการศึกษาของโรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัยอยู่ในระดับ มาตรฐานสากล เพื่อสร้างเยาวชนที่มีคุณภาพแก่ประเทศชาติ และสังคมโลก อันเป็นภารกิจหลัก พร้อมด้วยการพัฒนานักเรียน ให้เป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรม มีจิตส�ำนึกความเป็นไทย ปฏิบัติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นพื้นฐานส�ำคัญให้ นักเรียนพึ่งพาตนเองได้ ด�ำเนินชีวิตอย่างมีความสุข นอกจากนี้ ด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคล โรงเรียนยังมุง่ เน้นพัฒนาครูและ
ทั้ ง นี้ โรงเรี ย นสมุ ท รสาครวิ ท ยาลั ย และสถาบั น การจั ด การ ปัญญาภิวัฒน์ (PIM) มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันมาโดยตลอด ปี 2558 นั ก เรี ย นจากโรงเรี ย นสมุ ท รสาครวิ ท ยาลั ย สอบ คัดเลือกและผ่านเข้ามาศึกษาต่อในคณะวิชาต่างๆ เป็นจ�ำนวน มาก ซึ่งเป็นความภาคภูมิใจที่ PIM จะได้บ่มเพาะต้นกล้าที่ แข็งแรงจากโรงเรียนพีโ่ รงเรียนน้องแห่งนี้ ให้เติบโตเป็นต้นไม้ใหญ่ ที่งดงามสมบูรณ์ต่อไป
23