คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี Faculty of Engineering and Technology ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตร 4 ปี วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (Robotics and Automation Engineering)
WE ARE PIM สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ หรือ พีไอเอ็มเป็นสถาบันอุดมศึกษาทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนในการจัดตั้งจาก บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) โดยได้รบั การรั บ รองวิ ท ยฐานะจากกระทรวง ศึ ก ษาธิ ก าร ภายใต้ ค� ำ แนะน� ำ ของ คณะกรรมการการอุดมศึกษา เพื่อ จัดการเรียนการสอนและให้ปริญญา ในระดั บ บั ณ ฑิ ต และมหาบั ณ ฑิ ต ตั้งแต่ปี 2550 และระดับดุษฎีบัณฑิต ตั้ ง แต่ ป ี 2555 สถาบั น การจั ด การ ปัญญาภิวฒ ั น์ เป็นสถาบันอุดมศึกษา ที่เน้นการเรียนการสอนแบบ Workbased Education โดยน�ำการเรียนรูจ้ าก 02
ประสบการณ์จริงมาขับเคลือ่ นสถาบัน ในฐานะมหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจ (Corporate University) ทีม่ คี วามแตกต่าง ด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการ มุง่ เน้น ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ เ รี ย นรู ้ จ ากการฝึ ก ปฏิบัติงานจริงกับกลุ่มธุรกิจซีพีออลล์ เครื อ ซี พี และพั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ ที่ ขยายความร่วมมืออย่างกว้างขวาง ทัง้ ในและต่างประเทศ เพือ่ ให้นกั ศึกษา ได้รับประสบการณ์ในการท�ำงานจน เกิดความเชี่ยวชาญ บัณฑิตพีไอเอ็ม จึ ง เป็ น บุ ค ลากรคุ ณ ภาพผู ้ มี ค วามรู ้ ทางวิชาการ และมีความพร้อมในการ ปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ
ปัจจุบัน พีไอเอ็มเป็นมหาวิทยาลัย ที่ ไ ด้ รั บ การสนั บ สนุ น จากเครื อ ข่ า ย พั น ธ มิ ต ร ม า ก ที่ สุ ด ทั้ ง ภ า ค รั ฐ ภาคเอกชน และภาคการศึกษา นี่คือ จุ ด แข็ ง ที่ ท� ำ ให้ นั ก ศึ ก ษาพี ไ อเอ็ ม ได้ เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ที่กว้างขวาง และหลากหลาย ไม่จำ� กัดเฉพาะธุรกิจ ในกลุม่ ซีพเี ท่านัน้ เพราะเครือข่ายของ พีไอเอ็มมีอยูท่ วั่ โลกและพร้อมให้ความ ร่วมมือในการยกระดับการศึกษาไทย
Lowa State University
Chemnitz University of Technology
Southwest University Cheng Shiu University
University of Akansas
Stenden University of Applied Sciences
Teikyo University Hankuk University of Foreign Studies
William Angliss Institute
Massey University
PIM’s Worldwide Network
524
องค์กรธุรกิจทัว่ โลก
38 สถานทูต ธุรกิจของเครือ CP ใน ประเทศ
21
144 มหาวิทยาลัยใน 28 ประเทศ อาเซียน : กัมพูชา ลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม เอเชีย : จีน อินเดีย ญี่ปุ่น เนปาล เกาหลีใต้ ไต้หวัน อิหร่าน ฮ่องกง ยุโรป : ฝรั่งเศส เยอรมนี ลิธัวเนีย เนเธอร์แลนด์ สวีเดน อังกฤษ โปแลนด์ ฟินแลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย : ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อเมริกาเหนือ : สหรัฐอเมริกา แคนาดา
เอเชีย : ภูฏาน มาเลเซีย ศรีลังกา อินโดนีเซีย กัมพูชา อินเดีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โอมาน สิงคโปร์ คาซัคสถาน อุซเบกิซสถาน ยุโรป : อังกฤษ ฝรั่งเศส สวีเดน เดนมาร์ก อิตาลี โปแลนด์ ฟินแลนด์ รัสเซีย สาธารณรัฐเช็ก ออสเตรีย เบลเยียม ฮังการี ลัตเวีย เนเธอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรเลียและโอเชียเนีย : ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ : สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก อาร์เจนตินา เปรู แอฟริกา : แอฟริกาใต้ เคนยา ไนจีเรีย คือ ประเทศไทย กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม อังกฤษ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินเดีย บังคลาเทศ ปากีสถาน ตุรกี ไต้หวัน สิงคโปร์ จีน รัสเซีย แทนซาเนีย เบลเยียม ญี่ปุ่น ศรีลังกา สหรัฐอเมริกา 03
HIGHLIGHT หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ
Bachelor of Engineering Program in Robotics and Automation Engineering
โครงสร้างหลักสูตร จ�ำนวนหน่วยกิตที่ศกึ ษาตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 135 หน่วยกิต ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำ�นวน 30 หน่วยกิต ประกอบด้วย
กลุ่มวิชาภาษา
สาขาวิ ช าวิ ศ วกรรมหุ ่ น ยนต์ และระบบอั ต โนมั ติ เป็ น สาขา ที่ มี ค ว า ม เ ป ็ น ส ห วิ ท ย า ก า ร ที่ ผสมผสานระหว่างศาสตร์ทางด้าน ไฟฟ้า เครือ่ งกล และคอมพิวเตอร์ เพือ่ สร้างบุคลากรมีความรูค้ วามสามารถ ทางด้ า นวิ ศ วกรรมหุ ่ น ยนต์ แ ละ ระบบอัตโนมัติ ทั้งภาควิจัยพัฒนา และภาคการผลิต
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
6 หน่วยกิต
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
6 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
3 หน่วยกิต
ข. หมวดวิชาเฉพาะ จำ�นวน 99 หน่วยกิต ประกอบด้วย
วิชาพื้นฐานทางวิศวกรรม
24 หน่วยกิต
วิชาบังคับทางวิศวกรรมสำ�หรับ สาขาวิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ วิชาเลือกเฉพาะสาขา
69 หน่วยกิต
ค. หมวดวิชาเลือกเสรี จำ�นวน 6 หน่วยกิต
04
15 หน่วยกิต
6 หน่วยกิต
LEARNING FROM REAL PROFESSIONAL ดร.ธั น ยวั ต สมใจทวี พ ร รัก ษาการหัว หน้ า สาขาวิช า วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ และผู้อ�ำนวยการ ศูนย์นวัตกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ
“อาชี พ ทางด้ า นหุ ่ น ยนต์ ก� ำ ลั ง มาแรง เพราะตอนนี้ มีความต้องการคนที่มีทักษะทางด้านหุ่นยนต์สูง จึง มี ต� ำ แหน่ ง งานรองรั บ และมี ร ายได้ ดี ร ออยู ่ แ น่ น อน คนทีเ่ รียนหลักสูตรวิศวกรรมหุน ่ ยนต์ และระบบอัตโนมัติ จะได้เปรียบมากๆ เพราะภาพเริ่มชัดขึ้นว่าเรียนหุ่นยนต์ ไปท�ำไม ด้วยโครงสร้างของการท�ำงานของรัฐบาล ในขณะนี้ และความเหมาะสมของเทคโนโลยีที่พัฒนา ไปอย่างเต็มที่ ท�ำให้งานทางด้านหุน ่ ยนต์มก ี ารขยายตัว และมีความมั่นคงสูง”
ประวัติการศึกษา ปริญญาเอก Ph.D. (Technology and Operations Management) Aston Business School. Birmingham, UK, 2553 ปริญญาโท M.Sc. (Internet and Multimedia Engineering) London South Bank University, London, UK, 2544 ปริญญาตรี บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ), 2543 รางวัลนวัตกรรมที่เคยได้รับ • รางวัล Da Vinci Award จาก Association of British Inventors and Innovators ประเทศอังกฤษ • รางวัลเหรียญทองจาก World Invention and Innovation Forum ประเทศจีน • รางวัลเหรียญทองจาก International Exhibition of Inventions of Geneva ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ • รางวัลพิเศษจาก International Intellectual Property Network Forum ประเทศมาเลเซีย 05
ROBOT TODAY ความต้องการใช้หุ่นยนต์ในโลก AMERICA
EUROPE
48K
ASIA
66K
276K K = จ�ำนวนหุ่น X 1,000
80% ของหุ่นยนต์ ท�ำงานในอุตสาหกรรมต่อไปนี้
Top 5 ผู้ขับเคลื่อนการเติบโต ของอุตสาหกรรมหุ่นยนต์โลก
25%
20% อื่นๆ
13%
9% เหล็ก
43%
11%
7%
ยานยนต์
เคมี
11% 9%
21% ไฟฟ้า
ประมาณการหุ่นยนต์ที่ใช้ใน ภาคอุตสาหกรรม ปี 2018
41,600 ตัว
ที่มา : imwired.com 06
ไทยมีแนวโน้มจะใช้หุ่นยนต์ในภาคอุตสาหกรรมมากกว่าประเทศ มหาอ�ำนาจทางเศรษฐกิจอย่างอังกฤษ ฝรั่งเศส และสเปน
23,800 ตัว
33,700 ตัว
29,500 ตัว
RAE INSIDE หุ่นยนต์จะเข้ามาแทนที่แรงงานคนจริงหรือ? ขณะนี้ประเทศไทยมีการน�ำหุ่นยนต์เข้ามาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม มากขึ้น เนื่องจากสังคมไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) ที่มีคนชรามากขึ้น และมีอัตราการเกิดลดลง ท�ำให้คนที่จะเข้าสู่ ตลาดแรงงานในอนาคตน้อยลงโดยอัตโนมัติ หุ่นยนต์จึงกลายเป็น ทางเลือกที่ดีที่สุดที่จะเข้ามาท�ำงานแทนแรงงานคน โดยเฉพาะ งานหนัก งานที่มีความเสี่ยง หรืองานที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ในระยะยาว หรือก็คือหุ่ น ยนต์ จ ะช่ ว ยผ่ อนแรงมนุษ ย์ ใ ห้ ท�ำ งาน น้อยลง แต่ได้ผลผลิตมากขึ้นนั่นเอง จุดเด่นของหลักสูตรวิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ Work-based Education เรียนโดยใช้กรณีศึกษาจริง เป็นโจทย์ เรียนไปฝึกงาน ภาคสนามไป ได้ความรู้จาก ประสบการณ์จริงติดตัว
โอกาสในการฝึกงาน กับสถานประกอบการชั้นน�ำ ที่เกี่ยวข้องกับหุ่นยนต์ท่ใี ช้ใน อุตสาหกรรมและอุปกรณ์ใน ระบบอัตโนมัติ ทั้งใน และต่างประเทศ
มีงานรองรับ หลายบริษัทในเครือ CP ต่างก็ ต้องการคนท�ำงานในด้านนี้เป็น อย่างมาก และมีโอกาสในการ เติบโตกับองค์กรพันธมิตรชั้นน�ำ ระดับโลกของเครือ CP ใน ต่างประเทศอีกด้วย
แนวทางประกอบอาชีพ สามารถประกอบอาชีพต่อไปนี้ ทั้งในภาคอุตสาหกรรม ภาครัฐ และสถาบันการศึกษา • วิศวกรหุ่นยนต์ • วิศวกรระบบอัตโนมัติ • วิศวกรระบบแมคคาโทรนิกส์ • นักวิเคราะห์และออกแบบระบบหุ่นยนต์ • นักพัฒนาซอฟท์แวร์ระบบหุ่นยนต์ • นักวิจยั ด้านหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ
07
OUR NETWORK คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี สาขา วิชาวิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ พีไอเอ็ม มีเครือข่ายพันธมิตรที่เป็นองค์กร ชั้นน�ำของประเทศ ผู้ผลิต วิจัย และพัฒนา หุ่นยนต์แถวหน้าของวงการ และกลุ่มบริษทั รายใหญ่ของประเทศ พร้อมรองรับนักศึกษา ไปฝึกงานในส่วนต่างๆ
08
SIASUN บริษัทผู้ผลิตแบบครบวงจรรายใหญ่ที่สุดของจีน และขยายตลาดหุ่นยนต์เพื่อ อุตสาหกรรมในต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง ซินซงมีความเชี่ยวชาญเรื่องหุ่นยนต์ เพื่ออุตสาหกรรมทุกขั้นตอน ตั้งแต่การออกแบบ การผลิต และวางแผนการขาย การจัดส่งและการจัดเก็บ รวมถึงการจัดการระบบอัตโนมัติ
KUKA หนึ่งในผู้ผลิตหุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรมแถวหน้าของเยอรมนี และเป็นกลุ่มธุรกิจ อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ชั้นน�ำของประเทศไทย เชี่ยวชาญการผลิตทั้งฮาร์ดแวร์และ ซอฟท์แวร์ควบคุมระบบการท�ำงานของหุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรมทุกประเภท KUKA มีวทิ ยาลัยส�ำหรับฝึกอบรมทักษะทุกด้านเกีย่ วกับหุน่ ยนต์เพือ่ อุตสาหกรรมกว่า 30 แห่ง ทั่วโลก KUKA พร้อมถ่ายทอดประสบการณ์และเปิดโอกาสให้นักศึกษาวิศวกรรม หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติของพีไอเอ็มได้สัมผัสการเรียนรู้ในฐานการผลิตหุ่นยนต์ อย่างใกล้ชดิ
ABB บริษทั ผูน้ ำ� ด้านเทคโนโลยีสดุ ล�ำ้ จากสวิตเซอร์แลนด์ เชีย่ วชาญการพัฒนาเทคโนโลยี ที่ตอบโจทย์เฉพาะของอุตสาหกรรมหลากหลาย ตั้งแต่อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มไปจนถึงอุตสาหกรรมน�้ำมันและก๊าซ เป็นต้น รวมทั้งยังให้ค�ำปรึกษาและบริการด้านระบบปฏิบัติการหุ่นยนต์ ระบบไฟฟ้า และ ระบบเทคโนโลยีในประเทศต่างๆ กว่าร้อยประเทศ ABB เซ็น MOU เป็นพันธมิตร กับพีไอเอ็มอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2560 ที่ผ่านมา ABB จึงเป็น อีกหนึ่งสนามการเรียนรู้จากการท�ำงานจริงกับมืออาชีพด้านเทคโนโลยีระดับโลก ส�ำหรับนักศึกษาวิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติของพีไอเอ็ม
09
WORK-BASED EDUCATION พีไอเอ็มจัดการศึกษาโดยใช้ระบบ Work-based Education ที่มุ่งเน้น การเรียนรูจ้ ากประสบการณ์จริงและการสร้างสรรค์นวัตกรรม โดยร่วมมือ กับองค์กรธุรกิจทั้งในและต่างประเทศ มีรูปแบบดังต่อไปนี้
เพื่อเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงานจริงในด้านหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ หลักสูตรได้ออกแบบให้นักศึกษาได้ รับความรู้ทางวิชาการ และมีโอกาสฝึกงานในสถานประกอบการชั้นน�ำที่เกี่ยวข้องกับหุ่นยนต์ที่ใช้ในอุตสาหกรรม และอุปกรณ์ในระบบอัตโนมัติ ทั้งในประเทศหรือต่างประเทศ
ปี
1
ฝึกงานในร้าน 7-Eleven 3 เดื อ น เพื่ อ เรี ย นรู ้ ทักษะการท�ำงานพืน้ ฐาน ความมี ร ะเบี ย บวิ นั ย การปรับตัวเข้ากับเพื่อน ร่ ว มงาน วั ฒ นธรรม องค์กร และการให้บริการ ตลอดจนศึ ก ษาระบบ เทคโนโลยี ภายในร้าน เพื่ อ พั ฒ นาความคิ ด สร้างสรรค์ 10
ปี
2
ฝึ ก ปฏิ บั ติ ง านในสถาน ประกอบการด้านวิศวกรรม หุน่ ยนต์และระบบอัตโนมัติ 3 เดือน เพื่อเรียนรู้งาน ตรงตามสาขาวิชาที่เรียน
ปี
3
ฝึ ก ปฏิ บั ติ ง านในสถาน ประกอบการด้านวิศวกรรม หุน่ ยนต์และระบบอัตโนมัติ 3 เดื อ น ให้ มี ทั ก ษะใน การท�ำงาน สามารถที่จะ แก้ ป ั ญ หาเฉพาะหน้ า และช่วยงานเจ้าหน้าที่ได้
ปี
4
ฝึ ก ปฏิ บั ติ ง านในสถาน ประกอบการด้านวิศวกรรม คอมพิ ว เตอร์ แ ละระบบ อัตโนมัติ 9 เดือน ให้มี ทักษะด้านบริหารจัดการ และมีความสามารถเทียบ เท่าพนักงานในหน่วยงาน หรือสายงานนั้นๆ
FACILITIES ห้องปฏิบัติการหุ่นยนต์ เรียนรู้ ท�ำการทดลอง ทดสอบการท� ำงานของระบบหุ่นยนต์ ที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม งานบริการ ประกอบด้วยแขนหุ่นยนต์ อุตสาหกรรม (Industrial Robot) KUKA, ABB และแขนหุ่นยนต์ ที่สามารถท�ำงานร่วมกับมนุษย์ได้ (Cobot) ฯลฯ
ห้องปฏิบัติการระบบอุตสาหกรรม เรียนรู้ ท�ำการทดลอง ทดสอบการท�ำงานของระบบควบคุม อัตโนมัติในการผลิตส�ำหรับอุตสาหกรรมการผลิต ประกอบด้วย ชุดทดลอง/พัฒนาระบบ PLC เพื่อใช้ในอุตสาหกรรม, ชุดทดลอง/ พัฒนาระบบ Pneumatic เพื่อใช้ในอุตสาหกรรม, ชุดทดลองระบบ อัตโนมัตใิ นการผลิตแบบยืดหยุน่ (Flexible Manufacturing Systems)
ห้องปฏิบัติการ CNC และซอฟต์แวร์ระบบหุ่นยนต์ เรียนรู้ ท�ำการทดลอง พัฒนาระบบซอฟต์แวร์ส�ำหรับหุ่นยนต์ การท�ำงานของแขนหุน่ ยนต์อตุ สาหกรรม ใช้เรียนรูร้ ะบบ CAD/CAM CAE การควบคุมสั่งงาน CNC และจ�ำลองการท�ำงานของ CNC ประกอบด้วย เครือ่ งคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง 51 ชุด, ชุดซอฟต์แวร์ CAD/CAM/CAE จ�ำลองการท�ำงานของ CNC, เครื่อง CNC Mill / Turn, ชุดซอฟต์แวร์พัฒนาค�ำสั่งควบคุม และจ�ำลองการท�ำงาน ของหุ่นยนต์ ห้องปฏิบัติการนวัตกรรมทางวิศวกรรม ใช้ในการท�ำโครงงาน พัฒนาชิ้นส่วน งานวิจัยเพื่อสร้างนวัตกรรม ด้านวิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ประกอบด้วย โต๊ะ Workshop แบบยืดหยุ่น ส�ำหรับท�ำงานเป็นกลุ่ม, ชุดพัฒนาระบบ Embedded System เพื่อพัฒนาระบบหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ, Hand Tools และชุดอุปกรณ์ Workshop, 3D Printer, Laser Cutting Machine 11
เปิดรับสมัครนักศึกษาแล้ววันนี้ พร้อมทุนการศึกษา 30% 50% และ 100% สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
โทร. 0 2855 0000
สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) 85/1 หมู่ 2 ถ.แจ้งวัฒนะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 โทรศัพท์ : 0 2855 0000 โทรสาร : 0 2855 0391 contactreg@pim.ac.th www.pim.ac.th pimfanpage
@pim.line
PIMCampus