วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1

Page 1


วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2558 PANYAPIWAT JOURNAL Volume 7 No.1 January-April 2015 สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์


วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2558 PANYAPIWAT JOURNAL Volume 7 No.1 January-April 2015

จัดท�ำโดย

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ 85/1 หมู่ 2 ถนนแจ้งวัฒนะ ต�ำบลบางตลาด อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0-2837-1102, 0-2832-0908 โทรสาร 0-2832-0392

พิมพ์ที่

โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2218-3549-50 โทรสาร 0-2215-3612 http://www.cuprint.chula.ac.th E-mail: cuprint@hotmail.com

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ


ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2558 Vol.7 No.1 January - April 2015 ISSN 1906-7658 วารสารปัญญาภิวัฒน์ ได้ด�ำเนินการตีพิมพ์เผยแพร่อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 ปัจจุบันเป็นวารสารที่อยู่ ในฐานข้อมูล TCI (Thai-Journal Citation Index Centre) กลุ่มที่ 1 สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ล�ำดับที่ 20 โดยมีนโยบายการจัดพิมพ์ ดังนี้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานวิชาการในสาขาวิชาบริหารธุรกิจ การจัดการธุรกิจอาหาร วิทยาการ จัดการ ศิลปศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ นิเทศศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี อุตสาหกรรมเกษตร และนวัตกรรม การจัดการเกษตร 2. เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการแก่สังคม ทั้งในแวดวงวิชาการและผู้สนใจทั่วไป ขอบเขตผลงานที่รับตีพิมพ์ ขอบเขตเนื้อหา ประกอบด้วย สาขาวิชาบริหารธุรกิจ การจัดการธุรกิจอาหาร วิทยาการจัดการ ศิลปศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ นิเทศศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี อุตสาหกรรมเกษตร และนวัตกรรมการจัดการเกษตร ประเภทผลงาน ประกอบด้วย บทความวิจยั (Research article) บทความวิชาการ (Academic article) บทวิจารณ์หนังสือ (Book review) และบทความปริทศั น์ (Review article) นโยบายการพิจารณากลั่นกรองบทความ 1. บทความที่จะได้รับการตีพิมพ์ ต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer review) ในสาขา ที่เกี่ยวข้อง จ�ำนวนอย่างน้อย 2 ท่านต่อบทความ 2. บทความทีจ่ ะได้รบั การตีพมิ พ์ ต้องไม่เคยตีพมิ พ์เผยแพร่ทใี่ ดมาก่อนและต้องไม่อยูใ่ นกระบวนการพิจารณา ของวารสารหรือสิ่งตีพิมพ์อื่นใด 3. บทความ ข้อความ ภาพประกอบ และตารางประกอบ ที่ตีพิมพ์ในวารสารเป็นความคิดเห็นและความ รับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว ไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์แต่อย่างใด 4. กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตัดสินการตีพิมพ์บทความในวารสาร ก�ำหนดพิมพ์เผยแพร่ ปีละ 3 ฉบับ ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน, ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม ติดต่อกองบรรณาธิการ ส�ำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ 85/1 หมู่ 2 ถนนแจ้งวัฒนะ ต�ำบลบางตลาด อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์: 0-2837-1102, 0-2832-0908 โทรสาร: 0-2832-0392 E-mail: research@pim.ac.th เว็บไซต์: http://journal.pim.ac.th


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ISSN 1906-7658

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2558 Vol.7 No.1 January - April 2015

ที่ปรึกษา อธิการบดี รองอธิการบดี ผู้ช่วยอธิการบดี และคณบดี สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทิพย์พาพร มหาสินไพศาล

รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักวิจัยและพัฒนา

รองบรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปริญญา สงวนสัตย์

คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี

กองบรรณาธิการ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน ศาสตราจารย์ ดร.ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช รองศาสตราจารย์ ดร.กนกพร นุ่มทอง รองศาสตราจารย์ ดร.ปพฤกษ์บารมี อุตสาหะวาณิชกิจ รองศาสตราจารย์ ดร.ทิวัตถ์ มณีโชติ รองศาสตราจารย์ ดร.พร้อมพิไล บัวสุวรรณ รองศาสตราจารย์ ดร.วัลลภ สันติประชา รองศาสตราจารย์ ดร.วิฑูรย์ เหลียวรุ่งเรือง รองศาสตราจารย์ ดร.สิตานนท์ เจษฎาพิพัฒน์ รองศาสตราจารย์ ดร.เอ็จ สโรบล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นลินี ตันธุวนิตย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มงคลชัย วิริยะพินิจ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาวดี อร่ามวิทย์ ดร.กานต์จิรา ลิมศิริธง ดร.ไพรัตน์ ศรีชนะ ดร.ลูกจันทร์ ภัครัชพันธุ์ ดร.สาธิมา ปฐมวิริยะวงศ์ Dr.Kelvin C.K. LAM ผู้ทรงคุณวุฒิภายในสถาบัน รองศาสตราจารย์ ดร.วรวิทย์ สิริพลวัฒน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จินตวีร์ เกษมศุข ผู้ช่วยศาสตราจารย์ไกรคุง อนัคฆกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์นภัสพร แสงพายัพ ดร.เปรมฤทัย แย้มประเสริฐ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ จ์ าํ กัด นักวิจัยอิสระ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ คณะนวัตกรรมการจัดการเกษตร คณะนิเทศศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ คณะการจัดการธุรกิจอาหาร


ดร.วีริสา โชติยะปุตตะ ดร.หม่อมหลวงสรสิริ วรวรรณ ดร.อุราเพ็ญ ยิ้มประเสริฐ อาจารย์จิรภัทร กิติธนพัต อาจารย์จิรวุฒิ หลอมประโคน อาจารย์วินัยชาญ สรรพโรจน์พัฒนา อาจารย์สาธิตา ธนทรัพย์เกษม

วิทยาลัยนานาชาติ คณะศึกษาศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ คณะอุตสาหกรรมเกษตร คณะบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์

ศาสตราจารย์ ดร.ชูชัย สมิทธิไกร รองศาสตราจารย์ ดร.กฤษณ์ ทองเลิศ รองศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมพงศ์ มีสมนัย รองศาสตราจารย์ ดร.ไตรรัตน์ โภคพลากรณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.ทิวัตถ์ มณีโชติ รองศาสตราจารย์ ดร.นาตยา ปิลันธนานนท์ รองศาสตราจารย์ ดร.นิรมล ศตวุฒิ รองศาสตราจารย์ ดร.ประพนธ์ เจียรกูล รองศาสตราจารย์ ดร.ปรียานุช อภิบุณโยภาส รองศาสตราจารย์ ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ รองศาสตราจารย์ ดร.วรพิทย์ มีมาก รองศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร เปรมชัยสวัสดิ์ รองศาสตราจารย์ ดร.อุษา บิ๊กกิ้น รองศาสตราจารย์ชนัดดา เหมือนแก้ว รองศาสตราจารย์ชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์ รองศาสตราจารย์ชื่นจิตต์ แจ้งเจนกิจ รองศาสตราจารย์ยุทธนา ธรรมเจริญ รองศาสตราจารย์สมชาย หิรัญกิตติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุลนี เทียนไทย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัฐวีณ์ สิทธิ์ศิรอรรถ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติสันต์ เกิดวิบูลย์เวช ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นงนุช ศรีอัษฎาพร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุรินทร์ ศรีสมถวิล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประทีป จินงี่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พูลทรัพย์ นาคนาคา

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยสยาม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

ผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความ (Reviewers)


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รังสรรค์ โฉมยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมพงษ์ ศิริโสภณศิลป์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมยศ วัฒนากมลชัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริฉันท์ สถิรกุล เตชพาหพงษ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พัชนี นนทศักดิ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพล พรหมมาพันธุ์ ดร.วุฒิชัย พรรณเชษฐ์ ดร.พลเรือตรี (หญิง) สุภัทรา เอื้อวงศ์

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยศรีปทุม นักวิชาการอิสระ มหาวิทยาลัยสยาม


บทบรรณาธิการ

วารสารวิชาการรูปแบบ E-journal ในโลกดิจิทัล ปัจจุบนั ด้วยเทคโนโลยีทก่ี า้ วหน้าบวกกับความ คิดสร้างสรรค์ที่เจิดจรัสของมนุษย์ได้เกิดการพัฒนา สิง่ ต่างๆ อย่างไม่รจู้ บ จึงท�ำให้เกิดการเปลีย่ นแปลงอย่าง มากมาย รวมถึ ง การสื่ อ สารบนโลกที่ พั ฒ นาแบบไร้ พรมแดนเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ในการ สือ่ สาร ท�ำให้สามารถรับส่งข้อมูลทีร่ วดเร็วมากขึน้ ส่งผล ให้เกิดการปรับตัวของสื่อสิ่งพิมพ์ ที่เปลี่ยนรูปแบบจาก ตัวหนังสือบนกระดาษมาเป็นตัวอักษรดิจทิ ลั บนอุปกรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ โดยสามารถดาวน์ โ หลดมาอ่ า นบน มือถือและคอมพิวเตอร์ได้ เรียกว่า E-book E-news E-magazine และ E-journal ตามสิ่ ง พิ ม พ์ แ ต่ ล ะ ประเภท หรือเรียกรวมกันว่า “สิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์” (E-publishing) วารสารวิชาการอิเล็กทรอนิกส์นับเป็นอีกหนึ่ง รูปแบบใหม่ของวารสารในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยวารสารวิชาการอิเล็กทรอนิกส์ สามารถจัดเก็บบันทึก พิมพ์เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ไว้ บ นสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ มี เ ผยแพร่ อ ย่ า งสม�่ ำ เสมอ ผูร้ บั สามารถเข้าถึง สืบค้นข้อมูล และติดต่อผลิตวารสาร ได้ตลอดเวลาตามฐานข้อมูลออนไลน์ และเครือข่าย คอมพิวเตอร์ ดังนัน้ ปัจจุบนั จึงมีการผลิตวารสารวิชาการ และมีความพยายามเผยแพร่วารสารของตนให้ไปถึงกลุม่ เป้าหมายให้มากที่สุด โดยเฉพาะมีการจัดท�ำวารสารให้ อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งแต่ละวารสารได้พัฒนา ระบบเฉพาะต่างๆ ของแต่ละฉบับ ทัง้ นีเ้ พือ่ ความสะดวก รวดเร็วในการใช้เป็นสื่อกลางการติดต่อสื่อสารทางด้าน วิชาการระหว่างนักวิชาการกับนักวิชาการ และระหว่าง นักวิชาการกับสังคมทั่วไป ซึ่งจะน�ำเสนอแนวคิดหรือ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ที่ได้จากการศึกษาและค้นคว้าวิจัย นอกจากนี้ ไม่เพียงแต่เรื่องของการติดต่อสื่อสารเท่านั้น วารสารวิชาการในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์สามารถช่วย

ในเรื่องของการจัดการที่มีระบบมากยิ่งขึ้น น�ำความ รวดเร็วของอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ ซึ่งช่วยลดการท�ำงานที่ซ�้ำซ้อน ลดความฟุ่มเฟือยในการ ใช้ทรัพยากร และยังสามารถช่วยโลกได้อีกทางหนึ่ง ดังนั้น วารสารวิชาการของสถาบันการจัดการ ปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 จึงได้ผลิตและเผยแพร่ผลงาน วิชาการในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือที่เรียกว่า E-journal เพื่ อ ก้ า วให้ ทั น การเปลี่ ย นแปลงทาง เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยลดความสูญเสียและเพิ่ม ประสิทธิภาพให้กับการท�ำงานได้มากยิ่งขึ้นทั้งในด้าน ความสะดวก ความรวดเร็ ว การติ ด ต่ อ สื่ อ สารแบบ ไร้พรมแดนเพื่อก้าวสู่ความเป็นสากลของการเผยแพร่ ผลงานวิชาการของไทยให้มากขึน้ ในอนาคต โดยวารสาร ปั ญ ญาภิ วั ฒ น์ ข องสถาบั น การจั ด การปั ญ ญาภิ วั ฒ น์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 นี้ได้รวบรวมบทความทางวิชาการที่ได้ รับการพิจารณาจากผูท้ รงคุณวุฒิ ซึง่ ประกอบด้วยเนือ้ หา สาระที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์ในหลากหลายสาขา ผู้อ่านสามารถน�ำไปเป็นแนวทางและปรับใช้กับชีวิต ประจ�ำวัน การท�ำงานและพัฒนาธุรกิจหรือหน่วยงานได้ กองบรรณาธิการ วารสารปัญญาภิวฒ ั น์หวังเป็นอย่างยิง่ ว่าจะช่วยเป็นแรงบันดาลใจในการมุ่งพัฒนาเผยแพร่ ผลงานวิชาการของประเทศให้ขับเคลื่อนไปข้างหน้า อย่างก้าวไกล และสามารถเป็นแหล่งข้อมูล รวบรวมองค์ ความรู้ที่หลากหลาย อันจะน�ำพาให้ผู้อ่านสร้างสรรค์

และพัฒนาตนเอง สังคมและประเทศได้อย่างสืบไป

บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทิพย์พาพร มหาสินไพศาล tippapornmah@pim.ac.th



สารบัญ บทความวิจัย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแนวทางการพัฒนาธุรกิจเพื่อเข้าสู่ธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนในประเทศไทย 1 ลักษณาวดี บุญยะศิรินันท์ ESSENTIAL ELEMENTS OF AN INTEGRATED MANAGEMENT MODEL FOR DAY SPAS IN THAILAND 11 Pornphen Lalitnuntikul, Kassara Sukpatch THE PREDICTABILITY OF PAST FIRMS’ PERFORMANCE ON FUTURE CASH FLOWS 24 Kusuma Dampitakse, Panarat Panmanee ความสามารถตอบสนองปัจจัยส่วนประสมการตลาดของมหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจ 38 ณตา ทับทิมจรูญ การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าของสินค้าหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ระดับ 5 ดาว ประเภทอาหาร 54 ในจังหวัดนครศรีธรรมราช เจษฎา นกน้อย, สัญชัย ลั้งแท้กุล การจัดระเบียบสังคมแบบภาครัฐร่วมเอกชน ส�ำหรับธุรกิจค้าขยะรีไซเคิลในมิติด้านกฎหมายและการจัดการ 67 ญาณัญฎา ศิรภัทร์ธาดา การบริหารจัดการสื่อมวลชนกีฬาอาชีพในประเทศไทยกรณีศึกษา บริษัท ไทยพรีเมียร์ลีก จ�ำกัด 76 สรายุทธ มหวลีรัตน์, วิชิต อู่อ้น การสร้างความหมายและองค์ประกอบเชิงสร้างสรรค์ของสื่อทัศน์เพื่อโน้มน้าวใจในการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ 87 ณัฏฐ์ชุดา วิจิตรจามรี อิทธิพลของความพึงพอใจในการท�ำงานและการเห็นคุณค่าในตนเองที่มีต่อความผูกพัน 99 ต่อองค์กรเมื่อควบคุมและไม่ควบคุมปัจจัยส่วนบุคคลของพนักงานโรงแรม กิ่งแก้ว ทรัพย์พระวงศ์, ณภัทร วุฒิวงศา, ภรภัทร ชูแข, ปิยวุฒิ ศิริมงคล การศึกษาข้อผิดพลาดการแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีนของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจในมิติด้านไวยากรณ์ 116 สุพิชญา ชัยโชติรานันท์ การศึกษาปัญหาในการฝึกปฏิบัติงานและปัจจัยซึ่งส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการฝึกปฏิบัติงาน 127 ของนักศึกษา กรณีศึกษา นักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ เกวรินทร์ ฉันทนะสุขศิลป์, พิมลมาศ เนตรมัย, กิจปฏิภาณ วัฒนประจักษ์ Teachers’ and Students’ Perceptions towards an In-house EFL Textbook 136 Apisara Sritulanon การพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาจีนด้วยวิธีตอบสนองด้วยท่าทาง TPR ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 149 โรงเรียนวัดคูยาง ส�ำนักงานพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาก�ำแพงเพชร เขต 1 อดิเรก นวลศรี คุณสมบัติส่วนบุคคล อิทธิพลทางสังคม และความซื่อสัตย์ที่มีผลต่อภาวะผู้น�ำที่แท้จริง 160 ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนในเครือเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร กาญจนา สุดประเสริฐ


ผู้หญิงกับการเปลี่ยนแปลงเชิงเศรษฐกิจ ศึกษากรณี เศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดอ่างทอง ฉัตรวรัญ องคสิงห์ ผลของโปรแกรมการควบคุมตนเองต่อพฤติกรรมติดเกมออนไลน์นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ธันยวนันฐ์ เลียนอย่าง การออกแบบสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริงที่วงเวียน: กรณีศึกษาวงเวียนอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย นิวัฒน์ สุรโชติเกรียงไกร, อ�ำพล การุณสุนทวงษ์ การศึกษาโมเดล SPII-XP เพื่อเสริมสร้างทักษะการพัฒนาซอฟต์แวร์ส�ำหรับผู้เรียนเฉพาะบุคคล พรสิริ ชาติปรีชา บทความวิชาการ THE APPLICATION OF THREE READING MODELS AND WRITING PROCESS FOR TEACHING STUDENTS’ OPINIONS WRITING ABOUT ARTICLE READ Charisopon Inthapat การอ่านภาษาอังกฤษ: การสอนที่เน้นกลวิธีการอ่าน ไกรคุง อนัคฆกุล ผู้สูงอายุในโลกแห่งการท�ำงาน: มุมมองเชิงทฤษฎีทางกายจิตสังคม ธนยศ สุมาลย์โรจน์, ฮานานมูฮิบบะตุดดีน นอจิ สุขไสว แนวโน้มเทคโนโลยีสมัยใหม่ส�ำหรับธุรกิจค้าปลีก พรรณเชษฐ ณ ล�ำพูน, ณัฐภัทรา สุรพงษ์รักตระกูล

173 185 194 207

220 232 242 255


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

1

ปัจจัยที่มอี ิทธิพลต่อแนวทางการพัฒนาธุรกิจเพื่อเข้าสู่ ธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนในประเทศไทย FACTORS INFLUENCING BUSINESS DEVELOPMENT APPROACH TO ACCESS ENVIRONMENTALLY SUSTAINABLE BUSINESS IN THAILAND ลักษณาวดี บุญยะศิรินันท์1 Luxanawadee Boonyasirinun1 บทคัดย่อ

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่ท�ำให้องค์กรพัฒนาสู่องค์กรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่าง ยั่งยืน (2) ศึกษาคุณลักษณะส่วนบุคคลของบุคลากรในองค์กรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (3) ศึกษาแนวทางการปฏิบัติ การของพนักงานขององค์กรเพือ่ พัฒนาสูอ่ งค์กรทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน (4) ศึกษาแนวทางการปฏิบตั กิ าร ขององค์กรเพื่อพัฒนาสู่องค์กรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน จากกลุ่มตัวอย่างพนักงานบริษัทที่มีชื่อเสียง ด้านธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 400 คน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ความถดถอยเชิงพหุ t-test และ ANOVA ผลวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) คุณลักษณะของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เพศหญิง อายุ 31-40 ปี ปริญญาตรี สถานภาพโสด ต�ำแหน่งพนักงาน รายได้มากกว่า 45,000 บาทต่อเดือน ประสบการณ์ท�ำงาน 11 ปีขึ้นไป 2) การปฏิบัติของบุคลากรตามหลักการอุปนิสัยสีเขียว (7 R’s) ในองค์กรเพื่อการพัฒนาสู่องค์กรที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ให้ความส�ำคัญ การคิดก่อนใช้ (Rethink) การลดการใช้ (Reduce) การน�ำกลับมาใช้ใหม่ (Reuse) การน�ำไปผ่านกระบวนการเพื่อมาใช้ใหม่ (Recycle) การสร้างทดแทน (Return) อยู่ในระดับมาก 3) ปัจจัย ที่ท�ำให้องค์กรเข้าสู่องค์กรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ให้ความส�ำคัญทุกปัจจัยในระดับมาก 4) กระบวนการขององค์กร เพื่อพัฒนาสู่องค์กรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนด้านการปฏิบัติขององค์กรเกี่ยวการตลาด และด้านการปฏิบัติ ขององค์ ก รเกี่ ย วกั บ ธุ ร กิ จ ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ให้ ค วามส� ำ คั ญ ทุ ก ปั จ จั ย ในระดั บ มาก ผลการวิ เ คราะห์ ความถดถอยเชิงพหุ พบว่า ด้านการปฏิบัติขององค์กรด้านการตลาดเพื่อน�ำไปสู่กระบวนการพัฒนาธุรกิจที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม และด้านการปฏิบัติขององค์กรเกี่ยวกับธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อน�ำไปสู่กระบวนการพัฒนา ธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สามารถเขียนความสัมพันธ์อยู่ในรูปแบบของ 7 R’s และปัจจัยที่ท�ำให้องค์กรเข้าสู่ องค์กรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ค�ำส�ำคัญ: ปัจจัยที่มีอิทธิพล แนวทางการพัฒนาธุรกิจ ธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

1 อาจารย์ ป ระจ� ำ หลั ก สู ต รบริ ห ารธุ ร กิ จ มหาบั ณ ฑิ ต

E-mail: luxanawadee.b@gmail.com

มหาวิ ท ยาลั ย ราชพฤกษ์ , Lecturer MBA course, Rajaprux University, ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


2

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Abstract

This research aims to (1) examine the factors that make development organization to be environmental and sustainable organization (2) study the personal characteristics of the workers in the environmental friendly organization (3) study operation of the staff who evolve into an environmental and sustainable organization (4) study the operation of the organization to evolve into an environmental and sustainable organization. The samples have been collected from 400 people who are working in top ranked environmentally sustainable companies in Thailand. The data have been analyzed using percentage, mean, standard deviation, multiple regression, T-test, and ANOVA. The results have been shown that the majority of respondents are 35-40 years old, single females who received bachelor’s degrees, work as employees, earn more than 45,000 bahts monthly, and have more than 11 years of working experience. In term of the personnel practicing, the respondents have high concern in rethink, reduce, reuse, recycle, and return. In term of the factors that can transform the organizations into environmental friendly organization, all factors are high consideration. The factors of organizational processes that can develop an environmental and sustainable organization in marketing organization aspect such as spread the message, teaching aids, say something positive, stand out from the crowd, show cause and effect, the whole package, keep it real, beat the buzz, ink spots, and sharper vision, are considered as important. The factors of organizational processes that can develop an environmental and sustainable organization in organization practicing aspect such as natural advantage, organic growth, symbiosis, risk-aversion, mutualism, bio-mimicry, innovation, conservation, self organization, and cooperation, are also considered as important. The data have been evaluated using multiple regression analysis. The results have been shown that the factors of organizational processes which can develop an environmentally sustainable organization in marketing organization aspect and in organization practicing aspect can be written as a combination of some 7 R’s and also as the combination of some environmentally sustainable organization factors. Keywords: factors influencing, business development, sustainable green business

บทน�ำ

การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในระดับสากล เริ่มตื่นตัว ตั้ ง แต่ ก ่ อ ตั้ ง United Nations Environment Programme (UNEP) ใน พ.ศ. 2516 และเพิ่มขึ้นมาก หลังการประชุม Earth Summit ที่เมืองริโอเดอร์จาเนโร (Rio de Janeiro) ประเทศบราซิล พ.ศ. 2535 ได้ ผลักดันให้แต่ละประเทศมีการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustain able Development) โดยมี 2 หัวข้อส�ำคัญ คือ เผย แพร่ส่งเสริมธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมหรือธุรกิจ

สีเขียว (Green Business) และให้มีการพัฒนาอย่าง ต่อเนือ่ ง ซึง่ การด�ำเนินการดังกล่าวจะยังประโยชน์อย่าง มากในหลายๆ ด้าน ต่อธุรกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ในปัจจุบันจึงเห็นว่าในหลายประเทศได้ตระหนักถึง ความส� ำ คั ญ ดั ง กล่ า ว จึ ง ก่ อ เกิ ด นโยบาย กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และแนวทางปฏิบัติต่างๆ อีก มากมาย เพื่ อ เป็ น แรงผลั ก ดั น และส่ ง เสริ ม องค์ ก ร ทั้งภาครัฐและเอกชน ให้เข้าสู่การเป็นองค์กรที่เป็นมิตร

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

ต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรธุรกิจที่มีการ ด� ำ เนิ น การที่ ส ่ ง ผลกระทบในด้ า นลบต่ อ สั ง คมและ สิ่งแวดล้อมอย่างมาก ดังนั้นแนวทางการพัฒนาธุรกิจ เพื่อเข้าสู่ธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน จึงมีแนวคิดที่หลากหลาย ธุรกิจควรมองอย่างองค์รวม คือการพัฒนาในเรือ่ งของ กระบวนการขององค์กรทีเ่ ป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืน ในด้านการ ตลาดและด้านธุรกิจสีเขียว ซึ่งสอดรับกับสิ่งแวดล้อม และการสร้างแรงจูงใจ การด�ำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน ในปัจจุบัน จะต้องประกอบด้วยการค�ำนึงถึงการเจริญ เติ บ โตทางธุ ร กิ จ และการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆ กัน (Growth & Green) การ บริหารจัดการอย่างยัง่ ยืน (Sustainability from work) คือ การพัฒนาที่ตอบสนองความต้องการของปัจจุบัน โดยไม่ท�ำให้เกิดปัญหาในอนาคต เป็นการพัฒนาที่ต้อง เชื่อมโยงและค�ำนึงถึงความสัมพันธ์ 3 องค์ประกอบ คือ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีปัจจัยที่จะท�ำให้ องค์กรเข้าสู่ “ธุรกิจสีเขียว” ได้แก่ กระแสของโลกาภิวัตน์ นวัตกรรม เทคโนโลยีที่ทันสมัย ข้อตกลงทางการค้าใหม่ วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ การผลิตตามมาตรฐานสากล ภาวะ การแข่งขันทีร่ นุ แรง และการหาแหล่งผลิตสินค้าทีค่ มุ้ ค่า กับการลงทุน อีกทัง้ ผูท้ จี่ ะด�ำเนินพัฒนาให้เป็นไปได้ตาม แนวทางดังกล่าวต้องประกอบด้วย คน การจัดการระบบ ซึง่ การเริม่ ทีก่ ารปฏิบตั ขิ องบุคลากรตามหลักการอุปนิสยั สีเขียวในองค์กรเพื่อการพัฒนาสู่องค์กรที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ได้แก่ การคิดก่อนใช้ (Rethink) การลดการใช้ (Reduce) การน�ำกลับมาใช้ใหม่ (Reuse) การน�ำไปผ่านกระบวนการเพือ่ มาใช้ใหม่ (Recycle) การ สร้างทดแทน (Return) อยู่ในระดับมาก การปฏิเสธ ทรั พ ยากรหรื อ วั ต ถุ ดิ บ ที่ ไ ม่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม (Refuse) และการซ่ อ มแซมแล้ ว น� ำ กลั บ มาใช้ ใ หม่ (Recondition) จึงเป็นแนวคิดที่ดีแบบหนึ่ง อีกทั้งการ ด�ำเนินตามแนวทางการธุรกิจสู่แนวคิดการด�ำเนินธุรกิจ เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ก็จะก่อให้เกิดประโยชน์ ในหลายด้าน อาทิเช่น ผู้บริโภคได้รับสินค้าและบริการ คุ ณ ภาพสู ง ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม และประหยั ด ค่าใช้จ่ายในระยะยาว สังคมและสิ่งแวดล้อมได้รับการ

3

ใส่ใจ ควบคุม ดูแล ฟืน้ ฟู และลดผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคต เกิดแนวทางการพัฒนาปรับปรุง นวัตกรรม กระบวนการผลิต เครื่องจักร เทคโนโลยี ผลิตภัณฑ์ ทีไ่ ม่สง่ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม มีความปลอดภัยทัง้ ต่อ ผู้ใช้และสิ่งแวดล้อม และท�ำให้ธุรกิจและสังคมด�ำรงอยู่ และเติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืน เป็นต้น งานวิจัยนี้ก่อให้เกิดอรรถประโยชน์หลายประการ เพื่อเป็นแนวทางให้ธุรกิจที่ยังไม่ได้เข้าสู่การเป็นธุรกิจ ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มได้ ใช้ เ ป็ น แนวทางการ พั ฒ นาธุ ร กิ จ ให้ เข้ า สู ่ ก ารปฏิ บั ติ ที่ เ หมาะสมต่ อ ไป ซึ่งการท�ำการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพมาใช้ใน การวิจัย เพื่อลดจุดบกพร่องของการวิจัยแต่ละประเภท ลง และให้ได้ผลงานวิจยั ทีม่ รี ปู แบบสมบูรณ์ และสามารถ ตอบปัญหาของการวิจัยในครั้งนี้ให้ได้ละเอียดดียิ่งขึ้น อีกทั้งการศึกษาข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวข้องในหลายด้าน มาใช้ประกอบเป็นพืน้ ฐานการศึกษาวิจยั ด้วย ดังนัน้ การ มี ส ่ ว นร่ ว มในความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมของธุ ร กิ จ (Corporate Social Responsibility (CSR)) เป็นสิ่งที่ ทุกองค์กรควรให้ความส�ำคัญ จากหลักการและเหตุผลที่ ดี จึงได้ถกู บรรจุเป็นแนวปฏิบตั ทิ ผี่ นวกเข้ากับการด�ำเนิน ธุรกิจให้มคี วามเจริญเติบโตทางผลก�ำไร และค�ำนึงถึงการ ด�ำเนินการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆ กัน เพื่อ มุง่ ไปทีก่ ารสร้างให้องค์กรเกิดความยัง่ ยืนของการด�ำเนิน ธุรกิจต่อไป

วัตถุประสงค์การวิจัย

1. ศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ ท� ำ ให้ อ งค์ ก รพั ฒ นาสู ่ อ งค์ ก ร ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนในประเทศไทย 2. ศึ ก ษาคุ ณ ลั ก ษณะส่ ว นบุ ค คลของบุ ค ลากร ในองค์กรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 3. ศึกษาแนวทางการปฏิบัติการของพนักงานของ องค์กรเพือ่ พัฒนาสูอ่ งค์กรทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมอย่าง ยั่งยืนในประเทศไทย 4. ศึกษาแนวทางการปฏิบัติการขององค์กร เพื่อ พัฒนาสู่องค์กรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนใน ประเทศไทย

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


4

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

สมมติฐานในการวิจัย

สมมติฐานที่ 1 กระบวนการขององค์กรเพื่อพัฒนา สู่องค์กรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนสามารถ สร้างรูปแบบความสัมพันธ์ได้จากปัจจัยการปฏิบัติของ บุคลากรตามหลักการอุปนิสัยสีเขียว สมมติฐานที่ 2 กระบวนการขององค์กรเพื่อพัฒนา สู่องค์กรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนสามารถ สร้างรูปแบบความสัมพันธ์ได้จากปัจจัยที่มีอิทธิพลของ องค์กรในการพัฒนาสู่องค์กรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน สมมติฐานที่ 3 คุณลักษณะส่วนบุคคลไม่มผี ลต่อการ ปฏิบัติของบุคลากรตามหลักการอุปนิสัยสีเขียว (7 R’s) สมมติฐานที่ 4 คุณลักษณะส่วนบุคคลไม่มีผลต่อ ปัจจัยทีท่ ำ� ให้องค์กรเข้าสูอ่ งค์กรทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม อย่างยั่งยืน สมมติฐานที่ 5 คุณลักษณะส่วนบุคคลไม่มีผลต่อ กระบวนการขององค์กรเพื่อพัฒนาสู่องค์กรที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

ปัจจัยที่ท�ำให้องค์กรเข้าสู่องค์กรสีเขียว กระแสของโลกาภิวัตน์ / นวัตกรรม / เทคโนโลยีที่ ทันสมัย / ข้อตกลงทางการค้าใหม่ / วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ / การผลิตตามมาตรฐานสากล / ภาวะการแข่งขันที่รุนแรง / การหาแหล่งผลิตสินค้าที่คุ้มค่ากับการลงทุน

คุณลักษณะส่วนบุคคล เพศ / อายุ / การศึกษา / สถานภาพ / ต�ำแหน่ง / อายุการท�ำงาน / รายได้

วิธีการวิจัย

ใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ได้ศึกษาหา ข้ อ มู ล จากแนวคิ ด และทฤษฎี ที่ เ กี่ ย วข้ อ งไปจั ด ท� ำ โครงสร้างของแบบสอบถาม จัดท�ำแบบสอบถามโดยน�ำ ไปให้ท่ีปรึกษางานวิจัยตรวจสอบ และให้ผู้ทรงคุณวุฒิ ตรวจสอบ แล้ ว วิ เ คราะห์ ค ่ า IOC ปรั บ ปรุ ง แก้ ไข แบบสอบถาม น�ำแบบสอบถามฉบับร่างไปทดลองใช้ (Try Out) ร้อยละ 10 ของกลุ่มตัวอย่าง เพื่อทดสอบ ความเชื่อมั่น (Reliability) โดยใช้วิธีของ Cronbach มี ค่ า ความเชื่ อ มั่ น เฉลี่ ย เป็ น 0.89 แล้ ว น� ำ ไปจั ด ท� ำ แบบสอบถามฉบับจริง ส�ำหรับพนักงานบริษทั 4 องค์กร ซึ่งเป็นองค์กรต้นแบบด้าน CSR และได้รับรางวัลจาก สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย องค์กรละ 100 ชุด และ ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ทรงวุฒิที่ท�ำงานเรื่องความ รับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจโดยตรง 2 ท่าน จากสถาบัน ไทยพัฒน์ และบริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน)

กระบวนการขององค์กรเพื่อพัฒนาสู่องค์กรที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ด้านการตลาด การใช้ข้อความสื่อสาร / การน�ำเทคโนโลยีมาใช้ / การพูด ถึงในเรื่องที่ดี / การสร้างความโดดเด่นออกมา / การน�ำเสนอเรื่องราว และผลกระทบ / การให้ความส�ำคัญกับบรรจุภัณฑ์ / การท�ำให้เห็น เชิงประจักษ์ / การท�ำให้ต่อเนื่องและยั่งยืน / การลดความเข้มของสีที่ใช้ / การมีวิสัยทัศน์ที่ดีกว่า ด้านธุรกิจสีเขียว ก่อให้เกิดผลดีอย่างเป็นธรรมชาติ / การสร้างความเจริญเติบโต ที่มาจากต้นก�ำเนิด / การเอื้อประโยชน์กัน / ความเสี่ยงจากการไม่เห็นด้วย / ความแตกต่างที่มี / เทคโนโลยีที่เลียนแบบธรรมชาติ / การน�ำนวัตกรรมมาใช้ / การอนุรักษ์นิยม / คุณลักษณะขององค์กร / การประสานความร่วมมือกัน

การปฏิบัติของบุคลากรตามหลักการอุปนิสัยสีเขียว (7 R’s) การคิดก่อนใช้ / การลดการใช้ / การน�ำกลับมาใช้ใหม่ / การน�ำไปผ่าน กระบวนการเพื่อมาใช้ใหม่ / การปฏิเสธทรัพยากรหรือวัตถุดิบที่ไม่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม / การซ่อมแซมแล้วน�ำกลับมาใช้ใหม่ / การทดแทน

รูปที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

ขอบเขตการวิจัย

ขอบเขตด้านเนือ้ หา ได้แก่ ศึกษาเฉพาะคุณลักษณะ ส่วนบุคคล ปัจจัยที่ท�ำให้องค์กรเข้าสู่องค์กรสีเขียว กระบวนการขององค์กรเพื่อพัฒนาสู่องค์กรที่เป็นมิตร ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งยั่ ง ยื น และการปฏิ บั ติ ก ารของ บุคลากรตามหลักการอุปนิสัยสีเขียว (7R’s) ในองค์กร เพื่อการพัฒนาสู่องค์กรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่าง ยั่งยืน ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พนั ก งานบริ ษั ท ที่ ป ฏิ บั ติ ง านในประเทศไทย จาก 4 องค์กรต้นแบบด้าน CSR ซึ่งได้รับการจัดอันดับ จาก สมาคมบริ ษั ท จดทะเบี ย นไทย ได้ แ ก่ บริ ษั ท ปู น ซิ เ มนต์ ไ ทย จ� ำ กั ด (มหาชน) บริ ษั ท บางจาก ปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารกสิกรไทย และ บริษทั พฤกษาเรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) มีประชากร โดยประมาณ 59,700 คน ได้กลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 400 คน และสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ทรงคุณวุฒิ 2 ท่าน ขอบเขตด้านระยะเวลา ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2556 ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2557

ผลการวิจัย

จากการสัมภาษณ์ผทู้ รงคุณวุฒใิ นการวิจยั ครัง้ นีส้ รุป สาระส�ำคัญได้ดงั นี้ ควรมีการเสนอให้มกี ารเปลีย่ นแปลง กรอบคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนด้วยการค�ำนึงถึงเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดความสมดุล แบบ เสาหลัก แต่ละองค์ควรจะท�ำในแนวทางทีส่ อดคล้องกับ รูปแบบของธุรกิจ ซึ่งมุมมองและการปฏิบัติด้านความ รับผิดชอบต่อสังคมขึ้นอยู่กับผู้บริหารสูงสุดขององค์กร มีผลท�ำให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชาคล้อยตาม แต่กจ็ ะต้องมีกลไก ในการรองรับบางอย่างเพื่อให้เกิดการถ่ายทอด และให้ มีผลสืบเนือ่ งถึงการปฏิบตั อิ ย่างต่อเนือ่ ง การท�ำให้ความ รับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจมีความยั่งยืนต่อไปต้องให้ ความส�ำคัญกับการเริ่มต้นตามหลักที่ถูกต้องตั้งแต่แรก ไม่คลาดเคลื่อนก็จะเป็นทิศทางที่ถูกต้องต่อไปในการ ปฏิบัติ แต่ถ้าท�ำผิดหลักการตั้งแต่แรกก็จะมีความคลาด

5

เคลื่อนผิดเพี้ยนเพิ่มขึ้น ในการด�ำเนินงาน ปัจจัยที่ผลัก ดันมีความเกี่ยวข้องทั้งหมด ความรับผิดชอบต่อสังคม ของธุรกิจเป็นเหมือนข้อบังคับด้วยในการสร้างระบบทีด่ ี มีผลในการน�ำมาตอบโจทย์เรื่องภาพลักษณ์ขององค์กร หลักการที่ส�ำคัญในแนวทางที่ดี คือ ต้องมีความยั่งยืน เป็นที่ต้องการของชุมชน ให้เข้ามามีส่วนร่วม ต้องท�ำให้ เกิดประโยชน์ที่แท้จริง แต่หากองค์กรมีบุคลากรไม่มาก ในส่วนงานการท�ำกิจกรรมเพื่อสังคมสามารถใช้กลยุทธ์ การขับเคลื่อนจากชุมชน มีองค์กรสนับสนุน มีการ ประสานงานที่ดี ก็สามารถท�ำได้ อีกทั้งควรมุ่งเน้นที่การ เผยแพร่ตรงเป้าหมาย และก็มหี ลายช่องทางการสือ่ สาร ในอนาคต 5-10 ปี ข้างหน้าต้องตอบโจทย์ทางธุรกิจได้ มีการใช้หลักการ 3 ประสาน ต้องมีความยัง่ ยืน ผลิตภัณฑ์ มีคุณภาพ การคัดเลือกเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ จะต้องมีเรือ่ งการให้ความส�ำคัญกับสิง่ แวดล้อมด้วยแล้ว ควรจะน�ำหลักการทีไ่ ด้กล่าวมานีไ้ ปใช้กบั การด�ำเนินการ ของบริษัท และมีการขยายหลักการไปต่างประเทศด้วย ในระยะ 10 ปีข้างหน้า ความรับผิดชอบต่อสังคมของ ธุรกิจจะเป็นสิ่งส�ำคัญมากในเรื่องการสร้างภาพลักษณ์ ที่ดีของประเทศด้วย ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของพนักงานบริษัท สรุปได้ ดังนี้ คุณลักษณะส่วนบุคคล ผลการวิเคราะห์ของกลุ่ม ตัวอย่าง สรุปได้ว่ากลุ่มที่มีมากที่สุด คือ เพศหญิง ร้อย ละ 61.8 อายุ 31-40 ปี ร้อยละ 44.8 ระดับการศึกษา ปริญญาตรี ร้อยละ 49.8 สถานภาพโสด ร้อยละ 66.0 ต�ำแหน่งพนักงาน ร้อยละ 83.0 มีรายได้มากกว่า 45,000 บาท ร้อยละ 51.2 ระยะเวลาในการท�ำงานตั้งแต่ 11 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 35.5 การปฏิบัติของบุคลากรในองค์กร ตามหลักการ อุปนิสยั สีเขียว (7 R’s) สรุปได้ดงั นี้ อยูใ่ นระดับมาก คือ การคิดก่อนใช้ (Rethink) ร้อยละ 54.0 การลดการใช้ (Reduce) ร้อยละ 57.0 การน�ำกลับมาใช้ใหม่ (Reuse) ร้อยละ 48.5 และการสร้างทดแทน (Return) ร้อยละ 45.5 อยูใ่ นระดับปานกลาง คือ การน�ำไปผ่านกระบวนการ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


6

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

เพื่อมาใช้ใหม่ (Recycle) ร้อยละ 45.0 การปฏิเสธ ทรั พ ยากรหรื อ วั ต ถุ ดิ บ ที่ ไ ม่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม (Refuse) ร้อยละ 43.0 และการซ่อมแซมแล้วน�ำกลับมา ใช้ใหม่ (Recondition) ร้อยละ 46.2 ปัจจัยที่ท�ำให้องค์กรเข้าสู่องค์กรที่เป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อม สรุปได้ดงั นี้ อยูใ่ นระดับมาก คือ กระแสของ โลกาภิวัตน์ ร้อยละ 63.0 นวัตกรรม ร้อยละ 58.5 เทคโนโลยีที่ทันสมัย ร้อยละ 57.0 ข้อตกลงทางการค้า ใหม่ ร้อยละ 49.2 วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ ร้อยละ 45.5 การผลิตตามมาตรฐานสากล ร้อยละ 50.0 ภาวะการ แข่งขันที่รุนแรง ร้อยละ 46.5 และการหาแหล่งผลิต สินค้าที่คุ้มค่ากับการลงทุน ร้อยละ 47.5 กระบวนการ ขององค์กรเพือ่ พัฒนาสูอ่ งค์กรทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม อย่างยัง่ ยืน ได้แก่ ด้านการปฏิบตั ขิ ององค์กรเกีย่ วกับการ ตลาด และด้านการปฏิบัติขององค์กรเกี่ยวกับธุรกิจ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สรุปได้ดังนี้ อยู่ในระดับมาก คือ การใช้ขอ้ ความสือ่ สารร้อยละ 57.2 การน�ำเทคโนโลยี มาใช้ ร้อยละ 53.2 การพูดถึงในเรื่องที่ดีเพื่อสร้างความ โดดเด่นออกมา ร้อยละ 48.5 การน�ำเสนอเรื่องราวและ ผลกระทบ ร้อยละ 46.5 การให้ความส�ำคัญกับบรรจุภณ ั ฑ์ ร้อยละ 41.5 การท�ำให้เห็นเชิงประจักษ์ ร้อยละ 42.8 การท�ำให้ตอ่ เนือ่ งและยัง่ ยืน ร้อยละ 43.2 การมีวสิ ยั ทัศน์ ที่ดี ร้อยละ 48.0 และการลดความเข้มของสีที่ใช้ อยู่ใน ระดับปานกลาง ร้อยละ 52.2 ด้านองค์กรเกี่ยวกับธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อยู ่ ใ นระดั บ มาก คื อ การก่ อ ให้ เ กิ ด ผลดี อ ย่ า งเป็ น ธรรมชาติ ร้อยละ 57.2 การสร้างความเจริญเติบโตทีเ่ ริม่ มาจากพื้นฐาน ร้อยละ 51.8 การเอื้อประโยชน์ต่อกัน ร้อยละ 52.2 การน�ำเทคโนโลยีที่เลียนแบบธรรมชาติ มาใช้ ร้อยละ 42.0 และการน�ำนวัตกรรมมาใช้ ร้อยละ 51.8 และอยู่ในระดับปานกลาง คือ การเกิดความเสี่ยงจาก การไม่เห็นด้วย ร้อยละ 49.2 ความแตกต่างทีม่ ใี นองค์กร ร้อยละ 55.0 การอนุรักษ์นิยม คิดเป็นร้อยละ 41.5 คุณลักษณะขององค์กร ร้อยละ 45.8 และการประสาน ความร่วมมือกัน ร้อยละ 48.8

จากการวิ เ คราะห์ ด ้ ว ยความถดถอยเชิ ง พหุ (Multiple Regression) สรุปได้ดังนี้ กระบวนการขององค์กรเพื่อพัฒนาสู่องค์กรที่เป็น มิตรต่อสิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืนด้านการปฏิบตั ขิ ององค์กร เกี่ยวกับด้านการตลาดและด้านการปฏิบัติขององค์กร เกี่ยวกับธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสามารถสร้างรูป แบบความสัมพันธ์ได้จากปัจจัยการปฏิบัติของบุคลากร ตามหลักการอุปนิสัยสีเขียว กล่าวคือ การปฏิบัติขององค์กรด้านการตลาดเพื่อน�ำไปสู่ กระบวนการพัฒนาธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม = 0.146 (rethink) + 0.351 (reduce) + 0.117 (reuse) + 0.109 (refuse) + 0.273 (return) โดยมีค่าความถูกต้องร้อยละ 97.1 ค่าความคลาด เคลื่อนมาตรฐานของการประมาณที่ 0.63 ซึ่งแสดงให้ เห็นว่าการปฏิบัติขององค์กรด้านการตลาดเพื่อน�ำไปสู่ กระบวนการพั ฒ นาธุ ร กิ จ ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ควรให้ความส�ำคัญกับ การลดการใช้งาน และการสร้าง ทดแทนมากที่สุด การปฏิบัติขององค์กรเกี่ยวกับธุรกิจที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมเพื่อน�ำไปสู่กระบวนการพัฒนาธุรกิจที่เป็น มิตรต่อสิง่ แวดล้อม = 0.236 (rethink) + 0.269 (reduce) + 0.118 (recycle) + 0.1 (refuse) + 0.232 (return) โดยมี ค ่ า ความถู ก ต้ อ งได้ ร ้ อ ยละ 97.2 มี ค ่ า ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการประมาณที่ 0.57 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการปฏิบัติขององค์กรเกี่ยวกับธุรกิจที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อน�ำไปสู่กระบวนการพัฒนา ธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ต้องให้ความส�ำคัญกับ การคิดก่อนใช้ การลดการใช้ และการสร้างทดแทนมาก ที่สุด กระบวนการขององค์กรเพื่อพัฒนาสู่องค์กรที่เป็น มิตรต่อสิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืนด้านการปฏิบตั ขิ ององค์กร เกี่ยวกับด้านการตลาดและด้านการปฏิบัติขององค์กร เกี่ยวกับธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสามารถสร้างรูป แบบความสัมพันธ์ได้จากปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลขององค์กรใน การพัฒนาสูอ่ งค์กรทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน กล่าวคือ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

การปฏิบัติขององค์กรด้านการตลาดเพื่อน�ำไปสู่ กระบวนการพัฒนาธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม = 0.304 (กระแสโลกาภิวัตน์) + 0.231 (เทคโนโลยีที่ทัน สมัย) + 0.159 (การผลิตตามมาตรฐานสากล) + 0.239 (การหาแหล่งผลิตสินค้าที่คุ้มค่ากับการลงทุน) โดยมีคา่ ความถูกต้องได้รอ้ ยละ 98.7 ค่าความคลาด เคลื่อนมาตรฐานของการประมาณที่ 0.599 ซึ่งแสดงให้ เห็นว่าการปฏิบัติขององค์กรด้านการตลาดเพื่อน�ำไปสู่ กระบวนการพัฒนาธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ควร ให้ความส�ำคัญกับ กระแสโลกาภิวัตน์ การหาแหล่งผลิต สินค้าทีค่ มุ้ ค่ากับการลงทุน และเทคโนโลยีทที่ นั สมัยมาก ที่สุด การปฏิบัติขององค์กรเกี่ยวกับธุรกิจที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมเพื่อน�ำไปสู่กระบวนการพัฒนาธุรกิจที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม = 0.281 (กระแสโลกาภิวัตน์) + 0.2 (เทคโนโลยีที่ทันสมัย) + 0.203 (วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์) + 0.206 (การหาแหล่งผลิตสินค้าที่คุ้มค่ากับการลงทุน) โดยมีค่าความถูกต้องได้ร้อยละ 98.7 ความคลาด เคลื่อนมาตรฐานของการประมาณที่ 0.549 ซึ่งแสดงให้ เห็นว่าการปฏิบัติขององค์กรด้านการตลาดเพื่อน�ำไปสู่ กระบวนการพัฒนาธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ควร ให้ความส�ำคัญกับ กระแสโลกาภิวัตน์ เทคโนโลยีที่ทัน สมัย วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ และการหาแหล่งผลิตสินค้าที่ คุ้มค่ากับการลงทุนเท่าๆ กัน การปฏิบัติของบุคลากรในองค์กร ตามหลักการ อุปนิสัยสีเขียว (7 R’s) ได้แก่ การคิดก่อนใช้ (Rethink) การลดการใช้ (Reduce) การน�ำกลับมาใช้ใหม่ (Reuse) การน�ำไปผ่านกระบวนการเพื่อมาใช้ใหม่ (Recycle) การปฏิ เ สธทรั พ ยากรหรื อ วั ต ถุ ดิ บ ที่ ไ ม่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิง่ แวดล้อม (Refuse) การซ่อมแซมแล้วน�ำกลับมาใช้ใหม่ (Recondition) การสร้างทดแทน (Return) โดยส่วน ใหญ่คุณลักษณะส่วนบุคคลด้านอายุ ยกเว้น Recycle Refuse ด้านสถานภาพ ยกเว้น Refuse ด้านต�ำแหน่ง ยกเว้น Reuse ไม่มีผลต่อการปฏิบัติภายในองค์กรด้วย การใช้หลักการอุปนิสัยสีเขียว โดยส่วนใหญ่คุณลักษณะ

7

ส่วนบุคคลด้านระยะเวลาในการท�ำงาน ยกเว้น Reuse Refuse Return ด้านรายได้ต่อเดือน ยกเว้น Refuse มี ผลต่ อ การปฏิ บั ติ ภ ายในองค์ ก รด้ ว ยการใช้ ห ลั ก การ อุปนิสัยสีเขียว ปัจจัยที่ท�ำให้องค์กรเข้าสู่องค์กรที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม ได้แก่ กระแสของโลกาภิวัตน์ นวัตกรรม เทคโนโลยีที่ทันสมัย ข้อตกลงทางการค้าใหม่ วงจรชีวิต ผลิตภัณฑ์ การผลิตตามมาตรฐานสากล ภาวะการแข่งขัน ที่รุนแรง การหาแหล่งผลิตสินค้าที่คุ้มค่ากับการลงทุน โดยส่วนใหญ่คุณลักษณะส่วนบุคคลด้านอายุ ด้านการ ศึกษา ด้านสถานภาพ ด้านต�ำแหน่ง ไม่มีผลต่อปัจจัยที่ ท�ำให้องค์กรเข้าสู่องค์กรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แต่ โดยส่วนใหญ่คุณลักษณะส่วนบุคคลระยะเวลาในการ ท�ำงาน ไม่มผี ลต่อปัจจัยทีท่ ำ� ให้องค์กรเข้าสูอ่ งค์กรทีเ่ ป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม ยกเว้น วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ การหา แหล่งผลิตสินค้าที่คุ้มค่ากับการลงทุน โดยส่วนใหญ่ คุณลักษณะส่วนบุคคลด้านรายได้ต่อเดือน ไม่มีผลต่อ กระบวนการขององค์กรเพื่อพัฒนาสู่องค์กรที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ยกเว้น วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ กระบวนการขององค์ ก รเพื่ อ พั ฒ นาสู ่ อ งค์ ก ร ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ประกอบด้วย 2 ประเด็น คือ ด้านการปฏิบัติขององค์กรเกี่ยวกับ การตลาด ได้แก่ การใช้ข้อความสื่อสาร การน�ำเทคโนโลยี มาใช้ การพูดถึงในเรื่องที่ดีเพื่อสร้างความโดดเด่นออก มา การน�ำเสนอเรื่องราวและผลกระทบ การให้ความ ส�ำคัญกับบรรจุภัณฑ์ การท�ำให้เห็นเชิงประจักษ์ การ ท�ำให้ตอ่ เนือ่ งและยัง่ ยืน การลดความเข้มของสีทใี่ ช้ การ มีวิสัยทัศน์ที่ดี และด้านการปฏิบัติขององค์กรเกี่ยวกับ ธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การก่อให้เกิด ผลดีอย่างเป็นธรรมชาติ การสร้างความเจริญเติบโต ที่เริ่มมาจากพื้นฐาน การเอื้อประโยชน์ต่อกัน การเกิด ความเสี่ยงจากการไม่เห็นด้วย ความแตกต่างที่มีใน องค์กร การน�ำเทคโนโลยีที่เลียนแบบธรรมชาติมาใช้ การน�ำนวัตกรรมมาใช้ การอนุรกั ษ์นยิ ม คุณลักษณะของ องค์กร การประสานความร่วมมือกัน โดยส่วนใหญ่

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


8

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

คุณลักษณะส่วนบุคคลด้านอายุ ด้านสถานภาพ ด้าน ต�ำแหน่งไม่มผี ลต่อกระบวนการขององค์กรเพือ่ พัฒนาสู่ องค์กรทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน แต่ ด้านการ ศึกษา ยกเว้น การให้ความส�ำคัญกับบรรจุภัณฑ์ การลด ความเข้มของสีทใี่ ช้ ด้านระยะเวลาในการท�ำงาน ยกเว้น การน�ำเทคโนโลยีมาใช้ การพูดถึงในเรื่องที่ดีเพื่อสร้าง ความโดดเด่นออกมา การให้ความส�ำคัญกับบรรจุภัณฑ์ การลดความเข้มของสีที่ใช้ ด้านรายได้ต่อเดือน ยกเว้น การพูดถึงในเรือ่ งทีด่ เี พือ่ สร้างความโดดเด่นออกมา ไม่มี ผลต่อกระบวนการขององค์กรเพือ่ พัฒนาสูอ่ งค์กรทีเ่ ป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ด้านองค์กรเกี่ยวกับธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยส่วนใหญ่คุณลักษณะส่วนบุคคลด้านอายุ ด้านการ ศึกษาไม่มีผลต่อกระบวนการขององค์กรเพื่อพัฒนาสู่ องค์กรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน แต่ด้าน สถานภาพ ยกเว้น การเกิดความเสีย่ งจากการไม่เห็นด้วย ด้านต�ำแหน่ง ยกเว้น การประสานความร่วมมือกัน ด้าน ระยะเวลาท�ำงาน ยกเว้น ก่อให้เกิดผลดีอย่างเป็น ธรรมชาติ การเอื้อประโยชน์ต่อกัน การเกิดความเสี่ยง จากการไม่ เ ห็ น ด้ ว ย การน� ำ เทคโนโลยี ที่ เ ลี ย นแบบ ธรรมชาติมาใช้ ด้านรายได้ตอ่ เดือน ยกเว้น การเกิดความ เสี่ยงจากการไม่เห็นด้วย ไม่มีผลต่อกระบวนการของ องค์กรเพือ่ พัฒนาสูอ่ งค์กรทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมอย่าง ยั่งยืน

สรุปและอภิปรายผล

จากการวิจัยในครั้งนี้สามารถกล่าวได้ว่าผลสัมฤทธิ์ ของการวิจยั จะเกิดอรรถประโยชน์ทแี่ ท้จริงได้เป็นอย่าง ยิ่งต่อประเทศไทย ในการน�ำฐานข้อมูลความรู้ที่ได้ซึ่ง เกี่ยวกับเรื่องปัจจัยส่วนบุคคลของพนักงานองค์กรที่ พัฒนาเพื่อเป็นองค์กรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่าง ยั่งยืน ปัจจัยที่มีอิทธิพลท�ำให้องค์กรพัฒนาสู่องค์กรที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน แนวทางการปฏิบัติ การขององค์ ก รเพื่ อ พั ฒ นาสู ่ อ งค์ ก รที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน และแนวทางการปฏิบัติการของ

พนักงานขององค์กรเพื่อพัฒนาสู่องค์กรที่เป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน การมีสว่ นร่วมในความรับผิดชอบ ต่อสังคมของธุรกิจ (Corporate Social Responsibility (CSR)) เป็นสิ่งที่ทุกองค์กรควรให้ความส�ำคัญ ซึ่งมีหลัก การและเหตุผลทีด่ ี หลายองค์กรได้ถกู บรรจุเป็นนโยบาย ที่ผนวกควบคู่เข้ากับการด�ำเนินธุรกิจให้มีความเจริญ เติบโตทางผลก�ำไร และค�ำนึงถึงการด�ำเนินการที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆ กัน ซึ่งสอดคล้องกับงาน วิจยั ของ Johanna (2007) เรือ่ งมิตขิ องจริยธรรมในการ ท�ำการตลาดอย่างยัง่ ยืน ในมุมมองของนโยบายผูบ้ ริโภค และเพลินทิพย์ โกเมศโสภา (2541) ทีไ่ ด้ศกึ ษาวิจยั เรือ่ ง การจัดการด้านการตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมของบริษัท สินค้าอุปโภคบริโภคชัน้ น�ำในประเทศไทย ซึง่ สามารถน�ำ ผลการวิจัยนี้ไปเป็นแนวทางให้องค์กรที่สนใจจะพัฒนา เป็นองค์กรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนในการ ประยุกต์พัฒนา ทั้งนโยบาย การประเมิน ตรวจสอบ ควบคุมการปฏิบตั กิ ารขององค์ทจี่ ะพัฒนาสูอ่ งค์กรทีเ่ ป็น มิตรต่อสิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน และการปฏิบตั กิ ารทีม่ รี ปู แบบทีช่ ดั เจนต่อการพัฒนาทีม่ รี ปู แบบเป็นทีต่ อ้ งการของ สังคม เกิดประโยชน์อย่างแท้จริงตามหลักการที่เหมาะ สม อีกทั้งสามารถประยุกต์ใช้ในการประชาสัมพันธ์เผย แพร่ขอ้ มูลข่าวสาร และสร้างแรงจูงใจในการส่งเสริมผลัก ดันองค์กรต่างๆ ให้ใช้เป็นแนวทางการพัฒนาสู่องค์กรที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนของประเทศไทย ซึ่ง สามารถสร้างความสนใจ ก่อเกิดเป็นแรงผลักดัน สร้าง การสนับสนุนส่งเสริม และร่วมมือจากประชาชนให้มี ส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ขององค์กรทีจ่ ดั ขึน้ ซึง่ ก็จะเกิด ผลดีต่อประเทศไทยได้อย่างอเนกอนันต์

ข้อเสนอแนะ

1. ควรมีการจัดท�ำการสัมมนากลุ่มกับผู้น�ำการ ด�ำเนินการกิจกรรมเพื่อสังคมขององค์กร ที่ก�ำลังด�ำเนิน การ เพือ่ จะได้มกี ารระดมความคิดและหาข้อสรุปในการ วางแผนพั ฒ นาธุ ร กิ จ เพื่ อ เข้ า สู ่ ธุ ร กิ จ ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ให้เหมาะสมกับองค์กรแต่ละ ประเภท ซึ่งจะได้ข้อมูลเชิงลึกที่ดียิ่งขึ้น

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

2. การวิจัย พบว่า พนักงานให้ความส�ำคัญกับการ สร้างอุปนิสัยสีเขียวในระดับมาก ซึ่งหน่วยงานภาครัฐ และเอกชนควรให้การส่งเสริมสนับสนุนในการปฏิบัติ การด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง สม�่ำเสมอ ทั้งในการให้ ความรู้และให้ตระหนักถึงความส�ำคัญ คุณค่า และคุณ ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นอย่างอเนกอนันต์ต่อไป และควร สื่อสาร เผยแพร่ ชื่นชม และยกย่องการปฏิบัติที่ดีเช่นนี้ ขององค์กรสู่สังคมภายนอกด้วย 3. ควรมีการให้ความรู้ สร้างความเชื่อมั่น และการ สร้างความสนใจในแนวทางการพัฒนาธุรกิจเพื่อเข้าสู่ ธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ให้ได้รับการ ยอมรับ และปฏิบัติตามอย่างกว้างขวาง และครอบคลุม ให้มากขึน้ เพือ่ สร้างดุลยภาพในความเจริญของประเทศ อย่างมีประสิทธิภาพ 4. จากการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ (Multiple

9

Regression) เรื่องอุปนิสัยสีเขียวจะเห็นได้ว่าบางประเด็น ไม่ค่อยมีผล เมื่อจัดท�ำเป็นรูปแบบแล้ว แต่ในบาง ประเด็นทีไ่ ม่มผี ลมากก็ควรปฏิบตั ิ ส่งเสริมต่อไปเพราะ ก็มีประโยชน์ต่อองค์กรด้วยเช่นกัน 5. ควรท�ำการศึกษากับประชาชนทั่วไปพร้อมกัน ไปด้ ว ย เพื่ อ ที่ จ ะได้ ค วามคิ ด เห็ น ในประเด็ น ต่ า งๆ ให้เกิดความสามารถในการรับรู้ และเกิดทัศนคติการ มีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อสังคมให้มีความสอดคล้อง ตรงกับความต้องการที่แท้จริงได้ชัดเจนมากขึ้น 6. ควรมี ก ารขอสนั บ สนุ น การวิ จั ย จากองค์ ก ร ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งด้ ว ย เพราะผลการวิ จั ย ที่ ไ ด้ ม า สามารถให้ อ งค์ ก รที่ มี ห ลายแห่ ง น� ำ ผลสรุ ป ไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ได้มาก จึงควรขอความช่วยเหลือและ ประสานความร่วมมือ เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลของการวิจัยที่ดีขึ้นต่อไป

บรรณานุกรม

บริษัท ล็อกซเลย์ จ�ำกัด (มหาชน). (2555). ปัจจัยที่ท�ำให้องค์กรเข้าสู่องค์กรสีเขียว. สืบค้นเมื่อ 5 กรกฎาคม 2556, จาก www.loxleyconstruction.com พิพัฒน์ ยอดพฤติการ. (2555). ความยั่งยืนที่ต้องรายงาน. สืบค้นเมื่อ 5 กรกฎาคม 2556, จาก http://pipatory. blogspot.com/2012/04/blog-post.html เพลินทิพย์ โกเมศโสภา. (2541). การจัดการด้านการตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมของบริษัทสินค้าอุปโภคบริโภคชั้นน�ำ ในประเทศไทย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วรณัฐ เพียรธรรม. (2554). 7 อุปนิสัยสีเขียว. กรุงเทพฯ: วนิดาการพิมพ์. สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย. (2556). CSR Club, CSR Thailand Conference 2013. สืบค้นเมื่อ 8 พ.ค. 2556, จาก www.manage.co.th ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2556). การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม. สืบค้นเมื่อ 5 กรกฎาคม 2556, จาก http://www.nesdb.go.th/ อดิศร อิศรางกูร ณ อยุธยา. (2555). เศรษฐกิจพอเพียงและเศรษฐกิจสีเขียว. คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ, สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์. A. Coskun Samli. (1992). Social Responsibility: A Historical Perspective Greenwood. Texas: Publishing Group Incorporated, USA. Dahlstrom, R. (2011). Green Marketing Management. Ohio: South – Western Cengage Learning, USA. ESCAP. (2012). Developments in the concept of Corporate Social Responsibility. Retrieved July 5, 2013, from http://www.greengrowth.org/sites/default/files/pictures/LCGGRM-SummaryThai.pdf ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


10

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Firat, D. (2009). Demographic and Psychographic Factors that Affect Environmentally Conscious Consumer Behavior: A Study at Kocaeli University in Turkey. The Journal of American Academy of Business, 14(2): 323-329. Kotler, P. & Lee, N. (2005). Corporate Social Responsibility. New Jersey: John Wiley & Sons, U.S.A. McKay, K., Bonnin, J. & Wallace, T. (2007). True Green. “National Geographic 2007-04-10 True Green at Work: 100 Ways You Can Make the Environment Your Business True Green”. New York: National Geographic Publisher, U.S.A.. Moisande, J. (2007). Motivational complexity of green consumerism. International Journal of Consumer. 31(4), 404-409. OECD. (2011). Principles of Coporate Governance and CSR. Retrieved July 5, 2013, from http://www. springerreference.com/docs/html/chapterdbid/349552.html Translated Thai References Kometsopa, P. (1998). Marketing Management for the Environmental Company in Thailand. Faculty of Commerce and Accountancy, Chulalongkorn University, Bangkok [in Thai] Itsarangkul na Ayudhya, A. (2011). Sufficiency and Green Economy. Economic Development Division, NIDA, Bangkok. [in Thai] Loxley Public Company Limited. (2012). The Factor Related to Sustainable Company. Green Logistics Energy Saving. Retrieved July 5, 2013, from www.loxleyconstruction.com [in Thai] Office of the National Economies and Social Development Board, (2013). Economy and Social Development. Retrieved July 5, 2013, http://www.nesdb.go.th/ [in Thai] Piantam, W. (2011). 7’s Green Habits. Bangkok: Wanida Printing. [in Thai] Thai Listed Companies Association. (2013). CSR Club CSR Thailand Conference 2013. Retrived May 8, 2013, from www.manage.co.th [in Thai] Yodprudtikan, P. (2012). Sustainability Report. Retrieved July 5, 2013, from http://pipatory.blogspot. com/2012/04/blog-post.html [in Thai] Dr.Luxanawadee Boonyasirinun received a Bachelor’ degree in Communication Arts (Public Relation & Advertising) at Rangsit University and a certificate of attendance at Hawthorn English Language Center, Australia. She received a graduate degree program in MBA (International Business) and DBA (Marketing) from Eastern Asia University in 2002 and 2009, respectively. She is currently a lecturer in MBA Program at Rajapruck University. Her research interests are sustainable business, Ecotourism, and Integrated Marketing Communications. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

11

ESSENTIAL ELEMENTS OF AN INTEGRATED MANAGEMENT MODEL FOR DAY SPAS IN THAILAND องค์ประกอบที่จ�ำเป็นของรูปแบบการบริหารแบบบูรณาการ ส�ำหรับเดย์สปาในประเทศไทย Pornphen Lalitnuntikul1 and Kassara Sukpatch2 Abstract

This study was conducted with the aim of identifying elements which are essential for the management of day spas in Thailand and in line with sustainable tourism, in order to create an integrated management model. A sample population of 400 customers of Thai day spas was surveyed regarding product management, quality management, human resource management, supply chain management, and sales and marketing. Data resulting from the survey was processed for descriptive statistics including frequencies, percentages, mean, and standard deviations. It was found that the respondents agreed that all studied elements were important, however, marketing (X¯ 4.07), quality management (X¯ 3.93), and supply chain management (X¯ 3.90) were considered most crucial. In the area of quality management, security for both customers and staff was found to be of particular concern, while customers considered environmental conservation to be the most important element of supply chain management. Keywords: Integrated management elements, Sustainable spa management

บทคัดย่อ

การศึกษาครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ระบุองค์ประกอบทีจ่ ำ� เป็นของการบริหารธุรกิจเดย์สปาในประเทศไทยตาม แนวทางของการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน ทั้งนี้เพื่อใช้ในการสร้างรูปแบบการบริหารแบบบูรณาการ โดยกลุ่มตัวอย่างของ การศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ใช้บริการเดย์สปาที่ด�ำเนินงานโดยชาวไทย จ�ำนวน 400 ราย โดยส�ำรวจความคิดเห็นที่ เกีย่ วเนือ่ งกับการบริหารผลิตภัณฑ์ การบริหารคุณภาพ การบริหารทรัพยากรบุคคล การบริหารห่วงโซ่อปุ ทาน รวมทัง้ การขายและการตลาด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากการศึกษาพบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามเห็นว่าองค์ประกอบในการศึกษาครัง้ นีม้ คี วามส�ำคัญทุกประการ อย่างไรก็ตาม การตลาด (ค่าเฉลี่ย 4.07), การบริหารคุณภาพ (ค่าเฉลี่ย 3.93) และการบริหารห่วงโซ่อุปทาน (ค่าเฉลี่ย 3.90) มีความ ส�ำคัญมากกว่าองค์ปะกอบอืน่ ๆ ในแง่มมุ ของการบริหารคุณภาพ ความปลอดภัยของทัง้ ลูกค้าและพนักงานเป็นประเด็น 1 Managing

Director, Iwara Spa Co.,Ltd., E-mail: pornphen@iwaraspa.com Graduate School of Tourism Management, National Institute of Development Administration, E-mail: kassara70@gmail.com

2 Lecturer,

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


12

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ส�ำคัญที่ต้องพิจารณาเป็นพิเศษ ในขณะที่ลูกค้าเห็นว่าการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็นองค์ประกอบส�ำคัญของการบริหาร ห่วงโซ่อุปทาน ค�ำส�ำคัญ: องค์ประกอบของการบริหารแบบบูรณาการ การบริหารธุรกิจสปาแบบยั่งยืน

Introduction

The spa industry is an important part of Thailand’s tourism sector, with total annual revenue of around USD 275 million, and Thailand has the highest numbers of spas center in Asia (Cohen & Bodeker, 2008). However, the industry has recently faced a number of challenges, including the world economic crisis that started in 2005, and devastated flooding in Thailand during 2012 (Fiscal Policy Research Foundation, 2013). These overwhelming challenges have positively forced businesses to adopt more sophisticated management strategies specifically channeled to areas such as quality improvement, customer relationships, supply chain management, marketing, and human resources (Cohen & Bodeker, 2008). Additionally, the ongoing trend and issue for spa businesses globally is sustainability. (Suchawadee Srisuwannakarn, 2013). Page & Dowling (2002) defined sustainability as an aspect that incorporates several significant issues, namely, environmental conservation, resource conservation, cultural assets maintenance, lifestyle protection, impact monitoring, and limitation of change. While spa business management may incorporate many aspects, past researches has focused attention on particular aspects to the exclusion and detriment of others. A critical

examination of the studies of Prateep Wetprasit (2006); Deenonpho (2007) and Sirirak Ponprawe (2008) clearly revealed that the main focus of their studies was directly related to aspects of spas, such as human resources and customer satisfaction. Phapruke Ussahawanitchakit and Purit Pongpearchan (2010) viewed activities that lead to sustainability as a way to develop spas’ personnel rather than a means to develop the overall spa businesses and the society. This study is therefore concerned with the overall context of day spa management in Thailand, in order to create an integrated management model.

Literature Review

Porter’s value chain management model (Chain Conveyor Design, 2011) formed the basis for this study, as it incorporates many aspects including product planning, quality control, technology, procurement, staff recruitment, and evaluation (see Figure 1). Value chain management is a chain of activities which an organization can channel to create a competitive advantage in order to deliver a valuable product or service for the customers. Findings from the research study of Vorawan Norasucha (2007) regarding value chain management model for performance excellence of hotel spas

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

in Bangkok shows that the value chain model for spa business which Spa Excellence Award (SEA) is given, could be the reliability test for value chain model of further research study. Vorawan Norasucha further indicated that the value chain model presented in the research study is useful for spa managers to design and manage their activities to create a high value added services. In this study, the researcher focuses on the integrated management model for the service industry (day spas) which is an understanding of the effective direction of every aspect in the organization, in order to equally satisfy needs and expectations of all stakeholders by the best use of all resources (Dalling, 2007). Consequently, the conceptual framework of this research is integrated from value chain management and integrated management model. Pertaining to planning, Krajewski, Ritzman & Maholtra (2007) recommended a break-even analysis, which allows a business to estimate the resources necessary to serve a certain number of customers in order to be profitable. Attention should also be paid to quality, which is an important element in the design of the service or product to be sold to customers (Chase, Jacobs & Aquilano, 2004). As a matter of duty and unquestionable responsibility, the quality of day spas should cover many aspects as described by Department of Health Service Support (2012). These aspects includes: temperature, noise, light, and materials of products such as bed sheets and spa products.

13

As for human resources management, getting the right personnel can be achieved when the organization has a recruitment and selection plan that enables them to set the desired skills, attitudes, characteristics, and personalities of required staff (Berry, 2003). The plan should incorporate candidate selection methods, such as knowledge tests, interviews, attitude tests, and trial periods, which enable the organization to have the right people for the right jobs (Bateman & Snell, 2007). The majority of spas in Thailand can be said to have simple structures because they have small numbers of staff. Staffs are not particularly multi-tiered (Colquitt, Lepine & Wesson, 2009). It might therefore be erroneously presumed that such spa businesses have little use for technologies. Stair & Reynolds (2010) stated that information technology is very useful for all businesses because it helps them manage data concerning customers’ previous purchases, preferences and complaints, and staff’s profiles and inventories. These data must be updated consistently so as to enable management to make sound decisions (Stair & Reynolds, 2010). Regarding sustainability, a business should be practically concerned about environmental conservation. This may take a variety of forms, such as the use of organic products, pollution reduction, energy savings to improve air and water quality, use of low or zero-carbon emission energy, and waste-sorting (Gummusson, 2008; Grondzik, Kwok, Stein & Reynolds, 2010; McMullan, 2012 and Starbuck, 2012).

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


14

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Methodology

Concerning the sample size, citing the Japanese maestro in statistics Yamane (1973); Leedy & Ormrod (2005) suggested that the appropriated sample size is 400 for the number of the populations of which is greater than 10,000. The primary research on the number of day spas registered under Ministry of Public Health found that; cluster 1 which is Bangkok has the highest number of day spa totaling 321; followed by cluster 7 which are Ranong, PhangNga, Phuket, Krabi and Trang with a total of 270; and cluster 15 which are Chiang Mai, Mae Hongson, Lampang, and Lanphoon with a total of 163 Ministry of Public Health (2011). As depicted by the Department of Tourism (2010), there are more than 10 Million tourists visiting the three studied clusters in 2010. Owing to this, the tourists who are customers of registered day spas under the Ministry of Public Health in the three clusters are used to represent the whole population of Thailand in this research study. Thus, the applicable methodology is quantitative research which the customers in general think about the management elements of day spas in the studied region. Realizing the aforementioned points, the researcher decides that the sample size for the quantitative research is 400 (spa customers) who were given a survey questionnaire. The questionnaire was developed from the literature review incorporated with the initial interviews with spa experts. The questionnaire consists of three main parts. The first part consists of questions that asked respondents’ demographic data, i.e., gender, age, monthly income, average spending, and ethnicity. The second part of the

questionnaire incorporated questions that asked respondents to indicate a level of agreement with the importance of the elements of day spa management. The rating scale used for this part was a 5-point scaled rating system where 5 represented the high agreement, 4=agreement, 3=neutrality, 2=disagreement, 1=high disagreement (Baxter & Babbie, 2004 and Marczyk, de Matteo & Festinger, 2005). Choice of sampling technique is important because researchers must obtain samples whose features are beneficial to the research being conducted (Leedy & Ormrod, 2005). The two techniques applicable to this project were convenient sampling and purposive sampling. (Boehnke, Lietz, Schreier & Wilhelm, 2011). For many experts such as Marczyk et al. (2005); Kvale (2007) and Pelham & Blanton (2007), the quality of a research tool consists of three elements, namely, objectivity, validity, and reliability. Objectivity is maintained by avoiding to lead the respondents with subjective wording such as ‘good’, ‘great’, ‘poor’, etc. (Kvale, 2007). One of the most practiced verifications of validity is the test-retest technique, in which the questionnaire is used in simulated research whereby a small group of participants with features similar to the research population are surveyed. This technique is called test-retest because it has to be performed at least twice (Leedy & Ormrod, 2005 and Marczyk et al. 2005). Additionally, Index of Item Objective Congruence (IOC) testing was carried out, which involves asking a group of 5 spa experts to rate the questions on the questionnaire. If they deemed a question appropriate, they gave that question a mark of 1. On the contrary, if they did not

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

think that the question was appropriate, they gave it a mark of 0. Then, the total mark for each question was calculated with the following formula: ∑R IOC = N

Where ∑R = the total mark from all the experts; and N = the number of the experts. The IOC for each question must not be inferior to 0.5. Questions which obtained an IOC mark lower than 0.5 were deemed invalid and eliminated (Thaweerat Phuangrat, 1997: 117). Of the 38 originally-designed questions, the majority attained 1 IOC point, while several received 0.6-0.8 points. A question regarding the pricing received less than 0.5 points and was therefore removed from the questionnaire. As for reliability, Cronbach’s alpha was used to indicate whether the questions in the survey are reliable or not. The outcome of the whole questionnaire is .910 therefore; this questionnaire can be used as the tool for this survey. Data resulting from the questionnaire was processed for descriptive statistics including frequencies, percentages, mean, and standard deviations; and inferential statistics including t-values, f-values, and Pearson’s correlation Management elements

coefficients. The average value of mean is scaled as follow: 1.00-1.80 = disagree 1.81-2.61 = slightly agree 2.62-3.41 = moderately agree 3.42-4.21 = highly agree 4.22-5.00 = extremely agree The correlations among variables are tested with Pearson’s correlation analysis. The obtained coefficient can be positive, negative, and Zero. A positive coefficient shows that if the two tested variables rise, the other will rise accordingly. On the contrary, a negative coefficient indicates invert correlation; if one goes down, the other goes up. Meanwhile, ‘0’ means that there is no correlation between the two tested variables (Naronk Phopruksanantha, 2008).

Result

This section discusses results of individual survey items. The item categories were product management, quality management, human resource management, supply chain management, and sales and marketing.

Product Management - The spa should be able to provide products and services that suit guests’ requests all the time. - The spa should be able to analyze its break-even so that Spa can determine the appropriate prices of its products and service. Quality Management

15

Mean 3.74 3.82

S.D. 1.02 1.02

3.79

.99

3.86

.95

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


16

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Management elements - The spa should care about its customers’ security. - The service areas of spa and staff’s outfits have to be clean. Human Resource Management - The spa should care about its staff’s security.

Mean 3.93 3.84 3.89 4.08

S.D. .90 1.02 .88 .83

Supply Chain Management - The spa should care about waste and pollution reduction.

3.90 4.17

.88 .78

Sales & Marketing - The spa should have the process that reduces customers’ waiting time.

4.07 4.14

.79 .73

Product Management The average mean for the category of product management was 3.74, which means that the respondents agreed that the product management aspect of the day spa management is important. Considered separately, the ‘The spa should be able to provide products and services that suit guests’ requests all the time’ item received the highest mean of 3.82, followed by the ‘The spa should be able to analyze its break-even so that spa can determine the appropriate prices of its products and service’, ‘The spa should be able to anticipate the number of customers on monthly basis, so that spa can prepare its facilities accordingly’, and ‘The spa should be able to design the products and service that fit the new trend of demand’ items, with mean of 3.79, 3.72, and 3.62, respectively. The mean of all the items in this aspect falls in the high level of agreement. Concerning the standard deviations; which are a statistic measure of dispersion of a set of data from its mean, the more spread apart the data, the higher the deviation (Niles, 1995). It

was discovered that day spas should be able to analyze its break-even so that spa can determine the appropriate prices of its products and service’ and ‘The spa should be able to anticipate the number of customers on monthly basis, so that spa can prepare its facilities accordingly’ items were 0.99 and 0.98, respectively. This means that the respondents’ opinions toward these two items do not significantly vary. Meanwhile, the standard deviations of: ‘The spa should be able to design the products and services that fit the new trend of demand’ and ‘The spa should be able to provide products and services that suit guests’ requests all the time’ items were 1.08 and 1.02, respectively. This is an indication that the respondents’ opinions toward these two items varied significantly. For the item ‘The spa should be able to design the products and services that fit the new trend of demand’, 138 (34.5%) respondents were neutral. 118 (29.5%) agreed with the statement and 98 (24.5%) respondents highly agreed. 26 (6.5%) respondents disagreed and 20 (5%)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

respondents highly disagreed. It is apparent that the numbers of respondents who are neutral, agreeable, and highly agreeable with the statement are not much different from each other. Therefore, the opinions (degrees of agreement) of the respondents have significant variation. For the item, ‘The spa should be able to provide products and services that suit guests’ requests all the time’, 108 (27%) respondents highly agreed, 168 (42%) agreed, and 84 (21%) were neutral. 24 (6%) disagreed, while the remaining 16 (4%) highly disagreed. This shows significant variation among the respondents’ degrees of agreement. Quality Management For the category of quality management, the average mean was 3.86, which is an indication of a positive agreement by the respondents that the quality management aspect of the day spa management is important. Considered separately, the ‘The spa should care about its customers’ security’ item received the highest mean of 3.93, followed by the ‘The spa and its staff must response to customers’ requests and complaints in order to satisfy customers’, ‘The spa should ensure that all of its staff will adhere to its standards, values, and codes of conducts such as to keep clean, to be polite, and to follow service standard’, ‘The spa masseurs must have certificates from the governmental agencies such as the Ministry of Education and/or the Ministry of Public Health’, ‘The spa must provide information about its services in a polite and humble manner so that customers will understand and trust in the services’, ‘The service areas of spa and staff’s

17

outfits have to be clean’, ‘The spa has to adhere to the standard for spas set by the Ministry of Public Health’, and ‘The spa must use only trustworthy spa products such as the products that comply with the FDA items, the mean of which were 3.91, 3.91, 3.90, 3.86, 3.84, 3.80, and 3.74, respectively. The mean of all the items in this aspect falls in the high level of agreement. Concerning the standard deviations, it was found that there was significant variation among the responses to the item ‘The service areas of spa and staff’s outfits have to be clean’, which had a standard deviation of 1.02, while those of other items were lower than 1. Of the 400 respondents, 126 (31.5%) highly agreed with the statement, 124 (31%) respondents agreed, and 122 (30.5%) respondents were neutral. 16 (4%) respondents disagreed and 12 (3%) respondents highly disagreed. It is apparent that the numbers of respondents who are neutral, agreeable, and highly agreeable with the statement are not much different from each other. Therefore, the opinions (degrees of agreement) of the respondents significantly vary. Human Resource Management The average means for the category of human resource management was 3.89, which means that the respondents agreed that the human resource management aspect of the day spa management is important. Considered separately, the ‘The spa should care about its staff’s security’ item receives the highest mean of 4.08, followed by the ‘The spa should treat all of the staffs in a fair manner’, ‘The spa staffs should be allowed to share their ideas and experiences in order to improve the overall

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


18

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

performance of the spa’, ‘The spa should train its staffs to boost staff’s skills and knowledge on a regular basis’, ‘The spa should have career path development policy’, ‘The spa must have proper recruitment and selection process to ensure that the chosen staff members qualify for their tasks’, and ‘The spa has to retain its staffs by giving them some extra money or any other extra benefits when they can generate the revenue that the spa sets as the goal for them’ items, the mean of which were 3.96, 3.88, 3.86, 3.83, 3.80, and 3.80, respectively. The mean of all the items in this aspect falls in the high level of agreement. Concerning the standard deviations, it was discovered that the standard deviation of all the items in this category were lower than 1. This means that there was no significant variation in respondents’ opinions toward any of the survey items. Supply Chain Management The average mean for the supply chain management category was 3.90, which shows that the respondents agreed that the supply chain management aspect of day spa management is important. Considered separately, the ‘The spa should care about waste and pollution reduction’ item received the highest mean of 4.17, followed by the ‘The spa should care about natural resources conservation such as water reservation’, ‘The spa should be able to control the quality of all supplies’, ‘The spa should have sufficient supplies so that it will always be ready to serve customers’, ‘The spa should care about energy

saving’, ‘The spa should care about environmental conservation’, ‘The spa should use the bed sheet and blankets that make customers warm and can well absorb sweat’, ‘The spa should use new technologies such as computer programs or innovative equipment to boost its capabilities’, ‘The Spa should have facilities such as an effective booking and queuing system in order to facilitate its customers’, ‘The spa should form business alliances with other spas and other businesses such as hotels in order to persuade tourists to buy its services (such as by setting a package with a tour company or a hotel)’, ‘The ambiance of the spa should not be hotter than 27°C; with the noise that is not louder than 30 dB and the light magnitude that is not higher than 1,000 lux’, and ‘The spa must be located near the main road or have sufficient parking space’ items, the mean of which were 4.01, 3.98, 3.96, 3.96, 3.92, 3.88, 3.84, 3.82, 3.82, 3.75, and 3.73, respectively. The mean of all the items in this aspect falls in the high level of agreement. Concerning the standard deviations, it was discovered that the standard deviation of all the items in this category were lower than 1. This means that there was no significant variation in respondents’ opinions toward any of the survey items. Sales and Marketing The average mean for the category of sales and marketing was 4.07, which means the respondents agreed that the sales & marketing aspect of the day spa management is important. Considered separately, the ‘The spa should have the process that reduces customers’

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

waiting time’ item receives the highest mean of 4.14, followed by the ‘The spa should have reception service such as welcome drink or waiting area for customers’, ‘The spa should have its Facebook account or an account in any other social network channel’, ‘Spa ambiance and decoration should reflect the influences from Thai and Asian cultures’, ‘The spa should make its services different from the services from other spas’, and ‘The spa should have its official web page’ items, the mean of which are 4.08, 4.06, 4.06, 4.05, and 4.02, respectively. The mean of all the items in this aspect falls in the high level of agreement. Concerning the standard deviations, it was discovered that the standard deviation of all

19

the items in this category were lower than 1. This means that there was no significant variation in respondents’ opinions toward any of the survey items. Correlations among Aspects of Day Spa Management Model Pearson’s correlation coefficients attained from the analysis reflect that all the studied aspects are correlated to each other in the positive way and with a statistical significance of 0.01 or 0.05. This means all the studied variables are important in the same level. In addition, this means that the spa’s good performance in one aspect ensures good performance in others.

Figure 1 Porter’s Value Chain Management Model (Chain Conveyor Design, 2011)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


20

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Conclusion, Discussion and Suggestions for Future Study

Conclusion All day spa customers surveyed agreed on the importance of all aspects studied, i.e., product management, quality management, human resource management, supply chain management, and sales and marketing. All of these elements are correlated to each other; therefore, none should be overlooked by day spa management. Poor connection among any of the studied elements will obviously lead to unproductive business practice and poor performance of day spas. For example, if a day spa has a poor quality management scheme that does not emphasize retaining and boosting personnel skills, the quality of its personnel will drop, and so will the quality of its services. Finally, its customers will become less satisfied with its services. Likewise, if a day spa does not concentrate on sustainability management, such as spending too much energy, it will bear high expense on power. In the first case, the income of the day spa will decrease. In the second case, the day spa’s high expenses on power will in turn force it to charge higher prices for its services. Low income or unreasonable high price tag on spa services will diffidently hinder a day spa from effectively and successfully competing with better-performing rivals. Discussion Each element proposed in the integrated management model also lead to the awareness

of individual aspect such as sales & marketing in day spa business, quality management in day spa business, supply chain in day spa business, human resource management in day spa business and product management in day spa business. Spa operators can also benefit from the individual element of this integrated management model by focusing on the areas or elements that spa operators need to improve as priority. Furthermore, spa operators can consider as a strategy to develop more specific packages to approach the business alliances in the right segmentation. Meanwhile, the integrated management model lead to the value added to customers, reduce unnecessary expenses, create high service quality in a consistency manner, and definitely bring to the higher profit margin in a sustainability fashion.

Suggestions for further study

While all elements should be considered important, the most important aspects for customers are sales & marketing, followed by quality management, supply chain management, human resource management, and product management respectively. Each of these presents many opportunities as an area of study for future research. In the category of quality management, safety and security were considered the highest priority for customers. This means that spa management should implement comprehensive and effective systems to provide security for customers and staffs, as well as any valuables belonging to customers, staffs, or the business itself. Future

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

researches in this category might look at the relative effectiveness of various security measures, as well as customers’ and staff members’ perceptions of their effectiveness. Marketing is important as this category includes any interaction between business and customers in terms of contacts, booking, and information sharing. The specific benefits of these interactions merits future studies. Spa businesses should ensure that they have an online presence. Supply chain management in this context chiefly

21

relates to environmental sustainability, with spa customers placing very high value on this category. Spas must work hard shows an inflexible desire to ensure compliance with all environmental regulations, and maintain a ‘green’ supply chain, the specific logistics of which is another area worthy of further research in a spa context. Ultimately, spas must always be concerned about their customers in order to understand what they have to improve.

References

Bateman, T. S. & Snell, S. A. (2007). Management: Leading & Collaborating in a Competitive World. 7thed. New York: McGraw- Hill. Baxter, L. A. & Babbie, E. (2004). The Basics of Communication Research. California: Thomson. Berry, L. M. (2003). Employee Selection. California: Wadsworth. Boehnke, K., Lietz, P., Schreier, M., Wilhem, A. A., Matsumoto, D., Van D. V. & Fons, J. R. (2011). Sampling: The Selection of Cases for Culturally Comparative Psychological Research. CrossCultural Research Methods in Psychology, 75-100. Chain Conveyor Design. (2011). Porter’s Value Chain. Retrieved April 6, 2013, from http://www. chainconveyordesign.net/wp-content/uploads/2011/11/Porters-Value-Chain.jpg Chase, R. B., Jacobs, F. R. & Aquilano, N. J. (2004). Operations Management for Competitive Advantage. Boston: McGraw- Hill. Cohen, M. & Bodeker, G. (2008). Understanding the Global Spa Industry. Massachusetts: Elsevier. Colquitt, J. A., Lepine, J. A. & Wesson, M. J. (2009). Organizational Behavior. Boston: McGraw- Hill. Dalling. (2007). The intergrated management model. Oxford University. Deenonpho, S. (2007). Purchase Decision for ‘A’ Thai Massage Shop in Mueng District, Chiang Mai Province. Retrieved January 30, 2013, from http://library.cmu.ac.th/faculty/econ/ Exer751409/2550/Exer2550_84 Department of Health Service Support, Thailand. (2012). Criteria for the Certification of Health Spas. Retrieved January 5, 2013, from http://www.thaispaassociation.com/wp-content/ uploads/2012/02/World-Class-by-MOPH.pdf Department of Tourism. (2010). International Tourist Arrivals to Thailand. Retrieved June 15, 2014, from http://tourism.go.th/2010/th/statistic/tourism.php?cid=30 ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


22

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Fiscal Policy Research Institute Foundation. (2013). Looking at the Future Thailand’s and World’s Economy. Bangkok: Ministry of Treasury, Thailand. Grondzik, W. T., Kwok, A. G., Stein, B. & Reynolds, J. S. (2010). Mechanical and Electrical Equipment for Buildings (11thed.). New Jersey: John Wiley & Sons. Gummusson, E. (2008). Total Relationship Marketing. 3rd ed. Oxford: Butterworth- Heinemann. Krajewski, J., Ritzman, B. & Malhotra, M. (2007). Operations Management. 8thed. New Jersey: Pearson. Kvale, S. P., Rhodes, J. E. & Yardley, L. (2007). The Psychoanalytical Interview as Inspiration for Qualitative Research. Qualitative Research in Psychology, 275- 298. Leedy, P. D. & Ormrod, J. E. (2005). Practical Research: Planning and Design. 8thed. New Jersey: Pearson. Marczyk, G., De Matteo, D. & Festinger, D. (2005). Essentials of Research Design and Methodology. New Jersey: John Wiley & Sons. McMullan, R. (2012). Environmental Science in Building. (7thed.). New York: Palgrave. Ministry of Public Health, Thailand. (2011). Summary of Health Service Businesses Sorted by Province as of 2011. Bangkok: Ministry of Public Health. Niles, Robert. (1995). Standard Deviation. Retrieved January 5, 2015, from http://www.robertniles. com/stats/stdev.shtml Norasucha, V. (2007). Value chain management model for performance excellence of hotel spas in Bangkok. (Master’s thesis). Shinawatra University, Faculty of the Graduate School of Science in Management. Page, S. J. & Dowling, R. K. (2002). Ecotourism. Harlow: Prentice-Hall. Pelham, B. W. & Blanton, H. (2007). Conducting Research in Psychology. (3rd ed.). California: Thomson. Phopruksanantha, N. (2008). Research Methodology. (5 th ed.). Bangkok: EXPERNET. Ponpraw, S. (2008). Customer Satisfaction of Chattaya Clinic Thai Massage & Spa at Hua-Hin. Retrieved January 31, 2013, from http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Bus_Ed/Ponprawe_S.pdf Stair, R. & Reynolds, G. (2010). Information Systems. (9th ed.). Canada: Cengage. Starbuck, M. & Horne, L. (2012). Textile Product Development and Definition. New Product Development in Textiles, 30- 50. Srisuwannakarn, S. (2013). Strategic Plan and Tactics to Promote Tourism. Bangkok: Department of Tourism. Thaweerat, P. (1997). Behavioural and Social Research Methodology. (7th ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Press. Ussahawanitchakit, P. & Pongpearchan, P. (2010). Human Capital Orientation: Effects on Organizational Effectiveness and Firm Success of Spa Businesses in Thailand. Journal of International Business and Economics, (10), 85- 98. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

23

Wetprasit, P. (2006). Impacts of Work-Related Determinants on Job Satisfaction and Retention Intentions in Thai Spa Industry. Oklahoma: The Graduate College of the Oklahoma State University. Yamane, T. (1973). Statistic: An Introductory Analysis. (3rd ed.). Newyork: Harper and Row Publication.

Pornphen Lalitnuntikul received her Bachelor Degree of Liberal Arts, major in French from Thammasat University in 1989. Then she graduated Master degree in Public and Private management program from National Institute of Development Administration (NIDA) in 2009. Currently, as a Ph.D. candidate in Integrated tourism management of National Institute of Development Administration (NIDA) in 2013. She also works as Managing Director of Spa & Service management company which has various projects in Thailand and Asia.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


24

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

THE PREDICTABILITY OF PAST FIRMS’ PERFORMANCE ON FUTURE CASH FLOWS ความสามารถของข้อมูลผลการด�ำเนินงานในอดีตในการพยากรณ์กระแสเงินสดในอนาคต Kusuma Dampitakse1 and Panarat Panmanee2 Abstract

This research investigated the predictability of past financial performance on future cash flows and the effects of financial and non-financial factors on the predictability. The secondary data was collected from financial reports and SET data of Thai listed companies in Agro & food industry and Technology industry during the period 2005 to 2010. The statistical analysis was conducted with regression statistic method. The findings revealed that the predictability of past financial performance were different between industries. The findings showed that earnings had higher predictability in Agro & food industry than operating cash flows, free cash flows and comprehensive income. On the other hand, it found that operating cash flows was higher predictability than the others in Technology industry. Considering the effects of financial and non-financial factors, the results revealed that firm size and market risk were significant effects on the predictability of past financial performance. Keywords: future cash flows, earnings, comprehensive income, operating cash flows, free cash flows

บทคัดย่อ

งานวิจยั นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาความสามารถในการพยากรณ์ของข้อมูลทางการเงินในอดีตในการพยากรณ์ กระแสเงินสดในอนาคต และผลกระทบของปัจจัยทีเ่ ป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงินต่อความสามารถในการพยากรณ์ โดย ท�ำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากรายงานทางการเงิน และข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยของบริษัทจด ทะเบียนกลุ่มอุตสาหกรรมเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร และกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยี ระหว่างปี พ.ศ. 2548 ถึง 2553 สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ การวิเคราะห์ความถดถอย ผลการศึกษาพบว่าความสามารถในการพยากรณ์ของข้อมูลทางการเงินในอดีตมีความแตกต่างกันในสอง อุตสาหกรรม โดยในอุตสาหกรรมเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร ก�ำไรมีความสามารถในการพยากรณ์กระแสเงินสด ในอนาคตมากกว่ากระแสเงินสดจากการด�ำเนินงาน กระแสเงินสดอิสระ และก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ส่วนในกลุ่ม อุตสาหกรรมเทคโนโลยี กระแสเงินสดจากการด�ำเนินงานมีความสามารถพยากรณ์สงู กว่าข้อมูลทางการเงินอืน่ ในขณะ ที่ผลการศึกษาผลกระทบของปัจจัยที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน พบว่า ขนาดขององค์กร และความเสี่ยงทางตลาด 1 Ph.D. student and Assistant Professor of Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Email: usuma100@hotmail.com 2

Ph.D. and Associate Professor of Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Email: panarat.tu@gmail.com

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

25

เป็นปัจจัยส่งผลต่อความสามารถในการพยากรณ์อย่างมีสาระส�ำคัญ ค�ำส�ำคัญ: กระแสเงินสดในอนาคต ก�ำไร ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ กระแสเงินสดจากการด�ำเนินงาน กระแสเงินสดอิสระ

Introduction

Many of investors, creditors and also management team need to forecast the ability to generate future organization performances. An important source for investors is financial analysis. They used financial information, operating cash flows, earnings including accrual components of the past financial performances to predict the future cash flows and earnings (Dechow, 1994). For more two decade, some research results concluded that earnings had better predictive ability for future cash flows than cash flows (Greenberg et al., 1986; Dechow, 1994; Dechow et al., 1998; and Kim & Kross, 2005). On the other hand, many research results claimed that cash flows was better predictor than earnings for future cash flows prediction (Finger, 1994 and Barth et al., 2001) Many previous researches had investigated the predictability of both earnings and cash flows. They could not conclude which one was better than the others. In addition, some research studies had shown that some financial and non-financial factors have effected with the firms’ performance. Such as, Epstein & Manzoni (2004) described that firm size may had affected management system and internal control and had related to performance of organization. There were studied in United States of America, United Kingdom, New Zealand, etc., and the results were inconsistent and proper for all countries and time period. The prior findings on prediction model of the future firms’ performance did not consensus which earnings

or cash flows could be the better predictor. And some research’s study mentioned to other financial and non-financial affected and related to performance of the organization. Because of rational above, this research aimed to study which factors had better ability to predict future cash flows. The future firms’ performance prediction should be helpful in economic decision making, for internal purpose manager should forecast and prepare strategy for organizational sustainability as well as investors should appraise risks of their investment. The research’s questions were two: which factors have ability to predict future cash flows?; and Are the financial and non-financial factors had affected on future cash flows prediction?

Literature reviews

Past financial performance In this study, the past financial performances defined to two kinds of financial performances; earnings and cash flows. Earnings IASB (2008) announced IAS1 presentation financial reporting mentioned on profit as a tool for measuring performance or essential for other measurer for example, return on investment (ROI), earnings per share. Profit or Earning was calculated from revenue and expense. Since 2008, instead of IAS1 revised version 2007, an organization should present other comprehensive income which consisted of gains

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


26

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

and losses from revaluation values, employee benefits, financial instrument remeasuring, foreign currency translation, and hedging. Meanwhile the future values were more dependent on expected future performance (Epstein & Manzoni, 2004). Some research found that earning had better predictive ability for future cash flows than cash flows (Greenberg et al., 1986; Dechow, 1994; Dechow et al., 1998 and Kim & Kross, 2005). Kanagaretnam, Mathieu & Shehata (2009) studied predictability comparing between earnings and comprehensive income, the results showed that comprehensive income was a better predictor for future cash flows. On other hand, Dhaliwal, Subramyam & Trezevant (1999) stated that there had no evidence to conclude neither net income nor comprehensive income had predictability than the either one. Cash Flows The another financial performance, cash flows was stated in IAS7 (IASB, 2010) that cash flows was a tool for assessing and comparing of operating performance of entities, because of elimination effect of different accounting policy, and cash flows also used to assess profitability and future cash flows. Operating Cash flows (CFO) was mostly used for performance predicting. Many studies found that CFO had more predictive ability for future cash flows than earnings (Finger, 1994 and Barth et al., 2001). However, Finger (1994) found that CFO was better for future cash flows prediction in short term while mixed cash flows and earnings were better in long term prediction. Free Cash flows (FCF) has been considered for firms’ performance evaluation and future valued of organization prediction. The work of McLaughlin, Safieddinge & Vasudevan, (1996)

found that free cash flows was associated with profitability, but Nunez (2013) claimed that predictability was not different among FCF, CFO and earnings. Financial and Non-financial factors The others factors affected to the firm performances were stated in many previous research. Both financial and non-financial factors reflected to the performance of organization. Financial measurements have been used to evaluate business performance. In 1980 decade, non-financial factors were highlighted to fulfill business management due to insufficient financial measurement (Johnson & Kaplan, 1987). Therefore, various researcher constructed measurement tools such as; the balance scorecard (Kaplan & Norton, 1992), the performance prism (Kennerley & Neely, 2000), to balancing financial and non-financial measured in complex business firms. Hence, this research tended to study the factors both financial and non-financial which associated with prediction future firms’ performance. Factors in this study focusing were as follow; financial consisted of firm size and firm growth, while non-financial composed of market risk and audit quality. Firm Size Contingency Theory stated that firm size may affect the management system and organization control (Epstein & Manzoni, 2004). Therefore firms’ performance should be different decreasing or increasing depended on size of entities, because larger organizations should have better controlling system. Firm size

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

could measure by market value of equity (Barth, Beaver & Hand, 1999 and Charitou, Clubb & Andreou, 2001). Firm Growth Prior studies found that firm growth proxy related to future firms’ performance. Barth et al. (1999) and Charitou et al. (2001) found that firm growth rate of firms should have influenced to performance, huge or little growth rate should have made different impacts. Cooper et al. (2008) found that total asset growth rate has implication for future performance. Market Risk Neely (2007) stated that investment should be riskiness, investors should concentrate on risks of investment which represent by ‘beta’. Security commission displays risk of each company in public to inform investors before making decision. Blitz, Huij & Matens (2011) found that lower beta had correlated with future losses. Schwerdt & Wendland (2010) mentioned that a higher risk (mean a higher beta) could be return the higher rewards. Beaver, Kettler & Scholes (1970) stated that market risk had relationship with financial measurers; firms with high market risk were more likely to have high future performance in short term. Audit Quality Agency Theory has been one of problem between principals and managers, due to conflict goals of owners and agents and it’s difficult to verify the agent’s doing (Jensen & Meckling, 1976); Eisenhardt (1989) and Guan, He & Yang (2006) stated that financial statement should be decorated by management in discretionary expenses. Some evidences stated that there were quality differences among audit firms (DeAngelo, 1981; Francis et al., 1999 and

27

Doyle et al., 2007). Chung et al., (2003) measured audit quality in two dimensions; first was Big6 auditors and the other was length of auditor tenure. Auditor change was affected to earning quality, because the same auditors should had more experiences than the new one. On the other hand, the new auditor team would spent more time to study about characteristics of firms so it associated to lower audit quality (Doyle et al., 2007 and Francis et al., 1999).

Research design

Population This research selected group of industries from the Stock Exchange of Thailand (SET). The SET classified listed companies into 8 industries. This research focused only on Agro & food industry (AGRO) and Technology industry (TECH). AGRO consisted of 41 companies such as 15 companies in agribusiness sector plus 26 companies in food & beverage sector. TECH comprised of 38 companies; divided to 11 companies in electronic components and 27 firms in information & communication technology sector. TECH was an innovation and high development in technical and equipment, whilst AGRO was not rapidly change in manufacturing process. The different backgrounds between two industries were interested to study about the factors that relative to their performances. Which are the better predictability factors to each industry? Data Collection The secondary data was collected from SET during 2005 to 2010 in yearly basis. The accounting data, earnings, comprehensive

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


28

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

income, operating cash flows, free cash flows firm growth and auditor quality were collected from financial reports displayed on SET website. The market risk and market value of equity were collected from SETSMART (SET Market Analysis and Reporting Tool), which prepared by Stock Exchange of Thailand. Data Processing and Analysis Data Processing started with screening the completion of data, due to some data missing and some firm listed in SET after 2005. This research studies the predictability of accounting information for one, two and three-year-ahead. There were 190 firm-years for AGRO and 156

firm-years for TECH. Proper statistics were considered to apply in this research, such as, descriptive and inference statistics, as follows: simple regression statistic was used to analyze the predictability of each financial information factor. Whilst, the multiple regression analysis was used to analyze the predictive ability of past financial information with relevant financial and non-financial factors for future cash flows prediction. According to the literature review, the model for testing the predictability of past financial information are as follow:

CFOi,t+n = β0+β1EARNi,t+εi,t CFOi,t+n = β0+β1CIi,t+εi,t CFOi,t+n = β0+β1CFOi,t-+εi,t CFOi,t+n = β0+β1FCFi,t+εi,t CFOi,t+n = β0+β1EARNi,t+β2 SIZEi,t+β3GROWTHi,t+β4Big4i,t+β5AuditCi,t+ β6RISKi,t+εi,t CFOi,t+n = β0+β1CIi,t+β2SIZEi,t+β3GROWTHi,t+β4Big4i,t+β5AuditCi,t+β6RISKi,t+ εi,t CFOi,t+n = β0+β1CFOi,t+β2SIZEi,t+β3GROWTHi,t+β4Big4i,t+β5AuditCi,t+ β6RISKi,t+εi,t CFOi,t+n = β0+β1FCFi,t+β2 SIZEi,t+β3GROWTHi,t+β4Big4i,t+β5AuditCi,t+ β6RISKi,t+εi,t

Model 1 Model 2 Model 3 Model 4 Model 5 Model 6 Model 7 Model 8

where: CFOi,t+n = Operating cash flows of company i in the one, two or three-year-ahead of year t (predicted year), EARNi,t = Earnings before interest and tax of company i in the year t, SIZEi,t = Market value of equity of company i at the ending of the fiscal year t; GROWTHi,t = Changed in total assets of company i computed from total assets at the ending of fiscal year t minus total assets at the ending of fiscal year t-1 divide by total assets at the ending of fiscal year t; ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

29

Big4i,t = dummy variable of audit firm of company i in year t, code 1 if audit by Big 4, 0 otherwise; AuditCi,t = changed audit firm of company i compare between year t and year t-1, code 1 if change audit firm, 0 otherwise; RISKi,t = Market risk, collected from beta value of company i at the ending fiscal of year t; CIi,t = Comprehensive Income of company i in year t; CFOi,t = Operating cash flows of company i in year t; FCFi,t = Free cash flows of company i in year t. Due to the multiple regression technique had been used in many previous prediction researches (Greenberg et al., 1986; Dechow, 1994; Dechow et al., 1998; Barth et al., 2001; Kim & Kross, 2005; Kanagaretnam et al., 2009 and Nunez, 2013). The conditions of regression analysis were tested; including interval or ratio variables, normal distribution of variables and error, Heteroscedastic problem, auto-correlation problem and multicollinearity problem (Vanichbuncha, 2010).

Empirical results

Descriptive Statistics The descriptive statistics were summarized in term of mean, standard deviation, minimum and maximum of each variable to make it easier to understand. EARN was earning before interest and tax. CFO was operating cash flows, CI was comprehensive income, FCF was free cash flows. SIZE was natural logarithm of market value, GROWTH was ratio of increasing or decreasing of total assets. Big4 was high quality audit firm. AuditC was the change of audit firm, and RISK was market beta value. The earnings of organization, EARN of AGRO ranged from -273 million baht to 18,070 million

baht. On the other hand, EARN of TECH ranged from -10,906 to 15,565 million baht. The other type of earnings in this study, CI of AGRO ranged between -354 to 10,055 million baht while CI of TECH ranged from -4,294 to 9,325 million baht. Comparison both type of earnings, EARN and CI, the information shows that the ranged of earnings of TECH industry is more width than AGRO. The performance measured from CFO of AGRO industry ranged between -4,378 to 22,340 million baht, while TECH industry ranged from -1,190 to 23,582 million baht. The FCF of AGRO industry, FCF ranges between -5,173 to 18,073 baht, while FCF of TECH industry ranges from -10,141 to 12,969 million baht. Comparison both types of cash flows, it showed that TECH companies had invested in capital expenditure in big volume of money. Consideration of SIZE in AGRO ranged between 16.21 to 25.17, and TECH industry was between 18.75 to 25.57. While GROWTH, the data shows the proportion change of total asset of AGRO was -0.96 to 28.93, while TECH had proportion change between -0.70 to 1.15. The mean of AGRO and TECH were 0.24 and 0.05, respectively. That meant growth rate of listed companies in AGRO were more increased in

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


30

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

total assets than TECH. The RISK estimated from beta calculated by SET for AGRO and TECH are between -0.54 to 2.4 and between -0.06 to 2.03 respectively. The results showed that AGRO listed companies

choose Big4 audit firm approximate 75 percent as same as TECH (74 percent) and both industries changes audit firm around 7-8 percent per year.

Table 1 the predictability of past financial performance for future cash flows AGRO TECH 1-year-ahead 2-year-ahead 3-year-ahead 1-year-ahead 2-year-ahead 3-year-ahead Constant 113,655,345 50,429,919 -43,338,770 EARNt 0.856 * 1.137 * 1.543 * 2 Adjusted R 0.470 0.484 0.462 F 200.208 * 209.848 * 190.734 * Constant 106,654,863 10,620,228 CIt 1.184 * 1.707 * 2 Adjusted R 0.419 0.473 F 163.463 * 201.000 * Constant 245,920,529 309,142,494 * 156,684,018 184,737,070 263,341,318 147,127,416 CFOt 0.793 * 0.822 * 1.540 * 0.903 * 0.972 * 1.061 * Adjusted R2 0.409 0.447 0.426 0.719 0.608 0.664 F 156.752 * 181.455 * 165.333 * 479.888 * 277.247 * 283.715 * Constant 988,099,119 * FCFt 0.956 * Adjusted R2 0.414 F 133.223 * Note: only the model met the regression condition “*” implied statistic significant level at 0.05.

The Predictability of Past Financial Performance The testing of predictability of each past financial performance as mentioned in previous research. The hypothesis testing for the predictability of past financial performance was as follow; H1 Past financial performances have predictability for future cash flows. The results of simple regression analysis forecasted future cash flows as show in Table 1. The predictability of past financial performance

of AGRO by using regression model, showed that EARN was the best predictor for one, two and three-year-ahead cash flows, CI had ability to predict one and two-year-ahead cash flows. CFO also had predictability for one and three-year-ahead cash flows. For notification in TECH found that CFO had predictability for one, two and three-year ahead in highly value (adj. R2 = 71.9%, 60.8% and 66.4%, respectively) whilst FCF had ability to predict one-year-ahead cash flows only (adj. R2 = 41.4%).

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

The considering of predictability for future cash flows in each industry found that in AGRO EARN was the highest predictability for one (adj. R2 = 47.0%), two (adj. R2 = 48.4%) and threeyear-ahead cash flows (adj. R2 = 46.2%). Focusing on TECH, the results showed that CFO was the highest predictability for one (adj. R2 = 71.9%), two (adj. R2 = 60.8%) and three-year-ahead cash flows (adj. R2 = 66.4%). The effects of financial and non-financial factors The previous research claimed that many condition factors affected to the firms’ performances. For this study, four control variables were used to estimate the future firms’ performance. A multiple regression was applied to test the relationship among the variable, t statistic was used to confirm the effective of these variable, while F statistic was assigned the fit of model and Adj. R2 could be explained the capable of predictability for future firms’ performance. The hypothesis to test the effects of financial and non-financial factors was as follow; H2. Financial and non-financial factors have affected predictability in predicting future firm’s performances. This study found that SIZE was the significant factor in prediction model with positive sign in

31

TECH. It was to confirmed the various researched that different firm size related to different operation (Epstein & Manzoni, 2004; Ohlson, 1980; Barth et al., 1999 and Charitou et al., 2001). However, in AGRO, size was significant in the model predicted with cash flows only. The RISK was the significant affected to the prediction models, it found that the effect of market risk was on the prediction model in TECH especially the past earnings prediction models with positive sign. It was congruent with the prior findings of Neely (2007) and Blitz et al. (2011) that higher market risk had relationship with accounting measurement. Comparable two industries, due to the fasten changes of Hi-technology (SIPA & NECTEC, 2010) influence to higher risk in TECH. The last factor influent to predictability of past financial performances was auditor change. Chung et al. (2003) mentioned on quality of audit had affected on cash flows management to decrease agency cost. In this research, auditor change reflected to only three models in TECH, so it could not absolute conclude the effect of auditor change to overall results. However, the descriptive data showed that listed companies in TECH changed audit firms on the recent year in high volumes than the earlier. While Big 4 audit firm was not affect to any models in both industries.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


32

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Table 2 The effects of financial and non-financial factors on the predictability for future cash flow AGRO 1-year-ahead 2-year-ahead 3-year-ahead 1-year-ahead

(Constant) -2,089,092,178 -3,145,752,338 EARNt 0.799 * 1.077 * SIZEt 95,529,412 149,149,968 GROWTHt 32,117,461 2,512,582 RISKt 71,483,072 -78,731,230 Big4t 282,403,130 206,691,587 AUDITCt 99,639,738 218,913,927 2 Adj. R 0.390 0.377 F 21.150 * 19.893 * (Constant) -2,170,265,618 -743,173,863 CIt-n 1.152 * 1.936 * SIZEt 99,454,385 30,388,469 GROWTHt 21,630,803 -20,048,310 RISKt 118,734,347 -65,374,712 Big4t 258,193,958 168,330,643 AUDITCt 109,622,720 202,624,788 Adj. R2 0.357 0.387 F 18.484 * 20.638 * (Constant) -5,677,674,940 * -7,828,416,153 * CFOt 0.537 * 0.896 * SIZEt 280,555,863 * 403,583,943 * GROWTHt 37,144,981 -5,425,538 RISKt 84,614,511 -143,457,601 Big4t 110,917,853 -312,197,788 AUDITCt 31,156,148 12,191,390 Adj. R2 0.365 0.389 F 19.097 * 20.882 * (Constant) -10,654,059,248 * FCFt-n 0.297 * SIZEt 523,891,093 * GROWTHt 42,541,751 RISKt 235,322,729 Big4t 159,096,636 AUDITCt 145,942,142 Adj. R2 0.231 F 10.464 * Note: only the model met the regression condition “*” implied statistic significant level at 0.05.

-2,241,348,209 * 0.778 * 107,936,026 -243,866,394 225,084,126 155,259,264 98,273,060 0.270 12.034 * -4,717,858,704 * 0.535 * 232,789,931 * -259,305,767 219,740,414 146,500,031 68,664,230 0.215 9.185 * -8,460,820,339 * -0.113 418,333,355 * -278,670,548 201,500,862 179,866,073 46,250,639 0.196 8.253 * -6,363,395,743 * 0.375 * 323,023,264 * -129,299,168 262,518,056 -46,334,281 -21,039,973 0.233 10.051 *

The results were incongruent with the prior researcher who stated that firms perceived that Big4 had more conservative and caution than non-Big4 (Francis et al. (1999). In other word,

TECH 2-year-ahead

-9,060,843,817 * -11,232,908,665 * 1.071 * 0.920 * 400,912,102 * 490,699,986 * -216,978,041 -425,098,252 1,352,599,468 * 1,363,928,545 * -63,487,285 41,346,911 -266,390,833 1,738,730,283 * 0.617 0.550 42.376 * 30.955 * -22,542,017,214 * 0.754 * 1,033,575,359 * -721,437,472 2,203,073,309 * -44,937,071 -590,976,469 0.471 23.873 * -10,854,054,114 * -13,509,628,171 * 0.833 * 0.777 * 521,706,742 * 625,210,034 * 808,494,683 969,875,450 -8,581,635 197,706,335 -114,031,434 132,136,294 172,005,220 2,203,517,954 * 0.710 0.654 63.786 * 47.405 * -26,457,693,782 * -28,011,888,262.708 * 0.762 * 0.700 * 1,242,174,388 * 1,305,431,450.263 * 1,049,806,562 823,398,273.627 1,327,593,705 * 1,048,605,503.980 * -203,944,925 32,069,320.655 -100,618,288 1,993,413,000.403 * 0.524 0.474 29.222 * 23.037 *

3-year-ahead

-16,300,922,743 * 0.682 * 764,368,238 * -1,959,656,110 1,195,752,720 * -366,736,105 -401,913,417 0.425 14.420 * -30,628,591,280 * -0.047 1,466,743,194 * -2,237,523,197 921,405,713 -324,519,429 -632,899,161 0.353 10.933 * -10,907,546,475 * 0.895 * 532,350,984 * -329,575,533 -284,704,382 -102,707,700 -141,536,149 0.654 35.397 * -28,105,501,073 * 0.828 * 1,336,857,133 * -309,516,702 740,077,308 -317,670,722 -272,197,218 0.488 18.322 *

it should claimed that listed companies in Technology and Agro & food industries in SET perceived no different with the quality Big4 or non-Big4 audit firm in Thailand.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

Prior research found that growth proxy related to firms’ performance. Cooper et al. (2008) found that total asset growth rate had implication for future performance. Consequently of this research findings, it showed that no evidences to confirm the prior findings.

Comparison of the results from simple and multiple regression, the appropriated predictor from this study for future cash flows in AGRO was earnings, whilst in TECH was CFO as shown in Table 3.

Table 3 The appropriated prediction model Future Cash Flows

AGRO

1-year-ahead 2-year-ahead

CFOt+1 = 113,655,345 + 0.856 EARNt + e CFOt+2 = 50,429,919 + 1.137 EARNt + e.

3-year-ahead

CFOt+3 = -43,338,770 + 1.543 EARNt + e

In conclusion, the overall results showed that the past EARN was the appropriated predictor for the future cash flows prediction in AGRO. On the other hand, past CFO was the appropriated predictor in TECH. Therefore, the prediction for two-year-ahead cash flows in TECH that financial and non-financial factors were substantial affected the predictability of past CFO.

Conclusion & Discussion

The results differenced of testing the predictability of past earnings and past cash flows for future cash flows were in selected industries. In TECH, CFO was the best predictor in predicting one, two and three-year-ahead cash flows. The results support the most prior findings, Finger (1994) and Barth et al. (2001), that past CFO had more predictive ability for future cash flows than past earnings. On the other hand, the findings in AGRO

33

TECH

CFOt+1 = 184,737,070 + 0.903 CFOt + e CFOt+2 = -13,509,628,171 + 0.777 CFOt + 625,210,034 SIZEt + 969,875,450 GROWTHt + 197,706,335 RISKt + 132,136,294 Big4t + 2,203,517,954 AUDITCt + e CFOt+3 = 147,127,416 + 1.061CFOt + e

showed opposite results the past earning was superior than past cash flows. This results supported the evidences of Grennberg (1986); Dechow (1994); Dechow et.al. (1998) and Kim & Kross (2005) who stated that earnings had more predictability than cash flows. Consequence of testing for predictability of past financial performance, the results showed that in TECH, CFO had best predictability for one, two and three-year-ahead cash flows. The addition of finance and non-finance factors increase predictability of CFO in some prediction models and the power of predictability was best in the one-year-ahead prediction. On the other hand, the study found that in AGRO, earnings was the best predictor in all lag year predicted, but the best predictability was two-year-ahead cash flows predicting. Hence, the statistic methodology in this study was regression statistic method; therefore, some models were not conformed to the

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


34

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

conditions of regression even though there were high relations with the dependent variables. According to the mismatch to the regression statistic conditions, those models were excluded from the research findings.

Implication and Recommendation

Consideration of TECH industry, the best predictor to predict future cash flows was CFO. According to the mention of IASB (2010) that cash flows was a tool for assessing future firms’ performance because of elimination effect of different accounting policy, however, that claim wasn’t true in all industries. Although past cash flows suitable for future cash flows prediction in TECH, in contrast, it was not fit for AGRO. The future firms’ performance prediction should be helpful in economic decision making, for internal purpose manager should forecasted and prepared strategy for organizational sustainability as well as investors should appraised risks of their investments. According to the research findings, it showed that the different ability of past earnings and past cash flows to predict future firms’ performances in AGRO and TECH. The evidences from the study suggested the appropriated future firms’ performances prediction in each industry was predicted by different past financial performances. The appropriated predictors should be investigated in other industries to be useful in planning and decision making.

The factors affected to ability to predict future firms performance, the results revealed to firm size in term of market value of equity. Market risk was the other significant factors affected to the predict-ability of past financial performance. Notification of the two significant factors was distributed by SET. They were helpful for investor to access the public information.

Future Research

Consequence of the differential of predictability in diverge industry, the recommendation for future research to investigate prediction model with appropriated past financial performance (earnings or cash flows) in other industries and non-listed companies. For internal management purpose, some information was not disclosed for external user such as innovation expenses, research and development expenses, which could affect to the future performance. The research could be conduct to formulate prediction model for internal usage. According to the most statistics using in prior research, regression was frequently used. This research also selected regression statistic, however, some evidences were not conformed to the conditions. The future research could apply with other statistic method for conduct the prediction model such as SEM that could investigated the direct and indirect effects.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

35

References

Barth, M. E., Beaver, W. H. & Hand, J. R. M. (1999). Accruals, Cash Flows and Equity Values. Review of Accounting Studies, 3, 205-229. Barth, M. E., Cram, D. P. & Nelson, K. K. (2001). Accruals and the Prediction of Future Cash Flows. The Accounting Review, 76(1), 27-58. Beaver, W., Kettler, P. & Scholes, M. (1970). The Association Between Market Determined and Accounting Determined Risk Measures. The Accounting Review, 45(4), 654-682. Blitz, D., Huij, J. & Martens, M. et al. (2011). Residual momentum. Journal of Empirical Finance, 18(3): 506-521. Charitou, A., Clubb, C. & Andreou, A. (2001). Permanence, Growth and Firm Size on the Usefulness of Cash Flows and Earnings in Explaining Security Returns: Empirical evidence for the UK. Journal of Business Finance & Accounting, 28(5). Chung, R., Firth, M. & Kim, JB. (2003). Auditor conservatism and reported earnings. Accounting and Business Research, 33, 19-32. Cooper, M., Gulen, H. & Schill, M. (2008). Asset growth and the cross-section of stock returns. The Journal of Finance. 63(4), 1609-1651. DeAngelo, L. (1981). Auditor size and audit quality. Journal of Accounting & Economics, 3, 183-99. Dechow, P. M. (1994). Accounting Earnings and Cash Flows as Measures of Firm Performance The Role of Accounting Accruals. Journal of Accounting & Economics, 18, 3-42. Dechow, P. M., Kothari, S. P. & Watts, R. (1998). The Relation between earnings and cash flows. Journal of Accounting and Economics, 25, 133-168. Dhaliwal, D., Subramanyam, K. R. & Trezevant, R. (1999). Is Comprehensive Income Superior to Net Income as a Measure of Firm Performance?. Journal of Accounting and Economics, 26, 4367. Doyle, J. T., Ge, W. & McVay, S. (2007). Accruals Quality and Internal Control over Financial Reporting. The Accounting Review, 82(5), 1141-1170. Eisenhardt, K. M. (1989). Agency Theory: an Assessment and Review. Academy of Management Review, 14(1), 57-74. Epstein, M. J. & Manzoni, J. F. (Eds.). (2004). Studies in Managerial and Financial Accounting, (Vol. 14). London: Elsevier. Francis, J. R., Maydew, E. L. & Sparks, H. C. (1999). The Role of Big 6 auditors in the Credible Reporting of Accruals. Auditing: A Journal of Practice & Theory, 18(2), 17-34. Finger, C. A. (1994). The Ability of Earnings to Predict Future Earnings and Cash Flow. Journal of Accounting Research, 32, 210-223. Greenberg, R., G. Johnson & K. Ramesh. (1986). Earnings versus Cash Flow as a Predicator of Future Cash Flow Measures. Journal of Accounting, Auditing and Finance, Fall, 266-277. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


36

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Guan, L., He, D. & Yang, D. (2006). Auditing, Integral approach t quarterly reporting and cosmetic earnings management. Managerial Auditing Journal, 21(6), 569-581. International Financial Reporting Standards Board, IASB (2008). International Financial Reporting Standards (IFRSs) 2008, Framework for the Preparation and Presentation of Financial Statements. London: International Accounting Standards Committee Foundation (IASCF). International Financial Reporting Standards Board, IASB (2010). International Financial Reporting Standards. London: IASC Foundation Publications Department. Jensen, M. C. & Meckling, W. H. (1976). Theory of the Firm: Managerial Behavior, Agency Costs and Ownership Structure. Journal of Financial Economics, 3(4), 305-360. Johnson, H. T. & Kaplan, R. S. (1987). Relevance Lost - The Rise and Fall of Management Accounting. Boston: Harvard Business Review Press. Kanagaretnam, K., Mathieu, R. & Shehata, M. (2009). Usefulness of comprehensive income reporting in Canada. Journal of Accounting and Public Policy, 28, 349-365. Kaplan, R. S. & Norton, D. P. (1992). The Balanced Scorecard - Measures that Drive Performance. Harvard Business Review, January/February, 71-79. Kennerley, M. P. & Neely, A. D. (2000). Performance Measurement Frameworks - a Review. Proceedings of the 2nd International Conference on Performance Measurement, Cambridge, 291-298. Kim, M. & Kross, W. (2005). The Ability of Earnings to Predict Future Operating Cash Flows Has Been Increasing-Not Decreasing. Journal of Accounting Research, 43(5), 753-780. McLaughlin, R., Safieddine, A. & Vasudevan, G. K. (1996). The Operating Performance of Seasoned Equity Issuers: Free Cash Flow and Post-Issue Performance. FM: The Journal Of The Financial Management Association, 25(4), 41-53. Neely, A. (Ed.). (2007). Business Performance Measurement (2nd ed.). New York: Cambridge University Press. Nunez, K. (2013). Free Cash Flow and Performance Predictability in Electric Utilities. Journal of Business and Policy Research, 8(1), 19-38. Ohlson, J. (1980). Financial ratios and the probabilistic prediction of bankruptcy. Journal of Accounting and Research, 18, 109-131. Schwerdt, W. & Wendland, M. V. (2010). Pricing, Risk and Performance Measurement in Practice: the Building Block Approach to Modeling Instruments and Portfolios, Elsevier, 377. SIPA & NECTEC. (2010). Thailand IT Industry 2009, Software Industry Promotion Agency (Public Organization) & National Electronics and Computer Technology Center.

Vanichbuncha, K. (2010). Multivariate Statistical Methods. Bangkok: Dharmasarn co.ltd.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

37

Kusuma Dampitakse received her Bachelor Degree of Business Administration in Accounting from Ramkhamhaeng University and Master of Accountancy from Chulalongkorn University with outstanding academic performance award. She is Ph.D. candidate in Business Administration from RMUTT. She is currently full time lecturer in Faculty of Business Administration, Rajamangala University of Technology Thanyaburi and acting in associate dean for research and academic affairs. Panarat Panmanee graduated Ph.D. in Accounting from Keio University, Japan. She was former Associate Professor of Thammasat University. She is currently professor in Ph.D. Program of Faculty of Business Administration, Rajamangala University of Technology Thanyaburi. She is specialist in Management Accounting, Cost Accounting, Strategic Cost Management and Financial Reporting & Analysis.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


38

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ความสามารถตอบสนองปั จ จั ย ส่ ว นประสมการตลาดของ มหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจ CAPABILITIES OF CORPORATE UNIVERSITY’S RECIPROCATION TOWARDS MARKETING MIXED FACTORS ณตา ทับทิมจรูญ1 Nata Tubtimcharoon1 บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์มุ่งศึกษาความคาดหวังกับการได้รับจริงของนักศึกษาที่มีต่อปัจจัยส่วนประสมการ ตลาดของมหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจ เป็นการวิจยั แบบผสมทัง้ การวิจยั เชิงปริมาณและการวิจยั เชิงคุณภาพ ใช้แบบ วัดประมาณค่าและการสัมภาษณ์เชิงลึกเป็นเครื่องมือ ผลการวิจัยพบว่า ความคาดหวังต่อความสามารถตอบสนอง ปัจจัยส่วนประสมการตลาดของมหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจ จากความคิดเห็นของนักศึกษาต่อความคาดหวังอยู่ ในระดับมากทีส่ ดุ ในทุกด้าน คือ ด้านหลักสูตร/สาขา และการบริการ ด้านอัตราค่าธรรมเนียม ค่าหน่วยกิตและทุนการ ศึกษา ด้านอาคาร สถานที่ ด้านการด�ำเนินกิจกรรมส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการให้บริการ และ ด้านสิ่งที่สามารถจับต้องได้ สัมผัสได้ ส�ำหรับการได้รับจริงจากการตอบสนองปัจจัยส่วนประสมการตลาดของ มหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจ ด้านหลักสูตร/สาขา และการบริการ ด้านอัตราค่าธรรมเนียม ค่าหน่วยกิตและ ทุนการศึกษา ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสิ่งที่สามารถจับต้องได้ สัมผัสได้ อยู่ในระดับมาก ส่วนด้านอาคาร สถานที่ และด้านการด�ำเนินกิจกรรมการส่งเสริมการตลาดอยู่ในระดับปานกลาง ค�ำส�ำคัญ: ความสามารถตอบสนอง ส่วนประสมการตลาด มหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจ

Abstract

The purpose of this research was to explore students’ expectations and actual rendered services affecting marketing mix factors of corporate university. The study combined both quantitative and qualitative research methodologies, with the application of estimation and In-depth interviews as tools. The results showed that students’ expectations of corporate university’ capability to respond to marketing mix factors scored at a highest level in all aspects as follows: curriculum/ department (product), tuition fees (price), buildings (place), promotional activities (promotion), faculty and staff (people), service process (process) and commodity. Regarding actual rendered services of corporate university’ marketing mix, curriculum, tuition fees, faculty members and staff, service process and commodity were rated at a high level, whereas buildings and promotional activities were at a medium level. 1

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักส่งเสริมวิชาการ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์, Director of Academic Affairs Office, Panyapiwat Institute of Management, E-mail: natatub@pim.ac.th

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

39

Keywords: reciprocation capabilities, marketing mix, corporate university

บทน�ำ

มหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจ หรือ มหาวิทยาลัย บรรษัท (Corporate University) เป็นสถาบันอุดมศึกษา เฉพาะทางประเภทหนึ่ง ซึ่งมีการจัดตั้งจากองค์กรที่มี จุดมุ่งหมายหลักเป็นสิ่งอื่นที่ไม่ใช่การศึกษา มุ่งเน้นการ ให้การศึกษาและฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความรู้ ทัศนคติ ทักษะ และสมรรถนะทางวิชาชีพให้กับผู้เรียนอย่าง สอดคล้องกับพันธกิจและเป้าหมายขององค์กร โดยมี หลักสูตรที่สามารถให้คุณวุฒิด้านการศึกษาในระดับ ปริญญา (ทิพยรัตน์ สีเพชรเหลือง, 2545) และก�ำลังได้ รั บ ความสนใจและขยายปริ ม าณการจั ด ตั้ ง สถาบั น การศึกษาประเภทนี้เพิ่มขึ้นอย่างกว้างขวางทั่วโลก ซึ่ง ในปัจจุบันมีมหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจประมาณ 2,000 แห่ง (สมภพ มานะรังสรรค์, 2554) ในประเทศไทยเริ่มมีการจัดการเรียนการสอนของ มหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจ ตั้งแต่ พ.ศ. 2536 ของ วิ ท ยาลั ย ดุ สิ ต ธานี ในเครื อ ดุ สิ ต อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล วัตถุประสงค์หลักคือผลิตบุคลากรในด้านการบริหาร จัดการโรงแรม ในปี พ.ศ. 2545 ได้มีการจัดตั้งสถาบัน วิชาการ ทีโอที (TOT Academy) เพื่อพัฒนาบุคลากร ให้มีทักษะ ความรู้ น�ำไปใช้ในการพัฒนาหน่วยงานและ การปฏิบัติงานของตน (สมภพ มานะรังสรรค์, 2554) และในปี พ.ศ. 2550 สถาบันเทคโนโลยีปญ ั ญาภิวฒ ั น์ ได้ ก่อตั้งขึ้นโดยการสนับสนุนทุนจากบริษัทศึกษาภิวัฒน์ จ�ำกัด ในเครือของบริษทั ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) เพือ่ ผลิตบุคลากรด้านการจัดการธุรกิจค้าปลีก (สถาบัน การจัดการปัญญาภิวัฒน์, 2554) การด�ำเนินงานของสถาบันการศึกษาถือว่าการให้ บริการด้านการจัดการเรียนการสอนเป็นภารกิจส�ำคัญ สถาบันการศึกษาจึงควรตระหนักดีถึงเรื่องคุณภาพการ ให้บริการด้านต่างๆ อาทิ การจัดการเรียนการสอนซึ่ง เป็นภารกิจหลักของสถาบันการศึกษา (Binsardi & Ekwulugo, 2003) การวิจัย และการบริการวิชาการ (Chapleo, 2004; Voss, Gruber & Szmigin, 2007;

Kantanen, 2007) จึงมีการพัฒนา ปรับปรุงในด้านต่างๆ เพื่อตอบสนองต่อนโยบายสถาบันและเพื่อเป็นไปตาม เกณฑ์มาตรฐานที่ส�ำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา ก�ำหนด อีกทั้งการแข่งขันของสถาบันการศึกษาระดับ อุดมศึกษาส�ำหรับการรับเข้าศึกษาต่อ เนื่องจากรายได้ หลักจากค่าธรรมเนียมการศึกษา จ�ำนวนนักศึกษาจึงมี ความส�ำคัญยิ่ง การน�ำกลยุทธ์การตลาดเข้ามาใช้ในการ บริหารจัดการสถาบันการศึกษาเป็นที่นิยมและประสบ ผลส�ำเร็จอย่างมากด้วยการน�ำส่วนประสมการตลาดมา ปรับและประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสถาบันการศึกษา (Motekaitiene & Juscius, 2008) ส่วนประสมการ ตลาดสถาบันการศึกษาที่น�ำมาใช้ปรับปรุง พัฒนาการ บริหารจัดการด้านการศึกษา วัดความพึงพอใจของ นักศึกษา คือ 7 P’s ได้แ ก่ ผลิตภัณ ฑ์ห รือบริการ (product) ราคา (price) สถานที่ห รือช่องทางจัด จ�ำหน่าย (place) การส่งเสริมการตลาด (promotion) บุคลากร (people) กระบวนการ (process) และหลัก ฐานทางกายภาพ (physical evidence) (Soedijati & Pratminingsih, 2011) ด้วยปัญหาด้านการจัดการเรียนการสอน การสนอง ตอบความพึงพอใจของผูเ้ รียน การตอบสนองคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ขององค์กรธุรกิจที่สนับสนุน สถาบันการ ศึกษาจึงมิอาจนิง่ นอนใจได้ ควรพยายามหาวิธกี ารแก้ไข ปัญหาที่เกิดขึ้น อาจท�ำได้ด้วยการจัดตั้งหน่วยงานที่เข้า มาดูแลปัญหาต่างๆ โดยตรง อย่างไรก็ตามปัญหาก็คง มิได้หมดไป และแนวโน้มการรับนักศึกษาของสถาบัน การศึกษามีเพิ่มขึ้น เพื่อรองรับการเติบโตขององค์กร ธุ ร กิ จ การรั บ ฟั ง เสี ย งของผู ้ รั บ บริ ก าร (voice of customer: VOC) หมายถึง การศึกษาและก�ำหนดล�ำดับ ของความต้องการของผู้รับบริการ (Griffin & Harser, 1993) โดยการรับฟังเสียงของผู้รับบริการ ในที่นี้ผู้รับ บริการหมายถึง นักศึกษา ซึง่ สามารถช่วยขับเคลือ่ นการ เติบโตของสถาบัน (Kotler, 2003) ซึง่ ในมุมมองของผูร้ บั บริการย่อมต้องการได้รบั การบริการในระดับทีส่ งู สุดหรือ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


40

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

เกิดความพึงพอใจกับการบริการนั้นๆ ที่จะตอบสนอง ความต้ อ งการของผู ้ รั บ บริ ก ารได้ (Holdford & Reinders, 2001) ผู้รับบริการจะประเมินผลหลังการใช้ บริการโดยการเปรียบเทียบระหว่างความคาดหวังของ ผู้รับบริการที่มีต่อการบริการ (expectation) กับการ บริการที่ผู้รับบริการได้รับจริง (perception) ถ้าการ บริการที่ได้รับจริงตรงกับหรือเกินกว่าการบริการที่คาด หวัง ผู้รับบริการจะเกิดความพึงพอใจ (Lehmann & Winer, 2003)

ทบทวนวรรณกรรม

ปัจจัยส่วนประสมการตลาดของสถาบันการศึกษา: แนวคิดและทฤษฎีด้านการตลาดที่น�ำไปใช้กับองค์กร ธุรกิจประสบผลส�ำเร็จอย่างมาก สถาบันการศึกษาได้นำ� หลักแนวคิดด้านการตลาดมาปรับและประยุกต์ใช้กับ สถาบันการศึกษาอันเนือ่ งมาจากเกิดการแข่งขันมากขึน้ (Hemsley-Brown & Oplaka, 2006 and Temple & Shattock, 2007) และสถาบันการศึกษาหลายสถาบัน ก็ประสบความส�ำเร็จอย่างมากทีน่ ำ� กลยุทธ์การตลาดมา ใช้ โ ดยการน� ำ ส่ ว นประสมการตลาดมาด� ำ เนิ น การ (Motekaitiene & Juscius, 2008) ส่วนประสมการ ตลาด หมายถึง เครื่องมือหรือปัจจัยทางการตลาดที่ ควบคุมได้และใช้ร่วมกัน เพื่อตอบสนองความต้องการ และสร้างความพึงพอใจแก่กลุม่ ลูกค้าเป้าหมาย หรือเพือ่ กระตุ้นให้กลุ่มลูกค้าเป้าหมายเกิดความต้องการสินค้า และบริการของตน (Kotler, 2003) ส่วนประสมการตลาดของสถาบันการศึกษา: ส่วน ประสมการตลาดเป็นแนวคิดก�ำหนดขึน้ เพือ่ การควบคุม พื้ น ฐานที่ ท� ำ ให้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ถู ก ตอบสนองไปยั ง ตลาด เป้าหมายอย่างถูกต้อง (อดุลย์ จาตุรงคกุล, 2542) จาก งานวิจัยที่รับฟังเสียงผู้รับบริการ เพนน์ (Payne, 1995) ศึกษาพบว่า การเลือกซือ้ บริการผูร้ บั บริการจะพิจารณา ปัจจัย 3 ประการด้วยกัน คือ ปัจจัยด้านต้นทุนการซื้อ (cost) ปัจจัยด้านคุณภาพบริการ (services quality) และปัจจัยด้านคุณค่าเพิ่ม (added values) แต่ส�ำหรับ งานวิจยั ด้านการตลาดของสถาบันการศึกษาส่วนใหญ่ใช้ ส่วนประสมการตลาดหลักในการจัดหมวดหมู่เสียงของ

ผู้รับบริการ คือ ผลิตภัณฑ์หรือบริการ (product) ราคา (price) สถานที่หรือช่องทางจัดจ�ำหน่าย (place) และ การส่งเสริมการตลาด (promotion) หรือเรียกว่า 4 P’s (Nicholl et al., 1995 and Morris & Cojda, 2001) ส่วนประสมการตลาดนีเ้ ป็นพืน้ ฐานส�ำหรับพิจารณาการ พัฒนากลยุทธ์การตลาดขององค์กร (Kinnell, 1989) เพือ่ ตัดสินใจด�ำเนินการให้บรรลุวตั ถุประสงค์สถาบันและ ตอบสนองความต้องการ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ (Kotler & Armstrong, 2004) เมื่อปี ค.ศ. 1981 นักวิชาการการตลาด บูมส์ และ บิทเนอร์ (อ้างใน Rafiq & Ahmed, 1995) มีแนวคิด เกี่ยวกับส่วนประสมการตลาดด้านตลาดบริการจึงเพิ่ม ส่วนประสมการตลาดอีก 3 ประการ คือ ผู้มีส่วนร่วม (participants) กระบวนการ (process) และหลักฐาน ด้านกายภาพ (physical evidence) จากนั้นได้พัฒนา ส่วนประสมการตลาดเรือ่ ยมา โดยนักวิชาการด้านการตลาด (The Chartered Institute of Marketing, 2004; Maringe, 2005; ธีรกิติ นวรัตน ณ อยุธยา, 2547 และ ยุพาวรรณ วรรณวาณิชย์, 2549) ได้ปรับส่วนประสมการ ตลาดส�ำหรับตลาดด้านบริการเป็น 7 ประการ (7P’s) คือ ผลิตภัณฑ์หรือบริการ (product) ราคา (price) สถานที่หรือช่องทางจัดจ�ำหน่าย (place) การส่งเสริม การตลาด (promotion) บุคลากร (people) กระบวนการ (process) และหลั ก ฐานด้ า นกายภาพ (physical evidence) เป็นกรอบที่ใช้จัดส่วนประสมการตลาด ทั้งหมดในงานวิจัยเรื่องนี้ ผลิตภัณฑ์หรือบริการ (product) ส�ำหรับสถาบัน การศึกษาค�ำนึงถึงหลักสูตร สาขาวิชาหรือการบริการที่ สถาบันการศึกษามีให้ ประโยชน์หลักหรือสิ่งที่ผู้รับ บริการได้รับ (customer benefit) (Lovelock et al., 2002) ภารกิจหลักทีส่ ถาบันการศึกษาจัดบริการ คือ การ สอน การวิจยั และการบริการวิชาการ (Bratianu, 2008; Huisman, 2007 and Kantanen, 2007) โดยเป้าหมาย หลักของสถาบันการศึกษาก็คือการเสริมสร้างความรู้ และทักษะให้กับนักศึกษา รวมถึงชี้แนะเพื่อวางแผน ในอนาคตด้วย (Binsardi & Ekwulugo, 2003) และเป็น ตัวชีถ้ งึ การผลิตบัณฑิตทีม่ คี ณ ุ ภาพ  กล่าวคือ สามารถน�ำ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

ความรู้ที่ได้รับน�ำไปปรับใช้ในการท�ำงาน และตรงตาม ความต้องการของตลาด (Amano, 1997) ราคา (price) ในความหมายของสถาบันการศึกษา ราคา คือ อัตราค่าธรรมเนียม ค่าหน่วยกิต ค่าสมัครเข้า ศึกษาต่อ (Kotler & Fox, 1995 and Nicholl et al., 1995) สถาบันการศึกษาอาจน�ำกลยุทธ์การตั้งราคา สินค้ามาประยุกต์เพื่อให้เกิดแรงจูงใจ (Kinnell, 1989) การสนั บ สนุ น ทุ น ให้ ทั้ ง ทุ น การศึ ก ษาและทุ น วิ จั ย ที่ นักศึกษาสามารถขอรับได้หากมีคุณสมบัติพอ (Nicholl et al., 1995) ปัจจัยอื่นที่เข้ามามีส่วนร่วมด้วย ประการ แรก ก�ำลังทรัพย์ ฐานะของครอบครัว (Sargeant, 1999) และเป็ น ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ที่ ผู ้ ป กครองพิ จ ารณาเพราะ ครอบครัวต้องช่วยเหลือสนับสนุนค่าใช้จ่าย (Gomes & Murphy, 2003) ประการทีส่ อง การสนับสนุนอืน่ ๆ เพือ่ จูงใจผู้รับบริการ แม้ครอบครัวมีศักยภาพสามารถช�ำระ ค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นได้ (Sargeant et al., 2002) แต่ หากมีทนุ การศึกษาสนับสนุนเป็นทางเลือกหนึง่ ช่วยให้ผู้ ปกครองตัดสินใจง่ายขึ้น (Maringe & Foskett, 2002) สถานที่ (place) ในความหมายของสถาบันการ ศึกษา หมายถึง สถานที่เรียน ห้องเรียน สิ่งแวดล้อม ตารางเรียน วิธีการจัดการเรียนการสอน (Nicholl et al., 1995) สอดคล้องกับมุมมองของผู้รับบริการในปัจจุบัน ที่ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ และค� ำ นึ ง ถึ ง ความสะดวกสบาย (convenience) เพือ่ ให้ได้มาซึง่ สิ่งทีต่ อ้ งการ (Kotler & Keller, 2006) ความสะดวกสบายของห้ อ งเรี ย น บรรยากาศ สิ่งแวดล้อม (Shriberg, 2002) อุปกรณ์ สื่อ สนับสนุนการเรียนการสอนครบ (Moogan et al., 2001) การน�ำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้สำ� หรับการเรียนการสอน (Milliron, 2001) รวมไปถึงสถานที่ฝึกอบรมปฏิบัติการ วิชาชีพ (Krip, 2004) การส่งเสริมการตลาด (promotion) โดยกิจกรรม การส่งเสริมการตลาดประกอบด้วยการโฆษณา การขาย โดยบุคคล การส่งเสริมการขาย การประชาสัมพันธ์ และ การตลาดทางตรง (Kotler, 2003) สือ่ สารกับผูร้ บั บริการ ในภาพรวมเพื่อให้ผู้รับบริการได้รับข้อมูลข่าวสารที่ ถูกต้อง ชัดเจนและรวดเร็ว ต้องท�ำให้นักศึกษานั้นเป็น ส่วนหนึ่งของสถาบัน (Hawkins & Frohoff, 2009)

41

การผสมผสานกิจกรรมส่งเสริมการตลาดของสถาบัน การศึกษาท�ำได้ดว้ ยการน�ำกิจกรรมต่างๆ มาด�ำเนินการ ร่วมกัน ซึ่งสามารถน�ำมาเสนอรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ อาทิ วารสาร หนังสือพิมพ์ ถึงภาพลักษณ์ ชื่อเสียงของ สถาบัน (Harson, 2000) โดยประชาสัมพันธ์ ถึงช่วงเวลา การรับสมัคร (Kotler & Fox, 1995) บุ ค ลากร (people) ในที่ นี้ ห มายถึ ง อาจารย์ และพนักงานในสถาบันเป็นผู้ให้บริการที่มีคุณภาพ มี ทักษะและมีแรงจูงใจในการให้บริการ ท�ำให้ผู้รับบริการ พึงพอใจ เกิดทัศนคติทางที่ดีต่อสถาบัน (Von & Wang, 2003) และถือเป็นทรัพยากรส�ำคัญที่ท�ำให้การจัดการ ของสถาบันประสบความส�ำเร็จ (ฉัตราพร เสมอใจ, 2549) และ Lovelock & Wright (2004) ให้ค�ำแนะน�ำว่า ผูท้ มี่ ผี ลกระทบโดยตรงในเรือ่ งของการบริการในสถาบัน การศึกษาคือ อาจารย์ และพนักงานสายสนับสนุนที่มี ความรู้ ความสามารถ และมีคุณภาพ กล่าวคือ ต้องมี ทั ก ษะด้ า นสั ง คมที่ ดี มี ทั ก ษะด้ า นการให้ ค� ำ ปรึ ก ษา รวมทั้งต้องมีทัศนคติที่ดีต่อนักศึกษาด้วย (Du Plesiss & Rouseau, 2005) กระบวนการ (process) หมายถึ ง ขั้ น ตอน หรือวิธีการบริการที่สถาบันใช้เพื่อให้บรรลุผลส�ำเร็จ (Woodruffe, 1995) ท�ำให้ผู้รับบริการพึงพอใจ และ ต้องการการบริการของสถาบัน (Sargeant et al., 2002) ตั ว ชี้ วั ด คุ ณ ภาพของกระบวนการ ระยะเวลาสั้ น มี ประสิทธิภาพและถูกต้อง (ฉัตราพร เสมอใจ, 2549) ไม่ ซับซ้อน ง่าย สะดวก ไม่ยุ่งยากต่อการติดต่อหรือรับ บริการ (Ivy, 2001) มีกลไก และขั้นตอน มีการบริหาร จั ด การอย่ า งเป็ น ระบบที่ ชั ด เจน (Palmer, 2005) กระบวนการทีผ่ ้รู บั บริการให้ความส�ำคัญในสถานศึกษา เช่น การติดต่อแจ้งข้อมูล การเตือนระยะเวลา การลง ทะเบียนเรียน การแจ้งตารางเรียน ตารางสอบ เป็นต้น (Payne, 1995) หลักฐานด้านกายภาพ (physical evidence) ใน ทีน่ คี้ อื สิง่ ทีเ่ ป็นรูปธรรมผูร้ บั บริการสามารถมองเห็นและ รับรู้ได้ (Lovelock & Wright, 2004) สัมผัสได้ทาง กายภาพ ลักษณะและสีของอาคารเรียน ห้องเรียน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


42

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

(Zeithaml & Bitner, 2000) ป้ายบอกทาง ความทันสมัย การน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในบริการแต่ละขั้นตอน รวมถึง น� ำ มาสนั บ สนุ น ด้ า นการเรี ย นการสอน (Gomes & Murphy, 2003) หลักฐานทางกายภาพมีความส�ำคัญต่อ ความรู ้ สึ ก และปฏิ กิ ริ ย าตอบสนองของผู ้ รั บ บริ ก าร (Lovelock et al., 2002) ท�ำให้ผทู้ พี่ บเห็นสามารถจดจ�ำ และประทับใจได้ทันที (Ivy & Fattal, 2010) การรั บ ฟั ง เสี ย งของผู ้ รั บ บริ ก าร (voice of customers: VOC) เมื่อนักศึกษาได้เข้ามาศึกษาต่อยัง สถาบันแล้ว สถาบันต้องด�ำเนินการจัดการเรียนการสอน รวมถึงสายสนับสนุนการเรียนการสอน การบริหารงาน ด�ำเนินงานให้มคี ณ ุ ภาพและประสิทธิภาพ และท้ายทีส่ ดุ เพือ่ ผลิตบัณฑิตให้เป็นบุคคลทีม่ คี ณ ุ ภาพ และเพือ่ ความ เติบโตของสถาบันอย่างต่อเนื่อง การที่สถาบันจะรับ ทราบข้อมูลหรือศักยภาพการด�ำเนินการด้านต่างๆ ของ สถาบั น ได้ นั้ น ก็ ด ้ ว ยการรั บ ฟั ง เสี ย งจากผู ้ รั บ บริ ก าร หมายถึง การศึกษาและก�ำหนดล�ำดับของความต้องการ ของผู้รับบริการ (Griffin & Harser, 1993) เพื่อใช้ ส�ำหรับการตัดสินใจทางธุรกิจทั้งหมด (Kotler, 2003) เสียงของผู้รับบริการเป็นข้อมูลที่ได้จากการสอบถาม โดยสะสมข้ อ มู ล ที่ อ ้ า งถึ ง ปั จ จั ย การตั ด สิ น ใจที่ จ ะซื้ อ สิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารและผลของการบริ ก ารที่ มี ต ่ อ ผู้รับบริการ (LaDove, 2005) วิธีการรับฟังเสียงของ ผู้รับบริการอาจท�ำแบบมีโครงสร้างหรือไม่มีโครงสร้าง (Bateman & Snell, 2007) เก็บจากการสัมภาษณ์ ผู้รับบริการเป้าหมาย การสอบถาม หรือการสืบค้นข้อมูล ที่เกี่ยวข้อง (contextual inquiry) เป็นต้น (Adams & Views, 2007) ในหลายองค์กรใช้เสียงของผู้รับบริการเป็นแหล่ง ข้อมูลง่ายๆ ทีเ่ ติมเต็มความต้องการของผูร้ บั บริการเพือ่ ให้เกิดความพึงพอใจในบริการที่ได้รับ (Holdford & Reinders, 2001) มุมมองของผู้รับบริการโดยภาพรวม ต้องแน่ใจว่าผูร้ บั บริการแต่ละคนต้องการบริการในระดับ ที่สูงที่สุด (Karmkostas et al., 2005) ความใส่ใจต่อ ผู้รับบริการท�ำให้เกิดความพึงพอใจเป็นเป้าหมายสูงสุด

ของตลาดบริการ (Croteau & Li, 2003) และถ้าผู้รับ บริ ก ารมี ค วามพึ ง พอใจจะบอกต่ อ ปากต่ อ ปากหรื อ แนะน�ำบริการของเราให้กบั ผูร้ บั บริการคนอืน่ ๆ (Kotler, 2003) ผู้รับบริการจะประเมินผลหลังการใช้บริการโดย การเปรียบเทียบระหว่างความคาดหวังของผู้รับบริการ ที่มีต่อการบริการ (expectation) กับการบริการที่ผู้รับ บริการได้รับจริง (perception) ถ้าการบริการที่ได้รับ จริงตรงกับหรือเกินกว่าการบริการทีค่ าดหวัง ผูร้ บั บริการ จะเกิดความพึงพอใจ (Lehmann & Winer, 2003) จาก การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับส่วนประสมการตลาด ของสถาบันการศึกษา พบว่า การรับฟังเสียงของผู้รับ บริการมีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการที่สถาบันการศึกษา จะรับทราบข้อมูลทีแ่ ท้จริงจากผูร้ บั บริการจริง เพือ่ ทีจ่ ะ น�ำข้อมูลนั้นมาพัฒนา ปรับปรุงสถาบันการศึกษาให้มี คุณภาพ ศักยภาพ และประสิทธิภาพยิ่งขึ้นไป กอปรกับ เพื่อความเจริญเติบโตของสถาบันการศึกษาต่อไปใน อนาคตด้วย มหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง องค์ ก รธุ ร กิ จ (corporate university) แนวคิดการจัดการเรียนการสอนของ มหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจ หรือบางงานวิจยั อาจเรียก เป็นมหาวิทยาลัยบรรษัท แต่ทงั้ นีแ้ นวคิดด้านกลยุทธ์การ จัดการ การจัดการเรียนการสอนไม่แตกต่างกัน กล่าวคือ เป็นสถาบันอุดมศึกษาเฉพาะทางประเภทหนึ่ง ซึ่งมีการ จัดตั้งจากองค์กรที่มีจุดมุ่งหมายหลักเป็นสิ่งอื่นที่ไม่ใช่ การศึกษา มุ่งเน้นการให้การศึกษาและฝึกอบรมเพื่อ พัฒนาความรู้ ทัศนคติ ทักษะ และสมรรถนะทางวิชาชีพ ให้กับผู้เรียนอย่างสอดคล้องกับพันธกิจและเป้าหมาย ขององค์กร โดยมีหลักสูตรที่สามารถให้คุณวุฒิด้านการ ศึกษาในระดับปริญญา (ทิพยรัตน์ สีเพชรเหลือง, 2545) วิวัฒนาการของมหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจมี อิทธิพลในช่วงปี ค.ศ. 1919 บริษัท เจนเนอรัลมอเตอร์ (General Motors) เป็นบริษัทแรกที่เปิดสถาบันการ ศึกษา โดยมีจดุ มุง่ หมายทีจ่ ะผลิตพนักงานทีม่ คี วามรูเ้ พือ่ ให้เกิดผลต่อการเพิ่มผลผลิตและมีความสามารถเชิง แข่งขันและก้าวสูก่ ารเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ต่อมาใน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

ปี ค.ศ.1955 วอลท์ ดิสนีย์ (Walt Disney) ได้จัดตั้ง สถาบันการศึกษาและเรียกว่า มหาวิทยาลัยดิสนีย์ ซึง่ มุง่ เน้ น การสร้ า งมหาวิ ท ยาลั ย ในบริ ษั ท ที่ ส ามารถให้ ประกาศนียบัตรและพนักงานสามารถส�ำเร็จการศึกษา ในระดับขัน้ ต่างๆ ได้ และต่อมาในช่วงปี 1980 ถึง 1990 เป็นต้นมา นับเป็นจุดส�ำคัญที่ท�ำให้มหาวิทยาลัยแห่ง องค์กรธุรกิจได้รับความนิยมและเพิ่มจ�ำนวนขึ้นอย่าง รวดเร็ว เนื่องจากบริษัทต่างๆ เห็นความส�ำคัญของการ เรียนรูต้ ลอดชีวติ การคิดอย่างเป็นระบบ และการท�ำงาน ข้ามหน้าที่ ซึง่ มหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจยึดหลักการ ขององค์กรแห่งการเรียนรูจ้ งึ มหาวิทยาลัยลักษณะนีเ้ พิม่ ขึ้นเป็นจ�ำนวนมากและได้รับความสนใจเป็นอย่างสูง (สดใส คุณวิศาล, 2548) รูปแบบของมหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจ มีความ หลากหลายดั ง ที่ ไ ด้ ก ล่ า วมาแล้ ว ทั้ ง นี้ ขึ้ น อยู ่ กั บ วัตถุประสงค์ และเป้าหมายขององค์กร โดยนักวิชาการ ได้สรุปรูปแบบของสถาบันไว้แตกต่างกัน พอสรุปได้ดงั นี้ คือ (1) เมียสเตอร์ (Mierter, 1998) ได้เสนอประเภท มหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจไว้ 2 ประเภท ดังนี้ 1.1 แบบเอกเทศ (Stand Alone) ที่สามารถให้ปริญญาจาก สถาบันเองได้ 1.2 แบบมีหุ้นส่วน (Partnership) ที่ สามารถให้หน่วยกิตของสถาบันอุดมศึกษาที่เป็นส่วน ร่วม (2) อัลเลน (Allen, 1999) ได้แบ่งประเภทของ สถาบั น การศึ ก ษาที่ มี ค วามเชื่ อ มโยงกั บ ธุ ร กิ จ ไว้ 4 ประเภท คือ 2.1 แบบฝึกอบรมเพียงอย่างเดียว (Training Only) 2.2 แบบฝึกอบรมและการพัฒนา (Training and Development) 2.3 แบบให้ ห น่ ว ยกิ ต (Credit Granting) และ 2.4 แบบให้ปริญญา (Degree Granting) ส�ำหรับมหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจในประเทศไทย นัน้ เริม่ มีการจัดการเรียนการสอนตัง้ แต่ พ.ศ. 2536 ของ วิ ท ยาลั ย ดุ สิ ต ธานี ในเครื อ ดุ สิ ต อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล วัตถุประสงค์หลัก คือ ผลิตบุคลากรในด้านการบริหาร จัดการโรงแรม ในปี พ.ศ. 2545 ได้มีการจัดตั้งสถาบัน วิชาการ ทีโอที (TOT Academy) เพื่อพัฒนาบุคลากร ให้มีทักษะ ความรู้ น�ำไปใช้ในการพัฒนาหน่วยงานและ

43

การปฏิบัติงานของตน และในปี พ.ศ. 2550 สถาบัน เทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ ได้ก่อตั้งขึ้นโดยการสนับสนุน ทุนจากบริษัท ศึกษาภิวัฒน์ จ�ำกัด ในเครือของบริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) เพื่อผลิตบุคลากรด้านการ จัดการธุรกิจค้าปลีก ในวงการการศึกษาได้เห็นความส�ำคัญของการน�ำ กลยุทธ์การตลาดในส่วนของส่วนประสมการตลาดน�ำมา ปรับใช้กับสถาบันและได้รับผลส�ำเร็จอย่างมากต่อการ ด� ำ เนิ น การจั ด การเรี ย นการสอนให้ มี คุ ณ ภาพ และ ประสิทธิภาพ (Hemsley-Brown & Oplaka, 2006; Temple & Shattock, 2007) มีการตื่นตัวเรื่องการ จัดการศึกษามีมากขึน้ (Garlick & Pryor, 2004) สถาบัน การศึกษาสมควรอย่างยิ่งต้องพัฒนาให้มีศักยภาพ ขีด ความสามารถด้านการเรียนการสอน หลักสูตร การวิจัย (Gitlow et al., 2005) และเป็นที่ต้องการของผู้รับ บริการหรือได้รับการยอมรับจากสังคม การตอบสนอง ด้านการตลาด อุตสาหกรรมด้านต่างๆ สถาบันการศึกษา จึงควรเตรียมรับกับสิ่งที่จะเกิดขึ้น (Nelson, 2003) ใน ต่างประเทศมีงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการน�ำกลยุทธ์การ ตลาดในด้านต่างๆ มาปรับใช้กบั สถาบัน การศึกษา อาทิ โชดีจาติ และปราดมีนงิ สีห์ (Soedijati & Pratminingsih, 2011) ศึกษาเกี่ยวกับการน�ำส่วนประสมการตลาดทั้ง 7P’s มาใช้เพื่อการวัดความพึงพอใจของนักศึกษาเพื่อ การเข้าศึกษาต่อวอส และคณะ (Voss et al., 2007) ศึกษาคุณภาพการบริการในสถาบันอุดมศึกษาตามที่ นักศึกษาคาดหวัง เฮมเลย์ และโอปรากา (HemsleyBrown & Oplatka, 2006) ศึกษาเรื่องมหาวิทยาลัยใน โลกแห่งการแข่งขันด้านการตลาด ลัดด์ และมิวส์ (Rudd & Mills, 2008) เรื่องการขยายหลักการตลาดส�ำหรับ การน�ำเสนอขายของสถาบันอุดมศึกษา โมเตไคติเน้ และ จุ๊ยส์ (Motekaitiene & Juseius, 2008) ศึกษาเรื่อง ข้อก�ำหนดของการตลาดในระบบสถาบันอุดมศึกษา ซึ่ง งานวิจยั ทัง้ หมดล้วน พบว่า การน�ำกลยุทธ์การตลาดและ ส่วนประสมการตลาดมาปรับ ประยุกต์ใช้กับสถาบัน การศึกษาประสบผลส�ำเร็จเป็นอย่างดี

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


44

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ส�ำหรับสถาบันการศึกษาในประเทศไทยได้ตระหนักถึง ความส�ำคัญของการน�ำหลักแนวคิด ทฤษฎีด้านการ ตลาดเข้ามาปรับ ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของ แต่ละสถาบันเพื่อความก้าวหน้า การเติบโตของสถาบัน รวมไปถึงการแข่งขันในด้านการจัดการศึกษา งานวิจยั ที่ เกี่ยวข้องของประเทศไทยในด้านการน�ำกลยุทธ์การ ตลาดมาใช้นนั้ เพือ่ การรับเข้าศึกษาต่อของณตา ทับทิมจรูญ (2552) ปั จ จั ย ส่ ว นประสมการตลาดที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การตัดสินใจเลือกมหาวิทยาลัยของเจตนา สุขเอนก (2552) การส่งเสริมการตลาดโดยใช้สื่อดิจิตอลของ ธีรตุ ย์ กนกธร (2553) การศึกษาเกีย่ วกับปัจจัยการจูงใจ ในการเลือกศึกษาต่อของจิรวรรณ ดีประเสริฐ (2551) และการวัดความพึงพอใจการบริการของมหาวิทยาลัย ของสมหมาย เปียถนอม (2551) เป็นต้น แต่ยังไม่ พบว่าได้มงี านวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับการศึกษาความสามารถ ในการตอบสนองปั จ จั ย ส่ ว นประสมการตลาดของ มหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง องค์ ก รธุ ร กิ จ ที่ แ ล้ ว เสร็ จ ในขณะนี้ งานวิจยั นีท้ า้ ยทีส่ ดุ ก็เพือ่ น�ำข้อมูลมาใช้พฒ ั นาให้สถาบัน การศึกษามีคุณภาพ และปรับปรุง แก้ไขปัญหาที่พบ เพื่ อ ให้ ส ถาบั น เป็ น สถาบั น การศึ ก ษาที่ มี ศั ก ยภาพ ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด พั ฒ นาสถาบั น ให้ ก ้ า วหน้ า และ สามารถแข่งขันในประดับประเทศและระดับนานาชาติได้

วิธีการวิจัย

งานวิจยั นีเ้ ป็นการวิจยั ผสม (Mixed Method) ทัง้ การ วิจยั เชิงปริมาณ (quantitative research) และการวิจยั เชิงคุณภาพ (qualitative research) โดยกลุ่มตัวอย่าง ของการวิจยั เชิงปริมาณ เป็นนักศึกษาสถาบันการจัดการ ปัญญาภิวัฒน์ที่ศึกษาอยู่ในที่ตั้ง ในปีการศึกษา 2554 ระดับปริญญาตรี จ�ำนวนกลุ่มตัวอย่าง 322 คน ส�ำหรับ การวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นตัวแทนนักศึกษา ของแต่ละสาขาวิชาในแต่ละคณะวิชา จ�ำนวน 9 คน รวมกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวนทั้งสิ้น 331 คน เครื่องมือที่ใช้ ส�ำหรับงานวิจัยเชิงปริมาณ คือ แบบวัดประมาณค่า ส�ำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นแบบสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) แบบมีโครงสร้าง การวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงปริมาณเป็นสถิตพิ รรณนา วิเคราะห์พหุถดถอย แบบปกติ (ordinary multiple regression analysis) ส�ำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการถอด บทสัมภาษณ์จากนั้นสกัดประเด็นจากกระทงความและ สรุปประเด็น ซึ่งข้อค�ำถามทั้งการวิจัยเชิงปริมาณและ เชิงคุณภาพเกี่ยวกับตัวแปรด้านส่วนประสมการตลาด (7P’s) เพื่อใช้ค้นหาความสามารถตอบสนองปัจจัย ส่วนประสมการตลาดด้วยการรับฟังเสียงของผูร้ บั บริการ ดังภาพที่ 1 และ 2

ภาพที่ 1 ขั้นตอนการประเมินความสามารถตอบสนองปัจจัยส่วนประสมการตลาด จากภาพที่ 1 หมายถึงการศึกษาความสามารถ ตอบสนองปัจจัยส่วนประสมการตลาด (7P’s) ด้วยการ

รับฟังเสียงของผู้รับบริการ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

45

ภาพที่ 2 ขั้นตอนการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

จากภาพที่ 2 หมายถึงขั้นตอนการด�ำเนินการวิจัย ทั้ ง เชิ ง ปริ ม าณและเชิ ง คุ ณ ภาพ เพื่ อ เป็ น การยื น ยั น ถึงความสอดคล้องกันของผลการวิจัยเชิงปริมาณและ เชิงคุณภาพ

ผลการวิจัย

ผลจากการรั บ ฟั ง เสี ย งของผู ้ รั บ บริ ก ารซึ่ ง ในที่ นี้ หมายถึงนักศึกษา ได้ข้อสรุปอันเป็นข้อค้นพบดังนี้ (1) ความคาดหวังต่อความสามารถตอบสนองปัจจัย ส่วนประสมการตลาดของมหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจ ความคิ ด เห็ น ของนั ก ศึ ก ษาอยู ่ ใ นระดั บ มากที่ สุ ด ใน ทุกด้านและทุกประเด็นรายการ คือ ด้านหลักสูตร/สาขา และการบริการ ด้านอัตราค่าธรรมเนียม ค่าหน่วยกิตและ ทุนการศึกษา ด้านอาคาร สถานที่ ด้านการด�ำเนิน กิจกรรมส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการ ให้บริการ และด้านสิ่งที่สามารถจับต้องได้ สัมผัสได้ (2) ความคิดเห็นของนักศึกษาที่ได้รับจริงจากการ ตอบสนองปัจจัยส่วนประสมการตลาดของมหาวิทยาลัย

แห่งองค์กรธุรกิจ ด้านหลักสูตร/สาขา และการบริการ ด้านอัตราค่าธรรมเนียม ค่าหน่วยกิตและทุนการศึกษา ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสิ่งที่ สามารถจับต้องได้ สัมผัสได้ อยูใ่ นระดับมาก ส�ำหรับด้าน อาคาร สถานที่ และด้านการด�ำเนินกิจกรรมการส่งเสริม การตลาด อยู่ในระดับปานกลาง (3) ด้านบุคลากรในส่วนของอาจารย์ได้รับค่าระดับ คะแนนจากการได้รับจริงอยู่ในระดับที่มากที่สุด และ ด้านสิ่งที่สามารถจับต้องได้ สัมผัสได้อยู่ในระดับที่มาก เช่นกัน เนื่องจากอาจารย์ของสถาบันมีความรู้ตรงจาก การมีประสบการณ์จริงและเมือ่ มาถ่ายทอดความรูใ้ ห้กบั นักศึกษาท�ำให้นกั ศึกษาได้รบั ความรูท้ แี่ ท้จริงและตรงกับ การปฏิบัติงานจริง อีกประการอาจารย์มีความดูแล เอาใจใส่นักศึกษาเป็นอย่างมาก ด้านอาคารเรียนของ สถาบันมีรูปแบบและการตกแต่งที่แตกต่างจากอาคาร เรี ย นของสถาบั น การศึ ก ษาอื่ น โดยทั่ ว ไปท� ำ ให้ เ ป็ น ที่สะดุดตาเมื่อมองมาจากด้านนอกสถาบัน (4) เปรียบเทียบผลการวิจัยทั้งเชิงปริมาณและ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


46

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

เชิงคุณภาพพบว่าผลการวิจัยมีความสอดคล้องกันใน ทุ ก ด้ า นคื อ ด้ า นหลั ก สู ต ร/สาขา และการบริ ก าร ด้านอัตราค่าธรรมเนียม ค่าหน่วยกิตและทุนการศึกษา ด้านอาคาร สถานที่ ด้านการด�ำเนินกิจกรรมส่งเสริม การตลาด ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการให้บริการ และ ด้านสิ่งที่สามารถจับต้องได้ สัมผัสได้ (5) ด้านความคาดหวังและการได้รับจริงหลังส�ำเร็จ การศึกษา พบว่า ต้องการท�ำงานทันทีที่จบจากสถาบัน อยูใ่ นระดับทีม่ ากทีส่ ดุ อีกทัง้ มีความภาคภูมใิ จทีไ่ ด้ศกึ ษา ยังสถาบันแห่งนีแ้ ละจะแนะน�ำคนรูจ้ กั ให้เข้าศึกษาต่อยัง สถาบัน

การอภิปรายผลและการน�ำไปใช้ประโยชน์

ความสามารถตอบสนองปัจจัยส่วนประสมการ ตลาด: ส่วนประสมการตลาดที่ใช้ศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็น ส่วนประสมการตลาดด้านตลาดบริการ (7P’s) ซึ่ง สถาบันการศึกษาถือว่าเป็นตลาดบริการเช่นกัน โดยใน แต่ละความหมายของส่วนประสมการตลาดของสถาบัน การศึกษา product คือ หลักสูตร สาขาวิชา price คือ อัตราค่าธรรมเนียม ค่าหน่วยกิต ทุนสนับสนุนการศึกษา place คือ อาคาร สถานที่ promotion คือ การด�ำเนิน กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การตลาด people คื อ บุ ค ลากร (อาจารย์ แ ละพนั ก งาน) process คื อ ขั้ น ตอน กระบวนการให้บริการ และ physical evidence คือ สิ่งที่สามารถจับต้องได้ สัมผัสได้ ผลการศึกษาจากการ รับฟังเสียงของผู้รับบริการ ที่ศึกษาจากการได้รับจริง แสดงให้เห็นว่าการตอบสนองส่วนประสมการตลาดมี ส่วนส�ำคัญต่อการให้บริการส�ำหรับสถาบันการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลักสูตร สาขาวิชา ถือเป็นภารกิจ หลักของสถาบันการศึกษา และบุคลากรด้านอาจารย์ ซึง่ เป็นผู้ถ่ายทอดวิชา ความรู้ เป็นผู้ให้บริการโดยตรง ทั้งนี้ เนื่องจากวัตถุประสงค์หลักของการจัดการศึกษาของ สถาบันการศึกษาคือการให้วิชาความรู้ นั่นคือ หลักสูตร สาขาวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดและ ต้องก้าวทันเทคโนโลยี และผู้ที่ถ่ายทอดความรู้ คือ

อาจารย์ ผู ้ ส อน สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของจิ ร วรรณ ดีประเสริฐ (2551) พบว่า ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ คือ หลักสูตร/สาขาวิชา และรายวิชา มีอิทธิพลมากที่สุด ที่กลุ่มตัวอย่างใช้เลือกสถาบันอุดมศึกษา เช่นเดียวกับ มูแกนและคณะ (Moogan et al., 2001); มาริน (Maringe, 2005) และเร็กเก็ต (Leggett, 2006) ที่ว่า หลักสูตร สาขาวิชาเป็นปัจจัยหลักส�ำหรับการเลือกสถาน ที่เรียน เช่นกัน ซึ่งส่วนนี้เป็นองค์ประกอบส�ำคัญของ สถาบั น ที่ ส ามารถตอบสนองตามความต้ อ งการของ ผู้รับบริการได้ การจัดการศึกษาในรูปแบบการเรียนรูค้ วบคูก่ บั การ ฝึกประสบการณ์จริง (work-base learning) จากการ รับฟังเสียงของผูร้ บั บริการท�ำให้เห็นว่านักศึกษาให้ความ ส�ำคัญเช่นกันโดยมองว่าได้รบั ประโยชน์อย่างแท้จริงจาก การฝึกปฏิบัติจริง จากสถานที่จริง พบเจอสถานการณ์ จริง และยังสามารถปฏิบัติงานได้ทันทีเมื่อส�ำเร็จการ ศึกษาโดยทีไ่ ม่จำ� เป็นต้องไปฝึกอบรมก่อนการท�ำงาน ซึง่ สอดคล้องกับการศึกษาของบาร์เลย์ (Barley, 1998) พบว่า ผลดีทนี่ กั ศึกษาได้จากสถาบันการศึกษาทีม่ คี วาม เชื่อมโยงกับธุรกิจ คือ นักศึกษาได้รับโอกาสทางการ ศึกษา ช่วยการท�ำงานได้ดีขึ้น ในแง่ขององค์กรท�ำให้ บรรลุเป้าหมายด้วยการพัฒนาบุคลากรท�ำให้เกิดการ พัฒนาตนเองและองค์กร การสนั บ สนุ น ทุ น การศึ ก ษาให้ กั บ นั ก ศึ ก ษาเป็ น องค์ประกอบทีส่ ำ� คัญ เพราะจากการรับฟังเสียงของผูร้ บั บริการจากการได้รบั จริงของนักศึกษาเป็นทีย่ อมรับอย่าง แท้จริงส�ำหรับมหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจ ให้การ สนั บ สนุ น ด้ า นนี้ โดยสอดคล้ อ งกั บ ฟรั ม คิ น และคิ ม (Frumkin & Kim, 2001) เกี่ยวกับการสนับสนุนทุน การศึ ก ษาและผลการศึ ก ษาของมาริ น และฟอสเก็ ต (Maringe & Foskett, 2002) พบว่าการสนับสนุนทุน การศึกษาจะท�ำให้นักศึกษาสามารถตัดสินใจง่ายขึ้น ส�ำหรับการเลือกศึกษาต่อ ด้านการด�ำเนินกิจกรรม ส่งเสริมการตลาดก็จะเป็นส่วนหนึ่งที่สถาบันการศึกษา ไม่อาจมองข้ามได้ซึ่งจะท�ำให้นักศึกษาหรือบุคคลทั่วไป

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

รับรู้ถึงข่าวสารหรือการด�ำเนินการกิจการของสถาบัน จากงานวิ จั ย ในสหรั ฐ อเมริ ก า สถาบั น การศึ ก ษาใช้ กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การตลาดด้ ว ยการโฆษณาและการ ประชาสัมพันธ์ถึงร้อยละ 61 เพื่อเชิญชวนรับสมัคร นักศึกษาใหม่ (Naude & Ivy, 1999) และจากผลการ ศึกษาทีว่ า่ จะแนะน�ำให้คนรูจ้ กั เข้าศึกษาต่อยังสถาบันนัน้ ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของจิรวรรณ กมลมาศรัตน์ (Kamolmasratana, 2002) พบว่า การพูดปากต่อปาก (word of mount) หรือการบอกต่อเป็นเครือ่ งมือสือ่ สาร ที่ดีส�ำหรับการให้ข้อมูลข่าวสารจากรุ่นพี่ไปสู่รุ่นน้อง ญาติ ขั้นตอน กระบวนการการให้บริการด้านต่างๆ ของ สถาบันจากการรับฟังเสียงของผูร้ บั บริการตามการได้รบั จริงของนักศึกษาพบว่าสะดวก ไม่ยุ่งยาก ทั้งนี้อาจเนื่อง มาจากสถาบันได้จดั ท�ำผังการไหลของกระบวนการอย่าง ชัดเจนในขัน้ ตอน กระบวนการให้บริการต่างๆ ในส่วนนี้ ท�ำให้นักศึกษาเกิดความพอใจต่อการรับบริการจาก สถาบัน อีกประการการแจ้งข้อมูลข่าวสารของนักศึกษา ใช้วิธีส่งข้อความสั้น (sms) ท�ำให้นักศึกษาได้รับทราบ ข้อมูลที่รวดเร็วและด�ำเนินการในขั้นตอน กระบวนการ ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องซึ่งสอดคล้องกับการวิจัยของคริพ (Krip, 2004) เกี่ยวกับการได้รับข้อมูล และการด�ำเนิน การในขั้นตอนต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง จากการรับฟังเสียงของผู้รับบริการจากการได้รับ จริงด้านสิง่ ทีส่ ามารถจับต้องได้ สัมผัสได้ การตอบสนอง ในด้านนี้ของสถาบันท�ำให้เกิดการประทับใจตั้งแต่แรก เห็นได้ (at first sight) กล่าวคือ อาคารเรียนมีการ ออกแบบ ตกแต่ง ที่แตกต่างจากสถาบันการศึกษาอื่นๆ ซึ่ง เลิฟล๊อค และคณะ (Lovelock et al., 2002) กล่าว ว่ า สิ่ ง เหล่ า นี้ จ ะท� ำ ให้ ผู ้ ที่ พ บเห็ น สามารถจดจ� ำ และ ประทับใจได้ทันที อย่างไรก็ตามจากการรับฟังเสียงของผู้รับบริการ จากการได้รบั จริงของนักศึกษา ช่วยให้สถาบันการศึกษา ทราบถึงจุดอ่อน จุดแข็ง สามารถน�ำมาปรับปรุง พัฒนา ให้เป็นสถาบันการศึกษาทีม่ คี ณ ุ ภาพ การรับฟังเสียงของ ผูร้ บั บริการนัน้ สถาบันการศึกษาสามารถแยกท�ำในแต่ละ

47

หน่วยงานหรือจะด�ำเนินการพร้อมกันทุกหน่วยงานก็ได้ การปรับปรุงหรือพัฒนาสิ่งใดก็ตามเมื่อพัฒนาอย่างต่อ เนื่องโดยการรับฟังความคิดเห็นด้านต่างๆ ของผู้รับ บริการถือเป็นข้อมูลส�ำคัญต่อการพัฒนาสถาบันให้เป็น สถาบันการศึกษาที่มีชื่อเสียง เป็นที่ยอมรับ ข้อค้นพบที่ ได้เป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนา ปรับปรุง การด�ำเนินการ ด้านส่วนประสมการตลาดเพื่อให้การจัดการเรียนการ สอนของสถาบันการศึกษามีความเชื่อมโยงกับธุรกิจ ด�ำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพและได้รับประสิทธิผล สู ง สุ ด สามารถเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ประกอบกับการสนองตอบต่อภาวะการแข่งขันของการ จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่เพิ่มขึ้น ข้อเสนอแนะด้านการตอบสนองปัจจัยส่วนประสม การตลาดของมหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง องค์ ก รธุ ร กิ จ : การ ตอบสนองปัจจัยส่วนประสมการตลาดด้านบริการ (7P’s) ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ การด� ำ เนิ น กิ จ การด้ า นการศึ ก ษา การจัดการศึกษา สถาบันการศึกษาควรให้ความส�ำคัญ โดยการรับฟังเสียงของผู้รับบริการเพื่อรับฟังความคิด เห็ น ของผู ้ รั บ บริ ก ารเพื่ อ เป็ น ข้ อ มู ล ส�ำ หรั บ การพั ฒ นา ปรับปรุงสถาบันให้เป็นที่รู้จัก เป็นที่ยอมรับ เป็นสถาบัน การศึกษาทีม่ คี ณ ุ ภาพ ส�ำหรับสถาบันการศึกษาทีม่ คี วาม เชื่อมโยงกับธุรกิจการตอบสนองปัจจัยส่วนประสมการ ตลาดต้องพิจารณาความเหมาะสมกับการเป็นองค์กร ที่เป็นองค์กรด้านการศึกษาด้วยและยังมีความเชื่อมโยง กับธุรกิจด้วย และอีกประการสถาบันการศึกษาถือเป็น องค์ ก รที่ ไ ม่ แ สวงหาก� ำ ไร โดยสถาบั น การศึ ก ษาที่ มี ความเชื่ อ มโยงกั บ ธุ ร กิ จ ต้ อ งเตรี ย มความพร้ อ มตาม แนวทาง ดังนี้ (1) แต่ละหน่วยงานภายในของสถาบันการศึกษา ควรให้ความรู้แก่บุคลากรและตระหนักถึงความส�ำคัญ ต่อการให้บริการในแต่ละด้านโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในส่วน ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาและส่วนที่ต้องติดต่อ ประสานงานกับนักศึกษาโดยตรง (2) สถาบันควรสนับสนุนกิจกรรมด้านกีฬาและเพิม่ สถานที่ออกก�ำลังกายให้กับนักศึกษาเพื่อเป็นการเสริม

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


48

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

สร้างสุขภาพพร้อมกับสร้างความสามัคคีภายในสถาบัน อีกด้วย (3) สถาบันควรพิจารณาจัดสร้างสถานทีส่ ำ� หรับการ ปฏิบัติศาสนกิจและจัดหาการบริการด้านร้านอาหาร ส�ำหรับชาวมุสลิม

(4) สถาบันควรพิจารณาเพิ่มกิจกรรมการด�ำเนิน การส่งเสริมการตลาดด้วยการเพิ่มช่องทางการสื่อสาร ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ให้กับนักศึกษาและบุคคลทั่วไป อีกทั้งเป็นการสร้างภาพลักษณ์ให้สถาบันเป็นที่รู้จัก โดยทั่วไป

บรรณานุกรม

จิรวรรณ ดีประเสริฐ. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกสถาบันอุดมศึกษาของนักเรียนและนักศึกษา. สืบค้นเมื่อ 29 มกราคม 2552, จาก http://research.siam.edu/file/factors_influencing.pdf เจตนา สุขเอนก. (2552). ปัจจัยส่วนประสมการตลาดทีม่ อี ทิ ธิพลต่อนักศึกษาชัน้ ปีที่ 1 ในการตัดสินใจเลือกมหาวิทยาลัย เอกชนเพื่อเข้าศึกษาต่อ (กรณีศึกษาเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานคร). มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น. ฉัตราพร เสมอใจ. (2549). การจัดการและการตลาดบริการ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. ณตา ทับทิมจรูญ. (2552). การพัฒนาส่วนประสมการตลาดด้วยวิธีการเทียบรอยคุณภาพของสถาบันเทคโนโลยี นานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการคุณภาพ, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. ทิพยรัตน์ สีเพชรเหลือง. (2545). รูปแบบและกลยุทธ์การจัดตัง้ มหาวิทยาลัยบรรษัทในประเทศไทย. ปริญญาครุศาสตร ดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ธีรกิติ นวรัตน ณ อยุธยา. (2547). การตลาดส�ำหรับการบริการ: แนวคิดและกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ธีรุตย์ กนกธร. (2553). การรับรู้สื่อดิจิตอลของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในมุมมองของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ชั้นปีที่ 6 ในภาคตะวันออก. หลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ยุพาวรรณ วรรณวาณิชย์. (2549). การตลาดบริการ. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์. (2554). รายงานประจ�ำปีสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์. กรุงเทพมหานคร. สดใส คุณวิศาล. (2548). การวิเคราะห์องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อรูปแบบการฝึกอบกรมของมหาวิทยาลัยบรรษัท: กรณีศึกษาสถาบันวิชาการ ทีโอที. ปริญญาครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี. สมภพ มานะรังสรรค์. (2554). การบรรยายเรื่องบทบาทสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ในรูปแบบ corporate university. หอประชุมสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์. 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2554. สมหมาย เปียถนอม. (2551). ความพึงพอใจของนักศึกษาในการได้รับบริการจากมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. สืบค้นเมื่อ 16 กันยายน 2554, จาก http://home.npru.ac.th/sommay/ebooks/book.pdf อดุลย์ จาตุรงคกุล. (2542). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. Adams, T. & Viens, H. (2007). Art, Science or Both: What is voice of the customer? Retrieved August 8, 2007, from what%20%20voice%2000%20the%20customer[1].pdf Allen, M. (1999). Assessing effectiveness in four corporate universities. Dissertation Graduate School, University of Southern California. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

49

Amano, I. (1997). Structural changes in Japan’s higher education system from a planning to a market model. Kluwer Academic Publishers, Printed in the Netherland, Higher Education, 34, 125-139. Barley, K. L. (1998). Adult learning in the workplace: a conceptualization and model of corporate university. Master’s Thesis, Faculty of Virginia Polytechnic Institute and State University. Bateman, T. S. & Snell, S. A. (2007). Management: leading and collaborating in a competitive world (7th ed.). New York: McGraw Hill. Binsardi, A. & Ekwulugo, F. (2003). International marketing of British education: research on the student’ perception and the UK market penetration. Marketing Intelligence & Planning. 21(5), 318-327. Bratianu, C. (2008). Strategies for Lifelong Learning and Organizational Knowledge. Review of International Comparative Management, 9(2), 5-15. Chapleo, C. (2004). Interpretation and Implementation of Reputation/ Brand Management by UK University Leaders. International Journal of Educational Advancement, 5(1), 7-23. Croteau, A. & Li, P. (2003). Critical success factors of CRM technological initiatives. Canadian Journal of Administrative Sciences, 1(1), 21-34. Du Plesie & Pouseau, (2005). Buyer Behavior: a multi culture approach. (3rd ed.). Oxford. Frumkin, P. & Kim, M. T. (2001, May/June). Strategic positioning and the financing of nonprofit organizations: is efficiency rewarded in the contributions marketplace?. Public Administration Review, 61(3), 266-275. Garlick, S. & Pryor, G. (2004). Benchmarking the University: Learning about Improvement Department of Education Science of Training. Gitlow, H. S., Oppenheim, A. & Oppenheim, R. (2005). Quality Management. Boston: McGraw Hill. Gomes, L. & Murphy, J. (2003). An exploratory study of marketing international education online. The International Journal of Education Management, 17(3), 116-125. Griffin, A. & Hauser, J. R. (1993). The voice of the customer. Marketing Science, 12(1), 1-27. Harson, W. (2000). Principles of internet marketing. Cincinnati, OH: South-Western College of Publishing. Hawkings, A. G. & Frohoff, K. M. (2009). Promoting the academy – the challenges of marketing higher education. Research in Higher Education Journal, 7, 50-63. Hoakins, D.I. Best, R.J. & Coney, K.A. (20021). Consumer benchmarking: building marketing strategy. (8th ed.). NY: McGraw Hill. Hemsley-Brown, J. & Oplatka, I. (2006). Universities in a Competitive Global Marketplace. International Journal of Public Sector Management, 4(19). 314-338. Huismam, J. (2007). Images and Word: how do UK universities present themselves on the internet? In Stensaker B. and D’Andres V. (eds.) Branding in Higher Education. Exploring an Emerging Phenomenon, EAIR Series Research. Policy and Practice in Higher Education, 14-35. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


50

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Holdford, D. & Reinders, T. P. (2001). Development of an instrument to assess student perceptions of the quality of pharmaceutical education. American Journal of pharmaceutical education., 15 summer. Ivy, J. (2001). Higher education institution image: A correspondence analysis approach. The International Journal of Education Management, 15(6), 276-282. Ivy, J. & Fattal, E. A. (2010). Marketing private EFL Programs in Damascus. TESOL Journal, 2, 130-143. Kamolmasratana, J. (2002). An application of marketing in higher education in Thailand: A case study of private universities. Unpublished doctoral Dissertation, Graduate College of the Oklahoma State University, USA. Kantanen, H. (2007). Do we live up to our brand proposition? Organizational identity, universities image and stakeholders perspective in B. and D’Andrea V. (eds.) Branding in Higher Education. Exploring an Emerging Phenomenon, EAIR Series Research. Policy and Practice in Higher Education, 56-72. Karmkostas, B., Kardsras, D. & Papthanassiou, E. (2005). The state of CRM adoption by the financial services in the UK: An empirical investigation. Information & Management, 42(4), 853-863. Kinnell, M. (1989). International marketing in UK higher education: Some issues in relation to marketing educational programs to overseas students. European Journal of Marketing, 23(5), 7-21. Kotler, P. (2003). Marketing management (11th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice- hall. Kotler, P. & Armstrong, G. (2004). Principles of marketing (10th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prenticehall. Kotler, P. & Fox, K. (1995) Strategic marketing for educational institutions (2nd ed). Upper Saddle River, NJ: Prentice – hall. Kotler, P. & Keller, K. L. (2006). Marketing management (12th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prenticehall. Krip, D. L. (2004). Shakespeare, Elnstein and the bottom line: The marketing of higher education. The International Journal of Education management, 18(7), 445-456. LaDove, B. (2005). Leveraging the voice of the customer. Retrieved September 29, 2006, from http:// www.ladoveassociates.com.415.776.0613 Leggett, K. (2006, January). Financial education: credit union monitor. ABA Bankers News, 14(3), 4. Lehmann, D. R. & Winer R. S. (2003). Product management (International ed.). New York: McGraw Hill. Lovelock, C. H. & Wright, L. K. (2004). Principles of services marketing and management. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall. Lovelock, C. H. Wright, L. K. & Keh H. T. (2002). Services marketing is asia managing people, technology and strategy. Singapore: Prentice Hall. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

51

Maringe, F. & Foskett, N. H. (2002). Marketing university education: The southern African experience. Higher Education Review, 34(3), 35-51. Maringe, F. (2005). Interrogating the crisis in higher education marketing: The CORD model. International Journal of Education Management, 19(7), 564-578. Meister, C. J. (1998). Corporate Universities Lesson in Building a World-Class Work Force. NY: McGraw Hill. Milliron, M. (2001). Touching students in the digital age: The move toward learner relationship management (LRM). Learning Abstracts, 4(1), Retrieved August 1, 2005, from www.leagve. org/publication/abstracts/learning/lelabs0101.htm Moogan, Y. J., Baron, S. & Bainbridge, S. (2001). Timings and trade-offs in the marketing of higher education courses: A conjoint approach. Marketing Intelligence & Planning, 19(3). 179-187. Morris, M. L. & Cojda, B. D. (2001). Integrated marketing in higher education. Retrieved March 19, 2006, from Emerald database. Motekaitiene A., & Juscius V. (2008). Specifics of Marketing in the Higher Education System. Socialimiai tyrimai/social Research, 2(12). 97-103. Naude, P. & Ivy, J. (1999). The marketing strategies of universities in the UK. The International Journal of Educational Management, 13(3), 126-134. Nelson, B. (2003). Market segmentation: The role of futures research. Retrieved August 1, 2005, from www.foreseechange.com/futmktseg.pdf Nicholls, J., Harries, J., Morgan, E., Clarke, K. & Sims, D. (1995). Marketing higher education: The MBA experience. An International Journal of Educational Marketing, 9(3), 31-38. Palmer, A. (2005). Principle of Service Marketing. (4th ed.). England: McGraw Hill. Payne, A. (1995). The essence of services marketing. Journal of Vacation Marketing, 1(1), 109-110. Rafiq, M. & Ahmed, P.K. (1995). Using the 7Ps as a generic marketing mix: An exploratory survey of UK and European marketing academics. Marketing Intelligence & Planning, 13(9), 4-15. Retrieved August 1, 2005, from http://www.emeraldinsight.com/Insight/ViewContentServlet? Filename= Published/EmeraldFullTextArticle/Pdf/0200130901.pdf Rudd, D. & Mills, R. (2008). Expanding Marketing Principles for the Sale of Higher Education. Contemporary Issue in Education Research, Third Quarter, 1(3). Sargeant, A. (1999). Marketing management for nonprofit organizations. London: Oxford University Press. Sargeant, A., Foreman, S. & Liao, M. (2002). Operational zing the marketing concept in the nonprofit sector. Journal of Nonprofit and Public Sector Marketing, 10(2), 41-53. Shriberg, M. P. (2002). Sustainability in U.S. higher education: Organizational factors influencing campus environmental performance and leadership. Unpublished doctoral Dissertation, University of Michigan. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


52

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Soedijati, E. K. & Pratminingsih, S. A. (2011). The Impacts of Marketing Mix on Students Choice of Study Case of Private University in Bandung, Indonesia. (2nd ed.). International Conference on Business and Economic Research (2nd ICBER 2011) Proceeding. Temple, P. & Shattock, M. (2007). What does Branding mean in higher education?. In Stensaker B. and D’ Andrea V. (eds.) Branding in Higher Education. Exploring an Emerging Phenomenon, EAIR Series Research. Policy and Practice in Higher Education, 73-82. The Chatered Institute of Marking. (2004). Marketing mix. Retrieved March 29, 2006, from http:// www.cim.co.uk Von, E. & Wang, J. (2003). Customer analysis for software xplore-erom data mining to marketing strategy. Retrieved March 30, 2006, from Springer database. Voss, R., Gruber, T. & Szming, I. (2007). Service Quality in Higher Education: The role of student expectations. Journal of Business Research, doi: 10.1016/j.jbusres.2007.01.020 Woodruffe, H. R. (1995). Methodological issues in consumer research toward a feminist perspective. Marketing Education Group Proceeding of the 1995 Annual Conference, 2, 881-888 Zeithaml, V. & Bitner, M. (2000). Service marketing: Integrating customer focus across the firm (2nd ed.). Boston: Mcgraw-Hill.

Translated Thai References

Deeprasert, J. (2008). Factors Affecting Student Selection of Higher Education. Retrieved January 29, 2009, from http://research.siam.edu/file/factors_influencing.pdf [in Thai] Chaturongkhakul, A. (1999). Principles of Marketing. Bangkok: Thammasat University Publish. [in Thai] Kanokthon, T. (2010). Private Universities’ Digital Media Perception of Senior Higher School Students in Eastern Region of Thailand. Unpublished Master Thesis, Srinakharinwirot University, Bangkok. [in Thai] Khunvisal, S. (2005). Analysis of the Influence Training Model of Corporate University: A Case Study of TOT Academy. Unpublished Master Thesis, King Mongkut’s Institute of Technology. [in Thai] Manarangsan, S. (2011). Panyapiwat Institute of Management Role in Corporate University. Panyapiwat Institute of Management Convention Hall. May 16, 2011. [in Thai] Nawarat Na Ayudtaya, T. (2004). Services Marketing: Concepts and Strategies. Bangkok: Chulalongkorn University Publish. [in Thai] Panyapiwat Institute of Management. (2011). Panyapiwat Institute of Management Annual. Bangkok. [in Thai] Pieterthanom, S. (2008). Satisfaction of Students to be Served by Nakhon Pathom Rajaphat University. Retrieved September 16, 2011, from http://home.npru.ac.th/sommay/ebooks/book.pdf [in Thai] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

53

Samerjai, C. (2006). Service Marketing and Management. Bangkok: Se-Education. [in Thai] Sriphetluang, T. (2002). Model and Strategies Established Corporate University in Thailand. Unpublished Doctoral Dissertation. Chulalongkorn University, Bangkok. [in Thai] Suk-nake, C. (2009). The Marketing Factors that Influence the First Year Students in Demining to Further their Studies in Private Universities. (A Case Study in Bangkok). St’ John University, Bangkok. [in Thai] Tubtimcharoon, N. (2009). The Development of Marketing Mix Through Benchmarking: Sirindhron International Institute of Technology, Thammasat University. Unpublished Doctoral Dissertation, Suan Sunandha Rajabhat University, Bangkok. [in Thai] Vannavanit, Y. (2006). Services Marketing. Bangkok: Kasetsart University Publish. [in Thai]

Nata Tubtimcharoon received her Ph.D. in Quality Management from SuanSunandhaRajabhat University, in 2009. She is currently a full time lecturer in Faculty of Business Administration and Director of Academic Affairs Office, Panyapiwat Institute of Management. Her research interests are in the areas of benchmarking, marketing mix, service marketing, and process improvement.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


54

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าของสินค้าหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ระดับ 5 ดาว ประเภทอาหารในจังหวัดนครศรีธรรมราช VALUE CHAIN ANALYSIS OF FOOD FIVE-STAR RATING ONE TAMBON ONE PRODUCT IN NAKHONSITHAMMARAT PROVINCE เจษฎา นกน้อย1 และสัญชัย ลั้งแท้กุล2 Chetsada Noknoi1 and Sunchai Langthaekun2 บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าของสินค้าหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ระดับ 5 ดาว ประเภทอาหารในจังหวัดนครศรีธรรมราช และ 2) พัฒนาแนวทางในการด�ำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการสินค้าหนึ่ง ต�ำบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์ในจังหวัดนครศรีธรรมราชโดยเก็บข้อมูลจากประธานกลุม่ วิสาหกิจชุมชนประเภทอาหารในจังหวัด นครศรีธรรมราช ที่สินค้าได้รับการคัดสรรเป็นสุดยอดหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ระดับ 5 ดาว ระดับประเทศปี 2553 ด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกการวิเคราะห์ขอ้ มูลใช้การวิเคราะห์เนือ้ หา ผลการวิจยั พบว่า ผูป้ ระกอบการควรด�ำเนิน การดังต่อไปนี้ 1) ควรขนส่งวัตถุดิบด้วยตัวเอง 2) ควรมีสถานที่เก็บรักษาวัตถุดิบที่ได้มาตรฐาน 3) ควรหาแนวทาง แก้ปัญหาการผลิตสินค้าเกษตร 4) ควรวางแผนการผลิตอย่างรัดกุม 5) ควรคิดค้นและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ 6) ควรหา ผู้ขายปัจจัยการผลิตหลายๆ ราย 7) ควรฝึกอบรมเทคโนโลยีใหม่แก่พนักงาน 8) ควรน�ำหลักการจัดการความรู้มาใช้ 9) ควรเพิ่มช่องทางการจัดจ�ำหน่าย และ 10) ควรให้ความส�ำคัญกับการบริการลูกค้า ค�ำส�ำคัญ: การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า สินค้าหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช

Abstract

The main purposes of this research are to 1) analyze the value chain of the five-star food rating One Tambon One Product (OTOP) in Nakhonsithammarat province, and 2) develop the business guideline of OTOP entrepreneurs in Nakhonsithammarat province. The data was collected from presidents of community enterprises in Nakhonsithammarat province whose products were selected as five-star food products of the OTOP project in 2010. In-depth interviews were conducted. Content analysis was used to analyze data. The results showed that the community enterprise should 1) transport material themselves, 2) establish a standardized storage place, 3) find solutions to the problems of agricultural production, 4) carry out effective production planning, 5) place an emphasis 1 ผูช ้ ว่ ยศาสตราจารย์ คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ, Assistant Professor Economics and Business Administration

Faculty, Thaksin University, E-mail: cnoknoi@hotmail.com

2 อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ, Lecturer Institution: Economics and Business Administration Faculty,

Thaksin University, E-mail: sunchai.l@hotmail.com

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

55

on product development, 6) find vendors across multiple inputs, 7) provide technology training for employees, 8) use knowledge management principles, 9) increase the distribution channels, and 10) pay more attention to customer service demands. Keywords: Value Chain Analysis, One Tambon One Product, Nakhonsithammarat Province

บทน�ำ

ธุรกิจชุมชนเป็นหนึ่งในกิจกรรมการพัฒนาชุมชน ที่ มี ห ลากหลายแนวทางหลั ง วิ ก ฤตเศรษฐกิ จ ในปี พ.ศ. 2540 กิจกรรมนี้ดูจะกลายเป็นความหวังในการ ฟืน้ ฟูเศรษฐกิจชุมชนจนถึงกับมีการประกาศให้เป็นหนึง่ ในยุทธศาสตร์เศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเองของกระทรวง มหาดไทย (มงคล ด่านธานินทร์, 2541) และไม่เพียงแต่ ทางราชการเท่านัน้ นักวิชาการและองค์กรพัฒนาเอกชน ก็คาดหวังให้ธรุ กิจชุมชนเป็นตัวน�ำในการท�ำให้ชมุ ชนเข้ม แข็งขึ้นด้วยการดึงดูดรายได้จากเมืองคืนสู่ชนบทบ้าง และช่วยป้องกันมิให้เกิดการแลกเปลี่ยนที่ไม่เป็นธรรม มากเกินไป (ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ, 2542) ด้วยหวังว่าจะ เป็นแนวทางหนึ่งในการยกระดับรายได้ ชีวิตความเป็นอยู่ และคุณภาพชีวิตของชาวบ้านในชนบทที่เป็นกลุ่มคน ส่วนใหญ่ของประเทศ แต่กเ็ ป็นกลุม่ คนทีย่ ากจนทีส่ ดุ ของ ประเทศด้วยเช่นกัน หากกลุม่ ชาวบ้านเหล่านีม้ รี ายได้สงู ขึ้นก็จะส่งผลด้านบวกต่อภาวะเศรษฐกิจโดยรวมของ ประเทศ โครงการหนึง่ ต�ำบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์ (One Tambon One Product: OTOP) เป็นโครงการทีร่ ฐั บาลตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็นการสร้างรายได้และส่งเสริมเศรษฐกิจในระดับท้อง ถิน่ เพือ่ ให้ชมุ ชนมีความเข้มแข็งและสามารถพึง่ ตนเองได้ (กรมการพัฒนาชุมชน, 2546) สินค้าหนึ่งต�ำบลหนึ่ง ผลิตภัณฑ์ หรือ OTOP นับเป็นภูมิปัญญาและเป็นส่วน หนึ่งของวิถีชีวิตของชุมชนท้องถิ่น ส่งผลให้เกิดการจ้าง งานและการกระจายรายได้สู่ชุมชน ทั้งยังช่วยพัฒนา ความรู้และคุณภาพชีวิตของคนในท้องถิ่นให้ดีขึ้น โดย เฉพาะอย่างยิ่งในสภาพเศรษฐกิจปัจจุบันสินค้า OTOP มีความส�ำคัญมากยิง่ ขึน้ ทัง้ นีเ้ พราะช่วยกระตุน้ เศรษฐกิจ ของประเทศให้มีการขับเคลื่อน อีกทั้งรัฐบาลก็ให้การ

สนับสนุนการพัฒนาสินค้า OTOP ให้มีคุณภาพและ มาตรฐานสากล เพือ่ ให้สามารถแข่งขันได้ในเวทีโลกและ เติบโตอย่างยั่งยืน (Lungtae & Noknoi, 2012) ดังนั้น เพื่อให้สินค้าหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์มีคุณภาพและ มาตรฐานสู ง ขึ้ น ประสบผลส� ำ เร็ จ ตามนโยบายของ รัฐบาล ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาห่วงโซ่คุณค่าของสินค้า หนึง่ ต�ำบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์ อันประกอบด้วย กิจกรรมหลัก (Primary Activities) ได้แก่ การน�ำเข้าและจัดเก็บ วัตถุดิบ การผลิตสินค้า การจัดส่งและบริหารคลังสินค้า การตลาดและการขายสินค้า การให้บริการหลังการขาย และกิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) ได้แก่ การจัดซื้อ การน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาองค์กร การบริหารทรัพยากรบุคคล และการบริหารโครงสร้าง พื้นฐานขององค์กร ที่ส่งผลให้สินค้าของผู้ประกอบการ สินค้าหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ได้รับการคัดสรรเป็นสุด ยอดหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ระดับ 5 ดาว โดยท�ำการ ศึกษาผู้ประกอบการสินค้าหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ประเภทอาหารในจังหวัดนครศรีธรรมราช เพราะเป็น จั ง หวั ด ที่ มี สิ น ค้ า หนึ่ ง ต� ำ บลหนึ่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ระเภท อาหารมากที่สุดในภาคใต้ เพื่อท�ำให้ทราบปัจจัยที่ท�ำให้ ผลิตภัณฑ์เหล่านัน้ ประสบความส�ำเร็จ ทัง้ นีเ้ พราะสินค้า ประเภทอาหารเป็นสินค้าที่มีความจ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีพ อีกทัง้ มีผปู้ ระกอบการหลายรายทีผ่ ลิตสินค้าออกสูต่ ลาด แต่กม็ ที งั้ ทีป่ ระสบความส�ำเร็จและล้มเหลว ซึง่ ผลการศึกษา ที่ได้จะเป็นแนวทางส�ำหรับผู้ประกอบการในการน�ำไป พัฒนาสินค้าหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ให้มีศักยภาพใน การแข่งขันเพิม่ สูงขึน้ อีกทัง้ จะเป็นประโยชน์ตอ่ หน่วยงาน ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการที่ จ ะช่ ว ยเหลื อ ให้ ผู ้ ป ระกอบการ สามารถด�ำเนินธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


56

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

วัตถุประสงค์

1. เพื่อวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าของสินค้าหนึ่งต�ำบล หนึง่ ผลิตภัณฑ์ระดับ 5 ดาว ประเภทอาหาร อันประกอบ ด้วย กิจกรรมหลัก (Primary Activities) ได้แก่ การ น�ำเข้าและจัดเก็บวัตถุดิบ การผลิตสินค้า การจัดส่ง และบริหารคลังสินค้า การตลาดและการขายสินค้า การ ให้บริการหลังการขาย และกิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) ได้แก่ การจัดซื้อ การน�ำเทคโนโลยีมาใช้ ในการพัฒนาองค์กร การบริหารทรัพยากรบุคคล และ การบริหารโครงสร้างพื้นฐานขององค์กร 2. เพื่ อ พั ฒ นาแนวทางในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของ ผู้ประกอบการสินค้าหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ประเภท อาหารต่อไป

ขอบเขตการวิจัย

ขอบเขตด้านเนื้อหา วิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าของสินค้าหนึ่งต�ำบลหนึ่ง ผลิตภัณฑ์ระดับ 5 ดาว ประเภทอาหาร อันประกอบด้วย กิจกรรมหลัก (Primary Activities) ได้แก่ การน�ำเข้า และจัดเก็บวัตถุดบิ การผลิตสินค้า การจัดส่งและบริหาร คลังสินค้า การตลาดและการขายสินค้า การให้บริการ หลังการขาย และกิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) ได้แก่ การจัดซื้อ การน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนา องค์กร การบริหารทรัพยากรบุคคล และการบริหาร โครงสร้างพื้นฐานขององค์กร ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ด� ำ เนิ น การวิ จั ย ด้ ว ยวิ ธี เชิ ง คุ ณ ภาพกั บ ประธาน กลุ ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนที่ ท� ำ การผลิ ต สิ น ค้ า หนึ่ ง ต� ำ บล หนึง่ ผลิตภัณฑ์ประเภทอาหารในจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่ สิ น ค้ า ได้ รั บ การคั ด สรรเป็ น สุ ด ยอดหนึ่ ง ต� ำ บล หนึ่งผลิตภัณฑ์ระดับ 5 ดาว ระดับประเทศปี 2553 ซึ่ง มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 11 ราย ขอบเขตด้านระยะเวลา เก็บข้อมูลระหว่างวันที่ 1-30 เมษายน 2556

วิธีด�ำเนินการวิจัย

ข้อมูลและแหล่งข้อมูล 1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ได้จากการ สัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) กับ ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่ท�ำการผลิตสินค้าหนึ่ง ต� ำ บลหนึ่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ระเภทอาหารในจั ง หวั ด นครศรีธรรมราชที่สินค้าได้รับการคัดสรรเป็นสุดยอด หนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ระดับ 5 ดาว ระดับประเทศปี 2553 ซึ่งมีจ�ำนวนทั้งสิ้น 11 ราย เพื่อหาข้อมูลกิจกรรม การด� ำ เนิ น งานด้ า นต่ า งๆ ของผู ้ ป ระกอบการ อั น ประกอบด้วยกิจกรรมหลัก (Primary Activities) ได้แก่ การน�ำเข้าและจัดเก็บวัตถุดิบ การผลิตสินค้า การจัดส่ง และบริหารคลังสินค้า การตลาดและการขายสินค้า การ ให้บริการหลังการขาย และกิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) ได้แก่ การจัดซื้อ การน�ำเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาองค์กร การบริหารทรัพยากรบุคคล และการ บริหารโครงสร้างพืน้ ฐานขององค์กร ทีส่ ง่ ผลให้สนิ ค้าของ ผู้ประกอบการสินค้าหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ได้รับการ คัดสรรเป็นสุดยอดหนึง่ ต�ำบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์ระดับ 5 ดาว 2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เป็นข้อมูล ที่ท�ำการศึกษาค้นคว้าจากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กับสินค้าหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบสัมภาษณ์ที่มีโครงร่างค�ำถาม การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยเดินทางไปเก็บข้อมูลยังสถานประกอบการ และร้านค้าของกลุม่ วิสาหกิจชุมชนทัง้ 11 รายในจังหวัด นครศรีธรรมราช

การวิเคราะห์ข้อมูล

ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการสั ม ภาษณ์ แ ละการสั ง เกต พฤติกรรมของผู้ประกอบการ ซึ่งเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดย วิเคราะห์ขอ้ มูลควบคูไ่ ปกับการเก็บข้อมูลภาคสนาม และ น�ำผลการวิเคราะห์มาใช้ในการปรับแนวคิด ตรวจสอบ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

ความถู ก ต้ อ งของข้ อ มู ล และวิ ธี ก ารเก็ บ ข้ อ มู ล ให้ ครบถ้วนเพือ่ เพิม่ ความแม่นย�ำของการวิจยั แล้วจึงน�ำมา แยกเป็ น หมวดหมู ่ ต ามเนื้ อ หาและน� ำ เสนอโดยการ บรรยายสรุปเชิงวิเคราะห์

ผลการวิจัยและอภิปรายผล

ข้อมูลทั่วไปของผู้ประกอบการ การเก็บข้อมูลกลุ่มผู้ประกอบการสินค้าหนึ่งต�ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ระดับ 5 ดาวประเภทอาหารในจังหวัด นครศรีธรรมราช สามารถเก็บข้อมูลได้ครบทั้ง 11 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ลูกจันทน์เทศบ้านสวน จันทน์ 2) กลุ่มผลิตภัณฑ์ส้มโอบ้านบางดุก 3) กลุ่มพริก แกงป้าจัด 4) กลุ่มมะนาวอินทรีย์ 5) กลุ่มปลาดุกร้าท่าซัก 6) กลุ่มผลิตภัณฑ์แกงขมิ้นหนองหงส์ 7) กลุ่มแม่บ้าน เกษตรกรโพธิเ์ สด็จ 8) กลุม่ วิสาหกิจชุมชนอาชีพท�ำขนม ลาบ้านศรีสมบูรณ์ 9) บริษัท ขวัญมุย จ�ำกัด 10) กลุ่ม นายผดุง วงษ์ศิริ และ 11) กลุ่มข้าวอินทรีย์ครบวงจร บ้านยางยวน การด�ำเนินงานในกิจกรรมหลักของธุรกิจ 1. การน�ำเข้าและจัดเก็บวัตถุดิบ พบว่า ผู้ประกอบ การบางส่วนขนส่งวัตถุดิบด้วยตัวเอง ขณะที่บางส่วน ผู้ขายเป็นผู้รับผิดชอบการขนส่งวัตถุดิบ ยานพาหนะ ที่ใช้ในการขนส่งมีทั้งรถยนต์ส่วนตัวและใช้บริการขนส่ง สาธารณะ อย่างไรก็ตามส่วนใหญ่ไม่มีผลกระทบด้าน ค่าใช้จ่ายในการขนส่งวัตถุดิบ เนื่องจากวัตถุดิบหลัก ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ สอดคล้องกับผลการศึกษาของ ปาริชาติ วลัยเสถียร (2540); ศิวรัตน์ กุศล (2548) และ Noknoi, Boripunt & Lungtae (2012) ส่วนวัตถุดิบ ที่อยู่ไกลส่วนใหญ่ผู้ขายจะเป็นผู้รับผิดชอบในการขนส่ง โดยมี เ กณฑ์ ใ นการควบคุ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการขนส่ ง 2 ประการ คือ 1) การส่งวัตถุดบิ มายังแหล่งผลิตได้ทนั เวลา และ 2) วัตถุดิบจะต้องอยู่ในสภาพดี ไม่มีปัญหาด้าน คุณภาพ ทั้งนี้ผู้ประกอบการจะให้ความส�ำคัญกับการ ดูแลการขนส่งวัตถุดิบไม่มากนัก เนือ่ งจากผู้ขายวัตถุดิบ ส่วนใหญ่จัดส่งสินค้าให้กับกลุ่มมานาน ท�ำให้ทราบ

57

เงือ่ นไขในการขนส่งเป็นอย่างดี นอกจากนีผ้ ขู้ ายวัตถุดบิ ส่วนใหญ่ยังอยู่ในพื้นที่ มีระยะทางการขนส่งไม่ไกลนัก ปัญหาที่เกิดขึ้นในการขนส่งวัตถุดิบ คือ การส่งสินค้า ไม่ทันเวลา สินค้าเสียหายระหว่างการขนส่ง มีการ ส่งสินค้าสลับกับผูซ้ อื้ รายอืน่ และปัญหาภัยธรรมชาติ ซึง่ ผู้ประกอบการแก้ปัญหาโดยการร้องเรียนไปยังผู้ขาย และเจรจาขอคืนวัตถุดบิ ทีไ่ ม่เป็นไปตามก�ำหนดสอดคล้อง กับผลการศึกษาของบุษกร นุเกตุ (2548) ที่หากวัตถุดิบ ไม่ได้มาตรฐานจะคืน ณ จุดรับซื้อ ส�ำหรับการตรวจรับ วัตถุดิบนั้น ทุกรายมีเกณฑ์ในการตรวจรับวัตถุดิบและ ปัจจัยการผลิต โดยจะเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน คุ ณ ภาพที่ ต ้ อ งการ ผลการศึ ก ษาของบุ ษ กร นุ เ กตุ (2548) พบว่า ผู้ประกอบการส่วนใหญ่มีการตรวจสอบ วัตถุดิบ ณ จุดรับซื้อ นอกจากนี้ยังมีการควบคุมตั้งแต่ กระบวนการผลิต และมีการตรวจวิเคราะห์กอ่ นตัดสินใจ ซื้อวัตถุดิบหลักที่มีค วามส�ำคัญต่อกระบวนการผลิต ผู้ประกอบการจัดเก็บวัตถุดิบประเภทสินค้าทั่วไปหรือ ปัจจัยการผลิตไว้ในโรงเรือนที่อากาศถ่ายเท ไม่มีความชื้น ส่วนวัตถุดิบที่เป็นสินค้าสดจะเก็บในตู้แช่หรือตู้เย็น ที่ควบคุมอุณหภูมิ แต่การเก็บวัตถุดิบจะเก็บไว้ไม่นาน ส่วนใหญ่จะน�ำเข้าสู่กระบวนการผลิตทันทีที่วัตถุดิบ มาถึง โดยมีคา่ ใช้จา่ ยในการเก็บรักษาวัตถุดบิ ทีเ่ ป็นตัวเงิน คือ ค่าไฟฟ้าในการควบคุมอุณหภูมสิ ำ� หรับวัตถุดบิ ทีเ่ ป็น ของสด ส่วนอาคารสถานทีไ่ ม่ได้คดิ เป็นตัวเงิน เนือ่ งจาก เห็ น ว่ า มี อ ยู ่ แ ล้ ว และมี ค ่ า ความเสี ย หายของสิ น ค้ า ที่จัดเก็บบ้างเล็กน้อย ทั้งนี้มีปัญหาเกิดขึ้นระหว่างการ ตรวจรับวัตถุดิบน้อยมาก ได้แก่ สินค้าส่งมาไม่ตรงกับที่ สั่ง และสินค้าตกหล่นขณะตรวจรับ ปัญหาด้านการเก็บ รักษาวัตถุดบิ มีไม่มาก เนือ่ งจากผูป้ ระกอบการส่วนใหญ่ เมื่อวัตถุดิบเข้ามาจะน�ำไปผลิตทันที จะมีปัญหาอยู่บ้าง ในเรื่องของสัตว์กัดกิน และการวางซ้อนทับกันท�ำให้ สินค้าเสียหาย ผู้ประกอบการที่พบปัญหาจะมีวิธีแก้ ปัญหาโดยการอบรมให้พนักงานระมัดระวังในการตรวจ รับวัตถุดบิ และก�ำหนดเกณฑ์ในการวางวัตถุดบิ ซ้อนทับ กัน ผู้ประกอบการส่วนใหญ่มีวิธีการจัดการวัตถุดิบ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


58

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

คงคลัง โดยมีการวางแผนในการสั่งซื้อให้พอดีกับความ ต้องการ สอดคล้องกับผลการศึกษาของบุษกร นุเกตุ (2548) และเมือ่ วัตถุดบิ มาถึงก็นำ� เข้าสูก่ ระบวนการผลิต ทันที เพื่อให้วัตถุดิบยังคงความสด เพราะจะมีผลต่อ คุณภาพของสินค้า ส่วนวิธีการจัดเก็บจะแยกประเภท สินค้าทั่วไปกับสินค้าสด ทั้งนี้ผู้ประกอบการส่วนใหญ่มี วิ ธี ก ารควบคุ ม วั ต ถุ ดิ บ ให้ เ พี ย งพอต่ อ ความต้ อ งการ ยกเว้ น วั ต ถุ ดิ บ ที่ ข าดแคลนจะเก็ บ เป็ น สิ น ค้ า คงคลั ง ผู้ประกอบการมีวิธีการและขั้นตอนในการน�ำวัตถุดิบ เข้าสู่กระบวนการผลิตแตกต่างกันตามแต่สินค้าที่ผลิต ผู ้ ป ระกอบการส่ ว นใหญ่ ไ ม่ มี ป ั ญ หาเรื่ อ งการจั ด การ วัตถุดิบคงคลัง เพราะน�ำวัตถุดิบเข้าสู่กระบวนการผลิต ทันที และเป็นการผลิตตามค�ำสั่งซื้อ สอดคล้องกับ ผลการศึกษาของภิตินันท์ อินมูล (2554) 2. การผลิตสินค้า พบว่า ผูป้ ระกอบการมีสนิ ค้าค่อน ข้างหลากหลาย ส่วนใหญ่จ�ำหน่ายสินค้าเพียงชนิดเดียว แต่ส�ำหรับกลุ่มที่มีการด�ำเนินงานมานานจะมีจ�ำนวน รายการสินค้าเพิม่ มากขึน้ สอดคล้องกับเดชรัต สุขกําเนิด (2542) ที่กล่าวว่าเป็นเรื่องที่มีความสําคัญมากตอความ อยู  ร อดและความสํ า เร็ จ ของธุ ร กิ จ ชุ ม ชนทั้ ง นี้ เ พราะ เป็นการเปลี่ยนคุณลักษณะของสินคาใหตรงกับความ ตองการของผูบริโภค เช่นเดียวกับทิพย์วิมล อุ่นป้อง (2550) และ Noknoi, Boripunt & Lungtae (2012) ที่ ก ล่ า วว่ า ผู ้ ป ระกอบการต้ อ งมี ก ารพั ฒ นารู ป แบบ ผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดอีกทัง้ ยังเป็นการเพิ่มทางเลือกให้แก่ลูกค้า โดยควรมีการ ประยุกต์ภูมิปัญญาให้เข้ากับความร่วมสมัยเพื่อเพิ่ม มูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ ทั้งนี้ผู้ประกอบการมีวิธีการและ ขัน้ ตอนการผลิตทีแ่ ตกต่างกันตามแต่ประเภทของสินค้า ทีผ่ ลิต โดยแต่ละกลุม่ จะมีความเชีย่ วชาญในสินค้าทีผ่ ลิต และมี วิ ธี ก ารควบคุ ม กระบวนการผลิ ต ให้ มี คุ ณ ภาพ สอดคล้องกับผลการศึกษาของจิตต์ใส แก้วบุญเรือง (2546); บุษกร นุเกตุ (2548) และ Noknoi, Boripunt & Lungtae (2012) ขณะที่ผลการศึกษาของวสันต์ เสือข�ำ (2547) พบว่า ผู้ประกอบการส่วนใหญ่มีการ

จัดตัง้ แผนกวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนึ้ เพือ่ รับผิดชอบ เกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยตรง แต่ต่างกับผลการ ศึกษาของอัญชลี พูนชัย (2547) ที่พบว่าผู้ประกอบการ ทั้งหมดไม่มีการจัดตั้งแผนกวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ขึ้นมารับผิดชอบโดยตรง แต่จะให้ความส�ำคัญกับการ พัฒนาผลิตภัณฑ์และท�ำการพัฒนาผลิตภัณฑ์ดว้ ยตนเอง โดยอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่น ทั้งนี้พบปัญหาในการผลิต ที่ แ ตกต่ า งกั น โดยกลุ ่ ม ที่ ผ ลิ ต สิ น ค้ า เกษตรจะได้ รั บ ผลกระทบจากสภาพดินฟ้าอากาศ รวมถึงศัตรูพืชและ โรคพืช สอดคล้องกับผลการศึกษาของบุษกร นุเกตุ (2548) และ Noknoi, Boripunt & Lungtae (2012) ส่วนกลุ่ม ทีน่ ำ� วัตถุดบิ ต่างๆ มาแปรรูปเป็นสินค้าจะประสบปัญหา วัตถุดบิ ไม่เพียงพอ เครือ่ งจักรเสีย ก�ำลังการผลิตไม่เพียง พอในบางช่วง และขาดวิธีการควบคุมกระบวนการผลิต ที่ท�ำให้สินค้ามีคุณภาพคงเดิม สอดคล้องกับผลการ ศึกษาของจิตต์ใส แก้วบุญเรือง (2546); บุษกร นุเกตุ (2548); ศิวรัตน์ กุศล (2548) และ Noknoi, Boripunt & Lungtae (2012) โดยแต่ละกลุม่ มีวธิ ใี นการจัดการกับ ปัญหาที่เกิดขึ้นแตกต่างกัน ตั้งแต่ใช้วิธีแก้ปัญหาแบบ ง่ายๆ ด้วยการวางแผนการผลิต (พัลลภา สินธุวารินทร์, 2545) จนกระทั่งอาศัยนักวิชาการที่มีความเชี่ยวชาญ เฉพาะด้านเข้ามาช่วยสอดคล้องกับผลการศึกษาของ ธนาวิทย์ บัวฝ้าย (ม.ป.ป.) และอัญชลี พูนชัย (2547) ที่กล่าวว่า ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ได้รับการช่วยเหลือ จากหน่วยงานราชการในการให้คำ� ปรึกษาและค�ำแนะน�ำ ในด้านการจัดการ ด้านการผลิต ด้านการตลาด และด้าน การเงิน นอกจากนี้ยังได้รับความช่วยเหลือจากภาค เอกชนในท้องถิน่ ทางด้านการเงินและสนับสนุนอุปกรณ์ การผลิต 3. การจัดส่งและบริหารคลังสินค้า พบว่า ผูป้ ระกอบ การเก็บสินค้าพร้อมจ�ำหน่ายไว้ในบรรจุภณ ั ฑ์อย่างดี เพือ่ ป้องกันไม่ให้สนิ ค้าเสียหายและยืดอายุของผลิตภัณฑ์ให้ นานขึน้ รวมถึงต้องการให้ผลิตภัณฑ์มคี ณ ุ ภาพดี ส�ำหรับ วิธีควบคุมปริมาณและคุณภาพสินค้าพร้อมจ�ำหน่ายนั้น กลุ ่ ม ที่ ผ ลิ ต พื ช ผลทางการเกษตรจะควบคุ ม ปริ ม าณ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

ได้ยาก เนือ่ งจากมีระยะเวลาในการผลิตนาน และยังขึน้ อยู่ กั บ ฤดู กาลและสภาพดินฟ้าอากาศด้วย ส่วนกลุ่มที่ ผลิตสินค้าประเภทอื่นจะสามารถควบคุมปริมาณและ คุณภาพของสินค้าได้ง่ายกว่า โดยจะผลิตตามค�ำสั่งซื้อ และเก็บเป็นสินค้าคงคลังเพียงเล็กน้อยเท่านัน้ สอดคล้อง กับผลการศึกษาของบุษกร นุเกตุ (2548) และ Noknoi, Boripunt & Lungtae (2012) ส�ำหรับรูปแบบบรรจุ ภัณฑ์ของสินค้านั้น มีลักษณะต่างๆ ได้แก่ ถุง ขวดแก้ว และกล่องกระดาษ โดยมีการออกแบบเพื่อให้ปลอดภัย ต่อสินค้าและมีเอกลักษณ์เพือ่ ดึงดูดลูกค้าและเพิม่ มูลค่า ให้กบั ผลิตภัณฑ์ สอดคล้องกับผลการศึกษาของภิตนิ นั ท์ อินมูล (2554) ขณะที่วสันต์ เสือข�ำ (2547) เสนอว่า บรรจุภัณฑ์ควรมีลักษณะโดดเด่นและได้มาตรฐาน ทั้งนี้ เพราะผลการศึกษาของบุษกร นุเกตุ (2548) พบว่า บรรจุภณ ั ฑ์ของผูป้ ระกอบการส่วนใหญ่มกั ท�ำแบบง่ายๆ ไม่ได้มาตรฐาน ผู้ประกอบการเกือบทั้งหมดพยายาม ไม่เก็บสินค้าคงคลัง โดยจะผลิตตามค�ำสั่งซื้อ สอดคล้อง กับผลการศึกษาของจิตต์ใส แก้วบุญเรือง (2546) และ ภิตินันท์ อินมูล (2554) หรือถ้าผลิตเผื่อจะผลิตใน ปริมาณน้อย แล้วขายให้ได้โดยเร็วทีส่ ดุ ส่วนกลุม่ ทีม่ กี าร ผลิตสินค้าที่สามารถเก็บเป็นสินค้าคงคลังได้จะมีวิธีการ เก็บรักษาสินค้าให้มีคุณภาพดี ไม่เสียหายหรือสูญหาย ระหว่างการจัดเก็บ ผูป้ ระกอบการส่วนใหญ่ไม่พบปัญหา ในการจัดการสินค้าคงคลัง มีเพียงส่วนน้อยที่พบปัญหา คือ สินค้าเสียหายระหว่างการจัดเก็บซึ่งเกิดจากไฟตก การวางสินค้าซ้อนทับกัน หรือมีสัตว์มากัดกิน ขณะที่ ผลการศึกษาของ Noknoi, Boripunt & Lungtae (2012) พบว่า ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ประสบปัญหา สินค้าเก็บไว้ไม่ได้นาน 4. การตลาดและการขายสินค้า พบว่า มีกลุ่มลูกค้า ทั้งในระดับท้องถิ่นในประเทศและต่างประเทศ โดย ผลการศึกษาของจิตต์ใส แก้วบุญเรือง (2546) พบว่า กลุ่มลูกค้าจะมาจากต่างจังหวัดและเป็นนักท่องเที่ยว มากที่สุด สอดคล้องกับผลการศึกษาของบุษกร นุเกตุ (2548) ส่วนช่องทางการจัดจ�ำหน่ายจะขายผ่านทีท่ ำ� การ

59

ของกลุ่ม และในงานแสดงสินค้า สอดคล้องกับผลการ ศึกษาของจิตต์ใส แก้วบุญเรือง (2546) ขณะที่บางกลุ่ม มีตัว แทนขายหรือใช้วิธีฝ ากขายในร้านค้าในจังหวัด สอดคล้องกับผลการศึกษาของอัญชลี พูนชัย (2547) ทัง้ นีผ้ ปู้ ระกอบการส่วนใหญ่ตดิ ต่อกับลูกค้าทางโทรศัพท์ รองลงมาเป็นการติดต่อผ่านสังคมออนไลน์ และติดต่อ ณ ทีท่ ำ� การกลุม่ ซึง่ ผลการศึกษาของ Noknoi, Boripunt & Lungtae (2012) พบว่า ผูป้ ระกอบการมีวธิ กี ารติดต่อ กับลูกค้าแตกต่างกัน โดยมีเป้าหมายทีจ่ ะขยายฐานและ รักษาลูกค้า (บุษกร นุเกตุ, 2548) ผู้ประกอบการใช้ วิธีการตั้งราคาตามกลุ่มลูกค้าและคุณภาพของสินค้า โดยขึ้นอยู่กับต้นทุนการผลิตและเปรียบเทียบกับสินค้า ชนิดเดียวกันในท้องตลาด สอดคล้องกับผลการศึกษา ของจิตต์ใส แก้วบุญเรือง (2546); บุษกร นุเกตุ (2548) และไพฑูรย์ ภิระบัน (2550) ทั้งนี้ ทิพย์วิมล อุ่นป้อง (2550) เสนอว่า ควรมีการจัดท�ำบัญชีอย่างเป็นทางการ เพือ่ ให้สามารถน�ำข้อมูลทางการเงินทีไ่ ด้มาก�ำหนดราคา ได้อย่างแท้จริง เกือบครึ่งหนึ่งของผู้ประกอบการไม่พบ ปั ญ หาในการซื้ อ ขาย ส่ ว นที่ เ หลื อ พบปั ญ หาการไม่ สามารถผลิตสินค้าได้เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้า ช่องทางในการจ�ำหน่ายไม่ทวั่ ถึง การบริการไม่ดี และการ แข่งขันและตัดราคากัน สอดคล้องกับผลการศึกษาของ รังสรรค ปติปญญา (2542) ขณะที่ผลการศึกษาของ จิตต์ใส แก้วบุญเรือง (2546) พบปัญหาการขาดค่าใช้จา่ ย ทางการตลาด ท� ำ ให้ ไ ม่ ส ามารถจั ด ท� ำ กิ จ กรรมการ ส่งเสริมการตลาดได้ ส่วนผลการศึกษาของศิวรัตน์ กุศล (2548) พบการไม่ปิดป้ายราคาไม่มีการจัดการส่งเสริม การขายและการพึ่งพายอดจ�ำหน่ายสินค้าจากลูกค้า ชาวต่างประเทศมากเกินไป ซึง่ ผูป้ ระกอบการจะหาวิธกี าร แก้ปญ ั หาไปตามสภาพปัญหาทีเ่ กิดขึน้ โดยมักได้รบั การ ช่วยเหลือจากหน่วยงานราชการและหน่วยงานเอกชน (อัญชลี พูนชัย, 2547) 5. การให้บริการหลังการขาย พบว่า ผูป้ ระกอบการ ส่วนใหญ่มีบริการจัดส่งสินค้าถึงที่ในกรณีที่ซื้อปริมาณ มาก ปัญหาในการให้บริการลูกค้า พบว่า ส่วนใหญ่มี

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


60

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ปัญหาในด้านการส่งมอบสินค้าล่าช้ากว่าก�ำหนด การส่ง สิ น ค้ า ไม่ ถึ ง ลู ก ค้ า รวมถึ ง การที่ พ นั ก งานขายขาด ประสบการณ์ และการมีชอ่ งทางในการจัดจ�ำหน่ายน้อย โดยผู้ประกอบการจะแก้ปัญหาตามสาเหตุของปัญหา โดยการเพิ่ ม พนั ก งานชั่ ว คราวเมื่ อ ถึ ง ช่ ว งที่ ต ้ อ งผลิ ต จ�ำนวนมาก และการให้ขอ้ มูลสินค้าแก่ลกู ค้ามากขึน้ โดย การใช้แผ่นพับ สอดคล้องกับผลการศึกษาของ Noknoi, Boripunt & Lungtae (2012) การด�ำเนินงานในกิจกรรมสนับสนุนของธุรกิจ 1. การจัดซื้อ พบว่า ส่วนใหญ่ประธานกลุ่มจะ รับผิดชอบการคัดเลือกผูจ้ ดั จ�ำหน่ายเอง โดยวัตถุดบิ หลัก จะซื้อจากผู้ขายในท้องถิ่นและจะซื้อกับผู้ขายประจ�ำ เนือ่ งจากเป็นสินค้าทีม่ อี ยูใ่ นชุมชน สอดคล้องกับผลการ ศึกษาของปาริชาติ วลัยเสถียร (2540) และธนาวิทย์ บัวฝ้าย (ม.ป.ป.) ส่วนวัตถุดิบที่เป็นส่วนประกอบอื่นๆ จะซือ้ จากท้องตลาด ประเภทของวัตถุดบิ และปัจจัยการ ผลิตที่ผู้ประกอบการใช้สามารถสรุปได้ดังนี้ 1) วัตถุดิบ ประกอบด้วยวัตถุดิบหลักและวัตถุดิบที่เป็นส่วนประกอบ 2) วัสดุอปุ กรณ์และเครือ่ งมือในการผลิต 3) แรงงานทีใ่ ช้ ในการด�ำเนินงาน และ 4) ที่ดิน อาคาร ทั้งนี้พบว่า คุณภาพของวัตถุดิบและปัจจัยการผลิตจากแหล่งต่างๆ ไม่แตกต่างกันมากนัก เนื่องจากผู้ประกอบการซื้อวัตถุดิบ ในพื้ น ที่ ท� ำ ให้ ไ ด้ วั ต ถุ ดิ บ ที่ มี คุ ณ ภาพดี ก ว่ า การซื้ อ จากท้ อ งตลาด ปริ ม าณวั ต ถุ ดิ บ และปั จ จั ย การผลิ ต ที่ผู้ประกอบการจัดซื้อจากแหล่งต่างๆ แต่ละครั้งไม่ แน่ น อน ขึ้ น อยู ่ กั บ ปริ ม าณความต้ อ งการของลู ก ค้ า เพราะส่วนใหญ่จะผลิตตามค�ำสัง่ ซือ้ ต้นทุนในการจัดซือ้ จัดหาวัตถุดิบและปัจจัยการผลิตจากแหล่งต่างๆ ใน ชุมชนไม่แตกต่างกันมากนัก ส่วนผู้ประกอบการที่ซื้อ วัตถุดิบและปัจจัยการผลิตจากหลายๆ ที่ต้นทุนในการ จัดซื้อจัดหาวัตถุดิบและปัจจัยการผลิตจะแตกต่างกัน ตามระยะทางและปริมาณการสัง่ ซือ้ โดยผู้ประกอบการ มีการติดต่อและดูแลแหล่งจัดซือ้ จัดหาวัตถุดบิ และปัจจัย การผลิตเป็นประจ�ำ เนือ่ งจากแหล่งวัตถุดบิ ส่วนใหญ่เป็น ของสมาชิกซึ่งอยู่ในชุมชนและมีการติดต่อซื้อขายกัน

เป็ น ประจ� ำ ผู ้ ป ระกอบการกว่ า ครึ่ ง ไม่ พ บปั ญ หาใน การจั ด ซื้ อ จั ด หาวั ต ถุ ดิ บ และปั จ จั ย การผลิ ต ขณะที่ ส่ ว นที่ เ หลื อ พบปั ญ หาผู ้ ข ายมี สิ น ค้ า ไม่ เ พี ย งพอกั บ ความต้องการ และราคาสินค้ามีการปรับตัวสูงขึ้น 2. การน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาองค์กร พบว่า ผู้ประกอบการทุกกลุ่มน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตจึง ท�ำให้สินค้ามีคุณภาพดี อย่างไรก็ดีผลการศึกษาของ ปาริชาติ วลัยเสถียร (2540) และอัญชลี พูนชัย (2547) พบว่า เทคโนโลยีทนี่ ำ� มาใช้สว่ นใหญ่ไม่ซบั ซ้อน ประกอบ กับการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ขณะที่ผลการศึกษาของ Noknoi, Boripunt & Lungtae (2012) พบว่า การผลิต ส่วนใหญ่ใช้เทคโนโลยีพื้นฐานและแรงงานคนเป็นหลัก ซึ่งต่างจากผลการศึกษาของวสันต์ เสือข�ำ (2547) ที่ พบว่า ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ใช้เทคโนโลยีการผลิต ขั้นสูง โดยการน�ำเครื่องจักรที่ทันสมัยเข้ามาเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต และมีมาตรฐานการผลิตที่สูงขึ้น ผู้ประกอบการส่วนใหญ่มีปัญหาการใช้เทคโนโลยี คือ การไม่มคี วามช�ำนาญในการใช้เครือ่ งมือและเครือ่ งช�ำรุด เสี ย หายขณะท� ำงาน ส่ ง ผลให้ ต ้ น ทุ น การผลิ ต สู ง ขึ้ น สอดคล้องกับผลการศึกษาของรังสรรค ปตปิ ญ  ญา (2542) ทั้งนี้ผู้ประกอบการมีวิธีการแก้ไขปัญหาโดยการอบรม พนักงานให้สามารถใช้เครื่องจักรได้ถูกวิธี และดูแล ซ่อมบ�ำรุงเครื่องจักรอย่างสม�่ำเสมอ 3. การบริหารทรัพยากรบุคคล พบว่า ผู้ประกอบ การมอบหมายภาระงานโดยประธานกลุม่ มีหน้าทีใ่ นการ บริ ห ารจั ด การและประสานงานกั บ สมาชิ ก รวมถึ ง ประสานงานกับลูกค้าและผู้จ�ำหน่ายวัตถุดิบ สอดคล้อง กับผลการศึกษาของภิตนิ นั ท์ อินมูล (2554) ส่วนสมาชิก กลุม่ มีหน้าทีผ่ ลิตสินค้า ซึง่ ผลการศึกษาของบุษกร นุเกตุ (2548) พบว่า จะมีการแบ่งงานและหน้าที่รับผิดชอบ ตามความรูค้ วามสามารถและประสบการณ์โดยในช่วงที่ แรงงานขาดแคลนจะจ้างคนในท้องถิ่นเข้ามาท�ำงาน แต่ จะจ้างเป็นรายวันหรือรายชั่วโมง ในช่วงที่ไม่มีการผลิต จึงไม่มีปัญหา ขณะที่บางกลุ่มใช้เวลาช่วงที่ไม่มีการผลิต ฝึกอบรมพนักงานและศึกษาดูงาน ในส่วนของการสรรหา

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

และคัดเลือกบุคลากรนั้น กลุ่มที่ประกอบกิจการแบบ เจ้าของคนเดียวจะใช้คนในครอบครัว ส่วนกลุ่มที่จัดตั้ง กิจการเต็มรูปแบบจะสรรหาและคัดเลือกบุคลากรจาก สมาชิกกลุ่มหรือบุคคลในพื้นที่ สอดคล้องกับผลการ ศึ ก ษาของปาริ ช าติ วลั ย เสถี ย ร (2540) โดยมี ก าร สัมภาษณ์และทดลองปฏิบัติงาน ส่วนกลุ่มที่จัดตั้งใน รูปแบบบริษัทจะมีวิธีการสรรหาและคัดเลือกอย่างมี ขั้นตอน ซึ่งผลการศึกษาของรัชชา แดนโพธิ์ (2549) พบว่า การคัดเลือกบุคลากรจะยึดประสบการณ์และ ความสามารถรวมถึงภูมลิ ำ� เนาด้วย ขณะทีผ่ ลการศึกษา ของบุษกร นุเกตุ (2548) พบว่า การคัดคนเข้าท�ำงาน ส่วนใหญ่เป็นระบบอุปถัมภ์บางรายใช้ระบบคุณธรรมโดย พิ จ ารณาจากประวั ติ ก ารศึ ก ษาการสั ม ภาษณ์ แ ละ ประสบการณ์ท�ำงาน ผู้ประกอบการส่วนใหญ่มีวิธีการ ฝึกอบรมพนักงานโดยการสอนงานแก่พนักงานใหม่ โดยผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในหน้าที่นั้นๆ สอดคล้องกับ ผลการศึกษาของบุษกร นุเกตุ (2548); ไพฑูรย์ ภิระบัน (2550) และ Noknoi, Boripunt & Lungtae (2012) ผู้ประกอบการส่วนใหญ่จ่ายค่าแรงให้แก่พนักงานเป็น รายวัน สอดคล้องกับผลการศึกษาของจิตต์ใส แก้วบุญ เรือง (2546) และบุษกร นุเกตุ (2548) โดยจ่ายค่าแรง วันละ 200-300 บาท โดยจ่ายให้กับพนักงานทันทีเมื่อ เลิกงาน นอกจากนี้กลุ่มที่มีการรวมตัวกันเต็มรูปแบบ สมาชิกจะมีรายได้จากเงินปันผลเมือ่ สิน้ ปี สอดคล้องกับ ผลการศึกษาของปาริชาติ วลัยเสถียร (2540) ส่วน พนักงานที่ท�ำงานในต�ำแหน่งที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบ สูงขึ้นจะมีการจ้างเป็นรายเดือน ทั้งนี้ก็เพื่อจูงใจสมาชิก หรือพนักงานให้ปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ (บุษกร นุเกตุ, 2548) ขณะที่ Noknoi, Boripunt & Lungtae (2012) เสนอว่า ควรมีการจ่ายค่าตอบแทนทีห่ ลากหลาย ทั้งนี้ผู้ประกอบการส่วนใหญ่มีการติดตามและประเมิน ผลการปฏิบัติงานของพนักงานโดยประธานกลุ่มหรือ ผู้ที่ได้รับมอบหมาย โดยจะเข้าไปสังเกตการณ์และ ตรวจประเมินผลงาน ผู้ประกอบการกว่าครึ่งพบปัญหา ขาดแคลนแรงงาน และพนักงานขาดทักษะในการท�ำงาน

61

สอดคล้องกับผลการศึกษาของปาริชาติ วลัยเสถียร (2540) และพนักงานแต่ละคนมีความสามารถในการ ผลิตไม่เท่ากัน ท�ำให้สินค้าของกลุ่มมีความแตกต่างกัน สอดคล้องกับผลการศึกษาของพัลลภา สินธุวารินทร์ (2545) และบุษกร นุเกตุ (2548) 4. การบริหารโครงสร้างพื้นฐานขององค์กร พบว่า โครงสร้างองค์กรและการบริหารงานกลุ่มแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 1) เป็นการรวมกลุม่ กันโดยมีประธานกลุม่ เป็นผูน้ ำ� และท�ำหน้าทีใ่ นการบริหารจัดการ ส่วนสมาชิก กลุ่มมีหน้าที่ด�ำเนินการในหน้าที่ต่างๆ ของกลุ่ม เมื่อมี ก� ำ ไรจะแบ่ ง ปั น กั น สอดคล้ อ งกั บ ผลการศึ ก ษาของ ปาริชาติ วลัยเสถียร (2540) และจิตต์ใส แก้วบุญเรือง (2546) 2) ไม่มีการรวมกลุ่มกัน มีลักษณะเป็นกิจการ เจ้าของคนเดียว บริหารงานแบบครอบครัว สอดคล้อง กับผลการศึกษาของศิวรัตน์ กุศล (2548) อย่างไรก็ตาม ธนาวิทย์ บัวฝ้าย (ม.ป.ป.) กล่าวว่า ถ้าสมาชิกไม่ร่วมมือ ธุรกิจชุมชนก็เกิดขึ้นไม่ได้ โดยสมาชิกควรมี 4 ร่วม คือ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมท�ำ และร่วมรับผิดชอบ ทั้งนี้ ทิพย์วิมล อุ่นป้อง (2550) กล่าวว่า กลุ่มที่มีศักยภาพใน ระดับดีจะมีการปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบอย่าง จริงจังพร้อมทั้งมีการประสานงานกันภายในกลุ่มเป็น อย่ า งดี นอกจากนั้ น ยั ง มี ผู ้ น� ำ ที่ เข้ ม แข็ ง และมี ค วาม สามารถในการบริหารงานส�ำหรับการพยากรณ์ยอดขาย การวางแผนจัดหาวัตถุดิบ และวางแผนการผลิต พบว่า ผูป้ ระกอบการทีม่ รี ะยะเวลาในการผลิตค่อนข้างนานจะ ไม่เน้นการพยากรณ์ยอดขาย เพราะสินค้าไม่สามารถ เพิ่มปริมาณการผลิตได้รวดเร็ว ในขณะที่กลุ่มอื่นๆ จะมี การพยากรณ์ยอดขาย เพื่อวางแผนจัดหาวัตถุดิบและ วางแผนการผลิตให้เพียงพอกับความต้องการของลูกค้า สอดคล้องกับผลการศึกษาของจิตต์ใส แก้วบุญเรือง (2546) ซึ่งใช้การพยากรณ์จากยอดขายเดิม โดยผลการ ศึกษาของบุษกร นุเกตุ (2548) พบว่า แผนส่วนใหญ่จะ เป็นแผนระยะสั้น (1-3 ปี) ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ไม่มี การวางแผนจัดการสินค้าคงคลัง เนือ่ งจากเป็นระบบการ ผลิตตามค�ำสัง่ ซือ้ ขณะทีส่ ว่ นน้อยมีการวางแผนการผลิต

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


62

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

โดยใช้ข้อมูลในอดีตมาพยากรณ์ความต้องการสินค้าใน อนาคต และจะวางแผนผลิตสินค้าให้ได้ตามทีว่ างแผนไว้ จึงท�ำให้ต้องมีการวางแผนจัดการสินค้าคงคลัง ทั้งนี้ ผู้ประกอบการส่วนใหญ่เห็นว่าการแข่งขันในปัจจุบันยัง ไม่รุนแรง เนื่องจากสินค้าของกลุ่มมีเอกลักษณ์โดดเด่น ไม่เหมือนใคร และมีคุณภาพดีกว่าสินค้าของคู่แข่ง เพราะ ได้รับการคัดสรรเป็นสินค้าหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ระดับ 5 ดาว แต่ก็มีสินค้าบางประเภทที่ไม่ต่างจากคู่ แข่งขัน ผูป้ ระกอบการจึงมีแนวทางในการลดการแข่งขัน โดยการคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ ส่วนการเปดิ เสรีทางการค้า ผู้ประกอบการส่วนใหญ่มองว่าเป็นโอกาสที่จะขยาย ตลาดให้กว้างขึ้น ทั้งนี้ ศิวรัตน์ กุศล (2548) กล่าวว่า ภาครัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความช่วยเหลือ ในการเพิ่ ม ช่ อ งทางการจ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า ทางพาณิ ช ย์ อิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงภาษาที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับ ลูกค้าชาวต่างชาติ ผู้ประกอบการเกือบทั้งหมดมีการ บันทึกบัญชีรายรับรายจ่ายแบบง่ายๆ เพื่อค�ำนวณหา ผลประกอบการในแต่ละปี และเพือ่ น�ำผลก�ำไรมาปันผล ให้แก่สมาชิก ไม่ได้ท�ำบัญชีตามมาตรฐานสากล ยกเว้น เพี ย งกลุ ่ ม เดี ย วที่ มี ก ารท� ำ บั ญ ชี ต ามมาตรฐานสากล เนื่องจากจดทะเบียนเป็นบริษัทจ�ำกัด สอดคล้องกับ ผลการศึ ก ษาของบุ ษ กร นุ เ กตุ (2548) และไพฑู ร ย์ ภิระบัน (2550) ทัง้ นีผ้ ปู้ ระกอบการส่วนใหญ่ไม่พบปัญหา ในการบริหารจัดการองค์กร ขณะที่ผลการศึกษาของ จิตต์ใส แก้วบุญเรือง (2546) พบปัญหาการขาดเงินทุน ในการด�ำเนินงาน และขาดความรูค้ วามเข้าใจในการจัดท�ำ รายงานทางการเงินให้ครบทุกประเภท เช่นเดียวกับ ผลการศึกษาของศิวรัตน์ กุศล (2548) โดยกลุ่มที่พบ ปัญหาแก้ปัญหาโดยการวางแผนจัดหาพนักงาน และ ก�ำหนดหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของพนักงานให้ชดั เจนขึน้ สอดคล้ อ งกั บ ผลการศึ ก ษาของรั ง สรรค ป ติ ป  ญ ญา (2542) ขณะที่ภิตินันท์ อินมูล (2554) เสนอว่า การแก้ ปัญหาจะมีประสิทธิภาพมากขึ้นหากสมาชิกในกลุ่ม เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการมากขึ้น

ข้อเสนอแนะ

1. ผูป้ ระกอบการควรเป็นผูด้ ำ� เนินการขนส่งวัตถุดบิ ด้ว ยตัว เองโดยไม่ต้องพึ่งพาผู้ขายวัตถุดิบ เพื่อที่จะ สามารถเข้าไปดูแลกระบวนการขนส่งวัตถุดิบได้อย่าง ใกล้ชิด เพื่อให้วัตถุดิบมาถึงสถานประกอบการทันเวลา ไม่เกิดความเสียหายระหว่างการขนส่ง และปัญหาการ ได้รบั วัตถุดบิ สลับกับผูซ้ อื้ รายอืน่ ก็จะไม่เกิดขึน้ เนือ่ งจาก หากผูป้ ระกอบการด�ำเนินการขนส่งวัตถุดบิ เองการตรวจ รับจะเกิดขึ้นก่อนการขนส่ง ไม่ใช่ ณ จุดหมายปลายทาง อันจะลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อกระบวนการผลิตได้ 2. ผู้ประกอบการควรมีสถานที่เก็บรักษาวัตถุดิบที่ ได้มาตรฐาน เพื่อไม่ให้วัตถุดิบเกิดความเสียหายก่อน กระบวนการผลิต ซึง่ หากผูป้ ระกอบการไม่มสี ถานทีเ่ ก็บ รักษาวัตถุดบิ ทีไ่ ด้มาตรฐานก็ควรปรับเปลีย่ นวิธกี ารผลิต เพื่อให้ไม่ต้องเก็บรักษาวัตถุดิบ หรือหากต้องการเก็บ รักษาวัตถุดบิ ก็ควรใช้บริการคลังสินค้าสาธารณะซึง่ เป็น สถานที่เก็บรักษาวัตถุดิบที่มีมาตรฐานมากกว่า 3. ผู ้ ป ระกอบการที่ ผ ลิ ต สิ น ค้ า เกษตรและนั ก วิชาการเกษตรควรร่วมมือกันเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหา ที่เกิดขึ้นในการผลิตสินค้าเกษตร ทั้งผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ โรค และแมลงต่างๆ เพือ่ ให้การผลิตสินค้าเกษตรมีความแน่นอนเช่นเดียวกับ สินค้าประเภทอื่น 4. ผู้ประกอบการควรมีการวางแผนการผลิตอย่าง รัดกุม อันจะท�ำให้สามารถด�ำเนินการจัดซื้อวัตถุดิบ พยากรณ์ก�ำลังการผลิต จัดเตรียมแรงงาน เงินทุน และ วัสดุอุปกรณ์ที่จ�ำเป็นให้เพียงพอ เพื่อจะสามารถผลิต สินค้าตามต้องการของลูกค้า และคงมาตรฐานของสินค้า เอาไว้ ไ ด้ อั น จะช่ ว ยลดปั ญ หาด้ า นการผลิ ต ที่ อ าจจะ เกิดขึ้น 5. ผู้ประกอบการควรมุ่งเน้นการคิดค้นและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ใหม่ เพือ่ สร้างความแตกต่างจากคูแ่ ข่งขัน และ น�ำเสนอผลิตภัณฑ์ทตี่ รงกับความต้องการของกลุม่ ลูกค้า เป้าหมายให้มากยิ่งขึ้น อันจะเป็นการรักษาและเพิ่ม โอกาสทางการแข่งขันให้แก่กิจการ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

6. ผู ้ ป ระกอบการควรหาผู ้ ข ายปั จ จั ย การผลิ ต หลายๆ ราย เพื่อลดปัญหาผู้ขายมีปัจจัยการผลิตไม่พอ ตามความต้องการ อีกทัง้ ยังจะช่วยลดปัญหาราคาปัจจัย การผลิตปรับตัวสูงขึ้นอันมีสาเหตุจากการผูกขาดของ ผู้ขายเพียงรายใดรายหนึ่ง 7. ผู ้ ป ระกอบการควรจั ด การฝึ ก อบรมเพื่ อ ให้ พนักงานมีความรู้ความช�ำนาญในการใช้เครื่องมือและ เทคโนโลยี ใ หม่ ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการท� ำ งาน เพื่ อ ให้ สามารถใช้ประโยชน์จากเครื่องมือและเทคโนโลยีที่มีได้ อย่างเต็มประสิทธิภาพ และจะช่วยลดปัญหาหรือข้อผิด พลาดที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้เครื่องมือและเทคโนโลยี ลงได้ 8. ผู้ประกอบการควรน�ำหลักการจัดการความรู้มา ใช้ภายในองค์กร เพื่อให้เกิดการถ่ายทอดความรู้และ ประสบการณ์ระหว่างกัน อันจะช่วยเพิ่มทักษะในการ ท�ำงานให้แก่บุคลากร ท�ำให้บุคลากรทั้งรุ่นเก่าและรุ่น ใหม่มคี วามรูค้ วามสามารถไม่แตกต่างกัน ซึง่ จะส่งผลต่อ

63

คุณภาพของสินค้าที่ผลิตมีมาตรฐานเดียวกัน 9. ผู้ประกอบการควรเพิ่มช่องทางการจัดจ�ำหน่าย ให้ครอบคลุมกลุ่มลูกค้า ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับ ประเทศ และต่างประเทศ เพือ่ ขยายโอกาสทางการตลาด อีกทัง้ ผูป้ ระกอบการทีผ่ ลิตสินค้าประเภทเดียวกันควรมี การรวมกลุ่มกันเพื่อไม่ให้เกิดการขายสินค้าตัดราคา กันเอง 10. ผู้ประกอบการควรให้ความส�ำคัญกับการให้ บริการลูกค้าให้มากขึ้น เพราะเป็นปัจจัยส�ำคัญหนึ่งที่ ลูกค้าจะใช้ในการตัดสินใจกลับมาซื้อสินค้าของกิจการ ซ�ำ้ อีก โดยเฉพาะอย่างยิง่ การจัดส่งสินค้าทีต่ รงเวลาและ ส่งถึงมือลูกค้า ประกอบกับการมีพนักงานขายทีส่ ามารถ ให้ข้อมูลและสามารถช่วยเหลือลูกค้าได้อย่างเต็มที่ กิตติกรรมประกาศ งานวิ จั ย นี้ ไ ด้ รั บ ทุ น อุ ด หนุ น การวิ จั ย จากคณะ เศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ

เอกสารอ้างอิง

กรมการพัฒนาชุมชน. (2546). โครงการหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์. สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2555, จาก http://www. thaitambon.com จิตต์ใส แก้วบุญเรือง. (2546). การด�ำเนินงานโครงการหนึง่ ต�ำบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์ทปี่ ระสบความส�ำเร็จในจังหวัดล�ำปาง. การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ. (2542). ธุรกิจชุมชน: เส้นทางทีเ่ ป็นไปได้. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว). เดชรัต สุขกําเนิด. (2542). วิสาหกิจชุมชน. สืบค้นเมื่อ 5 กรกฎาคม 2555, จาก http://www.doac.go.th ทิพย์วิมล อุ่นป้อง. (2550). วิเคราะห์ศักยภาพของกลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ผ้าทอบางกลุ่มภายใต้โครงการหนึ่งต�ำบลหนึ่ง ผลิตภัณฑ์ในจังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย เชียงใหม่. ธนาวิทย์ บัวฝ้าย. (ม.ป.ป.). ธุรกิจชุมชน: แนวทางในการพัฒนาชนบท. สืบค้นเมื่อ 8 กรกฎาคม 2555, จาก http:// www.hu.ac.th/academic/article/Mk/Business%20 community.html บุษกร นุเกตุ. (2548). การด�ำเนินงานของกลุ่มผู้ผลิตสินค้าที่ได้รับการคัดสรรสุดยอดหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ 5 ดาว ระดับจังหวัด ของจังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย เชียงใหม่. ปาริชาติ วลัยเสถียร. (2540). รายงานการส�ำรวจสถานะความรู้เกี่ยวกับธุรกิจชุมชน. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) (เอกสารอัดส�ำเนา). ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


64

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

พัลลภา สินธุวารินทร์. (2545). ปัจจัยที่มีผลต่อความส�ำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมประเภทอุตสาหกรรม สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มในจังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยแม่โจ้. ไพฑูรย์ ภิระบัน. (2550). ปัจจัยความส�ำเร็จของสินค้าประเภทผ้าและเครือ่ งแต่งกายโครงการหนึง่ ต�ำบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์ ในจังหวัดพะเยา. การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภิตนิ นั ท์ อินมูล. (2554). การวิเคราะห์ศกั ยภาพการด�ำเนินงานของกลุม่ ผูผ้ ลิตผ้าทอมือภายใต้โครงการหนึง่ ต�ำบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์ในจังหวัดอุตรดิตถ์. การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. มงคล ด่านธานินทร์. (2541). เศรษฐกิจชุมชน: พึ่งตนเองเชิงระบบ หลักการและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. รังสรรค ปติปญญา. (2542). ธุรกิจชุมชน: รากฐานการพัฒนาประเทศ. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท. รัชชา แดนโพธิ.์ (2549). การจัดการปัจจัยการผลิตของกลุม่ วิสาหกิจชุมชนส�ำหรับสินค้าประเภทของใช้และของประดับ ตกแต่ง ในโครงการหนึง่ ต�ำบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์จงั หวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วสันต์ เสือข�ำ. (2547). ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อความส�ำเร็จของสินค้าหนึง่ ต�ำบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้รบั การคัดเลือกระดับ 5 ดาว ในระดับภูมิภาค: กรณีศึกษาสินค้าประเภทอาหารในจังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วาสนา เพิม่ พูน. (ม.ป.ป.). กระบวนการเรียนรูต้ ามอัธยาศัยกับการพัฒนาธุรกิจชุมชนให้เข้มแข็ง. สืบค้นเมือ่ 5 กรกฎาคม 2555, จาก http://edu.swu.ac.th/ae/websnong/web01/web451%5Cwisdom2.htm ศิวรัตน์ กุศล. (2548). ศักยภาพของวิสาหกิจท้องถิ่นในหมู่บ้านถวายในการเข้าสู่โครงการหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์. การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. อัญชลี พูนชัย. (2547). ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จของสินค้าทีไ่ ด้รบั การคัดสรรเป็นสุดยอดหนึง่ ต�ำบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์ 5 ดาว ในระดับภาค กรณีศึกษาสินค้าประเภทผ้าและเครื่องแต่งกาย ในจังหวัดนครราชสีมา. การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. Noknoi, C., Boripunt, W. & Lungtae, S. (2012). Key success factors for obtaining a One Tambon One Product food five-star rating in Phatthalung and Songkhla provinces. European Journal of Economics, Finance and Administrative Sciences, 48(May), 96-103. Lungtae, S. & Noknoi, C. (2012). Logistics and supply chain management of One Tambon One Product in Songkhla province: a case study of KohYo hand-woven fabric. European Journal of Social Sciences, 29(4), 561-568.

Translated Thai References

Aunpong, T. (2007). Potential analysis of the textile products manufacturer in the One Tambon One Product project in Chiang Mai province. Independent Study, Chiang Mai University. [in Thai] Boufai, T. (n.d.). Community enterprise: An approach to rural development. Retrieved July 8, 2012, from http://www.hu.ac.th/academic/article/Mk/Business%20community.html [in Thai] Community Development Department. (2003). One Tambon One Product Project. Retrieved July 1, 2012, from http://www.thaitambon.com [in Thai] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

65

Danpho, R. (2006). The inputs management for the use and decorations community enterprise in One Tambon One Product project in Chiang Mai province. Independent Study, Chiang Mai University, Chiang Mai. [in Thai] Danthanin, M. (1998). Economic community: a system of self-reliance, principles and practices. Bangkok: Se-education. [in Thai] Inmun, P. (2011). The potential analysis of the performance of a group of hand-woven fabric in the One Tambon One Product in Uttaradit province. Independent Study, Chiang Mai University, Chiang Mai. [in Thai] Kaewbunreung, J. (2003). The successful One Tambon One Product in Lampang province. Independent Study, Chiang Mai University. [in Thai] Kuson, S. (2005). The potential of local enterprises in Thawai village for entering the One Tambon One Product project. Independent Study, Chiang Mai University, Chiang Mai. [in Thai] Nukate, B. (2005). The operation of the manufacturer who has been selected the top provincial 5-star OTOP of Chiang Mai province. Independent Study, Chiang Mai University. [in Thai] Permpun, W. (n.d.). Learning process as hospitable to the development of a strong business community. Retrieved July 25, 2012, from http://edu.swu.ac.th/ae/websnong/web01/ web451%5C wisdom2.htm [in Thai] Petprasert, N. (1999). Business community: the possible path. Bangkok: Office of Research Fund. [in Thai] Piraban, P. (2007). Key success factors of fabrics and apparel OTOP in Phayao province. Independent Study, Chiang Mai University. Chiang Mai. [in Thai] Pitipanya, R. (1999). Business community: Foundation for country development. Bangkok. [in Thai] Punchai, A. (2004). Key success factor of the regional 5 star OTOP: the case study of fabrics and apparel in Nakhonratchasima province. Independent Study, Chiang Mai University, Chiang Mai. [in Thai] Sinthuwarin, P. (2002). Key success factors of fabrics and apparel OTOP in Chiang Mai province. Thesis, Maejo University, Chiang Mai. [in Thai] Suekam, W. (2004). Factors affecting the success of 5-star regional OTOP products: a case study of food products in Chiang Mai province. Independent Study, Chiang Mai University, Chiang Mai. [in Thai] Sukkamnerd, D. (1999). Community enterprise. Retrieved July 5, 2012, from http://www.doac.go.th [in Thai] Walaisatian, P. (1997). Report of the knowledge about community business. Bangkok: Thailand Research Fund (TRF). [in Thai]

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


66

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Asst.Prof.Dr.Chetsada Noknoi received his B.B.A. in marketing (second class honors) from Prince of Songkla Univeristy and B.Pol.Sc. in international relations and comparative governments and politics from Sukhothai Thammathirat Open University. He received his M.B.A. in marketing from Kasetsart University. Lastly, he received his D.P.A. in human resource management from National Institute of Development Administration, Thailand. Currently, he is an assistant professor at Economic and Business Administration Faculty, Thaksin University, Thailand. He has published 6 books, 28 papers in International Journals, 28 papers in National Journal and 30 papers in various International and National Conferences. His research interests include human resource management, marketing, tourism management, and community business management. Dr.Sunchai Langthaekun received B.B.A. in accounting from Prince of Songkla Univeristy. He received his M.Sc. and Ph.D. in industrial business administration from King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang, Thailand. Currently, he is a lecturer at Economics and Business Administration Faculty, Thaksin University, Thailand. He has published 2 papers in International Journals, 2 papers in National Journal and 7 papers in various International and National Conferences. His research interests include logistic management, supply chain management and community business management.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

67

การจัดระเบียบสังคมแบบภาครัฐร่วมเอกชน ส�ำหรับธุรกิจค้า ขยะรีไซเคิลในมิติด้านกฎหมายและการจัดการ PUBLIC- PRIVATE PARTNERSHIP FOR SOCIAL ORDER OF THE RECYCLABLE WASTE-SEPARATION BUSINESSIN THE ASPECT OF LAW AND MANAGEMENT ญาณัญฎา ศิรภัทร์ธาดา1 Yananda Siraphatthada1 บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อส�ำรวจความคิดเห็นของผู้ประกอบการธุรกิจรีไซเคิลที่มีต่อแนวทางการจัด ระเบียบสังคม 2) สร้างรูปแบบและ 3) ประเมินผลรูปแบบการจัดระเบียบสังคม ส�ำหรับธุรกิจรีไซเคิลแบบภาครัฐร่วม เอกชนในมิติด้านกฎหมายและมิติด้านการจัดการ เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) ระหว่าง การวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรในการศึกษา คือ หน่วยงานภาครัฐผู้ประกอบการธุรกิจรีไซเคิล การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณใช้แบบสอบถาม สุม่ ตัวอย่างผูป้ ระกอบการแบบหลายขัน้ ตอน และวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้สถิติ เชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) และ การสนทนากลุม่ (Focus group) โดยใช้วธิ กี ารเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) การวิเคราะห์ขอ้ มูล เชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า ด้านความคิดเห็นควรจัดตั้งเป็นองค์กรอิสระที่มีโครงสร้างอย่างชัดเจนด้านรูปแบบในมิติ ของการจัดการคือการให้ความรู้เรื่องสุขภาพอนามัย ในมิติของกฎหมาย คือ มีกฎหมายเพื่อควบคุมและคุ้มครอง ทีย่ ดื หยุน่ ต่อบริบทความพร้อมและด้านการประเมินผลพบว่ารูปแบบมีความเหมาะสม ในด้านโครงสร้างองค์ประกอบ กระบวนการพัฒนาและความเป็นไปได้ในการน�ำไปใช้ ค�ำส�ำคัญ: การจัดระเบียบสังคมแบบภาครัฐร่วมเอกชน ธุรกิจค้าขยะรีไซเคิล มิติด้านกฎหมายและการจัดการ

Abstract

The research objectives were to 1) survey the recyclable waste-separation entrepreneurs’ opinions on social order of the recyclable waste–separation business 2) create and a social order model of the recyclable waste-separation business in the aspect of law and management and 3) assess the model. This research employed mixed method research using both quantitative and qualitative methodology to achieve the set objectives. The quantitative method was used for the study involving the use of questionnaires to collect data from the recycling operators. They were stratified by Multi-Stage Random Sampling. Data analysis included descriptive statistics. In terms of 1 ญาณัญฎา ศิรภัทร์ธาดา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนน ั ทา, Yananda Siraphatthada Faculty of Management Science,

E-mail: yananda_nam@hotmail.com

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


68

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

qualitative method, there were in-depth interviews and focus group. They were selected by Purposive Sampling. It was found 1) that independent commissions with well-structured management on recyclable waste-separation be founded 2) that in respect of managerial law aspect health care should be instructed and laws state system for prevention and punishment should be launched and 3) that model assessment was practical, appropriate, and feasible to carry out. Keywords: The Cooperation between Public and Private Sectors for Social Organization, Recyclable Waste-Separation Business, Legal and Management Aspects

บทน�ำ

การเพิม่ ปริมาณของขยะส่งผลให้เกิดประเด็นปัญหา ของสังคมเมืองที่ตามมาคือปัญหาการลักทรัพย์สินของ ทางราชการมาขายร้านค้าของเก่า จากบทสัมภาษณ์ จ�ำนงค์ วงศ์สว่าง (2552: 4) กล่าวว่า ปลายทางของจุด พักสิง่ ผิดกฎหมายเหล่านีก้ ค็ อื ร้านค้าของเก่าโดยมีซาเล้ง ส่วนหนึ่งเป็นคนน�ำมาขาย “ซาเล้ ง ” หรื อผู ้มีอาชีพรับ ซื้อของเก่ารายย่อย ที่เรียกว่า “สามล้อรับซื้อของเก่า” นั้น มีวิธีการง่ายๆ ในการเก็บขยะเพื่อน�ำมาขาย เน้นความรวดเร็ว มักจะ คัดแยกทองแดง ทองเหลือง อะลูมิเนียม เหล็ก เพราะ ทราบว่าเป็นวัสดุที่มีมูลค่าสูงกว่าขยะอื่นอย่างชัดเจน (สมไทย วงษ์เจริญ, 2554) มักพบความสกปรกในบริเวณ ที่ มี ก ารคั ด เลื อ กสิ่ ง ของจากกองขยะอี ก ทั้ ง เชื้ อ โรค จากกองขยะก่อให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บตามมา (ญาณัญฎา ศิรภัทร์ธาดา, 2553: 8) อีกส่วนหนึ่งเป็นกลุ่มมิจฉาชีพที่เป็นปัญหาสังคม ด้วยการลักทรัพย์สินของราชการ เช่น ฝาท่อประปา ฝาท่อระบายน�้ำ หม้อแปลงไฟฟ้าแรงสูงสายโทรศัพท์ สายไฟฟ้าสาธารณะ และถอดน๊อตเสาส่งกระแสไฟฟ้า แรงสูงท�ำให้เสาไฟฟ้าโค่นล้มเป็นเหตุให้กระแสไฟฟ้า ขัดข้องทั่วเมือง ซึ่งถือว่าเป็นกรณีที่รุนแรงมาก จาก บทสัมภาษณ์สุวรรณา จึงรุ่งเรือง (2553: 8) กล่าวว่า ร้านรับซื้อของเก่ามักตกเป็นผู้ต้องสงสัยเสมอในเวลา ที่เกิดเหตุการณ์ท�ำให้หลายหน่วยงานเร่งด�ำเนินการจัด ระเบียบร้านรับซื้อของเก่าอย่างจริงจัง โดยเฉพาะร้าน

รับซื้อของเก่าจะต้องถูกด�ำเนินคดีอาญาทางกฎหมาย หากมีการรับซื้อสิ่งของหรือวัสดุผิดกฎหมาย

ภาพที่ 1 น๊อตจากเสาส่งกระแสไฟฟ้าแรงสูง ปัจจุบันผู้ประกอบธุรกิจคัดแยกขยะรีไซเคิล หรือ ร้านรับซือ้ ของเก่าให้ความร่วมมือต่อการป้องกันและแก้ ปัญหาด้านอาชญากรรมมากขึน้ จากมาตรการต่างๆ ทีไ่ ด้ ก�ำหนดไว้เป็นมาตรฐานที่ผู้ประกอบกิจการคัดแยกขยะ เพื่อรีไซเคิลต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ซึ่งช่วยลดปัญหา การรับซื้อของที่ผิดกฎหมายและอาชญากรรมอื่นๆ ได้ แต่การด�ำเนินคดีสำ� หรับผูก้ ระท�ำความผิด เป็นเพียงการ แก้ ป ั ญ หาที่ ป ลายเหตุ และขาดการท� ำ ความเข้ า ใจ ระหว่างภาครัฐและเอกชนอย่างแท้จริง ธุรกิจค้าขยะรีไซเคิลนัน้ เป็นกิจการทีม่ กี ารรวมกลุม่ กันเป็นสังคม จึงต้องมีการก�ำหนดระเบียบกฎเกณฑ์ คื อ บรรทั ด ฐานทางสั ง คม (Social Norms) เป็ น มาตรฐานการปฏิบัติตามบทบาทให้เป็นที่ยอมรับ และ ปฏิบตั ริ ว่ มกันของสมาชิกในสังคมนัน้ ๆ (วรรณวิภา ทัพวงศ์,

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

2551: 14) ระเบียบกฎเกณฑ์นั้นจะมีความซับซ้อนและ มักจะฝืนธรรมชาติความต้องการของบุคคล โอกาส ที่บุคคลพยายามหลีกเลี่ยงกฎเกณฑ์ ข้อบังคับต่างๆ เกิดขึ้นได้เสมอ เพราะขาดความเข้าใจ หรือมีเจตนา หลีกเลีย่ งโดยเห็นแก่ประโยชน์สว่ นตัว (พิสฐิ กังไพบูลย์, 2555: 24) ซึง่ ผูว้ จิ ยั มีความคิดเห็นว่า การมีระเบียบของ สังคม ย่อมจะเป็นการป้องกันไม่ให้บคุ คลกระท�ำสิง่ หนึง่ สิ่งใดไปตามความพอใจของตนจึงมีความจ�ำเป็น เพื่อมิ ให้สมาชิกละเมิดระเบียบกฎเกณฑ์ และได้แสดงถึงความ โปร่งใส ความจริงใจ ความซื่อสัตย์ต่ออาชีพของตนเอง และการเป็นส่วนหนึง่ ของธุรกิจทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม รวมถึงการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของธุรกิจค้าขยะรีไซเคิล ต่อสังคมไทย

วัตถุประสงค์การวิจัย

1. เพื่ อ ส� ำ รวจความคิ ด เห็ น ต่ อ แนวทางการจั ด ระเบียบสังคมของธุรกิจค้าขยะรีไซเคิล 2. เพื่อสร้างรูปแบบการจัดระเบียบสังคมส�ำหรับ ธุรกิจค้าขยะรีไซเคิล 3. เพื่อประเมินผลรูปแบบการจัดระเบียบสังคม แบบภาครัฐร่วมเอกชนส�ำหรับธุรกิจค้าขยะรีไซเคิล

ทบทวนวรรณกรรม

ผู้วิจัยศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องออก เป็น 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 การจัดระเบียบสังคมแบบภาครัฐร่วม เอกชนตามที่วิชัย ภู่โยธิน (2551) กล่าวว่า การจัด ระเบียบทางสังคม หมายถึง วิธกี ารทีค่ นในสังคมก�ำหนด ขึ้นมาเพื่อให้คนที่มาอยู่รวมกันประพฤติปฏิบัติตามซึ่ง สอดคล้องกับสุรพงษ์ ลือทองจักร (2552) ที่กล่าวว่า องค์ประกอบส�ำคัญของการจัดระเบียบทางสังคมต้อง ประกอบด้วย 1) บรรทัดฐานทางสังคม 2) สถานภาพทาง สังคม3) บทบาททางสังคม 4) การจัดล�ำดับชัน้ ทางสังคม 5) ค่านิยมทางสังคม 6) อุดมการณ์ทาง 7) การบังคับใช้ ทางสังคม ตอนที่ 2 การพัฒนาและการประเมินรูปแบบ ตาม ทีส่ มุ ติ ร สุวรรณ (2556) กล่าวว่า รูปแบบการจัดระเบียบ

69

ทางสังคมแบ่งออกเป็น 5 แบบดังนี้ 1) แบบเครือญาติ 2) แบบศักดินา 3) แบบสถานภาพ 4) แบบระบบราชการ 5) แบบพันธะสัญญา และวาโร เพ็งสวัสดิ์ (2553) ได้สรุป แนวคิดและกระบวนการวิจยั เกีย่ วกับการพัฒนารูปแบบ สามารถสรุปได้ว่า การพัฒนารูปแบบแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การสร้างหรือพัฒนารูปแบบ และ 2) การตรวจสอบความเที่ยงตรงของรูปแบบ ตอนที่ 3 ธุรกิจค้าขยะรีไซเคิลเป็นธุรกิจที่มีมูลค่า ส�ำคัญทางเศรษฐกิจ และมีปจั จัยทีส่ ำ� คัญในการประกอบ ธุรกิจค้าขยะรีไซเคิล ได้แก่ กลยุทธ์ในการด�ำเนินงาน ท�ำเลที่ตั้งค่าบริการระบบการบริหารจัดการ (กระทรวง พาณิ ช ย์ , 2552) แต่ ใ นอี ก ด้ า นหนึ่ ง ก็ มี ส ถานการณ์ ที่ได้สร้างความเสียหายให้กับราชการ จากกระบวนการ หรือคนกลางในการรับซือ้ คือ พฤติกรรมการลักทรัพย์สนิ ของราชการมาขาย ได้สร้างความเสียหายมูลค่ามหาศาล ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสังคมวงกว้าง เกิดความเสียหาย เป็นมูลค่าทีส่ งู มาก (สมไทย วงษ์เจริญ, 2554: 191-197)

วิธีการวิจัย

การวิ จั ย นี้ เ ป็ น การวิ จั ย แบบผสมผสาน(Mixed Methods Research) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ตัวแทนภาครัฐ 9 หน่วยงานภาคเอกชน คือ ธุรกิจค้า ขยะรีไซเคิล และผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องในเขตภาคกลาง จ�ำนวน 10 จังหวัด เนื่องจากเป็นจังหวัดในภาคกลาง ทีอ่ ยูใ่ กล้ความเจริญของสังคมเมืองมีสถานประกอบการ เป็นจ�ำนวนมาก และมีผลประกอบการที่ดี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม โดยกลุ่มที่ 1 และ 2 ผู้วิจัยใช้การสัมภาษณ์เจาะลึก (In-depth Interview) โดยวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง แบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) ได้แก่ 1) ภาครัฐ จ�ำนวน 25 คน 2) ภาคเอกชนจากธุรกิจค้า ขยะรีไซเคิล จ�ำนวน 5 คนและ 3) ภาคเอกชนกลุ่ม รีไซเคิลแห่งละ 3-5 คนจากสถานประกอบการ จ�ำนวน 2,102 แห่ง เป็นธุรกิจค้าขยะรีไซเคิลทีม่ ขี นาดการลงทุน จ�ำนวนสินทรัพย์รวมตั้งแต่ 3 -10 ล้านบาท และขนาด

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


70

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

การลงทุน จ�ำนวนสินทรัพย์รวมมากกว่า 10 ล้านบาท จากจังหวัด นครปฐม สุพรรณบุรี สมุทรสาคร ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ราชบุรี ชลบุรี ฉะเชิงเทรา และกรุ ง เทพมหานคร เป็ น สถานประกอบการที่ จ ด ทะเบียนขออนุญาตจากกรมการปกครอง โดยใช้วิธีการ สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling) โดยขอความร่วมมือจากเครือข่ายธุรกิจ รีไซเคิลวงษ์พาณิชย์ จากผู้ประกอบการ จ�ำนวนทั้งสิ้น 7,239 คน ระเบียบวิธีวิจัยตามวัตถุประสงค์การวิจัย แบ่งออก เป็น 3 ขั้นตอนโดย ขัน้ ตอนที่ 1 การรวบรวมข้อมูลโดยจากการสัมภาษณ์ แบบเจาะลึก (In-depth Interview) กับตัวแทนจาก หน่วยงานของภาครัฐ จ�ำนวน 25 คน จาก 9 หน่วยงาน ภาครัฐ และตัวแทนจากภาคเอกชน คือ กลุ่มผู้ประกอบ ธุรกิจค้าขยะรีไซเคิล จ�ำนวน 5 คน รวมเป็น 30 คน โดยใช้ วิ ธี ก ารเลื อ กกลุ ่ ม ตั ว อย่ า งแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ หลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling) จ�ำนวนทั้งสิ้น 7,239 คน ใช้แบบสอบถามที่ได้น�ำไปให้ ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ใช้ดชั นี IOC (Item Objective Congruence) ก�ำหนดค่าดัชนี IOC ตั้งแต่ 0.60 โดยได้ค่าดัชนีความ สอดคล้องทั้งฉบับ (TOC) เท่ากับ 0.98 แล้วทดลองใช้ (Try Out) กับกลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจรีไซเคิล ซึ่งมิใช่ กลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 30 คนมาวิเคราะห์ความเชื่อมั่น ของแบบสอบถาม โดยใช้วธิ กี ารหาค่าสัมประสิทธิแ์ อลฟ่า (Alpha Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach, 1970: 161) ได้คา่ ระดับความเชือ่ มัน่ ทีร่ ะดับ 0.938 การ วิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากแบบสอบถาม ใช้ ส ถิ ติ เชิ ง พรรณนา (Descriptive Statistic) เพื่ออธิบายผลการ ศึกษา ได้แก่ การแจงความถี่ โดยหาค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (X¯) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และการแปล ความหมายตามเกณฑ์ทกี่ ำ� หนด ส่วนการวิเคราะห์ขอ้ มูล เชิงคุณภาพเป็นการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ขัน้ ตอนที่ 2 การพัฒนารูปแบบการจัดระเบียบสังคม แบบภาครัฐร่วมเอกชน ส�ำหรับธุรกิจค้าขยะรีไซเคิลใน

มิติด้านกฎหมายและการจัดการ ได้แก่ 1) รวบรวมและ สรุปภาพรวม เครื่องมือการวิจัย คือ ข้อมูลเชิงประจักษ์ จากการสัมภาษณ์ 2) ร่างรูปแบบ เครื่องมือการวิจัย คือ แบบสอบถาม และ 3) พัฒนารูปแบบ แหล่งข้อมูลคือ เอกสารงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดระเบียบทางสังคม ลักษณะบริบทและการด�ำเนินธุรกิจค้าขยะรีไซเคิล ขั้นตอนที่ 3 การน�ำเสนอและประเมินผลรูปแบบ การจัดระเบียบสังคมแบบภาครัฐร่วมเอกชนส�ำหรับ ธุรกิจค้าขยะรีไซเคิล ในมิตดิ า้ นกฎหมายและการจัดการ ได้แก่ 1) น�ำเสนอรูปแบบเครือ่ งมือการวิจยั คือ การตรวจ สอบและประเมินรูปแบบจากผู้เชี่ยวชาญ 2) ตรวจสอบ และประเมินรูปแบบ เครื่องมือการวิจัยคือแบบประเมิน รูปแบบส�ำหรับผู้เชี่ยวชาญและ 3) สรุปข้อมูลทั้งหมด

ผลการวิจัย

ข้ อ มู ล พื้ น ฐานของกลุ ่ ม ตั ว อย่ า งที่ ใช้ ใ นการวิ จั ย ครั้งนี้ ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นสถานประกอบการธุรกิจ ค้าขยะรีไซเคิลเจ้าของคนเดียวที่อยู่ในกรุงเทพมากที่สุด รองลงมา คือ จังหวัดนครปฐม และจังหวัดปทุมธานี ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ระยะเวลาด�ำเนินกิจการ 3–10 ปี มีจ�ำนวนพนักงาน 10-30 คน ความคิดเห็นที่มีต่อการจัดระเบียบสังคมของธุรกิจ ค้าขยะรีไซเคิลผูต้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็นว่าเป็น บทบาทและหน้าที่ของภาครัฐกับภาคเอกชนเป็นส่วน มากควรมีการสนับสนุนการรวมกลุ่มเป็นเครือข่าย โดย จัดตั้งเป็นองค์กรอิสระ ร่วมกันก�ำหนดยุทธศาสตร์และ เป้าหมายเป็นตัวแทนเพียงหน่วยงานเดียวลดการท�ำงาน ที่ทับซ้อน มีหน้าที่ในการก�ำหนดโครงสร้างอย่างชัดเจน และสอดคล้องกับความต้องการของผู้ประกอบอาชีพ ค้าขยะรีไซเคิลภาครัฐต้องมีความจริงใจและเต็มใจในการ ช่วยเหลือ เช่น การก�ำหนดโครงสร้างภาษีที่เหมาะสม การจดทะเบียนกลุม่ ผูป้ ระกอบอาชีพค้าขยะรีไซเคิล การ สร้างภาพลักษณ์ทถี่ กู ต้องให้สงั คมยอมรับการจ่ายค่าแรง ทีเ่ ป็นธรรม การตัง้ กองทุนเงินส�ำรองในกรณีฉกุ เฉิน การ จัดสรรเงินชดเชย ส่งเสริมการท�ำงานที่มีความปลอดภัย การสร้างรูปแบบการจัดระเบียบสังคมในมิติด้าน การจัดการ มีปัจจัยสนับสนุนความส�ำเร็จตามพันธะ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

สัญญาของภาครัฐกับภาครัฐ คือ ความเป็นเอกภาพของ หน่วยงานภาครัฐ ได้แก่ ระบบการจัดการบุคลากร ระบบ การสือ่ สารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบการส่งเสริม และสนับสนุน ระบบการประกันคุณภาพภายในหน่วย งานส่วนพันธะสัญญาภาคเอกชนกับภาคเอกชน คือ ความเป็นกัลยาณมิตรมีข้อตกลงที่ต้องเปิดเผยอย่าง โปร่งใส จริงใจ และตรงไปตรงมา และพันธะสัญญา ภาครัฐกับภาคเอกชน คือ การประสานความร่วมมือโดย แบ่งออกเป็น 3 ระบบ ดังต่อไปนี้ ระบบการติดต่อสือ่ สาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบการจัดการและการ ส่งเสริมความรู้ ระบบการจัดสรรงบประมาณและภาษี ส่วนความคิดเห็นทีม่ ตี อ่ มิตดิ า้ นกฎหมายทีส่ อดคล้องกับ การจัดระเบียบสังคมธุรกิจค้าขยะรีไซเคิล พบว่า ควรมี 1) กฎหมายเพื่อการควบคุมธุรกิจค้าขยะรีไซเคิล และ 2) กฎหมายเพื่อการคุ้มครองและสนับสนุน นอกจากนี้ ควรมีการสนับสนุนความเป็นธรรมในด้านสวัสดิการ ต่างๆ เช่น เงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน เงินชดเชย

71

ผลประโยชน์ที่พึงได้รับ เป็นต้น การประเมิ น ผลรู ป แบบการจั ด ระเบี ย บสั ง คม ผู้วิจัยได้น�ำรูปแบบการจัดระเบียบสังคมให้ผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบและประเมิ น ความเหมาะสม พบว่ า ใน ด้านที่ 1) โครงสร้างและองค์ประกอบของรูปแบบ คือ ความยั่งยืน ความมีคุณค่า และประโยชน์ อยู่ในระดับ มากที่สุดในด้านที่ 2) กระบวนการพัฒนารูปแบบ คือ มีความถูกต้องเหมาะสม ส่วนในด้านที่ 3) การน�ำรูปแบบ ไปใช้ คือ ความมีประสิทธิภาพความสัมพันธ์สอดคล้อง กับบริบทและด้านความเป็นไปได้ทางปฏิบัติ ส�ำหรับผลการรับรองของผูเ้ ชีย่ วชาญทีม่ ตี อ่ ภาพรวม ของรูปแบบการจัดระเบียบสังคมแบบภาครัฐร่วมเอกชน ส�ำหรับธุรกิจค้าขยะรีไซเคิลจ�ำนวน 4 คน และอยู่ใน ระดับดี จ�ำนวน 1 คน ผู้วิจัยจึงได้สังเคราะห์รูปแบบการ จัดระเบียบสังคมแบบภาครัฐร่วมเอกชน ส�ำหรับธุรกิจ ค้าขยะรีไซเคิลดังภาพ

ภาพที่ 2 รูปแบบการจัดระเบียบสังคมแบบภาครัฐร่วมเอกชน ส�ำหรับธุรกิจค้าขยะรีไซเคิล มิติด้านกฎหมายและการจัดการ จากภาพจะเห็นการจัดระเบียบในแต่ละระดับสังคม จากระดับบุคคล ไปถึงระดับกลุ่มและไปสู่ระดับสังคม โดยก�ำหนดบทบาทของแต่ละสังคม ออกเป็น 2 มิติ คือ 1) มิตดิ า้ นกฎหมาย และ 2) มิตดิ า้ นการจัดการ เพือ่ เป็น หลักปฏิบัติและเป็นแนวทางที่เหมาะสมน�ำไปสู่การจัด

ระเบียบสังคมธุรกิจค้าขยะรีไซเคิลที่ยั่งยืนต่อไป

อภิปรายผลการวิจัย

1. การจัดระเบียบสังคมธุรกิจค้าขยะรีไซเคิล เป็น บทบาทและหน้ า ที่ ข องภาครั ฐ ที่ ค วรมี ตั ว แทนเพี ย ง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


72

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

หน่วยงานเดียวเป็นผูก้ ำ� หนดโครงสร้างการบริหารอย่าง ชัดเจนและสอดคล้องกับความต้องการของผู้ประกอบ อาชีพค้าขยะรีไซเคิล เพือ่ ลดการท�ำงานทับซ้อน และเป็น บทบาท หน้าที่ของภาครัฐกับภาคเอกชนที่มีระเบียบ กฎเกณฑ์ มีการให้ความร่วมมือ และไม่ขัดต่อศีลธรรม อันดีงามของสังคม สอดคล้องกับ ชัยชาญ พูนผล (2550: 13) ที่กล่าวว่า การจัดระเบียบสังคมของคนในชุมชนฯ จะประสบความส�ำเร็จได้นั้น ความร่วมมือหรือการมี ส่วนร่วมพิจารณาตัดสินใจ การร่วมปฏิบัติ ร่วมรับผิดชอบ ในสิ่งที่จะมีผลถึงตัวของประชาชน 2. การสร้างรูปแบบการจัดระเบียบสังคม ในมิตดิ า้ น การจัดการ ควรมีปจั จัยสนับสนุนความส�ำเร็จตามพันธะ สัญญาของภาครัฐกับภาครัฐ คือความเป็นเอกภาพ ได้แก่ ระบบการจัดการบุคลากร ระบบการสื่อสารและ เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบการส่งเสริมและสนับสนุน ระบบการประกันคุณภาพภายในหน่วยงาน ความร่วม มือในการจัดการให้ความรู้ร่วมกันระหว่างภาครัฐและ ภาคเอกชน เช่น ความรูเ้ กีย่ วกับการเพิม่ มูลค่าทางธุรกิจ ความรู้เกี่ยวกับการรักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอนามัย ความรู้ในเรื่องแรงงาน และการใช้แรงงาน ความรูใ้ นเรือ่ งเทคโนโลยีทจี่ ำ� เป็นเป็น ต่อการประกอบอาชีพ เป็นต้น การส่งเสริมและให้ความรู้ ความเข้าใจอย่างรอบด้าน เพื่อเป็นพื้นฐานในการสร้าง ความร่วมมือ ส�ำหรับการจัดระเบียบสังคมแบบภาครัฐ ร่ ว มเอกชนที่ ถู ก ต้ อ ง สอดคล้ อ งกั บ ผลการวิ จั ย ของ ภิรมย์ลักษณ์ โกสิลา (2553: บทคัดย่อ) ที่กล่าวว่า ความรู้ เกีย่ วกับนโยบายจัดระเบียบสังคม ทัศนคติตอ่ ประโยชน์ และต่อแนวทางการปฏิบตั ใิ นการสร้างความเป็นหุน้ ส่วน ทางสังคมมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับทัศนคติตอ่ นโยบาย จัดระเบียบสังคม 3. การสร้างรูปแบบการจัดระเบียบสังคม ในมิตดิ า้ น กฎหมายที่สอดคล้องกับการจัดระเบียบสังคมธุรกิจค้า ขยะรีไซเคิล พบว่า ควรมี 1) กฎหมายเพื่อการควบคุม ธุรกิจค้าขยะรีไซเคิล เป็นกฎหมายทีม่ ขี อ้ บังคับทีเ่ ข้มงวด และเคร่งครัด มีบทลงโทษเป็นตัวก�ำกับให้เข้าสู่การ ปฏิบัติตามกฎหมาย แต่ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความยืดหยุ่น

และไม่เป็นการบีบบังคับฝืนใจมากจนเกินไป จึงได้มกี าร ก�ำหนดให้มีกฎหมายเพื่อการคุ้มครองและสนับสนุน ธุรกิจค้าขยะรีไซเคิลควบคู่กันไป สอดคล้องกับผลการ วิจัยของสรรพวัฒน์ สุขศิริ (2549) ที่พบว่า การจัด ระเบียบสังคมมีผลต่อชุมชนฯ ซึ่งต้องมีการใช้ระเบียบ ข้อบังคับ และกติกาของสังคมในชุมชน ควรก�ำหนดให้ เป็นรูปธรรม และ 2) กฎหมายเพื่อการคุ้มครองและ สนับสนุน นอกจากนี้ ควรมีการสนับสนุนความเป็นธรรม ในด้านสวัสดิการต่างๆ เช่น เงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน เงินชดเชย ผลประโยชน์ที่พึงได้รับซึ่งสอดคล้องกับงาน วิจัยของนริศรา ดอกมณฑา (2554: 14) ที่กล่าวว่า ผู้ประกอบอาชีพเก็บและรับซื้อของเก่า (ซาเล้ง) เป็น อาชีพนอกระบบ ไม่ทราบจ�ำนวนที่แน่นอน ถือเป็นส่วน หนึง่ ของเศรษฐกิจเมืองทีค่ นส่วนใหญ่ควรเห็นคุณค่าและ ให้ความเข้าใจ 4. การก�ำหนดโครงสร้างรูปแบบการจัดระเบียบ สังคมทีช่ ดั เจนได้ถกู อธิบายและสอดคล้องกับปรากฏการณ์ ตามที่ Keeves (1988) กล่าวว่าการพัฒนารูปแบบที่ดี และน�ำไปใช้ประโยชน์ในการสร้างรูปแบบได้ ควรมี ลักษณะที่ส�ำคัญ คือ ความมุ่งมั่นของทุกฝ่ายทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนที่ จ ะสร้ า งพั น ธะสั ญ ญาร่ ว มกั น ซึ่ ง ผลจากการวิจัย พบว่า รูปแบบการจัดระเบียบสังคมแบบ ภาครัฐร่วมเอกชนนี้ สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของ องค์ประกอบและสอดคล้องกับปรากฏการณ์ทางสังคม บริบทของธุรกิจค้าขยะรีไซเคิลได้ 5. การพัฒนารูปแบบการจัดระเบียบสังคมแบบภาค รัฐร่วมเอกชน ผลการรับรองของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อภาพ รวมของรูปแบบการจัดระเบียบสังคมแบบภาครัฐร่วม เอกชนส�ำหรับธุรกิจค้าขยะรีไซเคิลอยูใ่ นระดับดีมากนัน้ ควรเป็นรูปแบบทีม่ คี วามยืดหยุน่ ต่อบริบทและความพร้อม ของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพค้าขยะรีไซเคิลในแต่ละพื้นที่ ทั้งนี้ วาโร เพ็งสวัสดิ์ (2553) กล่าวว่าการทดสอบรูปแบบ ด้ ว ยการประเมิ น โดยผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ แสดงให้ เ ห็ น ว่ า ผลการรั บ รองของผู ้ เชี่ ย วชาญที่ มี ต ่ อ ภาพรวมของ รูปแบบการจัดระเบียบสังคมแบบภาครัฐร่วมเอกชน ส�ำหรับธุรกิจค้าขยะรีไซเคิล อยู่ในระดับดีมาก 6. การประเมินรูปแบบการจัดระเบียบสังคมแบบ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

ภาครั ฐ ร่ ว มเอกชน ส� ำ หรั บ ธุ ร กิ จ ค้ า ขยะรี ไซเคิ ล ใน ด้านที่ 1 โครงสร้างและองค์ประกอบของรูปแบบ คือ ความยั่งยืน ความมีคุณค่าและประโยชน์ ในด้านที่ 2 กระบวนการพัฒนารูปแบบ คือ ความถูกต้องเหมาะสม มี ค วามยื ด หยุ ่ น ต่ อ บริ บ ทและความพร้ อ มของกลุ ่ ม ผู ้ ป ระกอบอาชี พ ค้ า ขยะรี ไซเคิ ล ในแต่ ล ะพื้ น ที่ ส ่ ว น ในด้านที่ 3 การน�ำรูปแบบไปใช้ คือ ความมีประสิทธิภาพ และด้านความเป็นไปได้ทางปฏิบัติ 7. การสร้างเครือข่ายเพือ่ เชือ่ มโยงความสัมพันธ์ของ กลุ่มคนในสังคมธุรกิจค้าขยะรีไซเคิล จากผลการวิจัย พบว่าผู้ประกอบอาชีพค้าขยะรีไซเคิลมีความคิดเห็น เกี่ ย วกั บ การร่ ว มกั น ก� ำ หนดข้ อ ปฏิ บั ติ ก ฎเกณฑ์ แ ละ แนวทางในการประกอบอาชีพค้าขยะรีไซเคิลที่ชัดเจน มีความเท่าเทียมกันและมีการรวมกลุ่มเป็นเครือข่าย ผู้ประกอบอาชีพค้าขยะรีไซเคิลที่ชัดเจนอาจจัดตั้งใน ลักษณะของสหกรณ์หรือสมาคมที่ขึ้นทะเบียนถูกต้อง ตามกฎหมาย ซึ่งสอดคล้องกับภาพรวมกระบวนการ ด� ำ เนิ น งานในธุ ร กิ จ บริ ก ารคั ด แยกขยะเพื่ อ รี ไซเคิ ล

73

ที่แสดงให้เห็นถึงโซ่อุปทานของกิจกรรมต้นน�้ำกิจกรรม ระหว่างด�ำเนินงานและกิจกรรมปลายน�้ำ (กระทรวง พาณิชย์, 2552) 8. การเรียกร้องการสนับสนุนจากภาครัฐนัน้ นโยบาย ของภาครัฐไม่มีความชัดเจนที่จะสนับสนุนกิจกรรมการ คัดแยกขยะของผู้ประกอบธุรกิจคัดแยกขยะรีไซเคิล การน�ำวัสดุกลับมาใช้ใหม่อย่างเป็นรูปธรรม ผลการวิจัย ของญาณัญฎา ศิรภัทร์ธาดา (2553) ยังกล่าวว่ามี ผูป้ ระกอบการคัดแยกขยะรีไซเคิลจ�ำนวนมากยังขาดการ สนับสนุนงบประมาณเพื่อการวิจัยและพัฒนาเครื่องมือ เครือ่ งจักร อุปกรณ์ จึงท�ำให้ผปู้ ระกอบการเรียกร้องแรง สนับสนุนจากภาครัฐบาล นอกจากนัน้ สมไทย วงษ์เจริญ (2551) กล่าวถึงนโยบายของภาครัฐบาล เช่น โครงสร้าง ภาษียังเป็นระบบภาษีที่ล้าสมัย ซึ่งเป็นเสียงสะท้อน ที่ ต ้ อ งการให้ ภ าครั ฐ บาลเร่ ง แก้ ไขและพิ จ ารณาให้ สอดคล้ อ งกั บ สภาพความเป็ น จริ ง ที่ ส อดคล้ อ งกั บ ผลการวิจัยในครั้งนี้

บรรณานุกรม

กระทรวงพาณิชย์. (2552). คู่มือธุรกิจบริการคัดแยกขยะเพื่อรีไซเคิล. กรุงเทพฯ. จ�ำนงค์ วงศ์สว่าง. (2552, มีนาคม 4). บทสัมภาษณ์รองผู้ว่าการระบบส่ง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. ไทยรัฐ, 4. ชัยชาญ พูนผล. (2550). ความต้องการของผู้ประกอบการสถานบริการในการจัดระเบียบสังคมสถานบริการ: ศึกษา กรณีอ�ำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการ บริหารทั่วไป), มหาวิทยาลัยบูรพา. ญาณัญฎา ศิรภัทร์ธาดา. (2553). ซาเล้งเก็บของเก่าคนจนผู้ยิ่งใหญ่หรือภัยสังคมที่น่ากลัว. วารสารการจัดการ. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. กรกฎาคม, 3(2), 21. ญาณัญฎา ศิรภัทร์ธาดา. (2553). ยุทธศาสตร์การสร้างมูลค่าเพิ่มของการคัดแยกขยะเพื่อรีไซเคิล เชิงธุรกิจส�ำหรับ ผู้ประกอบการและชุมชนในเขตจังหวัดภาคกลางของประเทศไทย. (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. นิทรา กิจธีระวุฒวิ งษ์. (2555). วิธีการวิจัยเชิงผสมผสานส�ำหรับงานสาธารณสุข. วารสารสาธารณสุข, มหาวิทยาลัย บูรพา. กรกฎาคม-ธันวาคม, 7(2), 32. นริศรา ดอกมณฑา. (2554). ธุรกิจซื้อ-ขายของเก่าที่ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของประชาชนในเขตต�ำบลเวียงฝาง อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. พิสิฐ กังไพบูลย์. (2555). การเมืองของการน�ำนโยบายการจัดระเบียบสังคมรูปแบบจังหวัดอุบลราชธานีไปฏิบัติ ศึกษาเฉพาะสถานประกอบการในเขตพื้นที่อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรรัฐศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


74

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ภิรมย์ลักษณ์ โกสิลา. (2553). ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้างความเป็นหุ้นส่วนทางสังคมในการจัด สวัสดิการแบบบูรณาการ: กรณีศึกษา ศูนย์บริการทางสังคมแบบมีส่วนร่วม. วิทยานิพนธ์หลักสูตร สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วิชัย ภู่โยธิน. (2551). หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการด�ำเนินชีวิตในสังคม ม.4-ม.6. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: อักษร เจริญทัศน์. วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2553). การวิจัยพัฒนารูปแบบ. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, กรกฎาคม-ธันวาคม, 2(4), 79-83. วรรณวิภา ทัพวงศ์. (2551). การติดตามประเมินผลและพัฒนาโครงการจัดระเบียบสังคมบริเวณปริมณฑลมหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์พื้นที่ต้นแบบชุมชนน่าอยู่และปลอดภัยซอยประชาชื่น-นนทบุรี 8 (Campus Safety Zone) (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. ศูนย์สนเทศและหอสมุด. สมไทย วงษ์เจริญ. (2554). รวยด้วยขยะ. กรุงเทพฯ: โพสต์บุ๊กส์. สมไทย วงษ์เจริญ. (2551). คู่มือคัดแยกขยะประจ�ำบ้าน. กรุงเทพฯ: จ�ำปาทองพริ้นติ้ง. สุรพงษ์ ลือทองจักร. (2552). หลักมานุษยวิทยาและหลักสังคมวิทยา. อุดรธานี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรราชธานี. สุวรรณา จึงรุ่งเรือง. (2553, มิถุนายน 23). สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อมไทย. ประชาชาติธุรกิจ, 8. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554). กรุงเทพฯ: สํานักนายกรัฐมนตรี. สรรพวัฒน์ สุขศิริ. (2549). การจัดระเบียบสังคมกับชุมชนปลอดยาเสพติด: วิทยานิพนธ์หลักสูตรยุทธศาสตร์ การ พัฒนามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. Keeves, P. J. (1988). Model and Model Building. Educational Research. Methodology any measurement: An international Handbook. Oxford: Pergamon Press. Cronbach, L. J. (1970). Essentials of psychological testing (3rd ed.). New York: Harper & Row.

Translated Thai References

Chuengroongroeng, S. (2010, June 23). Environmental Situations in Thailand. Prachachart, 8. Dokmontha, N. (2011). The Effectof Recycling Garbage Separation Business towards The Fang’s Ways Lives, Chiangmai. (Unpublished Thesis). Chiang Rai University. [in Thai] Kangpaibool, P. (2012). The Politics on the Implementation of the Social Disorder Organization in Entertainment Complexes in Muang District, UbonRatchathani. (Unpublished Thesis). UbonRatchathani University. [in Thai] Kittherawutthiwong, N. (2012). Mixed Research Methodsfor Public Health Care. Journal of Burapha University. July-December 7(2), 32. [in Thai] Kosila, P. (2010). Knowledge, Attitudes and Implementations regarding the Social Partners Creation in the Welfare Integration: A Case Study of the Social Participatory Services Center. (Unpublished Social Work thesis). Social Welfare Administration and Policy Program). Thammasart University. [in Thai] Luethongchak, S. (2009). Sociology and Anthropology. The Faculty of Sociology and Anthropology. UdonRatchathani University. [in Thai] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

75

Office of the National Economics and Social Development Board. (2011). National Economic and Social Development Act, B.E. 2007-2011. Bangkok: Prime Minister’s Office. [in Thai] Pengsawat, W. (2010). A Research & Development Model. Journal of SakolNakhon Rajabhat University. July-December, 2(4), 79-83. [in Thai] Phuyothin, W. (2008). Civics Cultural and Social Life. (1sted.). Bangkok: Aksorncharoenthat. [in Thai] Poonphol, C. (2007). The Needs of Business Entrepreneur for Social Disorder Operation : A Case Study of AmperMuangRayong. Rayong Province. (unpublished Thesis). Burapha University. [in Thai] Siraphatthada, Y. (2010). Strategies Management on How to Increase Value Added of Recycle Garbage Separation for Entrepreneurs and Communities in The Central Area of Thailand (Research Report). Bangkok: Suan Sunandha Rajabhat University. [in Thai] Siraphatthada, Y. (2010). Zaleng: A Great Poor Curve Side Garbage Collector, or The Terrible Social Harm. Journal of The Faculty Management Science, Suan Sunandha Rajabhat University. 3(2), 21. [in Thai] Suksiri, S. (2006). Drug-Free Community and Social Disorder: (Unpublished Master Degree Thesis in the Strategic Development Program). Phuket Rajabhat University. [in Thai] Thapwong, W. (2008). The Evaluation and Follow-up of Social Order in PrachaCheun-Nonthaburi 8 Suburban Communities as the Most Livable Area in Dhurakij Pundit University (Campus Safety Zone). (Research Report). Bangkok: Information Technology and Library Center, Dhurakij Pundit University. [in Thai] The Ministry of Commerce. (2009). A Handbook for Garbage Recycling Business. Bangkok. [in Thai] Wongcharoen, S. (2011). Richy Rich with Garbage. Bangkok: Post Books. [in Thai] Wongcharoen, S. (2008). A Handbook for Household Garbage Separation. Bangkok: Champathong Printing. [in Thai] Wongsawang, C. (2009). An Interview with Vice Director of Electricity Generating Authority of Thailand. Thai Rath, 4. [in Thai]

Yananda Siraphatthada, born in Phitsanulok, Thailand, obtained her Master of Business Administration, Ramkhamhaeng University, Thailand. She earned a Ph.D. in Innovative Management at Suan Sunandha Rajabhat University (SSRU), Thailand. Ms.Yananda is a lecturer in the Marketing Department of the Faculty of Management Science at SSRU, and a freelance trainer in marketing strategies. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


76

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

การบริหารจัดการสื่อมวลชนกีฬาอาชีพในประเทศไทย กรณีศึกษา บริษัท ไทยพรีเมียร์ลกี จ�ำกัด THE MANAGEMENT OF PROFESSIONAL SPORTS MEDIA IN THAILAND: CASE STUDY OF THAI PREMIER LEAGUE COMPANY LIMITED

บทคัดย่อ

สรายุทธ มหวลีรัตน์1 และวิชิต อู่อ้น2 Sarayuth Mahawaleerat1 and Vichit U-On2

บทความนี้เป็นการน�ำเสนอแนวทางการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการสื่อมวลชนกีฬาที่เหมาะสมของ ประเทศ กรณีศกึ ษากีฬาอาชีพฟุตบอล ซึง่ เป็นผลจากการศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการบริหารจัดการสือ่ มวลชนกีฬา ของบริษัท ไทยพรีเมียร์ลีก จ�ำกัด กับรูปแบบสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ น�ำไปสู่การก�ำหนดเป้าหมายเชิงวิสัยทัศน์ คือ “มีระบบการบริหารสื่อมวลชนที่มีมาตรฐานระดับโลก เป็นที่สนใจของประชาชนทั่วไป และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับกีฬา ฟุตบอลไทย” แบ่งเป็นยุทธศาสตร์ 5 ข้อ ได้แก่ 1) การจัดตั้งทีมงานบริหารสื่อมวลชนและมีบทบาทอย่างมืออาชีพ 2) การจัดระเบียบสื่อมวลชนและความเรียบร้อย 3) การสร้างมาตรฐานสากลให้กับทุกภาคส่วน 4) การสนับสนุนและ เผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสาร และ 5) การด�ำเนินการเพือ่ รองรับเหตุเฉพาะหน้า ผลลัพธ์ของการศึกษา มุง่ หวังการใช้ประโยชน์ ต่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการสื่อมวลชนให้มีการแข่งขันอย่างเป็นมืออาชีพ รวมถึงการน�ำไปประยุกต์ใช้ พัฒนาหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาธุรกิจการกีฬาและการบันเทิงต่อไปในอนาคต ค�ำส�ำคัญ: รูปแบบการบริหารจัดการการสื่อสารมวลชน การบริหารจัดการสื่อสารมวลชนกีฬาอาชีพ ฟุตบอลไทย พรีเมียร์ลีก

ABTRACT

This article presents an approach to the development of appropriate management of professional sports media, case study of Thai Premier League (TPL). According to the comparative study of media management of the Thai Premier League Company Limited and the International Federation of Association Football (FIFA), the result leads to set target as vision, “The media management of TPL develop as global standard, Attract prospects to become a fan, increase economic value of Thai football. This strategic planning has 5 dimensions, First-Established professional Media Management Team, Second-Prepare the regulation of Media Management, Third-Build standardized for all units and sectors, Fourth-Publish and support information, Fifth-Plan for 1 นิสิตหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต

สาขาวิชาธุรกิจการกีฬาและการบันเทิง วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการมหาวิทยาลัยศรีปทุม, Ph.D (Candidate) of Business Administration in Sports and Entertainment Management, Faculty of Business Administration, Sripatum University, E-mail: sarayuth@siamsport.co.th, mahawaleerat@yahoo.com 2 อาจารย์คณะวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม, Lecturer at the Graduate School of Management at Sripatum University ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

77

emergency case. The outcome is to improve media management allow Thai football as professional and adapt for other sports, in addition used to develop business administration program in sports and entertainments management in the future. Keywords: Media Management Model, Management of professional sports media, Football Thai Premier League

หลักการและเหตุผล

การสื่อสาร (Communication) เป็นหนึ่งในปัจจัย แห่งความส�ำเร็จของการบริหารจัดการธุรกิจ (Business Management) ในสภาวะปัจจุบนั เพราะการสือ่ สารถือ เป็นกลยุทธ์สำ� คัญ ถึงแม้วา่ จะเป็นกระบวนการทีเ่ กิดขึน้ ภายหลังหรือพร้อมกันกับการผลิตสินค้าและบริการ แต่ การสือ่ สารถือเป็นกลยุทธ์การบริหารจัดการ (Strategic Management) ให้ขอ้ มูลสูก่ ลุม่ ลูกค้าเป้าหมาย โดยเป็น สิ่งท�ำให้เกิดการส่งเสริมการขาย การกระตุ้นยอดขาย และการโน้มน้าวให้เกิดการสนับสนุนมากขึ้น ตลอดจน เป็นสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับองค์กร (Daniel Balliet, 2011) แม้ในปัจจุบันภาคธุรกิจจะยอมรับว่า การสื่อสาร เป็นเครือ่ งมือส�ำคัญอย่างหนึง่ ในการท�ำธุรกิจ แต่รปู แบบ การบริหารจัดการการสื่อสาร (Media Management Model) ยังมีความหลากหลาย ทั้งในเรื่องของการวาง กลยุ ท ธ์ การวางยุท ธศาสตร์ การเลือกใช้เ ครื่องมือ หรือแม้กระทั่ง ตัวเนื้อหาของการสื่อสาร (Content) ซึ่ง ณ จุดนี้ นักการตลาดด้านการสื่อสารทางการตลาด (Marketing Communication) ต่างก็ยงั คงหาสูตรส�ำเร็จ เพื่อการบริหารจัดการด้านการสื่อสาร เพื่อตอบสนอง ธุรกิจที่มุ่งเน้นความส�ำเร็จอย่างต่อเนื่องและการพัฒนา อย่างยั่งยืน (Philip, Ilchul & Don, 2008) ธุ ร กิ จ การกี ฬ าและการบั น เทิ ง (Sports and Entertainment Business) เข้ามามีบทบาทและให้ ความส�ำคัญกับกิจกรรมทางสังคมและเศรษฐกิจปัจจุบนั อย่างมีแนวโน้มมากขึน้ เพราะกิจกรรมในธุรกิจการกีฬา และการบันเทิงสร้างความสนุกสนาน ความท้าทาย และชวนให้เกิดการติดตามรับชมอย่างต่อเนื่อง จึงเป็น ที่ต้องการของผู้ผลิตที่จะเสนอข้อมูลข่าวสาร และการ โฆษณา ประชาสั ม พั น ธ์ ผ ่ า นช่ อ งทางที่ มี ผู ้ รั บ ชม

เป็นจ�ำนวนมหาศาลดังกล่าว อาทิ การแข่งขันฟุตบอลโลก ปี 2010 แอฟริกาใต้ มีสถิติเครือข่ายโทรทัศน์สูงที่สุด ในทุกเกมการแข่งขัน โดยมีลิขสิทธิ์การถ่ายทอดสด การแข่งขันกว่า 2,000 ช่องใน 5 ทวีป ซึ่งสูงมากขึ้นกว่า การแข่งขันฟุตบอลโลกปี 2006 ที่เยอรมันเป็นเจ้าภาพ เกมรอบชิงชนะเลิศระหว่างอิตาลีกับฝรั่งเศส มีผู้ชม ทั่วโลกถึง 715.1 ล้านคน ชมการถ่ายทอดสดผ่าน โทรทัศน์ทั่วโลก (Scarlett & Kamilla, 2011) การสือ่ สารทางการตลาดไม่ใช่เรือ่ งใหม่สำ� หรับธุรกิจ แต่เป็นเรื่องใหม่ส�ำหรับธุรกิจกีฬาอาชีพในประเทศไทย เพราะกีฬาอาชีพในประเทศไทยอยูใ่ นช่วงก�ำลังพัฒนาสู่ ความเป็นสากล และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งใน ปัจจุบนั เกิดกระแสนิยมและเกิดความต้องการในการรับ รูข้ า่ วสารกีฬาอาชีพมากขึน้ อาทิเช่น การแข่งขันฟุตบอล ไทยพรีเมียร์ลีก วอลเลย์บอล ไทยแลนด์ลีก และตะกร้อ ไทยแลนด์ลีก ฯลฯ (การกีฬาแห่งประเทศไทย, 2554) รัฐบาลมีนโยบายที่จะพัฒนากีฬาอาชีพ (Sports Professional) ของประเทศไทยให้มีศักยภาพเทียบเท่า ระดับสากล โดยมุ่งเน้นให้มีการบริห ารจัดการด้าน การกีฬา โดยประกาศให้แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2550-2554) มีจ�ำนวนกีฬาอาชีพทั้งสิ้น รวม 12 ชนิดกีฬา ประกอบด้วย ประเภททีม 4 ชนิดกีฬา (ฟุ ต บอล เซปั ก ตะกร้ อ วอลเลย์ บ อล และตะกร้ อ ลอดห่วง) ประเภทบุคคล 8 ชนิดกีฬา (กอล์ฟ เทนนิส สนุกเกอร์ โบว์ลงิ่ แบดมินตัน เทเบิลเทนนิส จักยานยนต์ และมวยไทย) ให้เป็นกีฬาอาชีพที่ได้มาตรฐานเทียบเท่า ระดับสากลที่ได้ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการ การกีฬาแห่งประเทศไทยแล้ว และในปี 2554 มีเงิน สนับสนุนทั้งสิ้น เป็นจ�ำนวนเงิน 26,158,390 บาท (กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา, 2554)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


78

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ซึ่งปัจจุบันกีฬาอาชีพที่ได้รับกระแสความนิยมการ เข้าชมสูงสุดในปัจจุบันคือ ฟุตบอล โดยมีการจัดการ แข่งขันภายใต้ชื่อ ฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีก (Football Thai Premier League) ถือเป็นฟุตบอลลีกสูงสุดของ ประเทศไทย ซึ่งบริหารงานโดย บริษัท ไทยพรีเมียร์ลีก จ�ำกัด มีเป้าหมายเพื่อท�ำให้การแข่งขันส�ำเร็จลุล่วงไป ด้ ว ยดี เ ป็ น ที่ ไ ด้ รั บ ความสนใจและเกิ ด กระแสนิ ย ม (สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2555) ซึ่ ง นอกเหนื อ จากการได้ รั บ การสนั บ สนุ น งบประมาณจากภาครัฐ และบุคลากรจากภาคเอกชน ในการบริหารจัดการสโมสรฟุตบอลแล้ว สิ่งส�ำคัญคือ สื่อมวลชน เพราะสื่อมวลชนเป็นผู้น�ำเสนอข่าวสารและ ข้อมูลให้กับผู้ชมในช่องทางต่างๆ ในผลการวิจัยของ สรายุทธ มหวลีรัตน์ (2554) พบว่า ช่องทางที่ได้รับ ความนิยมจากผู้ชมกีฬาฟุตบอลอาชีพตามล�ำดับดังนี้ 1) โทรทัศน์ คิดเป็นร้อยละ 55 2) หนังสือพิมพ์คิดเป็น ร้อยละ 25 3) วิทยุ คิดเป็นร้อยละ 10 4) เว็บไซต์ คิดเป็นร้อยละ 5 5) แมกกาซีน คิดเป็นร้อยละ 4 6) โทรศัพท์ คิดเป็นร้อยละ 1 การวิจัยฉบับนี้มีข้อเสนอ แนะว่ า บทบาทของสื่ อ มวลชนจึ ง มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ สั ง คม อย่างมาก ดังนั้นสื่อมวลชนจึงจะต้องตระหนักถึงความ รับผิดชอบต่อวิชาชีพ โดยจะต้องน�ำเสนอข่าวสารอย่าง ตรงไปตรงมา เพื่อสร้างสรรค์สังคมและในส่วนของ การน�ำเสนอและยังไม่พบรูปแบบการบริหารจัดการสื่อ ทีเ่ ป็นรูปแบบทีเ่ หมาะสม และสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ กับกีฬาอาชีพได้ เพราะการบริหารจัดการแบบมืออาชีพ ในระดับสากล เช่น การบริหารจัดการสื่อมวลชนของ สหพันธ์ฟตุ บอลนานาชาติ (International Federation of Association Football; FIFA) มีแบบแผนที่ดี ชัดเจน เป็นรูปเล่ม สามารถท�ำให้สื่อเข้าใจในบทบาท และตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของสื่อและ ผู้จัดการแข่งขันให้ตรงกัน ส่งผลมาถึงคุณภาพของข่าว ที่ตามมา และระบบการบริหารสื่อที่มีมาตรฐานและยั่งยืน จึงท�ำให้ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะศึกษา “รูปแบบการ บริหารจัดการสื่อมวลชนกีฬาอาชีพในประเทศไทย” ซึ่ง

ผลการศึกษาดังกล่าวสามารถสร้างประโยชน์ต่อวงการ สื่อมวลชนการกีฬาอาชีพในประเทศไทยต่อไปอนาคต วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. ศึกษารูปแบบการบริหารจัดการสื่อมวลชนกีฬา อาชีพของประเทศไทย กรณีศกึ ษาบริษทั ไทยพรีเมียร์ลกี จ�ำกัด 2. ศึกษารูปแบบการบริหารจัดการสื่อมวลชนกีฬา อาชีพของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ 3. เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการสื่อมวลชน กีฬาอาชีพของประเทศไทย กรณีศึกษาบริษัท ไทย พรีเมียร์ลีก จ�ำกัด

สมมุติฐานในการวิจัย

1. การบริหารจัดการสื่อมวลชนกีฬาอาชีพของ ประเทศไทย กรณีศึกษาบริษัท ไทยพรีเมียร์ลีก จ�ำกัด เป็นรูปแบบการบริหารจัดการที่มีต้นแบบการบริหาร จัดการมาจากการบริหารจัดการสื่อมวลชนกีฬาอาชีพ ของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ 2. การบริหารจัดการสื่อมวลชนกีฬาอาชีพ ของ สหพันธ์ฟตุ บอลนานาชาติ เป็นรูปแบบทีม่ มี าตรฐานและ เป็นที่ยอมรับโดยสากลจากทั่วโลก 3. การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการสื่อมวลชน กีฬาอาชีพของประเทศไทย กรณีศึกษาบริษัท ไทย พรีเมียร์ลีก จ�ำกัด สามารถสร้างประโยชน์ต่อวงการ สื่อมวลชนการกีฬาอาชีพในประเทศไทยต่อไปอนาคต

ขอบเขตของการวิจัย

ด้วยข้อจ�ำกัดเรือ่ งเวลา ผูว้ จิ ยั จึงก�ำหนดขอบเขตของ การวิจัยเรื่องการบริหารจัดการสื่อมวลชนกีฬาอาชีพ ในประเทศไทย กรณีศกึ ษา บริษทั ไทยพรีเมียร์ลกี จ�ำกัด ดังต่อไปนี้ 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา ผู้วิจัยจะท�ำการวิจัยเฉพาะ ประเด็น เพือ่ ศึกษารูปแบบการบริหารจัดการสือ่ มวลชน กีฬาอาชีพ กรณีศึกษาบริษัท ไทยพรีเมียร์ลีก จ�ำกัด

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

2. ขอบเขตด้านประชากรศึกษา ประชากรตัวอย่าง 1. สื่ อ มวลชนกี ฬ า ที่ เ ป็ น สมาชิ ก สามั ญ ของสมาคมนักข่าวช่างภาพกีฬาแห่งประเทศไทย จ�ำนวน 262 คน 2. บุคลากรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในการบริหารงาน สโมสรฟุตบอลอาชีพ 3. บุคลากรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในการบริหารงาน ฟุตบอลในส่วนของสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรม-ราชูปถัมภ์ 4. ขอบเขตด้านเวลา ระยะเวลาในการศึกษาใน ปี 2557 ซึ่งเป็นการแข่งขันไทยพรีเมียร์ลีก ในปี 2557

วิธีการด�ำเนินการวิจัย

การวิจยั ครัง้ นีใ้ ช้ระเบียบวิธกี ารวิจยั แบบผสมผสาน โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ ด้วยการส�ำรวจข้อมูล จากการเก็บแบบสอบถาม และใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิง คุ ณ ภาพ ในการเก็ บ ข้ อ มู ล จากผู ้ เชี่ ย วชาญด้ ว ยการ สัมภาษณ์เชิงลึก เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลทีค่ รอบคลุมและมีความ สมบูรณ์ของเนื้อหา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ สมาคมนักข่าวช่างภาพกีฬาแห่งประเทศไทยจ�ำนวน 214 คน และสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ทรงคุณวุฒิ 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม ที่มี ค�ำถามในลักษณะปลายปิด โดยเนือ้ หาของแบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังนี้ (1) ระดับความพึงพอใจของ การบริหารจัดการสื่อสารมวลชนกีฬาอาชีพในวงการ กีฬาที่ได้รับในปัจจุบัน (2) ความต้องการหรือความคาด หวังในอนาคต ข้อสือ่ สารมวลชนกีฬาอาชีพในวงการกีฬา (3) ปัญหาและอุปสรรคในการน�ำหลักการบริหารจัดการ สื่อสารมวลชนกีฬาอาชีพมาใช้ในวงการกีฬา ผู้วิจัยใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้สถิติที่ใช้หา คุณภาพเครือ่ งมือในการวิจยั ค่าดัชนีความวัดสอดคล้อง ระหว่างข้อคําถามกับจุดประสงค์ (index of itemobjective congruence) หรือค่า IOC และหาค่าความ เชื่อมั่น (reliability) ของเครื่องมือ โดยวิธีสัมประสิทธิ์ แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha Coefficiency) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ ได้แก่ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

79

ผลการวิจัย

จากการศึ ก ษาวิ จั ย เรื่ อ งการบริ ห ารจั ด การ สื่อมวลชนกีฬาอาชีพในประเทศไทย กรณีศึกษาบริษัท ไทยพรีเมียร์ลีก จ�ำกัด สรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม ผลการวิจยั เชิงปริมาณ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย 214 คน คิดเป็นร้อยละ 81.7 อายุ 25 - 35 ปี จ�ำนวน 131 คน คิดเป็นร้อยละ 50 ประเภทของสือ่ ส่วนใหญ่เป็น สื่อมวลชนประเภทหนังสือพิมพ์ นิตยสาร จ�ำนวน 141 คน คิดเป็นร้อยละ 53.8 ต�ำแหน่งเป็นผู้สื่อข่าว พิธีกร จ�ำนวน 147 คน คิดเป็นร้อยละ 56.1 ภูมลิ ำ� เนาส่วนใหญ่ มีภูมิล�ำเนาจากกรุงเทพและปริมณฑล จ�ำนวน 147 คน คิดเป็นร้อยละ 56.1 ตามล�ำดับ 2. ระดั บ ความพึ ง พอใจของการบริ ห ารจั ด การ สือ่ สารมวลชนกีฬาอาชีพในวงการกีฬาทีไ่ ด้รบั ในปัจจุบนั พบว่า ความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการสือ่ สารมวลชน กีฬาอาชีพในวงการกีฬาทีไ่ ด้รบั ในปัจจุบนั พบว่า ผูต้ อบ แบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจระดับปานกลาง โดยการวางแผนการประชาสัมพันธ์กิจกรรมการแข่งขัน มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาการแจ้งองค์กรความร่วม มือหรือ องค์กรทีม่ สี ว่ นร่วมในส่วนต่างๆ ของการแข่งขัน และกิจกรรม และการให้ข้อมูลในเรื่องของวัตถุประสงค์ ในการจัดขอบเขตของกิจกรรมที่จะเกิดขึ้น ตามล�ำดับ ความคิดเห็นต่อระดับความพึงพอใจของการจัด องค์กรระบบการบริหารจัดการแข่งขันกีฬาทีไ่ ด้รบั พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจระดับ ปานกลาง โดยความเหมาะสมในเรือ่ งการวางแผนข้อมูล สารสนเทศและการประชาสัมพันธ์มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาความเหมาะสมในเรือ่ งการวางแผนการควบคุม ดูแลองค์ประกอบของการบริหารจัดการให้ลลุ ว่ งไปด้วยดี และความเหมาะสมในเรื่องการวางแผนการอ�ำนวยการ จัดการแข่งขัน ตามล�ำดับ ความคิดเห็นต่อการอ�ำนวยการจัดการแข่งขันกีฬา ที่ได้รับ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความ พึงพอใจระดับปานกลาง โดยด้านการลงทะเบียน ผูต้ อบ แบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจระดับปานกลาง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


80

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

โดยแบบฟอร์ม/เอกสารการลงทะเบียนมีค่าเฉลี่ยมาก ที่สุด รองลงมาการอ�ำนวยความสะดวกในขั้นตอนการ ลงทะเบียน และช่องทางและสถานที่ในการลงทะเบียน ตามล�ำดับ ด้านการให้ข้อมูลส�ำหรับสื่อสารมวลชน ผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจระดับปานกลาง โดยข้อมูลของชนิดกีฬาและทีมที่แข่งขันมีค่าเฉลี่ยมาก ที่สุด รองลงมาข้อมูลด้านการจัดการ เช่น วัน เวลา สถานที่ เส้นทางการเดินทาง เป็นต้น และข้อมูลการ ประชาสัมพันธ์การจัดการแข่งขันล่วงหน้าและต่อเนื่อง ตามล�ำดับ ด้านการอ�ำนวยความสะดวก ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจระดับปานกลาง โดยหน่วย ปฐมพยาบาลมีคา่ เฉลีย่ มากทีส่ ดุ รองลงมาจุดนัดพบและ จุดรอพักสื่อมวลชน และห้องแถลงข่าวและจุดแถลง ข่าวย่อย ตามล�ำดับ ด้านที่ท�ำงานสื่อมวลชน ผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจระดับปานกลาง โดยจุดบริการอาหารและเครื่องดื่มมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาระบบการรายงานผลการแข่งขันผ่านช่องทาง สื่อที่หลากหลาย และห้องส�ำหรับการท�ำงานนอกสถานที่ ตามล�ำดับด้านโอกาสในการท�ำข่าว ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจระดับปานกลาง โดยการเปิด โอกาสในการท�ำข่าวตลอดระยะเวลาการแข่งขันมีคา่ เฉลีย่ มากที่สุด รองลงมาการให้ข้อมูลเชิงลึกทั้งในรูปแบบ ภาพและเสียง และพื้นที่ทางเทคนิคบริเวณขอบสนาม ที่นั่งส�ำหรับนักข่าว สื่อมวลชนในสนามแข่งขัน และ ป้ายบอกทาง หรือสถานทีใ่ นพืน้ ทีก่ ารแข่งขัน ตามล�ำดับ ภายหลังจบการแข่งขัน ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีความพึงพอใจระดับปานกลาง โดยมีการบันทึกเทป การแข่ ง ขั น ทุ ก ครั้ ง ที่ มี ก ารถ่ า ยทอดรวมทั้ ง สปอร์ ต โฆษณามีคา่ เฉลีย่ มากทีส่ ดุ รองลงมามีการจัดท�ำสรุปผล การแข่งขันหรือการรวบรวมผลการแข่งขัน และการ แสดงความขอบคุณแก่สอื่ มวลชนทีใ่ ห้การประชาสัมพันธ์ อย่างเหมาะสม ตามล�ำดับ ความพึงพอใจของการควบคุมการแข่งขันกีฬาที่ได้ รับ พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มคี วามพึงพอใจ ระดับปานกลาง โดยความต่อเนือ่ งของการจัดการแข่งขัน

ทั้ง 3 ช่วง ได้แก่ ก่อนการแข่งขัน ระหว่างการแข่งขัน และหลั ง การแข่ ง ขั น มี ค ่ า เฉลี่ ย มากที่ สุ ด รองลงมา การวางมาตรการในการบริหารจัดการแข่งขันในอนาคต การประเมินผลการบริหารจัดการ และความพึงพอใจกับ การวางแผนรองรับปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้น ตามล�ำดับ ทั้งนี้ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจ การวางแผนระบบบริหารจัดการแข่งขันกีฬาทีไ่ ด้รบั มาก ที่สุด รองลงมาการจัดองค์กรระบบการบริหารจัดการ แข่งขันกีฬาที่ได้รับ การอ�ำนวยการจัดการแข่งขันกีฬา ที่ได้รับ 3. ระดั บ ความคาดหวั ง ของการบริ ห ารจั ด การ สือ่ สารมวลชนกีฬาอาชีพในวงการกีฬาทีไ่ ด้รบั ในปัจจุบนั พบว่า ความคาดหวังของการวางแผนระบบบริหาร จัดการแข่งขันกีฬาที่ได้รับ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่ ว นใหญ่ มี ค วามคาดหวั ง ระดั บ มากที่ สุ ด โดยการ วางแผนการประชาสัมพันธ์กจิ กรรมการแข่งขันมีคา่ เฉลีย่ มากที่สุด รองลงมาการให้ความชัดเจนล่วงหน้าในเรื่อง ก�ำหนดการตารางเวลา ทั้งก่อนและหลังกิจกรรม และ การเปิดโอกาสให้มสี ว่ นร่วมในการแสดงความคิดเห็นใน การวางแผนหรือมีส่วนร่วมในกิจกรรม ตามล�ำดับ ความคาดหวังของการจัดองค์กรระบบการบริหาร จัดการแข่งขันกีฬาที่ได้รับ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่ ว นใหญ่ มี ค วามคาดหวั ง ระดั บ มากที่ สุ ด โดยความ เหมาะสมในเรื่องการวางแผนการอ�ำนวยการจัดการ แข่งขันมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมา ความเหมาะสมใน เรือ่ งการวางแผนข้อมูลสารสนเทศและการประชาสัมพันธ์ และความเหมาะสมในเรือ่ งการวางแผนการควบคุมดูแล องค์ประกอบของการบริหารจัดการให้ลุล่วงไปด้วยดี ตามล�ำดับ ความคาดหวังของการอ�ำนวยการจัดการแข่งขัน กีฬาทีไ่ ด้รบั พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มคี วาม คาดหวังระดับมากที่สุด โดยด้านการลงทะเบียน ผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่มีความคาดหวังระดับมาก โดย ช่องทาง และสถานที่ในการลงทะเบียนมีค่าเฉลี่ยมาก ที่สุด รองลงมาแบบฟอร์ม/เอกสารการลงทะเบียน และ การอ�ำนวยความสะดวกในขั้นตอนการลงทะเบียน ตาม ล�ำดับด้านการให้ข้อมูลส�ำหรับสื่อสารมวลชน ผู้ตอบ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

แบบสอบถามส่วนใหญ่มีความคาดหวังระดับมากที่สุด โดยข้อมูลการประชาสัมพันธ์การจัดการแข่งขันล่วงหน้า และต่อเนื่องมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาก�ำหนดการ และการชีแ้ จงข้อสงสัยในการแข่งขัน ข้อมูลของชนิดกีฬา และทีมที่แข่งขัน ตามล�ำดับ ด้านการอ�ำนวยความสะดวก ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่มีความคาดหวังระดับมากที่สุด โดยห้องแถลง ข่าวและจุดแถลงข่าวย่อยและจุดรับปัญหาและเรื่อง ร้องเรียนในระหว่างการท�ำข่าวการแข่งขันมีค่าเฉลี่ย มากทีส่ ดุ รองลงมาเคาน์เตอร์ลงทะเบียนและเคาน์เตอร์ ประชาสัมพันธ์ตลอดระยะเวลากิจกรรม และกองอ�ำนวย การข่าวสารส�ำหรับสื่อสารมวลชนเพื่อด�ำเนินการด้าน ข่าวสารนิเทศ ก�ำหนดการทางการ ข้อมูลการเข้าร่วม โอกาสในการท�ำข่าว ตามล�ำดับ ด้านทีท่ ำ� งานสือ่ มวลชน ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีความคาดหวังระดับมากที่สุด โดยอินเตอร์เน็ต Wi-Fi มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาระบบการรายงานผลการ แข่งขันผ่านช่องทางสื่อที่หลากหลาย และห้องส�ำหรับ การท�ำงานนอกสถานทีแ่ ละจุดบริการอาหารและเครือ่ งดืม่ ตามล�ำดับ ด้านโอกาสในการท�ำข่าว ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีความคาดหวังระดับมากที่สุด โดยพื้นที่ทางเทคนิค บริเวณขอบสนามมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาที่นั่ง ส�ำหรับนักข่าว สื่อมวลชนในสนามแข่งขัน จุดรายงาน ผลเป็นทางการของคณะกรรมการการแข่งขัน ตามล�ำดับ ภายหลังจบการแข่งขัน ผู้ตอบแบบสอบถามส่วน ใหญ่มคี วามคาดหวังระดับมากทีส่ ดุ โดยมีการจัดท�ำสรุป ผลการแข่งขันหรือการรวบรวมผลการแข่งขันมีค่าเฉลี่ย มากที่สุด รองลงมามีการบันทึกเทปการแข่งขันทุกครั้ง ที่มีการถ่ายทอดรวมทั้งสปอร์ตโฆษณา และการแสดง ความขอบคุ ณ แก่ สื่อมวลชนที่ใ ห้ก ารประชาสัมพัน ธ์ อย่างเหมาะสม ตามล�ำดับ ความคาดหวังของการควบคุมการแข่งขันกีฬาที่ได้ รับ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความคาดหวัง ระดับมากทีส่ ดุ โดยความต่อเนือ่ งของการจัดการแข่งขัน

81

ทั้ง 3 ช่วง ได้แก่ ก่อนการแข่งขัน ระหว่างการแข่งขัน และหลังการแข่งขัน มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมา คือ การวางมาตรการในการบริหารจัดการแข่งขันในอนาคต และความคาดหวั ง กั บ การวางแผนรองรั บ ปั ญ หา เฉพาะหน้าที่เกิดขึ้น ตามล�ำดับ ทั้งนี้ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความคาดหวัง การควบคุมการแข่งขันกีฬาที่ได้รับมากที่สุด รองลงมา การอ�ำนวยการจัดการแข่งขันกีฬาทีไ่ ด้รบั การจัดองค์กร ระบบการบริหารจัดการแข่งขันกีฬาที่ได้รับ และการ วางแผนระบบบริหารจัดการแข่งขันกีฬาที่ได้รับ ซึ่ง สอดคล้องกับผลจากตารางที่ 4.10 ในทิศทางตรงกันข้าม 4. การเปรียบเทียบระดับความคาดหวังและระดับ ความพึงพอใจของการบริหารจัดการสือ่ สารมวลชนกีฬา อาชีพในวงการกีฬาที่ได้รับในปัจจุบัน พบว่า การบริหาร จัดการสื่อสารมวลชนกีฬาอาชีพในวงการกีฬาที่ได้รับ ในปัจจุบัน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความ คาดหวังมากกว่าระดับความพึงพอใจอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิ ติ ร ะดั บ 0.05 โดยการระบุ บุ ค คลและความ รับผิดชอบในการประสานงานก่อนกิจกรรมหรือการแข่งขัน จะเริม่ ขึน้ อย่างเป็นทางการ มีความแตกต่างกันมากทีส่ ดุ รองลงมาการเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการแสดงความ คิดเห็นในการวางแผนหรือมีสว่ นร่วมในกิจกรรม การแจ้ง องค์กรความร่วมมือหรือองค์กรทีม่ สี ว่ นรวมในส่วนต่างๆ ของการแข่งขันและกิจกรรม ตามล�ำดับ การจัดองค์กรระบบการบริหารจัดการแข่งขันกีฬา ทีไ่ ด้รบั พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มรี ะดับความ คาดหวังมากกว่าระดับความพึงพอใจ ที่นัยส�ำคัญทาง สถิตริ ะดับ 0.05 โดยความเหมาะสมในเรือ่ งการวางแผน ในโครงสร้างของระบบการจัดการแข่งขัน มีความแตก ต่างกันมากที่สุด รองลงมาความเหมาะสมในเรื่องการ วางแผนการวางระบบบุคลากรในประสานงานและการ ด�ำเนินการ ความเหมาะสมในเรื่องการวางแผนการ อ�ำนวยการจัดการแข่งขัน ตามล�ำดับ ความคิดเห็นต่อการอ�ำนวยการจัดการแข่งขันกีฬา ที่ได้รับ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดับ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


82

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ความคาดหวังมากกว่าระดับความพึงพอใจ ที่นัยส�ำคัญ ทางสถิติระดับ 0.05 โดย ด้านการลงทะเบียน ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับ ความคาดหวั ง มากกว่ า ระดั บ ความพึ ง พอใจ โดยลง ทะเบี ย นยานพาหนะ มี ค วามแตกต่ า งกั น มากที่ สุ ด รองลงมาช่องทางและสถานที่ในการลงทะเบียน และ การอ� ำ นวยความสะดวกในขั้ น ตอนการลงทะเบี ย น ตามล�ำดับ ด้านการให้ข้อมูลส�ำหรับสื่อสารมวลชน ผู้ตอบ แบบสอบถามมีระดับความคาดหวังมากกว่าระดับความ พึงพอใจ โดยข้อมูลการประชาสัมพันธ์การจัดการแข่งขัน ล่วงหน้าและต่อเนื่อง มีความแตกต่างกันมากที่สุด รอง ลงมาก�ำหนดการและการชี้แจงข้อสงสัยในการแข่งขัน และข้อมูลของชนิดกีฬาและทีมที่แข่งขัน ตามล�ำดับ ด้านการอ�ำนวยความสะดวก ผู้ตอบแบบสอบถาม มีระดับความคาดหวังมากกว่าระดับความพึงพอใจ โดย จุดรับปัญหาและเรือ่ งร้องเรียนในระหว่างการท�ำข่าวการ แข่งขัน มีความแตกต่างกันมากทีส่ ดุ รองลงมาเคาน์เตอร์ ลงทะเบียนและเคาน์เตอร์ประชาสัมพันธ์ตลอดระยะ เวลากิจกรรม และห้องแถลงข่าวและจุดแถลงข่าวย่อย ตามล�ำดับ ด้านทีท่ ำ� งานสือ่ มวลชน ผูต้ อบแบบสอบถามมีระดับ ความคาดหวังมากกว่าระดับความพึงพอใจ โดยระบบ การรายงานผลการแข่งขันผ่านช่องทางสือ่ ทีห่ ลากหลาย มีความแตกต่างกันมากทีส่ ดุ รองลงมาเครือ่ งคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ส�ำนักงานและการสื่อสาร ตามล�ำดับ ด้านโอกาสในการท�ำข่าว ผู้ตอบแบบสอบถามมี ระดับความคาดหวังมากกว่าระดับความพึงพอใจ โดยจุด รายงานผลเป็นทางการของคณะกรรมการการแข่งขัน มี ความแตกต่างกันมากที่สุด รองลงมาพื้นที่ทางเทคนิค บริเวณขอบสนาม และคูม่ อื ส�ำหรับสือ่ มวลชน ตามล�ำดับ ภายหลังจบการแข่งขัน ผูต้ อบแบบสอบถามมีระดับ ความคาดหวังมากกว่าระดับความพึงพอใจ โดยมีการ จัดท�ำสรุปผลการแข่งขันหรือการรวบรวมผลการแข่งขัน มีความแตกต่างกันมากที่สุด รองลงมาการแสดงความ

ขอบคุ ณ แก่ สื่ อ มวลชนที่ ใ ห้ ก ารประชาสั ม พั น ธ์ อ ย่ า ง เหมาะสม และมีการบันทึกเทปการแข่งขันทุกครั้งที่มี การถ่ายทอดรวมทั้งสปอร์ตโฆษณา ตามล�ำดับ ความพึ ง พอใจของการควบคุ ม การแข่ ง ขั น กี ฬ า ทีไ่ ด้รบั พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มรี ะดับความ คาดหวังมากกว่าระดับความพึงพอใจ ที่นัยส�ำคัญทาง สถิติระดับ 0.05 โดยความคาดหวังกับการวางแผน รองรับปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้น มีความแตกต่างกัน มากที่สุด รองลงมาการประเมินผลการบริหารจัดการ และความต่อเนือ่ งของการจัดการแข่งขันทัง้ 3 ช่วง ได้แก่ ก่อนการแข่งขัน ระหว่างการแข่งขัน และหลังการแข่งขัน ตามล�ำดับ ส่วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลจากการสัมภาษณ์ เชิงลึก ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 7 ท่าน ในประเด็นการบริหารจัดการสือ่ มวลชนกีฬาอาชีพ ในประเทศ กรณีศึกษา บริษัท ไทยพรีเมียร์ลีก จ�ำกัด ใน 4 ประเด็น คือ ความคิดเห็นที่มีต่อการบริหารจัดการ สื่อมวลชนกีฬาอาชีพของประเทศไทยในปัจจุบัน ความ คิดเห็นที่มีต่อการบริหารจัดการสื่อมวลชนกีฬาอาชีพ ของบริษัท ไทยพรีเมียร์ลีก จ�ำกัด ในกรณีการจัดการ แข่งขันฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลกี (TPL) วิพากษ์ขอ้ เท็จจริง ระหว่างการบริหารจัดการสื่อมวลชนกีฬาอาชีพของ สหพันธ์ฟตุ บอลนานาชาติและการน�ำมาปรับใช้ในระบบ การบริหารจัดการสือ่ มวลชนกีฬาอาชีพของประเทศไทย ความคาดหวังในอนาคตต่อรูปแบบการบริหารจัดการ สือ่ มวลชนกีฬาอาชีพของประเทศไทยในปัจจุบนั สรุปได้ ดังนี้ การบริ ห ารจั ด การสื่ อ มวลชนกี ฬ าอาชี พ ของ ประเทศไทยในปัจจุบนั พบว่า บทบาทของสือ่ เปลีย่ นแปลง ไปจากเดิ ม มาก ในอดี ต จากที่ สื่ อ จะรายงานผลการ แข่งขันอย่างเดียว และการเผยแพร่ข่าวไปยังประชาชน ที่ต้องใช้ความสัมพันธ์ส่วนบุคคลกับสื่อ สื่อถึงจะช่วย ประชาสัมพันธ์ให้ มาปัจจุบันเป็นสื่อที่วิ่งเข้าหาเพื่อข่าว ที่ประชาชนสนใจมากยิ่งขึ้น ซึ่งเมื่อสื่อเข้ามาช่วยขยาย

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

ข่าวออกไปสู่ประชาชน ก็ท�ำให้เกิดความนิยม และสร้าง แฟนบอลจ�ำนวนมากขึ้นมาสนับสนุนกีฬานั้น ท�ำให้ กีฬานั้นมีมูลค่าน�ำมาซึ่งรายได้ทั้งจากแฟนบอลและ สปอนเซอร์ที่เข้ามาสนับสนุน ส่งผลให้ทั้งองค์กรหรือ สมาคมกีฬา รวมทัง้ สโมสร นักกีฬา ตลอดจนบุคคลทีอ่ ยู่ ในแวดวงกี ฬ าได้ รั บ ผลประโยชน์ กั น เป็ น ลู ก โซ่ เป็ น มาตรฐาน แต่ด้วยข้อจ�ำกัดทั้งการขาดแคลนบุคลากร ทรัพยากร และเครือ่ งมือ ท�ำให้บางองค์กรใช้การจ้างมือ อาชีพเข้ามาบริหารแทน

สรุปและวิจารณ์ผล

จากผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลจากการเก็บแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เชิงลึก สามารถทดสอบสมมติฐาน แต่ละข้อได้ดังนี้ สมมติฐานข้อ 1 การบริหารจัดการสื่อมวลชนกีฬา อาชีพของประเทศไทย กรณีศึกษาบริษัท ไทยพรีเมียร์ลกี จ�ำกัด เป็นรูปแบบการบริหารจัดการที่มีต้นแบบการ บริหารจัดการมาจากการบริหารจัดการสื่อมวลชนกีฬา อาชีพ ของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ จากผลการศึกษา พบว่า ไทยพรีเมียร์ลกี อยูภ่ ายใต้การดูแลสมาคมฟุตบอล แห่งประเทศไทย ซึง่ สมาคมเองได้รบั แนวทางการบริหาร จัดการมาจาก FIFA และ AFC ซึง่ เป็นมาตรฐานทีส่ มาชิก ทุกประเทศต้องไปด�ำเนินงานการบริหารจัดการของไทย พรี เ มี ย ร์ ลี ก ท� ำ ตามที่ ต ่ า งประเทศ หรื อ FIFA และ AFC ด�ำเนินการ แต่คุณภาพการบริหารของไทยยังมี ประสิทธิภาพด้อยกว่า เนือ่ งจากยังไม่ได้รบั การสนับสนุน จากสโมสรสมาชิก สมมติฐานข้อ 2 การบริหารจัดการสื่อมวลชนกีฬา อาชีพ ของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ เป็นรูปแบบที่มี มาตรฐานและเป็นทีย่ อมรับโดยสากลจากทัว่ โลกซึง่ จาก ผลการศึกษาพบว่า ระบบของสหพันธ์ฟตุ บอลนานาชาติ มีการจัดองค์กรระบบที่ชัดเจน และมีการเผยแพร่ให้ สมาชิกน�ำไปใช้ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน การแข่งขัน ฟุตบอลของไทยเพิง่ เริม่ แข่งมาไม่นาน เทียบกับประเทศ ในยุโรปและอเมริกา ที่มีการแข่งขันมานานมาก เราจึง

83

น�ำต้นแบบจากประเทศเหล่านั้นมาใช้กับการแข่งขันใน ประเทศไทย สมาคมฟุตบอลทุกประเทศที่สังกัด FIFA ต้ อ งมี ก ารบริ ห ารจั ด การระบบตามสหพั น ธ์ ฟุ ต บอล นานาชาติก�ำหนด ถ้าไม่ปฏิบัติตามก็จะเกิดปัญหาและ ไม่สามารถเข้าร่วมกับการแข่งขันที่ FIFA ดูแลได้ ดังนั้น ระบบของ FIFA แน่นอนและดีที่สุด สมมติฐานข้อ 3 การพัฒนารูปแบบการบริหาร จัดการสือ่ มวลชนกีฬาอาชีพของประเทศไทย กรณีศกึ ษา บริษทั ไทยพรีเมียร์ลกี จ�ำกัด สามารถสร้างประโยชน์ตอ่ วงการสื่อมวลชนการกีฬาอาชีพในประเทศไทยต่อไป อนาคตจากผลการศึกษาพบว่า การบริหารสื่อมวลชน ทีม่ คี วามก้าวหน้ามากขึน้ และมีการบริหารจัดการอย่าง เป็นระบบ ท�ำให้การแข่งขันฟุตบอลมีมูลค่าทางการ ตลาดและน�ำมาซึ่งรายได้ต่อทุกภาคส่วนอันจะเป็นการ สร้างมูลค่าให้กบั สโมสร หากไทยพรีเมียร์ลกี มีการบริหาร ที่ดีขึ้น เป็นระเบียบมากขึ้น จะท�ำให้มีมูลค่ามากขึ้น โดยเฉพาะผลประโยชน์จากลิขสิทธิ์ ที่มีเม็ดเงินระดับ ปีละหมืน่ ล้านบาท ในอนาคตการแข่งขันกีฬาทุกประเภท จะขาดการสื่อสารมวลชนไม่ได้ เพราะมีผลในเรื่องของ องค์กรสนับสนุนต่างๆ ถ้าขาดส่วนนี้ไปก็จะไม่สามารถ เติบโตได้เร็ว ในปัจจุบันนั้นไทยพรีเมียร์ลีกได้ในเรื่อง ของสื่อสารมวลชนที่เข้ามามีบทบาทในการเติบโตและ สนับสนุนวงการกีฬามากขึ้น

ข้อเสนอแนะส�ำหรับการท�ำวิจัยครั้งต่อไป

1. การศึกษาครัง้ นีเ้ ป็นการวิเคราะห์หารูปแบบการ บริหารสื่อมวลชน กรณีศึกษาเฉพาะการแข่งขันฟุตบอล ไทยพรีเมียร์ลีกเท่านั้น แต่ส�ำหรับการแข่งขันในระดับ รอง ซึ่งสโมสรส่วนใหญ่มีลักษณะโดยรวมที่เล็กกว่า ทีม ในไทยพรีเมียร์ลีก จะมีข้อจ�ำกัดมากกว่า ดังนั้นรูปแบบ การบริหารสื่อมวลชนอาจจะแตกต่างไปจากการศึกษา 2. การศึกษาครัง้ นีเ้ ป็นการศึกษาเฉพาะรูปแบบการ บริหารสือ่ มวลชน ไม่ได้ศกึ ษาครอบคลุมไปถึงการบริหาร จัดการอื่นๆ ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ส่งผลต่อการแข่งขัน และอาจส่งผลต่อการบริหารสื่อมวลชนเช่นเดียวกัน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


84

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

อย่างเช่น บางสโมสรเป็นหน่วยงานเอกชน แต่บางสโมสร เป็นหน่วยงานกึ่งรัฐวิสาหกิจ ท�ำให้รูปแบบการบริหาร งานแตกต่างกัน ดังนั้นจึงควรศึกษารูปแบบการบริหาร งานที่เหมาะสมและเป็นมาตรฐานเดียวกันทุกทีมต่อไป 3. การศึกษาครัง้ นีเ้ ป็นการศึกษารูปแบบการบริหาร สือ่ มวลชนส�ำหรับการแข่งขันฟุตบอลเท่านัน้ แต่สามารถ น� ำ ไปปรั บ ใช้ ไ ด้ ใ นการแข่ ง ขั น กี ฬ าอื่ น ๆ เช่ น กี ฬ า วอลเลย์บอลทีเ่ พิง่ จะเปิดการแข่งขันในระดับอาชีพ หรือ กีฬาแบดมินตัน เป็นต้น ดังนั้นจึงควรศึกษารูปแบบการ บริหารสือ่ มวลชนในกีฬาอืน่ ๆ เทียบเคียงกับการแข่งขัน ฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีก 4. การศึกษาในครั้งนี้เป็นการประเมินเบื้องต้นต่อ การออกแบบรูปแบบการบริหารสื่อมวลชนที่เหมาะสม

ซึ่งได้มีการน�ำเสนอการจัดตั้งโครงสร้างทีมบริหารขึ้น จึงเป็นโจทย์ทสี่ ำ� คัญในอนาคต ทีต่ อ้ งมีการบริหารจัดการ โครงสร้างและทรัพยากรบุคคลที่เกิดขึ้น ตั้งแต่กรอบ แนวคิ ด ตั ว แบบและการก� ำ หนดทิ ศ ทางของที ม / โครงสร้างบริหาร (Lertchai Suthammanon, 2014) ให้สามารถบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต่อเนื่อง และยั่งยืน 5. จากข้อเสนอทีไ่ ด้วางกรอบการด�ำเนินการไว้ 5 ปี หากได้น�ำผลการศึกษาน�ำไปปรับปรุงการบริหารสื่อมวลชน ส�ำหรับทีมในพรีเมียร์ลกี จริง ควรมีการประเมินผลอย่าง ต่อเนื่อง และในอนาคตอาจศึกษารูปแบบการบริหาร สื่อมวลชนใหม่อีกครั้ง

บรรณานุกรม

กระทรวงท่องเทีย่ วและกีฬา. (2554). แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2550-2554). กรุงเทพฯ: กระทรวง ท่องเที่ยวและกีฬา. การกีฬาแห่งประเทศไทย. (2554). กีฬาเพื่อการอาชีพ. สืบค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2554, จาก http://www.sat. or.th/ th/sport-forprofessional/index.aspx สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2555). เกี่ยวกับ “ทีพีแอลซี” สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2555, จาก http://thaipremierleague.co.th/2015/about_ tpl.php?nid=00643 สรายุทธ มหวลีรัตน์. (2554). อิทธิพลของสื่อต่อการเป็นปัจจัยดึงดูดให้ผู้ชมติดตามการแข่งขันฟุตบอล ไทยพรีเมียร์ลีก. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม. ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี. (2550). แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550-2554. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์สูตรไพศาล. Balliet, D. (2011). Communication and Cooperation in Social Dilemmas: A Meta-Analytic Review. Journal of Conflict Resolution, 54(1) 39–57. Cornelissen, S. & Stewart, K. (2011). The 2010 Football World Cup as a political construct: the challenge of making good on an African promise. The Sociological Review, (72)2, 80-85. Kitchen, P. J., Kim, I. & Schultz, D. E. (2008). Integrated Marketing Communications: Practice Leads Theory Journal of Advertising Research, December. 532-546. Suthammanon, L. (2014). The Role of University Counsil in Human Resource Management Phrase 1: Framework, Model and Direction. Panyapiwat Journal, 5(Special Issue), 145-155. Suthammanon, L. (2014). University Counsil Roles in Human Resource Management Phrase 2: Strategic, Human Resource Management. Panyapiwat Journal, 5(Special Issue), 156-168. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

85

Translated Thai References

Football Association of Thailand under Patronage of His Majesty the King. (2012). About TPL Company. Retrieved May 20, 2012, from http://thaipremierleague .co.th/2015/about_ tpl.php?nid=00643 [in Thai] Mawaleerat, S. (2554). The influence of media toward following football matches of the Thailand Premier League. Bangkok: Sripatum University. [in Thai] Ministry of Tourism & Sports. (2554). Fourth National Sports Development Plan (B.E 2550-2554). Bangkok: Ministry of Tourism & Sports. [in Thai] Office of the National Economic and Social Development Board, Office of the Prime Minister. (2550). Tenth National Sports Development Plan. (B.E 2550-2554). Bangkok: Suthpaisal Publishing. [in Thai] Sports Authority of Thailand. (2554). Professional sports. Retrieved March 31, 2011, from http:// www.sat.or.th/th/sport-forprofessional/index.aspx [in Thai]

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


86

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Sarayuth Mahawaleerat received his Bachelor Degree in Business Administration (Marketing) from Bangkok University and Master Degree in Business Administration (Management) from Rangsit University. He is currently Managing Director of Siam Sport Media Management Company Limited. Also, He is Ph.D (Candidate) of Business Administration in Sports and Entertainment Management, Faculty of Business Administration, Sripatum University. Asst. Prof. Dr. Vichit U-On Dean Graduate College of Management Sripatum University Chairman of Board of Directors, Dollar Rich Co.,Ltd. Educational Background 1998 Bachelor of Science (Agricultural Economics) Kasetsart University 1992 Master of Science (Master of Science)Kasetsart University 1998 D.B.A. (Marketing)The University of Sarasota, USA 2003 D.I.B.A. Nova Southeastern University, Florida, USA Special Working Experience - Director, Consumer Behavior Research Center, Faculty of Business Administration, Sripatum University - Special lecturer, Master/s Degree, Chulalongkorn University - MBA special lecturer for Executive MBA and Yong Executive MBA programs, Academic service, Ramkhamhaeng University - Special lecturer, Ph.D. and MBA programs, daytime period and evening period, Sripatum University - Special lecturer, Bachelor/s and Master/s degree, Thammasart University - Special Lecturer, Master/s degree, Burapha University

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

87

การสร้างความหมายและองค์ประกอบเชิงสร้างสรรค์ของ สื่อทัศน์เพื่อโน้มน้าวใจในการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ THE SIGNIFICATION AND PERSUASIVE ELEMENTS OF CREATIVITY IN VISUAL MEDIA FOR NON-SMOKING CAMPAIGNS ณัฏฐ์ชุดา วิจิตรจามรี1 Natchuda Wijitjammaree1 บทคัดย่อ

การวิจยั มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาการสร้างความหมายของสือ่ ทัศน์ในการรณรงค์เพือ่ การไม่สบู บุหรี่ และการ รับรูข้ องเยาวชนทีม่ ตี อ่ องค์ประกอบเชิงสร้างสรรค์ทมี่ พี ลังโน้มน้าวใจของสือ่ ทัศน์ในการรณรงค์ไม่สบู บุหรี่ แนวคิด และ ทฤษฎีที่เป็นแนวทางการตอบปัญหาน�ำวิจัย ได้แก่ แนวคิดสายตาที่ดี จิตวิทยาของสี การอุปมาอุปไมยเชิงภาพ ภาษา ภาพเชิงเทคนิค แนวทางการศึกษาเชิงสัญญะวิทยา ทฤษฎีโครงความคิดของบุคคลและตารางกรองการรับรู้ แนวคิด การรณรงค์ และแนวคิดการสือ่ สารเพือ่ โน้มน้าวใจ การวิจยั ใช้การวิเคราะห์ตวั บทสือ่ ทัศน์ในการรณรงค์ไม่สบู บุหรีจ่ าก อินเทอร์เน็ต และการสัมภาษณ์เยาวชนเกี่ยวกับการรับรู้องค์ประกอบเชิงสร้างสรรค์ที่มีพลังในการโน้มน้าวใจของสื่อ ทัศน์โดยใช้ตารางกรองการรับรู้เป็นเครื่องมือ ผลวิจยั พบว่า สือ่ ทัศน์สร้างความหมายโดย (1) เนือ้ หาเชิงรูปธรรม โดยใช้สญ ั ลักษณ์แสดงโทษของบุหรี่ ได้แก่ ปืน กระสุนปืน ระเบิดเวลา กะโหลก ลูกดอก (2) เนื้อหาเชิงนามธรรม ได้แก่ ผลกระทบของบุหรี่ในด้านสุขภาพ การ เผาผลาญเงินทอง (3) การใช้สีโทนมืด สีแดง สีขาวด�ำ (4) การจัดองค์ประกอบเชิงพื้นที่ โดยเน้นภาพระยะใกล้ หลัก ความขัดแย้ง การจัดวางในต�ำแหน่งส�ำคัญ การสร้างส่วนเด่นและส่วนรองในภาพ (5) การใช้แสงโลว์คีย์และแสงแข็ง (6) การแสดงออกของอารมณ์ภาพที่สื่อถึงความน่ากลัว รวมทั้งการสร้างความหมายตามแนวทางสัญญะวิทยา ได้แก่ การอุปมาอุปไมยเชิงภาพ อนุนามนัย การเปรียบเทียบคู่ตรงข้าม ส่วนองค์ประกอบเชิงสร้างสรรค์ที่มีพลังในการ โน้มน้าวใจของสื่อทัศน์ในการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ตามการรับรู้ของเยาวชน ได้แก่ (1) จุดจูงใจด้านเหตุผล (2) การอุปมา อุปไมยเชิงภาพ (3) จุดจูงใจด้านอารมณ์ (4) การสื่อสารด้วยวัจนภาษา (5) การแสดงหลักฐาน (6) การใช้ภาพสมจริง และ (7) การใช้จิตวิทยาของสี ผลการวิจัยน�ำไปสู่ข้อเสนอแนะว่าการรณรงค์ควรน�ำเสนอภาพเชิงเปรียบเทียบควบคู่ กับข้อความเพือ่ ตอกย�ำ้ ผลกระทบของบุหรี่ ภาพผูท้ กี่ ำ� ลังสูบบุหรีแ่ ละการสือ่ สารทีใ่ ช้จดุ จูงใจด้านความกลัว เร้าอารมณ์ และโน้มน้าวใจได้ดี ค�ำส�ำคัญ: การสร้างความหมาย การโน้มน้าวใจ การรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ สื่อทัศน์

1 นศ.ด.

(นิเทศศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจ�ำภาควิชานิเทศศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, Ph.D. (Communication Arts) Chulalongkorn University. Assistant Professor at Kasetsart University’s Faculty of Humanities, Department of Communication Arts and Information Science, Email: natchuda_44@live.com ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


88

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Abstract

This research aims to study the signification of visual media for non-smoking campaigns and to understand teenagers’ perception on persuasive elements of creativity of visual media for nonsmoking campaigns. Concepts and theories applied as approaches to research questions are the good eye, psychology of color, pictorial metaphor, technical visual language, semiotic approach, personal construct theory and repertory grid, campaigns, and persuasive communication. Textual analysis technique is applied for studying visual media for non-smoking campaigns from Internet. Teenagers are interviewed on their perception toward creative elements of non-smoking campaign visual media. Repertory grid is used as a tool for the interviews. The research finds that there are ways to signify the meaning of visual media for non-smoking campaigns; (1) concrete content by symbols to show dangers of tobacco like guns, bullets, time bomb, and dart. (2) abstract content showing the effects of smoking concerning health problems and wasting money. (3) colors; dark-tone color, red, black and white. (4) spatial organization focusing on close-up shots, contrast, displaying an object on the most important area, and setting primary and secondary objects (5) low-key and hard light (6) Expressive content focusing on dreadfulness of cigarettes. In addition, there are significations regarding semiotic approach; pictorial metaphor, metonymy, and binary opposition. From the teenagers’ views, persuasive elements of creativity in visual media for non-smoking campaigns are (1) reasoning appeal, (2) pictorial metaphor, (3) emotional appeal (4) verbal communication, (5) evidence presenting, (6) realistic images and (7) psychology of color. Research findings suggest that comparative pictures and texts should be presented together in order to emphasize effects of smoking and pictures showing a smoker and fear-appealing communication are good in emotion arousing and persuasiveness. Keywords: Signification, Persuasion, Non-smoking campaign, Visual media

บทน�ำ

การสู บ บุ ห รี่ เ ป็ น สาเหตุ ส� ำ คั ญ ของการเสี ย ชี วิ ต ที่ป้องกันได้ องค์การอนามัยโลก (World Health Organization - WHO) ระบุว่าบุหรี่คร่าชีวิตประชากร ทัว่ โลกเกือบ 6 ล้านคนในแต่ละปี และคาดว่าในปี 2573 ประชากรมากกว่า 8 ล้านคนในทุกปีจะเสียชีวติ จากบุหรี่ (ทิพวรรณ ไชยูปถัมป์, 2556) การสูบบุหรี่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพมาก บุหรี่มีสารก่อมะเร็งไม่น้อยกว่า 42 ชนิด รวมทัง้ นิโคตินและทาร์ทที่ ำ� ให้เป็นโรคมะเร็ง นอกจากนี้ ผู้ไม่สูบบุหรี่แต่ได้รับควันบุหรี่มือสองก็มีโอกาสเป็น มะเร็งได้เช่นกัน พิษภัยของบุหรี่ต่อสุขภาพของทั้งผู้สูบและผู้ไม่ได้

สูบบุหรี่ท�ำให้มีการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่มาอย่าง ต่อเนือ่ งกว่า 2 ทศวรรษ ประเด็นการรณรงค์ขององค์การ อนามัยโลกในปี 2557 คือ “Raise Taxes on Tobacco” โดยไทยก�ำหนดค�ำขวัญว่า “บุหรี่: ภาษียิ่งเพิ่ม คนตาย ยิง่ ลด” เพราะผลการวิจยั พบว่าการเพิม่ ภาษีชว่ ยลดการ บริโภคยาสูบได้ (ไทยรัฐออนไลน์, 2557) หลายองค์กรมีบทบาทส�ำคัญในการรณรงค์เพือ่ การ ไม่ สู บ บุ ห รี่ อาทิ มู ล นิ ธิ ร ณรงค์ เ พื่ อ การไม่ สู บ บุ ห รี่ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของบุหรี่ นอกจากนี้ รัฐบาลไทยยังออกมาตรการเพือ่ ควบคุมการสูบบุหรีแ่ ละ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

คุ้มครองสุขภาพของคนไทยให้ปลอดภัยจากบุหรี่ เช่น มาตรการทางภาษีและกฎหมายควบคุมการตลาดของ บริษัทบุหรี่ และในปี 2557 กระทรวงสาธารณสุขได้ ประกาศให้ผผู้ ลิตหรือผูน้ ำ� เข้าบุหรีเ่ พิม่ ขนาดของรูปภาพ ข้อความค�ำเตือนเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่บนซองจาก ขนาดร้อยละ 55 ให้มขี นาดร้อยละ 85 ของด้านทีม่ พี นื้ ที่ มากที่สุดอย่างน้อย 2 ด้าน แม้ว่าภาครัฐได้ออกมาตรการควบคุมการบริโภค ยาสู บ และหลายองค์ ก รก็ ไ ด้ ร ณรงค์ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง แต่อัตราการลดลงของการสูบบุหรี่ของคนไทยก็ยังน้อย ผลส�ำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรีป่ ี 2554 พบว่า ประชากร ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปเป็นผู้ที่สูบบุหรี่ร้อยละ 21.4 โดย เป็นผู้ที่สูบบุหรี่ประจ�ำร้อยละ 18.4 และเป็นผู้ที่สูบบุหรี่ นานๆ ครั้ง ร้อยละ 2.9 จ�ำนวนการสูบเฉลี่ยต่อวัน เพิ่มมากขึ้นจาก 10.3 มวนในปี 2550 เป็น 10.8 มวน ในปี 2554 ยิ่งไปกว่านั้นในปี 2554 มีจ�ำนวนนักสูบหน้า ใหม่อายุระหว่าง 15-24 ปี เพิ่มมากขึ้น สิ่งที่น่าเป็นห่วง คือ เยาวชนไทยเริ่มสูบบุหรี่เร็วขึ้น จากในปี 2550 เริม่ สูบอายุเฉลีย่ 16.8 ปี แต่ในปี 2554 เริม่ สูบอายุเฉลีย่ 16.2 ปี (ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2555) การที่ อ ายุ ผู ้ สู บ น้ อ ยลงและเยาวชนมี แ นวโน้ ม สูบบุหรี่สูงขึ้นจากการเป็นนักสูบหน้าใหม่ ถือว่าเป็น สัญญาณอันตรายของสถานการณ์สขุ ภาพ อีกทัง้ การสูบ บุหรี่ของเยาวชนสามารถเป็นประตูด่านแรกของการติด ยาเสพติ ด ผู ้ ติ ด ยาเสพติ ด เกื อ บทั้ ง หมดเริ่ ม จากการ เสพติดบุหรี่ก่อน ปัจจัยทีส่ ง่ เสริมให้เยาวชนสูบบุหรี่ คือ ความอยากลอง ความต้องการตามอย่างเพื่อน คนในบ้าน และคิดว่า การสูบบุหรีแ่ สดงความเป็นผูใ้ หญ่ได้ (ประกิต วาทีสาธกกิจ และกรองจิต วาทีสาธกกิจ, 2556) อีกสิ่งที่น่าห่วง คือ การทีผ่ คู้ า้ บุหรีม่ งุ่ เน้นการตลาดภายใต้แนวคิด “เยาวชน วันนี้ คือ ลูกค้าคนส�ำคัญในวันพรุ่งนี้” โดยใช้กลยุทธ์ เพื่ อ จู ง ใจนั ก สู บ หน้ า ใหม่ ใ นกลุ ่ ม เยาวชนด้ ว ยวิ ธี ที่ หลากหลาย โดยเฉพาะการแบ่งขายบุหรี่ การปรุงแต่งรส และกลิ่ น ดั ง นั้ น การรณรงค์ เ พื่ อ สร้ า งภู มิ คุ ้ ม กั น ให้ เยาวชนห่างไกลจากบุหรี่จึงเป็นสิ่งจ�ำเป็นมาก ปัจจุบันองค์กรที่รณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ อาทิ

89

ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มู ล นิ ธิ ร ณรงค์ เ พื่ อ การไม่ สู บ บุ ห รี่ จึ ง มุ ่ ง รณรงค์ เ พื่ อ สกัดกั้นนักสูบหน้าใหม่หรือเยาวชน เช่น การจัดตั้ง เครือข่ายครูนักรณรงค์เพื่อส่งเสริมให้ครูมีศักยภาพ ในการป้ อ งกั น เยาวชนจากการสู บ บุ ห รี่ นอกจากนี้ การลดนั ก สู บ หน้ า ใหม่ ยั ง เป็ น หนึ่ ง ในยุ ท ธศาสตร์ ของกระทรวงสาธารณสุขในการแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ ในช่วงปี 2555-2557 ด้วย จากการประเมินความ สูญเสียทางเศรษฐกิจ โดยศึกษาต้นทุนความเจ็บป่วย พบว่าการมีนักสูบหน้าใหม่ 1 รายในเพศชายท�ำให้ เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ 158,000 บาท และมี อายุสั้นลง 4.6 ปี ส�ำหรับเพศหญิง ต้นทุนต่อนักสูบ หน้าใหม่มีค่าประมาณ 85,000 บาท โดยจะมีอายุสั้นลง 3.4 ปี (มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์ และคณะ, 2554) ดังนั้น นโยบายที่ช่วยป้องกันนักสูบหน้าใหม่จึงเป็น เรื่องส�ำคัญมาก ในการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ สาร (Messages) เป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญในการโน้มน้าวใจให้ผู้รับสาร เป้าหมายเปลี่ยนแปลงทัศนคติและพฤติกรรม สารไม่ได้ จ�ำกัดเฉพาะข้อความหรือค�ำพูดเท่านั้น ภาพยังเป็น องค์ประกอบส�ำคัญในการกระตุ้นความสนใจ อีกทั้ง สามารถสื่อสารแทนค�ำพูดและมีพลังในการถ่ายทอด ความหมายอันจะส่งผลต่อการตอบสนองทางความคิด และความรูส้ กึ ของผูร้ บั สารได้เป็นอย่างดี แม้แต่กระทรวง สาธารณสุขก็ตระหนักถึงความส�ำคัญของภาพ เห็นได้ จากการก�ำหนดให้ผผู้ ลิตหรือผูน้ ำ� เข้าบุหรีต่ อ้ งเพิม่ ขนาด ภาพเตื อ นพิ ษ ภั ย ของบุ ห รี่ บ นซองบุ ห รี่ เพราะผล การวิจัย พบว่า การใช้ภาพสีขนาดใหญ่เป็นการสื่อสาร ความเสี่ยงทางสุขภาพได้ดีกว่า ผู้บริโภคตอบสนอง เชิงบวกในการจดจ�ำ กระตุน้ ความรูส้ กึ และความต้องการ ของผู้สูบที่จะเลิกสูบได้ บทบาทของภาพในการส่งเสริมประสิทธิผลในการ โน้มน้าวใจมาจากคุณสมบัติทางด้านภาษาที่ส�ำคัญของ ภาพที่แตกต่างจากการสื่อสารวิธีอื่นของมนุษย์ ได้แก่ คุณสมบัติของภาพในด้านสัญรูป (Icon) ท�ำให้ภาพน�ำ เสนอรูปลักษณ์ของบุคคลหรือวัตถุจริงที่ช่วยดึงอารมณ์ ของผู้รับสาร คุณสมบัติในด้านดรรชนี (Index) ท�ำให้

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


90

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ภาพท�ำหน้าที่เป็นหลักฐานหรือข้อพิสูจน์ของผู้โน้มน้าว ใจได้ นอกจากนี้ ภาพยังแสดงข้อโต้แย้งได้ด้วย ซึ่งต้อง อาศัยการตีความของผู้รับสาร คุณสมบัติเหล่านี้ท�ำให้ ภาพมีพลังในการดึงดูดความสนใจและโน้มน้าวใจผู้รับ สารได้ดี นอกจากนี้ ภาพยังมีอิทธิพลต่ออารมณ์ความ รูส้ กึ ของผูร้ บั สาร ผูส้ ร้างสรรค์สามารถน�ำเสนอสิง่ เร้าทาง ภาพต่างๆ อาทิ การแสดงออกทางใบหน้า สิ่งแวดล้อม ทางกายภาพ รวมทัง้ การใช้เทคนิคทางภาพ ไม่วา่ จะเป็น มุมกล้อง ระยะของภาพ เพื่อควบคุมการรับรู้ภาพและ อารมณ์ความรูส้ กึ ของผูร้ บั สาร (Messaris, 1997: 1-34) การศึ ก ษาถึ ง การสร้ า งความหมายของสื่ อ ทั ศ น์ ในการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่เป็นเรื่องส�ำคัญ เพราะ ความหมายที่ ไ ด้ จ ากการสื่ อ สารเป็ น สิ่ ง ที่ ก� ำ หนดผล กระทบที่มีต่อผู้รับสาร ส่วนการค้นหาการรับรู้ของ เยาวชนเกีย่ วกับองค์ประกอบทางการสร้างสรรค์ทมี่ พี ลัง ในการโน้มน้าวใจในการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่จะช่วยให้ได้ แนวทางในการสร้างสรรค์ภาพในการรณรงค์เพือ่ การไม่ สูบบุหรี่ให้สอดคล้องกับการรับรู้ของเยาวชน อันจะมี ส่วนช่วยส่งเสริมประสิทธิผลของการรณรงค์เพือ่ สกัดกัน้ การเป็นนักสูบหน้าใหม่ของเยาวชน

วัตถุประสงค์ในการวิจัย

1. เพื่อศึกษาการสร้างความหมายของสื่อทัศน์เพื่อ โน้มน้าวใจในการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ 2. เพื่อเข้าใจการรับรู้ของเยาวชนเกี่ยวกับองค์ ประกอบเชิงสร้างสรรค์ทมี่ พี ลังในการโน้มน้าวใจของสือ่ ทัศน์ในการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

ทฤษฎีและแนวคิดในการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้ใช้ทฤษฎีและแนวคิดเพื่อเข้าสู่ปัญหา น�ำวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ 1. แนวคิดสายตาที่ดี (The Good Eye) เป็น แนวทางการวิเคราะห์ภาพใน 5 มิติ ได้แก่ เนือ้ หาทางรูป ธรรมและนามธรรม สี การจัดองค์ประกอบเชิงพืน้ ที่ แสง และการแสดงออกของอารมณ์ภาพ ซึ่งจะท�ำให้การ ศึกษาการสื่อความหมายผ่านภาพมีประสิทธิผลมากขึ้น 2. แนวคิดจิตวิทยาของสี สีมีอิทธิพลต่อการรับรู้

อารมณ์ของมนุษย์มักเกี่ยวข้องกับโครงสร้างของสีใน สภาพแวดล้อมรอบตัว สีมพี ลังปลุกเร้าต่อการตอบสนอง ทางอารมณ์ (สมชาย พรหมสุวรรณ, 2548: 57) สีจึงถูก ใช้แทนความหมายในงานสร้างสรรค์ภาพ เช่น สีส้มให้ ความรู้สึกสนุกสนาน 3. แนวทางการศึกษาเชิงสัญญะวิทยา เป็นการ ศึกษาการสื่อความหมายของสัญญะที่เปลี่ยนแปลงได้ ตามบริบท การสร้างความหมายมีหลายวิธี เช่น การ เปรี ย บเที ย บความสั ม พั น ธ์ แ บบคู ่ ต รงข้ า ม (Binary opposition) คือ การน�ำสัญญะที่มีความหมายตรงกัน ข้ามมาวางเปรียบเทียบเพือ่ ให้การสือ่ ความหมายของสิง่ หนึ่งชัดเจนขึ้น เช่น ความรักและความเกลียดชัง การ อุปมาอุปไมย (Metaphor) อนุนามนัย (Metonymy) คือ การใช้ส่วนหนึ่งหรือสัญญะหนึ่งเพื่อสื่อความหมาย แทนส่วนทั้งหมด เช่น การใช้สัญญะหอไอเฟลเพื่อสื่อ ความหมายของประเทศฝรั่งเศส 4. แนวคิดการอุปมาอุปไมยเชิงภาพ ภาพอุปมา อุปไมย (Pictorial metaphor) เป็นภาพที่ใช้เปรียบ เทียบสิ่งของสองสิ่งหรือมากกว่านั้นเพื่อสื่อความหมาย จากสิง่ หนึง่ ให้เข้าใจเป็นอีกสิง่ หนึง่ ซึง่ มีผลต่อความเข้าใจ มากกว่าการอุปมาเชิงภาษา เพราะผู้ส่งสารเลือกภาพที่ ตรงกับเรือ่ งทีจ่ ะน�ำเสนอการเปรียบเทียบ ส่วนการอุปมา ด้วยภาษา ผูร้ บั สารจะต้องจินตนาการภาพขึน้ เอง ซึง่ อาจ ไม่ตรงกับความตัง้ ใจของผูส้ ง่ สาร (Morgan & Reichert, 1999: 1-12) 5. แนวคิดภาษาภาพเชิงเทคนิค เทคนิคภาพต่างๆ เช่น การจัดแสง การจัดองค์ประกอบของภาพ ทัง้ ในด้าน สมดุลของภาพ เส้น สี การเน้นจุดเด่น ต�ำแหน่งมุมกล้อง เลนส์ ระยะชัด ล้วนมีผลต่อการรับรูข้ องผูร้ บั สารในระดับ หนึ่ง และท�ำให้เกิดการสื่อสารความหมายแฝงของภาพ 6. ทฤษฎีโครงความคิดของบุคคลและตารางกรอง การรับรู้ ฟรานเซลลา เบล และแบนิสเตอร์ (Fransella, Bell & Bannister, 2004: 1-52) อธิบายถึงทฤษฎีโครง ความคิดของบุคคล (Personal Construct Theory) ที่พัฒนาโดยจอร์จเคลลี่ (George Kelly) นักจิตวิทยา ชาวอเมริกัน ในปี ค.ศ.1955 การจะเข้าใจผู้อื่นได้ต้อง อาศัยการมองโลกผ่านมุมมองของเขาโดยการค้นหา

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

ระบบโครงความคิด (Construct) ด้วยการสัมภาษณ์ และใช้ “ตารางกรองการรับรู้” (Repertory grid) เป็น เครื่องมือ 7. แนวคิดการรณรงค์ การรณรงค์เป็นความพยายาม อย่ า งมี เ ป้ า ประสงค์ เ พื่ อ ให้ ข ้ อ มู ล และกระตุ ้ น การ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้รับสารโดยใช้กิจกรรม ทางการสื่ อ สารทั้ ง ทางสื่ อ มวลชน และการสื่ อ สาร ระหว่างบุคคล 8. แนวคิ ด การสื่ อ สารเพื่ อ การโน้ ม น้ า วใจ การ โน้มน้าวใจเป็นการพยายามเปลี่ยนความเชื่อ ทัศนคติ หรือพฤติกรรมของบุคคลหนึ่งหรือหลายคน โดยแสดง ข้ อ มู ล หลั ก ฐาน และจุ ด จู ง ใจ หลั ก ฐานที่ น� ำ มาใช้ เช่น ข้อเท็จจริง สถิติ สิ่งของ ภาพถ่าย พยาน เรื่องเล่า ตัวอย่าง (Rogers, 2007: 5) นอกจากนี้ ภาพก็เป็น องค์ประกอบส�ำคัญในการโน้มน้าวใจ ท�ำหน้าที่น�ำเสนอ หรือเป็นตัวแทนความจริง น�ำเสนอหลักฐาน และถ่ายทอด เหตุผลหรือข้อโต้แย้ง (Borchers, 2005: 171-177)

วิธีการวิจัยระเบียบวิธีวิจัย

การวิจัยเรื่องนี้ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยผสมผสานทั้ง ระเบี ย บวิ ธี วิ จั ย เชิ ง คุ ณ ภาพและระเบี ย บวิ ธี วิ จั ย เชิ ง ปริมาณ โดยการวิเคราะห์ตัวบท (Textual Analysis) เพื่ อ ศึ ก ษาการสร้ า งความหมายของสื่ อ ทั ศ น์ ใ นการ รณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ และใช้การสัมภาษณ์ด้วย ตารางกรองการรับรูเ้ พือ่ ค้นหาโครงความคิดทีส่ ะท้อนถึง การรั บ รู ้ ข องเยาวชนที่ มี ต ่ อ องค์ ป ระกอบทางการ สร้างสรรค์ของสื่อทัศน์ที่มีพลังในการโน้มน้าวใจในการ รณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ แหล่งข้อมูลในการวิจัย 1. สือ่ ทัศน์ภาพนิง่ ในการรณรงค์เพือ่ การไม่สบู บุหรี่ ที่สืบค้นทางเว็บไซต์ขององค์กรที่รณรงค์การไม่สูบบุหรี่ ได้แก่ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่และส�ำนักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) รวมทั้ง กูเกิล (Google) ในช่วงเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2556 เนื่องจากเป็นสื่อที่แพร่หลายและผู้รับสารใช้ในการเปิด รับข้อมูลข่าวสารด้านต่างๆ ภาพที่สืบค้นมีจ�ำนวน 105 ภาพ ภาพทั้งหมดน�ำเสนอผลกระทบของการสูบบุหรี่

91

โดยแบ่งเป็นภาพที่น�ำเสนอโทษที่มีต่อสุขภาพและชีวิต ภาพที่น�ำเสนอโทษด้านอื่น เช่น การสิ้นเปลืองเงินทอง จากนั้น นักวิชาการด้านการสื่อสารทางภาพ นักวิชาชีพ ด้านการสร้างสรรค์ภาพ และผู้รับสาร เลือกภาพที่ โน้มน้าวใจได้มากที่สุดคนละ 20 ภาพจาก 105 ภาพ ภาพที่ได้รับการเลือกซ�้ำจากตัวแทน 2 คนขึ้นไปจะน�ำ มาเป็นตัวอย่างภาพในการวิจยั ครัง้ นีป้ รากฏว่ามีตวั อย่าง ภาพทั้งหมด 14 ภาพ 2. เยาวชน ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลายจากโรงเรียนมัธยมในสังกัดส�ำนักงานเขต พื้ น ที่ ก ารศึ ก ษามั ธ ยมศึ ก ษาและสั ง กั ด มหาวิ ท ยาลั ย ในกรุ ง เทพมหานคร รวมทั้ ง นั ก เรี ย นจากโรงเรี ย น อาชี ว ศึ ก ษาในกรุ ง เทพมหานครในสั ง กั ด ส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนเพื่อเป็นผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญ (Key informants) จ�ำนวน 10 คน ด้วยวิธีการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดยเลือกนักเรียนที่ไม่ได้สูบ บุหรี่ เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของกระทรวง สาธารณสุขทีม่ งุ่ ป้องกันนักสูบหน้าใหม่หรือเยาวชน และ เป็นนักเรียนที่เคยเปิดรับข่าวสารการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่

ผลการวิจัย

ผลการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ประเด็นตามปัญหาน�ำ วิจัย มีรายละเอียดดังนี้ 1. การสร้างความหมายของสือ่ ทัศน์ในการรณรงค์ เพื่อการไม่สูบบุหรี่ ผลการวิเคราะห์สอื่ ทัศน์ภาพนิง่ ในการรณรงค์ไม่สบู บุหรี่ พบว่ามีการสร้างความหมายตามแนวคิด The Good Eye และแนวทางสัญญะวิทยาดังนี้ 1.1 เนื้ อ หาเชิ ง รู ป ธรรม คื อ สิ่ ง ของหรื อ วั ต ถุ ที่ ป รากฏในภาพ ผลการวิ จั ย พบว่ า ภาพนิ่ ง ในการ รณรงค์ ไ ม่ สู บ บุ ห รี่ แ สดงภาพสิ่ ง ของหรื อ รู ป สั ญ ญะ ที่ สื่ อ ความหมายได้ ใ นเชิ ง สั ญ ลั ก ษณ์ เ กี่ ย วกั บ โทษ ของบุหรี่ได้ ได้แก่ ปืน กระสุนปืน ลูกดอก ระเบิดเวลา ซึ่งจัดเป็นอาวุธที่ท�ำลายผู้สูบบุหรี่และคนรอบข้างได้ ดังแสดงในภาพที่ 1

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


92

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

eventually destroy your future” บนพื้นภาพสีเข้ม การแสดงภาพควันบุหรี่และมวนบุหรี่สีขาวบนพื้นภาพ สีด�ำ ดังภาพที่ 3 ภาพที่ 1 ภาพรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ 1 ที่มา: picture.4ever.eu/tag/9764/revolver?pg=4, 31 ตุลาคม 2556 1.2 เนือ้ หาเชิงนามธรรม คือ เนือ้ หาเกีย่ วกับความ รู้สึกตามแนวเรื่องของภาพ ภาพนิ่งในการรณรงค์ไม่สูบ บุหรีใ่ ช้วตั ถุสงิ่ ของประเภทอาวุธ ไม่วา่ จะเป็นปืน กระสุน ระเบิดเวลา กะโหลก สะท้อนถึงอันตรายและความน่า กลัวของภัยบุหรี่ ความมืดมนของอนาคตของผู้สูบบุหรี่ อานุภาพแห่งการท�ำลายชีวิต สุขภาพ และเงินทองของ ผู้สูบบุหรี่ ดังภาพที่ 2

ภาพที่ 2 ภาพรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ 2 ที่มา: webdesigncor.com/2010/09/17/effectiveand-creativeanti-smoking-ad-campaign, 4 พฤศจิกายน 2556 1.3 การใช้จิตวิทยาของสี ภาพนิ่งในการรณรงค์ ไม่ สู บ บุ ห รี่ มี ก ารใช้ สี ด� ำ สี น�้ ำ ตาลเข้ ม สี โ ทนมื ด เพื่ อ สือ่ ความหมายถึงความแห้งแล้ง ความหดหู่ ความโศกเศร้า (ทวีเดช จิ๋วบาง, 2547: 59) มีการใช้สีแดงเพื่อสื่อ ถึงอันตราย เช่น การใช้ตัวอักษร “kills” สีแดง ดังแสดง ในภาพที่ 2 ข้างต้น นอกจากนี้ มีการใช้สที ตี่ ดั กันระหว่าง ขาวและด�ำเพื่อสร้างความรู้สึกและอารมณ์ที่ถูกกดดัน ความรุนแรง (วรวุฒิ วีระชิงไชย, 2538: 80) เช่น การใช้ ข้ อ ความสี ข าว “Every breath you take will

ภาพที่ 3 ภาพรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ 3 ที่มา: quitsmokingstuff.com/most-creative-antiSmoking-ads, 15 พฤศจิกายน 2556 1.4 การจัดองค์ประกอบเชิงพื้นที่ เป็นการจัดวาง วัตถุ ส่วนประกอบ และพื้นที่ภายในกรอบภาพเพื่อสื่อ ความหมายและก�ำหนดส่วนที่ต้องการให้ผู้รับสารสนใจ ได้ ภาพนิ่งในการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่มีการสร้างจุดเด่น และจุดสนใจในภาพด้วยวิธีต่างๆ ได้แก่ การจัดวางวัตถุ ในต�ำแหน่งส�ำคัญของภาพ การสร้างส่วนเด่นและส่วน รองในภาพด้วยการใช้ขนาดของสิ่งของในภาพ การ จั ด องค์ ป ระกอบแบบเที ย บเคี ย ง (Juxtaposition) ดังภาพที่ 4 ได้จัดวางบุหรี่ที่พันสายชนวนและนาฬิกา เพื่อต้องการเปรียบเทียบโทษของบุหรี่กับระเบิดเวลาไว้ ในต�ำแหน่งซ้าย-บนของกรอบภาพ ซึง่ ถือว่าเป็นต�ำแหน่ง ที่ส ายตาให้ค วามส�ำคัญมากที่สุด และมีการจัดองค์ ประกอบแบบเทียบเคียงซึ่งเป็นการวางวัตถุสองสิ่งไว้ ข้างๆ กัน เพื่อให้เกิดการรวมกันเป็นองค์ประกอบใหม่ และเกิดความหมายใหม่ขึ้น (Lacey, 1998: 20) ภาพที่ 4 มีการจัดวางเปลวไฟจากไฟแช็กและปลายสายชนวน ที่พันบุหรี่ไว้เทียบเคียงกัน ไฟเป็นสัญญะที่มีความหมาย แตกต่างตามบริบท เป็นได้ทั้งพลังแห่งการสร้างสรรค์ และท�ำลายล้าง การวางเทียบเคียงกับสายชนวนที่พัน บุหรี่ในลักษณะที่บ่งบอกว่าก�ำลังจะถูกจุดไฟ สื่อความ หมายได้ว่าไฟเป็นจุดเริ่มต้นของการตาย อันตรายหรือ ปัญหาที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

ภาพที่ 4 ภาพรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ 4 ที่ ม า: http://www.designyourway.net/blog/ inspiration/remarcable-anti-smoking-advertisingcampaigns-53-examples/, 17 พฤศจิกายน 2556 1.5 การใช้ แ สง จากการวิเคราะห์ภาพในการ รณรงค์เพือ่ การไม่สบู บุหรี่ พบว่ามีการใช้แสงแข็ง (Hard light) หรือแสงทางตรงเพื่อให้เห็นรูปร่างวัตถุในภาพ ชัดเจน แสงแข็งท�ำให้เกิดเงาเข้ม ส่งผลให้ภาพมีความ เปรียบต่างสูงและสื่อความหมายแฝงถึงความแข็งกร้าว และความรุนแรงของอันตรายจากบุหรี่ (Lacey, 1998: 21) (ภาพที่ 4) นอกจากนี้ ยังพบการใช้แสงแบบโลว์คีย์ (Low key) ท�ำให้วัตถุหรือคนในภาพมีความสว่างเพียง เล็กน้อย สือ่ ความหมายแฝงถึงความลึกลับและอันตราย ความน่ากลัว ดังภาพที่ 5

ภาพที่ 5 ภาพรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ 5 ที่มา: www.healthworks.my/top-21-antismoking-ads, 27 ตุลาคม 2556 1.6 การแสดงออกทางอารมณ์ของภาพ ต้องอาศัย การพิจารณาเนือ้ หา แสง สี และการจัดวางองค์ประกอบ เชิงพื้นที่ จากการวิเคราะห์ภาพนิ่งในการรณรงค์เพื่อ การไม่สูบบุหรี่ พบว่า มีการแสดงความรู้สึกน่ากลัว ความมืดมน ความหดหู่ ความรุนแรง ที่มาจากโทษของ บุหรี่ที่มีต่อสุขภาพ เงินทอง และอนาคตของผู้สูบบุหรี่ ตลอดจนการท�ำลายคนรอบข้างด้วยเช่นกัน

93

1.7 การอุ ป มาอุ ป ไมยเชิ ง ภาพ (Pictorial Metaphor) ภาพท�ำหน้าทีใ่ นการเปรียบเทียบเชิงอุปมา อุปไมยได้เช่นเดียวกันกับค�ำพูด ภาพนิ่งในการรณรงค์ เพื่อการไม่สูบบุหรี่มีการใช้รูปสัญญะต่างๆ เช่น ระเบิด เวลา ปืน กระสุน ลูกดอก เชือกรัดคอ เพือ่ สือ่ ความหมาย เชิงเปรียบเทียบกับคุณลักษณะหลักของบุหรี่ด้านการ ท�ำลายชีวิตและอนาคตของผู้สูบบุหรี่ เช่น ภาพที่ 6 เป็นการสื่อความหมายว่าการสูบบุหรี่เหมือนกับการ รัดคอตนเองซึ่งท�ำลายชีวิต

ภาพที่ 6 ภาพรณรงค์เพื่อการมไม่สูบบุหรี่ 6 ที่มา: https://www.facebook.com/ashthai?fref=ts, 18 พฤศจิกายน 56 1.8 อนุนามนัย (Metonymy) เป็นการสื่อความ หมายของสัญญะ 2 ตัวโดยใช้ส่วนย่อยส่วนหนึ่งมายืน แทนความหมายของส่วนรวมทัง้ หมด ภาพในการรณรงค์ เพื่อการไม่สูบบุหรี่มีการสื่อความหมายแบบอนุนามนัย ด้วยการใช้ภาพ “มือ” ยืนแทนความหมายของผูส้ บู บุหรี่ โดยไม่น�ำเสนอใบหน้าหรือล�ำตัวของผู้สูบบุหรี่ที่อาจจะ ท�ำให้ภาพมีองค์ประกอบมากเกินไป และยังท�ำให้การ เน้นจุดเด่นในภาพมีประสิทธิผลมากขึ้น ดังภาพที่ 4 1.9 การเปรี ย บเที ย บคู ่ ต รงข้ า ม (Binary Opposition) เป็นการสื่อความหมายด้วยการจัดคู่ ความสัมพันธ์ของสัญญะทีม่ คี วามหมายตรงข้ามกันภาพ นิ่งในการรณรงค์มีการสื่อความหมายด้วยการเปรียบ เทียบคู่ตรงข้าม ได้แก่ ภาพที่ 4 มีการจับคู่รูปสัญญะ นาฬิกาทีเ่ ป็นสัญลักษณ์ของความก้าวหน้า ความรุง่ เรือง กับรูปสัญญะบุหรีพ่ นั สายชนวนทีก่ ำ� ลังถูกจุดไฟซึง่ สือ่ ถึง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


94

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

การท�ำลาย ภาพที่ 7 มีการใช้รูปสัญญะจากสีฟ้า (เสื้อ ผู้สูบบุหรี่) ซึ่งสื่อความรู้สึกกว้าง สว่าง และสีเหลือง (เปลวไฟ) สื่อความรู้สึกสดใส ร่าเริง กับสีด�ำของเงาผู้สูบ บุหรี่ ที่สื่อความหมายถึงความโศกเศร้า ความมืด ความ ว่างเปล่า (ทวีเดช จิว๋ บาง, 2547: 59) สีทตี่ รงข้ามกันของ ผูส้ บู และเงาผูส้ บู สือ่ ความหมายได้ถงึ ความสุขในขณะสูบ บุหรี่กับความเศร้าโศกจากโทษของการสูบบุหรี่

ภาพที่ 7 ภาพรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ 7 ทีม่ า: https://www.facebook.com/ashthai?fref=ts, 22 พฤศจิกายน 56 2. การรับรู้องค์ประกอบทางการสร้างสรรค์ที่มี พลังโน้มน้าวใจของสื่อทัศน์ในการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ จากการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลักด้วยการใช้ตาราง กรองการรับรู้เป็นเครื่องมือ โดยผู้ให้ข้อมูลเลือกภาพ ทีโ่ น้มน้าวใจได้มากทีส่ ดุ 7 ภาพ เพราะตามหลักจิตวิทยา การรับรูบ้ คุ คลจะสนใจต่อสิง่ เร้าทีอ่ ยูเ่ บือ้ งหน้าได้ไม่เกิน 7 ภาพ จากนั้นจึงสัมภาษณ์ในประเด็นองค์ประกอบ ทางการสร้างสรรค์ของภาพ พบว่าองค์ประกอบเชิง สร้างสรรค์ที่มีพลังโน้มน้าวใจตามการรับรู้ของเยาวชน มีดังนี้ 2.1 จุดจูงใจด้านเหตุผล ผูใ้ ห้สมั ภาษณ์ให้ความเห็น ว่าการแสดงโทษของบุหรี่ด้านการท�ำลายสุขภาพและ ชีวิตคนรอบข้าง การสิ้นเปลืองเงินทอง โดยแสดงภาพ ปอด แขน และขาถูกเผาไหม้ ท�ำให้ไม่ต้องการสูบบุหรี่ และเห็นชัดเจนถึงโทษของบุหรี่ 2.2 การอุปมาอุปไมยเชิงภาพ ได้แก่ การน�ำอาวุธ มาเปรี ย บเที ย บกั บ พิ ษ ภั ย ของบุ ห รี่ ที่ ท� ำ ร้ า ยผู ้ สู บ

และคนรอบข้ า งได้ อาวุ ธ ที่ น� ำ มาใช้ สื่ อ ความหมาย ในเชิงเปรียบเทียบ ได้แก่ ปืน กระสุนปืน ลูกดอกปาเป้า รวมไปถึ ง เชื อ กผู ก คอ ผู ้ ใ ห้ สั ม ภาษณ์ มี ค วามเห็ น ว่ า ภาพท�ำให้เข้าใจได้ทันทีถึงโทษของบุหรี่ ภาพสามารถ รวบประเด็นหรือโทษที่ต้องการสื่อสารได้ดี 2.3 จุดจูงใจด้านอารมณ์ ได้แก่ การน�ำเสนอพิษภัย ของบุหรี่ด้วยการใช้ภาพที่กระตุ้นความรู้สึกกลัวให้กับ ผูร้ บั สาร เช่น ภาพกะโหลกศีรษะ ภาพนิว้ มือและขาไหม้ ภาพปืน รวมทั้งการใช้โทนสีมืดเพื่อกระตุ้นอารมณ์กลัว ความรู้สึกหดหู่ ผู้ให้สัมภาษณ์มีค วามเห็นว่าภาพที่ กระตุน้ อารมณ์กลัวท�ำให้ไม่กล้าลองและสูบบุหรี่ มีความ รู้สึกกลัวผลเสียที่จะตามมาในชีวิต 2.4 การสื่อสารด้วยวัจนภาษา ผู้ให้สัมภาษณ์ให้ ความเห็นว่าการมีข้อความหรือรายละเอียดเกี่ยวกับภัย ของบุหรี่ เช่น บุหรี=่ ยาเสพติด บุหรีฆ่ า่ ชีวติ ทุกลมหายใจ ที่สูดควันบุหรี่เข้าไปท�ำลายอนาคตของท่านทีละน้อย ช่วยท�ำให้ความหมายในการสื่อสารชัดเจนและเป็นการ ตอกย�้ำโทษของบุหรี่มากขึ้น 2.5 การแสดงหลักฐาน ได้แก่ การแสดงภาพบุหรี่ ที่ ถู ก จุ ด ภาพควั น บุ ห รี่ ภาพคนก� ำ ลั ง สู บ บุ ห รี่ ซึ่ ง ผู้ให้สัมภาษณ์แสดงความเห็นว่ามีผลกระทบต่อความ รู ้ สึ ก ได้ ม ากกว่ า บุ ห รี่ ธ รรมดาที่ ไ ม่ ไ ด้ จุ ด ตลอดจน การแสดงออกทางสี ห น้ า ที่ เ คร่ ง เครี ย ดและแววตา ที่เศร้าหมองของผู้สูบบุหรี่ เป็นการใช้ภาพเพื่อเป็น หลักฐานที่ชัดเจนของการสูบบุหรี่และผลกระทบที่มี ต่อตัวผู้สูบ 2.6 การใช้ภาพสมจริง ได้แก่ การใช้ภาพถ่ายจาก คนและสิ่งของจริง เช่น ภาพบุหรี่ ภาพคนก�ำลังสูบบุหรี่ ซึง่ ผูใ้ ห้สมั ภาษณ์ให้ความเห็นว่าภาพสมจริงมีพลังในการ โน้มน้าวใจและดูจริงจังมากกว่าภาพกราฟิก หรือภาพ การ์ตูน 2.7 การใช้จิตวิทยาของสี ผู้ให้สัมภาษณ์แสดง ความเห็นว่าสีโทนมืดและสีดำ� สร้างความรูส้ กึ หดหู่ เศร้า กับพิษภัยของบุหรี่ที่มีต่อผู้สูบ บางภาพสื่อความหมาย ถึงความตาย รวมทั้งการใช้สีแดงเพื่อสื่อสารถึงอันตราย หรือวัตถุมีพิษ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

อภิปรายผล

สือ่ ทัศน์ในการรณรงค์เพือ่ การไม่สบู บุหรีม่ กี ารสร้าง ความหมายผ่านเนื้อหาเชิงรูปธรรม โดยมีการใช้ภาพ สิ่งของเพื่อสื่อความหมายเชิงเปรียบเทียบกับโทษของ บุหรี่ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของบอร์เชอร์ (Borchers, 2005: 171) ที่อธิบายว่าภาพน�ำเสนอบุคคล สิ่งของ ซึ่งเป็นรูปสัญญะที่เป็นตัวแทนความจริงและยังสามารถ แสดงข้อโต้แย้งแทนข้อความได้ดี ในขณะที่มิติด้านสี พบว่ามีการใช้สีโทนมืด สีด�ำขาวตัดกัน สีด�ำ เพราะสี เหล่านี้ให้ความรู้สึกเศร้า ความรู้สึกกดดัน เหมาะกับ ประเด็นอันตรายหรือภัยจากบุหรี่ ส่วนการจัดองค์ประกอบพื้นที่ของสื่อทัศน์ในการ รณรงค์ มีการใช้หลักการสร้างจุดสนใจในภาพด้วยการ จั ด วางในต� ำ แหน่ ง ที่ ส� ำ คั ญ ใช้ ห ลั ก ความขั ด แย้ ง ของสี การสร้างส่วนเด่นส่วนรองของภาพ สอดคล้องกับ ที่ ส มชาย พรหมสุ ว รรณ (2548: 223) อธิ บ ายว่ า ผู้สร้างสรรค์ภาพต้องบังคับสายตาของผู้ชมให้เกิดการ รับรู้ มีการสร้างจุดเด่นในภาพเพื่อให้แนวทางการเลือก รับรู้แก่ผู้ชมภาพด้วย ส�ำหรับมิติด้านแสง พบว่า สื่อทัศน์ในการรณรงค์ มักใช้แสงโลว์คยี ์ (Low key) ซึง่ ให้พนื้ ทีเ่ งาเป็นส่วนใหญ่ มีพื้นที่ที่สว่างน้อย สื่อความหมาย ความสิ้นหวัง หดหู่ เศร้า ดังที่ โรส (Rose, 2001: 19) อธิบายว่าแสงมีความ สัมพันธ์กบั สีและพืน้ ทีข่ องภาพ อีกทัง้ ส่งผลต่อความรูส้ กึ และการรับรู้ภาพด้วย ผลการวิ จั ย พบว่ า เยาวชนรั บ รู ้ ว ่ า องค์ ป ระกอบ ทางการสร้ า งสรรค์ ที่ มี พ ลั ง ในการ โน้ ม น้ า วใจของ สื่อทัศน์ในการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ มีทั้งหมด 7 องค์ประกอบ ได้แก่ จุดจูงใจด้านเหตุผล จุดจูงใจทาง อารมณ์ การอุปมาอุปไมยเชิงภาพ การใช้จติ วิทยาของสี การแสดงหลักฐาน การสือ่ สารด้วยวัจนภาษาและการใช้ ภาพสมจริง ส�ำหรับจุดจูงใจด้านเหตุผล เยาวชนเห็นว่าการ อธิบายถึงโทษของบุหรี่ที่มีต่อสุขภาพและส่งผลเสียต่อ อนาคตของผูส้ บู บุหรี่ ตลอดจนการสิน้ เปลืองเงินทองกับ

95

ค่าบุหรี่สามารถโน้มน้าวใจไม่ให้สูบบุหรี่ได้ดี สอดคล้อง กับแนวคิดการสือ่ สารเพือ่ โน้มน้าวใจ หากผูร้ บั สารได้รบั ข้อมูลเกี่ยวกับผลดีผลเสีย สารได้ระบุถึงคุณประโยชน์ ที่ผู้รับสารจะได้รับ หรือสิ่งที่ผู้รับสารจะสูญเสีย จะช่วย เพิม่ ประสิทธิผลในการโน้มน้าวใจได้ (Johnston, 1994: 126) และยังสอดคล้องกับแนวคิดวาทศิลป์ของอริสโตเติล (Aristotle, อ้างถึงใน Larson, 2004: 56) ที่อธิบายว่า หัวใจของการสร้างสารโน้มน้าวใจที่มีประสิทธิผลคือ ข้อพิสูจน์ ซึ่งการแสดงเหตุผลนับว่าเป็นข้อพิสูจน์ที่ช่วย เพิ่มความน่าเชื่อถือให้กับผู้โน้มน้าวใจส�ำหรับการให้ เหตุผลและการน�ำเสนอผลจากการสูบบุหรี่เป็นการ สื่อสารผ่านภาพเป็นหลัก แต่สามารถท�ำให้เยาวชนรับรู้ โทษของบุหรี่ได้ดี สอดคล้องกับที่บอร์เชอร์ (Borchers, 2005: 171) ที่อธิบายว่าภาพถ่ายทอดความหมายหรือ เหตุผลข้อโต้แย้งแทนค�ำพูดได้ และภาพเป็นหลักฐาน ประกอบการโน้มน้าวใจได้ดว้ ยคุณสมบัตขิ องภาพทีเ่ ป็น รูปสัญญะที่สื่อความหมายได้ ส่วนจุดจูงใจด้านอารมณ์ เยาวชนมีความเห็นว่าภาพ รณรงค์หลายภาพที่กระตุ้นอารมณ์กลัว เศร้า ท�ำให้ ไม่กล้าสูบบุหรี่และเป็นองค์ประกอบที่โน้มน้าวใจได้ดี สอดคล้องกับแนวคิดของอริสโตเติล (อ้างถึงใน Larson, 2004: 56) ทีอ่ ธิบายว่าการโน้มน้าวใจควรท�ำให้ผรู้ บั สาร เกิดอารมณ์ความรูส้ กึ เหมือนกับผูส้ ง่ สาร เช่น ความกลัว ความโกรธ ซึง่ อาจใช้ภาพเพือ่ ให้ผรู้ บั สารจินตนาการและ กระตุ้นความรู้สึก ส่วนการอุปมาอุปไมยเชิงภาพ เยาวชนมีความเห็นว่า ภาพที่ใช้การเปรียบเทียบกับปืน อวัยวะร่างกายที่โดน บุหรีเ่ ผาไหม้ ช่วยให้เข้าใจโทษของบุหรีแ่ ละกระตุน้ ความ รูส้ กึ กลัวและท�ำให้เห็นภาพถึงความร้ายแรงของภัยบุหรี่ ได้ สอดคล้องกับงานวิจัยของ Morgan and Reichert (1999: 1-12) ที่พบว่า การอุปมาอุปไมยในงานโฆษณา กระตุ้นกระบวนการของผู้บริโภคได้ในระดับลึก เพราะ การอุปมาอุปไมยจะไปกระตุน้ ความอยากรูอ้ ยากเห็นต่อ ตราสินค้าให้มากขึน้ นอกจากนี้ การอุปมาอุปไมยเชิงภาพ จะส่ ง ผลต่ อ ความเข้ า ใจและการระลึ ก ได้ ดี ก ว่ า การ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


96

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

อุปมาอุปไมยเชิงภาษา เพราะผู้สร้างสารจะเลือกภาพ ทีต่ รงกับเรือ่ งทีจ่ ะน�ำเสนอการเปรียบเทียบอุปมาอุปไมย ในขณะที่ การอุ ป มาอุ ป ไมยด้วยภาษา ผู้รับ สารต้อง จินตนาการภาพขึ้นเองซึ่งอาจไม่ตรงกับความตั้งใจของ ผู้ส่งสาร การสื่อสารด้วยวัจนภาษาเป็นอีกองค์ประกอบที่ เยาวชนมีความคิดเห็นว่าช่วยโน้มน้าวใจได้ เพราะช่วย ให้เข้าใจและได้รับข้อมูลที่เสริมกับภาพ สอดคล้องกับ แนวคิดของสตีเฟนส์ (Stephens, อ้างถึงในกฤษณ์ ทองเลิศ, 2546: 1) ทีว่ า่ ภาษาตัวอักษรเป็นวิธกี ารส�ำคัญ ที่ท�ำให้สารสนเทศเคลื่อนย้ายอย่างรวดเร็ว อีกทั้งยัง ส่งเสริมกระบวนการโต้แย้งด้วยเช่นเดียวกับสื่อทัศน์ ในการรณรงค์เพื่อการไม่สูบที่ได้แสดงข้อความด้านล่าง ภาพเพื่อสรุปประเด็นการสื่อสารช่วยโน้มน้าวใจได้ดี ดังที่โอคีฟ (O’Keefe, 2002: 217) อธิบายว่าสารที่ได้ แสดงข้อสรุปชัดเจนโน้มน้าวใจได้ดีกว่าสารที่ละข้อสรุป ไว้ และช่วยให้ประเมินผู้ส่งสารในทางบวกมากขึ้น เยาวชนเห็นว่าการน�ำเสนอของสือ่ ทีก่ ระตุน้ อารมณ์ กลัว (Fear appeal) โน้มน้าวใจให้ไม่อยากสูบบุหรี่ ดั ง นั้ น จุ ด จู ง ใจด้ า นอารมณ์ จึ ง เป็ น องค์ ป ระกอบที่ โน้มน้าวใจได้ดี สอดคล้องกับแนวคิดของอริสโตเติล ที่ได้อธิบายว่าอารมณ์ (Pathos) เป็นองค์ประกอบหนึ่ง ทีท่ ำ� ให้การแสดงข้อพิสจู น์ของผูโ้ น้มน้าวใจสัมฤทธิผ์ ลได้ กล่าวคือ ผู้โน้มน้าวใจต้องท�ำให้ผู้รับสารเกิดความรู้สึก เช่นเดียวกับผู้โน้มน้าวใจ โดยอาจใช้การอุปมาอุปไมย การพรรณนา เพือ่ ให้ผรู้ บั สารเกิดจินตนาการและอารมณ์ (Larson, 2004: 57) อีกองค์ประกอบทางการสร้างสรรค์ที่เยาวชนมี ความเห็นว่ามีพลังในการโน้มน้าวใจได้ดี คือ การใช้ภาพ สมจริง โดยต้องเป็นภาพที่แสดงถึงบุหรี่ที่ถูกจุดสูบจริง หรือเป็นภาพผู้สูบบุหรี่จริง ไม่ใช่ภาพการ์ตูนหรือภาพ กราฟิก ภาพสมจริงจะโน้มน้าวใจและดูจริงจังมากกว่า ภาพการ์ตนู โดยเฉพาะอย่างยิง่ ถ้าเป็นภาพบุคคลทีม่ กี าร

จ้องมองผูร้ บั สารจะกระตุน้ ความสนใจได้ดี เพราะคนเรา มักให้ความสนใจกับผู้ที่มองมายังตัวเอง เพราะรู้สึกว่า เขาก�ำลังสื่อสารกับตัวเอง (Borchers, 2005: 76) ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าแนวคิดการโน้มน้าวใจ ของอริสโตเติลเกี่ยวกับการใช้องค์ประกอบด้านอารมณ์ (Pathos) และองค์ ป ระกอบด้ า นเหตุ ผ ล (Logos) สามารถน� ำ ไปประยุ ก ต์ ใช้ กั บ การโน้ ม น้ า วใจในการ รณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ได้ดี และภาพสามารถท�ำ หน้าที่ในการให้ข้อโต้แย้งเกี่ยวกับอันตรายของบุหรี่ ได้ชัดเจน รวมทั้งกระตุ้นอารมณ์ของผู้รับสารโดยการ สร้างความหมายผ่านทางภาษาภาพในเชิงเทคนิค เช่น สี การจัดองค์ประกอบ การใช้แสง รวมทัง้ การสร้างความ หมายตามแนวทางสัญญะวิทยา โดยเฉพาะการอุปมา อุปไมยเชิงภาพที่ท�ำให้ผู้รับสารเข้าใจถึงโทษของบุหรี่ ได้อย่างรวดเร็ว

ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย

1. การรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ควรเลือกใช้ภาพ ที่แสดงการจุดหรือสูบบุหรี่ และมีภาพผู้สูบบุหรี่ในการ สื่อความหมายมากกว่าที่จะใช้ภาพการ์ตูน เพราะภาพ ที่สมจริงดูจริงจังและกระตุ้นความรู้สึกของผู้รับสาร ได้ดีกว่า 2. ผู้สร้างสรรค์งานสามารถใช้ภาพเพื่อสื่อความ หมายในเชิงเปรียบเทียบ อย่างไรก็ตามควรมีข้อความ เพือ่ เป็นการสรุปประเด็นทีส่ อดคล้องกับภาพเพือ่ ตอกย�ำ้ ผู้รับสาร 3. การสื่อสารด้ว ยสารที่กระตุ้นความรู้สึกกลัว โน้มน้าวใจได้ดี โดยอาจใช้วิธีอุปมาอุปไมยเชิงภาพ ร่วมกับการสื่อสารผ่านภาษาภาพเชิงเทคนิค เช่น การ จัดแสง การใช้สี องค์ประกอบภาพเพื่อเพิ่มผลกระทบ ต่ อ อารมณ์ ข องผู ้ รั บ สารและสื่ อ ความหมายแฝงใน ประเด็นใดประเด็นหนึ่งได้อย่างชัดเจน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

97

บรรณานุกรม

กฤษณ์ ทองเลิศ. (2546). การผสานรูปแบบ การสือ่ ความหมายและจินตสาระของผูร้ บั สารเป้าหมายทีม่ ตี อ่ งานภาพถ่าย กับลายลักษณ์อักษรในงานโฆษณาทางสื่อสิ่งพิมพ์. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ทวีเดช จิ๋วบาง. (2547). เรียนรู้ทฤษฎีสี. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. ทิ พ วรรณ ไชยู ป ถั ม ภ์ . (2556). เหล้ า บุ ห รี่ ภาษี และเศรษฐกิ จ . สื บ ค้ น เมื่ อ 2 พฤษภาคม 2557, จาก http://www.cdd.go.th/cddwarehouse/ ไทยรัฐออนไลน์. (2557). ห่วงเด็กไทยสูบบุหรี่เร็วขึ้น. สืบค้นเมื่อ 31 พฤษภาคม 2557, จาก http://www.thairath.co.th/ Content/425921 ประกิต วาทีสาธกกิจ และกรองจิต วาทีสาธกกิจ. (2556). สถานการณ์การสูบบุหรีข่ องคนไทย. สืบค้นเมือ่ 15 กุมภาพันธ์ 2557, จาก http://Prthai.com/articledetail.asp?kid=2361 มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์. (2554). การพัฒนาแนวทางการก�ำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดของการด�ำเนินงานสร้าง เสริมสุขภาพของ สสส. โดยใช้ขอ้ มูลจากการศึกษาต้นทุนความเจ็บป่วย. สืบค้นเมือ่ วันที่ 10 พฤษภาคม 2557, จาก http://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/3305?locale-attribute=th วรวุฒิ วีระชิงไชย. (2538). ทฤษฎีถ่ายภาพ: การถ่ายภาพและองค์ประกอบภาพ. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง. สมชาย พรหมสุวรรณ. (2548). หลักการทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ส�ำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร. (2555). การส�ำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรีแ่ ละ การดื่มสุราของประชากร พ.ศ.2554. สืบค้นเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2557, จาก http://service.nso.go.th/ nso/Nsopublish/themes/files/smokeRep54.pdf Borchers, T.A. (2005). Persuasion in the Media Age. (2nded.). Boston: McGraw-Hill. Fransella, F., Bell, R. & Bannister, D. (2004). A Manual for Repertory Grid Technique. (2nded.). West Sussex: John Wiley & Sons. Johnston, D. D. (1994). The Art And Science of Persuasion. Dubuque: Brown & Benchmark. Lacey, N. (1998). Image and Representation: Key Concepts in Media Studies. London: Macmillan Press. Larson, C. U. (2004). Persuasion: Reception and Responsibility. Canada: Thomson Wadsworth. Lulof, R. S. (1991). Persuasion, Context, People, and Messages. Scottsdale: Gorsuch Scarisbrick Publishers. Messaris, P. (1997). Visual Persuasion: The Role of Images in Advertising. Thousand Oaks: SAGE Publications. Morgan, S. E. & T. Reichert. (1999). The message is in metaphor: Assessing the Comprehension of metaphors in advertising, Journal of Advertising, 28, 1-12. O’Keefe, D. J. (2002). Persuasion: Theory & Research. (2nded.). London: SAGE Publications. Rogers, W. (2007). Persuasion: Messages, Receivers, and Contexts. Lanham: Rowman & Littlefield Publishers. Rose, G. (2001). Visual Methodologies: An Introduction to the Interpretation of Visual Materials. London: SAGE Publications. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


98

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Translated Thai References

Chaiyupatump, T. (2013). Alcohol, Cigarette, Tax, and Economy. Retrieved May 2, 2014, from http:// www.cdd.go.th/cddwarehouse/ [in Thai] Jewbang, T. (2004). Learning of Color Theory. Bangkok: Odeon Store. [in Thai] National Statistical Office of Thailand. (2012). The Survey of Smoking and Alcohol Drinking Behaviors among Thai People in 2011. Retrieved May 4, 2014, from http://service.nso.go.th/nso/ Nsopublish/themes/files/smokeRep54.pdf [in Thai] Promsuwan, S. (2005). Principles of Visual Art. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House. [in Thai] Taworncharoensap, M. (2011). The Illness Cost-Based Development of Approaches for Target and Indicators setting in Thai Health Foundation’s Health Promoting Performance. Retrieved May 10, 2014, from http://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/3305?locale-attribute=th [in Thai] Thairathonline. (2014). Thai Youth’s Smoking Behaviors. Retrieved May 31, 2014, from http://www.thairath.co.th/Content/425921 [in Thai] Thonglert, G. (2002). Formation, Signification, and Imagination Themes of Photo-Text Target Groups in Printed Advertisements. Dissertation for the Degree of Doctor of Philosophy in Communication Arts, Chulalongkorn University, Bangkok. [in Thai] Wateesatokkij, P. & Wateesatokkij, K. (2013). Smoking Situation among Thai People. Retrieved February 15, 2014, from http://Prthai.com/articledetail.asp?kid=2361 [in Thai] Weerachingchai, W. (1995). Theory of Photography: Photography and Composition. Bangkok: Amarin Printing. [in Thai]

Natchuda Wijitjammaree received her Bachelor and Master Degrees of Communication Arts (Major of Mass Communication) at Chulalongkorn University’s faculty of Communication Arts in 1991 and 1995 respectively. She also graduated Doctor Degree of Philosophy in Communication Arts at Chulalongkorn University in 2003. She is currently an assistant professor at Humanities faculty’s department of Communication Arts and Information Science, Kasetsart University.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

99

อิทธิพลของความพึงพอใจในการท�ำงานและการเห็นคุณค่า ในตนเองที่ มี ต ่ อ ความผู ก พั น ต่ อ องค์ ก ารเมื่ อ ควบคุ ม และ ไม่ควบคุมปัจจัยส่วนบุคคลของพนักงานโรงแรม JOB SATISFACTION AND SELF-ESTEEM AFFECTING ORGANIZATIONAL COMMITMENT WITH AND WITHOUT CONTROLLING PERSONAL FACTORS OF HOTEL EMPLOYEES กิ่งแก้ว ทรัพย์พระวงศ์1 ณภัทร วุฒวิ งศา2 ภรภัทร ชูแข3 และปิยวุฒิ ศิริมงคล4 Kingkaew Subprawong1 Napat Woothiwongsa2 Porapat Chookhare3 and Piyawut Sirimongkol4 บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานโรงแรมเมื่อ จ�ำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในการท�ำงาน การเห็นคุณค่าในตนเองและ ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานโรงแรม (3) ศึกษาอิทธิพลของความพึงพอใจในการท�ำงานที่มีต่อความผูกพันต่อ องค์การที่มีการเห็นคุณค่าในตนเองเป็นตัวแปรส่งผ่านเมื่อควบคุมและไม่ควบคุมปัจจัยส่วนบุคคล ตัวอย่างในการวิจัย คือ พนักงานโรงแรมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจ�ำนวน 192 คน จากการเลือกแบบหลายขัน้ ตอน เครือ่ งมือ ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบให้เลือกตอบและประเมินค่า สถิติวิเคราะห์ คือ สถิติบรรยาย การวิเคราะห์ความ แปรปรวน การวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีเชฟเฟ การวิเคราะห์ถดถอยแบบขั้นตอนระดับ ลดหลั่น และการวิเคราะห์การส่งผ่าน ผลการวิจัยที่ส�ำคัญ พบว่า 1) พนักงานโรงแรมมีระดับความผูกพันต่อองค์การ แตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตเิ มือ่ จ�ำแนกตามอายุ สถานภาพสมรส ระยะเวลาท�ำงานและรายได้ แต่ไม่แตกต่าง กันเมื่อจ�ำแนกตามเพศและระดับการศึกษา 2) ความพึงพอใจในการท�ำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันต่อ องค์การอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติแต่ไม่มีความสัมพันธ์กับการเห็นคุณค่าในตนเอง และไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างการ เห็นคุณค่าในตนเองกับความผูกพันต่อองค์การ 3) ความพึงพอใจในการท�ำงานมีอิทธิพลทางตรงอย่างมีนัยส�ำคัญ 1 รองศาสตราจารย์ประจ�ำภาควิชาการจัดการการท่องเที่ยว

คณะมนุษยศาสตร์และการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Associate Professor, Tourism Management Department, School of Humanities and Tourism Management, Bangkok University, E-mail: kingkaew.s@bu.ac.th 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจ�ำภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์และการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Assistant Professor, English Department, School of Humanities and Tourism Management, Bangkok University, Email: napat.w@bu.ac.th 3 อาจารย์ประจ�ำ ภาควิชาการจัดการการโรงแรม คณะมนุษยศาสตร์และการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Instructor, Hotel Management Department, School of Humanities and Tourism Management, Bangkok University, E-mail: porapat.c@bu.ac.th 4 อาจารย์ประจ�ำภาควิชาการจัดการการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์และการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Instructor, Tourism Management Department, School of Humanities and Tourism Management, Bangkok University, E-mail: piyawut.s@bu.ac.th ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


100

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

แต่ไม่มีอิทธิพลทางอ้อมผ่านการเห็นคุณค่าในตนเองต่อความผูกพันต่อองค์การ ทั้งกรณีควบคุมและไม่ควบคุมปัจจัย ส่วนบุคคล ค�ำส�ำคัญ: ความพึงพอใจในการท�ำงาน การเห็นคุณค่าในตนเอง ความผูกพันต่อองค์การ

Abstract

The objectives of this research were (1) to compare the hotel employees’ organizational commitment level with different personal factors; (2) to investigate the correlation among job satisfaction, self-esteem, and organizational commitment; and (3) to examine the effects of the job satisfaction on the organizational commitment with the self-esteem as a mediating variable with and without controlling personal factors. The sample comprised 192 hotel employees in the Bangkok and metropolitan area selected by multi-stage sampling. The research instruments were multiplechoice and rating scale questionnaires. The data were analyzed using descriptive statistics, analysis of variance (ANOVA), Scheffé’s multiple comparisons test, hierarchical stepwise regression and mediation analysis. The major research findings were (1) hotel employees’ organizational commitment level was significantly different for people’s age, marital status, period of work and income but it was not different for gender and educational level; (2) job satisfaction had a significant positive correlation with organizational commitment but had no significance with self-esteem, and there was also no significant correlation between self-esteem and organizational commitment; (3) job satisfaction had a significant direct effect but had no indirect effect on organizational commitment with self- esteem as a mediating variable with and without controlling personal factors. Keywords: job satisfaction, self-esteem, organizational commitment

บทน�ำ

ธุ ร กิ จ โรงแรมเป็ น อุ ต สาหกรรมการบริ ก ารด้ า น ทีพ่ กั แรมและบริการประเภทอืน่ ๆ ร่วมเป็นองค์ประกอบ อาทิ อาหาร สุขภาพ และความบันเทิง เป็นต้น ซึ่งนับว่า มีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และสร้างรายได้ให้กับประเทศชาติเป็นจ�ำนวนมหาศาล (สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น, 2553) แม้ว่าใน ช่วงเวลา 3-4 ปีทผี่ า่ นมาอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วของ ไทยจะได้รบั ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจ ภัยธรรมชาติ และปัญหาการเมืองภายในประเทศ แต่ผลการส�ำรวจ พบว่า มีผู้ประกอบธุรกิจประเภทนี้จ�ำนวนเพิ่มขึ้น สะท้อน ให้เห็นถึงแนวโน้มการเติบโตของธุรกิจท่องเที่ยวไทย ทีเ่ ข้มแข็ง (สภาอุตสาหกรรมท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย,

2557) แต่ก็ท�ำให้เกิดการแข่งขันที่รุนแรงขึ้น อย่างไร ก็ตาม ธุรกิจโรงแรมเป็นกิจการที่ต้องใช้เงินลงทุนใน ทรัพย์สินถาวรเป็นมูลค่าสูง ผู้ด�ำเนินธุรกิจจึงต้องค�ำนึง ถึงปัจจัยต่างๆ ที่จะท�ำให้กิจการของตนสามารถด�ำเนิน ไปอย่างราบรื่นและมีประสิทธิผลท่ามกลางกระแสของ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ตลอดเวลาทั้งปัจจุบันและ อนาคต นอกจากนั้น ธุรกิจอุตสาหกรรมด้านการโรงแรมยัง มีความแตกต่างจากอุตสาหกรรมภาคการผลิต เพราะ เป็นการขายการบริการซึ่งขึ้นอยู่กับความต้องการของ ลูกค้าเป็นหลัก และมีความแปรปรวนได้มาก ดังนั้น บุคลากรหรือทรัพยากรมนุษย์ในองค์การจึงเป็นปัจจัย

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

ส�ำคัญที่ต้องสร้าง พัฒนาและรักษาไว้ เพื่อให้พนักงาน ทุม่ เทท�ำงานอย่างเต็มความสามารถและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งค�ำนึงว่าควรบริหารจัดการอย่างไรจึงจะท�ำให้ บุคลากรท�ำงานอยู่กับองค์การได้เป็นเวลานานที่สุด ซึ่งผลการวิจัยทั้งในประเทศและต่างประเทศต่างให้ ความสนใจเกี่ยวกับเรื่องของความผูกพันต่อองค์การ ของพนักงานเป็นส�ำคัญ (ธีราภัทร ขัติยะหล้า, 2555; สุภาภรณ์ ประสงค์ทนั , 2555 และ Marta, Singhapakdi, DongjinSirgy, Koonmee, & Virakul, 2011) ความผู ก พั น ต่ อ องค์ ก าร (organizational commitment: OC) คือ ความรู้สึกที่พนักงานมีความ เชื่อมั่น ยอมรับค่านิยมและเป้าหมายขององค์การรู้สึก เป็นส่วนหนึ่งขององค์การ ยินดีและเต็มใจที่จะใช้ความ พยายามอย่างเต็มที่เพื่อบรรลุเป้าหมายขององค์การ (Meyer & Allen, 1997) ถ้าบุคลากรไม่มี OC ย่อมเกิด ความเสียหาย และเป้าหมายองค์การย่อมไม่บรรลุตาม วัตถุประสงค์ที่วางไว้ (ธีราภัทร ขัติยะหล้า, 2555) จาก รายงานด้านเศรษฐกิจทีค่ าดว่าจะปรับตัวสูงขึน้ และการ ก้าวสู่ประชาคมอาเซียนของไทยในปี 2558 ธุรกิจด้าน การโรงแรมคงทวีความส�ำคัญยิ่งขึ้นและคงต้องเตรียม กลยุทธ์ทั้งเชิงรุกและเชิงรับเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวต่าง ชาติที่คาดว่าจะมีจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้น (สภาอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2557) ดังนั้น OC ของ พนั ก งานถื อ เป็ น ลั ก ษณะส� ำ คั ญ ที่ อ งค์ ก ารควรมี ก าร พัฒนาขึน้ อย่างเป็นรูปธรรมเนือ่ งจากส่งผลต่อการพัฒนา ขีดความสามารถทางการแข่งขันได้ (สุภาภรณ์ ประสงค์ ทัน, 2555) ปัจจุบันธุรกิจการโรงแรมมีอัตราการเปลี่ยน งาน (turnover) ค่อนข้างสูง และก่อให้เกิดปัญหาด้าน การบริหารจัดการแก่เจ้าของธุรกิจ ผลงานวิจัยเกี่ยวกับ OC และความทุ่มเทของพนักงานที่มีต่องาน พบว่า มี ทิศทางเดียวกัน และพบว่า OC ยังมีความสัมพันธ์ทาง ลบและมี อิ ท ธิ พ ลทางตรงต่ อ ความตั้ ง ใจลาออกจาก องค์การด้วย (เกตุนภัส เมธีกสิวัฒน์, 2555 และ Marta et al., 2011) การศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ OC มีเป็น จ�ำนวนมาก ซึ่งผลการศึกษาส่วนใหญ่พบว่า ปัจจัยที่ สัมพันธ์เชิงบวกกับ OC คือความพึงพอใจในการท�ำงาน

101

ของพนักงาน (พัชรา ทาหอม, 2550; รพีพรรณ สุพรรณ พัฒน์, 2555; Azeem, 2010) ซึ่งความพึงพอใจในการ ท� ำ งาน (job satisfaction: JS) เกิ ด ได้ จ ากหลาย องค์ประกอบ อาทิ ลักษณะงาน สวัสดิการ ผูบ้ งั คับบัญชา และปฏิสมั พันธ์ในองค์การ ฯลฯ (ต่อลาภ ประภัศรานนท์, 2552 และ อัชฌา ชื่นบุญ, รุ่งฤดี โลลุวิวัฒน์, ศราวุธ มั่นสูงเนิน, จิราภรณ์ โภชกปริภัณฑ์ และ สุนทร ช่องชนิล, 2013) บางครั้งเรียกสิ่งเหล่านี้ว่าเป็นบรรยากาศในการ ท�ำงาน หรือคุณภาพชีวิตในการท�ำงาน ซึ่งมีการศึกษา พบว่าพนักงานทีม่ คี ณ ุ ภาพชีวติ ในการท�ำงานทีด่ จี ะมี JS สูงและมีแนวโน้มจะลาออกจากองค์การต�่ำ (Marta et al., 2011) และพบว่า การเห็นคุณค่าในตนเอง (selfesteem: SE) มีความสัมพันธ์กบั OC ด้วย (Poorgharib, Abzari & Azarbayejani, 2013) ซึ่งผลวิจัยพบว่า พนักงานที่ท�ำงานอย่างมีเป้าหมายจะมีระดับของ SE สูงกว่าพนักงานที่ไม่มีเป้าหมาย และพบว่า มีความ แตกต่างกันในด้าน OC (ปณิชา ดีสวัสดิ์, 2550 และ Crawford & Hubbard, 2008) ดังนั้น จากที่กล่าวมา ควรมีการศึกษาว่า พนักงาน โรงแรมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในสภาพ ปัจจุบนั มีระดับ OC แตกต่างกันอย่างไรเมือ่ เปรียบเทียบ กับปัจจัยส่วนบุคคล (personal factors: PF) ด้านต่างๆ และศึกษาว่า JS, SE และ OC ของพนักงานโรงแรมมี ความสัมพันธ์และอิทธิพลต่อกันหรือไม่ อย่างไร เพือ่ เป็น องค์ความรู้ส�ำหรับประยุกต์ใช้ประโยชน์ก�ำหนดแนว นโยบายในการพัฒนาและส่งเสริมให้พนักงานมี OC ให้ มากยิง่ ขึน้ อันจะส่งผลต่อประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ของธุรกิจการโรงแรม และเป็นประโยชน์ต่อการวิจัย ส�ำหรับนิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาหรือผู้ที่สนใจ ด้านทรัพยากรมนุษย์ในการท�ำงาน เพือ่ ต่อยอดขยายผล ให้ลุ่มลึกและกว้างขวางต่อไป

การทบทวนวรรณกรรม

การทบทวนวรรณกรรมในการวิจัยครั้งนี้ น�ำเสนอ แยกสาระเป็นสองตอน ได้แก่ ตอนแรกเสนอนิยามของ ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย และตอนที่สองเสนองานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง ส�ำหรับนิยามตัวแปรในการวิจัยครั้งนี้มี 3

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


102

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ตัวแปรส�ำคัญ คือ ความผูกพันต่อองค์การ (OC) ความ พึงพอใจในการท�ำงาน (JS) และการเห็นคุณค่าในตนเอง (SE) รายละเอียดมีดังต่อไปนี้ ความผูกพันต่อองค์การ (OC) มีความหมายหลาย มิติ (Azeem, 2010; Cherabin, Praveena, Azimi, Qadimi, Ali & Shalmani, 2012; Meyer & Allen, 1997 and Ogunyemi, 2014) แต่ในงานวิจัยครั้งนี้ใช้ แนวคิดของ Meyer & Allen (1997) ซึ่งหมายถึง การที่ พนักงานมีความเชื่อมั่น ยอมรับค่านิยมและเป้าหมาย ขององค์ ก าร รู ้ สึ ก เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ขององค์ ก าร ยิ น ดี และเต็มใจที่จะใช้ความพยายามอย่างเต็มที่เพื่อบรรลุ เป้าหมายขององค์การ ความพึงพอใจในการท�ำงาน (JS) ทฤษฎีที่อธิบาย ความหมายของความพึงพอใจในการท�ำงานมีหลากหลาย (Azeem, 2010; Cherabin et al., 2012 and Herzberg, 1959 cited in Gordon, Mondy, Sharplin & Premeaux, 1990) แต่คณะผู้วิจัยใช้แนวคิดทฤษฎี สองปัจจัย (two-factor theory) ของ Herzberg (1959 cited in Gordon et al., 1990) เป็นหลัก กล่าวคือ JS เกิดจากปัจจัยจูงใจ (motivation factor) กับปัจจัย สุขอนามัย (hygiene factor) ปัจจัยจูงใจเป็นสิ่งที่ตอบ สนองความต้ อ งการภายในของบุ ค คลเพื่ อ จู ง ใจให้ พนักงานรักงานที่ปฏิบัติ เป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลใน องค์การปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เช่น ความส�ำเร็จในการท�ำงาน การได้รับการยอมรับนับถือ ลักษณะงานทีป่ ฏิบตั แิ ละความรับผิดชอบ ส่วนปัจจัยสุข อนามัย หมายถึงปัจจัยที่ค�้ำจุนจากภายนอกตัวบุคคล ได้แก่ เงินเดือน โอกาสที่จะได้รับความก้าวหน้าความ สัมพันธ์กับผู้อื่นในองค์การ สถานะของอาชีพ นโยบาย และการบริหารงาน สภาพการท�ำงานและความมัน่ คงใน การท�ำงาน (ปริญญา สัตยธรรม, 2550) การวิจัยครั้งนี้ JS หมายถึง ผลรวมความรู้สึกนึกคิดหรือทัศนคติในทาง ที่ดีของพนักงานที่มีต่อองค์ประกอบการท�ำงาน 7 ด้าน คือ เงินเดือนสวัสดิการ ลักษณะงาน สภาพการท�ำงาน ความก้าวหน้าในการท�ำงาน ผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน และความมั่นคงในการท�ำงาน การเห็นคุณค่าในตนเอง (SE) เป็นส่วนหนึ่งของ

โครงสร้างความคิดเกี่ยวกับตนเองทั้งมิติการตระหนักรู้ ตนเองและการประเมินตนเอง การวิจัยครั้งนี้ SE หมายถึง ความคิดเห็น ความเชื่อ และทัศนคติที่บุคคลมีต่อตนเอง ยอมรับนับถือ เห็นคุณค่าความสามารถและเชื่อมั่น ตนเองจากการเปรียบเทียบกับผูอ้ นื่ ทางสังคม (Cherabin et al., 2012; Hewitt, 2009; Ogunyemi, 2014 and Rosenberg, 1965) งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แยกน�ำเสนอเป็น 3 ประเด็น กล่าวคือ ประเด็นแรกผลการศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล (PF) กับ OC ประเด็นที่สองงานวิจัยที่ศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปร และประเด็นสุดท้าย ผลการศึกษา ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่มี SE เป็นตัวแปรส่งผ่าน ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ประเด็ น แรก ผลการศึ ก ษา PF กั บ OC เช่ น รพีพรรณ สุพรรณพัฒน์ (2555) ศึกษาพนักงานโรงแรม พบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพการสมรส และ ประเภทการจ้างที่แตกต่างกันมีระดับ OC ไม่แตกต่างกัน แต่พนักงานที่มีระยะเวลาท�ำงานต่างกันจะมีระดับ OC แตกต่ า งกั น ในขณะที่ มี ก ารศึ ก ษาพบว่ า อายุ แ ละ ระยะเวลาท�ำงานมีความสัมพันธ์และสามารถท�ำนาย OC ของพนักงานที่บริการได้อย่างมีนัยส�ำคัญ (Azeem, 2010) การศึกษาของถนอมศรี แดงศรี (2551) กับ พยาบาลวิ ช าชี พ ในโรงพยาบาลของรั ฐ ซึ่ ง ท� ำ หน้ า ที่ งานบริการ พบว่า PF ที่มีผลต่อ OC คือ อายุ ระยะเวลา ท�ำงานและรายได้ ประเด็ น ที่ ส อง งานวิ จั ย ที่ ศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ระหว่างตัวแปร เช่น การศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ กับ OC ของพนักงานโรงแรม พบว่า มีเพียงปัจจัยด้าน บรรยากาศในการท�ำงานที่มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ OC อย่างมีนัยส�ำคัญ (อัจฉรา จันทะบาล, 2553) และ วิทย์ เมฆะวรากุล (2553) พบว่าความพึงพอใจในค่า ตอบแทนสวัสดิการและการรับรูค้ วามยุตธิ รรมมีอทิ ธิพล เชิงบวกต่อ OC ของพนักงานโรงแรม นอกจากนี้ ผลการ วิจยั พบว่า คุณภาพชีวติ ในการท�ำงาน ซึง่ เกีย่ วข้องกับ JS มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ OC และสามารถท�ำนาย OC โดยรวมได้ (ถนอมศรี แดงศรี, 2551) และ SE มีความ สัมพันธ์กับ OC (ปณิชา ดีสวัสดิ์, 2550; Crawford &

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

Hubbard, 2008 and Poorgharib, Abzari & Azarbayejani, 2013) ประเด็นสุดท้าย การศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ที่มี SE เป็นตัวแปรส่งผ่าน จากการคัดสรรงานวิจัยที่ เกี่ยวข้องพบว่า SE ที่มีพื้นฐานจากองค์การสามารถ ท�ำนายพฤติกรรมการเป็นสมาชิกทีด่ ซี งึ่ มีสาระเกีย่ วข้อง กับ OC ของพนักงานด้วย (จิตรลดา ฐินถาวร และ ทิพทินนา สมุทรานนท์, 2553) และพบว่า SE ทีเ่ กีย่ วข้อง กับองค์การเป็นตัวแปรส่งผ่านระหว่างการขาดความ ผูกพันกับอารมณ์ทเี่ หนือ่ ยล้า (Lapointe, Vandenberghe & Panaccio, 2011) การวิจัยจากพนักงานธนาคารใน ไนจีเรีย พบว่า SE ที่มีพื้นฐานจากองค์การเป็นตัวแปร ส่ ง ผ่ า นระหว่ า งการมี จิ ต วิ ญ ญาณในการท�ำ งานและ พฤติกรรมการเป็นสมาชิกทีด่ ขี ององค์การ (Ogunyemi, 2014) ในต่างประเทศมีการศึกษาตัวแปรทัง้ สาม คือ JS, SE และ OC พร้อมกันแต่เป็นแวดวงการศึกษา โดยเก็บ ข้อมูลจากอาจารย์มหาวิทยาลัย พบว่า JS, SE และ OC ของคณาจารย์ มีความสัมพันธ์ร่วมกันโดย SE มีความ สัมพันธ์ทางลบกับ JS และมีความสัมพันธ์ทางลบกับ OC ด้วย (Cherabin et al., 2012) เมื่อประมวลผลงานวิจัยทั้งหลายที่กล่าวมา เห็นได้ ว่างานวิจัยส่วนใหญ่แสดงผลถึงความสัมพันธ์ระหว่าง OC กับ JS หรือมิติต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น คุณภาพชีวิต ในการท�ำงาน บรรยากาศในการท�ำงานค่าตอบแทนและ

103

สวัสดิการ เป็นต้น ในท�ำนองเดียวกันพบว่า OC เกีย่ วข้อง กับ SE เหมือนกัน แต่ส่วนมากเป็นการศึกษาระหว่าง สองตัวแปรกับตัวแปรอื่น ยังไม่ค่อยพบผลวิจัยทั้งสาม ตัวแปร คือ JS, SE และ OC ของพนักงานโรงแรมพร้อม กันในประเทศไทย นอกจากนี้ งานวิจัยส่วนใหญ่ยังไม่มี การศึกษาอิทธิพลระหว่างตัวแปรทัง้ JS และ SE กับ OC เมื่อควบคุมปัจจัยส่วนบุคคลของพนักงานโรงแรม ดั ง กล่ า วมาแล้ ว ว่ า OC เป็ น ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ที่ ผู ้ ป ระกอบธุ ร กิ จ การโรงแรมต้ อ งให้ ค วามสนใจและ พัฒนาอย่างจริงจัง เนือ่ งจากพนักงานเป็นกลไกส�ำคัญใน การด�ำเนินงานไปสูเ่ ป้าหมายขององค์การทัง้ ปัจจุบนั และ อนาคต การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์ กรอบแนวคิด และสมมติฐานตามล�ำดับดังต่อไปนี้

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1. เพือ่ เปรียบเทียบระดับ OC ของพนักงานโรงแรม เมื่อจ�ำแนกตาม PF ด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ระยะเวลาท�ำงาน และรายได้ 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง JS, SE และ OC ของพนักงานโรงแรม 3. เพื่อศึกษาอิทธิพลของ JS ที่มีต่อ OC เมื่อมี SE เป็นตัวแปรส่งผ่าน เมื่อไม่มีและมีการควบคุม PF ที่มี อิทธิพลต่อ OC ของพนักงานโรงแรม

กรอบแนวคิดการวิจัย PF

JS

OC SE

ก. เมื่อไม่มีการควบคุมปัจจัยส่วนบุคคล

JS

OC SE

ข. เมื่อมีการควบคุมปัจจัยส่วนบุคคล

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย หมายเหตุ: JS = ความพึงพอใจในการท�ำงาน, OC = ความผูกพันต่อองค์การ, SE = การเห็นคุณค่าในตนเอง, PF = ปัจจัยส่วนบุคคล PF

JS

(.703**) ; .714** OC [.703**] [-.102]

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ JS

.142 ** 1)[.290**] สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

(.671**) ; .685** [.703**]

OC


วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

104

สมมติฐานการวิจัย

1. พนักงานโรงแรมที่มี PF ด้านเพศ อายุ ระดับการ ศึกษา สถานภาพสมรสระยะเวลาท�ำงานและรายได้ แตกต่างกัน มีระดับ OC แตกต่างกัน 2. JS, SE และ OC ของพนักงานโรงแรมมีความ สัมพันธ์กันทางบวก 3. JS มีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมต่อ OC เมื่อมี SE เป็นตัวแปรส่งผ่านทั้งเมื่อควบคุมและไม่ควบคุม ตัวแปร PF

วิธีการวิจัย

การวิจยั ครัง้ นีเ้ ป็นการวิจยั เชิงส�ำรวจแบบการศึกษา อิทธิพลของตัวแปรอิสระทีม่ ตี อ่ ตัวแปรตาม รายละเอียด มีดังนี้ 1. ประชากรและตัวอย่าง ประชากรในการวิจยั คือ พนักงานต�ำแหน่งต่างๆ เช่น ผูจ้ ดั การทัว่ ไป ผูจ้ ดั การขาย และการตลาด พนักงานต้อนรับส่วนหน้า หัวหน้าพ่อครัว พนั ก งานท� ำ ความสะอาดห้ อ งพั ก และพนั ก งานยก กระเป๋า เป็นต้น จากโรงแรมในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล การก�ำหนดกลุ่มตัวอย่างใช้ G* Power Computer Software ทีร่ ะดับความเชือ่ มัน่ .05, effect size (f)2=0.08, power (1-ß)=0.90 ได้ขนาดตัวอย่าง รวม 162 คน (Erdfelder, Faul & Buchner, 1996)

และได้คิดทดอัตราตอบกลับที่ไม่ครบ โดยเพิ่มขนาด ตัวอย่างเป็น 200 คน เลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ขั้นตอนแรกสุ่มอย่างง่าย โดยจับสลากชื่อโรงแรมระดับ 4 และ 5 ดาว ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนดสัดส่วน (quota sampling) ชายต่อหญิง=1:1 ขั้นตอนที่ 3 เลือกแบบ บังเอิญและแบบเจาะจง (accidental and purposive sampling) ให้ผชู้ ว่ ยวิจยั เก็บข้อมูลจากพนักงานโรงแรม ตามที่ก�ำหนด 2. ตั ว แปรที่ ศึ ก ษา แบ่ ง เป็ น ตั ว แปรอิ ส ระ (independent variable) ได้แก่ 1) ปัจจัยส่วนบุคคล 6 ตัวแปร คือ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ระยะเวลาท�ำงาน และรายได้ 2) ความพึงพอใจในการ ท�ำงาน 3) การเห็นคุณค่าในตนเอง และตัวแปรตาม (dependent variable) ได้แก่ ความผูกพันต่อองค์การ 3. ระยะเวลาที่ศึกษา คือ กรกฎาคมถึงธันวาคม พ.ศ. 2557 4. เครื่องมือวิจัย เป็นแบบสอบถาม ประกอบ ด้วย 4 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 แบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคคล ส่วนที่ 2 แบบวัดความพึงพอใจในการท�ำงาน ส่วนที่ 3 แบบวัดการเห็นคุณค่าในตนเองและส่วนที่ 4 แบบวัด ความผูกพันต่อองค์การรายละเอียดของเครื่องมือแสดง ในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 รายละเอียดของเครื่องมือที่ใช้วัดตัวแปรในการวิจัย ตัวแปร

เครื่องมือ

จำ�นวนข้อ

ตัวอย่างข้อคำ�ถาม

ปัจจัยส่วน บุคคล (PF)

แบบสอบถามแบบเลือกตอบ

6 ข้อ

-

ความพึงพอใจ มาตรประเมินค่าแบบลิเคิร์ท (Likert’s Rating ในการทำ�งาน scale) 5 ระดับ (5-1) จาก เห็นด้วยอย่างยิ่งจน ถึงไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง และกลับคะแนน (1-5) (JS) สำ�หรับข้อความทางลบ

27 ข้อ

- สวัสดิการที่ท่านได้รับมีความ ผู้วิจัยสร้างเองโดย เหมาะสมยุติธรรม พัฒนาจากแนวคิดทฤษฎี Herzberg (1959); ปริญญา สัตยธรรม (2550)

การเห็น คุณค่าใน ตนเอง (SE)

10 ข้อ

- ฉันมีทัศนคติทางบวกต่อ ตนเอง

มาตรประเมินค่าแบบลิเคิร์ท 4 ระดับ (4-1) จาก เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งและกลับคะแนน (1-4) สำ�หรับข้อความทางลบ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

ที่มาของเครื่องมือ ผู้วิจัยสร้างเอง

สร้างเองโดยพัฒนาจาก แนวคิดของ Rosenberg (1965)


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015 ตัวแปร

เครื่องมือ

จำ�นวนข้อ

ความผูกพัน ต่อองค์การ (OC)

มาตรประเมินค่าแบบลิเคิร์ท 5 ระดับ (5-1) จาก เห็นด้วยอย่างยิ่ง จนถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง และกลับคะแนน (1-5) สำ�หรับข้อความทางลบ

20 ข้อ

การตรวจสอบคุณภาพเครือ่ งมือวิจยั ใช้การตรวจสอบ ความตรงเชิงเนื้อหา (content validity) จากผู้ทรง คุณวุฒิ 3 ท่าน หาค่า IOC (index of item-objective congruence) คัดเลือกข้อค�ำถามทีม่ คี วามสอดคล้องกัน เกิน 75 เปอร์เซ็นต์ ปรับปรุงบางข้อให้เหมาะสม น�ำไป ทดลองใช้กับพนักงาน 30 คนที่ไม่ใช่ตัวอย่างในการวิจัย วิ เ คราะห์ ด ้ ว ยสั ม ประสิ ท ธิ์ แ อลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) ค่าความเที่ยง (reliability) ของแบบวัด JS, SE และ OC เท่ากับ 0.908, 0.763 และ 0.854 ตามล� ำ ดั บ แสดงว่ า เครื่ อ งมื อ มีคุณภาพผ่านเกณฑ์ยอมรับได้ 5. วิธเี ก็บรวบรวมข้อมูล ผูช้ ว่ ยวิจยั น�ำแบบสอบถาม ไปรวบรวมข้ อ มู ล จากพนั ก งานต� ำ แหน่ ง ต่ า งๆ ตาม โรงแรมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 14 แห่ง และด�ำเนินตามหลักจริยธรรมในการวิจัย คือ ชี้แจง วัตถุประสงค์อย่างชัดเจนว่าผลวิจยั จะเป็นภาพรวมทัว่ ไป ไม่ได้ก่อความเสียหาย ซึ่งผู้ให้ข้อมูลยินยอมและเต็มใจ ตอบแบบสอบถามตามความจริง เพื่อประโยชน์ทาง วิชาการเท่านัน้ ได้แบบสอบถามกลับมา 200 ชุด คิดเป็น อัตราตอบกลับร้อยละ 100 แบบสอบถามที่มีความ สมบูรณ์สามารถน�ำมาวิเคราะห์ได้มีจ�ำนวน 192 ชุด คิด เป็นแบบสอบถามที่ใช้ได้ร้อยละ 96 6. การวิเคราะห์ขอ้ มูล การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น ได้แก่ การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ใช้สถิติบรรยาย ศึกษาลักษณะการแจกแจงของตัวแปรได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน วิเคราะห์โดยใช้สถิติ อนุมานตามวัตถุประสงค์การวิจัย คือ 1) การวิเคราะห์ ความแปรปรวน (analysis of variance: ANOVA) แบบ ทางเดียวและแบบ 4 ทางจ�ำแนกตามจ�ำนวนตัวแปร ปัจจัยส่วนบุคคล การวิเคราะห์ความแตกต่างของค่า เฉลีย่ เป็นรายคูด่ ว้ ยวิธเี ชฟเฟ (Scheffé) 2) การวิเคราะห์ เมทริกซ์สหสัมพันธ์ และ 3) การวิเคราะห์ถดถอยแบบ

105

ตัวอย่างข้อคำ�ถาม

ที่มาของเครื่องมือ

- ฉันรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของ องค์การแห่งนี้

สร้างเองโดยพัฒนาจาก แนวคิดของ Meyer & Allen, (1997)

ขั้ น ตอนระดั บ ลดหลั่ น (hierarchical stepwise regression) และการวิเคราะห์การส่งผ่าน (mediation analysis)

ผลการวิจัย

1) ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น ตัวอย่างทีใ่ ช้ใน การวิจัย จ�ำนวน 192 คน เป็นเพศชาย 86 คน (ร้อยละ 44.8) เพศหญิง 106 คน (ร้อยละ 55.2) พนักงานร้อยละ 46.9 อายุต�่ำกว่า 30 ปี ระดับการศึกษาส่วนมาก คือ ปริญญาตรี ร้อยละ 60.4 สถานภาพเป็นโสดมากที่สุด คือ ร้อยละ 67.2 ส่วนใหญ่มีระยะเวลาท�ำงานต�่ำกว่า 2 ปี คือ ร้อยละ 40.6 และร้อยละ 81.8 มีรายได้ระดับ 15,000-30,000 บาท 2) ผลการวิเคราะห์ตามวัตถุประสงค์ 2.1 การวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับ OC ของ พนักงานโรงแรมเมือ่ จ�ำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ผลการ วิเคราะห์พบว่า เพศและระดับการศึกษาของพนักงาน โรงแรมทีแ่ ตกต่างกันมีระดับ OC ไม่แตกต่างกันแต่ปจั จัย ด้านอายุ สถานภาพการสมรส ระยะเวลาท�ำงาน และ รายได้ของพนักงานที่แตกต่างกันมีระดับ OC แตกต่าง กันอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ โดยพนักงานทีม่ อี ายุตำ�่ กว่า 30 ปีมีระดับ OC ต�่ำกว่าพนักงานที่มีอายุมากกว่า 50 ปี พนักงานทีม่ สี ถานภาพโสดมีระดับ OC ต�ำ่ กว่าผูท้ สี่ มรส/ หย่า/หม้าย พนักงานที่มีระยะเวลาท�ำงานน้อยกว่า 3 ปี มีระดับ OC ต�ำ่ กว่าพนักงานทีท่ ำ� งานมากกว่า 10 ปี และ พนักงานที่มีรายได้ต�่ำมี OC ต�่ำกว่าพนักงานที่มีรายได้ ปานกลางและสูง แต่เมื่อวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ 4 ทาง โดยใส่ตัวแปรต้นที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยส�ำคัญต่อ OC เข้าไปพร้อมกัน ปรากฏว่า มีตัวแปรรายได้เพียง ตัวแปรเดียวทีม่ อี ทิ ธิพลต่อ OC อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ดั ง นั้ น การวิ เ คราะห์ ต ่ อ ไปจึ ง ใส่ ตั ว แปรรายได้ เ พี ย ง ตัวแปรเดียวเป็นปัจจัยส่วนบุคคล (PF) รายละเอียดดัง ตารางที่ 2

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


106

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ตารางที่ 2 การวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์การเมื่อจ�ำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ ปัจจัยส่วนบุคคล

n

S.D.

1) ชาย

86

3.723

.498

2) หญิง

106

3.625

.437

1) ต�่ำกว่า 30

90

3.573

.486

2) 31-40 ปี

54

3.713

.431

3) 41-50 ปี

28

3.773

.399

4) มากกว่า 50 ปี

20

3.830

.496

1) ต�่ำกว่า ป.ตรี

65

3.648

.505

2) ป.ตรี/สูงกว่า

127

3.679

.448

1) โสด

129

3.620

.471

2) สมรส/หย่า/หม้าย

63

3.768

.445

78

3.542

.456

2) 3-10 ปี

53

3.740

.531

3) มากกว่า 10 ปี

61

3.768

.384

1) น้อย

60

3.472

.378

2) ปานกลาง

97

3.727

.506

3) สูง

35

3.843

.380

1. เพศ 2. อายุ

3. ระดับการศึกษา 4. สถานภาพสมรส

5. ระยะเวลาท�ำงาน 1) น้อยกว่า 3 ปี

6. รายได้

7. อายุ สถานภาพสมรส ระยะเวลาท�ำงาน รายได้

ค่าสถิติทดสอบ F/Welch

ผลการเปรียบเทียบรายคู่ p

2.1101

.148

2.750*1

.044

.1941

.660

4.356*1

.038

1<2

5.055**1

.007

1<3

12.238**1(Welch) <.001

1<2,3

.519 .728 .451 .006

1<2,3,4

.758 .122 .800 5.288**2

1<4

หมายเหตุ: *p<.05, **p<.01 1เพศ Levene Statistic =3.308 p= .071, อายุ Levene Statistic =.964 p= .411, 1ระดับการศึกษาLevene Statistic =3.131 p= .078, 1สถานภาพสมรส Levene Statistic =.400 p= .528 1ระยะเวลาท�ำงานLevene Statistic =2.901 p= .057, 1รายได้ Levene Statistic = 5.486 p= .005 24 IV’s อายุ สถานภาพสมรส ระยะเวลาท�ำงาน รายได้ Levene Statistic =1.180 p= .230

2.2 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ในกรอบแนวคิด แสดงผลว่าปัจจัยส่วนบุคคล (PF) ด้ านรายได้ มี ค วามสั มพันธ์ท างบวกกับ JS และOC อย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 แต่ ไ ม่ มี ค วาม

สัมพันธ์กับ SE และพบว่า JS มีความสัมพันธ์ทางบวก กับ OC อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01 แต่ JS ไม่มี ความสัมพันธ์กับ SE และ SE ไม่มีความสัมพันธ์กับ OC ดังตารางที่ 3

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

107

ตารางที่ 3 เมทริกซ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในกรอบแนวคิด ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตัวแปร

รายได้ (PF)

JS

SE

OC

รายได้ (PF)

1.000

ความพึงพอใจในการทำ�งาน (JS)

0.202**

1.000

การเห็นคุณค่าในตนเอง (SE)

-0.066

0.074

1.000

ความผูกพันต่อองค์การ (OC)

0.290**

0.703**

-0.102

1.000

ค่าเฉลี่ย

S.D.

1.870a

0.693

3.744

0.491

2.742

0.260

3.669

0.467

หมายเหตุ: *p<.05; **p<.01; aรายได้ แบ่งเป็น 3 ระดับ (1=น้อย, 2 = ปานกลาง, 3= มาก)

2.3 การวิเคราะห์อิทธิพลของ JS ที่มีต่อ OC เมื่อมี SE เป็นตัวแปรส่งผ่านแบ่งเป็น 2 กรณี 2.3.1 กรณี ก: การวิเคราะห์อิทธิพลของ JS ที่มีต่อ OC เมือ่ มี SE เป็นตัวแปรส่งผ่านโดยใช้การวิเคราะห์ถดถอย แบบขั้นตอนระดับลดหลั่น และการวิเคราะห์การส่งผ่าน เมื่อใส่ JS ในสมการขั้นตอนที่ 1 ได้ผลว่าสัมประสิทธิ์ พยากรณ์ (coefficient of determination=R2) เท่ากับ 0.494 แสดงว่า ตัวแปร JS อธิบายความแปรปรวนใน OC ได้ร้อยละ 49.4 หรือประมาณร้อยละ 50 และเมื่อเพิ่ม ตัวแปร SE เข้าไปในสมการถดถอยในขั้นตอนที่ 2 ได้ค่า R2=0.518 แสดงว่าตัวแปร JS และ SE ร่วมกันอธิบายความ แปรปรวนได้ร้อยละ 51.8 หรือประมาณร้อยละ 52 เมื่อ พิจารณาค่า R2 ที่เพิ่มขึ้น (increment R2) จากขั้นตอน ที่ 1 เป็นขั้นตอนที่ 2 มีค่าเท่ากับ 0.518-0.494=0.024 แสดงว่าตัวแปร SE อธิบายความแปรปรวนในตัวแปร OC ได้เพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 2.4 เท่านั้นซึ่งสอดคล้อง กับค่าความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร SE กับ OC ที่มีค่า

เท่ากับ -0.102 ประเด็นที่น่าสังเกต คือ ปริมาณความแปรปรวนใน ตัวแปร OC ที่อธิบายได้ด้วย JS มีค่าสูงมากประมาณ ร้อยละ 50 ในขณะที่ค่าความแปรปรวนที่อธิบายได้ด้วย SE มีค่ามากเพียงร้อยละ 2.4 แสดงว่าอ�ำนาจในการ พยากรณ์ JS ที่มีต่อ OC มีค่าสูงประมาณ 25 เท่าของ SE เมื่อพิจารณาขนาดอิทธิพลทางตรงของตัวแปรท�ำนาย JS และ SE ที่มีต่อ OC จากการแปลความหมายค่า beta พบว่า อิทธิพลทางตรงของ JS ที่มีต่อ OC มีค่าเท่ากับ 0.714 ในขณะที่อิทธิพลทางตรงของ SE ต่อ OC เมื่อ ควบคุม JS ให้คงที่ มีค่า= -0.155 แสดงว่าอิทธิพลเชิง สาเหตุของ JS ที่มีต่อ OC สูงเป็น 4.6 เท่าของอิทธิพลเชิง สาเหตุของ SE ที่มีต่อ OC นอกจากอิทธิพลที่มีค่าต่างกัน แล้ว ประเด็นที่น่าสังเกต คือ อิทธิพลทางตรงของ SE ต่อ OC เป็นอิทธิพลทางลบ ในขณะที่อิทธิพลทางตรงของ JS ต่อ OC เป็นอิทธิพลทางบวก ดังตารางที่ 4

ตารางที่ 4 ผลการวิเคราะห์ถดถอยแบบขั้นตอนระดับลดหลั่นของตัวแปรความผูกพันต่อองค์การ DV = OC

b

S.E.

step 1 beta

constant

1.166

0.185

-

JS

0.668

0.049

0.703** 13.611

IV

t

sig

b

S.E.

6.290

.000

1.890

0.298

.000

0.679

0.048

SE R2 = 0.494; adjusted

R2=0.491;

R= 0.703; increment R2 = 0; F=185.254**df = 1, 190; p =.000

step 2 beta

t

sig

-

6.351

0.714**

14.099

.000 .000 .002

-0.219 0.091 -0.155** -3.068 2 R= 0.720; R = 0.518; adjusted R2=0.513; increment R2 = 0.024; F=101.435**df =1, 189; p =.000

หมายเหตุ: *p<.05; **p<.01 ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

108

ผลการวิเคราะห์แยกอิทธิพลตัวแปร JS และ SE ต่อ OC ออกเป็นอิทธิพลทางตรงและอิทธิพลทางอ้อม พบว่า JS มีอิทธิพลรวมขนาดสูงมาก (0.703) ส่วนใหญ่เป็น

อิทธิพลทางตรง (0.714) และน่าสังเกตว่าอิทธิพลทาง อ้อมระหว่าง JS และ OC เป็นอิทธิพลทางลบและไม่มี นัยส�ำคัญทางสถิติ ดังตารางที่ 5

ตารางที่ 5 การวิเคราะห์อิทธิพลของตัวแปร JS และ SE ต่อ OC variable

total effect(beta)

Indirect effect via SE

direct effect

r

residual

JS SE

0.703** -0.155

-0.011 -

0.714** -0.155**

0.703** -0.102

.000 -0.053

หมายเหตุ: *p<.05; **p<.01

2.3.2 กรณี ข: การวิเคราะห์อิทธิพลของ JS ที่มีต่อ OC เมื่อมี SE เป็นตัวแปรส่งผ่าน และควบคุมตัวแปร รายได้ ซึง่ เป็นปัจจัยส่วนบุคคล (PF) โดยใช้การวิเคราะห์ ถดถอยแบบขัน้ ตอนระดับลดหลัน่ และการวิเคราะห์การ ส่งผ่าน พบว่า เมื่อใส่รายได้ (PF) ในสมการขั้นตอนที่ 1 ได้ผลว่าสัมประสิทธิ์พยากรณ์ (R2) เท่ากับ 0.084 แสดง ว่า ตัวแปรรายได้อธิบายความแปรปรวนใน OC ได้ ร้อยละ 8.4 หรือประมาณร้อยละ 8 และเมื่อเพิ่มตัวแปร JS เข้ า ไปในสมการถดถอยในขั้ น ตอนที่ 2 ได้ ค ่ า R2= 0.516 แสดงว่าตัวแปรรายได้และ JS ร่วมกันอธิบาย ความแปรปรวนได้ร้อยละ 51.6 หรือประมาณ ร้อยละ 52 เมื่อพิจารณาค่า R2 ที่เพิ่มขึ้นจากขั้นตอนที่ 1

เป็นขั้นตอนที่ 2 พบว่า R2 ที่เพิ่มขึ้นมีค่า=0.516-0.084 = 0.432 แสดงว่าตัวแปร JS อธิบายความแปรปรวนใน ตัวแปร OC ได้เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 43.2 ซึ่งสอดคล้องกับ ค่าความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร JS กับ OC ทีม่ คี า่ เท่ากับ 0.703 และเมื่อเพิ่มตัวแปร SE เข้าไปในสมการถดถอย ในขั้นตอนที่ 3 ได้ค่า R2= 0.537 แสดงว่าตัวแปร JS และ SE ร่วมกันอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 53 เมื่ อ พิ จ ารณาค่ า R 2 ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น มี ค ่ า เท่ า กั บ 0.5370.516=0.021 แสดงว่ า ตั ว แปร SE อธิ บ ายความ แปรปรวนในตัวแปร OC ได้เพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 2.1 หรือประมาณร้อยละ 2 เท่านั้น ดังตารางที่ 6

ตารางที่ 6 ผลการวิเคราะห์ถดถอยแบบขั้นตอนระดับลดหลั่นของตัวแปร OC เมื่อควบคุม PF (รายได้) IV constant

DV= OC step2

step1 b

S.E. beta

3.303 .093

PF (รายได้) .195 .047

t

p

b

S.E. beta

35.425 .000 1.083 .184

-

step3 t

p

b

S.E. beta

5.8920 .000 1.759 .296

-

.290** 4.174 .000 .104 .035 .154** 2.985 .003 .096 .034 .142**

t

p

5.943 .000 2.794 .006

JS

.639 .049 .671** 13.002 .000 .651 .048 .685** 13.456 .000

SE

-.258 .090 -.144** -2.882 .004

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015 R=0.209; R2= 0.084; adjusted R2=0.079; increment R2=0; F=17.420** df = 1, 190; p =.000

R=0.719;R2=0.516; adjusted R2=0.511; increment R2 = 0.432; F=100.937** df = 2, 189; p =.000

109

R=0.733;R2=0.537; AdjustedR2=0.530; increment R2 = 0.021; F=72.659** df = 3, 188; p =.000

หมายเหตุ: *p<.05; **p<.01

ดังตารางที่ 7 และแสดงโมเดลเชิงสาเหตุความผูกพันต่อ องค์การเมื่อไม่ควบคุมและเมื่อควบคุมปัจจัยส่วนบุคคล (รายได้) ดังภาพที่ 2

เมื่อใส่ตัวแปร PF (รายได้) เข้าไปพบว่าได้ผลใกล้ เคียงเดิม คือ อิทธิพลรวม (total effect) ของ JS ไป OC ส่วนใหญ่ยังคงเป็นอิทธิพลทางตรง (direct effect) และอิทธิพลทางอ้อม (Indirect effect) เป็นค่าติดลบ

ตารางที่ 7 การวิเคราะห์อิทธิพลของตัวแปร JS และ SE ต่อ OC เมื่อควบคุมตัวPF แปรปัจจัยส่วนบุคคล (รายได้) JS

variable

total effect (beta)

PF (รายได้)

0.290**

JS

0.671**

SE

SE

OC

Indirect effect via direct effect JS JS SE total

0.136

ก. เมื่อไม่มีก-0.144** ารควบคุมปัจจัยส่วนบุค- คล

r

OC

residual

0.012

0.148

0.142** SE

0.290**

0.000

-0.014

-0.014

0.685**

0.703**

0.032

-

ารควบคุมปัจจัย-0.102 ส่วนบุคคล 0.042 - ข. เมื่อมีก-0.144**

หมายเหตุ: 1.**p<.01 PF JS [.074]

(.703**) ; .714** OC [.703**] [-.102] -.155** ; (-.155**) SE

JS [.074]

ก. เมื่อไม่มีการควบคุมปัจจัยส่วนบุคคล (รายได้)

.142 ** [.290**]

(.671**) ; .685** OC [.703**] [-.066] [-.102]

SE

-.144** ; (-.144**)

ข. เมื่อมีการควบคุมปัจจัยส่วนบุคคล (รายได้)

ภาพที่ 2 โมเดลเชิงสาเหตุความผูกพันต่อองค์การ

หมายเหตุ: 1. *p<.05; **p<.01 2. ตัวเลขในภาพคืออิทธิพลทางตรง ตัวเลขใน (..) คืออิทธิพลรวม; ตัวเลขใน [..] คือค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์

อภิปรายผล

ผลการวิจัยครั้งนี้ จะอภิปรายตามสมมติฐานรวม 3 ข้อดังนี้ ผลการวิจัยสนับสนุนสมมติฐานที่ 1 เป็นส่วนใหญ่ กล่าวคือ พนักงานโรงแรมทีม่ อี ายุ สถานภาพสมรส ระยะ เวลาท�ำงาน และรายได้แตกต่างกันมีระดับ OC แตกต่าง

กันอย่างมีนยั ส�ำคัญ ส่วนพนักงานทีม่ เี พศและระดับการ ศึกษาแตกต่างกันมีระดับ OC ไม่แตกต่างกัน สอดคล้อง กับผลการศึกษาในประเทศและต่างประเทศ (ถนอมศรี แดงศรี, 2551; รพีพรรณ สุพรรณพัฒน์, 2555 และ Azeem, 2010) อธิบายได้วา่ พนักงานทีท่ ำ� งานกับองค์การ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


110

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

เป็นระยะเวลานานย่อมเป็นผู้ที่มีอายุเพิ่มขึ้น และมักจะ มีรายได้สูงกว่าพนักงานที่เริ่มท�ำงาน อีกทั้งส่วนใหญ่ มักจะเป็นผูท้ สี่ มรสแล้วมากกว่าเป็นโสด จึงท�ำให้ตวั แปร ทั้ง 4 ด้านของปัจจัยส่วนบุคคลส่งผลต่อระดับ OC สูงกว่า ในขณะทีเ่ พศไม่ใช่ปจั จัยทีท่ ำ� ให้ OC ต่างกัน อาจเป็นเพราะ สิทธิของชายหญิงในปัจจุบันเท่าเทียมกันและส่วนใหญ่ ของตัวอย่างในการวิจัยมีการศึกษาระดับปริญญาตรีถึง ร้อยละ 60.4 อาจท�ำให้ผลวิเคราะห์ไม่แสดงผลว่า OC แตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญ อย่างไรก็ตาม เมือ่ เปรียบเทียบ PF ทั้ง 4 ด้านพร้อมกันพบว่ามีรายได้เท่านั้นที่ท�ำให้ OC ต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ ผลการวิเคราะห์สนับสนุนสมมติฐานที่ 2 บางส่วน กล่าวคือ JS มีความสัมพันธ์ทางบวกกับ OC ของพนักงาน โรงแรม โดยมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .703 (p<.01) ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคล้องกับผลการศึกษา ทีผ่ า่ นมา (ถนอมศรี แดงศรี, 2551; พัชรา ทาหอม, 2550; รพีพรรณ สุพรรณพัฒน์, 2555; วิทย์ เมฆะวรากุล, 2553; อัจฉรา จันทะบาล, 2553 และ Azeem, 2010) แต่ JS ไม่มีความสัมพันธ์กับ SE และ SE กับ OC ไม่มีความ สัมพันธ์กันอย่างมีนัยส�ำคัญ ซึ่งผลขัดแย้งกับการศึกษา ของจิตรลดา ฐินถาวร และทิพทินนา สมุทรานนท์ (2553) เป็นที่น่าสังเกตว่าค่าความสัมพันธ์ระหว่าง SE กับ OC เป็ น ลบซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ การศึ ก ษาในต่ า งประเทศ (Cherabin et al., 2012) หมายความว่าหากพนักงาน มี SE สูงจะมี OC ต�่ำ อภิปรายได้ว่าเมื่อพนักงานเชื่อมั่น ว่าตนมีศกั ยภาพหรือมีความสามารถและมีคณ ุ ค่าอาจจะ กล้าตัดสินใจเปลี่ยนงานได้ง่ายกว่า ท�ำให้มี OC ต�่ำโดย คิดว่าเมือ่ ตนมีคณ ุ ค่าแล้วไปสมัครงานทีใ่ ดก็คงได้รบั การ ยอมรับ จึงอาจจะลาออกเพื่อไปท�ำงานกับองค์การอื่น ได้ง่ายกว่าพนักงานที่ SE ต�่ำซึ่งคิดว่าตนมีความสามารถ จ�ำกัดท�ำให้ไม่กล้าคิดเปลี่ยนงาน อีกประการหนึ่งอาจ เป็นเพราะคนที่มีลักษณะ SE สูงมักจะเป็นบุคคลที่มี ลักษณะมุ่งสู่ความส�ำเร็จสูงด้วย (Asadi, 2010) โดย พยายามแสวงหาองค์การที่คิดว่าดีที่สุดส�ำหรับตน เพื่อ ความก้าวหน้าในอาชีพท�ำให้มี OC ต�่ำก็ได้ (เกตุนภัส เมธีกสิวัฒน์, 2555 และ Marta et al., 2011) นอกจากนั้น ผลการวิจัยครั้งนี้สนับสนุนสมมติฐาน

ที่ 3 บางส่วน กล่าวคือ ในกรณีที่ไม่ได้ควบคุมปัจจัยส่วน บุคคลด้านรายได้ (กรณี ก) JS มีอิทธิพลรวม (total effect) และมีอิทธิพลทางตรง (direct effect) ต่อ OC เท่ากับ .703 และ .714 ตามล�ำดับ แต่ JS มีอิทธิพลทาง อ้อม (indirect effect) ส่งผ่าน SE ด้วยค่าติดลบเล็ก น้อย คือ -0.011 เท่านั้นและไม่มีนัยส�ำคัญ ข้อค้นพบดัง กล่าวขัดแย้งกับผลการวิจยั ของ Cherabin et al. (2012) อธิบายได้ว่าพนักงานที่มี JS สูงและ SE สูงจะมี OC ต�่ำ ลงเล็กน้อย แต่หากพนักงานมี JS สูงเพียงอย่างเดียวแล้ว มี SE ต�่ำ ก็ยังมี OC สูง เพราะ JS มีอิทธิพลทางตรงต่อ OC ค่อนข้างสูง และอธิบายความแปรปรวนใน OC ได้ ถึงประมาณร้อยละ 50 และถ้าผ่าน SE จะอธิบายความ แปรปรวนร่วมกันได้ร้อยละ 52 ส่วนในกรณี ข เมื่อ ควบคุมตัวแปรปัจจัยส่วนบุคคล (รายได้) JS มีอิทธิพล ทางตรงต่อ OC เมือ่ ส่งผ่าน SE และอธิบายความแปรปรวน ใน OC ได้ร้อยละ 53 คือ เพิ่มขึ้นจากเดิมร้อยละ 1 เท่านั้น และอิทธิพลทางอ้อมที่ JS มีต่อ OC ก็ยังเป็นค่าติดลบ และไม่ มี นั ย ส� ำ คั ญ สรุ ป ว่ า เมื่ อ มี ก ารควบคุ ม ตั ว แปร รายได้ ขนาดอิทธิพลทั้งหมดและอิทธิพลตรงของ JS ต่อ OC น้อยกว่าเดิมเพียงเล็กน้อย แสดงว่าผลที่ได้ ไม่แตกต่างจากการไม่ควบคุมรายได้ หรืออาจเป็นเพราะ SE มีอิทธิพลย้อนกลับต่อ JS จึงพบอิทธิพลทางตรง ของ SE ต่อ OC ในระดับต�่ำและมีค่าติดลบ หากมีการ วิเคราะห์เพิ่มเติม เปรียบเทียบว่าอิทธิพลของ JS และ SE ต่ อ OC นี้ เป็ น โมเดลความสั ม พั น ธ์ เชิ ง สาเหตุ แบบสองทาง คือ มีอิทธิพลย้อนกลับจาก SE ต่อ JS น่าจะให้ผลที่ชัดเจนมากขึ้น ข้อค้นพบข้างต้นน�ำไปสู่การอภิปราย กล่าวคือการ ที่จะน�ำผลการวิจัยครั้งนี้ไปใช้ประโยชน์ เพื่อพัฒนาให้ พนักงานโรงแรมมี OC มากขึน้ ผูบ้ ริหารขององค์การต้อง สร้าง JS มากทีส่ ดุ โดยก�ำหนดนโยบายการบริหารจัดการ ให้พนักงานได้รับสิ่งที่เอื้ออ�ำนวยต่อ JS ให้เพียงพอและ เหมาะสมโดยเฉพาะด้านรายได้ ซึ่งจัดว่าเป็นปัจจัยที่มี อิทธิพลอย่างมีนัยส�ำคัญต่อระดับ OC มากที่สุด ผลการ วิเคราะห์นสี้ อดคล้องกับทฤษฎีสองปัจจัยของ Herzberg (1959 cited in Gordon et al., 1990) ที่เสนอว่า องค์การต้องสร้างปัจจัยสุขอนามัยให้กับพนักงานอย่าง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

เพียงพอก่อนเพื่อป้องกันความไม่พอใจเมื่อพนักงานได้ รั บ สวั ส ดิ ก ารและสภาพแวดล้ อ มต่ า งๆ จนเกิ ด JS พนักงานจึงจะมีแรงจูงใจและทุ่มเทท�ำงาน ผลการวิจัย ครั้งนี้ยืนยันแล้วว่า OC ได้รับอิทธิพลจาก JS ทั้งที่ไม่ ควบคุมและควบคุมตัวแปรรายได้ โดยผลการวิเคราะห์ ใกล้เคียงกัน เมื่อพิจารณาอิทธิพลทางตรงระหว่าง SE กับ OC จะพบว่า มีค่าเป็นลบอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ หมายความว่ า หากพนั ก งานมี SE สู ง ก็ อ าจมี ผ ลให้ พนักงานมี OC ต�ำ่ และอยากเปลีย่ นงานหรือลาออกจาก งานมากยิง่ ขึน้ ก็ได้ แม้วา่ ผลการวิจยั ครัง้ นีแ้ สดงผลว่า SE มีอิทธิพลต่อ OC เพียงเล็กน้อยแต่ก็มีนัยส�ำคัญ เรื่องนี้ น่าจะได้รบั การพิสจู น์ให้ชดั เจนอย่างละเอียดมากขึน้ ต่อ ไป เพราะ SE ในการวิจัยครั้งนี้เป็นความหมายของการ เห็นคุณค่าในตนเองแบบกว้างๆ ทั่วไป ไม่ได้เน้นเฉพาะ SE ที่เกี่ยวกับองค์การโดยตรงเหมือนงานวิจัยบางเรื่อง ซึ่งผลการวิจัยอาจแตกต่างไป

สรุปและข้อเสนอแนะ

การวิจัยเรื่องนี้สนับสนุนสมมติฐานว่า PF ด้านอายุ สถานภาพสมรส ระยะเวลาท�ำงาน และรายได้ มีผลกับ

111

OC ของพนั ก งานโรงแรมในกรุ ง เทพมหานครและ ปริมณฑล และแสดงบทบาท JS ที่มีอิทธิพลทางตรงต่อ OC อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ แต่ไม่มีอิทธิพลทางอ้อม เมื่อมี SE เป็นตัวแปรส่งผ่านทั้งกรณีไม่ควบคุมและ ควบคุมตัวแปรรายได้ที่แสดงผลใกล้เคียงกัน โดยมีการ ตรวจสอบกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ซึ่งสามารถน�ำไปใช้ ประโยชน์ในทางปฏิบัติเกี่ยวกับการบริหารจัดการด้าน ธุรกิจการโรงแรม อย่างไรก็ตาม การวิจยั ครัง้ นีม้ ขี อ้ จ�ำกัด ของการวิจัย กล่าวคือ การเลือกตัวอย่างใช้การสุ่ม ตัวอย่างเพียงขั้นตอนแรกเท่านั้น อาจไม่สามารถอ้างอิง ได้ครอบคลุม ถ้าเป็นไปได้ควรใช้เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง ทุกขั้นตอนมากกว่า ข้ อ เสนอแนะจากการวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี 2 ประการ ประการแรก คือ การน�ำผลการวิจัยที่ได้เป็นองค์ความรู้ ส�ำหรับไปใช้เป็นแนวทางในการก�ำหนดนโยบายบริหาร จัดการทรัพยากรมนุษย์ในธุรกิจการโรงแรมดังทีอ่ ภิปราย ผลไว้ ประการที่สองคือ การวิจัยเรื่องนี้ในครั้งต่อไปน่า จะศึกษาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุแบบสองทาง โดย ศึกษาอิทธิพลย้อนกลับจากการเห็นคุณค่าในตนเองต่อ ความพึงพอใจในการท�ำงานด้วย

บรรณานุกรม

เกตุนภัส เมธีกสิวฒ ั น์. (2555). ความสัมพันธ์ของความผูกพันทุม่ เทของพนักงานทีม่ ตี อ่ งานและองค์การ กับความตัง้ ใจ ลาออกของพนักงานในธุรกิจโรงแรมจังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย สุรนารี. จิตรลดา ฐินถาวร และทิพทินนา สมุทรานนท์. (2553). ความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองที่มีพื้นฐานมาจากองค์การ การรับรู้ ความยุติธรรมในองค์การและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของพนักงานราชการ: กรณีศึกษา กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ต่อลาภ ประภัศรานนท์. (2552). ปัจจัยที่ท�ำให้พนักงานมีความพึงพอใจต่องานและองค์กรในธุรกิจโรงแรมในระดับ 4 และ 5 ดาว ภายในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ถนอมศรี แดงศรี. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวติ ในการท�ำงาน ความผูกพันต่อองค์การ และผลการปฏิบตั ิ งานของพยาบาลวิ ช าชี พ ระดั บ ปฏิ บั ติ ก าร โรงพยายาบาลชั้ น น� ำ . วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญามหาบั ณ ฑิ ต , มหาวิทยาลัยศรีปทุม. ธีราภัทร ขัติยะหล้า. (2555). คุณภาพชีวิตการท�ำงานกับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร องค์การบริหารส่วน ต�ำบลป่าสัก อ�ำเภอเมืองล�ำพูน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่. ปณิชา ดีสวัสดิ์. (2550). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง แรงจูงใจในการท�ำงาน และคุณภาพชีวิต ในการท�ำงานของพนักงานโรงพยาบาลทหารผ่านศึก. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


112

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ปริญญา สัตยธรรม. (2550) ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน กรณีศึกษา: บริษัท วาย เอช เอส อินเตอร์ เนชั่นแนล จ�ำกัด. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. พัชรา ทาหอม. (2550). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานกับความผูกพันต่อองค์การของลูกจ้างอู่ซ่อมรถยนต์ใน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. รพีพรรณ สุพรรณพัฒน์. (2555). ศึกษาความพึงพอใจในงานและความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานโรงแรม โซฟิเทล เซนทาราแกรนด์ กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วิทย์ เมฆะวรากุล. (2553). อิทธิพลของความพึงพอใจในค่าตอบแทนต่อความพึงพอใจในการท�ำงานและความ ผูกพันต่อองค์การในบริบทของการรับรู้ความยุติธรรมของพนักงานโรงแรมในเขตภาคตะวันออกของ ประเทศไทย. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง. สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2557). สรุปสถานการณ์ท่องเที่ยวตลอดปี 2556 และแนวโน้มการ ท่องเที่ยวปี 2557. สืบค้นเมื่อ 11 กันยายน 2557, จาก http://www.thailandtourismcouncil.org/ imgadmins/news สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น). (2553). บทวิเคราะห์ธุรกิจโรงแรมและรีสอร์ทปี 2553. สืบค้นเมื่อ 11 กันยายน 2557, จาก http://www.sme.go.th/SiteCollectionDocuments.pdf สุภาภรณ์ ประสงค์ทัน. (2555). ความผูกพันของพนักงานต่อองค์การ: การเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขัน ของธุ ร กิ จ โรงแรมไทยในยุ ค AEC. สื บ ค้ น เมื่ อ 11 กั น ยายน 2557, จาก cs.human.ku.ac.th/ art_attachments/art55.pdf อัจฉรา จันทะบาล. (2553). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันของพนักงานโรงแรมโซฟิเทล สีลม กรุงเทพฯ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร. อัชฌา ชื่นบุญ, รุ่งฤดี โลลุวิวัฒน์, ศราวุธ มั่นสูงเนิน, จิราภรณ์ โภชกปริภัณฑ์ และสุนทร ช่องชนิล. (2013). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการท�ำงานของบุคลกรในโรงพยาบาลเซนต์เมรี่. วารสารปัญญาภิวัฒน์. 4(ฉบับพิเศษ พฤษภาคม 2556), 73-85. Asadi, A. (2010). Prevalence of anxiety and its relationship with self-esteem among Zabol university students, Iran. Educational Research, 5, 140-144. Azeem, S. M.. (2010). Job satisfaction and organizational commitment among employees in the Sultanate of Oman. Scientific Research, 1, 295-299. Cherabin, M., Praveena, K. B., Azimi, H. M., Qadimi, A. & Shalmani, R. S. (2012). Self esteem, jobsatisfaction and organizational commitment of faculty members of secondary level teacher training programme in Mysore (India). Life Science Journal, 9(4). 204-214. Crawford, A. & Hubbard, S. S. (2008). The impact of work-related goals on hospitality industry employee variables. Tourism & Hospitality Research. 8(2),116-124. Erdfelder, E. Faul, F., & Buchner, A. (1996). GPOWER: A general power analysis program. Retrieved August 28, 2014, from http://www.psycho.uni-duesseldorf.de/aap/projects/gpower Gordon, J. R., Mondy, R. W., Sharplin, A. & Premeaux, S. R. (1990). Management and Organizational Behavior. Boston: Allyn and Bacon. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

113

Hewitt, J. P. (2009). Oxford handbook of positive psychology. Oxford: University Press. Lapointe, E., Vandenberghe, C. & Panaccio, A. (2011). Organizational commitment, organization-based self-esteem, emotional exhaustion and turnover: A conservation of resources perspective. SAGE journal, 64(12), 1609-1631. Marta, J. K. M., Singhapakdi, A., Lee, D-J., Sirgy, M. J., Koonmee, K. & Virakul, B. (2011). Perception about ethics in situationalization and quality of work life: Thai versus American marketing managers. Journal of Business Research, 21, 2-9. Meyer, J. P. & Allen, N. J. (1997). Commitment in the workplace: Theory, research, and application. Thousand Oaks, CA: Sage. Ogunyemi, A. O. (2014). The mediating roles of organization-based self-esteem (OBSE) and organizational commitment (OC) in spirituality at work and organizational citizenship behavior. International Journal of Innovative, 3(2), 61-71. Poorgharib, M., Abzari, M. & Azarbayejani, K. (2013). The relationship between self-esteem, organizational attachment, and perceptions of quality of work life in Jahad-e-Keshavarzi organization of Isfahan. International Research Journal of Applied and Basic Sciences. 4(12), 4156-4162. Rosenberg, M. (1965). Society and the adolescent self-image. Princeton. New Jersey: Princeton University Press.

Translated Thai References

Chuenboon, A., Loluwiwat, R., Mungsongnern, S., Pochakaparipan, J. & Chongchanil, S. (2013). Factors affecting the happy workplace of personal in Saint Mary Hospital. Panyapiwat Journal. 4(Special Issue may 2013), 73-85. [in Thai] Daengsri, T. (2008). The relationship between quality of work life, organizational commitment and job performance of operational nurse in a well-known public hospital. Master Thesis, Sripatum University. [in Thai] Juntabal, A. (2010). Factors related to the staff’s commitment of the Sofitel Silom Bangkok Hotel. Master Thesis, Silpakorn University. [in Thai] Khattiyala, T. (2012). Quality of working life and organizational commitment of the personnel officers in Pasak Subdistrict Administrative Organization, Mueang Lamphun District. Master Thesis, North-Chiang Mai University. [in Thai] Mekavarakul, W. (2010). The Influence of compensation satisfaction on job satisfaction and organizational commitment in the context of perceptions of justice by hotel employees in the eastern region of Thailand. Ph.D. Thesis, Ramkhamhaeng University. [in Thai] Metheekasiwat, K. (2012). The relationship between the employees work and organizational engagement and their intention to quit, The hotel Job in Nakornratchasima province. Master Thesis, Suranaree University of Technology. [in Thai] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


114

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Prapatsaranon, T. (2009). Factors affecting job satisfaction: a study of employees in four and fivestar hotels in Bangkok, Thailand. Master Thesis, Thammasat University. [in Thai] Prasongthan, S. (2012). Employee engagement: Increasing competitive advantage of Thai hotel industry toward AEC. Retrieved September 11, 2014, from cs.human.ku.ac.th/art_attachments/ art55.pdf [in Thai] Sattayatham, P. (2007). Employee job satisfaction: case of YHS international limited. Master Thesis, National Institute of Development Administration. [in Thai] Supanapat, R. (2012). A Study of job satisfaction and organizational Centara Grand Bangkok. Master Thesis, Mahachulalongkornrajavidyalaya University. [in Thai] Tahoma, P. (2007). Job satisfaction and organizational ties of employees of car repair centers in Phranakhon Si Ayutthaya province. Master Thesis, Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University. [in Thai] Technology Promotion Association (Thailand-Japan). (2010). An Analysis of Hotel and Resort Business in 2014. Retrieved September 11, 2014, from http://www.sme.go.th/SiteCollectionDocuments. pdf [in Thai] Teesawat, P. (2007). The relationship between self-esteem, motivation and quality of work life of employees in veterans general hospital. Master Thesis, Kasetsart University. [in Thai] Tintavorn, J. & Samutranon, T. (2010). Relationship between government employees’ self - esteem based on organizational justice perception and organizational citizenship behavior : A case study of legal execution department, Ministry of Justice. Master Thesis, Kasetsart University. [in Thai] Tourism Council of Thailand. (2014). A Summary of Tourism Situation in 2013 and Forecast for 2014. NEWS RELEASE. Retrieved September 11, 2014, from http://www.thailandtourismcouncil. org/imgadmins/news [in Thai]

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

115

Associate Professor Kingkaew Subprawong Education: Master of Education (Educational Psychology and Guidance), Chulalongkorn University, 1980. Bachelor of Education (Second Class Honours) (Psychology), Chulalongkorn University, 1977. Current Position: Instructor, Tourism Management Department, School of Humanities and Tourism Management, Bangkok University.

Assistant Professor Napat Woothiwongsa Education: Master of Arts (English), Tarleton State University, USA, 1981. Bachelor of Arts (English), Chiang Mai University, 1978. Current Position: Chairperson, English Department, School of Humanities and Tourism Management, Bangkok University.

A. Porapat Chookhare Education: Master of Arts (Culture and development), Mahidol University, 2013. Bachelor of Arts (Information Studies), Chulalongkorn University, 2002. Current Position: Instructor, Hotel Management Department, School of Humanities and Tourism Management, Bangkok University.

A. Piyawut Sirimongkol Education: Master of Arts (Hotel and Tourism Management), Naresuan University, 2013. Bachelor of Arts (Tourism and Hotel Studies), Bangkok University, 2011. Current Position: Instructor, Tourism Management Department, School of Humanities and Tourism Management, Bangkok University.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


116

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

การศึก ษาข้ อ ผิด พลาดการแปลภาษาไทยเป็ น ภาษาจีน ของ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจในมิติด้านไวยากรณ์ The study of erroneous in translation from Thai to Chinese of Business Chinese students สุพิชญา ชัยโชติรานันท์1 Supichaya Chaichotiranant1 บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาข้อผิดพลาดการแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีนในมิติด้านไวยากรณ์ของ นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภาษาจี น ธุ ร กิ จ ที่ ล งทะเบี ย นเรี ย นรายวิ ช า RA 2016 การแปลภาษาไทยเป็ น ภาษาจีน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จากผลการศึกษาพบว่า นักศึกษาผิดพลาดในเรื่องการแทนที่ ผิดความหมาย (误代 ) มากที่สุด รองลงมาคือ การตกหล่นหรือเกินมาของค�ำหรือส่วนประกอบของประกอบ (遗漏/误加) และการเรียงล�ำดับค�ำหรือส่วนประกอบไม่ถูกต้อง (错序) เป็นล�ำดับสุดท้าย สาเหตุเนื่องมาจากการได้ รับอิทธิพลจากภาษาแม่ ประกอบกับทักษะการใช้ภาษาจีนยังไม่ดีพอ จึงปรากฏลักษณะของข้อผิดพลาดดังกล่าว การแก้ไขข้อผิดพลาดเหล่านี้สามารถท�ำได้โดยการเน้นให้นักศึกษาตระหนักถึงความแตกต่างระหว่างภาษาไทยและ ภาษาจีนในด้านต่างๆ และการฝึกฝนการใช้ภาษาจีนให้แตกฉาน ค�ำส�ำคัญ: การแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีน ข้อผิดพลาด ไวยากรณ์

Abstract

The aim of this study is to investigate grammar errors concerning the translation of Thai into Chinese of fourth-year students of the Faculty of Liberal Arts, Business Chinese Major. The participants enrolled in the course of Translation of Thai into Chinese during the first semester of academic year 2013. The finding revealed that the students’ errors mainly involved overrepresented definitions, followed by an omission or excess of words or components of a sentence. Moreover, the disordering of words and components are occasionally found. All the errors were influenced the participants’ mother tongue, in addition to their lack of Chinese proficiency and fluency. A solution to this problem is to draw students’ attention to the differences between Thai and Chinese together with having the students practice a lot more in order that they become more fluent in Chinese. Keywords: the translation of Thai to Chinese, grammar error 1

ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์, Assistant Dean for Academic Affairs, Faculty of Liberal Arts, Panyapiwat Institute of Management, E-mail: supichayacha@pim.ac.th

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

บทน�ำ

ในปัจจุบันเราปฏิเสธไม่ได้ถึงบทบาทอันส�ำคัญของ ประเทศจีนต่อประเทศไทยรวมถึงภูมภิ าคเอเชีย ไม่วา่ จะ เป็นด้านการค้า การลงทุน ตลอดจนสังคมและวัฒนธรรม ท�ำให้บทบาทของภาษาจีนทวีความส�ำคัญขึ้นตามกัน และในการสื่อสารระหว่างสองชนชาติที่ใช้ภาษาต่างกัน ย่อมเลี่ยงไม่พ้นต้องมีการแปลเข้ามาเกี่ยวข้อง การแปล คือ การถ่ายทอดความหมายจากภาษา ต้ น ฉบั บ ไปเป็ น ภาษาแปลโดยให้ มี ใจความครบถ้ ว น สมบูรณ์ตรงตามต้นฉบับ ไม่มีการตัดต่อหรือแต่งเติม ที่ไม่จ�ำเป็นใดๆ ทั้งสิ้น (วรนาถ วิมลเฉลา, 2535: 4) ซึ่ง หลักการดังกล่าวเป็นสิ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่งส�ำหรับการแปล ที่เกิดขึ้นในกิจกรรมเชิงธุรกิจ เช่น การแปลสัญญา การ แปลเพือ่ เจรจาธุรกิจ การแปลเพือ่ การต่อรองทางการค้า เป็นต้น อย่างไรก็ตาม การแปลเป็นกระบวนการบูรณาการ ทักษะทางภาษา ความรูร้ อบตัว และภูมหิ ลังเกีย่ วกับเรือ่ ง ทีแ่ ปลเข้าไว้ดว้ ยกัน หากผูแ้ ปลขาดอย่างใดอย่างหนึง่ ย่อม ท�ำให้การแปลเกิดความผิดพลาดได้ พัชรี โภคาสัมฤทธิ์ (2549: 2) กล่าวถึงปัญหาที่เกิด ขึ้นในการแปล ได้แก่ หนึ่ง ปัญหาด้านภาษาของผู้แปล ไม่วา่ จะเป็นภาษาต้นฉบับหรือภาษาทีจ่ ะใช้แปล สามารถ เกิดขึ้นได้ตั้งแต่ระดับค�ำ ระดับข้อความ และระดับ ที่ใหญ่กว่านั้น ดังนั้น ผู้แปลต้องรู้ทั้งสองภาษาเป็นอย่างดี สองปัญหาด้านความแตกต่างทางวัฒนธรรมและการ มองโลก ตลอดจนแนวคิดที่แตกต่างกันของคนต่าง วัฒนธรรม ด้านไอเหว่ย ฉี, กมลพร สุทธิสุขศรี และ ศรีเพ็ญ เศรษฐเสถียร (2551: 12-19) ระบุสาเหตุของ ความล้มเหลวในการแปลของนักศึกษาที่เรียนการแปล ในมหาวิทยาลัยครูซินหัว ประเทศจีนว่า หนึ่ง มีสาเหตุ จากความเข้าใจผิดว่าการแปล คือ กระบวนการแปลแบบ ตรงตั ว ค� ำ ต่ อ ค� ำ และสอง จุ ด บอดทางวั ฒ นธรรมที่ ผู้แปลไม่เข้าใจวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาต้นทางหรือ ภาษาปลายทาง จากประสบการณ์การท�ำงานแปลและการสอน วิชาการแปลของผู้วิจัยท�ำให้เห็นด้วยกับการระบุสาเหตุ ของการเกิ ด ข้ อผิด พลาดในการแปลข้างต้นอย่างยิ่ง

117

ในฐานะอาจารย์ผสู้ อนวิชาการแปลภาษาไทยเป็นภาษา จีนจึงมีความสนใจที่จะศึกษาและวิเคราะห์ข้อผิดพลาด ในการแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีนของนักศึกษา และน�ำ ผลการศึกษาที่ได้มาเป็นแนวทางในการปรับปรุงการ เรียนการสอนวิชาการแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีน เพื่อ แก้ไขข้อผิดพลาดการแปลของนักศึกษาต่อไป

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

ศึกษาและวิเคราะห์ขอ้ ผิดพลาดการแปลภาษาไทย เป็นภาษาจีนของนักศึกษา สาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ เพือ่ น�ำผลการศึกษาที่ได้มาเป็นแนวทางในการปรับปรุงการ เรียนการสอนวิชาการแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีน และ เสนอแนวทางแก้ไขข้อผิดพลาดในการแปลภาษาไทย เป็นภาษาจีนของนักศึกษา รวมทั้งสามารถน�ำผลการ ศึกษาทีไ่ ด้ไปใช้ในการสอนวิชาอืน่ ทีอ่ าจเกิดข้อผิดพลาด ที่คล้ายกัน เช่น วิชาการเขียนภาษาจีน

การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง

ความหมายของการแปล พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (ราชบัณฑิตยสถาน, 2556: 764) ได้ให้ความหมายของค�ำว่า “แปล” ซึ่งเป็นค�ำกริยาไว้ว่า “ถ่ายทอดความหมาย จากภาษาหนึ่ ง มาเป็ น อี ก ภาษาหนึ่ ง , ท� ำ ให้ เข้ า ใจ ความหมาย” วรนาถ วิมลเฉลา (2535: 4) กล่าวถึงการแปลว่า หมายถึงการถ่ายทอดความหมายจากภาษาต้นฉบับไป เป็นภาษาแปลโดยให้มใี จความครบถ้วนสมบูรณ์ตรงตาม ต้นฉบับ ไม่มกี ารตัดต่อหรือแต่งเติมทีไ่ ม่จำ� เป็นใดๆ ทัง้ สิน้ ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการแปลภาษา ไอเหว่ ย ฉี , กมลพร สุ ท ธิ สุ ข ศรี และศรี เ พ็ ญ เศรษฐเสถียร (2551: 12-19) ศึกษาสาเหตุของความ ล้มเหลวและกลยุทธ์ในการแปลของนักศึกษาที่เรียน การแปลในมหาวิ ท ยาลั ย ครู ซิ น หั ว ประเทศจี น และ นักศึกษาที่เรียนการแปลในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ ประเทศไทย พบว่า สาเหตุ ของความล้มเหลวในการแปลมี 2 ประการ ประการแรก

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


118

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

คือ ความเข้าใจผิดว่าการแปล คือ กระบวนการแปลแบบ ตรงตัวค�ำต่อค�ำ และประการที่สอง คือ จุดบอดทาง วัฒนธรรมที่ผู้แปลไม่เข้าใจวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ต้นทางหรือภาษาปลายทาง พร้อมทั้งเสนอกลยุทธ์หลัก ในการแปลให้กับผู้เริ่มฝึกแปล 2 วิธีเพื่อแก้ไขปัญหา ดังกล่าว ได้แก่ หนึ่งปรับบทแปลให้เข้ากับวัฒนธรรม ภาษาปลายทาง ซึ่งท�ำได้โดยหลีกเลี่ยงการแปลแบบค�ำ ต่อค�ำ การใช้ค�ำที่เข้าคู่กัน การสร้างค�ำศัพท์ใหม่พร้อม อธิบายประกอบ การปรับโครงสร้างประโยคภาษาแปล ให้เข้ากับโครงสร้างประโยคภาษาปลายทาง และการ เรียบเรียงบทแปลให้เหมือนภาษาปลายทาง สองปรับบท แปลให้เข้ากับบริบททางวัฒนธรรมของสังคมในภาษา ปลายทาง โดยการปรับบทแปลให้เข้ากับธรรมเนียม ปฏิบัติทางวัฒนธรรมในภาษาปลายทาง การใช้ส�ำนวน ของวัฒนธรรมในภาษาปลายทางแทน สรุปแล้วนักแปล จ�ำเป็นต้องรู้ทั้งเรื่องภาษาศาสตร์และวัฒนธรรมด้วยจึง จะเป็นนักแปลทีเ่ ก่ง (ไอเหว่ย ฉี, กมลพร สุทธิสขุ ศรี และ ศรีเพ็ญ เศรษฐเสถียร, 2551: 12-19) วรรณา แสงอร่ามเรือง (2542: 257) ได้สรุปข้อผิด ของการแปลไว้ดังนี้ ด้านไวยากรณ์ของภาษาเป้าหมาย ผิดพลาดซึง่ อาจเกิดจากการแทรกแซงของภาษาต้นฉบับ ด้านความหมายที่ผู้แปลตีความภาษาต้นฉบับผิดจาก ความหมายที่แสดง ด้านเนื้อความในภาษาต้นฉบับที่ ผูอ้ า่ นไม่เข้าใจ ด้านการใช้คำ� หรือส�ำนวนผิดไม่เหมาะสม กับบริบทหรือวัฒนธรรมในภาษาเป้าหมาย และด้าน ตัวบทเกิดจากการใช้ลีลาการเขียนไม่เหมาะสม วรนาถ วิมลเฉลา (2535: 163-164) กล่าวถึงข้อ ผิดพลาดในการแปลไทย-อังกฤษ โดยแบ่งความผิดพลาด ในการแปลเป็น 2 แบบใหญ่ๆ คือ ความผิดพลาดที่เกิด จากอิทธิพลภาษาไทย และความผิดอื่นๆ ที่มิได้เกิดจาก อิทธิพลภาษาไทย อันได้แก่ ความผิดด้านไวยากรณ์ และ ตัวสะกด เป็นต้น วรนาถระบุวา่ ความผิดพลาดทีเ่ กิดจาก อิทธิพลภาษาไทย เกิดขึ้นเนื่องจากคนไทยที่เรียนภาษา อังกฤษในประเทศไทยส่วนใหญ่ “คิดเป็นภาษาไทย” ความผิดในการแปลทีพ่ บจากนักศึกษาและทีก่ ระท�ำเอง ส่วนใหญ่ก็ล้วนเกิดขึ้นจากการ “คิดเป็นภาษาไทย”

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หลู ่ เจี้ ย นจี้ (1994) ได้ ศึ ก ษาข้ อ ผิ ด พลาดทาง ไวยากรณ์ของชาวต่างชาติที่เรียนภาษาจีน จากการ รวบรวมตัวอย่างข้อผิดพลาดจ�ำนวน 192 ตัวอย่าง และ ได้จ�ำแนกประเภทตามลักษณะของข้อผิดพลาดเป็น 4 ประเภทใหญ่ ดังนี้ 遗漏、误加、误代 และ错序 1. 遗漏 คือ ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการตกหล่นค�ำ หรือส่วนประกอบของประโยค มักเกิดขึ้นในกรณีต่างๆ ดังนี้ 1) ตกหล่นค�ำหรือส่วนประกอบทีม่ นี ำ�้ หนักด้าน ความหมาย “เบา” ได้แก่ - ค�ำกริยาวิเศษณ์หรือค�ำสันธานที่ท�ำหน้าที่ เชื่อมโยงโครงสร้างในอเนกรรถประโยค (复句 ) มัก ตกหล่น เช่น

除了……以外,[也]……

不管……,[都]……

一点儿[也]不……

谁[也/都]……

*หมายเหตุ ส่วนที่อยู่ใน [ ] คือ ส่วนที่ตกหล่น - ในโครงสร้างค�ำกริยาตามด้วยบทเสริมบอก ผล มักตกหล่นบทเสริมหรือค�ำกริยาทีส่ อื่ ความหมายรอง เพราะผู้เรียนส่วนใหญ่จะนึกถึงแต่ส่วนที่สื่อความหมาย หลัก ประกอบกับการแทรกแซงจากภาษาแม่ เช่น 记[住] 听[到] 听[见] 看[见] 跑[到] 寄[给]

[听]完(了) [看]完(了) [做]完(了)

[学]完(了)

*หมายเหตุ ส่วนที่อยู่ใน [ ] คือ ส่วนที่สื่อความหมาย รอง 2) ค� ำ ที่ มี วิ ธี ก ารใช้ แ ตกต่ า งไปจากค� ำ กลุ ่ ม เดียวกัน เช่น ค�ำบอกเวลา 天、星期、年、月 เป็น ค�ำนามบอกเวลา โดย 天、星期、年 สามารถมีตัวเลข น�ำหน้าใช้เป็นลักษณะนามได้ทันที ส่วน 月 แตกต่างไป ไม่สามารถใช้เป็นลักษณะนาม ต้องมีลักษณะนามคั่น กลางระหว่างตัวเลขและ เช่น 一个月 หากผู้เรียนไม่ทราบ ก็อาจจะตกหล่นค�ำลักษณะนาม

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

3) ค�ำที่ควรต้องซ�้ำ เช่น - 打球[打]了三个钟头

- 看小说[看]累了

- 他有照相机,也[有]录音机。

- 李老师教文学,也[教]历史。

4) ส่วนเสริมต่อท้าย เช่น ค�ำช่วยโครงสร้าง (结构助词)

- 他们打[得]很好。

- 他们看[的]木偶戏非常有意思。

- 上星期日下午玛丽看[了]三个钟头小说。

5) ส่วนใดส่วนหนึ่งที่ประกอบเป็นกลุ่มค�ำใน ภาษาจีน แต่เป็นค�ำๆ เดียวในภาษาอังกฤษ

- 从他[那儿/家/左边/身上…]

- 往嘴[里/边…]

- 在河[里/上/边/对岸…]

6) ค�ำหรือส่วนประกอบทีจ่ ำ� เป็นในการสือ่ ความ หมาย แต่ผู้เรียนยังไม่ได้เรียนหรือยังไม่เข้าใจดี 2. 误加 คือ ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการใช้ค�ำเกิน มักเกิดขึ้นกับผู้เรียนระดับต้นที่ยังไม่เข้าใจไวยากรณ์ ภาษาจีนดีพอ ลักษณะข้อผิดพลาดประเภทนี้ผู้เรียน สามารถใช้ รู ป แบบไวยากรณ์ ไ ด้ ถู ก ต้ อ งตามหลั ก ไวยากรณ์ในระดับหนึง่ แต่เมือ่ รูปแบบไวยากรณ์นนั้ มีการ เปลี่ยนแปลง ผู้เรียนไม่ทราบว่าไม่สามารถใช้รูปแบบ ไวยากรณ์เดิมได้ เช่น การใช้คำ� ว่า “很” ผูเ้ รียนภาษาจีน ระดับต้นเรียนรู้ว่า “ตามปกติ” จ�ำเป็นต้องใช้ “很” น�ำ หน้าค�ำคุณศัพท์ที่ท�ำหน้าที่เป็นบทกริยา (谓语) ของ ประโยคแสดงการยืนยัน ซึ่งในกรณีนี้ “很” ไม่ได้แสดง ความหมายว่า “มาก” อย่างชัดเจน เพราะถ้าไม่ใช้ “很” น�ำหน้าค�ำคุณศัพท์ บทกริยานั้นจะสื่อถึงการเปรียบ เทียบ แต่หากค�ำคุณศัพท์นั้นถูกขยายด้วยค�ำวิเศษณ์ แสดงระดับความเข้มข้น (程度副词) หรือตามหลังด้วย บทเสริ ม แสดงอาการหรื อ แสดงระดั บ ความเข้ ม ข้ น (状态补语) ในกรณีนไี้ ม่สามารถใช้ “很” ได้ “ตามปกติ” ซึ่ ง กรณี ห ลั ง นี้ ใ นแบบเรี ย นมั ก ไม่ มี ก ารอธิ บ ายอย่ า ง ชัดเจนว่าไม่ต้องตัด “很” ออก ผู้เรียนจึงมักใช้ผิด เช่น 你的房间多么[很]干净啊! 老大娘[很]感动得直哭。

*หมายเหตุ ส่วนที่อยู่ใน [ ] คือ ส่วนที่เกินมา

119

3. 误代 คือ ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเลือกใช้ค�ำ ไม่เหมาะสมกับบริบท เช่น ค�ำที่มีความหมายเหมือนกัน หรือใกล้เคียงกัน ( 意义相近或相同 ) แต่วิธีการใช้ ต่างกัน หรืออักษรตัวเดียวกันแต่ความหมายและวิธีการ ใช้ต่างกัน หรือวิธีการใช้เหมือนกันแต่ความหมายตรงข้าม กัน มีลักษณะต่างๆ ดังนี้ 1) เลือกใช้ค�ำไม่เหมาะสม เช่น 或者/还是 ความหมายเหมือนกัน วิธใี ช้ตา่ งกัน 一点儿/有一点儿 ความหมายเหมือนกัน วิธใี ช้ตา่ งกัน 刚/刚才 ความหมายใกล้เคียงกัน มีอักษร เหมือนกันเป็นส่วนประกอบ 还/还有 ความหมายใกล้เคียงกัน วิธใี ช้ตา่ งกัน 来/去 ความหมายตรงข้ า มกั น วิ ธี ใช้ เหมือนกัน 对于/关于 ความหมายต่างกัน ค�ำประเภท เดียวกัน มีอักษรเหมือนกันเป็น ส่วนประกอบ 什么/怎么 ความหมายต่างกัน ออกเสียงใกล้ เคียงกัน มีอักษรเหมือนกันเป็น ส่วนประกอบ 2) เลื อ กใช้ รู ป แบบไวยากรณ์ ไ ม่ เ หมาะสม สาเหตุเกิดจากการแทรกแซงของภาษาแม่ ผู้เรียนมักใช้ รูปแบบไวยากรณ์ที่มีในภาษาแม่ เช่น ในภาษาจีนการ ขยายบทกริยาบางครัง้ ใช้บทขยายบทกริยา (状语) บางครัง้ ใช้บทเสริมกริยา (补语) แต่เนื่องจากในภาษาอังกฤษ ไม่มีบทเสริมกริยา ผู้เรียนที่ภาษาแม่คือภาษาอังกฤษ มั ก เลื อ กวางบทขยายไว้ ห น้ า บทกริ ย าซึ่ ง ท� ำ ให้ เ กิ ด ข้อผิดพลาด เช่น

[太晚]来

[迅速一点]发展

[很多地]应用

หรือบางครั้งเลือกใช้รูปแบบบทเสริมกริยา ได้ถูกต้อง แต่วิธีการใช้ไม่ถูกต้อง เช่น 他唱[好极了]。 今天下雨[很大]。

*หมายเหตุ ส่วนที่อยู่ใน [ ] คือ ส่วนที่รูปแบบไวยากรณ์ ไม่ถูกต้อง ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

120

3) เลือกใช้รูปประโยคไม่เหมาะสม สาเหตุเกิด จากผู้เรียนมักเลือกใช้รูปประโยคที่เรียบง่ายและมั่นใจ ที่จะใช้ หรือในทางตรงข้ามผู้เรียนเลือกใช้รูปประโยค ที่ไม่ควรใช้ เช่น การใช้รูปแบบประโยค “把”

可以扔石头到海里去。

请你带这本字典给小李。

他放一封信在桌子上。

老师让我们翻译这篇文章成中文。

4. การล�ำดับไม่ถูกต้อง (错序) คือ ข้อผิดพลาด ที่เกิดจากการล�ำดับหรือการวางส่วนประกอบต่างๆ ใน ประโยคไม่ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์จีน มีลักษณะดังนี้ 1) การวางล�ำดับของส่วนประกอบเดีย่ วไม่ถกู ต้อง บทขยายบทกริยา ในภาษาจีนบทขยายบทกริยามักอยูร่ ะหว่าง บทประธานกับบทกริยา มีเพียงบทขยายทีบ่ อกเวลาและ สถานทีส่ ามารถวางไว้ตน้ ประโยคได้ ซึง่ นักศึกษาต่างชาติ มักน�ำไปวางไว้ทา้ ยประโยค สาเหตุเกิดจากการแทรกแซง ของภาษาแม่ บทขยายนาม ในภาษาจีนบทขยายนามจะอยู่หน้าส่วน หลัก แต่นักศึกษาต่างชาติมักวางบทขยายนามไว้หลัง ส่วนหลัก ซึ่งสาเหตุเกิดจากการแทรกแซงของภาษาแม่ เช่นกัน 2) การวางล�ำดับของส่วนประกอบประเภท ต่างๆ ไม่ถูกต้อง การรวมกลุม่ ของส่วนประกอบประเภทต่างๆ ในประโยคมีลำ� ดับการวางทีแ่ น่นอน ซึง่ นักศึกษาต่างชาติ มักผิดพลาด 2 รูปแบบ ได้แก่ ล�ำดับภายในแต่ละส่วน ประกอบเอง และล�ำดับการเรียงส่วนประกอบประเภท ต่างๆ เข้าด้วยกัน ตัวอย่างเช่น การเรียงล�ำดับภายในส่วนประกอบ เช่น 去年九月  九月去年 การเรียงล�ำดับของบทขยายนามหลายชั้น หรือการเรียงล�ำดับของบทขยายบทกริยาหลายชัน้ มีกฎ การเรียง ดังนี้ 表示领属关系的名词/代词一指示代词 一数量词组一表示修饰关系的形容词/名词+ (中 心语)

จากผลการศึกษาข้างต้น หลูเ่ จีย้ นจีร้ ะบุสาเหตุหลัก ทีท่ ำ� ให้เกิดข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของชาวต่างชาติที่ เรียนภาษาจีน หากมองจากด้านผู้เรียน คือ การแทรกแซง ของภาษาแม่และการแทรกแซงจากไวยากรณ์พื้นฐานที่ ยังไม่เข้าใจดีทมี่ ผี ลต่อการเรียนรูไ้ วยากรณ์ใหม่ หากมอง จากด้านผู้สอน ความผิดพลาดในการอธิบายและการ ฝึกฝนเป็นสาเหตุหลักที่ท�ำให้ผู้เรียนเกิดความผิดพลาด

วิธีด�ำเนินการวิจัย

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภาษาจี น ธุ ร กิ จ ทีล่ งทะเบียนเรียนรายวิชา RA 2016 การแปลภาษาไทย เป็นภาษาจีน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จ�ำนวน 19 คน 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบฝึกหัดการแปลแบบแปลประโยคที่คัดมาจาก แบบฝึกหัดท้ายบทของหนังสือ “แบบเรียนแปลไทย-จีน” เรียบเรียงโดย 高彦德 และ 李志雄 (2009) 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล ระยะเวลาภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ให้ นักศึกษาจ�ำนวน 19 คนที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา RA 2016 การแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีน ท�ำแบบทดสอบ การแปลแบบประโยค จ�ำนวน 5 ชุด รวม 83 ข้อ โดยให้ ท�ำในคาบเรียนครั้งละ 1 ชุด รวม 5 ครั้ง ในการท�ำแบบ ฝึกหัดทุกครั้ง ผู้สอนอนุญาตให้นักศึกษาใช้พจนานุกรม และเครื่องมือในการสืบค้นได้ 4. การวิเคราะห์ข้อมูล ศึกษาข้อผิดพลาดในการแปลของนักศึกษาด้วย ตารางแจกแจงความถี่ แสดงการเปรียบเทียบค่าร้อยละ ของข้อผิดพลาดแต่ละด้าน และวิเคราะห์ความผิดพลาด แต่ละด้านโดยชี้ให้เห็นลักษณะของความผิดพลาดและ การแก้ไขที่ถูกต้องควบคู่กันไป โดยก�ำหนดประเด็นข้อ ผิดพลาดที่ศึกษา 3 ด้าน ที่ประยุกต์จากกรอบแนวคิด เรื่องข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของนักศึกษาต่างชาติที่ เรียนภาษาจีนที่ศึกษาโดยหลู่เจี้ยนจี้ (1994) ได้แก่ 1) การแทนที่ผิดความหมาย (误代) หมายถึง ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเลือกใช้ค�ำที่ความหมายใกล้

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

เคียงกัน (近义词) การใช้ชุดค�ำที่เข้าคู่กัน (词语搭配) และการเลือกใช้รูปประโยค (句式) ไม่ถูกต้อง เป็นต้น ท�ำให้การสือ่ ความในภาษาแปลผิดไปจากภาษาต้นฉบับ 2) การตกหล่นหรือเกิน (遗漏/误加) หมายถึง ข้อ ผิดพลาดที่เกิดจากการใช้ค�ำขาดไปหรือเกินมาท�ำให้ ภาษาแปลไม่สามารถสื่อความได้ตรงตามภาษาต้นฉบับ 3) การเรี ย งล� ำ ดั บ ไม่ ถู ก ต้ อ ง (错序 ) หมายถึ ง ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเรียงล�ำดับของค�ำหรือส่วน ประกอบต่างๆ ในประโยคไม่ถกู ต้องตามหลักไวยากรณ์จนี

121

ผลการวิจัย

จากการศึกษาข้อผิดพลาดการแปลภาษาไทยเป็น ภาษาจีนของนักศึกษาที่ได้จากแบบทดสอบการแปล แบบแปลประโยค จ�ำนวน 5 ชุด รวม 83 ข้อ ผลการ ศึกษาแบ่งเป็น 2 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ความถี่ของข้อผิดพลาด ในการแปลตามประเด็นการศึกษาทั้ง 3 ด้าน ผลการ วิเคราะห์สรุปในรูปตารางได้ตามตารางที่ 1 ดังนี้

ตารางที่ 1 ตารางแสดงค่าร้อยละของข้อผิดพลาดแยกตามประเด็นที่ศึกษา อันดับที่ 1 2 3

ประเด็น การแทนที่ความหมายไม่ถูกต้อง การตกหล่นหรือเกิน การเรียงล�ำดับไม่ถูกต้อง รวม

ผลการวิเคราะห์ในตารางที่ 1 พบว่า ข้อผิดพลาด การแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีนของนักศึกษาที่พบมาก ที่สุด ได้แก่ การแทนที่ผิดความหมาย คิดเป็นร้อยละ 80.00 ของจ�ำนวนข้อผิดพลาดทั้งหมด รองลงมาคือ การตกหล่นหรือเกินมาของค�ำหรือส่วนประกอบ คิดเป็น ร้อยละ 12.66 และสุดท้ายคือการเรียงล�ำดับของค�ำหรือ ส่วนประกอบไม่ถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 7.34

คิดเป็นร้อยละ 80.00 12.66 7.34 100 ความหมายว่า 不吝啬 แต่ 大方 จะแฝงความหมายของ ค�ำว่า 不计较 ไว้ด้วย ดังนั้นในบริบทนี้แปลว่า 大方 จึง เหมาะสมกว่า 1.2) คุณว่าแนวคิดเรื่องกรรมมีผลต่อคนไทย อย่างไรคะ แปลว่า 你觉得因果报应概念对泰国人有什么影响? ควรแปลว่า 你觉得因果报应思想对泰国人有什么

ตอนที่ 2 ตัวอย่างลักษณะของข้อผิดพลาด 1. การแทนที่ผิดความหมาย จากการวิเคราะห์แบบทดสอบที่ให้นักศึกษาแปล พบลักษณะของข้อผิดพลาดด้านการแทนที่ความหมาย ไม่ถูกต้อง เช่น 1.1) คนที่ใจกว้างไม่อิจฉาริษยาใครง่ายๆ แปลว่า 慷慨的人不轻易忌妒别人。 ควรแปลว่า 大方的人不轻易忌妒别人。  ค�ำว่า “ใจกว้าง” หมายถึง “มีความเอื้อเฟื้อ เผือ่ แผ่” (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2556: 341) นักศึกษาเลือกแปลว่า 慷慨 ทั้งนี้ 慷慨 และ 大方 ต่างมี

影响?

 ค�ำว่า “แนวคิดเรือ่ งกรรม” นักศึกษาสามารถ หาค�ำแปลของค�ำว่า “กรรม” ได้วา่ 因果报应 และเลือก แปลค�ำว่า “แนวคิด” ว่า 概念 ในข้อนีน้ กั ศึกษานอกจาก จะไม่ ส ามารถแยกแยะความหมายของค� ำ ศั พ ท์ ที่ มี ความหมายใกล้เคียงกันได้แล้ว ยังไม่ทราบว่าในภาษาจีน 因果报应 มักปรากฏคู่กับค�ำว่า 思想 1.3) ยาทีห่ มอให้มที งั้ ชนิดทีก่ นิ ก่อนอาหารและ ชนิดที่กินหลังอาหาร แปลว่า 医生给的药有饭前吃的和饭后吃的。 ควรแปลว่า 医生开的药有饭前吃的和饭后吃的。  “ยาที่หมอให้...” ในที่นี้หมายถึงยาที่หมอ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

122

สัง่ ให้ นักศึกษาแปลค�ำว่า “ให้” ว่า 给 ตรงตัวตามภาษา ไทย แต่ในภาษาจีนจะใช้ค�ำกริยา 开 ในความหมายนี้ 1.4) เป็นที่รู้กันทั่วไปว่าเศรษฐกิจของประเทศ จีนก�ำลังเติบโตอย่างรวดเร็ว แปลว่า 众所周知,中国经济正迅速地发展。 ควรแปลว่า 众所周知,中国经济正在迅速地发展。  ควรใช้ 正在 เพราะ 正 เน้นความหมายว่า ก�ำลังด�ำเนินอยู่ “ในชัว่ ขณะนัน้ ” และมักใช้คกู่ บั 着 หรือ 呢

1.5) คนไทยถือว่าเวลานอนจะไม่หันหัวไปทาง ทิศตะวันตก แปลว่า 泰国人睡觉时忌讳不把头向西边。 หรือ 泰国人忌讳睡觉时不把头转向西边。 ควรแปลว่า 泰国人睡觉忌讳头朝西。  ตามปกติ “ไม่หนั หัวไปทางทิศตะวันตก” ควร แปลว่า 不把头朝西 แต่ในประโยคนีใ้ ช้คกู่ บั ค�ำว่า 忌讳 ซึง่ มีความหมายว่า 不把 อยูแ่ ล้ว จึงแปลรวมว่า 忌讳头 朝西

1.6) กินอาหารให้ได้พลานามัยดีตอ้ งอย่ากินอิม่ เกินไป และควรเลือกกินอาหารให้ครบ 5 หมูอ่ ย่างสมดุล แปลว่า 吃饭为了健康,不要吃得太饱,也应该选

吃有全五类食品。

หรือ

要吃得健康别吃得太饱,也应该选吃有全

五种营养。

ควรแปลว่า

想要吃出健康,不要吃得太饱,而且

应该均衡摄入五大营养素。

 นักศึกษาไม่ทราบว่า “อาหาร 5 หมู่” เป็น ศัพท์เฉพาะซึ่งในภาษาจีนแปลว่า 五大营养素 จึง พยายามแปลตรงตัวออกมาแต่ไม่สามารถสือ่ ความหมาย ตามต้นฉบับ และในภาษาไทยมองว่าอาหาร 5 หมู่ เป็น “อาหาร” แต่ในภาษาจีนมองว่าเป็น “สารอาหาร” 素 ค�ำกริยาที่ใช้คู่จึงต่างกัน ไม่สามารถใช้ 吃 ได้ ควรใช้ 摄入 หรือ 吸收 2. การตกหล่นหรือเกิน จากการวิเคราะห์แบบทดสอบที่ให้นักศึกษาแปล พบลักษณะของข้อผิดพลาดที่เกิดจากการตกหล่นหรือ เกินมา เช่น

2.1) ไม่ว่าเขาจะงานมากแค่ไหน เขาจะต้องไป เยี่ยมลูกสาวที่ประเทศอังกฤษทุกปีเสมอ แปลว่า 不管他的工作有多忙,他每年将要去英国

看他女儿。

ควรแปลว่า 不管他工作有多忙,每年都要去英国 看他女儿。  ขาดค�ำกริยาวิเศษณ์ 都 ที่ใช้คู่กับ 不管 เพื่อ แสดงความสัมพันธ์แบบตั้งเงื่อนไข 2.2) นิสัยของเธอคงเกี่ยวกับการศึกษาที่เธอ ได้รับ แปลว่า 她的性格应该她的教育有关。 ควรแปลว่า 她的性格应该跟她的教育有关。  ขาดค�ำบุพบท 跟 เพื่อเชื่อมค�ำนามกับค�ำกริยา 2.3) ยาทีห่ มอให้มที งั้ ชนิดทีก่ นิ ก่อนอาหารและ ชนิดที่กินหลังอาหาร แปลว่า 医生开的药有饭前吃和饭后吃。 ควรแปลว่า 医生开的药有饭前吃的和饭后吃的。  ขาดค�ำช่วยโครงสร้าง 的 2.4) ยาทีห่ มอให้มที งั้ ชนิดทีก่ นิ ก่อนอาหารและ ชนิดที่กินหลังอาหาร แปลว่า 医生开的药有饭前的和饭后的。 ควรแปลว่า 医生开的药有饭前吃的和饭后吃的。  ขาดค�ำกริยา 吃 เพื่อแปลความให้ตรงกับ ต้นฉบับ 2.5) มิน่าเขาดูมีความสุขมาก เพราะลูกสาวเขา เพิ่งสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้ แปลว่า 怪不得,他很有幸福,因为他的女儿考上

大学。

ควรแปลว่า

怪不得,他看起来很幸福,因为他的

女儿考上大学。

 ขาดค�ำกริยาวิเศษณ์ 看起来 เพื่อแปลความให้ ตรงกับต้นฉบับ และมีค�ำกริยา 有 เกินมา 3. การเรียงล�ำดับไม่ถูกต้อง จากการวิเคราะห์แบบทดสอบที่ให้นักศึกษาแปล พบลักษณะของข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเรียงล�ำดับค�ำ หรือส่วนประกอบไม่ถูกต้อง เช่น

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

3.1) เมืองไทยมีชายหาดทีง่ ดงามและเงียบสงบ บ้างไหมครับ แปลว่า 泰国有美丽的海滩和安静吗? ควรแปลว่า 泰国有美丽和安静的海滩吗?  安静 เป็นค�ำคุณศัพท์ท�ำหน้าที่ขยายค�ำนาม ต�ำแหน่งควรอยู่หน้าค�ำนาม 海滩 3.2) ดูเหมือนคนไทยจะไม่เคยหงุดหงิด ไม่ว่า อากาศจะร้อนแค่ไหนก็ตาม แปลว่า 不管天气怎么热,看起来泰国人也不急躁。 ควรแปลว่า 不管天气怎么热,泰国人看起来也不 急躁。  看起来 เป็นค�ำกริยาวิเศษณ์ ต�ำแหน่งควร อยู่หน้าภาคแสดง 3.3) บ้านเขานอกจากจะเลี้ยงสุนัขแล้วยังเลี้ยง แมวและนกอีกด้วย แปลว่า 除了他的家养狗,还养猫和鸟。 ควรแปลว่า 他的家除了养狗,还养猫和鸟。  除了 เป็ น ค� ำ เชื่ อ มแสดงการไม่ นั บ รวม ต�ำแหน่งควรอยู่หน้า 养狗

อภิปรายผลการวิจัย

จากการศึกษาข้อผิดพลาดในการแปลภาษาไทยเป็น ภาษาจีนของนักศึกษาพบว่า ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการ แทนที่ผิดความหมายปรากฏมากที่สุด เกิดขึ้นหลาย ลักษณะ เช่น นักศึกษาไม่สามารถแยกแยะความหมาย ของค�ำศัพท์ที่มีความหมายใกล้เคียงกันได้ ดังตัวอย่างที่ 1.1 ค�ำว่า 慷慨 กับค�ำว่า 大方 การใช้ค�ำไม่เข้าคู่กัน ดัง ตัวอย่างที่ 1.2 因果报应 ควรใช้คกู่ บั 思想 และตัวอย่าง ที่ 1.3 “ยาที่หมอให้...” ควรแปลว่า 医生开的药…… ความรู้ด้านไวยากรณ์ภาษาจีนไม่ดีพอ ดังตัวอย่างที่ 1.4 การใช้ค�ำว่า 正 และตัวอย่างที่ 1.5 การใช้ค�ำว่า 忌讳 และนักศึกษาไม่ทราบค�ำแปลภาษาจีนของศัพท์เฉพาะ หรือไม่สามารถหาค�ำแปลที่เหมาะสมได้ ดังตัวอย่างที่ 1.6 การแปลค�ำว่า “อาหาร 5 หมู่” จากข้ อ มู ล ที่ ร วบรวม สิ่ ง ที่ นั ก ศึ ก ษามั ก กระท� ำ เมือ่ พบอุปสรรคด้านค�ำศัพท์และไวยากรณ์ภาษาจีน คือ การใช้วิธีแปลตรงตัวหรือเลี่ยงที่จะแปลตรงๆ และเมื่อ

123

ต้ อ งหาค� ำ แปลภาษาจี น จากพจนานุ ก รมก็ มั ก เลื อ กใช้ พจนานุกรมไทย-จีนเพื่อความสะดวก ซึ่งส่วนใหญ่เป็น การแปลค�ำต่อค�ำไม่ได้มีการอธิบายความหมายอย่าง ละเอียดเช่นพจนานุกรมจีน-จีน ข้อผิดพลาดในการแปลทีเ่ กิดขึน้ มากเป็นอันดับสอง คือ ข้อผิดพลาดทีเ่ กิดจากการตกหล่นหรือเกินซึง่ มีหลาย ลักษณะ เช่น ในประโยคความรวมทีใ่ ช้คำ� เชือ่ มแบบค�ำคู่ เพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอนุประโยค นักศึกษา มั ก ละเลยการใช้ ค� ำ กริ ย าวิ เ ศษณ์ ที่ อ ยู ่ ส ่ ว นหลั ง ดังตัวอย่างที่ 2.1 (不管……都……) หลู่เจี้ยนจี้ (1994) ซึ่งได้ศึกษาข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของชาวต่างชาติ ที่เรียนภาษาจีน ระบุว่าสาเหตุเนื่องมาจากน�้ำหนักของ ความหมายอยู่ที่ค�ำเชื่อมส่วนหน้า ความหมายของค�ำ กริยาวิเศษณ์ที่ส่วนหลังค่อนข้างเบา ชาวต่างชาติจึง มักละเลยที่จะใช้ ข้อผิดพลาดอีกลักษณะหนึ่ง คือ การ ตกหล่นค�ำบุพบท เช่น 给,跟 ดังตัวอย่างที่ 2.2 หรือ ค�ำช่วยโครงสร้าง เช่น 的,地,得,了ดังตัวอย่างที่ 2.3 หลู่เจี้ยนจี้ (1994) วิเคราะห์ว่าเกิดจากหลายสาเหตุ แต่สาเหตุหลัก คือ หนึ่ง ในภาษาแม่ไม่ปรากฏชาวต่าง ชาติจงึ ไม่เคยชินทีจ่ ะใช้ในภาษาจีน และสอง ไม่มนั่ ใจว่า จะใช้ได้อย่างถูกต้องจึงงดเว้นทีจ่ ะใช้ การตกหล่นค�ำหรือ ข้อความอีกลักษณะหนึ่ง คือ การแปลไม่ครบความ ดังตัวอย่างที่ 2.4 ตกค�ำว่า 吃 และตัวอย่างที่ 2.5 ตกค�ำว่า 看起来 ซึ่งอาจเกิดจากการรีบร้อนแปลหรือการอ่าน ภาษาต้ น ฉบั บ ไม่ ถี่ ถ ้ ว น ขณะเดี ย วกั น อิ ท ธิ พ ลจาก ภาษาไทยนอกจากจะท�ำให้ปรากฏกรณีตกหล่นแล้ว ยังปรากฏกรณีใช้ค�ำเกินมาด้วย ดังตัวอย่างที่ 2.5 ที่มี ค�ำว่า 有 เกินมา ข้อผิดพลาดด้านการเรียงล�ำดับไม่ถูกต้องปรากฏ น้อยทีส่ ดุ ลักษณะของข้อผิดพลาดทีป่ รากฏส่วนใหญ่ได้ รับอิทธิพลจากภาษาไทย เช่น ต�ำแหน่งของบทขยายนาม ดังตัวอย่างที่ 3.1 นักศึกษาแปลว่า 美丽的海滩和安静 ข้อผิดพลาดลักษณะนี้อาจเกิดจากการไม่อ่านวิเคราะห์ ภาษาต้นฉบับให้ดีประกอบกับรีบร้อนแปล นอกจากนี้ ยั ง เกิ ด จากการขาดความแม่ น ย� ำ ในการใช้ ค� ำ เช่ น ตัวอย่างที่ 3.2 ต�ำแหน่งของค�ำกริยาวิเศษณ์ 看起来 และตัวอย่างที่ 3.3 การวางต�ำแหน่งของค�ำสันธาน 除了

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


124

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

จากผลการศึกษาข้างต้น สามารถสรุปได้ว่าสาเหตุ หลักที่ท�ำให้เกิดข้อผิดพลาดในการแปลภาษาไทยเป็น ภาษาจีน คือ การที่นักศึกษายังขาดทักษะการใช้ภาษา จีนทั้งด้านค�ำศัพท์และไวยากรณ์ ประกอบกับการได้รับ อิทธิพลจากภาษาไทย ซึง่ สอดคล้องกับผลการศึกษาของ หลู่เจี้ยนจี้ (1994) เรื่องการวิเคราะห์ข้อผิดพลาดทาง ไวยากรณ์ของชาวต่างชาติที่เรียนภาษาจีน ที่ระบุว่า ภาษาแม่และความรูภ้ าษาจีนทีย่ งั ไม่แตกฉานพอของชาว ต่างชาติ เป็นอุปสรรคของการเรียนรู้ไวยากรณ์ใหม่และ ท�ำให้เกิดข้อผิดพลาดในการใช้ภาษาจีน

สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ

จากงานวิจยั นีส้ รุปได้วา่ ข้อผิดพลาดการแปลภาษา ไทยเป็นภาษาจีนของนักศึกษาทีป่ รากฏจ�ำนวนครัง้ มาก ที่สุด คือ การแทนที่ผิดความหมาย รองลงมา คือ การ ตกหล่นหรือเกินมาของค�ำ และการเรียงล�ำดับค�ำหรือ ส่วนประกอบไม่ถกู ต้องเป็นอันดับสุดท้าย ซึง่ สาเหตุหลัก คือ การที่นักศึกษายังขาดทักษะการใช้ภาษาจีนทั้งด้าน ค�ำศัพท์และไวยากรณ์ ประกอบกับการได้รบั อิทธิพลจาก ภาษาไทย จากผลการวิจัยดังกล่าวผู้วิจัยจึงขอเสนอ แนวทางเพื่อพัฒนาทักษะการแปลภาษาไทยเป็นภาษา จีนของนักศึกษา ดังนี้ 1. เน้ น ย�้ ำ ให้ นั ก ศึ ก ษาเข้ า ใจถึ ง ลั ก ษณะเด่ น ที่ แ ตกต่ า งกั น และเหมื อ นกั น ระหว่ า งภาษาไทยและ ภาษาจีน เพื่อลดข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์และอิทธิพล จากภาษาไทย เช่น 1.1 การเรียงล�ำดับค�ำและส่วนประกอบต่างๆ ในระดับวลีและระดับประโยค เช่น ต�ำแหน่งของค�ำ บุพบทในบุพบทวลี ต�ำแหน่งของบทขยายนามหรือบท ขยายกริยาในนามวลีหรือกริยาวลี ต�ำแหน่งของค�ำแสดง เวลาและสถานที่ในประโยค 1.2 การใช้ค�ำเชื่อมระหว่างอนุประโยคเพื่อ แสดงความสัมพันธ์ประเภทต่างๆ โดยเฉพาะค�ำเชื่อม แบบใช้คู่ที่มีส่วนหน้าและส่วนหลังประกอบกัน เช่น 不 管……都……,不但……而且…… 1.3 การใช้ค�ำช่วยประเภทต่างๆ เช่น ค�ำช่วย โครงสร้าง 的,地,得 ค�ำช่วยกาล了 เนื่องจากในภาษา

ไทยไม่มหี รือถ้ามีแต่เทียบเคียงกันไม่ได้ทงั้ หมด ท�ำให้เมือ่ แปลภาษาไทยเป็นภาษาจีนนักศึกษามักหลงลืมที่จะใช้ 2. ฝึกฝนการแปลจากระดับที่ง่ายไปยาก จากรูป แบบทีเ่ รียบง่ายไปรูปแบบทีซ่ บั ซ้อน เพือ่ ลดข้อผิดพลาด ทางไวยากรณ์และอิทธิพลจากภาษาไทย เช่น 2.1 ฝึกฝนการแปลระดับค�ำ เน้นการแปลศัพท์ เฉพาะทาง 2.2 ฝึกฝนการแปลระดับวลี เน้นการวิเคราะห์ ความหมายระดั บ วลี ข องภาษาต้ น ฉบั บ และการ เรียงล�ำดับเมื่อแปลเป็นภาษาจีน การแปลนามวลีหรือ กริยาวลีที่มีส่วนขยาย การแปลบุพบทวลี การแปลวลี ที่มีค�ำช่วยประกอบ 2.3 ฝึกฝนการแปลระดับประโยค เน้นการ วิเคราะห์ความหมายระดับประโยคของภาษาต้นฉบับ และการเรียงล�ำดับของส่วนประกอบต่างๆ เมือ่ แปลเป็น ภาษาจีน 2.4 ฝึกฝนการแปลประโยคความรวม เน้นการ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างอนุประโยค การเลือกใช้ ค�ำเชื่อมที่เหมาะสม และวิธีการใช้ที่ถูกต้อง 3. ให้คำ� แนะน�ำการเลือกใช้พจนานุกรม เครือ่ งมือ และแหล่งข้อมูลเพื่อสืบค้นที่เหมาะสมและน่าเชื่อถือ ในการหาค� ำ แปลศั พ ท์ ภ าษาจี น รวมทั้ ง การจั ด ท� ำ พจนานุกรมส่วนตัว เพื่อลดข้อผิดพลาดที่เกิดจากการ เลื อ กใช้ ค� ำ ที่ มี ค วามหมายที่ ใ กล้ เ คี ย งกั น และการหา ค�ำแปลศัพท์เฉพาะ 4. เน้นให้นักศึกษาเห็นความส�ำคัญของการแปล ที่ต้องถอดความให้ครบถ้วนสมบูรณ์ ไม่มีการตัดต่อ หรือแต่งเติมที่ไม่จ�ำเป็น ดังนั้นนักศึกษาต้องรอบคอบ และไม่ยดึ ติดกับไวยากรณ์ภาษาไทย เพือ่ ลดข้อผิดพลาด ด้านการตกหล่นหรือเกินมาของค�ำหรือส่วนประกอบ 5. สร้างนิสัยรักการอ่านให้แก่นักศึกษา เพราะ การอ่ า นจะช่ ว ยนั ก ศึ ก ษาในการเรี ย นรู ้ ค� ำ ศั พ ท์ แ ละ รู ป ประโยคที่ ใช้ ใ นสถานการณ์ จ ริ ง เป็ น อี ก วิ ธี ห นึ่ ง ที่ ช ่ ว ยลดข้ อ ผิ ด พลาดด้ า นการแทนที่ ค วามหมาย ไม่ถูกต้องที่เกิดจากการใช้ค�ำศัพท์และไวยากรณ์

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

125

บรรณานุกรม

กนกพร นุ่มทอง. (2555). ต�ำราการแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สถาบันขงจื๊อ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ. (2553). หลักการแปลไทย-จีน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: จีนสยาม. พัชรี โภคาสัมฤทธิ์. (2549). การแปลอังกฤษเป็นไทย: ทฤษฎีและการประยุกต์. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์. ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั เนือ่ งในโอกาสพระราชพิธมี หามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. วรนาถ วิมลเฉลา. (2535). คู่มือสอนแปล. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วรรณา แสงอร่ามเรือง (2542). ทฤษฎีและหลักการแปล. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษร ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สัญฉวี สายบัว. (2550). หลักการแปล. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อัจฉรา ไล่สัตรูไกล. (2548). จุดมุ่งหมาย หลักการ และวิธีแปล. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง. ไอเหว่ย ฉี, กมลพร สุทธิสุขศรี และศรีเพ็ญ เศรษฐเสถียร. (2551). สาเหตุของความล้มเหลวและกลยุทธ์ในการแปล. วารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์, 1, 12-19.

เอกสารอ้างอิงภาษาจีน

[1] 华玉明、黄艳梅. 泰语干扰和对泰汉语教学对策 [J]. 邵阳师范高等专科学校学报, 2000, (6). [2] 高彦德、李志雄. 实用泰汉翻译教程 [M]. 北京:北京语言大学出版社, 2009. [3] 梁源灵.泰汉翻译理论与实践 [M]. 重庆:重庆大学出版社, 2010. [4] 鲁健骥.外国人学汉语的语法偏误分析 [J]. 语言教学与研究, 1994, (1). [5] 潘远洋.实用泰汉翻译教程 [M]. 广州:广东世界图书出版公司, 2011. [6] 赵丽梅. 泰国学生汉语语法学习中的偏误调查 [J]. 经济研究导刊, 2011, (14).

Translated Thai References

Qi, A., Suthisuksri, K. & Setthasatien, S. (2008). The cause of the failure and strategies for the translation. The Journal of Applies Arts, 1, 12-19. [in Thai] Laisadtrukrai, A. (2005). Objective, Principles and Methods of Translation. (4thed.). Bangkok: Ramkhamhaeng University. [in Thai] Numthong, K. (2012). Thai - Chinese Translation Textbook. (2nd ed.). Bangkok: Confucius Kasetsart University. [in Thai] Thammachareonkit, K. (2010). Principles of Translation from Thai to Chinese (3rd ed.). Bangkok: Chinasiam. [in Thai] Pokasamrit, P. (2006). English - Thai Translation: Theory and applications. Bangkok: National Institute of Development Administration. [in Thai] Royal Institute of Thailand. (2013). Royal Institute Dictionary 2011. Bangkok: Royal Institute of Thailand. [in Thai] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


126

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Saibua, S. (2007). Principles of Translation. (8th ed.). Bangkok: Thammasat University. Saengaramruang, W. (1999). Theory and Principles of Translation. Bangkok: Publicizing Academic work Project, Faculty of Arts, Chulalongkorn University. [in Thai] Wimolchalao, W. (1992). Translation Teaching Guide. (5th ed.). Bangkok: Chulalongkorn University. [in Thai]

Translated Chinese References

Gao, Y. & Li, Z. (2009). Thai – Chinese Translation Textbook. Beijing: Beijing Language and Culture University Press. [in Chinese] Hua, Y. & Huang, Y. (2000). Thai interference and Chinese language teaching strategies for Thai learners. Journal of Shaoyang Teachers College, 6. [in Chinese] Liang, Y. (2010). Thai-Chinese Translation Theory and Practice. Chongqing: Chongqing University Press. [in Chinese] Lu, J. (1994). Analysis of Errors of Foreign Students in Learning Chinese Grammar. Language Teaching and Research Journals, 1. [in Chinese] Pan, Y. (2011). Thai – Chinese Translation Textbook. Guangzhou: Guangdong World Publishing Corporation. [in Chinese] Zhao, L. (2011). A Study of Errors in Learning Chinese Grammatical Structures of Thai students. Economic Research Guide, 14. [in Chinese]

Supichaya Chaichotiranant received her Bachelor’s and Master’s degrees in Modern Chinese from Beijing Language and Culture University in 1996 and 1999, respectively. Before her studies in People’s Republic of China, she received a Bachelor’s degree in History from Thammasat University in 1993. Now she is a full-time lecturer in Chinese Business Program, Faculty of Liberal Arts, Panyapiwat Institute of Management.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

127

การศึกษาปัญหาในการฝึกปฏิบตั งิ านและปัจจัยซึง่ ส่งผลกระทบ ต่อประสิทธิภาพการฝึกปฏิบตั งิ านของนักศึกษา สาขาวิชาภาษา จีนธุรกิจ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ The Study of Practicum Problems and Factors Influencing the Performance of Business Chinese Students at Panyapiwat Institute of Management เกวรินทร์ ฉันทนะสุขศิลป์1, พิมลมาศ เนตรมัย2 และกิจปฏิภาณ วัฒนประจักษ์3 Kelvarin Chantanasuksilpa1, Pimolmas Netramai2 and Kitpatiparn Wattanaprajak3 บทคัดย่อ

งานวิจยั นีม้ จี ดุ มุง่ หมายเพือ่ ศึกษาปัญหาในการฝึกปฏิบตั งิ านและปัจจัยซึง่ ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการ ฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษา ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ซึ่ง ผ่านการฝึกปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการบริษัท ทรูทัช จ�ำกัด มาแล้วไม่ต�่ำกว่า 300 ชั่วโมง จ�ำนวน 45 คน คณะ ผู้วิจัยได้แบ่งวิธีด�ำเนินการวิจัยออกเป็น 2 ส่วน ในส่วนแรก ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือ ซึ่งแบบสอบถามแบบเลือกตอบดังกล่าวประกอบด้วยข้อค�ำถามสามตอนหลัก คือ ข้อมูลเบื้องต้นของ ผู้ตอบแบบสอบถาม ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการของ ผู้ตอบแบบสอบถาม และทัศนคติปัจจุบันที่ผู้ตอบแบบสอบถามมีต่อการฝึกปฏิบัติงานที่ผ่านมา และน�ำข้อมูลที่ได้มา หาค่าเฉลี่ยเพื่อประเมินระดับความส�ำคัญของปัญหา ในส่วนที่สอง ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการ อภิปรายกลุ่มย่อย (Group Discussion) และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ด้วยค�ำถามปลายเปิด และ น�ำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เพื่อหาความสอดคล้อง ผลการวิจัยเชิงปริมาณบ่งชี้ว่าปัจจัยหลักที่มีผลต่อการฝึกปฏิบัติงาน เกิดจากปัจจัยส่วนบุคคลของนักศึกษา (ค่าเฉลี่ย 2.85) ผลการวิจัยเชิงคุณภาพระบุว่านักศึกษามีทัศนคติต่อการฝึก ปฏิบัติงานอยู่ในเชิงบวก ปัญหาที่พบจะเป็นปัญหาเกี่ยวกับความเบื่อหน่ายในการท�ำงาน และความแตกต่างในการ บริหารจัดการพนักงานของหัวหน้างาน ผูว้ จิ ยั จึงได้เสนอแนะว่า ควรปรับปรุงกระบวนการสือ่ สารเพือ่ สร้างความมัน่ ใจ ว่านักศึกษารับทราบวัตถุประสงค์ของการฝึกปฏิบัติงาน และมีการเจรจาเพิ่มเติมกับสถานประกอบการเพื่อจัดหางาน ที่ใกล้เคียงกับความสามารถของนักศึกษามากที่สุด ค�ำส�ำคัญ: การฝึกปฏิบัติงาน ประสิทธิภาพในการฝึกปฏิบัติงาน 1 อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ

คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ Lecturer of Business Chinese Department, Faculty of Liberal Arts, Panyapiwat Institute of Management, E-mail: kelvarincha@pim.ac.th 2 อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาศึกษาทั่วไป คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ Lecturer of General Education Department, Faculty of Liberal Arts, Panyapiwat Institute of Management, E-mail: pimolmasnet@pim.ac.th 3 อาจารย์/ผู้จัดการฝ่ายงานฝึกปฏิบัติ คณะบริหารธุรกิจ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ Lecturer in Modern Trade Management and Head of Section in Co-operative Education, Faculty of Business Administration, Panyapiwat Institute of Management, E-mail: kitpatiparnwat@pim.ac.th ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


128

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Abstract

This research aims to study the problems and factors that affect the effectiveness of Business Chinese students’ performance during their practicum. The research population is 45 freshmen from Panyapiwat Institute of Management, Faculty of Liberal Arts, in Major of Business Chinese who trained at True Touch Co, Ltd. for approximately 300 hours. The research team divided the research into two parts. The first part was succeed through quantitative methods using a questionnaire consisted of 3 sections; the first section requires the respondents to provide general information about themselves, the second section asks about the factor that influences their practicum in the past, and the last section demands them to reveal their personal opinion toward the practicum. The received data was analyzed by finding the percentage of means value ( ¯x ). The second part was achieved by qualitative means and methods; the research team uses group discussion and in-depth interview to collect the necessary data, which would later be analyzed using content analysis. The research finding indicates that the factor mostly affected the students’ performance on practicum was the students’ personal factor ( ¯x = 2.85) while the factor least affect them is the factors related to the workplace ( ¯x = 2.48). From the general perspectives, the students were quite positive about the practicum. They sincerely accepted that most problems they encountered during the training were originated from themselves; such as their growing bored of the regular tasks or their unmet expectation toward the trainers. The research team therefore suggests that the faculty should develop the communication process between the three groups; the students, the company that offers for the practicum, and the responsible body from the faculty, to confirm their well understanding toward the practicum’s goals and demand. Keywords: Practicum, Effective Performance

บทน�ำ

การที่บัณฑิตไม่ได้งานตรงตามสายงานที่ตนส�ำเร็จ การศึกษามา หรือไม่เป็นที่พึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต เกิด จากสาเหตุหลัก 2 ประการ ได้แก่ การขาดทักษะความ สามารถที่จ�ำเป็นต่องาน และการแข่งขันของตลาด แรงงานที่ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นตามสภาพสังคม งานวิจัยของสานิตและนารีรัตน์ (2551) เกี่ยวกับภาวะ การมีงานท�ำและการประกอบอาชีพของบัณฑิต อธิบาย ว่า สาเหตุทั้งสองประการสัมพันธ์โดยตรงกับสถาบัน อุ ด มศึ ก ษา เนื่ อ งจากอั ต ราการมี ง านท� ำ ของบั ณ ฑิ ต สะท้ อ นศั ก ยภาพของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาในการผลิ ต บุคคลากรที่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

และตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานได้อย่าง ตรงจุด การศึกษาที่เน้นการบรรยายเพียงอย่างเดียวนั้น ย่อมไม่สามารถพัฒนาทักษะทีจ่ ำ� เป็นส�ำหรับบัณฑิตเพือ่ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวได้ จ�ำต้องมีการลงมือ ปฏิบตั งิ านจริง เพือ่ สนับสนุนให้นกั ศึกษาได้มองเห็นและ เข้าใจในสิ่งที่เรียนได้อย่างถ่องแท้ (Michael Prince & Richard Felder 2006: 125-126) สถาบันการจัดการ ปั ญ ญาภิ วั ฒ น์ จึ ง สนั บ สนุ น รู ป แบบการศึ ก ษาที่ เ น้ น การเรียนรู้ในภาคทฤษฏีควบคู่กับการฝึกปฏิบัติงาน ในสถานประกอบการ หรือ “Work-based Learning” ซึ่งเน้นให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติงานจริงตามสาขาวิชา

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

ที่เรียน ภายใต้การควบคุมดูแลของ 3 ภาคส่วน คือ สาขาวิชา สถาบัน และสถานประกอบการ โดยมีการ ก�ำหนดวัตถุประสงค์ในการพัฒนาทักษะการท�ำงานของ นักศึกษาแต่ละชั้นปีไว้อย่างชัดเจน สาขาวิชาจีนธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการจัด การปัญญาภิวฒ ั น์ ก�ำหนดวัตถุประสงค์การฝึกปฏิบตั งิ าน ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มุ่งที่การพัฒนาทักษะด้านการ สือ่ สาร การมีใจรักบริการ และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า โดยก�ำหนดให้ฝึกปฏิบัติงาน ณ บริษัท ทรูทัช จ�ำกัด ในต�ำแหน่งพนักงานตอบรับสายโทรศัพท์ ในส่วนงาน คอลเซนเตอร์ (Call Center) มีหน้าทีห่ ลัก ได้แก่ การรับ รายการสัง่ ซือ้ และแจ้งโปรโมชัน่ แก่ลกู ค้า ซึง่ มีลกั ษณะ หน้าทีร่ บั ผิดชอบคล้ายคลึงกันกับนักศึกษาฝึกปฏิบตั งิ าน ของสาขาวิชารุน่ ทีผ่ า่ นมา จากการสัมภาษณ์นกั ศึกษา สถานประกอบการ และ จากรายงานสรุปผลการฝึกปฏิบตั งิ านของนักศึกษาสาขา วิชาภาษาจีนธุรกิจ ชั้นปีที่ 1 ในอดีตอุปสรรคของการ ฝึกปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นและยังคงเกิดต่อเนื่องมาจนถึง ครัง้ นี้ ได้แก่ วินยั ของนักศึกษา วุฒภิ าวะทางอารมณ์ของ นักศึกษา รวมถึงการสื่อสารระหว่างอาจารย์ นักศึกษา และสถานประกอบการ อุปสรรคดังกล่าวน�ำมาสูก่ ารวิจยั เพื่อศึกษาหาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาในการฝึกปฏิบัติ งาน เพื่อลดปัญหาและอุปสรรค์ที่จะเกิดขึ้นทั้งกับสถาน ประกอบการ สถาบัน และนักศึกษาในระหว่างการฝึก ปฏิบัติงานให้เหลือน้อยที่สุด ยิ่งไปกว่านั้น การจ�ำแนก สาเหตุ ที่ แ ท้ จ ริ ง ของปั ญ หาดั ง กล่ า วอย่ า งเป็ น ระบบ ยังสามารถต่อยอดน�ำไปสูก่ ารวิจยั ศึกษาเพือ่ เตรียมความ พร้อมให้แก่นักศึกษา ก่อนการลงฝึกปฏิบัติงานต่อไป ในอนาคตได้อีกด้วย

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1. เพื่อรวบรวมและน�ำเสนอปัญหาซึ่งนักศึกษาพบ ระหว่างการฝึกปฏิบัติงาน 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพ การฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษา 3. เพือ่ เสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาการฝึก ปฏิบตั งิ านทีต่ รงจุดและปฏิบตั ไิ ด้จริง

129

ทบทวนวรรณกรรม

Weldon & Richardson (1995) เชื่อว่า การเรียนรู้ นอกห้ อ งเรี ย นรวมถึ ง การฝึ ก ปฏิ บั ติ ง านในสถาน ประกอบการจริง ไม่เพียงแต่สามารถเพิ่มแรงจูงใจและ สร้างประสบการณ์จริงในการเรียนรูด้ า้ นวิชาชีพแต่เพียง เท่านั้น ยังมีส่วนอย่างยิ่งในการพัฒนาทักษะของผู้เรียน ในด้านต่างๆ รวมถึงบ่มเพาะความรู้สึกและความเข้าใจ ต่อวัฒนธรรมองค์กรด้วยสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้นจริงใน การท�ำงาน นอกเหนือไปจากการสร้างความเข้าใจและ สร้างแรงจูงใจให้บคุ คลเกีย่ วกับงานทีต่ นจะกระท�ำต่อไป ในอนาคต McIntosh (2009) และ Baumeister & Bushman (2007) กล่าวเพิ่มเติมว่า การมีแรงจูงใจ ในการท�ำงาน จะส่งผลให้บุคคลท�ำงานนั้นด้วยความสุข ด้วยความสามารถ และด้วยศักยภาพของตนเองอย่าง เต็มที่ โดยเฉพาะหากงานที่ท�ำนั้นเป็นงานที่บุคคลสนใจ ท้าทายความสามารถของตนเอง และสามารถสร้าง ผลประโยชน์ให้แก่ตนเองได้ จะยิ่งเพิ่มคุณค่าให้กับงาน ที่บุคคลท�ำเป็นทบเท่าทวีคูณ ดังนั้นแนวคิดเรื่องการเรียนรู้ควบคู่การท�ำงานหรือ Work-based Learning (WBL) ซึง่ เป็นความร่วมมือกัน ระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการ ภายใต้ความ มุง่ หวังทีจ่ ะสร้างโอกาสการเรียนรูใ้ นสถานประกอบการ จริงแก่ผเู้ รียน จึงน�ำมาสูก่ ารปฏิบตั จิ ริงในทีส่ ดุ ประเด็น ส�ำคัญ คือ การฝึกปฏิบตั งิ านในสถานประกอบการนัน้ จะ ต้องสามารถวัดประเมินผลได้ ว่าการฝึกปฏิบตั งิ านดังกล่าว ตอบสนองสอดคล้องต่อวัตถุประสงค์ด้านการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์อย่างน้อยสามประการ ประการแรก คือ เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้น�ำความรู้เชิงทฤษฎีจากใน ห้องเรียนไปใช้ในการท�ำงานจริง ประการทีส่ อง คือ สะท้อน ทักษะ พฤติกรรม และความรูค้ วามสามารถของนักศึกษา ผูฝ้ กึ ปฏิบตั งิ าน ให้นกั ศึกษาทราบข้อบกพร่องของตนเอง เพื่อน�ำไปสู่การปรับปรุงแก้ไขต่อไป ประการที่สาม คือ ผนวกการประเมินคุณภาพเข้าเป็นส่วนหนึง่ ของการเรียน การสอน มอบโอกาสให้สถานประกอบการเข้ามามีสว่ นร่วม ในการให้คำ� แนะน�ำ พัฒนา และปรับปรุงหลักสูตรการฝึก ปฏิบัติงาน อีกทั้งมีส่วนร่วมชี้แนะสถาบันอุดมศึกษาให้ พัฒนานักศึกษาไปในทางทีผ่ ใู้ ช้บณ ั ฑิตคาดหวัง (Boud &

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


130

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Solomon 2001 และ McTavish & Bayley, 2010) อย่างไรก็ดี แนวคิดตั้งต้นดังกล่าวยังคงมีตัวแปร ส�ำคัญอีกหนึ่งประการซึ่งส่งผลต่อความส�ำเร็จอย่าง ยิ่งยวด ตัวแปรดังกล่าว ได้แก่ นักศึกษาผู้ฝึกปฏิบัติงาน ซึง่ ส่วนใหญ่ยงั อยูใ่ นวัยรุน่ จึงมักขาดวุฒภิ าวะทัง้ ทางด้าน อารมณ์และการตอบสนองต่อปัญหา ในหลายกรณี ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น และมี ผ ลกระทบต่ อ สภาพจิ ต ใจของ ผูป้ ฏิบตั งิ านนัน้ มาจากกฎระเบียบขององค์กร ความรูส้ กึ แปลกแยก การขาดการมีส่วนร่วม และการแบ่งพรรค แบ่งพวก ซึ่งการท�ำงานภายใต้สิ่งแวดล้อมเหล่านี้ส่งผล ให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความเครียด การเอาชนะอุปสรรค เหล่านีจ้ งึ ต้องมีการวางแผนในสองระดับ ได้แก่ (1) ระดับ ปฏิบัติการ คือ การฝึกฝนผู้ปฏิบัติงานให้มีความพร้อม เผชิญปัญหาที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในการท�ำงานซึ่งหลีก เลี่ยงได้ยาก และ (2) ระดับแผนงาน คือ การวางแผน ของผูม้ อี ำ� นาจหรือผูบ้ ริหารองค์กรเพือ่ แก้ไข และป้องกัน ให้ ส ภาพแวดล้ อ มดั ง กล่ า วลดลง เกิ ด ยากขึ้ น หรื อ ถูกแทนทีด่ ว้ ยวัฒนธรรมองค์กรทีเ่ น้นความสามัคคีให้ได้ มากที่สุด (Niosh, 1998 และ Vaughan, 2001) การมุ่งเน้นในระดับปฏิบัติการ คือ การฝึกฝนผู้ฝึก ปฏิบตั งิ านหรือนักศึกษาให้สามารถต้านท้านสิง่ แวดล้อม เชิงลบในการท�ำงาน อาจสามารถกระท�ำได้โดยการเติม ความมั่ น ใจในตนเองให้ ผู ้ ฝ ึ ก ปฏิ บั ติ ง านมากขึ้ น ซึ่ ง Bandura (1997) อธิบายว่า ความมั่นใจในตนเองในที่นี้ ไม่ใช่การกล้าแสดงออก แต่เป็นความเชื่อมั่นในลักษณะ ทีแ่ น่ใจว่าตนมีศกั ยภาพ ทักษะและความสามารถเหมาะ สมกับงานเฉพาะอย่างที่ได้รับมอบหมาย ความมั่นใจใน ตนเองลักษณะนี้จะเป็นแรงกระตุ้นจูงใจส�ำคัญในการ ท�ำงาน โดยแหล่งที่มาของความมั่นใจดังกล่าวได้แก่ ประสบการณ์ การเห็นผูม้ ที กั ษะ ลักษณะบุคลิกภาพ หรือ ความสามารถคล้ายคลึงกันประสบความส�ำเร็จ แรง สนับสนุนจากบุคคลใกล้ชดิ และก�ำลังใจของผูป้ ฏิบตั งิ าน นอกเหนือจากความมั่นใจในตนเองแล้ว Eccles และ Wigfield (1995) เชือ่ ว่าความเห็นทีบ่ คุ คลมีตอ่ งาน ก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยส�ำคัญที่จะชักจูงให้บุคคลใส่ใจสนใจ ในงานที่ตนลงมือกระท�ำ พวกเขากล่าวว่า ปัจจัยสาม ประการที่จะสร้างทัศนคติเชิงบวกแก่ผู้ฝึกปฏิบัติงานได้

ประกอบด้วย ปัจจัยทีห่ นึง่ งานดังกล่าวตรงกับความสนใจ ดัง้ เดิมของบุคคล (Interest Value) ปัจจัยทีส่ อง งาน ดังกล่าวท้าทายความสามารถที่บุคคลมี (Skill Value) และประการทีส่ าม งานดังกล่าวถูกมองว่าเป็นวิธกี ารหรือ ขั้นบันไดซึ่งจะสร้างผลประโยชน์ น�ำบุคคลไปสู่ความ ส�ำเร็จทีม่ งุ่ หวังในบัน้ ปลาย (Utility Value)

วิธีการวิจัย

1. กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชา ภาษาจีนธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการจัดการ ปัญญาภิวัฒน์ จ�ำนวน 45 คน ที่ผ่านการฝึกปฏิบัติงาน จากสถานประกอบการมาแล้วไม่ตำ�่ กว่า 300 ชัว่ โมง และ ผู้รับผิดชอบหลักในการดูแ ลนักศึกษาฝึกปฏิบัติงาน ณ บริษัท ทรูทัช จ�ำกัด จ�ำนวน 2 คน 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 การวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามแบบให้ เลือกตอบ แบ่งออกเป็น 3 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 ข้อมูลเบือ้ งต้นของผูต้ อบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อประสิทธิภาพการฝึกปฏิบตั ิ งานในสถานประกอบการ ตอนที่ 3 ทัศนคติต่อการฝึกปฏิบัติงานของผู้ตอบ แบบสอบถาม ส่วนที่ 2 การวิจยั เชิงคุณภาพ ใช้เครือ่ งมือต่างกัน 2 ชนิด ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามค�ำถามปลายเปิด โดยระบุประเด็น ค� ำ ถาม 4 ประเด็ น หลั ก ได้ แ ก่ ทั ศ นคติ ที่ มี ต ่ อ การ ฝึ ก ปฏิ บั ติ ง าน ทั ศ นคติ ที่ มี ต ่ อ สถานที่ ฝ ึ ก ปฏิ บั ติ ง าน สิ่งแวดล้อมในการท�ำงาน และปริมาณภาระงานที่ได้รับ มอบหมาย 2) การอภิปรายกลุม่ ย่อย (Group Discussion) เพือ่ หาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับทัศนคติต่อการฝึกปฏิบัติงาน ของนักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถาม 3) สัมภาษณ์เชิงลึกผู้รับผิดชอบนักศึกษาฝึกปฏิบัติ งาน ณ บริษัท ทรูทัช เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบเพิ่มเติม ในการวิเคราะห์ผลให้รอบด้านครบถ้วนสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

3. การวิเคราะห์ข้อมูล 1) ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม วิเคราะห์โดยใช้ค่า เฉลี่ย (x) เพื่อหาปัจจัยซึ่งส่งผลต่อประสิทธิภาพการฝึก ปฏิบัติงาน และใช้ค่าร้อยละ (Percent) เพื่อระบุระดับ ความส�ำคัญของปัจจัยทีม่ ผี ลต่อประสิทธิภาพและปัญหา ในการฝึกปฏิบัติงาน 2) ข้อมูลจากแบบสอบถามปลายเปิดการสัมภาษณ์ เชิงลึก และการอภิปรายกลุม่ ย่อย ใช้การวิเคราะห์เนือ้ หา (Content Analysis) แล้วสร้างประเด็น เพื่อสรุปและ อภิปรายผลในเชิงพรรณา

ผลการวิจัย

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้ตอบแบบสอบถาม จ�ำนวนทั้งหมด 41 คน ประกอบด้วยเพศหญิง 27 คน คิดเป็นร้อยละ 34.1 และเพศชาย 13 คน คิดเป็น ร้อยละ 65.9 โดยร้อยละ 29.3 ของนักศึกษากลุม่ ตัวอย่าง มีรายได้เฉลี่ยทั้งครอบครัวต่อเดือน 40,000 บาทขึ้นไป ในขณะที่ร้อยละ 22.0 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,00019,999 บาท และร้อยละ 2.4 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต�่ำ กว่า 5,000 บาท ในด้านทีพ่ กั อาศัย นักศึกษาร้อยละ73.2 พักอาศัยห่างจากสถานที่ฝึกปฏิบัติงาน อยู่ในช่วง 0 - 5 กิโลเมตร ในขณะที่จำ� นวนรองลงมา คือ ร้อยละ 9.8 พัก ห่างจากสถานที่ฝึกปฏิบัติงานมากกว่า 20 กิโลเมตร ซึ่ง สอดคล้องกับระยะเวลาที่นักศึกษากลุ่มนี้ใช้ในการเดิน ทางจากที่พักจนถึงสถานที่ฝึกปฏิบัติงาน คือ ประมาณ 30 นาที คิดเป็นร้อยละ 68.3 รองลงมาคือ ใช้เวลา 61-90 นาที คิดเป็นร้อยละ 22.0 นักศึกษาส่วนใหญ่เดิน ทางไปฝึกปฏิบัติงานด้วยรถประจ�ำทาง คิดเป็นร้อยละ

131

36.6 รองลงมาเป็นการเดินและการใช้รถตู้โดยสาร สาธารณะ คิดเป็นร้อยละ 24.4 ในด้านประสบการณ์ ท�ำงาน นักศึกษาส่วนใหญ่ไม่มีประสบการณ์ในการ ท�ำงานพิเศษ งานนอกเวลา (Part-time) หรือเป็นลูกจ้าง ชั่วคราว จ�ำนวน 33 คน คิดเป็น ร้อยละ 80.5 โดยมี 8 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 19.5 ที่มีประสบการณ์ในการ ท�ำงานพิเศษ งานนอกเวลา (Part-time) หรือเป็นลูกจ้าง ชั่วคราวมาก่อน ผู้วิจัยได้ศึกษาวิเคราะห์เอกสารตลอดจนข้อมูลที่ เกีย่ วข้อง และแบ่งปัจจัยทีส่ ง่ ผลกระทบต่อประสิทธิภาพ ในการฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษาออกเป็น 6 ด้าน ประกอบด้วย 1) ปัจจัยส่วนบุคคล 2) ปัจจัยด้านสถาน ที่ฝึกปฏิบัติงาน 3) ปัจจัยด้านสิง่ แวดล้อมในการปฏิบตั ิ งาน 4) ปัจจัยด้านภาระงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 5) ปัจจัย ด้านหัวหน้างาน/ผู้สอนงาน และ 6) ปัจจัยด้านสถาน ศึกษา โดยแบ่งระดับความส�ำคัญของปัจจัยออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่ ระดับ 5 ส�ำคัญมากทีส่ ดุ ระดับ 4 ส�ำคัญมาก ระดับ 3 ส�ำคัญปานกลาง ระดับ 2 ส�ำคัญน้อย และระดับ 1 ส�ำคัญน้อยทีส่ ดุ การวิเคราะห์ผลโดยใช้คา่ เฉลีย่ และค่า เบีย่ งเบนมาตรฐานระบุวา่ ในภาพรวมปัจจัยทั้ง 6 ด้าน ที่ผู้วิจัยได้ท�ำการศึกษามีผลต่อปัญหาการฝึกปฏิบัติงาน ในสถานประกอบการอยู่ที่ระดับปานกลาง (ตาราง 1) มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 2.64 โดยปัจจัยที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ปัจจัย ส่วนบุคคล มีค่าเฉลี่ยที่ 2.85 ส่วนปัจจัยที่มีค่าคะแนน เฉลี่ยต�่ำสุด ได้แก่ปัจจัยด้านสถานที่ฝึกปฏิบัติงาน มี ค่าเฉลี่ยที่ 2.48 โดยสามารถอธิบายรายละเอียดของ แต่ละปัจจัยได้ดังนี้

ตารางที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ ¯x

ปัจจัย ปัจจัยส่วนบุคคล 1. ข้าพเจ้าไม่ชอบการฝึกปฏิบัติงาน 2. ข้าพเจ้ารู้สึกว่างานที่ฝึกปฏฺิบัติไม่ตรงกับสาขาที่เรียน 3. ข้าพเจ้าคิดว่างานที่ฝึกปฏิบัติมีความน่าเบื่อ

2.85 2.41 3.10 3.05

ระดับความสำ�คัญ ปานกลาง น้อย ปานกลาง ปานกลาง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


132

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ปัจจัย ปัจจัยด้านภาระงานที่ได้รับมอบหมาย 1. ข้าพเจ้ามีภาระในการทำ�งานมากเกินไป 2. งานที่ต้องทำ�มีรายละเอียดซับซ้อนเกินไป 3. ข้าพเจ้ารู้สึกว่าสิ่งที่ได้เรียนมา ไม่สามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้กับงานที่ได้ มอบหมาย ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมในการปฏิบัติงาน 1. ประสบปัญหาเกี่ยวกับเพื่อนร่วมงาน 2. อุปกรณ์ต่างๆ ในการปฏิบัติงานมีไม่เพียงพอ 3. มีความกดดันอย่างมากในการฝึกงาน ปัจจัยด้านหัวหน้างาน/ผู้สอนงาน 1. หัวหน้างาน/ผู้สอนงานมีความรู้ในงานที่ปฏิบัติไม่เพียงพอ 2. หัวหน้างาน/ผู้สอนงานไม่มีทักษะในการให้คำ�ปรึกษา 3. หัวหน้างาน/ผู้สอนงานใช้คำ�พูดที่ไม่เหมาะสม รวมถึงไม่ให้เกียรติข้าพเจ้า ปัจจัยด้านสถานศึกษา 1. สถานศึกษาให้การดูแลสวัสดิภาพและสวัสดิการนักศึกษาไม่ทั่วถึง 2. การติดต่อขอความช่วยเหลือกลับมาที่สถานศึกษาเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก วุ่นวาย 3. อาจารย์มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของนักศึกษาในระหว่างการฝึก ปฏิบัติงานน้อย ปัจจัยด้านสถานที่ฝึกปฏิบัติงาน 1. สถานที่ฝึกงานไม่มีความสะดวกสบาย 2. การเดินทางไปสถานที่ฝึกงานมีความลำ�บาก 3. สถานที่ฝึกงานไม่มีความพร้อมในการรับนักศึกษาฝึกงาน ปัจจัยทั้ง 6 ด้านที่มีผลต่อปัญหาการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ

ปัจจัยส่วนบุคคลมีผลต่อปัญหาการฝึกปฏิบัติงาน ในสถานประกอบการอยู ่ ใ นระดั บ ความส� ำ คั ญ ปาน กลาง ค่าเฉลี่ยที่ 2.85 ประเด็นปัจจัยส�ำคัญที่มีผลต่อ การฝึกปฏิบัติงานมากที่สุด คือ นักศึกษารู้สึกว่างาน ที่ฝึกปฏิบัติไม่ตรงกับสาขาที่เรียน คิดเป็นค่าคะแนน เฉลี่ยอยู่ที่ 3.10 รองลงมา คือ นักศึกษาคิดว่างาน ที่ฝึกปฏิบัติมีความน่าเบื่อ คิดเป็นร้อยละ 3.05 ปัจจัยด้านภาระงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย มีคา่ คะแนน เฉลี่ยอยู่ในระดับความส�ำคัญปานกลาง ที่ 2.67 ปัจจัย ที่มีค่าคะแนนสูงสุด คือ งานที่ต้องท�ำมีรายละเอียด

¯x

2.67 2.56 2.73 2.71

ระดับความสำ�คัญ ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง

2.66 2.02 3.07 2.88 2.60 2.51 2.78 2.51 2.57 2.66 2.56

ปานกลาง น้อย ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง

2.49

น้อย

2.48 2.66 2.39 2.39 2.64

น้อย ปานกลาง น้อย น้อย ปานกลาง

ซับซ้อนเกินไป โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 2.73 ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมในการปฏิบัติงาน มีผลต่อ ปัญหาการฝึกปฏิบตั งิ านในระดับความส�ำคัญปานกลาง มี ค ่ า คะแนนเฉลี่ ย 2.66 ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ การฝึ ก ปฏิบตั งิ านมากทีส่ ดุ คือ อุปกรณ์ตา่ งๆ ในการปฏิบตั งิ าน มีไม่เพียงพอ มีค่าคะแนนเฉลี่ย 3.07 ส�ำหรับปัจจัยด้านหัวหน้างาน/ผู้สอนงาน อยู่ใน ระดับความส�ำคัญปานกลาง มีค่าเฉลี่ยรวมที่ 2.60 ปัจจัยที่มีความส�ำคัญมากที่สุด คือ หัวหน้างาน/ผู้สอน งานไม่มีทักษะในการให้ค�ำปรึกษา มีระดับความส�ำคัญ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

เฉลี่ยอยู่ที่ 2.78 ปัจจัยด้านสถานศึกษามีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 2.57 อยู ่ ใ นระดั บ ความส� ำ คั ญ ปานกลาง ปั จ จั ย ที่ มี ค ่ า คะแนนสู ง สุ ด คื อ สถานศึ ก ษาไม่ ค ่ อ ยให้ ก ารดู แ ล สวัสดิภาพและสวัสดิการนักศึกษาเท่าที่ควร มีค่าเฉลี่ย ที่ 2.66 ส�ำหรับปัจจัยด้านสถานที่ฝึกปฏิบัติงาน พบว่า อยู่ ในระดับความส�ำคัญน้อย มีค่าเฉลี่ยที่ 2.48 ปัจจัยที่ มีผลต่อปัญหาการฝึกปฏิบัติงาน คือ สถานที่ฝึกงาน ไม่มีความสะดวกสบาย ซึ่งมีระดับความส�ำคัญปานกลาง ค่าเฉลี่ยที่ 2.66 ส่วนปัจจัยอื่นๆ มีความส�ำคัญอยู่ใน ระดับความส�ำคัญน้อย ในด้ า นทั ศ นคติ ต ่ อ การฝึ ก ปฏิ บั ติ ง านของผู ้ ต อบ แบบสอบถาม จากการอภิ ป รายกลุ ่ ม ย่ อ ย พบว่ า นักศึกษาส่วนมากมีทัศนคติที่ดีต่อการฝึกปฏิบัติงาน เพราะได้ฝึกความมีวินัย ความรอบคอบ การท�ำงาน ร่วมกับผู้อื่น การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และทักษะ การสื่ อ สาร แต่ มี นั ก ศึ ก ษาบางส่ ว นรู ้ สึ ก ว่ า ไม่ ไ ด้ ใช้ ความรู้ความสามารถที่เรียนมาอย่างเต็มที่ และหน้าที่ ที่ได้รับมีความซ�้ำซาก จ�ำเจ น่าเบื่อ นักศึกษาส่วนมากชื่นชมสถานประกอบการ บริษัท ทรูทชั จ�ำกัด ในด้านความทันสมัย และการแบ่งงานอย่าง เป็นระบบ ในขณะทีบ่ างส่วนเห็นว่าพืน้ ทีข่ องสถานทีฝ่ กึ ปฏิบัติงานไม่รองรับต่อปริมาณนักศึกษา และอุปกรณ์ ต่างๆ ช�ำรุดบ่อย ด้านปัจจัยสิ่งแวดล้อมในการท�ำงาน หัวหน้างาน และเพื่อนร่วมงาน พบว่า นักศึกษาส่วใหญ่มีปัญหาด้าน หัวหน้างานและเพือ่ นร่วมงานน้อย เนือ่ งจากหัวหน้างาน ส่วนใหญ่มีความเป็นกันเอง แนะน�ำการท�ำงานดี อีกทั้ง ให้ขอ้ คิดในการใช้ชวี ติ ด้วย โดยมีนกั ศึกษาเพียงส่วนน้อย แจ้งว่าหัวหน้างานดูแลนักศึกษาไม่ทั่วถึง ไม่สอนงาน และสร้างความกดดันในการท�ำงานมาก ส่วนปัญหาด้าน ปัจจัยแวดล้อมที่นักศึกษาประสบ คือ สถานที่ท�ำงานมี ความคับแคบ ในด้านปริมาณงาน นักศึกษาส่วนใหญ่กล่าวว่าภาระ งานทีไ่ ด้รบั มอบหมายค่อนข้างเหมาะสม แต่ขนั้ ตอนการ ท�ำงานมีรายละเอียดมาก มีความซับซ้อนสูง และเสี่ยง

133

ต่อการผิดพลาดได้ง่าย ส่งผลให้เกิดความเครียด อึดอัด และท้อในบางครั้ง หากเมื่อได้ฝึกปฏิบัติงานไปแล้วชั่ว ระยะเวลาหนึ่ง ปัญหาเหล่านี้ก็ค่อยๆ ลดน้อยลง จากข้อมูลข้างต้นวิเคราะห์ได้วา่ นักศึกษามีทศั นคติ ที่ดีต่อการฝึกปฏิบัติงานในบริษัท ทรูทัช จ�ำกัด ปัญหา ทีเ่ กิดจากสถานประกอบการมีคอ่ นข้างน้อย ปัญหาทีพ่ บ ส่วนใหญ่จะเป็นปัญหาเกี่ยวกับความเบื่อหน่ายในการ ท�ำงานของนักศึกษา และความแตกต่างในการบริหาร จัดการพนักงานของหัวหน้างาน ในส่ ว นของข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการสั ม ภาษณ์ เชิ ง ลึ ก ผู้บริหารของบริษัท ทรูทัช จ�ำกัด เพิ่มเติมแง่มุม และ ข้อมูลที่น่าสนใจ ซึ่งสามารถสรุปอธิบายตามประเด็นได้ ดังนี้ 1. นักศึกษาลางานโดยไม่แจ้งล่วงหน้า ลาครั้งละ หลายคนพร้อมกัน บางครั้งทางสถาบันมีกิจกรรมหรือ การเรียนเสริมกระทันหัน จึงท�ำให้จ�ำนวนผู้รับสายไม่ เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้า 2. นักศึกษาบางคนเล่นโทรศัพท์มือถือในขณะที่ ปฏิบตั งิ านรับสายจากลูกค้า ส่งผลให้เกิดความผิดพลาด ในการรับรายการอาหารจากลูกค้า ซึง่ นักศึกษาจะได้รบั ใบแจ้งความผิดพลาดและการตักเตือนจากพี่เลี้ยง อย่างไรก็ดี ผู้ให้สัมภาษณ์ระบุว่า ปัญหาดังกล่าว เกิดขึ้นในช่วงต้นๆ ของการฝึกปฏิบัติงานเท่านั้น ส่วน ในช่วงกลางถึงปลายของการฝึกปฏิบัติงาน นักศึกษา ส่วนมากสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบขององค์กรได้ดี มีการพัฒนามากขึ้น และมีความผิดพลาดลดน้อยลง

สรุปและอภิปรายผล

จากการวิเคราะห์ผลวิจยั เชิงปริมาณร่วมกับผลวิจยั เชิงคุณภาพ สามารถสรุปและอภิปรายผลการวิจยั ได้ดงั นี้ 1. ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการฝึก ปฏิบัติงานในสถานประกอบการของนักศึกษามากที่สุด ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล มีคา่ คะแนนเฉลีย่ สูงทีส่ ดุ ที่ 2.85 ตามมาด้วยปัจจัยด้านภาระงานที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งมี ค่าคะแนนเฉลี่ยที่ 2.67 ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมในการ ปฏิบัติงาน มีค่าคะแนนเฉลี่ยที่ 2.66 ปัจจัยด้านหัวหน้า งาน/ผู้สอนงาน มีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 2.60 ปัจจัยด้าน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


134

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

สถานศึกษา มีค่าคะแนนเฉลี่ย 2.57 และปัจจัยที่มีค่า เฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ปัจจัยด้านสถานที่ฝึกปฏิบัติงาน ซึ่งมี ค่าคะแนนเฉลีย่ ที่ 2.48 ซึง่ ผลการวิจยั ดังกล่าวสอดคล้อง กับแนวคิดและทฤษฎีทคี่ ณะผูว้ จิ ยั ได้ศกึ ษาและน�ำเสนอ 2. นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานที่บริษัท ทรูทัช จ�ำกัด ส่วนใหญ่มที ศั นคติในเชิงบวกต่อการปฏิบตั งิ าน ประเด็น ปัญหาที่พบในระหว่างการฝึกปฏิบัติงานส่วนมากเกิดจาก สถานที่ท�ำงานที่คับแคบ รวมถึงลักษณะของงานที่เป็น งานประจ�ำ (Routine job) ไม่สอดคล้องกับสิ่งที่เรียน จึงมีความน่าเบื่อหน่าย และปัญหาด้านการสอนงาน ของหัวหน้างาน ส่วนด้านอื่นๆ นั้นพบว่า ส่งผลต่อ ประสิทธิภาพในการฝึกปฏิบตั งิ านของนักศึกษาค่อนข้าง น้อย 3. ผู ้ แ ทนจากสถานประกอบการที่ รั บ ผิ ด ชอบ นักศึกษาฝึกปฏิบัติงาน ระบุปัญหาส�ำคัญสองประการ ที่พบในระหว่างการฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษา ได้แก่ การลางานโดยไม่แจ้งล่วงหน้า และการขาดความตั้งใจ ในการท�ำงานในการท�ำงานในระยะต้น จากข้อสรุปทัง้ สามประเด็น สามารถอภิปรายผล ได้วา่ ผลการวิจยั เชิงปริมาณสอดคล้องอย่างเป็นเหตุเป็น ผลกับผลการวิจัยเชิงคุณภาพ กล่าวคือ นักศึกษาเบื่อ หน่ายในงานเนือ่ งจากมีความรูส้ กึ ว่า ลักษณะการท�ำงาน ไม่สอดคล้องกับสาขาวิชาที่เรียน ส่งผลให้ในระยะแรก ของการฝึกปฏิบตั งิ าน นักศึกษามีความสนใจตัง้ ใจในงาน ค่อนข้างน้อย แต่เมื่อได้รับการแนะน�ำและอบรมการ

ท�ำงานจากหัวหน้างาน อีกทั้งมีความช�ำนาญในการ ท�ำงานเพิ่มมากขึ้น นักศึกษาส่วนใหญ่จึงพัฒนาทัศนคติ ที่มีต่อการท�ำงานไปในทิศทางที่ดีขึ้น

ข้อเสนอแนะ

ผลจากการศึกษาวิจยั ครัง้ นี้ สามารถน�ำไปใช้ตอ่ ยอด เพิ่มเติมเพื่อช่วยในการวางแผนการฝึกปฏิบัติงานของ นักศึกษาในภาพรวม ตัง้ แต่การวางแผน การจัดหาสถาน ที่ฝึกปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล และการสร้าง หรือออกแบบการฝึกเตรียมก่อนฝึกปฏิบตั งิ านให้มคี วาม เหมาะสม ซึง่ จะท�ำให้การฝึกปฏิบตั งิ านของนักศึกษาเกิด ประสิทธิภาพ และก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตัวนักศึกษา สถานประกอบการ และสถาบันการศึกษาสูงสุด อย่างไร ก็ดี การวิจัยครั้งนี้มีข้อจ�ำกัดบางประการ ได้แก่ การมี กลุ่มตัวอย่างมีจ�ำนวนน้อย (41 คน) และมีสถานที่ เก็บข้อมูลเพียงแห่งเดียว ท�ำให้ไม่สามารถน�ำเสนอ ผลการวิจัยที่ครอบคลุมประเด็นปัญหาที่อาจส่งผลต่อ ประสิทธิภาพการฝึกปฏิบัติงานได้อย่างครบถ้วนรอบด้าน จึงอาจส่งผลในการน�ำไปประยุกต์ใช้เพื่ออธิบายการ ฝึกปฏิบัติงานในบริบทอื่น การวิจัยต่อยอดจึงควรมุ่งไป สู่การวิจัยในบริบทอื่นๆ รวมถึงการร่วมผลิตผลงานวิจัย กับสถานประกอบการ เพื่อเป็นการต่อยอดงานวิจัย ที่สนับสนุนการบูรณาการการเรียนและการฝึกปฏิบัติ งานทีม่ แี บบแผน และแนวทางปฏิบตั ใิ นการจัดการเรียน การสอนแบบ Work-based Learning ต่อไป

บรรณานุกรม

สานิต ศิริวิศิษฐ์กุล และนารีรัตน์ ณ นุวงศ์. (2550). ความพึงพอใจของนายจ้างต่อการปฏิบัติงานของบัณฑิต วิทยาลัย นอร์ทกรุงเทพ ปีการศึกษา 2550. วารสารการพยาบาลและการศึกษา, 2(3), 90-100. Bandura, A. (1997). Self-efficacy: The Exercise of Control. New York: W.H. Freeman. Baumeister, R. F. & Bushman, B. J. (2007). Social Psychological and Human Nature. New York: Wadsworth. Boud, D. & Solomon, N. (2001). Work-based Learning: A New Higher Education?. (1st ed.). Buckingham: Open University Press. Clark, R. E. (2003). Fostering the Work Motivation of Individuals and Teams. Performance Improvement, 42(3), 21-29. Eccles, J. & Wigfield, A. (1995). In the Mind of the Actor: The Structure of Adolescents’ Achievement task values and expectancy-related beliefs. Personality and Social Psychology Bulletin, 21, 215-225. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

135

McIntosh, I. (2009). Sociology, Making Sense of Society. (4thed.). London: Pearson Longman. McTavish, A. M. & Bayley, V. (2010). Quality and Responding to Employer Needs Demonstrator Project Reports. Institutional Frameworks for Work-Based Learning Assessment. Retrieved October 10, 2014, from https://www. heacademy. ac.uk /sites/ default /files/ DemonstratorProjects.pdf NIOSH Working Group . (1998). Stress at Work. National Institute for Occupational Safety and Health. Retrieved October 10, 2014, from http://www.cdc.gov/niosh/docs/99-101/pdfs/99-101.pdf Prince, M. J. & Felder, R. M. (2006). Inductive Teaching and Learning Methods: Definitions, Comparison, and Research Bases. Journal of Engineer Education, 95 (2), 123-138. Robin, S. P. & Judge, T. A. (2013). Organizational Behavior. (15thed.). NJ: Pearson Prentice Hall. Vaughan, E. (2001). Sociology: The Study of Society. NJ: Pearson Prentice Hall. Weldon, M. & Richardson, R. (1995). Planning Geography for the Revised National Curriculum: Key Stages One and Two. London: John Murray.

Translated Thai References

Sirivisitkul, S. & Na Nuwong, N. (2007). Satisfactory of Employers toward the Employees Who Graduated from North Bangkok College, Academic Year 2007. Journal of Hematology and Transfusion Medicine, 2(3) 90-100. Kelvarin Chantanasuksilpa received her Master’s degree in Linguistics and Applied Linguistics from Beijing Normal University in 2011. Before her studies in People’s Republic of China, she received a Bachelor’s degree in Business Chinese from Assumption University in 2004. Now she is a full-time lecturer in Business Chinese Program, Faculty of Liberal Arts, Panyapiwat Institute of Management. Pimolmas Netramai graduated Master of International Studies (Peace and Conflict Resolutions) from University of Queensland, Australia in 2009. Her interests lie on Applied Sociology to Conflict Management and Work-based Education. She is currently a full-time lecturer in General Education, Faculty of Liberal Arts, Panyapiwat Institute of Management. Kitpatiparn Wattanaprajak received his Master of Business (Marketing) from The Australian National University, Australia in 2007. His interests are Marketing and Retail Management, Co-operative Education and Workbased Education. He is currently a full-time lecturer in Modern Trade Management and Head of Section in Co-operative Education, Faculty of Business Administration, Panyapiwat Institute of Management. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


136

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

TEACHERS’ AND STUDENTS’ PERCEPTIONS TOWARDS AN IN-HOUSE EFL TEXTBOOK ความคิดเห็นของผู้สอนและนักศึกษาต่อหนังสือประกอบการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ Apisara Sritulanon1 Abstract

The in-house textbook, ‘English for Work’, was developed for use as English teaching materials and professional preparations. This study aimed to examine teacher and student perceptions towards the in-house textbook, after using it as the core teaching material of GE1003 English for Communication II course focusing on English used in the workplace. The participants were divided into two groups. The first group comprised eight teachers who taught GE1003 in the second semester of 2011 academic year. Those teachers had different teaching experience. The second group were seventeen students from different faculties studying GE1003 English for Communication in a certain class. The interview was employed as a research tool to examine teacher and student perceptions. The group interview was used to examine teacher perception, whereas individual interviews were used to examine student perceptions. The data analysis was categorized based on the American Council on the Teaching of Foreign Languages (ACTFL) standards. The results showed that teachers and students had positive perceptions towards the in-house textbook, “English for Work”. In addition, they gave constructive comments which were useful not only to strengthen the good points of the textbook, but also to improve its weaknesses for the purpose of supporting students’ different learning strategies. Keywords: In-house textbook, textbook evaluation, teachers’ and students’ perceptions

บทคัดย่อ

หนังสือประกอบการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ‘ภาษาอังกฤษส�ำหรับการท�ำงาน’ จัดท�ำขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อการ สอนภาษาอังกฤษส�ำหรับการเตรียมตัวเพื่อการท�ำงาน การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสอบถามความคิดเห็นของ ผู้สอนและนักศึกษาที่มีต่อหนังสือประกอบการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ หลังจากที่ใช้เป็นสื่อการสอนหลักของวิชา GE1003 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 ซึ่งเป็นหลักสูตรมุ่งเน้นไปที่ภาษาอังกฤษที่ใช้ในการท�ำงาน ในการวิจัยนี้ ผู้วิจัยแบ่งกลุ่มผู้เข้าร่วมการศึกษาวิจัยออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มแรกคือผู้สอน GE1003 ในภาคการศึกษาที่ 2 ของ ปีการศึกษา 2554 จ�ำนวน 8 คน โดยอาจารย์ที่เข้ารับการสัมภาษณ์ มีประสบการณ์ในการสอนแตกต่างกัน กลุ่ม ที่สองคือนักศึกษา 17 คนจากคณะต่างๆ ที่ศึกษาวิชา GE1003 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 ในการวิจัยนี้ ผู้วิจัยใช้ การสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการวิจัย โดยที่การสัมภาษณ์แบบกลุ่มน�ำมาใช้เพื่อรวบรวมความคิดเห็นของอาจารย์ ผู้สอนที่ใช้หนังสือเล่มนี้ ในขณะเดียวกันการสัมภาษณ์รายบุคคลน�ำมาใช้เพื่อรวบรวมความคิดเห็นของนักศึกษาที่ใช้ 1 Instructor

of English, the Faculty of Arts, Panyapiwat Institute of Management, Email: apisarasri@gmail.com

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

137

หนังสือเล่มนี้ ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลจัดแบ่งประเภทตามเกณฑ์ของ American Council on the Teaching of Foreign Languages (ACTFL) ผลการศึกษาพบว่าผู้สอนและนักศึกษามีความคิดเห็นเชิงบวกต่อหนังสือประกอบการ เรียนวิชาภาษาอังกฤษ “ภาษาอังกฤษส�ำหรับการท�ำงาน” และได้ให้ขอ้ เสนอแนะทีเ่ ป็นประโยชน์ทเ่ี สริมข้อดีของต�ำรา เรียน และเพื่อน�ำมาปรับปรุงข้อด้อยของหนังสือโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมกลยุทธ์การเรียนรู้ที่แตกต่างกันของ นักศึกษา ค�ำส�ำคัญ: หนังสือประกอบการเรียนภายในสถาบันฯ การประเมินหนังสือ ความคิดเห็นของผู้สอนและนักศึกษา

Introduction

Panyapiwat Institute of Management (PIM) is unique and well-known as a corporate university focusing on work-based learning to produce competent graduates in the workplace setting.” Inevitably, PIM is directly concerned and close to the ASEAN Economic Community (AEC) as its status regarding occupational trainers. That is why PIM’s English curricula are aimed at developing students’ communicative competence, particularly business communication. Therefore, the in-house textbook ‘English for Work’ was developed as scaffolding materials to prepare students in the business context and was used as a core textbook in GE1003 English for Communication II Course. Theories of language learning and teaching have been applied in material design and development. For example, syllabus frameworks, namely situational, functional-notional, skillbased, topic-based, and task-based syllabi were used as guidelines in textbook development. In addition, social context: situation and sociocultural environment (McDonough and Shaw, 2003) as well as cultural awareness (Brinton, 2003) were also taken into consideration. In order to raise the standard of in-house textbook, a textbook evaluation was conducted to assess the book’s relevance to the American

Council on the Teaching of Foreign Languages (ACTFL) standards.

Review of literature Theories of language learning and teaching

The literature on the input hypothesis and the affective filter hypothesis of Krashen (1982: 32) indicates that language teachers can help their students develop competence by supplying input “to make it comprehensible in a low anxiety situation.” In the last two decades, there are many teaching methods developed to facilitate foreign language instruction. The prominent EFL teaching methods mentioned in Fromkin V. and Rodman R. (1998) are as follows: 1) Grammar-translation methods focusing on form and structure rather than oral communication. 2) Direct method focusing on oral communication rather than form and structure in a natural way like native language learning. 3) Audio-lingual method based on the assumption that language is acquired mainly through imitation, repetition, and reinforcement” (525). 4) Communicative language teaching (CLT) method focusing on learners’ “communicative competence” which is described as “knowledge of the appropriate social use of language such

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


138

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

as greetings, taboo words, polite forms of address, various styles that are suitable to different situations, and so forth (522).

Teaching Materials and Materials Development in EFL context

As commonly known, English has been used widely as a means of business communication among non-native speaking countries. This implies that most companies, particularly international businesses, require much of the workforce to have a good command of spoken and written English. For this reason, educational institutions take into account how to prepare graduates to serve the objectives of these companies. This leads to a question: what kinds of teaching materials, methods and techniques should be employed. In general, it has been known that there is no particularly successful formula to serve different learner contexts. However, McDonough & Shaw (2003) suggested that the materials and methods used in the classroom should support real life communication interweaving with language forms and functions.

In-house Textbook Development

Referring to McDonough and Shaw’s suggestions above, supplementary teaching materials have been developed by EFL teachers to better serve learners’ needs in EFL contexts which commercial textbooks have failed to cover. Tomlinson & Masuhara (2004) argued that EFL teachers would gain experience and benefit both personal and professional development in the process of developing their own in-house textbooks. For this reason, teachers are encouraged to develop in-house

textbooks. However, textbook developer should focus on cultures, learning strategies and methods, taking the following factors into consideration: class time limitation, students’ background and target situation which students would confront in the future (Huang & Shih, 2009; Tomlinson & Masuhara, 2010).

In-house Textbook Evaluation

The ACTFL textbook evaluation form was developed by the American Council on the Teaching of Foreign Languages (ACTFL) for the purpose of evaluating classroom textbooks and teaching materials. Hence, a post-evaluation should be conducted to assess the standards of in-house textbooks as well as the book fulfillment of learners’ study goals.

Objective of the study

This study aimed to examine teachers’ and students’ perceptions after using the textbook.

Research questions

There were two research questions to be answered in the study: 1. What are teachers’ perceptions towards using an in-housed EFL textbook? 2. What are students’ perceptions towards using an in-housed EFL textbook? There are three types of material evaluation: pre-use evaluation, whilst-use evaluation, and post-use evaluation (Tomlinson & Masubara H., 2004). In order to respond to those two research questions, the “post-use” evaluation was selected to examine teachers’ and students’ perception towards “English for Work” textbook in the Second Semester of 2011 Academic Year.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

Method Participants

The participants in this study were divided into two groups: The first group comprised eight Thai

Table 1 Teachers’ Demographics Pseudonym

Gender

Age

1. Somsri 2. Somying

Female Female

64 40

3. Somjit 4. Somjai

Female Female

35 37

5. Somporn 6. Somrak

Female Female

50 33

7. Somchai

Male

32

Female

35

8. Somkamol

teachers who were teaching GE1003 English for Communication II and used the “English for Work” as a classroom textbook. Teachers’ demographics are shown in Table 1. Education background

Master of Education (TESOL) − Master of Science in Administration − Certificate in 120-hour Teaching English as a foreign language (TEFL) Program Master of Education in TEFL Master of Arts in Language and Communication Master of Arts in TEFL Master of Arts in Communication Arts (Speech) Master of Arts in Language for Communication and Development Master of Education (TESOL)

The second group was 259 first-year students enrolled in the GE1003 course in the second semester of 2011 academic year and completed the ACTFL textbook evaluation forms (Appendix A). In regard to the internship system, a convenience sampling strategy was employed in selecting interview samples (Dornyei, 2007) to explore significant issues. Seventeen students from different faculties were individually interviewed. The details are as followed: - 4 students from Faculty of Liberal Arts majoring in Business Chinese

139

Teaching experience 35 years 13 years

13 years 1 year 20 years 7 years 7 years 6 years

- 3 students from the Faculty of Engineering and Technology, majoring in Industrial Engineering - 2 students from the Faculty of Engineering and Technology, majoring in Information Technology - 2 students from the Faculty of Management Science, majoring in Building and Facilities Management - 2 students from the Faculty of Business Administration, majoring in Food Business Management - 4 students from the Faculty of Business

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


140

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Administration, majoring in Retail Business Management

Material

The textbook of GE1003 English for Communication II (English for work) was used as the teaching material in this study.

Instruments

The following instruments were employed in this study: Interview sessions consisted of teachers’ group interview and students’ individual interview. Individual interview questions were developed and edited based on Lawrence Wong’s checklist (Lawrence, 2011) for in-depth interviews with both co-teachers and students. As aforementioned, this textbook was developed based on the following ideology: learnercentered, social reconstruction, cultural pluralism, situational, functional-notional, skillbased, topic-base and task-based syllabus. Therefore, the in-depth interview questions were designed to ask co-teachers and students with the purpose to collect co-teachers’ and students’ comments and recommendations for textbook modification. In addition, those interview questions were also adapted to relate to the American Council on the Teaching of Foreign Languages (ACTFL) standard. Some questions were also added in order to encourage students to give more comments.

Data Collection

At the end of the course, the group interview was organized. There were eleven

people participating: Dean of Liberal Arts, Head of General Education, eight co-teachers and the researcher. The Dean acted as a chairperson opening the group interview with general topics about the atmosphere of teaching and learning of the former semester. The Dean also encouraged eight co-teachers to discuss any problems encountered in using the books in their classes. Afterwards, eight co-teachers were requested to express their comments on the textbook. The researcher acted as an observer. However, some co-teachers asked the researcher to clarify some issues; for example, Pam wondered why business emails were presented in unit 4. As the reinforcement, other teachers took part in answering the question while the researcher served merely as an observer. The group interview data will be discussed in the section on data analysis. Likewise, a set of semi-structured interview questions was employed to collect data on students’ opinions. A convenience sampling strategy was employed in selecting interview samples (Dörnyei, 2007). The results of the student interviews will be discussed in the section on data analysis.

Data Analysis Teacher group interviews

The data from teacher group interview were transcribed, then the coding process based on Miles & Huberman (1994) and Saldana (2009) was employed to analyze the data. The 5 C’s dimensions in the ACTFL form (Appendix A) were used to assign categories, whereas the seven curricular components and other features were considered as sub-categories. However, some

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

interview data were outside the scope of the 5 C’s. Therefore, the sixth C category, called Cachet, was assigned in order to cover these components. Code lists of teacher comments are shown in Appendix B.

Student individual interviews

Similarly, the data from student interviews were transcribed and translated from Thai to English, then the coding process based on Miles and Huberman (1994) and Saldana (2009) was employed to analyze the data. The 5 C’s dimensions in the ACTFL form were used to assign categories, whereas the seven curricular components and other features were considered as sub-categories. However, some components are not relevant to the 5 C’s. Therefore, the sixth C category was assigned in order to cover those components. Code lists of students’ comments are shown in Appendix C. As mentioned elsewhere, the teacher group interviews and the individual student interviews were conducted to answer the research questions as follows: • What are teachers’ perceptions towards using an in-housed EFL textbook? • What are students’ perceptions towards using an in-housed EFL textbook? The results of the teacher group interview and the individual student interviews were analyzed based on the 5 C’s dimensions of the ACTFL standards. The 5 C’s dimensions were used to assign categories whereas the seven curricular components and other features were considered as sub-categories. In doing so, some components are not relevant to the 5 C’s. Therefore, the sixth C category was assigned in order to cover those components.

141

Results and Discussion

These interview results will be reported based on the coding process as follows:

Communication-Language Systems (C1-S1)

According to teacher responses, it could be concluded that there was sufficient oral and written practice of the grammar concepts leading from controlled to meaningful and then to communicative use of the language. However, some teachers reflected that some grammatical structures were to too difficult and should be simplified to match students’ level. In contrast, students reported that the contents in this textbook were not too difficult. However, they admitted that if the students did not have a good basic knowledge of English, the textbook might be too difficult for them. Interestingly, some students expressed notable views. They aimed for a higher level of difficulty in lessons in the book content because they saw the benefit of expanding their knowledge required in their future careers. In conclusion, the difficulty levels of the grammar points in the textbook should be reconsidered to fit university student needs. Teachers may need to decide whether the grammar presented in the book should be at their students’ level or somewhat higher as befitting their own students’ proficiency levels.

Communication-Communication Strategies (C1-S2) From the teachers’ views, it could be concluded that there were some conversation models that were too long and were not levelappropriate. These comments should be taken into account during the textbook revision.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


142

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

On the other hand, students thought that the textbook provided appropriate activities which moved from controlled to transitional to communicative nature. However, it should be revised in terms of the balance between oral and written activities.

Cultures-Culture Knowledge (C2-S3)

Referring to the cultures-culture knowledge element, there were no negative comments on the cultural aspects. Teachers and students agreed that the textbook slightly promoted cross cultural awareness in business communication. Nevertheless, some students pointed out that they would like to learn about various cultures in each lesson.

Connections-Content from Other Subject Areas (C3-S5)

Even though the teachers mentioned that students were encouraged to use the target language in conjunction with other subject areas, some exercises and tasks were too difficult for them, e.g. climate change. On the contrary, students thought that they gained new knowledge of climate change and learned new vocabulary at the same time.

Connections-Critical Thinking Skills (C3-S6)

In the unit on ‘the Meeting’, students were assigned tasks to promote their critical thinking skills. They worked in groups of 4-5 to conduct meetings to find solutions on how to deal with climate change. For this activity, the teachers perceived that these activities were too difficult for students. Surprisingly, students thought that it was fruitful

for them in terms of learning new vocabulary, obtaining knowledge about global warming situations as well as practicing their thinking skills. In addition, they commented that the textbook should add topics related to technology as one said, “nowadays electronic medias: Facebook and websites play an important role in our lives. Moreover, modern businesses also run online …”. Comparisons (C4) On the topic of “Comparisons” dimension, teachers and students agreed that students had various opportunities to compare their own culture with the target culture. Communities (C5) With regard to “Communities”, the teachers and the students agreed that the textbook presented examples of how students can use their English skills in the future beyond the school experience.

Cachet-Learning Strategies (C6-S4)

In this category, it can be summarized that nearly all of the teachers and the students liked songs and movies with useful phrases related to the conversations in each particular unit. Nevertheless, only specific lyrics or scenes related to the lessons should be focused on to fit class time. However, some students needed other supplementary materials, i.e. images, glossary, jokes, stories and proverbs as learning tools.

Cachet-Technology (C6-S7)

As previously mentioned, teachers agreed that textbook had videos that were integrated with the content. Furthermore, one teacher

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

gave a comment on the textbook’s promotion of Internet activities, “I thought that the activities in the textbook suggested engaging in worthwhile Internet activities. For example, the Unit 5 tasks demonstrated how to make an on-line reservation.” It can be concluded that teachers agreed that the textbook had videos related to the content which encouraged students to conduct Internet research activities. The students’ view conformed to their teachers’ perceptions. Those students reported that it would be better if the textbook provided supplementary materials, e.g., videos related to particular conversations with English subtitles.

Cachet-Other features-Internal Layout (C6-S8.1) As for the internal layout, all of the teachers commented that the student’s textbook should be produced by a publishing house to make it attractive to learning. With regard to “Internal Layout” element, students did not comment much on this point. The following two categories: classroom practice and test elements are for the teachers’ part only.

Cachet-Classroom Practice (C6-S8.2)

Regarding to classroom practice, the teachers also commented the textbook could be easily adapted to fit different teaching situations or schedule configurations. Also, they thought that the textbook was appropriate to a small-sized class.

143

Cachet-Test Elements (C6-S8.3)

The teachers pointed out that the textbook was developed in line with the course syllabus designed to utilize alternative tests to assess speaking skills such as introducing, telephoning and meetings. In addition, project-based activities at the end of the course were also selected to assess student performance and progress over the semester.

Recommendations

Conducting this study greatly enhanced my research skills and material development knowhow. I would, therefore, like to recommend all teachers engage in both developing their own teaching materials as well as in conducting materials evaluation. In addition, several interesting implications have arisen from this study. As mentioned above, the research results reveal the strengths and weaknesses of the textbook. The lack of video presentation of conversation models should be developed for the purpose of supporting students’ different learning strategies. In addition, the textbook developer should consider the level of difficulty in term of vocabulary and content. Moreover, the activities should foster thinking skill development and include a variety of activities to suit students’ ability and learning styles. Another vital element is that task-based activities should be taken into consideration when teaching materials are made to promote student engagement and confidence as well (Wichitwarit, 2014).

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


144

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

References

Brinton, D. (2003). Content-based Instruction. In Nunan, D. (Ed.) Practical English language teaching. New York: McGrawHill. Dörnyei, Z. (2007). Research methods in applied linguistics: Quantitative, qualitative and mixed methodologies. Oxford: Oxford University Press. Fromkin, V. & Rodman, R. (1998). An Introduction to Language. (6th ed.). Florida: Harcourt Brace College Publisher. Huang, W. J. & Shih, Y. (2009). An Evaluation of Junior High School English Textbooks in Taiwan. Fu Jen Studies: literature & linguistics, (42), 115. Krashen, S. D. (1982). Principles and Practice in Second Language Acquisition. Retrieved April 20, 2011, from sdkrashen.com/Principles_and_Practice/Principles_and_ Practice.pdf Lawrence, W. (2011). Textbook Evaluation: A Framework for Evaluating the Fitness of the Hong Kong New Secondary School (NSS) Curriculum. Unpublished master’s degree. City University of Hong Kong, Hong Kong. McDonough, J. & Shaw, C. (2003). Materials and Methods in ELT, (2nd ed.). Victoria: Blackwell Publishing. Miles, M. B. & Huberman, A. M. (1994). Qualitative Data Analysis: an Expanded Sourcebook, (2nd ed.). Thousand Oaks: SAGE Publications, Inc. Saldana, J. (2009). The Coding Manual for Qualitative Researchers. New Delhi: SAGE Publications India Pvt. Ltd. Textbook Evaluation Instrument Based on the ACTFL Standards. (n.d.). Retrieved September 5, 2011, from http://documentsearch.org/pdf/actfl-textbook-evaluation-form.html Tomlinson, B. & Masuhar H. (2004). Developing Language Course Materials. Singapore: SEAMEO Regional Language Center. Tomlinson, B. & Masuhar H. (2010). Research for Materials Development in Language Learning: Evidence for Best Practice. Chennai: Replika Press Pvt. Ltd. Wichitwarit, N. (2014). Essential elements contributing to the success of task-based implementation in an English classroom. Panyapiwat Journal, (5), 47-62.

APPENDIX A

Textbook Evaluation Instrument Based on the ACTFL Standards EVALUATING ACCORDING TO THE 5 C’S Communication (Section total: 20 points) 1. Are students introduced to essential vocabulary and grammatical structures? (4 points)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

Score


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

EVALUATING ACCORDING TO THE 5 C’S Communication (Section total: 20 points) 2. - Do the activities move from controlled to transitional to communicative? - Is there a balance between listening, speaking, reading, and writing? (4 points) 3. Are there a variety of meaningful activities that provide opportunities for individual, paired, cooperative learning, and information gap activities? (4 points) 4. Are the activities set in an age-appropriate context and are they level-appropriate? (4 points) 5. Is there a spiraling presentation of concepts that builds in a perpetual review of vocabulary and grammar concepts? (4 points) Cultures (Section total: 10 points) 1. Are there wide varieties of authentic, up-to-date visual images of the target culture? (2 points) 2. Is the cultural information age-appropriate to stimulate interest? (2 points) 3. Is a broad range and diverse representation of countries presented? (2 points) 4. Does the teaching of the target culture incorporate the learners exploring their own culture? (2 points) 5. Are both “Little c” and “Big C” culture represented? (2 points) Connections (Section total: 10 points) 1. Are the students afforded opportunities to utilize the target language in conjunction with other subject areas such as math and science? (5 points) 2. Are there themes that encourage cross-disciplinary projects? (5 points)

145

Score

Comparisons (Section total: 10 points) 1. Are students asked to look at their own native language and compare it linguistically to the target language? (5 points) 2. Are students asked to compare their own culture and make comparisons with the target culture to discover similar and different cultural concepts and patterns? (5 points) Communities (Section total: 10 points) 1. Are students provided with role models or individuals who use foreign languages in their lives for personal interest and enjoyment? (5 points) 2. Are students given examples of ways they can use their foreign language in the future beyond the school experience? (5 points) Subtotal (1) ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


146

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

EVALUATING ACCORDING TO THE SEVEN CURRICULAR COMPONENTS Language Systems (Section total: 5 points) 1. Is the vocabulary functional, thematic authentic, and practical? (1 point) 2. Is the number of vocabulary words manageable? (1 point) 3. Is grammar presented in a logical way? (1 point) 4. Is there sufficient oral and written practice of the grammar concepts that lead from controlled to meaningful to communicative use of the language? (1 point) 5. Is the grammar presented clearly and easy to understand? (1 point) Communication Strategies (Section total: 5 points) 1. Are listening, speaking, reading, writing, and cultural strategies (such as circumlocution, making and verifying hypotheses, making inferences, and predicting) presented and practiced? (5 point) Cultural Knowledge (Section total: 5 points) 1. Is the cultural content accurate and current? (3 points) 2. Are the cultural notes/reading interesting, significant, and appropriate for the age level? (2 points) Learning Strategies (Section total: 5 points) 1. Does the text provide the learners with strategies at point of use to help them be successful listeners, speakers, readers, and writers of the language? (1 point) 2. Are pair and cooperative learning activities plentiful and meaningful? (2 points) 3. Are the multiple intelligence (such as visual, musical, and kinesthetic) utilized so as to support the variety of learner types in the classroom? (2 points) Content from Other Subject Areas (Section total: 5 points) 1. Are there activities/projects in every chapter/unit that engage the students in meaningful activities that cross other disciplines where the students can use their emerging language skills and see the connection with other disciplines? (5 points) Critical Thinking Skills (Section total: 5 points) 1. Are students asked to do more than rote memorization and recall? (2 points) 2. Are the students asked to utilize the higher order thinking skills of analysis, synthesis, and evaluation in every chapter and are expectations reasonable? (3 points) Technology (Section total: 5 points) 1. Does the textbook have listening activities in the student’s edition? (1 point) 2. Does the textbook have a video that is integrated with the text? (1 point) ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

Score


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

EVALUATING ACCORDING TO THE SEVEN CURRICULAR COMPONENTS Technology (Section total: 5 points) 3. Does the textbook have a CD-ROM that provides meaningful and interactive practice? (1 point) 4. Does the textbook have a website? (1 point) 5. Does the textbook suggest engaging, worthwhile Internet activities? (1 point) Other Features (Section total: 5 points) 1. Is the general appearance of the text and accompanying ancillaries attractive and inviting? (1 point) 2. Are the chapters/units well organized and offer easy progression? (1 point) 3. Is the teacher’s edition well organized with practical teaching suggestions at the point of need? (1 point) 4. Is the program easily adaptable to fit different teaching situation or schedule configurations? (1 point) 5. Does the testing program assess all four skills plus culture? Does it offer native speaker exams, scantron, multiple forms of exams, and portfolio (1 point) Subtotal (2) Total (1+2) Source: http://documentsearch.org/pdf/actfl-textbook-evaluation-form.html.

147

Score

Appendix B

A category and code list of Teachers’ comments in group interview Code of subCategory Description categories

Communication Cultures Connections Comparisons Communities Cachet

T-C1-S1 T-C1-S2 T-C2-S3 T-C3-S5 T-C3-S6 T-C4 T-C5 T-C6-S4 T-C6-S7 T-C6-S8.1

Communication-Language Systems Communication-Communication Strategies Cultures-Culture Knowledge Connections-Content from Other Subject Areas Connections-Critical Thinking Skills Comparisons Communities Cachet-Learning Strategies Cachet-Technology Cachet-Other Features-Internal Layout

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


148

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Category

Cachet

Code of subcategories

T-C6-S8.2 T-C6-S8.3

Description

Cachet-Classroom Practice (Difficulty, Approaches, Supplementation) Cachet-Testing Elements

Appendix C

A category and code list of students’ comments in individual interviews Category Communication Cultures Connections Comparisons Communities Cachet

Code of subcategories S-C1-S1 S-C1-S2 S-C2-S3 S-C3-S5 S-C3-S6 S-C4 S-C5 S-C6-S4 S-C6-S7 S-C6-S8.1

Description Communication-Language Systems Communication-Communication Strategies Cultures-Culture Knowledge Connections-Content from Other Subject Areas Connections-Critical Thinking Skills Comparisons Communities Cachet-Learning Strategies Cachet-Technology Cachet-Other Features-Internal Layout

Apisara Sritulanon received her Bachelor’s Degree in Accounting, majoring in Finance, from the University of the Thai Chamber of Commerce in 1985. In 1991, she obtained her first Master’s Degree, majoring in Business Communication and Management, from the University of the Thai Chamber of Commerce. In addition, she graduated with another MA program in Teaching English as a Foreign Language, from Thammasat University in 2007. She is currently a full- time lecturer in the Faculty of Liberal Arts, Panyapiwat Institute of Management. Presently, she is a PhD candidate in English Language Teaching program, Language Institute of Thammasat University.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

149

การพั ฒ นาทั ก ษะการสื่ อ สารภาษาจี น ด้ ว ยวิ ธี ต อบสนองด้ ว ย ท่าทาง TPR ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดคูยาง ส�ำนักงานพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาก�ำแพงเพชร เขต 1 THE COMMUNICATIVE APPROACH FOR LEARNING CHINESE WITH THE TOTAL PHYSICAL RESPONSE (TPR) METHOD FOR THE GRADE 4 STUDENTS OF WAY KHU-YANG, KAMPHENG PHET PRIMARY EDUCATION AREA OFFICE 1 อดิเรก นวลศรี1 Adirek Nuansri1 บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เปรียบเทียบทักษะการสื่อสารภาษาจีนของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 โรงเรียนวัดคูยาง ส�ำนักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาก�ำแพงเพชร เขต1 (สพป.กพ 1) ก่อนและหลังเรียนด้วย การเรียนรู้ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร โดยวิธีตอบสนองด้วยท่าทาง TPR และ 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดคูยาง สพป.กพ 1 ที่มีต่อการเรียนรู้ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ด้วยวิธีตอบสนองด้วย ท่าทาง TPR ประชากรที่ใช้ในวิจัย เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดคูยาง สพป.กพ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2556 จ�ำนวน 6 ห้องเรียน จ�ำนวนนักเรียน 245 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนวัดคูยาง สพป.กพ 1 จ�ำนวน 42 คน กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การเรียนรู้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ด้วยวิธีตอบสนองด้วยท่าทาง TPR แบบวัด ทักษะการสื่อสารภาษาจีน ด้านการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน จ�ำนวน 40 ข้อ แบบสอบถามความพึงพอใจ ของนักเรียนต่อการเรียนโดยใช้การเรียนรู้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ด้วยวิธีตอบสนองด้วยท่าทาง TPR เป็นแบบประมาณ ค่า 3 ระดับ จ�ำนวน 10 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ( X¯ ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยเมื่อเปรียบเทียบระหว่างคะแนนก่อนและหลังเรียน พบว่า ทักษะการสื่อสารภาษาจีนของนักเรียน หลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเมื่อจ�ำแนกรายทักษะ คือ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน พบว่า ทุกทักษะมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อ กระบวนการเรียนรู้ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ด้วยวิธีตอบสนองด้วยท่าทาง TPR โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค�ำส�ำคัญ: ทักษะการสื่อสาร การสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร วิธีสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง TPR

Abstract

The present study aims for examining the Chinese communication skills of the Grade 4 students in Wat Khu Yang School, Kamphaeng Phet Primary Education Area Office 1, before and 1

อาจารย์ประจ�ำสาขาการสอนภาษาจีน คณะศึกษาศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์, Lecturer, Faculty of Education, Panyapiwat Institute of Management, E-mail: aj.nott.pim@gmail.com ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


150

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

after learning Chinese with the communicative approach (total physical response or TPR), and evaluating the students’ satisfaction towards the communicative approach, TPR. The population included six classrooms of 245 Grade 4 students in Wat Khu Yang School, Kamphaeng Phet Primary Education Area Office 1 in the first semester in the academic year of 2014. The samples were 42 Grade 4 students in Room No. 4/1 of Wat Khu Yang School, Kamphaeng Phet Primary Education Area Office 1. The cluster random sampling method was used. Research instruments included the learning plans with TPR, 40-item achievement test for learning Chinese communication skills (listening, speaking, reading and writing skills), and 10 rating scale item questionnaire surveying student satisfaction towards the Chinese teaching procedure with TPR. Mean ( X¯ ), standard deviation (S.D.) and t-test were used for analyzing data. The findings demonstrate that the average scores of the Grade 4 students’ Chinese communication skills (listening, speaking, reading and writing skills) before and after learning the subject were 7.93 and 31.10, respectively. By comparing the scores in the pre- and post-tests, it shows that the scores in the post-test were significantly higher than that in the pre-test at the significance level of .05. Regarding listening, speaking, reading and writing skills, the scores for all skills in the post-test were higher than that in the pre-test. The students were satisfied with the Chinese teaching procedure with TPR. In overall terms, the satisfaction was high. Keywords: communication skills, communicative approach, total physical response

บทน�ำ

ภาษาจีนเป็นภาษาต่างประเทศอีกภาษาหนึ่งที่ได้ รับความนิยมเพิม่ ขึน้ อย่างมาก เนือ่ งจากปัจจุบนั ประเทศ จีนมีบทบาทส�ำคัญมากในด้านการค้าและเศรษฐกิจอีก ทัง้ ยังมีการร่วมลงทุนในธุรกิจต่างๆ ระหว่างไทยและจีน เพิม่ มากขึน้ เรือ่ ยๆ ประกอบกับความสัมพันธ์ทางการทูต ที่ดีของทั้งสองประเทศ จึงเกิดความร่วมมือกันในด้าน การศึกษาอย่างต่อเนื่องด้วยดีเสมอมา (ศูนย์ข้อมูลเพื่อ ธุรกิจไทยจีน, 2557) กระทรวงศึกษาธิการได้บรรจุภาษา จีนไว้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศที่ผู้เรียน สามารถเลือกเรียนรูไ้ ด้ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ซึ่งสถานศึกษาที่มีความ พร้อมในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนสามารถเปิด หลักสูตรในรูปแบบต่างๆ ได้และผู้เรียนที่มีความสนใจก็ สามารถที่จะเลือกเรียนในหลักสูตรนั้นๆ ได้ตามความ สนใจ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) ซึง่ ส่งผลให้โรงเรียน ที่สอนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษามีการเปิด สอนวิชาภาษาจีนกันอย่างกว้างขวาง แต่สภาพการเรียน

การสอนภาษาจีนในทุกระดับการศึกษาของประเทศไทย ยังมีปญ ั หาอยูม่ าก เช่นปัญหาการขาดครูทจี่ บการศึกษา ปริญญาตรีในสาขาภาษาจีน หรือ สาขาการสอนภาษา จีนโดยตรง ปัญหาจากการเรียนการสอนภาษาจีนที่ยัง ไม่ได้มาตรฐานของโรงเรียนในพื้นที่ต่างๆ เนื่องจากยัง ไม่มกี ารก�ำหนดมาตรฐานกลางของการจัดการเรียนการ สอน ประกอบกับเอกสารต�ำราเรียนทีใ่ ช้กนั อยูใ่ นปัจจุบนั ก็มีความหลากหลาย อันส่งผลให้เกิดรูปแบวิธีการสอน และเนื้อหาที่หลากหลายด้วย มีการจัดการเรียนการสอน ในลักษณะต่างคนต่างท�ำ ซึง่ ส่งผลโดยตรงต่อผลสัมฤทธิ์ และทั ก ษะทางภาษาของนั ก เรี ย นที่ เ รี ย นภาษาจี น (ประพิณ มโนมัยพิบูลย์, 2548) นอกจากนี้งานวิจัย การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ยังแสดงว่า มีประวัติการจัดการเรียนการสอนอย่างยาวนาน แต่ยัง พบปัญหาต่างๆ หลายประการซึ่งส่วนหนึ่งของปัญหา ที่พบคือ ประสิทธิผลการเรียนต�่ำ ผู้เรียนจ�ำนวนมากไม่ สามารถน�ำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และแบบเรียนที่ใช้ในประเทศไทยขาดความเหมาะสม

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

แบบเรียนที่นิยมใช้ไม่ว่าจะเป็นการเรียนการสอนใน ระบบหรื อ นอกระบบ มี ก ารใช้ แ บบเรี ย นที่ ผ ลิ ต จาก ประเทศจีนเสียเป็นส่วนใหญ่ ตลอดจนวิธีการสอนไม่ สามารถตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ครูผู้สอน ขาดเทคนิ ค การสอน ที่ จ ะดึ ง ดู ด ให้ ผู ้ เรี ย นตั้ ง ใจและ สนใจเรียนภาษาจีน (สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2551) จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยได้วิเคราะห์องค์ ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการสอนที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ ภาษาจีนของนักเรียนไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ก�ำหนด ไว้ พบว่า สาเหตุส�ำคัญที่ท�ำให้นักเรียนเรียนภาษาจีนไม่ ได้ผลดีเท่าทีค่ วร เนือ่ งจากครูผสู้ อนจัดกิจกรรมการเรียน การสอนไม่หลากหลาย ไม่สอดคล้องกับศักยภาพของ ผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสอนทักษะการอ่านที่ยึด รูปแบบเดิม โดยครูเสนอเนื้อหา ใบงาน อธิบายแล้วให้ นั ก เรี ย นท� ำ แบบฝึ ก หั ด นั ก เรี ย นมี ส ่ ว นร่ ว มในการ ประกอบกิจกรรมน้อย นักเรียนเกิดความเบื่อหน่าย ขาดความกระตือรือร้นในการเรียน ไม่เห็นความส�ำคัญ ของการเรียนภาษาจีน จึงส่งผลทักษะทางภาษาจีนของ นักเรียนต�่ำกว่าเกณฑ์ที่โรงเรียนก�ำหนดทุกปีการศึกษา จากสภาพและสาเหตุของปัญหาดังกล่าว หากไม่ได้รับ การปรับปรุงหรือแก้ไขตามความส�ำคัญแล้ว จะส่งผล กระทบต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในปีการศึกษา ต่อๆ ไป ดังนั้นในการจัดการเรียนรู้ภาษาจีน ซึ่งเป็นภาษาที่ สองนัน้ วิธกี ารสอนทีเ่ หมาะสมส�ำหรับน�ำมาใช้กบั ผูเ้ รียน ที่เรียนภาษาที่สองเพราะผู้เรียนได้มีการรับรู้ค�ำศัพท์ที่ ผ่ า นการใช้ ป ระโยคค� ำ สั่ ง ต่ า งๆ ท� ำ ให้ เ กิ ด การสร้ า ง บรรยากาศที่ดีในการเรียนรู้ คือ การจัดการเรียนรู้แบบ ทีพีอาร์ มาจาก Total Physical Response หรือเรียก ย่อๆ ว่า TPR ทีพีอาร์ (Asher, 1986: 2) ซึ่งสุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ (2553) ได้ให้ความหมายวิธีการ สอนแบบทีพีอาร์โดยใช้การ “ฟัง” ค�ำสั่ง และ “ปฏิบัติ” ตามด้วยการออกท่าทาง พูดให้ง่าย คือ การสอนด้วย ค�ำสัง่ และตอบสนองด้วยท่าทาง การสอนแบบ TPR เป็น

151

วิ ธี ก ารสอนที่ ผู ้ เรี ย นเริ่ ม ต้ น ด้ ว ยการฟั ง และเข้ า ใจ ความหมายของค�ำศัพท์หรือประโยคจาการแสดงท่าทาง ของผูส้ อน และสือ่ ทีเ่ ป็นสิง่ ของหรือรูปภาพ (มณี, 2553) หัวใจส�ำคัญของทีพีอาร์ คือ ผู้เรียนฟังค�ำสั่งหรือค�ำพูด จากผู้สอน แล้วท�ำท่าทางตามผู้สอนโดยไม่จ�ำเป็นต้อง พูด ผู้เรียนจะเข้าใจความหมายของค�ำสั่งนั้นจากท่าทาง ที่ผู้สอนแสดงให้ดู ซึ่งการสอนดังกล่าวยังเกิดขึ้นพร้อม กับการฝึกซ�ำ้ ๆ (Drill teaching method) เพือ่ ให้ผเู้ รียน เกิดความเข้าใจและสามารถปฏิบัติได้ โดยกระบวนการ ถ่ายทอดและการปฏิบัติซ�้ำๆ ของผู้สอนจะท�ำให้ผู้เรียน เกิดการจดจ�ำตามศักยภาพ Asher (1979) ได้กล่าวไว้วา่ การสอนแบบ TPR เป็ น การสอนที่ เ ป็ น ธรรมชาติ และเหมาะสมอย่างยิ่งต่อผู้เรียนที่เริ่มต้นเรียนภาษา ต่างประเทศ และควรมีสื่อเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความคงทน ในการจดจ�ำ (Mattisson, 2010) เพราะความสามารถ ในการจ� ำ เป็ น พื้ น ฐานที่ ส� ำ คั ญ ในการเรี ย นรู ้ ภ าษา ต่ า งประเทศ นอกจากนี้ ก ารสอนภาษาควรพั ฒ นา ผู้เรียนให้สามารถใช้ทักษะทางภาษาคือ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนเพือ่ การสือ่ สารได้จริง การจัดการ เรียนการรูใ้ ห้ผเู้ รียนได้รบั การฝึกฝนความรู้ รูปแบบภาษา ที่เรียน จะใช้ได้ในสถานการณ์ที่มีความหมายต้องให้ ผู้เรียนรู้ว่าก�ำลังท�ำอะไร เพื่ออะไร ผู้สอนต้องบอกให้ ผูเ้ รียนภาษาทราบถึงความมุง่ หมายของการเรียน การฝึก การใช้ภาษา เพือ่ ให้การเรียนภาษาเป็นสิง่ ทีม่ คี วามหมาย ต่อผู้เรียน ให้ผู้เรียนรู้สึกว่าเมื่อเรียนแล้วสามารถท�ำ บางสิ่งบางอย่างได้เพิ่มขึ้น สามารถสื่อสารได้ตามที่ตน ต้องการ ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาถึงคุณภาพของการเรียน การสอนภาษาจีนและเพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการ จัดการเรียนรู้ภาษาจีน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้การ สอนภาษาเพือ่ การสือ่ สารในด้านการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน และน�ำเทคนิค TPR (Total Physical Response) ซึ่งเหมาะส�ำหรับผู้เริ่มต้นเรียนภาษาที่สอง มาจัดเป็นกระบวนการเรียนรู้ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ด้วยวิธีตอบสนองด้วยท่าทาง TPR (Total Physical Response) ของนั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 4

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


152

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

โรงเรียนวัดคูยาง ส�ำนักงานพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา ก�ำแพงเพชร เขต 1 เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาจีน ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 ให้ตรงตามเป้าหมาย ในการจะพั ฒ นาการจั ด การเรี ย นรู ้ ภ าษาจี น เพื่ อ การ สื่อสารส�ำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาต่อไป

วัตถุประสงค์การวิจัย

1. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการสื่อสารภาษาจีนของ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 4 โรงเรี ย นวั ด คู ย าง ส�ำนักงานพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาก�ำแพงเพชร เขต 1 ก่อนและหลังเรียนจากการใช้การเรียนรู้ภาษาจีนเพื่อ การสือ่ สาร (Communicative Approach) ด้วยวิธตี อบ สนองด้วยท่าทาง TPR (Total Physical Response) 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดคูยาง ส�ำนักงานพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาก�ำแพงเพชร เขต 1 ต่อการเรียนรูภ้ าษาจีน เพื่อการสื่อสาร ด้วยวิธีตอบสนองด้วยท่าทาง TPR (Total Physical Response)

วิธีด�ำเนินการวิจัย

ประชากร นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดคูยาง ส�ำนักงานพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาก�ำแพงเพชร เขต 1 จ�ำนวน 6 ห้องเรียน จ�ำนวนนักเรียน 245 คน กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดคูยาง ส�ำนักงานพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาก�ำแพงเพชร เขต 1 จ�ำนวน 1 ห้องเรียน จ�ำนวนนักเรียน 42 คน ได้มาโดย การสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นีเ้ ป็นเครือ่ งมือทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึ้นประกอบด้วย 1. แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การเรียนรู้ภาษา เพือ่ การสือ่ สารด้วยวิธตี อบสนองด้วยท่าทาง TPR (Total Physical Response)

2. แบบวัดทักษะการสื่อสารภาษาจีน ด้านการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน จ�ำนวน 40 ข้อ 3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนต่อการ เรียนโดยใช้การเรียนรู้ภาษาเพื่อการสื่อสารด้วยวิธีตอบ สนองด้วยท่าทาง TPR (Total Physical Response) เป็นแบบประมาณค่า (Rate ting Scale) 5 ระดับ จ�ำนวน 10 ข้อ ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ 1. ศึ ก ษาและวิ เ คราะห์ ป ั ญ หากระบวนการ จัดการเรียนรูภ้ าษาจีนระดับประถมศึกษา ของครูผสู้ อน นักเรียนโรงเรียนวัดคูยางนอก ส�ำนักงานพืน้ ทีก่ ารศึกษา ประถมศึกษาก�ำแพงเพชร เขต1 2. ศึ ก ษาหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษา ต่างประเทศ วิธสี อน กระบวนการเรียนการสอน รูปแบบ การสอนภาษา งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับการสอนภาษาจีน และภาษาต่างประเทศ 3. ออกแบบการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอน ภาษาเพือ่ การสือ่ สาร จากเทคนิคการสอนการตอบสนอง ด้วยท่าทาง TPR (Total Physical Response) 4. น� ำ เสนอผู ้ เชี่ ย วชาญในการประเมิ น การ จั ด การเรี ย นรู ้ ก ารสอนภาษาจี น เพื่ อ การสื่ อ สาร ด้วยวิธีตอบสนองด้วยท่าทาง TPR (Total Physical Response) 5. สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ภาษาจีนเพื่อ การสื่อสาร ด้วยวิธีตอบสนองด้วยท่าทาง TPR (Total Physical Response) จ�ำนวน 20 แผน ระยะเวลา 20 ชั่วโมง 6. น�ำแผนการจัดการเรียนรู้ภาษาจีนเพื่อการ สื่อสาร ด้วยวิธีตอบสนองด้วยท่าทาง TPR (Total Physical Response) จ�ำนวน 20 แผน ระยะเวลา 20 ชั่วโมง และเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ให้ ผู ้ เชี่ ย วชาญตรวจสอบและน� ำ มาปรั บ ปรุ ง แก้ ไข (แบบวัดทักษะการสื่อสารภาษาจีน ด้านการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ อย่างและหาคุณภาพอย่างไร ได้ผลอย่างไรบ้าง)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยด�ำเนินการ ดังนี้ 1. ทดสอบก่อนเรียนโดยใช้แบบทดสอบวัดทักษะ การสื่ อ สารทางภาษาจี น บั น ทึ ก คะแนนที่ ไ ด้ จ ากการ ทดสอบครั้งนี้ เป็นการทดสอบก่อนเรียน 2. ด� ำ เนิ น การจั ด กการเรี ย นรู ้ ภ าษาจี น เพื่ อ การ สื่ อ สารด้ ว ยวิ ธี ต อบสนองด้ ว ยท่ า ทาง TPR (Total Physical Response) ตามขั้นตอนในแผนการจัดการ เรียนรู้ จนครบ 20 แผน 3. หลังจากทดลองครบทัง้ 20 แผนการจัดการเรียน รู้แล้ว ผู้วิจัยด�ำเนินการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบวัด ทักษะการสื่อสารทางภาษาจีนซึ่งเป็นชุดเดียวกับการ ทดสอบก่อนเรียนบันทึกคะแนนเป็นคะแนนทดสอบหลัง เรียน 4. ให้นักเรียนตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ด้วยวิธีตอบสนองด้วยท่าทาง TPR (Total Physical Response) ภายหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เสร็จ เรียบร้อย ด้วยแบบสอบถาม ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น

การวิเคราะห์ข้อมูล

ในการวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ผู ้ วิ จั ย ได้ ใช้ โ ปรแกรม คอมพิวเตอร์ส�ำเร็จรูป ดังนี้ 1. ข้อมูลที่รวบรวมได้จากแบบทดสอบก่อนเรียน น�ำมาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานด้วยค่าสถิติ t - test 2. ข้ อ มู ล ที่ ร วบรวมได้ จ ากแบบทดสอบวั ด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนน�ำมาวิเคราะห์หา ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบ สมมุติฐานด้วยค่าสถิติ t - test 3. วิ เ คราะห์ ค วามพึ ง พอใจของนั ก เรี ย นที่ มี ต ่ อ การเรียน โดยหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้เกณฑ์การแปลผล (บุญชม ศรีสะอาด, 2545: 103)

153

ผลการวิจัย

การพั ฒ นาทั ก ษะการสื่ อ สารภาษาจี น ด้ ว ยวิ ธี ตอบสนองด้วยท่าทาง TPR ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษา ปีที่ 4 โรงเรียนวัดคูยาง ส�ำนักงานพืน้ ทีก่ ารศึกษา ประถม ศึกษาก�ำแพงเพชร เขต 1 ได้ผลสรุปการวิจัย ดังต่อไปนี้ 1. การเรี ย นรู ้ ภ าษาจี น เพื่ อ การสื่ อ สารด้ ว ยวิ ธี ตอบสนองด้วยท่าทาง TPR (Total Physical Response) ของนักเรียน ตารางที่ 1 เปรียบเทียบคะแนนทดสอบทักษะการ สือ่ สารภาษาจีน (การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน) ก่อนและหลังเรียนของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4 ทักษะการสื่อสาร ภาษาจีน การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน รวมเฉลี่ย 4 ทักษะ

ก่อนเรียน

หลังเรียน

n

X ¯

X ¯

42 42 42 42

2.00 1.93 1.93 1.64 7.93

S.D. 0.70 0.56 0.64 0.58 2.34

7.55 7.90 7.98 7.67 31.10

S.D. 0.97 0.69 0.68 0.87 2.84

จากตาราง 1 พบว่า การทดสอบทักษะการสื่อสาร ภาษาจีนของนักเรียนโดยภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ยหลัง เรียนสูงกว่าก่อนเรียน และเมือ่ จ�ำแนกรายทักษะ คือ การ ฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน พบว่า ทุกทักษะมี คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 7.93 คะแนน และ 31.10 คะแนน 2. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 โรงเรียนวัดคูยาง ส�ำนักงานพืน้ ทีก่ ารศึกษา ประถม ศึกษาก�ำแพงเพชร เขต 1 ทีม่ ตี อ่ การเรียนรูภ้ าษาจีนเพือ่ การสื่อสาร ด้วยด้วยวิธีตอบสนองด้วยท่าทาง TPR (Total Physical Response) ตารางที่ 2 ค่ า เฉลี่ ย ส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานและ ความหมายของความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อกระบวนการเรียนรู้ภาษาจีนเพื่อ การสื่อสารด้วยวิธีตอบสนองด้วยท่าทาง TPR (Total Physical Response)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


154

ข้อ 1

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

การเรียนด้วยวิธี ตอบสนองด้วย ท่าทางท�ำให้นักเรียน มีส่วนร่วมใน กิจกรรมการเรียน 2 นักเรียนเกิดความ สนใจ กระตือรือร้น และอยากเรียน ภาษาจีน 3 นักเรียนได้ฝึกทักษะ ทางภาษาอย่าง สม�่ำเสมอ 4 การเรียนด้วยวิธีวิธี ตอบสนองด้วย ท่าทางเป็นกิจกรรม ที่ตื่นเต้นเร้าใจ 5 เป็นการเรียนที่ได้ฝึก การสื่อสารฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาจีน ได้ดี 6 เป็นการเรียนที่ท�ำให้ เกิดมิตรภาพในกลุ่ม เพื่ อ นและครู ผู ้ ส อน มากขึ้น 7 นักเรียนมีความมัน่ ใจ ในการสื่อสารภาษา จีน 8 กิ จ กรรมการเรี ย น ท� ำ ให้ นั ก เรี ย นเห็ น คุณค่าในตนเอง 9 ครูใช้เทคนิคการสอน ที่เหมาะสมกับเนื้อหา 10 ครูส่งเสริมให้นักเรียน รู้จักช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน รวมเฉลี่ย

4.26

0.45

ความ หมาย มาก

4.26

0.45

มาก

4.21

0.84

มาก

3.38

0.49

ปาน กลาง

3.43

0.50

ปาน กลาง

3.29

0.46

ปาน กลาง

3.40

0.50

ปาน กลาง

4.05

0.70

มาก

3.36

0.48

3.98

0.72

ปาน กลาง มาก

3.76

0.38

มาก

รายการประเมิน

S.D.

จากตารางที่ 2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มี ความพึงพอใจต่อการเรียนรูภ้ าษาจีนเพือ่ การสือ่ สารด้วย วิธตี อบสนองด้วยท่าทาง TPR (Total Physical Response) โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก มีคา่ เฉลีย่ เท่ากับ 3.76 ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.38 รายการที่นักเรียนมี ความพึงพอใจสูงสุดคือ การเรียนวิธีตอบสนองด้วย ท่าทางท�ำให้นกั เรียนมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการเรียนและ นักเรียนเกิดความสนในกระตือรือร้นและอยากเรียน ภาษาจีน รองลงมาคือนักเรียนได้ฝึกทักษะทางภาษา อย่างสม�่ำเสมอ

อภิปรายผล

จากการด�ำเนินการวิจยั ในครัง้ นี้ มีประเด็นส�ำคัญใน การอภิปรายผล ดังต่อไปนี้ 1. จากผลการวิจยั พบว่าทักษะการสือ่ สารภาษาจีน (การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน) ก่อนเรียนและ หลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีคะแนน เฉลี่ย เท่ากับ 7.93 คะแนน และ 31.10 คะแนน ตาม ล�ำดับ และเมือ่ เปรียบเทียบระหว่างคะแนนก่อนและหลัง เรียน พบว่า คะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 และเมือ่ จ�ำแนกรายทักษะ คือ การฟัง การพูด การอ่าน และการ เขียน พบว่า ทุกทักษะมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียน ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้อาจ เนือ่ งมาจากกระบวนการเรียนรูภ้ าษาจีนเพือ่ การสือ่ สาร (Communicative Approach) ด้วยวิธีตอบสนองด้วย ท่าทาง TPR (Total Physical Response) เป็นวิธีการ สอนการเริ่มต้นในการฝึกพูดของเด็ก ผ่านทางประโยค ค�ำสั่ง ผู้เรียนสามารถเข้าใจผลการรับรู้โดยใช้การตอบ สนอง โดยน�ำค�ำกิรยิ ามาใช้ได้ถกู ต้องในการพูดประกอบ ค�ำสัง่ นัน้ ๆ และผูเ้ รียนจะสามารถใช้ภาษาในการพูดได้ดี จากการฝึกใช้ทีละขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับ ขั้นตอนการจัดกิจกรรมที่เน้นการสาธิตโดยครู เริ่มจาก ครูพดู ค�ำสัง่ หรือค�ำศัพท์กอ่ นแล้วแสดงท่าทางให้นกั เรียน ดู หลังจากนัน้ ให้อาสาสมัครออกมาหน้าชัน้ แสดงท่าทาง ตามค�ำสั่งที่ครูบอกให้นักเรียนในชั้นดู แล้วให้นักเรียน ในชั้ น ท� ำ ท่ า ทางพร้ อ มกั น ซึ่ ง ในการสอนแต่ ล ะครั้ ง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

ใช้ค�ำศัพท์ใหม่ 3 ค�ำ และการท�ำซ�้ำๆ จะท�ำให้ผู้เรียนจ�ำ ได้ ถ้าผู้เรียนยังจ�ำไม่ได้อาจต้องท�ำให้ดูมากกว่า 3 ครั้ง ก็ได้ นอกจากนี้ยังเน้นความเข้าใจมากกว่าการจ�ำ ให้ นักเรียนเข้าใจความหมายของค�ำสั่งนั้นๆ จากท่าทาง โดยไม่ ต ้ อ งแปลเป็ น ภาษาที่ ผู ้ เรี ย นรู ้ ดี อ ยู ่ แ ล้ ว ซึ่ ง สอดคล้องกับผลงานวิจัยของศิริวรรณ มาลัย (2549) ได้ศึกษาเปรียบเทียบความสามารถในการฟัง-พูดและ ความเชื่ อ มั่ น ในตนเองต่ อ การใช้ ภ าษาอั ง กฤษของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยวิธีการสอนแบบ TPR (Total Physical Response) ประกอบสือ่ ในชีวติ ประจ�ำ วันกับการสอนตามคู่มือครูผลการวิจัย พบว่า รูปแบบ การสอนแบบตอบสนองด้ ว ยท่ า ทางสามารถท� ำ ให้ นักเรียนมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนรู้ วิชาภาษาอังกฤษใน ระดับสูง และมีความคงทนในการเรียนรู้ นอกจากนี้ยัง ช่วยให้นักเรียนมีความเชื่อมั่น กล้าแสดงออกในการใช้ ภาษาอังกฤษและมีเจตคติที่ดีในการเรียนรู้ภาษา รวมถึ ง สอดคล้ อ งกั บ ผลงานวิ จั ย ของ อรอนงค์ นิมาชัยกุล (2553) โดยศึกษาการใช้เทคนิค TPR (Total Physical Response) พัฒนาการเรียนรูประโยคภาษา ฝรั่งเศสของนักศึกษาระดับ ปวส.พ.2 แผนกการจัดการ ธุรกิจ ทองเที่ยว ด้วยชุดกิจกรรมแบบ TPR ผลการวิจัย พบว่าผู้เรียนร้อยละ 100 มีการพัฒนาการเรียนรู้ทาง ภาษาฝรั่งเศสได้ดีขึ้น อีกทัง้ ยังสอดคล้องกับการวิจยั ของ Sariyati (2012) เรื่อง The effectiveness of TPR (Total Physical Response) method in English Vocabulary Master of Elementary School Children โดยผู้ท�ำการวิจัย ได้ใช้กลุม่ ทดลอง คือ นักเรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 และควบคุมการสอนด้วยวิธีการแบบเดิม โดยผลการ ศึกษาพบว่า ความสามารถของนักเรียนในกลุ่มทดลอง หลังเรียนด้วยวิธีการสอนแบบ TPR นั้นสูงขึ้นกว่าก่อน เรียนอย่างมีค่านัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีความพึงพอใจ ต่ อ กระบวนการเรี ย นรู ้ ภ าษาจี น เพื่ อ การสื่ อ สาร (Communicative Approach) ด้วยวิธีตอบสนองด้วย ท่าทาง TPR (Total Physical Response) โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.76 ส่วนเบี่ยงเบน

155

มาตรฐานเท่ากับ 0.38 ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการจัด กิจกรรมการเรียนรูเ้ ป็นการเรียนรูแ้ ละฝึกทักษะจากสิง่ ที่ ง่ายไปหายาก สิ่งที่เป็นรูปธรรมไปสู่นามธรรม นักเรียน ยังได้ฝึกทักษะการสื่อสารภาษาจีนที่หลากหลาย มีการ เสริมแรงจากครูผสู้ อนทุกครัง้ ท�ำให้นกั เรียนมีความมัน่ ใจ และกล้าแสดงออกในการพูดหรือแสดงท่าทางประกอบกับ การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนทุ ก ครั้ ง ครู มี ก าร ทบทวนค�ำศัพท์ที่เรียนมาแล้วทุกครั้งและทบทวนค�ำ ศัพท์ที่นักเรียนยังจ�ำไม่ค่อยได้ คือท�ำผิดบ่อยๆ อยู่เสมอ จึงท�ำให้นกั เรียนมีความเข้าใจและมีความสุขกับการเรียน ดังจะเห็นได้จากการทีน่ กั เรียนมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการ เรียนการสอนในทุกขัน้ ตอน ซึง่ สอดคล้องกับงานวิจยั ของ สมโภชน์ ธรรมแสง (2546) ได้ ศึ ก ษาการพั ฒ นา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาภาษาอังกฤษส�ำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การสอนแบบตอบสนอง ด้วยท่าทางผลการวิจัยพบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 2 ที่ได้รับการสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทางมี พฤติ ก รรมด้ า นเจตคติ ที่ ดี ใ นการเรี ย นทั้ ง ด้ า นความ กระตื อ รื อ ร้ น ความสนใจในการเรี ย นความเชื่ อ มั่ น และกล้าแสดงออกความสนุกสนาน โดยรวมคิดเป็น ร้อยละ 90.16 นักเรียนทุกคนมีความคิดเห็นว่าชอบวิชา ภาษาอังกฤษ การสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง เป็น กิจกรรมที่สนุกสนานช่วยให้นักเรียนเข้าใจความหมาย และช่วยให้จดจ�ำความหมายได้ดี ช่วยให้นกั เรียนกล้าพูด ภาษาอังกฤษมากขึน้ นักเรียนร้อยละ 95 มีความคิดเห็น ว่าได้ท�ำกิจกรรมกลุ่มร่วมกับเพื่อนด้วยความสนุกสนาน การพูดภาษาอังกฤษเป็นจังหวะและแสดงท่าทาง ช่วย ให้พูดภาษาอังกฤษได้ดี และเกศินี วัชรเสถียร (2542) ได้ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษา อังกฤษโดยใช้รปู แบบการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรูแ้ ละ สอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง ส�ำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่ได้รับ การสอนโดยใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ และการสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง ที่พัฒนาโดย ใช้กระบวนการของการวิจัยเชิงปฏิบัติการมีทักษะทาง สังคมสูงขึ้น ในด้านมีระเบียบวินัย ความสามัคคี ความ รับผิดชอบ ต่อตนเองและต่อกลุม่ การตระหนักถึงคุณค่า

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


156

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ของตนเอง มีความเชื่อมั่นในตนเอง และกล้าแสดงออก ในการใช้ภาษาอังกฤษ และปริศนา บุตรจันทร์ (2556) ได้ท�ำการศึกษาพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้การ เรียนการสอนภาษาอังกฤษโรงเรียนบ้านขุนค�ำ อ�ำเภอ ศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย โดยได้น�ำกระบวนการ TPR ใช้เป็นหนึ่งในกระบวนการจัดการเรียนรู้ผลพบว่า นั ก เรี ย นมี ค วามพึ ง พอใจต่ อ การจั ด การเรี ย นรู ้ แ ละ สามารถเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น

ข้อเสนอแนะ

ข้ อ เสนอแนะการน� ำ ผลการศึ ก ษาไปใช้ จ ากการ ศึกษาในครั้งนี้ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะที่อาจเป็นประโยชน์ ต่อการเรียนการสอนและการศึกษาครั้งต่อไป ดังนี้ 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาจีน เพื่อการสื่อสารด้วยวิธีตอบสนองด้วยท่าทาง TPR (Total Physical Response) ครูผสู้ อนต้องมีการเตรียม ความพร้อมในการสอนที่ดีและเป็นระบบโดยศึกษาค�ำ ศัพท์ในแผนการจัดการเรียนรู้และท่าทางประกอบที่จะ ใช้ในแต่ละแผนให้ชัดเจนและสื่อความได้ถูกต้อง ตลอด จนเตรียมสื่อการสอนให้พร้อมและมีการทดลองใช้สื่อ การสอนนั้นๆ ก่อนการสอนทุกครั้ง 2. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเฉพาะ ในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มของผู้เรียน ครูผู้สอนควร ก� ำ หนดเวลาให้ เ หมาะสมและบริหารเวลาในการจัด กิจกรรมให้เป็นไปตามแผน อีกทัง้ ควรกระตุน้ ให้นกั เรียน รักษาเวลาเพื่อให้การท�ำกิจกรรมเป็นไปตามแผนและ

บรรลุตามการจัดกิจกรรมที่วางไว้ 3. ในระยะเริ่มต้นของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารด้วยวิธีตอบสนองด้วยท่าทาง TPR (Total Physical Response) ครูผสู้ อนต้องมีความ อดทนต่อการตอบสนองของนักเรียน เพราะเนื่องด้วย ผู้เรียนจะไม่คุ้นเคยกับรูปแบบหรือวิธีสอนที่ใช้ประกอบ กับไม่กล้าแสดงออก จึงอาจจะท�ำให้เกิดความไม่ตอ่ เนือ่ ง ในการจัดกิจกรรม ซึง่ ต้องใช้เวลาในการให้ผเู้ รียนได้เรียน รู้และปรับตัวในการปฏิบัติกิจกรรม เมื่อการจัดกิจกรรม ผ่านไปสักสองถึงสามครัง้ ผูเ้ รียนก็จะมีความพร้อมในการ เรียนรู้ด้วยวิธีนี้มากยิ่งขึ้น

ข้อเสนอแนะการท�ำการศึกษาครั้งต่อไป

1. ควรมี ก ารเปรี ย บเที ย บผลการเรี ย นโดยใช้ กระบวนการเรียนรูภ้ าษาจีนเพือ่ การสือ่ สาร ด้วยวิธตี อบ สนองด้วยท่าทาง TPR (Total Physical Response) กับวิธีการเรียนรู้แบบอื่นๆ 2. ควรมีการศึกษาการน�ำเทคนิคหรือวิธีตอบสนอง ด้วยท่าทาง TPR (Total Physical Response) ไปใช้ ร่วมกับกระบวนการเรียนรู้อื่นๆ ในรูปแบบการบูรณาการ การเรียนรู้ 3. ควรศึกษาการใช้กระบวนการเรียนรู้เพื่อการ สื่ อ สาร (Communicative Approach) ด้ ว ยวิ ธี ตอบสนองด้วยท่าทาง TPR (Total Physical Response) กับเนื้อหาของภาษาที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้นนอกเหนือ จากค�ำศัพท์และรูปประโยคอย่างง่าย

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ คุรุสภาลาดพร้าว. เกศินี วัชรเสถียร. (2542). การพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ โดยใช้รปู แบบการสอนแบบร่วมมือกัน เรียนรู้ และการสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ, มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สถาบันเอเชียศึกษาศูนย์จีนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2551). การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย: ระดับประถม - มัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์จีนศึกษา. ประพิณ มโนมัยวิบูลย์. (2548). ระบบภาษาจีนกลาง. วารสารภาษาจีนพื้นฐานเพื่อการสื่อสาร, 2, 215-330. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

157

ปริศนา บุตรจันทร์. (2556). การพัฒนารูแบบการจัดการความรู้การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ โรงเรียนบ้านขุมค�ำ อ�ำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย. วารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ฉบับพิเศษ: 548-562. บุญชม ศรีสะอาด. (2545): 103. การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7 กรุงเทพฯ: สุวีรยาสาส์น. มณี อินทพันธ์. (2553). การสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง: วิวัฒนาการและการน�ำไปใช้กับผู้เรียนต่างบุคลิกภาพ รูปแบบการเรียนและระดับความสามารถทางภาษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต หลักสูตร การสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษานานาชาติ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ศิริวรรณ มาลัย. (2549). การเปรียบเทียบความสามารถในการฟัง-การพูดและความเชื่อมั่นในตนเองต่อการใช้ภาษา อังกฤษของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยวิธกี ารสอนแบบ T.P.R (Total Physical Response) ประกอบ สือ่ ในชีวติ ประจ�ำวันกับการสอนตามคูม่ อื ครู. ปริญญานิพนธ์ ก.ศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ศูนย์ข้อมูลเพื่อธุรกิจไทยจีน. (2557). สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2558, จาก http://www.thaibizchina.com/ thaibizchina/th/index.php สมโภชน์ ธรรมแสง. (2544). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 2 โดยใช้การสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการประถม ศึกษา, มหาวิทยาขอนแก่น. สุวิไล เปรมศรีรัตน์, มยุรี ถาวรพัฒน์, ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร, อิสระ ชูศรี, มิรินด้า บูรรุ่งโรจน์ และยูเนียนสาสมีต้า. (2553). การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาท้องถิ่นและภาษาไทยเป็นสื่อ: กรณีการจัดการศึกษาแบบทวิ ภาษา (ภาษาไทย-มลายูถิ่น) ในโรงเรียนเขตพื้นที่สี่จังหวัดชายแดนภาคใต้. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและ วัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล. อรอนงค์ นิมาชัยกุล. (2553). การใช้เทคนิค TPR (Total Physical Response) พัฒนาการเรียนรูป ระโยคภาษาฝรัง่ เศส ของนักศึกษาระดับ ปวส.พ.2 แผนกการจัดการธุรกิจทองเที่ยว. เชียงใหม่: โรงเรียนพานิชยการเชียงใหม่. Asher, J. (1979). Learning Another Language through Actions: The complete teacher’s guidebook. San Jose California: Accu Print. Mattisson, J. (2011). Using TPR Method in Teaching English Adjectives. Retrieved July 20, 2013, from www.diva-portal.org Sariyati, I. (2012). The effectiveness of TPR (Total Physical Response) method in English Vocabulary Mastery of Elementary School Children. Retrieved December 28, 2013, from www.ejournal. undip.com

Translated Thai References

Butchan, P. (2013). The development of a knowledge management for teaching English. Ban Khum Kham School Si Chiang Mai District Nong Khai. Journal of Education Maha Sarakham University, Special Issue, 548-562. [in Thai] Inthaphan, M. (2010). Teaching Total Physical Response: Evolution and adoption of different for different learning style and language ability level. Thesis of Master Degree. Teaching English as an international language, Prince of Songkla University. [in Thai] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


158

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Institute of Asian Studies Chulalongkorn University. (2008). Teaching Chinese in Thailand: Primary and Secondary Education. Bangkok: Chinese Studies Center. [in Thai] Malai, S. (2006). Comparing the ability of listening - speaking and confidence of using English of eighth grade students by using Total Physical Response assembled media on a daily basis with the teaching Instruction. Master of Education, Srinakharinwirot University. [in Thai] Manomaiwibun, P. (2005). The Mandarin. Chinese Journal of Communication, 2, 215-330. [in Thai] Ministry of Education. (2008). The Basic Education Curriculum 2008. Bangkok: Kurusapa Printing Ladphrao. [in Thai] Nimachaikun, O. (2010). Using TPR techniques (Total Physical Response) for learning development of French sentence for High Vocational Certificate. Businesses tourism management department. Chiang Mai: Chiangmai Commercial College. [in Thai] Premsirat, S. and etc. (2007). The teaching and learning by using local language and Thai language as Media: Case study management of Bilingual Education. (Thai - Malay dialect) in the area of four provinces of Southern Border Bangkok. Institute of Language and Culture for Rural Development. Mahidol University. [in Thai] Premsrirat, S., Traworaphat, M., Aungsitipunpon, S., Chusri, A., Burarongrod, M. & Unisamintra. (2011). The Learning and Teaching Arrangement by Using Local Language and Thai Language : Case od Bilingual (Thai-Local Malay) Education Management in the School in 4 Boarder Line Provinces of the South. Language and Culture Research Instiute of Rural Development Mahidol University. Srisaart, B. (2002). The Basic of Research. (7th ed.). Bangkok Suveerayasat. [in Thai] ThaiBiz in China Thailand Businsess Information Center in China. (2014). Retrieved February 5, 2015, from http://www.thaibizchina.com/thaibizchina/th/index.php Thamasaeng, S. (2001). The Development of achievement for English learning for 2nd grade students by using Total Physical Response. Thesis of Master Degree of Education. Primary Education.,Graduate school of Khon Kaen University. [in Thai] Watcharasathian, K. (1999). The Development of achievement for English learning by using cooperative learning and Total Physical Response Method for fifth grade students. Thesis of Master Degree. Teaching English Major, Graduate School Khon Kaen University. [in Thai]

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

159

Adirek Nuansri earned his Master of Education in Curriculum and Teaching Methodology from Beijing Language and Culture University. He also finished Mater of Art in Teaching Chinese as a Foreign Language from Asssumption University. He is currently a full time lecturer in Faculty of Education, Panyapiwat Institute of Management.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


160

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

คุณสมบัติส่วนบุคคล อิทธิพลทางสังคม และความซื่อสัตย์ ที่มีผลต่อภาวะผู้น�ำที่แท้จริงของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนในเครือเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร Personal Characteristic, Social Influence and Honesty Affecting Lower Secondary Students’ Authentic Leadership in Saint Paul of Chartres Affiliated Schools กาญจนา สุดประเสริฐ1 Kanchana Sudprasert1 บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) คุณสมบัติส่วนบุคคล อิทธิพลทางสังคม และความซื่อสัตย์ ของ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น 2) ภาวะผู้น�ำที่แท้จริงของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น และ 3) ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ของคุณสมบัติส่วนบุคคล อิทธิพลทางสังคม ความซื่อสัตย์ ส่งผลต่อภาวะผู้น�ำที่แท้จริงของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นการวิจัยผสมผสานทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยเชิงปริมาณกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จ�ำนวน 364 คน จาก 10 โรงเรียน สุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน ส่วนเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้อ�ำนวยการ 3 คน ผู้ปกครอง 3 คน ครู 3 คน และเพื่อนนักเรียน 3 คน โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ชนิดเจาะลึก และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิควิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิเคราะห์ พบว่า นักเรียน ก�ำลังศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มากที่สุด ส่วนใหญ่เป็นนักเรียนหญิง มีอายุเฉลี่ย 13 ปี ผู้ปกครอง มีรายได้โดยเฉลี่ยเดือนละ 27,128 บาท การด�ำเนินชีวิตสภาวะผู้น�ำที่แท้จริงของนักเรียน ได้รับอิทธิพลจากผู้ปกครอง ครู เพือ่ นนักเรียนและความซือ่ สัตย์ ในภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก จากการศึกษาในเชิงคุณภาพ พบว่า อิทธิพลทางสังคม และความซื่อสัตย์ส่งผลต่อภาวะผู้น�ำที่แท้จริง ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์เชิงปริมาณ ที่พบว่า อิทธิพลทางสังคม ความซื่อสัตย์ เพศ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะผู้น�ำที่แท้จริง ส่วนอายุมีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะผู้น�ำที่แท้จริง อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีความสัมพันธ์กันในระดับต�่ำ (R2 = .352) ค�ำส�ำคัญ: อิทธิพลทางสังคม ความซื่อสัตย์ ภาวะผู้น�ำที่แท้จริง

Abstract

The research aimed 1) to study personal characteristic, social influence, and honesty of lower secondary students, 2) to investigate the level of lower secondary students’ authentic leadership and 3) to examine the relationship between personal characteristic, social influence and 1 ผู้อ�ำนวยการ/ผู้จัดการโรงเรียนภัทรวิทยา,

Directress/Principal at Pataravitaya School, E-mail: sr.karnjana@hotmail.com

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

161

honesty affecting to authentic leadership of lower secondary students. The qualitative and quantitative approaches were administered in the research. The study covered 10 schools and consisted of 364 participants. Data were collected by survey questionnaire completed by random sampling. The qualitative approach based on in-depth interviews with the purposive group of 3 directors, 3 parents, 3 teachers and 3 peers. The demographic of the participants were employed as average, standard deviation, Stepwise Multiple Regressions Analysis (SRA) and content analysis. The results of this study revealed that the students, who were studying in Matayomsuksa one was the highest, female was the highest, the average of age was 13 years, the average of parents’ salary was 27,128 baht. The holistic of authentic leadership of the students, parents, teachers, peers’ influences and honesty were at high level. A qualitative, authentic leadership was affected by social influence and honesty which associated results from the quantitative approach which showed social influence, honesty and sex had a positive relationship with authentic leadership, but age had a negative relationship with authentic leadership with a statically significant at the 0.01 and low level (R2 = 35.2) Keywords: social influence, honesty, authentic leadership

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา

ภาวะผู้น�ำ หมายถึงการใช้อิทธิพลของบุคคล หรือ ของต�ำแหน่ง โดยการจูงใจให้บคุ คลหรือกลุม่ ปฏิบตั ติ าม ความคิดเห็น ความต้องการของตนด้วยความเต็มใจ ยินดี ทีจ่ ะให้ความร่วมมือเพือ่ จะน�ำไปสูก่ ารบรรลุวตั ถุประสงค์ ของกลุม่ ตามทีก่ ำ� หนดไว้ (สัมมา รธนิธย์, 2553) แนวคิด เกี่ยวกับภาวะผู้น�ำในช่วง ค.ศ. 1930-1940 ได้แนวคิด จากทฤษฎีมหาบุรษุ (Great man Theory of Leadership) ของกรีกและโรมัน ที่เชื่อว่า ภาวะผู้น�ำเกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติหรือโดยก�ำเนิด (Born leader) ไม่สามารถ เปลี่ยนแปลงได้ แต่สามารถพัฒนาขึ้นได้ ลักษณะผู้น�ำที่ ดีและมีประสิทธิภาพสูงจะประกอบด้วย ความเฉลียว ฉลาด มีบุคลิกภาพที่แสดงออกถึงความเป็นผู้น�ำ และ ต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถ (สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์, 2554) มีทฤษฎีภาวะผู้น�ำบางทฤษฎีให้ความส�ำคัญกับ การเปลี่ยนแปลงในอนาคต บางทฤษฎีมุ่งเน้นการรักษา สถานภาพเดิมเป็นหลัก แต่จากสภาพแวดล้อมทางสังคม ในปัจจุบนั ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา ผูน้ ำ� ทีแ่ ท้จริง เท่านั้นที่จะรับกับสภาพความเปลี่ยนแปลงของยุคนี้ได้ ผู้น�ำที่แท้จริงจะต้องมีความโปร่งใส เปิดเผย ไว้วางใจได้ มีความซื่อสัตย์ ทั้งต่อตนเอง และผู้อื่น มีความสามารถ

พัฒนาจิตใจ และพฤติกรรมในเชิงบวก ซึ่งส่งผลให้ รู้จักตัวเองและตนเองได้ดีขึ้น ไม่ใช้บทบาทหรืออ�ำนาจ ในการแสวงหาผลประโยชน์ชื่อเสียงเกียรติยศให้กับ ตนเอง (Sharmir & Eilam, 2005) ผู้น�ำหลายคนขาดภาวะผู้น�ำที่แท้จริงจึงไม่สามารถ น�ำพาองค์การให้ประสบความส�ำเร็จได้ ลูแทนส์และ อโวลิโอ (Luthans & Avolio, 2003) กล่าวว่า ทฤษฎีภาวะ ผู้น�ำที่แท้จริงเป็นทฤษฎีที่สร้างขึ้นจากพฤติกรรมเชิง องค์การด้านบวก เป็นทฤษฎีภาวะผูน้ ำ� ทีเ่ ปลีย่ นแปลงได้ และยึดหลักศีลธรรมจรรยา เชือ่ ว่าภาวะผูน้ ำ� มิได้เกิดขึน้ เฉพาะกับบุคคลใดบุคคลหนึง่ แต่แพร่กระจายออกไปทัว่ ทัง้ องค์การ ทุกคนในองค์การสามารถรับรูไ้ ด้ถงึ ภาวะผูน้ ำ� ที่แท้จริงของตนเอง วีทลี่ (Wheatley, 1999) ให้ความ ส�ำคัญกับภาวะผู้น�ำที่แท้จริงว่าเป็นผู้ที่มีภาวะผู้น�ำที่ แท้จริง ต้องเป็นคนเปิดเผย รู้จักตนเอง รู้จุดแข็งจุดอ่อน ของตน เข้าใจอารมณ์ และรู้ว่าตนเองมีบุคลิกภาพแบบใด สามารถท�ำให้ผู้พบเห็นตระหนักได้ถึงความชาญฉลาด ความแข็ ง แกร่ ง ความมุ ่ ง มั่ น ความรู ้ ความสามารถ ประสบการณ์ ค่านิยม ความเชือ่ ความปรารถนา นอกเหนือ จากองค์ประกอบดังกล่าวคุณธรรมส�ำคัญทีส่ ดุ ของภาวะ ผู้น�ำที่แท้จริง (Ilies, Morgeson & Nahrgang, 2005)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


162

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

เยาวชนไทยส่วนใหญ่ ไม่กล้าแสดงออกถึงความเป็น ผูน้ ำ� ไม่มภี าวะความเป็นผูน้ ำ� ทัง้ นีม้ สี าเหตุมาจากสภาพ แวดล้อมทางสังคม ท�ำให้เยาวชนเคยชินกับการเป็น ผูต้ ามมากกว่าการเป็นผูน้ ำ� การก�ำหนดให้เยาวชนต้องคิด ในกรอบที่ก�ำหนด และระบบการศึกษาที่ไม่ได้ให้ความ ส�ำคัญกับการพัฒนาผูเ้ รียนให้มภี าวะผูน้ ำ� เท่าทีค่ วร (นกุล ว่องฐิติวงศ์, 2550) โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น ควรจะได้รับการส่งเสริมให้มีภาวะ ผู้น�ำตั้งแต่ยังอยู่ในวัยเด็ก เนื่องจากเยาวชนเหล่านี้เป็น ทรัพยากรมนุษย์ที่มีความส�ำคัญต่อการพัฒนาประเทศ ในอนาคต ทุกวันนี้เยาวชนยังมีปัญหาเรื่องไม่สามารถ แสดงความเป็นผู้น�ำเพราะมีความรู้ในเรื่องกระบวนการ ของภาวะผูน้ ำ� ไม่เพียงพอ กระบวนการของภาวะผูน้ ำ� นัน้ บิลล์ จอร์จ (อ้างถึงใน Skjei, Mecaleb & Wilding, 2006) อดีตซีอีโอของเม็ดทรอยนิกส์ และมหาวิทยาลัย เนโรปา (Neropa University) ได้พยายามศึกษาเรื่อง ภาวะผู้น�ำที่แท้จริง และได้พัฒนาโปรแกรมภาวะผู้น�ำ ที่แท้จริง (Authentic Leadership) โดยมุ่งประเด็น ไปที่การพัฒนาจากภายในของตัวผู้น�ำโดยตรง มีการ พัฒนาโปรแกรมต้นแบบของภาวะผูน้ ำ� ทีแ่ ท้จริง ด้วยการ ประสมประสานการฝึกอบรมทักษะภาวะผูน้ ำ� ทางธุรกิจ แบบดั้งเดิม ที่เน้นการปลูกฝังภาวะผู้น�ำจากมิติภายใน ของผู้น�ำ ซึ่งให้ความส�ำคัญกับความสามารถสามอย่าง ได้แก่ การเป็นตัวของตัวเอง (การเป็นตัวตนที่แท้จริง)/ การรู้จักตนเอง มนุษย์สัมพันธ์ความสัมพันธ์/ทักษะการ สื่อสาร การท�ำงานที่มีประสิทธิภาพ/การเปลี่ยนการน�ำ บุคคลทีม่ คี วามส�ำคัญและมีอทิ ธิพลในการหล่อหลอม และพั ฒ นานั ก เรี ย นหรื อ เยาวชน ให้ มี ค วามรู ้ ทั ก ษะ ทัศนคติ บุคลิกภาพ ความเป็นผู้น�ำ หรือมีภาวะผู้น�ำ ได้แก่ พ่อแม่ (parents) ครู (teachers) และเพื่อน นักเรียน (peers) การกระท�ำ การแสดงพฤติกรรมต่างๆ ค�ำสั่งสอนของผู้ปกครองและครู และโรงเรียน (Lauglo & Oia, 2008) รวมทั้งเพื่อนๆ นั้น ล้วนมีอิทธิพลต่อการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ทัศนคติ การเรียนรู้ ความคิดเห็น ค่านิยม ความเชื่อ หรือความรู้สึกของนักเรียน ดังนั้น สถาบันการศึกษาสามารถฝึกอบรมนักเรียนให้มภี าวะผูน้ ำ� ได้โดยผ่านกระบวนการเรียนการสอน สถาบันครอบครัว

ก็มีส่วนในการอบรมเช่นกัน ส�ำหรับกลุ่มเพื่อน เพื่อนที่มี ความคิดเห็นเบี่ยงเบน จะมีอิทธิพลในด้านที่ก่อให้เกิด ความรุนแรงแตกแยกในโรงเรียน (Shar, 2009) ในสภาพการปัจจุบนั การแสดงความเป็นผูน้ ำ� ยังเป็น ปัญหา เพราะคนยังขาดความรู้ในเรื่องกระบวนการของ ความเป็นผู้น�ำ โดยเฉพาะการเป็นผู้น�ำที่แท้จริงหรือมี ภาวะผู้น�ำที่แท้จริง คุณสมบัติของผู้น�ำในยุคนี้มิใช่มี ความเก่งเพียงอย่างเดียว แต่ต้องมีความน่าเชื่อถือ เป็น ที่ไว้วางใจของผู้ร่วมงานและสังคมรอบข้าง อโวลิโอและ การ์ดเนอร์ (Avolio & Gardner, 2005) กล่าวว่า องค์ประกอบทีส่ ำ� คัญของผูม้ ภี าวะผูน้ ำ� ทีแ่ ท้จริง คือ การ เป็นผู้มีคุณธรรม ส�ำหรับลูแทนส์และอโวลิโอ (Luthans & Avolio, 2003) กล่าวว่าผู้น�ำที่แท้จริงต้องซื่อสัตย์ ทั้งต่อตนเอง และต่อผู้อื่น ซื่อสัตย์ต่อผู้ร่วมงาน และต่อ สังคม (ประเทศชาติ) ไม่แสวงหาผลประโยชน์ใส่ตน มี ความสามารถเปลี่ยนหรือพัฒนาผู้ช่วยให้กลายเป็นผู้น�ำ ได้ (วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร, 2551) ผู้น�ำระดับประเทศ หรือผู้น�ำองค์การต่างๆ ที่เป็นผู้บริหารระดับสูง อาจจะ ไม่ได้รับความไว้วางใจ ไม่เป็นที่น่าเชื่อถือของบุคคลที่ เกีย่ วข้อง หรือจากผูใ้ ต้บงั คับบัญชาหรือประชาชนทัว่ ไป เนื่องจากการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัวโดยไม่ค�ำนึงถึง ศีลธรรม และภาระหน้าที่รับผิดชอบ ท�ำให้กลายเป็น ความโลภทีเ่ ป็นอันตรายใหญ่หลวง (Fry & Whitington, 2005) ความโลภจะล่อลวงให้ผนู้ ำ� ก่อการทุจริต ประพฤติ มิชอบ จนไม่น่าเชื่อถือ ไม่ได้รับความไว้วางใจ และเป็น อุปสรรคส�ำคัญทีข่ ดั ขวางการเป็นผูน้ ำ� ทีแ่ ท้จริง จากปัญหา ดังกล่าวข้างต้น ล้วนแล้วแต่เกิดจากการที่ผู้น�ำมีปัญหา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และทัศนคติทแี่ ตกต่างกัน (ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ, 2553) ในขณะทีส่ งั คมต้องการ ผูน้ ำ� ทีม่ คี ณ ุ ลักษณะทัง้ เก่งและน่าเชือ่ ถือ เป็นผูน้ ำ� ด้วยหัวใจ และสมอง ท�ำตามที่คิดและพูด ค�ำพูดสอดคล้องกับสิ่งที่ พวกเขาเชือ่ และการกระท�ำสอดคล้องกับทัง้ สิง่ ทีพ่ วกเขา พูด และพวกเขาเชือ่ (พสุ เดชะรินทร์, 2551) แต่เด็กและ เยาวชนในปัจจุบันอยู่ในสังคมที่ศีลธรรมเสื่อมถอย การ ให้คุณค่ากับศีลธรรมลดลง เป็นเหตุให้โครงสร้างทาง สังคมอ่อนแอ ความไม่โปร่งใส ความไม่ซื่อสัตย์จะน�ำไป สู่การขาดประสิทธิภาพ ไม่เห็นคุณค่าของศีลธรรมและ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

คุณค่าของมนุษย์ (Moreillon, 2001) เด็กและเยาวชน ต้องซื่อสัตย์สุจริตทั้งในความคิด และการกระท�ำ ไม่เห็น แก่ตวั ไม่เอารัดเอาเปรียบผูอ้ นื่ ไม่มกั ง่าย หยาบคาย ซือ่ ตรง ต่อหน้าที่การงาน ต่อตนเองและต่อผู้อื่นที่เกี่ยวข้อง มีเจตนาบริสุทธิ์ ไม่เอารัดเอาเปรียบ โดยเฉพาะผู้น�ำนั้น คุณสมบัติที่ส�ำคัญจึงเป็นเรื่องของความยุติธรรมและ ความซือ่ สัตย์สจุ ริตทัง้ ต่อตนเองและผูอ้ นื่ ปฏิบตั งิ านด้วย จิตที่ปราศจากอคติ ปราศจากความล�ำเอียง ไม่เล่นพวก ไม่หลอกลวง ไม่พดู เหลวไหล ไม่ปดิ บังในสิง่ ทีร่ ู้ หลีกเลีย่ ง พฤติกรรมที่ไม่ยุติธรรม ไม่คดโกงทั้งกายวาจาใจ ไม่ใช้ เล่ห์กลโกงทั้งทางตรงและทางอ้อม ประพฤติตรงและ จริงใจ ไม่เอาเปรียบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ไม่โกหก หมายความว่าบอกความจริง หรือพูดความจริง จริงก็ว่า จริง ไม่จริงก็ว่าไม่จริง ไม่พูดโกหกต่อกัน ไม่เป็นพยาน เท็จ ไม่มีเล่ห์เหลี่ยม มีความยุติธรรม เคารพสิทธิของ ผู้อื่น และความเสมอภาค (equal) ให้ค�ำแนะน�ำใน สิ่งที่ถูกต้องแก่ผู้ถามหรือผู้ต้องการค�ำแนะน�ำ พูดความ จริงในสิ่งที่รู้ ไม่ปิดบัง ไม่มีอคติ ไม่ล�ำเอียง (Leviticus, 2006 และ Colossians, 2009) นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนในเครือ เซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร ซึง่ ได้รบั การอบรมเรือ่ งคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของนักเรียนในเรื่องความซื่อสัตย์ แต่ใน ปัจจุบนั ทัศนคติเรือ่ งความซือ่ สัตย์ของนักเรียนมีแนวโน้ม ที่จะเป็นอันตรายกับสังคมในอนาคต นักเรียนยอมรับ ว่าการโกหกบ้างเพื่อความอยู่รอดไม่ใช่สิ่งเสียหาย หรือ ยอมรับการทุจริต คอร์รปั ชัน่ ได้ถา้ ตนเองได้รบั ประโยชน์ ด้วย ซึ่งทัศนคติลักษณะนี้ นับว่าก�ำลังจะเป็นวิกฤติของ ชาติในอนาคต จะเห็นได้จากนักเรียนบางคนลอกข้อสอบ แอบดูค�ำตอบ ถามค�ำตอบจากเพื่อนๆ ในห้องสอบ การ ลอกการบ้านหรือลอกรายงานของเพือ่ น แอบน�ำเนือ้ หา หรือค�ำตอบเข้าห้องสอบ แซงคิวเวลาซื้อของ โกหก ผู้ปกครอง ครู และเพื่อน เอาเปรียบเพื่อนและผู้อื่น น� ำ ผลงานของคนอื่ น มาเป็ น ผลงานของตน (นภดล กรรณิกา, 2556) ท�ำให้เกิดความหวาดระแวง ไม่ไว้ใจซึ่ง กันและกัน จนก่อให้เกิดปัญหาอื่นๆ ตามมาอีกมากมาย การขาดความซือ่ สัตย์ในระดับบุคคล ท�ำให้เป็นคนไม่นา่ เชือ่ ถือ และมีปญ ั หาอยูต่ ลอดเวลา ส่วนในระดับประเทศ

163

จะเสื่อมเสียเกียรติภูมิ เป็นที่ดูถูกของชาติอื่น ความ ซือ่ สัตย์สจุ ริตเป็นพืน้ ฐานของความดีทกุ อย่าง เป็นความ ส�ำคัญและจ�ำเป็นที่จะต้องส่งเสริมและปลูกฝังให้กับ ทุกๆ คน ตั้งแต่ในวัยเด็ก เด็กๆ จึงต้องฝึกฝนอบรมให้ เกิดในตนเอง เพือ่ จักเติบโตขึน้ เป็นคนดีมปี ระโยชน์ และ มีชีวิตที่สะอาด ที่เจริญมั่นคง จากมูลเหตุและข้อสนับสนุนดังกล่าวข้างต้น ท�ำให้ ผู้วิจัยมีความเชื่อว่า การสร้างภาวะผู้น�ำที่แท้จริง ที่มี ความซื่ อ สั ต ย์ ใ ห้ เ กิ ด กั บ นั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา ตอนต้น มีปัจจัยที่ส�ำคัญที่เกี่ยวข้อง คือ ผู้ปกครอง ครู เพื่อน และความซื่อสัตย์

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1. เพื่ อ ศึ ก ษาคุ ณ สมบั ติ ส ่ ว นบุ ค คลอิ ท ธิ พ ลทาง สังคม และความซื่อสัตย์ ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอน ต้น โรงเรียนในเครือเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร 2. เพื่อศึกษา ภาวะผู้น�ำที่แท้จริง ของนักเรียน มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนในเครือเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร 3. เพื่ อ ศึ ก ษาคุ ณ สมบั ติ ส ่ ว นบุ ค คลอิ ท ธิ พ ลทาง สังคมและความซือ่ สัตย์ ทีม่ ผี ลต่อภาวะผูน้ ำ� ทีแ่ ท้จริงของ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนในเครือเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1. ผู้บริหารของโรงเรียน ผู้อ�ำนวยการ สามารถใช้ ข้อค้นพบทีไ่ ด้จากการวิจยั นีไ้ ปพัฒนาหลักสูตร กิจกรรม การเรียนการสอนที่เน้นกิจกรรมร่วมกันในโรงเรียนให้ นักเรียนท�ำงานเป็นกลุม่ ร่วมกัน เพือ่ จะได้ฝกึ ให้นกั เรียน ที่จะร่วมกันคิด ร่วมกันท�ำ ร่วมกันวางแผน ยอมรับฟัง ความคิดเห็นของผูอ้ นื่ และเปิดโอกาสให้นกั เรียนผลัดกัน เป็นผู้น�ำ จะได้พัฒนาให้นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นมี ภาวะผู้น�ำที่แท้จริง 2. ฝ่ายบริหารของโรงเรียนน�ำข้อค้นพบจากการ วิจัยครั้งนี้ไปก�ำหนดทิศทาง และนโยบายในการพัฒนา ศั ก ยภาพ โดยการจั ด กิ จ กรรมและอบรมครู ใ ห้ เ ป็ น ต้นแบบหรือแบบอย่างทางด้านความประพฤติ ให้มี

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


164

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

คุณธรรมจริยธรรมความซื่อสัตย์และภาวะผู้น�ำให้แก่ นักเรียน 3. ครูได้น�ำข้อมูลที่ได้จากการวิจัยไปใช้เป็นข้อมูล พืน้ ฐานในการก�ำหนดทิศทางและออกแบบการเรียนการ สอน การจัดกิจกรรม ที่เน้นย�้ำและเสริมสร้างภาวะผู้น�ำ ที่แท้จริง และความซื่อสัตย์ให้แก่นักเรียนมัธยมศึกษา ตอนต้น และครูควรมีพฤติกรรมที่เป็นตัวอย่างที่ดีกับ นักเรียน 4. ผู ้ ป กครองตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของการ แสดงออกทางด้านทัศนคติ และพฤติกรรมของตนจะส่ง ผลให้ลกู หลานเลียนแบบ อันจะน�ำไปสูก่ ารอบรม สัง่ สอน และปลูกฝังบุตรหลานให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทัศนคติ รวมถึงการแสดงออกทีพ่ งึ ประสงค์ในด้านภาวะ ผู้น�ำที่แท้จริงและมีความซื่อสัตย์

วิธีด�ำเนินการวิจัย

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. แนวทางการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Approach) ส�ำหรับกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเชิงคุณภาพ ประกอบด้วย ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน 3 คน ผู้ปกครอง 3 คน ครู 3 คน และนักเรียน 3 คน ที่ให้ข้อมูล 2. แนวทางการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Approach) ประชากร ประชากรเป็นนักเรียนมัธยมศึกษาตอน ต้นโรงเรียนในเครือเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร ประเทศไทย (2553) เฉพาะโรงเรียนที่มีชายหญิง 10 แห่ง จ�ำนวน นักเรียนทั้งสิ้น 3,960 คน ผู้วิจัยสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน ซึ่งค�ำนวณด้วยสูตรของทาโรยามาเน (Yamane, 1973) โดยก�ำหนดระดับความเชื่อมั่นที่ 95% มีความคลาด เคลื่อนของการสุ่มกลุ่มตัวอย่างไม่เกิน 5% ได้กลุ่ม ตัวอย่าง 364 คน

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

1. ลักษณะของเครือ่ งมือการวิจยั เป็นแบบสอบถาม ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมาจากหลักการและแนวคิด ที่ได้จาก การทบทวนวรรณกรรมที่เป็นผลงานนักวิชาการทั้งใน

ประเทศและต่างประเทศ โดยผู้วิจัยน�ำมาประยุกต์ให้ เข้ากับบริบทของโรงเรียนในเครือคอนแวนต์และวิถชี วี ติ ของสังคมไทย เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) และแบบมาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scale) แบ่ง ออกเป็น 2 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 คุ ณ สมบั ติ ส ่ ว นบุ ค คลของนั ก เรี ย น มี ลักษณะตรวจสอบรายการ จ�ำนวน 4 ข้อ ตอนที่ 2 การปฏิบัติเกี่ยวกับ ภาวะผู้น�ำที่แท้จริง อิทธิพลทางสังคม ความซื่อสัตย์ จ�ำนวน 50 ข้อ โดยให้ ผู้ตอบให้ค่าคะแนนแต่ละระดับ โดยก�ำหนดพิสัยการวัด ของคะแนนระหว่าง 0 - 4 โดยใช้เกณฑ์ในการแปลผลที่ ประยุกต์จากเกณฑ์ของ Renis Likert ดังนี้ คะแนน 0 หมายถึง ปฏิบัติน้อยมาก คะแนน 1 หมายถึง ปฏิบัติน้อย คะแนน 2 หมายถึง ปฏิบัติปานกลาง คะแนน 3 หมายถึง ปฏิบัติมาก คะแนน 4 หมายถึง ปฏิบัติมากที่สุด ส�ำหรับเกณฑ์ในการแปลผลจากค่าเฉลีย่ ของตัวแปร ต่างๆ มีดังต่อไปนี้ 0.00 - 0.80 หมายถึง ปฏิบัติน้อยมาก 0.81 - 1.60 หมายถึง ปฏิบัติน้อย 1.61 - 2.40 หมายถึง ปฏิบัติปานกลาง 2.41 - 3.20 หมายถึง ปฏิบัติมาก 3.21 - 4.00 หมายถึง ปฏิบัติมากที่สุด 2. การสร้างและพัฒนาเครื่องมือ เครือ่ งมือการวิจยั เป็นแบบสอบถามทีผ่ วู้ จิ ยั ได้สร้าง ขึ้นจากหลักการและแนวคิด ที่ได้จาก 2.1 การทบทวนวรรณกรรมที่เป็นผลงานนัก วิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยผู้วิจัยน�ำมา ประยุกต์ให้เข้ากับบริบทของโรงเรียนในเครือคอนแวนต์ และวิถชี วี ติ ของสังคมไทย โดยขอค�ำแนะน�ำจากอาจารย์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 2.2 ด�ำเนินการสร้างเครือ่ งมือตามกรอบความ คิดที่ก�ำหนดไว้ 2.3 น�ำเครือ่ งมือทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ ไปปฏิบตั ิ โดย ใช้คำ� ถามปลายปิดส�ำหรับการวิจยั เชิงปริมาณ เพือ่ ให้ได้ ข้อมูลที่เป็นการวิเคราะห์ทางสถิติ (Curry & Kadasah,

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

2002) โดยให้เป็นค�ำถาม ที่มีความเป็นปรนัย เข้าใจง่าย และมีความเป็นไปได้ (Babbie, 2001) และตรวจสอบ ความตรงเชิงเนือ้ หา ในแบบสอบถามของข้อค�ำถาม โดย ขอค�ำแนะน�ำข้อค�ำถาม จากผู้เชี่ยวชาญ จ�ำนวนทั้งหมด 3 ท่าน คือ ดร.วินัย ชุ่มชื่น รองอธิการบดีมหาวิทยาลัย ราชภัฏบ้านจอมบึง จังหวัดราชบุรี ดร.เกศินี โสขุมา ผู้อ�ำนวยการ โครงการบัณฑิตศึกษาจากมหาวิทยาลัย ราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง จังหวัดราชบุรี และ ดร.ปรเมศ กฤตลักษณ์ แล้วน�ำผลมาวิเคราะห์ความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ตามเทคนิค IOC (Index of ItemObjective Congruence) โดยมีความหมายของระดับ คะแนน ดังนี้ ระดับ +1 หมายความว่า มีความตรงเชิงเนื้อหา ระดับ 0 หมายความว่า ไม่แน่ใจ ระดับ –1 หมายความว่า ไม่มีความตรงเชิงเนื้อหา โดยค่า IOC ที่ค�ำนวณได้มีค่าอยู่ระหว่าง .67 ถึง 100 2.4 น�ำแบบสอบถามที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วไป ท�ำการทดลองใช้ (try out) สองครั้งกับประชากรที่ไม่ใช่ กลุ่มตัวอย่าง ที่มีคุณลักษณะ และคุณสมบัติเหมือนกับ ประชากรทีใ่ ช้ในการวิจยั 2 โรงเรียน โรงเรียนละ 30 ราย รวมทั้งสิ้น 60 รายในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ 2553

การเก็บรวบรวมข้อมูล

1. การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ เก็ บ ข้ อ มู ล เชิ ง ปริ ม าณด้ ว ยแบบสอบถามจาก นักเรียน 10 โรงเรียน ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามสัดส่วนจ�ำนวนแบบสอบถามทีส่ ง่ ไปในปลายเดือนพฤษภาคม 2553 2. การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ 1) การเก็ บ ข้ อ มู ล เชิ ง คุ ณ ภาพ ด้ ว ยวิ ธี ก าร สัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) กลุ่ม เป้าหมายของการเก็บข้อมูล คือ ผู้บริหารโรงเรียนใน ต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการ ครู ผู้ปกครอง และนักเรียน 2) เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้ประเด็นค�ำถามของ ตัวแปรหลัก (concept) เป็นแนวทางในการสัมภาษณ์ เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลทีม่ รี ายละเอียดเพิม่ เติมนอกเหนือไปจาก ข้อมูลเชิงปริมาณ

165

3) ผู ้ วิ จั ย สั ม ภาษณ์ ด ้ ว ยตนเอง โดยแจ้ ง วัตถุประสงค์ของการเก็บข้อมูลและขออนุญาตในการ อัดเสียงของการสนทนาในระหว่างการสัมภาษณ์พร้อมกับ จดบันทึกประเด็นส�ำคัญต่างๆ เพื่อเป็นแนวทางในการ ถามเจาะประเด็นส�ำคัญอื่นเพิ่มเติม 4) การสัมภาษณ์เจาะลึกข้อมูล เชิงคุณ ภาพ ผู ้ วิ จั ย ได้ เ ก็ บ ข้ อ มู ล เชิ ง ลึ ก จากกลุ ่ ม ตั ว อย่ า งคื อ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน 3 คน ผู้ปกครอง 3 คน ครู 3 คน และนักเรียน 3 คน ที่ให้ข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูล

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1. การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล เชิ ง ปริ ม าณ: ตาม วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ทางสถิติเพื่อการวิจัย SPSS for Windows (Statistical Package for the Social Sciences) 1) เบื้องต้นใช้สถิติเชิงพรรณนาด้วยโปรแกรม ส�ำเร็จรูป หาค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2) วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับอิทธิพลทางสังคม ความซื่อสัตย์ และภาวะผู้น�ำที่แท้จริง และวิเคราะห์ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งตั ว แปรคุ ณ สมบั ติ ส ่ ว นบุ ค คล อิ ท ธิ พ ลทางสั ง คม ความซื่ อ สั ต ย์ กั บ ตั ว แปรภาวะ ผู้น�ำที่แท้จริง เพื่อทดสอบสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว้ ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 โดยใช้สถิติ วิเคราะห์ถดถอย พหุแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression analysis) 3) ข้ อ มู ล ตั ว แปรที่ มี ลั ก ษณะการวั ด แบบ มาตราส่วนประมาณทีม่ พี สิ ยั ของการวัดด้วยคะแนน 0-4 มาใช้ในการแปลผล ด้วยค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน 2. การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ: การวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงคุณภาพ ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เป็นการ วิเคราะห์เชิงคุณภาพ มีการวิเคราะห์โดยการสัมภาษณ์ โดยเนื้อหาปฏิบัติดังนี้ 1) การลดทอนข้อมูล ผู้วิจัยถอดเทปบันทึก การสัมภาษณ์ เรียบเรียงข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ 2) จัดระเบียบข้อมูลโดยการน�ำข้อมูลทีส่ กัดแล้ว

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


166

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

มาจัดเป็นหมวดหมู่ โดยจ�ำแนกตามตัวแปรหลักที่เป็น ประเด็นในการสัมภาษณ์ 3) สรุปผลและตีความ ด้วยการตรวจสอบความ ถูกต้องของข้อมูล พิจารณาความสอดคล้องและความ แตกต่างของข้อมูล หาข้อสรุปและตีความในลักษณะการ พรรณนาตามแนวคิดของการวิจัย 4) สรุปผลการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยน�ำข้อสรุป ของข้อมูลมาช่วยอธิบายเพือ่ เสริมผลการวิจยั เชิงปริมาณ ให้ชัดเจนมากขึ้น ตลอดจนช่วยในการอภิปรายผล และ ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์

สรุปผลการวิจัย

1. ผลจากการวิเคราะห์ด้วยสถิติพรรณนา พบว่า คุ ณ สมบั ติ ส ่ ว นบุ ค คล อิ ท ธิ พ ลทางสั ง คม และความ ซื่อสัตย์ ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนใน เครือเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร ผู้ตอบแบบสอบถามส่วน ใหญ่ เป็นนักเรียนหญิง รองลงมาเป็นนักเรียนชาย ก�ำลัง ศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มากที่สุด รองลงมาได้แก่ มัธยมศึกษาปีที่ 2 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีอายุเฉลี่ย 13 ปี สูงสุด 17 ปี ต�่ำสุด 12 ปี ผู้ปกครองมีรายได้โดย เฉลี่ยเดือนละ 27,128 บาท สูงสุด 134,000 บาท ต�่ำสุด 6,000 บาท 2. นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนในเครือ เซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร กับการด�ำเนินชีวติ ภาวะผูน้ ำ� ทีแ่ ท้ จริง จากการวิจัย พบว่า ได้รับอิทธิพลทางสังคมจาก ผูป้ กครอง ครู และเพือ่ นอยูใ่ นระดับมาก ทัง้ นีเ้ มือ่ พิจารณา ในรายละเอียด พบว่า นักเรียนได้รับอิทธิพลจากครูมาก ทีส่ ดุ และการด�ำเนินชีวติ ความซือ่ สัตย์ ได้แก่ การไม่โกหก การไม่โกง ความยุติธรรมอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้ เมื่อ พิจารณาในรายละเอียด พบว่า นักเรียนมีความซื่อสัตย์ ในด้านความยุติธรรมสูงที่สุด นอกจากนี้ด้านภาวะผู้น�ำ ที่แท้จริง จากการวิจัย พบว่า การรู้จักตนเอง ทักษะการ สื่อสาร การเปลี่ยนการน�ำอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้เมื่อ พิจารณาในรายละเอียด พบว่า นักเรียนมีภาวะผูน้ ำ� ทีแ่ ท้ จริงด้านการเปลี่ยนการน�ำสูงที่สุด จากการศึกษาในเชิง คุณภาพ พบว่า อิทธิพลทางสังคมและความซือ่ สัตย์สง่ ผล ต่อภาวะผู้น�ำที่แท้จริง ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์

เชิงปริมาณ ที่พบว่า อิทธิพลทางสังคม ความซื่อสัตย์ เพศ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะผู้น�ำที่แท้จริง ส่วนอายุมีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะผู้น�ำที่แท้จริง อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีความ สัมพันธ์กันในระดับต�่ำ (R2 = .352)

การอภิปรายผลการวิจัย

จากการศึกษาคุณสมบัติส่วนบุคคล อิทธิพลทาง สังคม ความซื่อสัตย์ที่มีผลต่อภาวะผู้น�ำที่แท้จริงของ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนในเครือเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร พบว่า 1. คุณสมบัติส่วนบุคคล เรื่องเพศและอายุ เป็น ปัจจัยที่ส�ำคัญในการส่งผลต่อภาวะผู้น�ำที่แท้จริงของ นักเรียน โดยเฉพาะเรือ่ ง เพศ ไม่วา่ เพศชายหรือเพศหญิง สามารถเป็ น ผู ้ น� ำ ที่ มี ภ าวะผู ้ น� ำ ที่ แ ท้ จ ริ ง ได้ มี ค วาม สามารถเท่าเทียมกัน ซึ่งสอดคล้องกับการสัมภาษณ์ ผูป้ กครองทีพ่ บว่าทัง้ เด็กชายและเด็กหญิงต่างก็ตอ้ งการ เป็นผู้น�ำ คือนักเรียนชายต้องการเป็นผู้น�ำเหมือนพ่อ ส่วนเด็กผูห้ ญิงก็ตอ้ งการเป็นผูน้ ำ� เหมือนแม่ ซึง่ สอดคล้อง กับงานวิจัยของเชินเบอร์ก และคณะ (Schoenberg, Salmond & Fleshman, 2008) ที่ศึกษาเรื่องการ เปลี่ยนแปลงของเนตรนารี และพบว่า ลูกเสือและเนตร นารี มีผลต่อภาวะผูน้ ำ� ของเพือ่ นลูกเสือ ร้อยละ 13 และ เนตรนารี ร้อยละ 11 และจากการศึกษาของลอยด์ (Lloyd, 2006) ซึ่งได้ศึกษาเรื่องผลกระทบของตัวแปร ต้นที่มีต่อจ�ำนวนต�ำแหน่งภาวะผู้น�ำที่นักเรียนได้รับ พบว่าอิทธิพลของเพื่อน อิทธิพลของพฤติกรรมต้นแบบ ส่งผลอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตติ อ่ ภาวะผูน้ ำ� ของนักเรียน และถึงแม้ว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยส�ำคัญในด้าน เพศ แต่กพ็ บว่า สิง่ ทีม่ อี ทิ ธิพลต่อภาวะผูน้ ำ� ของนักเรียน ชาย คือ อิทธิพลของพฤติกรรมต้นแบบ และการใส่ใจ ผู้อื่น ส่วนของนักเรียนหญิง คือ ความมั่นใจในตนเอง และการใส่ใจผูอ้ นื่ ความสอดคล้องดังกล่าวนี้ อาจจะเป็น เพราะว่าทัง้ เพศชายและเพศหญิงต่างก็มผี ลต่อภาวะผูน้ ำ� ที่แท้จริงทั้งสิ้น เพราะปัจจุบันนี้ไม่ว่าชายหรือหญิง สามารถเป็นผู้น�ำที่มีภาวะผู้น�ำที่มีความมั่นใจในตนเอง รู ้ จั ก ตนเองว่ า เป็ น คนอย่ า งไร เข้ ม แข็ ง หรื อ อ่ อ นแอ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

มีทักษะการสื่อสารที่จะสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้ รู้จัก พูดจาสุภาพกับผู้อื่น เป็นผู้น�ำที่รู้จักเปิดโอกาสให้ผู้อื่น แสดงความสามารถ แสดงความคิดเห็น ยอมรับปรับเปลีย่ น ความคิดของตนเองไปในทางที่ดีขึ้น อายุ มีผลต่อภาวะผู้น�ำที่แท้จริงในทางตรงกันข้าม เหตุที่เป็นเช่นนี้อธิบายได้ว่า นักเรียนยิ่งมีอายุมากขึ้น ภาวะผูน้ ำ� ทีแ่ ท้จริงยิง่ น้อยลง โดยเฉพาะในด้านการรูจ้ กั ตนเอง ทักษะการสื่อสาร และการเปลี่ยนการน�ำ และ อาจเป็นไปได้ว่า เมื่ออายุมากขึ้น มีต�ำแหน่งเป็นผู้น�ำจะ ตัดสินใจท�ำอะไร ต้องใช้เวลาศึกษามากกว่าเมื่ออยู่ใน ช่วงวัยรุน่ ต้นๆ หรือ ต้องตอบแทนพระคุณผูป้ กครอง ครู โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากเพื่อนที่คบกันมานาน ท�ำให้เกิด ความเกรงใจ ท�ำให้ความมัน่ ใจในตนเองลดน้อยลง ภาวะ ผู้น�ำที่แท้จริงจึงลดน้อยลงด้วย และจากการสัมภาษณ์ เพิ่มเติม พบว่า นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 - 4 จะพูด จะปฏิบัติตามเพื่อน ไม่กล้าแสดงออกในสิ่งตรงข้ามกับ เพื่อนในกลุ่ม ด้วยเกรงว่าเพื่อนในกลุ่มจะไม่ยอมรับ จะรับอิทธิพลมาจากเพือ่ นแล้วเผยแพร่ไปสูเ่ พือ่ นในกลุม่ กรณีดังกล่าวนี้ สามารถอธิบายได้ด้วย ทฤษฎีอิทธิพล ทางสั ง คมที่ เ กี่ ย วกั บ การขั ด เกลาทางสั ง คม ซึ่ ง การ ขัดเกลาทางสังคมเป็นการเรียนรู้ทางตรงหรือทางอ้อม ก็ได้ ซึ่งมีด (Mead, 1928) ได้ศึกษาถึงบทบาทของ วัฒนธรรมที่มีต่อบุคลิกภาพของวัยรุ่น ภาวะทางสังคม และวัฒนธรรมจะมีส่วนในการก�ำหนดบุคลิกภาพของ วัยรุ่น มีด ระบุให้เห็นบุคลิกภาพของบุคคลขึ้นอยู่กับว่า คนๆ นั้นเกิดและใช้ชีวิตอยู่ในสังคมใด การขัดเกลาทาง สังคมเป็นกระบวนการทั้งทางตรงและทางอ้อมของ มนุษย์ในสังคมหนึ่งๆ เพื่อที่จะพัฒนาตนเองให้เป็น สมาชิ ก ที่ ดี ข องสั ง คมและเพื่ อ พั ฒ นาบุ ค ลิ ก ภาพของ ตนเองด้วย จากการที่อายุยิ่งมากขึ้นภาวะผู้น�ำที่แท้จริง ยิ่งน้อยลงนั้น ตรงกันข้ามกับการศึกษาของ ไอบูกูนและ แอบ (Ibukun & Abe, 2011) ซึ่งมุ่งตรวจสอบลักษณะ พืน้ ฐานส่วนบุคคลในรัฐไอกีตปิ ระเทศไนจีเรีย พบว่าอายุ มีความสัมพันธ์กบั ภาวะผูน้ ำ� ของผูอ้ ำ� นวยการในทางบวก และตรงกันข้ามกับการวิจยั ของภารดี อนันต์นาวี (2547) ที่พบว่านิสิตสตรีระดับปริญญาโทที่มีอายุตั้งแต่ 30 ปี ขึ้นไปมีภาวะผู้น�ำสูงกว่านิสิตสตรีที่มีอายุน้อยกว่า 30 ปี

167

ความไม่สอดคล้องดังกล่าวนี้ น่าจะเป็นเพราะ อายุของ นักเรียนที่ผู้วิจัยได้ศึกษานั้น อยู่ในวัยรุ่น อายุระหว่าง 12-17 ปี ซึ่งศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และอาจเป็น ไปได้วา่ วัยวุฒิ คุณวุฒิ พฤติกรรม ความคิดเห็น ทัศนคติ ความเชื่อ ของผู้สูงอายุมีมากกว่าผู้มีอายุน้อย นอกจาก นี้งานวิจัยของชาวต่างชาติอาจแตกต่างกับของนักเรียน มัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนในเครือเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร ประเทศไทย รวมทั้งระยะเวลาที่ศึกษาก็ต่าง วาระกัน จึงอาจเป็นสาเหตุทำ� ให้ไม่เป็นไปทางทิเดียวกัน โดยเฉพาะในด้าน การรูจ้ กั ตนเอง ทักษะการสือ่ สาร และ การเปลี่ยนการน�ำ 2. อิทธิพลทางสังคม พบว่า อิทธิพลของผู้ปกครอง อิทธิพลของครู อิทธิพลของเพื่อนเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญ ในการส่งผลต่อภาวะผูน้ ำ� ทีแ่ ท้จริงของนักเรียน โดยเฉพาะ อิทธิพลของครู มีผลต่อภาวะผู้น�ำที่แท้จริงของนักเรียน มากที่ สุ ด ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ การสั ม ภาษณ์ ค รู พบว่ า พื้นฐานของการอบรมมาจากครอบครัว แต่นักเรียนอยู่ กับครูมากกว่าผู้ปกครอง นักเรียนได้รับอิทธิพลจากครู ทางพฤติกรรม และทัศนคติ ในขณะที่ครูอบรมสั่งสอน หรือแสดงความคิดเห็น แล้วครูใส่ทัศนคติในทางลบ หรือทางบวกของตนลงไป นักเรียนจะซึมซับทีละเล็ก ที ล ะน้ อ ยและปฏิ บั ติ ต ามแต่ ไ ม่ ส อดคล้ อ งกั บ การ สัมภาษณ์ผู้อ�ำนวยการที่ว่า ผู้ปกครองมีอิทธิพลต่อ นักเรียนมากที่สุดตั้งแต่ยังเล็ก เนื่องจากวิธีปฏิบัติ และ ทัศนคติในชีวติ ประจ�ำวันของผูป้ กครองจะถ่ายทอดมายัง นักเรียน ผู้ปกครองที่ซื่อสัตย์จะส่งผลให้นักเรียนมีความ ซื่อสัตย์ต่อตัวเอง และผู้อื่น ไม่กระท�ำผิดทั้งต่อหน้าและ ลับหลัง ส่วนกลุ่มเพื่อนในสถาบันการศึกษาเดียวกัน กลุ่มเพื่อนละแวกบ้าน กลุ่มเพื่อนมีอิทธิพลต่อทัศนคติ ของวัยรุน่ เป็นอย่างยิง่ เพราะเด็กวัยนีม้ แี นวโน้มต้องการ อยู่ร่วมกับเพื่อนที่มีรสนิยมใกล้เคียงกัน ไม่ว่าจะในด้าน ความคิดการแต่งกายหรือแบบของการแสดงออกเพือ่ ให้ เพื่อนยอมรับตนเป็นสมาชิกในกลุ่ม เพราะฉะนั้นจึง พยายามท�ำตามเพื่อนที่ชักจูงและแนะน�ำ การคบเพื่อน ดีจึงมีความหมายต่อวัยนี้ (ธนกฤติ ดีพลภักดิ์, 2556) ทั้ง อิทธิพลของผู้ปกครอง อิทธิพลของครู และอิทธิพลของ เพื่อนสอดคล้องกับงานวิจัยของ เชินเบอร์ก และคณะ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


168

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ทีไ่ ด้ศกึ ษาเรือ่ งการเปลีย่ นแปลงของเนตรนารีและพบว่า จุดมุ่งหมาย ทัศนคติในชีวิต และภาวะผู้น�ำของมารดามี อิทธิพลต่อภาวะผู้น�ำของบุตรี โดยมารดามีอิทธิพลใน การมีภาวะผู้น�ำของบุตรที่เป็นหญิงมากที่สุดกล่าวคือ ร้อยละ 81 บุตรชาย ร้อยละ 75 บิดามีอิทธิพลในการมี ภาวะผู้น�ำของบุตรชายร้อยละ 64 บุตรี ร้อยละ 62 ครู มีอทิ ธิพลในการมีภาวะผูน้ ำ� ของนักเรียนหญิง ร้อยละ 65 นักเรียนชาย ร้อยละ 56 และเพื่อนมีอิทธิพลในการมี ภาวะผูน้ ำ� ของเพือ่ นหญิง ร้อยละ 55 เพือ่ นชาย ร้อยละ 47 3. ในเรื่องของความซื่อสัตย์ที่ส่งผลต่อภาวะผู้น�ำ ทีแ่ ท้จริง พบว่า ปัจจัยเรือ่ งการไม่โกหก การไม่โกง ความ ยุติธรรม เป็นปัจจัยที่ส�ำคัญในการส่งผลต่อภาวะผู้น�ำ ที่แท้จริงของนักเรียน โดยเฉพาะความยุติธรรม พบว่า นักเรียนมีความยุตธิ รรมมากทีส่ ดุ เหตุทเี่ ป็นเช่นนีอ้ ธิบาย ได้ว่า ในเรื่องความยุติธรรมในประเด็นการไม่เคยปกปิด ความผิดของเพือ่ นเป็นประเด็นทีน่ กั เรียนมองประเด็นนี้ เป็นประเด็นทีส่ ำ� คัญมากทีส่ ดุ อาจเป็นเพราะว่า บางครัง้ ความผิดของเพื่อนมันกระทบกับผู้อื่นมาก ผิดความ ยุติธรรมต่อผู้อื่นมากเกินไป เนื่องจากในบางเรื่อง บาง ครั้งผู้อื่นได้รับความยากล�ำบากเหนื่อยยากมาก่อนที่จะ ประสบความส�ำเร็จ ถ้านักเรียนปกปิดความผิดของ เพื่อนทั้งๆ ที่รู้ว่าไม่ยุติธรรมต่อผู้อื่นหรือเป็นอันตราย ใหญ่หลวงต่อเพือ่ นในกลุม่ หรือแม้แต่ตวั เพือ่ นเอง ดังนัน้ ถ้าเพื่อนท�ำผิดก็สมควรที่จะต้องยอมรับผิด และยอมรับ โทษบ้าง ถ้าเข้าข้างเพือ่ นอาจเป็นผลร้ายกับตัวเพือ่ นเอง และสังคมส่วนรวม หรือในอนาคตถ้าปล่อยให้เพื่อน ท�ำผิดตั้งแต่อายุยังน้อย โตขึ้นอาจท�ำผิดถึงขั้นเกี่ยวกับ กฎหมายบ้ า นเมื อ งก็ เ ป็ น ได้ ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ การ สัมภาษณ์เพือ่ นนักเรียน พบว่า เพือ่ นในกลุม่ มัธยมศึกษา ตอนต้นมีอิทธิพลมากในการที่จะท�ำให้เพื่อนเป็นคน ซือ่ สัตย์หรือไม่ซอื่ สัตย์ หรือในการสนับสนุนให้เพือ่ นเป็น ผู้น�ำที่มีภาวะผู้น�ำที่แท้จริง วัยรุ่น มัธยมศึกษาปีที่ 2-3 จะจับกลุ่ม ส่วนมากจะท�ำตามเพื่อน จะฟังเพื่อน จะเชื่อ เพื่อน ถ้าเพื่อนคิดว่าการโกหก การโกงเป็นเรื่องปกติ ก็จะคิดตามเพื่อน และแสดงออกโดยการโกหกผู้ใหญ่ โกงเพื่ อ น ซึ่ ง อธิ บ ายได้ ด ้ ว ยทฤษฎี ข องโคลเบริ ก (Kohlberg’s theory, 1964) ที่ระบุว่าพัฒนาการทาง

จริยธรรมเป็นไปตามล�ำดับขั้นโดยเริ่มจากขั้นที่ต�่ำก่อน ต่อมาเมื่อได้รับประสบการณ์ทางสังคมใหม่ๆ เพิ่มขึ้น หรือสามารถเข้าใจความหมายของประสบการณ์เก่าได้ดี จึงเกิดการเปลีย่ นแปลงความคิดและเหตุผล ท�ำให้มกี าร ใช้เหตุผลให้สูงขึ้น ส่วนเหตุผลที่ขั้นต�่ำก็จะใช้ให้น้อยลง การให้เหตุผลเชิงจริยธรรมของบุคคลอาจจะหยุดชะงัก อยูใ่ นขัน้ ใดขัน้ หนึง่ ก็ได้ ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก่ บั ความสามารถทาง สติปัญญาซึ่งเป็นตัวก�ำหนดการให้เหตุผลเชิงจริยธรรม ของคนเรา บ่อเกิดของเหตุผลเชิงจริยธรรมนั้น มาจาก การพัฒนาทางการเรียนรูใ้ นขณะทีเ่ ด็กได้มโี อกาสติดต่อ สัมพันธ์กับผู้อื่น การได้เข้ากลุ่มทางสังคมประเภทต่างๆ จะช่วยให้ผู้ที่มีความฉลาด ได้เรียนรู้บทบาทของตนเอง และของผูอ้ นื่ อันจะช่วยให้เขาได้พฒ ั นาทางจริยธรรมใน ขั้นที่สูงขึ้นไปอย่างรวดเร็ว พัฒนาการจริยธรรมของเด็ก จะรับกฎเกณฑ์และข้อก�ำหนดของพฤติกรรมที่ดีและ ไม่ดจี ากผูท้ มี่ อี ำ� นาจเหนือตน เช่น บิดามารดา ครู หรือเด็ก ทีโ่ ตกว่า ผูท้ ำ� ถือว่าเป็นการประพฤติปฏิบตั ติ นตามความ คาดหวังของผูป้ กครอง บิดามารดา กลุม่ ทีต่ นเป็นสมาชิก หรือของชาติ เป็นสิ่งที่ควรจะกระท�ำ หรือท�ำความผิด เพราะกลัวว่าตนจะไม่เป็นทีย่ อมรับของผูอ้ นื่ พัฒนาการ ทางจริยธรรมจะพบในช่วงอายุ 10 - 15 ปี เด็กจะแสดง พฤติกรรมโดยไม่คำ� นึงถึงผลทีจ่ ะเกิดขึน้ แก่ตนเอง เพราะ ถือว่าความซือ่ สัตย์ ความจงรักภักดีเป็นสิง่ ส�ำคัญ ทุกคน มีหน้าที่ที่จะรักษามาตรฐานทางจริยธรรม ส่วนเด็กที่ มีอายุระหว่าง 13 - 15 ปี จะคิดว่าเกณฑ์และข้อบังคับ ของกลุ่มหรือสังคมมีความส�ำคัญ จะปฏิบัติตามกฎของ ส่ ว นรวมหรื อ ค� ำ ถามบรรทั ด ฐานของสั ง คม เพราะ ต้องการเป็นที่ยอมรับของกลุ่ม หรือต้องการให้ผู้อื่น ยอมรับว่าตนดี และจะถูกมองว่าเป็นคนดี แต่บางครั้ง การพั ฒ นาจริ ย ธรรมนั้ น มิ ใช่ ก ารรั บ ความรู ้ จ ากการ พร�ำ่ สอนของผูอ้ นื่ โดยตรง แต่เป็นการผสมผสานระหว่าง ความรู้เกี่ยวกับบทบาทของตนต่อผู้อื่นและบทบาทของ ผูอ้ นื่ ด้วย รวมทัง้ ข้อเรียกร้องและกฎเกณฑ์ตา่ งๆ ซึง่ อาจ จะขัดแย้งกัน แต่ในขณะเดียวกันก็ผลักดันให้บุคคล พัฒนาไปตามขั้นตอนในทิศทางเดียวกันเสมอ ไม่ว่า บุคคลจะอยู่ในกลุ่มใดหรือสังคมใดก็ตาม ซึ่งสอดคล้อง กับงานวิจยั ของดันบาร์ (Dunbar, 2004) ทีไ่ ด้ศกึ ษาเรือ่ ง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

โรงเรียนและบริษัทแสดงบทบาทในการสอนคุณธรรม 2 รูปแบบ ของ 2 ธุรกิจคูค่ า้ โดยใช้หวั ข้อว่า “การประสบ ความส�ำเร็จทางธุรกิจโดยใช้คุณธรรมและจริยธรรม” รูปแบบแรก คือความเป็นเลิศโดยใช้คุณธรรม (ส�ำหรับ ผูป้ ระสบความส�ำเร็จรุน่ เยาว์ เกรด 4-12) รูปแบบทีส่ อง คือความเป็นเลิศและยอดเยี่ยม (ส�ำหรับ เกรด 5-9) เพื่อ พัฒนาคุณธรรมในนักเรียนและพบว่า ผู้เข้าร่วมกลุ่ม ที่อยู่ในรุ่นเยาว์ เกรด 4-12 ที่ใช้หัวข้อการประสบความ ส� ำ เร็ จ ทางธุ ร กิ จ เป็ น เลิ ศ โดยใช้ คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม แสดงบทบาทภาวะผู้น�ำที่ดีกว่านักเรียนเกรด 5-9 นั่นก็ คือ การใช้คุณธรรมจริยธรรม มีความสัมพันธ์กับภาวะ ผูน้ ำ� เพราะสามารถแก้ปญ ั หาความขัดแย้ง ประสบความ ส�ำเร็จในหน้าที่ และเป็นมืออาชีพที่ดี ผู้น�ำที่มีภาวะผู้น�ำ นั้นต้องมีความซื่อสัตย์ (honesty) เช่น ไม่โกหก ไม่โกง มีความยุตธิ รรม ไว้วางใจได้ มีศลี ธรรมจรรยา สอดคล้อง กับเมย์และคณะ (May et al., 2003) ที่ว่าการซื่อสัตย์ ต่อตนเอง เป็นคุณสมบัติที่ส�ำคัญสู่ภาวะผู้น�ำที่แท้จริง ความสอดคล้องดังกล่าวนี้ น่าจะเป็นเพราะ ผลของการ หล่อหลอมของสภาพสังคมและวัฒนธรรมของแต่ละ สังคม และกลุ่มสังคมที่มีความส�ำคัญต่อบุคคลในการ หล่อหลอม เสริมสร้างบุคลิกภาพของบุคคล ให้สามารถ ด�ำเนินชีวิตในสังคมอย่างเหมาะสมและเป็นประโยชน์ กลุม่ จะช่วยอบรมและปลูกฝังค่านิยมบรรทัดฐานทีส่ ำ� คัญ ของสังคม เพือ่ ให้บคุ คลเป็นสมาชิกทีด่ ขี องสังคม ค่านิยม ทีส่ ำ� คัญๆ เช่น การเสียสละต่อส่วนรวม ความรับผิดชอบ ต่อสังคม ความซือ่ สัตย์ กลุม่ สังคมปลูกฝังแก่สมาชิกของ

169

กลุ่มตั้งแต่เยาว์วัย ซึ่งตรงกับการสัมภาษณ์นักเรียนใน เรือ่ งความซือ่ สัตย์ ทีว่ า่ ปัจจุบนั นักเรียนโกงน้อยลง ภาวะ ผู้น�ำที่แท้จริงในด้านการรู้จักตนเองทักษะการสื่อสาร การเปลี่ยนการน�ำ นักเรียนเลือกด้านการเปลี่ยนการน�ำ มากที่สุด โดยเฉพาะในประเด็น การเปิดโอกาสให้เพื่อน ตัดสินใจเสนอความคิดเห็น ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากว่านักเรียนอาจ มีความตั้งใจที่จะเปิดโอกาสให้เพื่อนมีโอกาสที่จะเป็น ผู้น�ำที่มีความมั่นใจในตนเอง มีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าคิดกล้าตัดสินใจ เป็นตัวของตัวเอง กรณีดังกล่าวนี้ สามารถอธิบายได้ ด้วยทฤษฎีของ ลูแทนส์ และอโวลิโอ (Luthans & Avolio, 2003) ซึ่งเป็นทฤษฎีที่สร้างขึ้น จากพฤติกรรมเชิงองค์การต้นแบบและด้านบวกของ ทฤษฎีภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง (transformational leadership) และทฤษฎีหลักศีลธรรมจรรยา (ethical perspective) ลูแทนส์ และอโวลิโอ กล่าวว่า ภาวะผู้น�ำ ทีแ่ ท้จริงเป็นกระบวนการทีด่ งึ ความสามารถของผูน้ ำ� ใน เชิงบวกและเนือ้ หาขององค์การพัฒนาอย่างสูงไว้ดว้ ยกัน กระบวนการภาวะผูน้ ำ� ทีแ่ ท้จริงมีอทิ ธิพลต่อการรูจ้ กั ตัว เองและพฤติกรรมในเชิงบวกทีค่ วบคุมตัวเองในส่วนของ ทัง้ ผูน้ ำ� และกระตุน้ การเติบโตและการพัฒนาตนเองของ บุคคลในเชิงบวก ซึ่งลูแทน และอโวลิโอ ได้ให้ค�ำนิยาม โดยเน้นการมีความเชื่อมั่น มีความหวัง มองโลกในแง่ดี ยืดหยุ่นได้ มีศีลธรรมจรรยา มุ่งอนาคตและให้ความ ส�ำคัญเป็นอันดับแรกที่การพัฒนาผู้ช่วยเพื่อให้เป็นผู้น�ำ ที่มีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง (Luthans & Avolio, 2003 อ้างถึงใน Ilies, Morgeson & Nahrgang, 2005)

บรรณานุกรม

ธนกฤต ดีพลภักดิ์. (2556). การเปิดรับสื่อ พฤติกรรม และผลกระทบจาการเล่นเกมออนไลน์ประเภท MMORPG (Massively Multiplayer Online Role-Playing Game) ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในเขต กรุงเทพมหานคร. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 5 (ฉบับพิเศษ), 69. นกุล ว่องฐิติวงศ์. (2550). เด็กในวันนี้คือผู้ใหญ่ในวันหน้า. สืบค้นเมื่อ 31 พฤษภาคม 2550, จาก www.kriengsak. com/node/49 นภดล กรรณิกา. (2556). เอแบคโพลชีค้ นไทยยอมรับมีคอรัปชัน่ ทุกวงการ. สืบค้นเมือ่ 27 กันยายน 2556, จาก www. dailynews.co.th/politics/191035.-แคช ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


170

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ. (2553). ชีร้ าชการทุจริต 200 เรือ่ งต่อเดือน แนะแก้ปญ ั หาทีจ่ ติ ใจคน. สืบค้นเมือ่ 17 กุมภาพันธ์ 2555, จาก https://www.thairath.co.th/content/pol/137370 วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร. (2010). สิงคโปร์กับไทย: บทความ. สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2556, จาก www.komchadluek. net/detail/20100607/61928/สิงคโปร์กับไท.html พสุ เดชะรินทร์. (2551). ผู้น�ำที่ดีต้องเริ่มจากการรู้จักตนเอง. สืบค้นเมื่อ 9 ธันวาคม 2551, จาก pasu@acc.chula.ac.th ภารดี อนันต์นาวี. (2547). การวิเคราะห์ภาวะผู้น�ำของนิสิตสตรีระดับปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. สืบค้นเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2555, จาก www.edu.buu.ac.th/ journal/.../Link_Jounal%20edu17_2_5.pdf สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. (2554). ภาวะผู้น�ำ. สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2553, from www.novabizz.com/NovaAce/ Relationship/ภาวะผู้น�ำ.htm สัมมา รธนิชย์. (2553). ภาวะผู้น�ำของผู้บริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์ข้าวฟ่าง. Avolio, B. J. & Gardner, W. L. (2005). Authentic leadership development: Getting to the root of positive forms of leadership. The Leadership Quarterly 16. 315- 338. Babbie, E. (2001). The practice of social research. Retrieved December 13, 2011, from books.Google. com/books/about/The_Practice_of_Social_Research.htm?id Colossians. (2009). Do not lie to one another. Retrieved April 1, 2010, from https://www.biblegateway. com/passage/?...Colossians Curry, A. & Kadasah, N. (2002). Focusing on key elements of TQM-evaluation for sustainability. The TQM Magazine. 14(4), 207. Dunbar, G. (2004). Schools, firm play role in teaching ethics. Retrieved April 8, 2012, from www. org/ programs/integrity-works/pdf/ai_abstracts.pdf Fry, L. W. (jody) & Whittington J. L. (2005). In search of authenticity: spiritual leadership theory as a source for future theory, research, and practice on authentic leadership. Retrieved July 12, 2009, from http://www.google.co.th/ Ibukun, O. & Abe. (2011). Personality characteristics and principal leadership –Effectiveness in Ekiti State, Nigeria. Retrieved August 15, 2011, from www.regent.edu/.../5Ibukun Oyewole Ilies, R., Morgeson, F. P. & Nahrgang J. D. (2005). Authentic leadership and eudemonic well-being: Understanding leader-follower outcomes. The leadership Quarterly. 16, 373-394. Kohlberg, L. (1964). Lawrence Kohlberg’sstages of moral development. Retrieved May 28, 2010, from en.wikipedia.org/.../Lawrence Lauglo, J. & Oia, T. (2008). Policy Futures in Education. Retrieved March 11, 2009, from www.wwwords. co.uk/pfie/6/issue6_2.asp Leviticus. (2006). You must not deal unjustly in judgment. You must neither show partiality to the poor nor honor the fellow citizen fairly. Retrieved April 1, 2010, from www.vatican.va Lloyd, J. M. (2006). Predicting leadership: characteristics associated with student leadership. Retrieved October 30, 2011, from www.polyusf.edu/Documents/.../Lloyd. JanM-200605-phd.pdf ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

171

Luthans, F. & Avolio, B. J. (2003). Authentic leadership development: Getting to the root of Positive. Retrieved May 6, 2012, from www.heyleadership.com/…/Authentic%20Leadership%20 Developmeent%20 Mead, M. (1928). Margaret Mead and the study of socialization. Retrieved August 12, 2010, from http:onlinelibrary,wiley.com/doi/10.1525/eth.1975.3.2.02aooo20/pdf Moreillon, J. (2001). Address. 20th APR Scout conference report 24 October 2001. Retrieved January 12, 2008, from www.scoutthailand.org Schoenberg, J, Salmond, K. & Fleshman, P. (2008). Change It up! What Girls say About Rede ining Leadership. New York: Girl Scouts of the USA. Shar, S. (2009). Impact of teacher’s behaviour on the academic achievement of university students. Retrieved April 4, 2010, from www.ea.sinica.edu.tw/eu_file/127710164514.pdf Sharmir, B. & Eilam, G. (2005). What’s your story? A life-stories approach to authentic Leadership development. The leadership Quarterly. 16, 397. Skjei, S., Mccaleb L. C. & Wilding M. (2006). Authenticity and intergrity what is inside the “blackbox” of leadership. Retrieved July 2, 2008, from www.naropa.edu/extend/marpa/documents/ Wheatley, M. (1999). Leadership a New World View. Retrieved November 23, 2009, from tbonnington. Tripod.com/quantumgazette12id1.html Yamane, T. (1973). Statistics: an introductory analysis. Retrieved August 1, 2010, from library.utee. ac.th/Opac/norm_detail.asp?bib_no=000000000035161

Translated Thai References

Anannawi, P. (2004). Analysis of Student Leadership Women’s Masters Major. Field of Education University. Retrieved February 19, 2012, from www.edu.buu.ac.th/journal/.../Link_Jounal%20 edu17_2_5.pdf [in Thai] Diphonphak, T. (2013). Media Exposure and Behavioral Effects of MMORPG Online Gaming of high School Students in Bangkok Metropolitan. Panyapiwat Journal, 5(special Issue), 69. [in Thai] Decharin, P. (2019). How is Authentic Leadership. Retrieved December 9, 2019, from pasu@acc.chula. ac.th [in Thai] Kannika, N. (2013). Poll indicated that Thailand had accepted all the corruption. Retrieved September 27, 2014, from www.dailynews.com.th/politics/191035 [in Thai] Klanarongran, P. (2011). Corruption in government, about per month, suggestion Solutions to mind. Retrieved February 17, 2012, https://www.thairath.co.th/content/pol/137370 [in Thai] Pomphet, N. W. (2010). Singapor and Thailand. Article. Retrieved October 13, 2014, from www. komchadluek.net/detail/20100607/61928/สิงคโปร์กับไท.html [in Thai] Phonsiwat, S. (2010). Leadership. Retrieved August 12, 2010, from www.novabizz.com/NovaAce/ Relationship/ภาวะผู้น�ำhtml [in Thai] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


172

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Ratnit, S. (2010). Leadership Management. (2nd ed.). Bangkok: Kaophang. [in Thai] Wongthitiwong, N. (2007, May 27). Today’s children are tomorrow’s adults. Retrieved May 31, 2007, from www.kriengsak.com/node/49 [in Thai]

Kanchana Sudprasert received her M. Ed. (Educational Administration),

major in Educational Administration from Srinakharinwirot University in 1996. And received her Ph. D (Doctor of Philosophy Program in Development Administration), major in Education Administration from Suan Sunandha Rajabhat University in 2014. She is currently the principle and directress of Pataravitaya School.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

173

ผู้หญิงกับการเปลี่ยนแปลงเชิงเศรษฐกิจ ศึกษากรณีเศรษฐกิจ พอเพียง จังหวัดอ่างทอง WOMEN AND ECONOMIC CHANGE: A CASE STUDY OF THE SUFFICIENCY ECONOMY IN ANG THONG PROVINCE ฉัตรวรัญ องคสิงห์1 Chatwarun Ongkasing1 บทคัดย่อ

งานวิจยั นีม้ วี ตั ถุประสงค์ 1) ศึกษาบทบาทเพศภาวะของผูห้ ญิงในการเปลีย่ นแปลงไปสูแ่ นวทางเศรษฐกิจพอ เพียง 2) เพื่อศึกษาคุณลักษณะของผู้น�ำหญิงในวิถีเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การสนทนากลุ่มและ การสัมภาษณ์เชิงลึก ในกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก 12 คน ใน จังหวัดอ่างทอง ผลการวิจัยพบว่า บทบาทของผู้หญิงเริ่มต้น จากการท�ำกิจกรรมการเกษตรทีผ่ หู้ ญิงสามารถท�ำได้เอง เช่นการเลีย้ งปลาดุก เลีย้ งหมู ปลูกพืชผักทีส่ ามารถเป็นอาหาร ในครัวเรือนและขายได้ มีรายได้เข้าบ้านทุกวันพร้อมกับการลดรายจ่ายค่าอาหาร ในด้านการท�ำนาได้เปลี่ยนมาเป็น เกษตรผสมผสานและเกษตรอินทรีย์ มีการเปลี่ยนแปลงวิธีคิดจากคุ้นเคยการเป็นหนี้ให้เข้ามาสู่วิถีพอเพียง ส�ำหรับ คุณลักษณะของผู้น�ำหญิงนั้น ผู้น�ำต้องประพฤติตนให้เห็นในวิถีชีวิต ได้แก่ ความซื่อสัตย์ ความไว้วางใจ และความ สุจริตใจ มีความน่าเชื่อถือด้วยความรู้ความสามารถและอุทิศตนในการถ่ายทอดความรู้ มีความยุติธรรม ไม่เลือก พวกพ้อง มีเหตุผล มีการตัดสินใจอย่างรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มุ่งมั่นในงานที่ท�ำให้ส�ำเร็จ มีความเปิดเผย มีความ จริงใจต่อทีมที่ท�ำงานร่วมกัน และผู้น�ำควรได้รับแรงบันดาลใจและการสนับสนุนจากครอบครัว โดยมีข้อเสนอแนะคือ 1. ควรมีการสร้างความรู้ความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงชีวิตไปสู่เศรษฐกิจพอเพียง และ 2. ควรยกย่องผู้หญิงในการเป็น ผู้น�ำ ที่สามารถอุ้มชูตนเองและชุมชน ค�ำส�ำคัญ: ผู้หญิง เศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดอ่างทอง

ABSTRACT

The research purposes were 1) to study role of woman for economic change to sufficiency economy and 2) to study characteristics leadership of woman in sufficiency economy. Using qualitative method, focus group and in-depth interview from 12 key informants in Ang Thong Province. The finding were the role of women to change from modernization to suffciency economy pattern. The recovery is to turn to the sufficiency economy philosophy in New Theory Agriculture. They took care many parts of production sectors such as farming, catfish in ponds plastic, hole pig, and plants 1

รองคณบดีฝ่ายบริหาร และผู้อ�ำนวยการหลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาผู้น�ำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง ระบบการศึกษาทางไกล ทางอินเทอร์เน็ต วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต, Associate Dean for Administration and Director of Master of Art in Leadership in Society Business and Politics (internet-based distance education), E-mail: chattrsu@gmail.com ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


174

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

which were both for food and sale. This way showed that women had role in change and held economic power in family. They could earn money for their family in diary life and safe expense too. In farming they change from the chemical using which were harmful to organic pattern. The process of change needs to change the way of thinking. Leading characteristic women were the integrity, reliability, justice, rationality, liability, openness, creativity, ability to work and self-confidence. The decision making to change to the sufficiency economy were woman to be a leader. Those woman gain knowledge from the training and communicate to both of family and others. The key point is making an example. The fruitful of production is contributes to the respect and there are follow it. Research suggestions were 1. Should be built up the understanding changing to sufficiency economiy and 2. Should be admire woman who can be a community leader to sufficience development. Keywords: women, sufficiency economy, Ang Thong Province

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา

ในอดีตเศรษฐกิจของไทยเป็นเศรษฐกิจเพื่อยังชีพ และเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ปัจจัยการผลิตได้แก่ที่ดิน และแรงงาน แต่ ต ่ อ มาเมื่ อ ระบบเศรษฐกิ จ การค้ า ระบบทุนนิยมเข้ามา ทุนได้เข้ามาเป็นปัจจัยการผลิต ทีส่ ำ� คัญเพิม่ ขึน้ จากปัจจัยทีด่ นิ และแรงงาน โดยเศรษฐกิจ พอเพี ย งได้ ถู ก ท� ำ ลายลงอย่ า งสิ้ น เชิ ง ทั่ ว ภู มิ ภ าคของ สั ง คมไทยด้ ว ยการน� ำ แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ มาใช้ ใ น ปี พ.ศ. 2504 ที่รัฐบาลผลิตเพื่อการค้าและการส่งออก จนกระทั่งในปี 2540 ที่เกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจ รัฐบาล ได้ หั น กลั บ มาให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ เศรษฐกิ จ ชุ ม ชน และเศรษฐกิจพอเพียงได้ถูกน�ำมาใช้เป็นแนวทางใน การพัฒนาประเทศ การพัฒนาไปสู่ความทันสมัยเป็นการพัฒนาที่ใช้ ระบบทุนนิยมในการขับเคลือ่ น โดยเน้นการเปลีย่ นแปลง สังคมเกษตรกรรมให้เป็นอุตสาหกรรม ที่เน้นการใช้ เทคโนโลยีในระดับสูงและมีราคาแพง ซึง่ ต้องน�ำเข้าจาก ต่างประเทศ ประเทศที่มีรากฐานแบบเกษตรกรรมแบบ ดั้งเดิมที่ไม่มีความรู้ทางด้านเทคโนโลยีเป็นของตนเอง ต้องพึ่งพิงความรู้และเทคโนโลยีรวมถึงระบบตลาดและ ระบบทุน โดยที่แนวทางการพัฒนาไปสู่ความทันสมัยนี้ เน้ น ระบบการผลิ ต ที่ ไ ด้ ผ ลผลิ ต ในปริ ม าณมากเพื่ อ การบริ โ ภคในระดั บ สู ง ท� ำ ให้ เ กิ ด การใช้ ส ารเคมี ใ น

ภาคการเกษตรในทุกขั้นตอน เกษตรกรจึงต้องพึ่งพิง ระบบทุนและผู้ผลิตปุ๋ย สารเคมีและผลิตภัณฑ์ทางการ เกษตร จนอยู่ในสภาพที่ไม่อาจพึ่งตนเองได้อีกต่อไป ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งซึ่ ง พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงวางแนวทางไว้ให้พสกนิกรนั้นคือ การเน้นการพึง่ ตนเอง  การตัง้ ตัวให้พอกินพอใช้ในระดับ ที่เลี้ยงตนเองได้เป็นพื้นฐานบนความประหยัดและลด ค่าใช้จา่ ยทีไ่ ม่จำ� เป็น จนกระทัง่ เมือ่ บุคคล และครอบครัว สามารถอุ้มชูตนเองได้แล้ว จึงขยายไปจนถึงระดับของ การรวมกลุ่มและขยายเป็นเครือข่าย ในด้านการจัดการ ด้านการลงทุน การผลิต การตลาด การจ�ำหน่ายและการ บริหารจัดการทางเศรษฐกิจ ทั้งนี้ในการเปลี่ยนแปลง แนวทางการเกษตรระบบพึง่ พิงภายนอกมาพึง่ พิงตนเอง และมีความพอเพียงนั้น ผู้น�ำถือว่าเป็นแกนหลักและ มีบทบาททีส่ ำ� คัญยิง่ ในการระดมปัจจัยต่างๆ มาใช้ในการ ปรับเปลีย่ นวิธคี ดิ และลงมือท�ำให้เห็นเป็นภาคปฏิบตั กิ าร ซึง่ บทบาทของผูน้ ำ� ในชุมชนได้เปิดพืน้ ทีใ่ ห้กบั ผูช้ ายเป็น ส่วนใหญ่ โดยเพศชายมักจะได้รับการเลือกให้เป็นผู้น�ำ ผู ้ ช ายจึ ง มิ ใช่ เ ป็ น เพี ย งผู ้ ก� ำ หนดความเป็ น ไปในเชิ ง เศรษฐกิ จ เท่ า นั้ น แต่ ร วมถึ ง บทบาทการเมื อ งการ ปกครองด้วย แต่เมื่อพิจารณาข้อมูลของหน่วยงาน ราชการทีม่ กี ารจัดประกวดชุมชนทีไ่ ด้รบั รางวัลเศรษฐกิจ พอเพียง ก็พบว่าในจังหวัดอ่างทอง มีผู้น�ำหญิงที่ได้รับ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

รางวัลผูน้ ำ� ชุมชนในด้านเศรษฐกิจพอเพียง หมอดินดีเด่น และปราชญ์ชาวบ้านด้านสมุนไพรแปรรูป ดังนัน้ จึงท�ำให้ ผู้วิจัยมีความสนใจว่าในการเปลี่ยนแปลงวิถีการผลิตมา สูว่ ถิ กี ารผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงนัน้ คุณลักษณะของ ผู้น�ำหญิงต้องเป็นอย่างไร และบทบาททางเพศมีผลต่อ การเปลี่ยนแปลงวิถีการผลิตหรือไม่ อย่างไร

วัตถุประสงค์การวิจัย

1) ศึกษาบทบาททางเพศภาวะของผู้หญิงในการ เปลี่ยนแปลงไปสู่แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 2) ศกึ ษาคุณลักษณะของผูน้ ำ� ทีเ่ ป็นผูห้ ญิงในวิถที าง เศรษฐกิจพอเพียง

ค�ำถามการวิจัย

1) ผู ้ ห ญิ ง มี บ ทบาทอย่ า งไรในการด� ำ เนิ น ตาม แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 2) คุณลักษณะของผู้น�ำหญิงมีผลต่อเงื่อนไขปัจจัย และกระบวนการในการเข้าสู่วิถีการผลิตแบบเศรษฐกิจ พอเพียงอย่างไร

ขอบเขตการวิจัย

1) ขอบเขตด้านเนื้อหา แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ (1) บทบาทของผูห้ ญิงทีแ่ ปรเปลีย่ นจากระบบเศรษฐกิจ ดั้งเดิมไปสู่ระบบเศรษฐกิจในสังคมทันสมัย และแปร เปลี่ยนไปสู่แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง โดยพิจารณาว่า ในแต่ละช่วงของการเปลีย่ นผ่าน ผูห้ ญิงมีบทบาทอย่างไร (2) แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงถูกน�ำมาใช้ในวิถีปฏิบัติ อย่างไร วิถีปฏิบัติเหล่านั้นเกี่ยวข้องกับการพึ่งตนเอง หรือไม่ อย่างไร ผูห้ ญิงมีบทบาทอย่างไร (3) คุณลักษณะ การเป็นผู้น�ำหญิงเป็นอย่างไร ส่งผลต่อผู้ตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงอย่างไร และ (4) ความแตกต่างทาง เพศภาวะหญิงชาย มีผลอย่างไรต่อการเปลี่ยนวิถีการ ผลิตไปสู่แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง มีการยอมรับใน บทบาทความแตกต่างทางเพศภาวะอย่างไร 2) ขอบเขตด้านเวลา ศึกษาระหว่างมกราคม 2556 -  กันยายน 2557 3) ข อบเขตด้ า นพื้ น ที่ ศึ ก ษาชุ ม ชนเศรษฐกิ จ

175

พอเพียงจังหวัดอ่างทองใน ต.บ้านแห อ.เมืองอ่างทอง ต.ตลาดใหม่ อ.วิเศษชัยชาญ และ ต.ป่าโมก อ.ป่าโมก ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีผู้น�ำหญิงประสบผลส�ำเร็จในการท�ำการ เกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง

กรอบแนวคิดในการวิจัย

ระบบเศรษฐกิจดั้งเดิมของสังคมไทยเป็นระบบ เศรษฐกิจแบบยังชีพที่อยู่ในวิถีเกษตรแบบผสมผสาน และเป็นเศรษฐกิจที่สามารถพึ่งตนเองได้ เนื่องจาก กระบวนการผลิตสามารถท�ำได้เอง การผลิตเน้นการ บริโภคภายในครอบครัวเมื่อผลผลิตมีเหลือกินจึงขาย ปัจจัยการผลิตได้แก่ทดี่ นิ และแรงงาน ผูห้ ญิงกับผูช้ ายจึง มีบทบาทเสมอกันซึ่งท�ำให้ปัจเจกชนสามารถพึ่งตนเอง มีหลักประกันในการด�ำรงชีพ ปัจเจกบุคคลมีอสิ ระในการ ตั้งเป้าหมาย ในการด�ำเนินการให้บรรลุเป้าหมายด้วย ก�ำลังแรงงานของตน ต่อมาเมื่อการพัฒนาประเทศเน้น การผลิตเชิงอุตสาหกรรมทีม่ งุ่ การขยายตัวของธุรกิจและ อุตสาหกรรมมากกว่าการรักษาดุลยภาพของการพัฒนา เกษตรกรรม โดยวางกรอบการพัฒนาว่าจะต้องเป็นการ เปลี่ยนแปลงหรือความก้าวหน้าไปในทิศทางที่ “ดีกว่า” หรือ “ทันสมัยกว่า” อันเป็นไปตามรูปแบบของโลก ตะวั น ตกที่ ผู ก ติ ด กั บ แนวคิ ด ทางเศรษฐศาสตร์ แ บบ เสรีนยิ มสมัยใหม่เท่านัน้ (ณัฐพล โสตถิรตั น์วโิ รจน์, 2557: 278) และหนึ่งในนโยบายการพัฒนาไปสู่ความทันสมัย คือการปลูกพืชเชิงเดี่ยวเพื่อการส่งออก จึงมีการดึง แรงงานออกจากภาคเกษตร การเกษตรเชิงพาณิชย์ เช่นนี้เน้นการใช้ทรัพยากรจากภายนอกทั้งน�้ำมันเชื้อ เพลิง ปุ๋ย ยาฆ่าแมลง ในขณะที่แบบแผนทางการผลิต ในภาคเกษตรเปลี่ยนแปลงไป แรงงานหญิงถูกดูดดึง เข้าสู่การผลิตแบบอุตสาหกรรมแนวคิดเรื่องการท�ำงาน โดยแบ่ ง แยกงานตามเพศ อุ ด มการณ์ ช ายเป็ น ใหญ่ ก็ถกู สถาปนาขึน้ โดยสร้างความเชือ่ ว่า หน้าทีแ่ ละงานหลัก ของผู ้ ห ญิ ง คื อ งานบ้ า น ผู ้ ห ญิ ง ที่ ไ ปท�ำ งานนอกบ้ า น จึงได้รับค่าจ้างแรงงานต�่ำในตลาดแรงงาน เมื่องานบ้าน ถื อ เป็ น งานนอกระบบ ไม่ มี มู ล ค่ า และไม่ ร วมอยู ่ ใ น ตลาดแรงงาน ดังนั้นผู้หญิงจึงขาดพลังอ�ำนาจเพราะ ไม่มีบทบาทในการเป็นผู้ผลิต

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


176

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

พ.ศ. 2540 ประเทศไทยประสบปั ญ หาวิ ก ฤต เศรษฐกิ จ อย่ า งรุ น แรงจนเกิ ด ผลกระทบทั่ ว ประเทศ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ซึ่งได้ทรงพระราชทาน แนวคิดการพออยู่พอกินและเน้นความเป็นอยู่โดยการ ประหยัดมาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2517 ได้ทรงเน้นเรือ่ งความพอ เพียง ซึ่งมีความหมายว่าท�ำอะไรให้เหมาะสมกับฐานะ ของตนเอง จึงจะอยู่ได้โดยไม่เดือดร้อน ทั้งนี้ถือเป็น เศรษฐกิจที่สามารถอุ้มชูตนเองให้มีความพอเพียงกับ ตนเองและครอบครัว (พระมหาประทีป พรมสิทธิ,์ 2545) งานวิ จั ย นี้ ส นใจแนวคิ ด และภาคปฏิ บั ติ ก ารของ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผ่านมุมมองของเพศภาวะ เนื่องจากในระบบการผลิตแบบดั้งเดิมผู้หญิงสามารถ ท�ำงานเคียงบ่าเคียงไหล่กับผู้ชาย แต่เมื่อระบบการผลิต แบบเกษตรพาณิชย์ได้ท�ำให้บทบาทของผู้หญิงตกเป็น รอง ดังนัน้ เมือ่ สังคมรับเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา ใช้ในการด�ำเนินชีวติ ประกอบกับมีผหู้ ญิงซึง่ ขึน้ เป็นผูน้ ำ� และน�ำแนวทางนีม้ าปรับใช้ งานวิจยั นีจ้ งึ ใช้กรอบแนวคิด จากมุมมองของเพศภาวะของผูห้ ญิงในการเปลีย่ นแปลง ไปสู่แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อค้นหาคุณลักษณะ และบทบาทของผู ้ ห ญิ ง ในการเปลี่ ย นแปลงจาก การเกษตรแบบทั น สมั ย สู ่ วิ ถี ก ารผลิ ต ตามปรั ช ญา เศรษฐกิจพอเพียง

แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

เพื่อให้งานวิจัยนี้สามารถตอบค�ำถามการวิจัยภาย ใต้ ก รอบความคิ ด ในการวิ จั ย ที่ ว างไว้ จึ ง ได้ ท บทวน วรรณกรรมแนวคิดต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางการ พัฒนาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเน้นว่าการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่เพียง อย่างเดียวอาจจะเกิดปัญหาได้ จึงทรงเน้นการมีพอกิน พอใช้ของประชาชนเป็นเบื้องต้น เมื่อมีพื้นฐานมั่นคง พร้อมพอสมควรแล้ว จึงสร้างความเจริญและฐานะทาง เศรษฐกิจให้สงู ขึน้ โดยดัดแปลงแนวคิดแนวปฏิบตั ใิ นการ ส่งเสริมความเจริญด้านอุตสาหกรรมให้สมดุลกับด้าน อื่นๆ เพื่อความอยู่รอด ความพอเพียงมีหมายความว่า พอมีพอกิน ท�ำอะไรให้เหมาะสมกับฐานะของตัวเอง

มีความพอเพียงกับตัวเอง และเป็นเศรษฐกิจที่สามารถ อุ ้ ม ชู ตั ว เองได้ ในการด� ำ เนิ น การตามพระราชด� ำ ริ ได้มีโครงการที่มีการศึกษาค้นคว้าทดลองเป็นการส่วน พระองค์เพื่อน�ำผลการทดลองไปใช้ในพื้นที่ที่เห็นว่า เหมาะสม โดยมีหลักเน้นเรือ่ งการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพือ่ บรรเทาความเดือดร้อนของราษฎร และมีการพัฒนา อย่างเป็นขั้นตอนตามล�ำดับความจ�ำเป็นอย่างประหยัด ทรงใช้ค�ำว่า “ระเบิดจากข้างใน” นั่นคือท�ำให้ชุมชน หมู่บ้านมีความเข้มแข็งก่อนแล้วจึงค่อยออกสู่สังคม ภายนอก (ทรงชัย ติยานนท์, 2542 และพระมหาประทีป พรมสิทธิ์, 2545) ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ (สศช.) เป็นหน่วยงานแรกที่ได้ริเริ่ม สังเคราะห์องค์ความรู้เศรษฐกิจพอเพียง โดยได้จ�ำแนก องค์ประกอบของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงออกเป็น (1) ความพอประมาณ (2) ความมีเหตุผล (3) การมีภมู คิ มุ้ กัน ตัวเอง ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่ต้องเกิดขึ้นพร้อมกันกับ เงื่อนไขส�ำคัญ 2 ประการได้แก่ความรู้และคุณธรรม เศรษฐกิจพอเพียงจึงมิใช่เป็นเพียงการพึ่งตนเองโดยไม่ เกี่ยวข้องกับใคร และมิใช่เพียงการประหยัด แต่ยัง ครอบคลุมถึงการข้องเกีย่ วกับผูอ้ นื่ การช่วยเหลือเกือ้ กูล ซึ่งกันและกัน ภาคปฏิบัติการของปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียงอยูใ่ นรูปทฤษฎีใหม่ซงึ่ ท�ำให้ประชาชนด�ำรงชีวติ อยู่ ได้ตามอัตภาพ โดยเน้นที่การมีแหล่งน�้ำที่สามารถน�ำมา ใช้ในการเกษตรได้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีแนวทางทีเ่ น้นให้บคุ คล และชุมชนสามารถพึ่งตนเอง อุ้มชูตนเองได้ เสียก่อน จึงค่อยพึ่งพิงภายนอกการผลิตจะต้องอยู่บนฐานคิดว่า ทรัพยากรและวัตถุดิบหาได้ในท้องถิ่นแทนที่จะซื้อจาก ภายนอกเพราะจะท�ำให้มีต้นทุนการผลิตเพิ่มมากขึ้น เน้นการจ้างงานในชุมชนหรือเน้นให้สมาชิกมีส่วนร่วม ในการผลิต และไม่แสวงหาก�ำไรมากเกินไป มีระดับการ ผลิตที่เหมาะสมกับความสามารถและศักยภาพในการ ผลิตของตนเอง ไม่ลงทุนในเครื่องจักรและเทคโนโลยี ที่เกินความสามารถของตนเอง (อารีย์ นัยพินิจ, 2557: 313) มี ก ารผลิ ต เพื่ อ พออยู ่ พ อกิ น ผลผลิ ต เหลื อ จึ ง น�ำไปขาย โดยให้ความส�ำคัญกับการค้า การแลกเปลีย่ น

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

ในระดับรองลงมา และให้ความส�ำคัญกับการรวมกลุ่ม ในระดับชุมชนและองค์กร ตลอดจนการร่วมมือในระดับ เครือข่าย 2. แนวคิ ด การพึ่ ง ตนเอง การพึ่ ง ตนเองเป็ น รากฐานส� ำ คั ญ ของการพั ฒ นา หากมี ก ารพั ฒ นาที่ ไม่สามารถพึง่ ตนเอง แต่ตอ้ งพึง่ พิงนายทุน หรือประเทศ อื่นก็เท่ากับว่าการพัฒนานั้นมีปัญหา ส�ำหรับการพึ่ง ตนเองของชุ ม ชนมี ค วามเปลี่ ย นแปลงเกิ ด ขึ้ น เมื่ อ แนวทางการพัฒนาแบบทันสมัยเข้าไปในชุมชน ส่งผลให้ ชุมชนได้รบั กระแสการพัฒนาและเปลีย่ นแปลงการด�ำรง ชีวิตในทุกมิติ เพราะเมื่อประเทศไทยเข้าไปเชื่อมต่อกับ ระบบทุนนิยมโลกจนกระทั่งกลายเป็นส่วนหนึ่งของ เศรษฐกิจโลก ชุมชนหมู่บ้านและทุกภาคส่วนล้วนได้รับ ผลกระทบของระบบเศรษฐกิจโลกตามมา นโยบายการ พัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชาติซึ่งเริ่มแผนแรกใน พ.ศ. 2504 และด�ำเนินต่อเนื่อง มาตั้งแต่แผนที่ 1 - 6 นับเป็นการพัฒนาที่มีทิศทาง ที่ท�ำให้ประเทศไทยไม่สามารถพึ่งตนเองได้ทั้งทางด้าน เศรษฐกิจและสังคม เนือ่ งจากมีการผลิตเชิงอุตสาหกรรม และนโยบายการพั ฒ นาที่ มุ ่ ง ขยายตั ว ของธุ ร กิ จ และ อุตสาหกรรมมากกว่าการทีจ่ ะรักษาดุลยภาพการพัฒนา โดยสนใจภาคเกษตรกรรม นโยบายการปลูกพืชเชิงเดีย่ ว พื ช ไร่ เ พื่ อ ส่ ง ออกจึ ง แพร่ ก ระจายไปทั่ ว ทุ ก พื้ น ที่ ข อง ประเทศ การผลิตเชิงพาณิชย์ท�ำให้คนส่วนใหญ่ของ ประเทศหมดความสามารถที่จะพึ่งตนเองอีกต่อไป ใน แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7-11 (พ.ศ. 2535 - 2558) จึงเป็น ความพยายามที่จะท�ำให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ มากขึ้น โดยรัฐท�ำหน้าที่สนับสนุนการกระจายอ�ำนาจ ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ระบบการศึกษาและ สาธารณสุข โดยกระจายลงสู่ชุมชนเพื่อให้ชุมชนมีการ บริหารจัดการกันเองเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน (เสรี พงศ์พิชญ์, 2557) การพึ่งตนเองนี้อาจแบ่งได้เป็นประเด็นหลักๆ คือ การพึ่งตนเองได้ทางเทคโนโลยี โดยการใช้เทคโนโลยี ในระดับที่ชุมชนสามารถจัดการเองได้ การพึ่งตนเองได้ ทางเศรษฐกิจ คือ ความสามารถด�ำรงชีวติ ทางเศรษฐกิจ ที่มีความมั่นคง สมบูรณ์พูนสุขพอควร มีความสมดุล

177

ทั้งด้านรายจ่ายรายรับ การพึ่งตนเองได้ทางทรัพยากร ธรรมชาติ โดยสามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ และรักษาทรัพยากรธรรมชาติให้ดำ� รงอยู่ ไม่ให้เสือ่ มเสีย ไปจนหมดสิ้น เช่น ปัจจัยด้านที่ดินท�ำกิน การพึ่งตนเอง ได้ทางจิตใจ สภาพจิตใจที่กล้าแข็งในการต่อสู้กับปัญหา อุปสรรคในการเลีย้ งชีพ การพัฒนาชีวติ ให้เจริญก้าวหน้า ยิ่งขึ้น ในการปกครองตนเอง ในการป้องกันกิเลสตัณหา ไม่ ใ ห้ โ ลภหรื อ อยากได้ อ ยากดี จ นเกิ น ความสามารถ ของตนเอง และการพึ่งตนเองได้ทางสังคม โดยสามารถ อยู ่ ร วมหมู ่ มี ก ารปกครองที่ มี ผู ้ น� ำ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สามารถน�ำพากลุ่มคนให้ปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ ของตนไปสู่ เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมือ่ การเกษตรแบบพึง่ ตนเองให้ความส�ำคัญกับการ ท�ำการเกษตรด้วยปัจจัยการผลิตทีพ่ งึ่ พิงภายนอกให้นอ้ ย ที่สุด จึงสวนทางกับการเกษตรสมัยใหม่ที่ต้องพึ่งพิงปุ๋ย สารเคมีจากพ่อค้าดังนัน้ เกษตรกรรมทางเลือกจึงเป็นอีก หนึ่งแนวทางที่แปรเปลี่ยนวิถีการผลิตของเกษตรกรให้ ออกห่างจากความพอเพียงซึ่งใช้ทุนปัจจัยการผลิตใน ท้องถิ่นและชุมชน 3. แนวคิดเกษตรกรรมทางเลือก หมายถึง การผลิต ทางการเกษตรและวิถีการด�ำเนินชีวิตของเกษตรกรที่ เอือ้ อ�ำนวยต่อการฟืน้ ฟู และธ�ำรงรักษาไว้ซงึ่ ความสมดุล ของระบบนิเวศและสภาวะแวดล้อม โดยมีผลตอบแทน ทางเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นธรรม ส่งเสริมการพัฒนา คุณภาพชีวิตของเกษตรกรและผู้บริโภค รวมทั้งพัฒนา สถาบันทางสังคมของชุมชนในท้องถิ่น ทั้งนี้โดยมีหลักการ เช่น การใช้ทรัพยากรในไร่นาอย่างมีประสิทธิภาพ การมี รูปแบบการผลิตและการจัดการหมุนเวียนทรัพยากรได้ อย่างสมดุล การสร้างความสมดุลของการปลูกพืชและ สัตว์ การหมุนเวียนการใช้ประโยชน์จากมูลสัตว์มาเป็น ปุ๋ยแก่พืช และให้ความส�ำคัญอย่างสูงต่อดิน รักษาดิน โดยป้องกันมิให้มีการใช้ประโยชน์จากดินจนเกินความ สามารถตามธรรมชาติของดิน การเกษตรกรรมทางเลือก มิใช่การเกษตรกรรมทีม่ เี ป้าหมายการผลิตเพือ่ การตลาด แต่เพียงประการเดียว หากแต่สามารถตอบสนองความ ต้องการด้านอาหาร สุขภาพ และวิถีชีวิตที่ดี Tovey, Hilary, 2002)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


178

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและวิถกี ารเกษตรแบบพึง่ ตนเองรวมทั้งการเกษตรทางเลือกใช้ปัจจัยการผลิต แรงงานอย่างเข้มข้น ซึ่งในวิถีการเกษตรแบบดั้งเดิม ผู้หญิงและผู้ชายท�ำงานเคียงบ่าเคียงไหล่ในไร่นา แต่ ต่อมาเมือ่ สังคมทันสมัยทีเ่ น้นการท�ำงานในโรงงานระบบ อุตสาหกรรม และแบ่งแยกงานของชายและหญิงออก จากกันอย่างชัดเจน ท�ำให้วธิ คี ดิ ของเพศภาวะเปลีย่ นไป ด้วย 4. แนวคิดเพศภาวะ หมายถึง กระบวนการทาง สั ง คม ที่ ขึ้ น อยู ่ กั บ ความคาดหวั ง ของคนในสั ง คม วัฒนธรรมที่มีต่อ “ผู้ชาย” และ “ผู้หญิง” และวิถีปฏิบัติซึ่ง ก�ำกับการประกอบสร้างทางสังคม (Social construction) ของ “ผู้ชาย” และ “ผู้หญิง” เพศภาวะแสดงถึงภาวะ ความเป็นหญิง เป็นชาย ที่ไม่ได้ถูกก�ำหนดโดยระบบ ชีววิทยา แต่ถูกก�ำหนดโดยปัจจัยทางวัฒนธรรม สังคม และอื่นๆ ท�ำให้สังคมเกิดความคาดหวังต่อความเป็น หญิงและชายในแง่มุมเฉพาะต่างๆ บทบาททางเพศที่มี ขึ้นตามลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม และบทบาท เพศที่สังคมก�ำหนด จึงส่งผลกระทบต่อสถานภาพของ ชายหญิงในสังคมนั้นๆ ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างชาย และหญิงมักถูกก�ำหนดและมีการควบคุมโดยบรรทัดฐาน และค่านิยมของแต่ละสังคม ความแตกต่างของบทบาท ทางเพศนัน้ ได้แสดงถึงความมีอำ� นาจเหนือกว่าของผูช้ าย และผู้หญิงเป็นฝ่ายรอง ด้วยเหตุนี้แนวทางการผลิตเพื่อ ขายจึงต้องการพื้นที่กว้างส�ำหรับการผลิตเพื่อเศรษฐกิจ ที่ต้องการใช้แรงงานมากเครื่องจักรหรือแรงงานรับจ้าง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย ท�ำให้ลดความส�ำคัญของแรงงาน ผู้หญิงลง เนื่องจากมีการน�ำเทคโนโลยีทันสมัยเข้ามาใช้ ในไร่นา และถือว่าผูช้ ายจะเป็นผูผ้ ลิตทีม่ ที กั ษะในการใช้ เทคโนโลยีมากกว่า ผู้ชายจึงถูกมองว่าเป็นผู้น�ำรายได้ มาสู ่ ค รั วเรื อน แต่ ผู ้ ห ญิง จะถูก ละเลยและเป็นเพียง ผู้ปลูกพืชเพื่อการยังชีพโดยวิธีดั้งเดิม ความไม่เท่าเทียม กันทางเศรษฐกิจดังกล่าวได้นำ� ไปสูค่ วามไม่เท่าเทียมกัน ในด้านอื่นๆ เพราะเศรษฐกิจแสดงถึงอ�ำนาจและพลัง อันยิ่งใหญ่ในครอบครัวรวมถึงในสังคม (ไชยันต์ ไชยพร, 2546: 8) ในการวิเคราะห์ปัญหาเรื่องผู้หญิงจะต้อง พิจารณาถึงลักษณะความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจสังคม

ของผู้หญิงและผู้ชายที่มีในระบบเศรษฐกิจหรือระบบ การผลิ ต และดู ว ่ า ระหว่ า งผู ้ ช ายและผู ้ ห ญิ ง มี ค วาม สัมพันธ์ในระบบการผลิตในรูปแบบใด ขณะเดียวกัน ถ้าพบว่ามีเพศใดเพศหนึ่งที่ไม่มีความสัมพันธ์ดังกล่าว ในขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งมีการขาดความสัมพันธ์ทางการ ผลิตนั้นก็เป็นสาเหตุส�ำคัญที่ท�ำให้เพศหนึ่งครอบง�ำ เอาเปรียบอีกเพศหนึ่ง แนวคิ ด เพศภาวะของสั ง คมเกษตรกรรมและ สังคมอุตสาหกรรมมีเงื่อนไขและบริบทที่แตกต่างกัน การใช้วิถีเกษตรกรรมพึ่งตนเองและเกษตรกรรมทาง เลือกจึงสามารถแสดงถึงศักยภาพทางเพศภาวะระหว่าง ชายหญิง 5. แนวคิดภาวะผู้น�ำ ดราฟ (Draft, 1998: 5) กล่าวว่าภาวะผูน้ ำ� เป็นความ สัมพันธ์ที่มีอิทธิพลระหว่างผู้น�ำและผู้ตาม ซึ่งท�ำให้เกิด การเปลี่ยนแปลงเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกัน ราฟท์ สตอคดิล (Ralph stogdill, 1974: 252) จ�ำแนกคุณลักษณะของผู้น�ำได้ 6 ประเภท คือ ลักษณะ ทางกายภาพ ภูมิหลังทางสังคม ได้แก่ สถานภาพทาง สังคม เศรษฐกิจและการศึกษา สติปัญญาความรู้ ความ สามารถ บุคลิกภาพ ความเชื่อมั่นในตนเอง ลักษณะที่ เกี่ยวกับงาน และลักษณะทางสังคม คุณลักษณะของผู้น�ำที่มีประสิทธิผล ได้แก่ การมี เป้ า หมายที่ จ ะก� ำ กั บ ทิ ศ ทาง มี ค วามรู ้ จั ก ตนเองถึ ง ความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ คุณค่าในตนเอง มีความกล้าในการริเริ่มสิ่งใหม่ๆ มีความกระตือรือร้น กระฉับกระเฉง อยากรู้อยากเห็นในสิ่งใหม่ๆ ชมชอบกับ ความเสี่ยง ไม่กลัวความผิดพลาด มีความอดทน มีความ รับผิดชอบ และต่อตนเอง องค์กร มีความเชื่อมั่นต่อ การท�ำงานเป็นทีม และมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ครองใจคน ได้ (ฉัตรวรัญ องคสิงห์, 2552: 33-34) แนวคิดคุณลักษณะของผู้น�ำดังกล่าวเป็นคุณลักษณะ ที่ส่งผลต่อการริเริ่มสิ่งใหม่ โดยเฉพาะการน�ำเพื่อให้มี ผู้ตามมีความมั่นใจในการเดินตามแนวทางที่เปลี่ยนแปลง ไปจากเดิม ในการเปลี่ยนแปลงวิถีการผลิตจากเกษตรกระแส หลักไปเป็นเศรษฐกิจพอเพียง การที่ผู้น�ำเป็นผู้หญิง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

ที่น�ำการเปลี่ยนแปลงจึงเป็นมิติที่น่าศึกษาว่าผู้หญิงมี คุณลักษณะและการน�ำอย่างไร

ระเบียบวิธีวิจัย

งานนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการ สัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) การจัดกลุ่ม สนทนา (focus group discussion) การวิเคราะห์ เอกสาร (document analysis) การสังเกตและการจด บันทึก (observation and field note) โดยมีผใู้ ห้ขอ้ มูล หลัก 3 กลุ่มคือ 1) ผู้หญิงที่เป็นปราชญ์ชาวบ้านและได้ รับรางวัลเกีย่ วกับเศรษฐกิจพอเพียงจ�ำนวน 3 คน ซึง่ อยู่ ในเขต อ.เมือง, อ.ป่าโมก และ อ.วิเศษชัยชาญ 2) กลุ่ม ผู้หญิงที่น�ำแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรแบบ พึ่งตนเองซึ่งสามารถอุ้มชูตนเองได้ จ�ำนวน 5 คน และ 3) กลุ่มผู้ชายที่ท�ำเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็นกลุ่มที่ได้รับ การอบรมตามวิถที างเศรษฐกิจพอเพียง ในขณะเดียวกัน ก็มผี ชู้ ายทีอ่ บรมแล้วไม่เห็นด้วยกับแนวทางเศรษฐกิจพอ เพียง จ�ำนวนรวม 4 คน รวมทั้งสิ้น 12 คน เมื่อได้ข้อมูล จากการสัมภาษณ์ผู้วิจัยน�ำมาจัดหมวดหมู่ในกลุ่มของ มโนทัศน์ (concepts) ใช้ความไวต่อทฤษฎี (theoretical sensitivity) โดยสร้างมโนทัศน์จากข้อมูลที่สัมภาษณ์ หลังจากนัน้ น�ำมาเป็นข้อสรุปเชิงทฤษฎีและเป็นสมมติฐาน ชั่ ว คราวเพื่ อ ใช้ เ ป็ น แนวทางในการเลื อ กสั ม ภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลหลักรายต่อๆ ไป จนกว่าจะถึงจุดอิ่มตัวทาง ทฤษฎี และ ในการท�ำ focus group ได้ท�ำ 3 ครั้ง ในแต่ละชุมชน โดยมีผเู้ ข้าร่วมซึง่ มีทงั้ ความเห็นด้วยและ ไม่เห็นด้วยในการท�ำการเกษตรแบบพึ่งตนเองและพึ่ง สารเคมี ตลอดจนแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลการศึกษา

ผลการศึกษาแบ่งออกเป็นประเด็นดังนี้ 1. ภูมิหลังกับการเปลี่ยนผ่านของ 3 ชุมชน เมื่อ ประมาณ 50 ปีที่ผ่านมาชุมชน 3 ต�ำบลได้แก่ ต.บ้านแห อ.เมืองอ่างทอง, ต.ป่าโมก อ.ป่าโมก, ต.ตลาดใหม่ อ.วิเศษชัยชาญ ของจังหวัดอ่างทอง ซึ่งเคยเป็นชุมชน เกษตรกรรมทีม่ ที รัพยากรธรรมชาติอดุ มสมบูรณ์ มีระบบ นิเวศน์ที่เอื้อต่อการพึ่งตนเองของชุมชน โดยการท�ำ

179

เกษตรผสมผสานที่ ไ ม่ ท� ำ ลายความสมดุ ล ของสภาพ แวดล้อมชุมชน เช่น ในการท�ำนาไม่เผาฟางข้าว แต่น�ำ มาเป็นอาหารสัตว์ การปลูกต้นไม้ผสมปนเปกันไป โดย ใช้หลักการว่า “อยากกินอะไรก็ปลูก” เน้นการผลิตเพื่อ บริโภคในครัวเรือน มีเหลือจึงขาย และมีการช่วยเหลือ แลกเปลี่ยนแรงงานภายในชุมชน ระบบดังกล่าวเป็น ความผสมกลมกลืนในการพึ่งตนเองเป็นหลัก ชุมชน สามารถพึ่งตนเองและพึ่งชุมชนได้สูงในด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม โดยไม่ต้องก่อหนี้ ลักษณะของ ชุมชนดั้งเดิมดังกล่าวเป็นลักษณะที่ชุมชนพึ่งตนเองได้ และมี ค วามเป็ น อยู ่ ที่ พ อเพี ย ง แม้ จ ะไม่ ไ ด้ เรี ย กว่ า เศรษฐกิจพอเพียงก็ตาม ต่อมาเมือ่ การเปลีย่ นแปลงไปสู่ ความทันสมัยเข้ามาในชุมชนหรือที่เรียกว่าการพัฒนา แต่การขยายตัวทางเศรษฐกิจนั้นเป็นไปอย่างไม่ยั่งยืน วิถีการผลิตแต่เดิมที่ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้เปลี่ยน เป็นการสูญเสียการพึง่ ตนเองของชุมชน ระบบเศรษฐกิจ ของชุมชนเปลี่ยนไปจากระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียง เป็นเศรษฐกิจแบบพึ่งพา การลงทุน และเทคโนโลยี เครื่องจักร คนใน 3 ชุมชนซึ่งเป็นผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้พูด ถึงความเสี่ยงที่ต้องเผชิญในวิถีการผลิต โดยเฉพาะ เรื่องน�้ำ ซึ่งมีทั้งน�้ำท่วม ฝนทิ้งช่วง และฝนแล้ง ส�ำหรับ ความเสี่ยงด้านแบบแผนการผลิตนั้นท�ำให้การท�ำนาได้ ผลผลิตน้อยลง ทั้งความเสี่ยงจากโรคพืชและศัตรูพืช และมี ก ารขาดแคลนแรงงาน โดยแรงงานหนุ ่ ม สาว ไปท�ำงานโรงงานเป็นส่วนใหญ่ จุดเปลี่ยนที่ส�ำคัญอีก ประการหนึ่ง ได้แก่การที่รัฐบาลเปิดโอกาสให้กู้เงินจาก กองทุนหมู่บ้านละ 1 ล้านบาท แม้วัตถุประสงค์ของ โครงการนี้จะเป็นไปเพื่อเพิ่มศักยภาพของคนในชุมชน แต่เมื่อคนในหมู่บ้านกู้ไปเพื่อการใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือย เช่น น�ำไปเป็นเงินดาวน์มอเตอร์ไซค์ แต่หลังจากเงินก้อน หมด ไม่มีเงินส่งก็ต้องไปกู้เงินจากสถาบันการเงินอื่นๆ มาส่งดอกเบี้ยและเงินต้น ในขณะเดียวกันครอบครัว ก็มีรายจ่ายเกิดขึ้นทุกวัน หนี้สินก็เพิ่มพูน ซึ่งหากไป กู้หนี้นอกระบบที่มีอัตราดอกเบี้ยสูงมากมาใช้จ่าย ก็จะ ท�ำให้เกิดวงจรหนี้ขึ้น ภาระการไม่สามารถจ่ายเงินกู้นี้ มักส่งผลกระทบต่อร่างกายและจิตใจ จนบางคนทน สภาพไม่ไหวถึงกับฆ่าตัวตายไปก็มี (สัมภาษณ์นางนุช

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


180

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ต.บ้านแห อ.เมือง, นางแป้น ต.ป่าโมก อ.ป่าโมก) ผู้ให้ข้อมูลหลักทั้ง 12 คนในพื้นที่ 3 ต�ำบลของ จ.อ่างทอง มีการครอบครองผืนดินจ�ำนวนแตกต่างกัน ตั้งแต่ 200 ตารางวา จนถึง 10 ไร่ โดยแต่ละคนมีวิธีการ จั ด การกั บ ผื น ดิ น อย่ า งยื ด หยุ ่ น และแปรผั น ไปตาม เนือ้ ทีด่ นิ คนทีม่ เี นือ้ ทีม่ ากจะสามารถแบ่งสัดส่วนท�ำการ เกษตรได้อย่างหลากหลาย ทั้งท�ำนา ปลูกต้นไม้ยืนต้น ไม้ให้ผลและไม้ใช้สอย เช่น มะม่วง มะพร้าว ไผ่ มะม่วง กล้วย ขนุนขายได้ทั้งปี และเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ หมู ปลาดุก กบ และไก่ การที่คนในชุมชนปลูกพืชยืนต้นและไม้ใช้สอย นี้ มักบอกกล่าวกันว่า “ปลูกแล้วลืมเลย” เพราะไม้เหล่านี้ ใช้เวลาการดูแลรักษาน้อย แต่มีผลผลิตทยอยออกมา ตลอดทั้งปี เก็บขายเป็นเงินได้หมด โดยเฉพาะกล้วย ซึ่งลงที่ไหนก็ได้เงิน และยังน�ำไปแปรรูปได้อีกด้วย ส่วน มะพร้าวได้ราคาดีมาก คนจะมาเหมาต้นและขึ้นเก็บผล เองเสร็จสรรพ ส่วนไข่เก็บขายได้ทุกวัน บางบ้านเลี้ยง เป็ด ก็น�ำไข่เป็ดมาท�ำไข่เค็ม ดังนั้นแม้คนในชุมชนจะมี พื้ น ที่ น ้ อ ยแต่ ก็ ส ามารถท� ำ ตามพื้ น ที่ ที่ ต นเองมี และ จัดสรรท�ำผลิตกินเองเพื่อเป็นแบบเศรษฐกิจพอเพียง 2. บทบาทของผู ้ น� ำ หญิ ง กั บ การตั ด สิ น ใจ เปลี่ ย น แปลงวิ ถี ก ารผลิ ต ไปสู ่ เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย ง การเปลี่ยนแปลงวิถีการผลิตจากเกษตรกรรมที่ต้องพึ่งพิง ปัจจัยภายนอก มาสูว่ ถิ กี ารผลิตแบบพึง่ ตัวเอง มีการผลิต ผสมผสาน ทัง้ การท�ำนาข้าว เลีย้ งสัตว์ และปลูกไม้ยนื ต้น ไม้ใช้สอย โดยปลูกเป็นไม้หลายระดับ การผลิตแต่ละ อย่างมีการเกื้อกูลกันอย่างเป็นวงจร เช่น การเอาขี้หมู หลุมมาใส่ตน้ ไม้เป็นปุย๋ มูลสัตว์ การเลีย้ งหมูหลุมทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิดกลิน่ ทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ซงึ่ เป็นการรบกวนเพือ่ นบ้าน ในการเพาะพันธุแ์ ละเลีย้ งกบ ซึง่ ใช้นำ�้ หมักชีวภาพในการ ปรับปรุงสภาพน�้ำภายในบ่อ เมื่อมีการเปลี่ยนถ่ายน�้ำได้ ปล่อยลงในพืน้ ทีน่ าทีอ่ ยูต่ ดิ กัน เป็นการเพิม่ ปุย๋ ให้ดนิ อีก ทางหนึ่ง นอกจากนั้นการเลี้ยงเป็ด ไก่ หมู ได้น�ำมูลสัตว์ เหล่านี้มาท�ำปุ๋ยหมัก และผลิตสารไล่แมลงที่ไม่เป็นพิษ ต่อมลภาวะ ผู้น�ำหญิงซึ่งเป็นปราชญ์ชาวบ้านมีบทบาท ในการน�ำชาวบ้านซึง่ เป็นผูต้ ามให้เปลีย่ นวิถกี ารผลิตดังนี้ 2.1 บทบาทในการเปลี่ยน วิธีคิด คือ วิธีคิดที่จะไม่เป็นหนี้และมีความ

พอเพียง ผู้น�ำมีความเชื่อมั่นในตนเอง สร้างแรงบันดาล ใจให้กบั ตนเอง โดยการเปิดใจกว้างในการรับสิง่ ใหม่และ ไม่ตดิ กับอยูก่ บั วิธกี ารเดิม โดยผูน้ ำ� หมัน่ สร้างความเข้าใจ อธิบายให้กับผู้ตามทราบถึงกระบวนการตลอดจนผลดี ผลเสียของโครงการ 2.2 บทบาทในการเป็นผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง ผู้น�ำหญิงทั้ง 3 ชุมชนให้ความเห็นเช่นเดียวกันว่าการ เปลีย่ นแปลงไม่จำ� เป็นต้องเริม่ จากสิง่ ใหญ่ แต่เริม่ จากสิง่ เล็กๆ ในชีวิตประจ�ำวัน เช่นการปลูกผักกินเอง การท�ำนุ บ�ำรุงดินด้วยการน�้ำหมักที่ท�ำจากพืชสีเขียวและผลไม้ที่ มีรสหวาน ไปสาดใส่ตอซังในนาข้าว หลังเกี่ยวแล้ว ไถกลบ น�ำเมล็ดปอเทืองหว่านลงไปแล้วไถดินกลบ ซึ่ง ท�ำให้ดนิ ดีเพราะเป็นดินร่วนช่วยเพิม่ ความอุดมสมบูรณ์ ปลูกต้นไม้ได้งาม การค้นหาความรูเ้ กีย่ วกับสมุนไพร จาก นั้นจึงชักชวนให้คนในครอบครัว เห็นผลแล้วจึงขยายไป สู่ชุมชน 2.3 บทบาทของการประหยั ด ในครั ว เรื อ น เนื่องจากผู้หญิงเป็นผู้คุมรายได้ของครอบครัว การพึ่ง ตนเองที่ท�ำให้ผู้หญิงสามารถลดรายจ่าย มีรายได้เข้า ครอบครัวทุกวัน และใช้วิถีกินอยู่แบบพอเพียง ท�ำให้ ครอบครัวมีเงินออม 2.4 บทบาทการเป็ น ที่ ย อมรั บ ของสั ง คม ปราชญ์ชาวบ้านซึ่งเป็นผู้น�ำหญิง ได้รับการยอมรับจาก ครอบครัว ชุมชนและสังคมในระดับประเทศในการให้ รางวัลผู้ด�ำเนินตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง การพึ่งตนเอง และการท�ำเกษตรกรรมทางเลือก 2.5 บทบาทในการตัดสินใจ การตัดสินใจแสดง ถึงศักยภาพในความคิด ความมั่นใจและการกระท�ำของ ตนเอง ผู้น�ำหญิงที่ตัดสินใจในการเปลี่ยนวิถีการผลิต ได้ รั บ การยอมรั บ จากครอบครั ว ในด้ า นวิ ธี คิ ด การ ปฏิสัมพันธ์กับชุมชน การควบคุมรายจ่ายและรายได้ ตลอดจนความสามารถในการจัดการภายในครอบครัว สิ่งเหล่านี้เป็นพื้นฐานท�ำให้ผู้น�ำหญิงมีการตัดสินใจได้ โดยอิสระเสรี และรู้สึกถึงคุณค่าของตนเอง 3. คุณลักษณะของผู้น�ำหญิงในวิถีทางเศรษฐกิจ พอเพียง 3.1 มีวิสัยทัศน์ ผู้น�ำตระหนักว่าการผลิตแบบ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

พึง่ พาไม่สามารถท�ำให้พน้ สภาพจากความเป็นหนีไ้ ด้ และ เมื่อผู้น�ำกลับตัวได้ทัน จนหลุดพ้นจากสภาวะความเป็น หนี้ ก็น�ำสิ่งเหล่านี้มาถ่ายทอดให้คนอื่นในชุมชนได้เรียน รู้ไปพร้อมๆ กัน 3.2 เปิดใจกว้างรับสิ่งใหม่ เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบพึ่งตนเอง การใช้สมุนไพร นับเป็นเรื่องใหม่ของชุมชน เช่นเมื่อถูก น�้ำท่วมไร่นาเสียหายทั้งหมด ลูกบ้านขอให้ผู้น�ำไปขอถุง ยังชีพ แต่เมื่อได้รับการบอกว่าถุงยังชีพใช้แก้ปัญหาได้ เฉพาะหน้า แต่ถา้ จะให้ยงั่ ยืนต้องท�ำโครงการ ผูน้ ำ� ก็ยอม เปิดรับแนวคิดใหม่ แม้ว่าเมื่อน�ำโครงการมาท�ำแรกๆ ไม่มีคนในชุมชนเห็นด้วยเพราะยังไม่คาดว่าจะได้ผล 3.3 ความทุ่มเทเสียสละ ผู้น�ำชุมชนอุทิศบ้าน เป็นศูนย์การเรียนรู้ และอุทิศเวลาของตนเองในการ ความรู้แก่คนอื่นๆ ในหมู่บ้าน 3.4 ความตั้งมั่น การปรับเปลี่ยนวิถีการผลิต เป็นแนวทางที่ต้องใช้เวลา เพราะการผลิตแบบสารเคมี ได้ฝังตัวอยู่ในวิถีมานาน แต่ผู้น�ำมีความตั้งใจมั่นที่จะน�ำ คนในชุมชนออกจากวิถีความเป็นหนี้ จึงหาวิธีการต่างๆ อย่างไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค 3.5 รบั ฟังความคิดเห็น ผูน้ ำ� มีใจทีเ่ ปิดกว้างต่อ ความเห็นที่ขัดแย้ง เนื่องจากเมื่อน�ำโครงการใหม่ๆ ลงสู่ ชุมชน ได้รบั การไม่เชือ่ ถือและไม่ศรัทธาจากคนในชุมชน แต่ผู้น�ำให้โอกาสลูกบ้านได้แสดงความเห็นได้อย่างเสรี น�ำข้อจ�ำกัดของแต่ละครอบครัวมาหาทางออกร่วมกัน และไม่ย่อท้อที่จะเป็นผู้น�ำท�ำตัวอย่างให้เห็น 3.6 สนใจใฝ่รู้ ผู้น�ำรู้ว่าความรู้เป็นสิ่งที่ส�ำคัญ จึงพัฒนาตนเอง ฝึกฝนความสามารถในการน�ำเสนอ ความคิดและถ่ายทอดบทเรียนและประสบการณ์ความรู้ ให้ แ ก่ ชุ ม ชน และยั ง เข้ า ช่ ว ยเหลื อ ในยามที่ มี ป ั ญ หา สามารถเป็นที่พึ่งให้ได้ในยามที่คนในชุมชนมีปัญหา 3.7 ความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล ความสัมพันธ์นนั้ ต้องการเวลาทีต่ อ่ เนือ่ ง ยาวนานเพียงพอจนเกิดความเชือ่ มัน่ และไว้ใจเพือ่ ให้เกิด การเปลี่ยนแปลง 3.8 ความสามารถในการสือ่ สารและจูงใจ ผูน้ ำ� มีการจูงใจอย่างค่อยเป็นค่อยไป และการสื่อสารที่ดี

181

ส่งผลท�ำให้เกิดการขยายตัวของเศรษฐกิจพอเพียงใน ชุมชน 3 ต�ำบลของจังหวัดอ่างทอง 3.9 ความสามารถในการประสานและเชื่อม โยง โดยมีสิ่งส�ำคัญ 2 ส่วนคือ 3.9.1 การสนั บ สนุ น จากหน่ ว ยงาน ภายนอกทัง้ ภาครัฐ ภาคองค์กรเอกชน อาทิได้รบั ความ ช่ ว ยเหลื อ ด้ า นความรู ้ แ ละการให้ ก� ำ ลั ง ใจจากมู ล นิ ธิ เพื่อนพึ่ง (ภา) ยามยาก ซึ่งถือเป็นการจุดประกายอัน ส�ำคัญ นอกจากนั้นก็มีหน่วยงานราชการอื่นๆ มาให้ ความรู้ เช่น ส�ำนักงานพัฒนาชุมชน ส�ำนักงานเกษตร ต�ำบลและเกษตรอ�ำเภอ เป็นต้น หน่วยงานเหล่านีใ้ ห้การ สนับสนุนทัง้ ด้านงบประมาณ วิชาการและบุคลากร โดย เป็นการร่วมมือกันท�ำงานในลักษณะภาคีความร่วมมือ ซึ่งก่อให้เกิดการตื่นตัวในหมู่บ้าน อันส่งผลทางบวกต่อ ความเชื่อมั่นในการเปลี่ยนวิถีการผลิต และช่วยเพิ่ม ความมั่นใจท�ำให้คนในชุมชนตระหนักถึงคุณค่าของ ตนเองมากขึ้น 3.9.2 ความสัมพันธ์และการมีส่วนร่วม ของคนในชุมชน เป็นตัวแปรที่ส�ำคัญในการเปลี่ยนวิถี การผลิต ผู้คนในชุมชนที่มีความสัมพันธ์แบบเครือญาติ การมี ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจที่ วั ด การท�ำ บุ ญ ร่ ว มกั น ในยาม เทศกาล การเข้ารับการอบรมความรู้ร่วมกัน การรวม ผลผลิตไปขายในตลาดใกล้ชุมชน การแลกเปลี่ยนความ รู้ การรวมกลุ่มกันเพื่อท�ำน�้ำยาซักผ้า ล้างจาน แชมพู และการแบ่งปันกันในแต่ละครอบครัว รวมถึงการแจก จ่ายสมุนไพรเพือ่ การดูแลรักษากันเองอย่างไม่หวงความ รู้ ดังนัน้ กลไกดังกล่าวจึงเป็นการอ�ำนวยให้ภายในชุมชน มีการพึ่งพากันสูง และต้องช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 3.10 คุณลักษณะทางด้านบุคลิกภาพอื่นๆ คุ ณ สมบั ติ ด ้ า นบุ ค ลิ ก ภาพโดยทั่ ว ไปของผู ้ น� ำ ได้ แ ก่ ความมั่นใจในตนเอง ความซื่อสัตย์ การยึดมั่นจริยธรรม ในการท�ำงาน ความคิดสร้างสรรค์ ความกล้าแสดงออก ความมั่นคงทางอารมณ์ ความอดทน ความกล้าหาญ เป็นคุณสมบัติที่ท�ำให้การปฏิบัติการเศรษฐกิจพอเพียง เกิดความส�ำเร็จ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


182

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

การอภิปรายผล

ผลของการศึกษางานวิจัยนี้สอดคล้องกับงานวิจัย ของธัญญารัตน์ นันติกา (2551) ได้ศึกษาบทบาทของ ผู้น�ำชุมชนต่อโครงการตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ของบ้านป่าไผ่ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ ซึง่ เป็นผูน้ ำ� แบบ ประสานมีหน้าที่กระตุ้นและผลักดันให้เกิดกิจกรรม เศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน และผูน้ ำ� เป็นคนทีม่ ฐี านะทาง เศรษฐกิจดี มีความสามารถในการชี้น�ำและตัดสินใจ สามารถสร้างความร่วมมือของชุมชนในการเปลีย่ นแปลง ให้เกิดสิ่งใหม่ในชุมชน ในงานวิจัยนี้ พบว่า การเกษตรเชิงพาณิชย์ให้พื้นที่ และบทบาทของผู้ชายมากกว่าโดยเฉพาะสิทธิอ�ำนาจ ในการตั ด สิ น ใจซื้ อ เชื่ อ ปุ ๋ ย เคมี แ ละยาปราบศั ต รู พื ช การท�ำนาแบบพาณิชย์ท�ำให้ผู้หญิงสูญเสียอ�ำนาจที่เคย ท�ำงานเคียงบ่าเคียงไหล่กับผู้ชายเช่นในเกษตรแบบ ดั้งเดิม ที่ผู้หญิงใช้แรงงานเท่าเทียมกับผู้ชาย ไม่ว่าจะ เป็นการไถ การด�ำนา การเก็บเกี่ยว ดังนั้นการท�ำเกษตร อินทรีย์การท�ำเกษตรผสมผสาน ที่เข้ามาแทนที่การท�ำ เกษตรเชิงพาณิชย์ จึงเป็นงานทีผ่ หู้ ญิงเข้ามามีบทบาทได้ สูงเท่าเทียมกับผูช้ ายดังเช่นทีเ่ ป็นมาในอดีต และอิทธิพล ในการตัดสินใจของผู้หญิงมีก็มากขึ้นอันเป็นผลมาจาก การที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมที่ผู้หญิงท�ำได้ เช่นเดียวกับ การปลูกผัก ซึ่งสามารถขายเป็นรายได้อีกทางหนึ่ง และ มีรายได้เข้าบ้านทุกวัน กังสดาล อยู่เย็น (2544) พบว่า ชุมชนชาวบ้านเปร็ด ได้เปลี่ยนแปลงรูปแบบวิถีการผลิตโดยน�ำเกษตรทาง เลือกเข้ามาใช้โดยสามารถสร้างความมั่นคงทางรายได้ แต่ในชุมชนอ่างทองนี้ยังไม่มีการรวมตัวกันเพื่อสร้าง อ�ำนาจต่อรองกับพ่อค้าคนกลางที่มาซื้อผลผลิตแต่ใช้ ระบบพ่อค้าคนกลางเข้ามาติดต่อซื้อเป็นเฉพาะบ้าน เฉพาะบุคคล นอกจากนั้นการค้นพบในงานนี้สนับสนุน

ผลการวิจัยของแสงวัน โรจนธรรม (2549) ที่พบว่า คุณลักษณะของผู้หญิงที่มีความละเอียดอ่อน ช่างจดจ�ำ และใจเย็นเป็นคุณลักษณะส�ำคัญของการท�ำงานกับ คนหมู่มาก โดยเฉพาะงานเศรษฐกิจพอเพียงเป็นการ ปฏิบัติในฐานของครอบครัวซึ่งเป็นงานที่ผู้หญิงสามารถ บริหารจัดการและใช้แรงงานได้ด้วยตนเอง

ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย

1. การเปลีย่ นวิถกี ารผลิตเป็นแนวทางเศรษฐกิจพอ เพียงนัน้ ผูห้ ญิงซึง่ มีบทบาทส�ำคัญ ควรสร้างความรูค้ วาม เข้าใจทั้งในด้านการเปลี่ยนเชิงกายภาพและการใช้ชีวิต 2. ควรมี ก ารยกย่ อ งและเชิ ด ชู ผู ้ ห ญิ ง ที่ มี ค วาม สามารถเป็นผู้น�ำ และเปลี่ยนวิธีคิดจนถึงวิถีการผลิต จนกระทั่งสามารถอุ้มชูตนเองและครอบครัวได้

ข้อเสนอแนะงานวิจัยครั้งต่อไป

จากข้อมูลของภาครัฐ พบว่ายังมีปราชญ์ชาวบ้าน ที่ได้รับรางวัลจากหน่วยงานภาครัฐต่างๆ เช่น หมอดิน อาสา กลุ่มไม่เผาตอซัง หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ผล งานตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้านกลุ่มทฤษฎีใหม่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศูนย์การเรียนรู้เฉลิมพระเกียรติ หรือ รางวัลที่เกี่ยวกับการเกษตรกรรมต่างๆ ที่สะท้อนถึง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอื่นๆ เป็นต้น ซึ่งผู้ที่ได้รับ รางวัลเหล่านีอ้ ยูใ่ นพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ ของประเทศไทย ดังนัน้ จึง ควรจะได้มีการสอบทานมโนทัศน์ที่เป็นผลในงานวิจัยนี้ ในพื้นที่อื่นๆ ต่อไป นอกจากนั้นควรมีการท�ำวิจัยใน หัวข้อนี้ในกลุ่มผู้น�ำที่ไม่เป็นทางการอื่นๆ ซึ่งไม่จำ� เป็น ต้องได้รับรางวัลจากภาครัฐ แต่สามารถประสบความ ส�ำเร็จในวิถีทางแห่งเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรผสม ผสาน การเกษตรอินทรียแ์ ละ/หรือการท�ำเกษตรทฤษฎี ใหม่

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

183

บรรณานุกรม

กังสดาล อยู่เย็น. (2544). พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้ แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง. วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ ศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กาญจนา แก้วเทพ. (2530). การพึ่งตนเอง ศักยภาพในการพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ: สภาคาทอลิกแห่งประเทศไทย เพื่อการพัฒนา. ฉัตรวรัญ องคสิงห์. (2552). เอกสารประกอบการสอน การพัฒนาภาวะผู้น�ำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยรังสิต. ไชยันต์ ไชยพร. (2546, 18-24 กรกฎาคม). คนกับโพสต์โมเดิร์น : มนุษย์ที่ไม่สามารถจัดประเภทได้. สยามรัฐสัปดาห์ วิจารณ์. ณัฐพล โสตถิรัตน์วิโรจน์. (2557). จริยศาสตร์ของการพัฒนา: บทส�ำรวจวิวาทะว่าด้วยการพัฒนา. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 5(2), 278. ทรงชัย ติยานนท์. (2542). การศึกษาทัศนะของเกษตรกรในการสร้างความมั่นคงทางรายได้ตามแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียง. วิทยานิพนธ์สังคมศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ธัญญารัตน์ นันติกา. (2551). บทบาทของผู้น�ำชุมชน ต่อโครงการตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของบ้านป่าไผ่ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่, จ.เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พระมหาประทีป พรมสิทธิ์. (2545). การศึกษาวิเคราะห์เชิงปรัชญาเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น. เสรี พงศ์พิชญ์. (2557). ป้อหลวงบ้าน: ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจพอเพียงภาคประชาชน. สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2557, จาก http://www.phongphit.com/content/view/81/2 แสงวัน  โรจนธรรม. (2549). ผูห้ ญิงกับการท�ำงานเป็นพนักงานรักษาความปลอดภัย. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สตรีศึกษา). ส�ำนักบัณฑิตอาสาสมัคร, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อารีย์ นัยพินิจ. (2557). บทวิจารณ์หนังสือ ธงชัย พรหมสาขา ณ สกลนคร การจัดการและการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 5(2), 313. Draft Richard, L. (1998). Organization theory and design, Cincinnati Ohio: South Western College Press. Stogdill Ralph, M. (1974). Handbook of Leadership: A survey of theory and research. New York: Free Press. Tovey, H. (2002). Alternative agriculture movements and rural development cosmologies. International Journal of Sociology of Agriculture and Food, 10(1): 1-11.

Translated Thai References

Chaiyaporn, C. (2003). Man With Postmoder: Undistinguish Human Being” Siamrat Sabda Vijarn Journal, 5(2) 18-24. [in Thai] Kaewthep, K. & Kaewthep, K. (1987). Self-Reliance in Potential of Urban Development. Bangkok: Catholic Council for Development of Thailand. [in Thai] Naipinit, A. (2014). An Article of Criticism Book : Managing and Developing Community Enterprise , Songkla Province,Peace study Institution, the author is Tongpol Promsakha na Sakolnokorn (2013). Panyapiwat Journal, 5(2). 312-315. [in Thai] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


184

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Nuntika, T. (2008). Role of Community Leadership In Sufficiency Economy Philosophy of Bann Pa- Pai, Doysaked District, Chiangmai Province. Chiangmai: Chiangmai University. [in Thai] Ongkasing, C. (2003). Textbook for Leadership Development in Society Business and Politics, Bangkok: Rangsit University. [in Thai] Phra Maha Prateep Promsit. (2002). A Study of Analytical Philosophy on Sufficiency Economy Philosopher. A Thesis for The Master Degree of Philosophy Program of Faculty of Arts, Khonkaen University. [in Thai] Phongphit, S. (2011). Big Daddy : Strategy of Sufficiency Economy in Citizen sector. Retrieved June 2, 2014, from http://www.phongphit.com/content/view/81/2 [in Thai] Rojanadham, S. (2006). Woman with security Guard work. A Thesis for the Master Degree of Woman Study program Of Faculty of Arts, Thammasat University. [in Thai] Sothiratviroj, N. (2014). The Ethics of Development: A Review on Development Debate. Panyapiwat Journal, 5(2). 274-288. [in Thai] Tiyanont, T. (1999). A Study of Farmer Attitude for Income Stability through Sufficiency Economy Philosophy. A Thesis for The Master degree of Faculty of Social Administration, Thammasat University. [in Thai] Yuyen, K. (2001). Bann-Pred Community Dynamic under Sufficiency Economy Philosophy. A Thesis for The Master degree of Faculty of Social Administration, Thammasat University. [in Thai]

Chatwarun Ongkasing received her Ph.D. in Education Development from Srinakharinwirot University. She is currently a lecturer in Social Innovation Institute, Rangsit University. Her main interest are leadership development, genders, community and ethic and social justice. She interested in a simple way of life and focus on community economy to enhance their quality of life.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

185

ผลของโปรแกรมการควบคุมตนเองต่อพฤติกรรม ติดเกมออนไลน์นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย EFFECT OF THE SELF-CONTROL PROGRAM ON ONLINE GAME ADDICTION BEHAVIOR OF UPPER SECONDARY SCHOOL STUDENTS ธันยวนันฐ์ เลียนอย่าง1 และพัชราภา อินทพรต2 Tanyavanunlia Lianyang1 and Patchrapa Intaprot2

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อน�ำเสนอผลของการใช้โปรแกรมการควบคุมตนเอง (The Self-Control Program) ต่อพฤติกรรมการติดเกมออนไลน์ของนักเรียน โดยเปรียบเทียบพฤติกรรมติดเกมออนไลน์ ก่อนและหลัง การใช้โปรแกรมการควบคุมตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาเป็นนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ปีการศึกษา 2556 ทีเ่ ล่นเกมออนไลน์โดยไม่หยุดพักวันละ 3 ชัว่ โมงขึน้ ไป และเล่นเกมออนไลน์ 5 วันต่อสัปดาห์ จ�ำนวน 18 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มโดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) การคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) และตามความสมัครใจ (Volunteers Sampling) เครื่องมือที่ใช้ใน การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นโปรแกรมการควบคุมตนเองเพื่อปรับพฤติกรรมติดเกมออนไลน์ ซึ่งมีแบบแผนการทดลอง เป็นแบบสลับกลับ A-B-A-B (A-B-A-B Reversal Design) ใช้เวลาในการทดลอง 6 สัปดาห์ ซึ่งแบ่งการทดลองเป็น 4 ระยะ คือระยะที่ 1 เป็นระยะเส้นฐาน ระยะที่ 2 เป็นระยะทดลองซึ่งเป็นการใช้เทคนิคการควบคุมตนเอง ระยะที่ 3 เป็นระยะติดตามผลคือหยุดการใช้เทคนิคการควบคุมตนเอง และระยะที่ 4 เป็นระยะทดลองซึ่งเป็นการใช้เทคนิค การควบคุมตนเอง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการทดสอบ ค่า t ( t-test for dependent samples) ผลการวิจัยพบว่า การน�ำโปรแกรมการควบคุมตนเองเพื่อปรับพฤติกรรมติดเกมออนไลน์ของนักเรียน ท�ำให้ นักเรียนมีพฤติกรรมการติดเกมออนไลน์ลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ค�ำส�ำคัญ: โปรแกรมการควบคุมตนเอง พฤติกรรมติดเกมออนไลน์ แบบแผนการทดลองแบบสลับกลับ A-B-A-B

Abstract

This paper aimed to present the results of use The Self-Control Program on online game addiction behavior of students. The research compared the Upper Secondary School students’ behavior of online game addiction both before and after the use of The Self-Control Program. The sample in this study were 18 Upper Secondary School students in the 2013 academic year, who continually played online game for 3 hours a day and 5 days a week. The participants 1 อาจารย์ประจ�ำ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทวั่ ไป คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี, Lecturer Major General Science Faculty of Engineering

and Technology, E-mail: tanyavanunlia@pim.ac.th

2 อาจารย์ประจ�ำ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทวั่ ไป คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี, Lecturer Major General Science Faculty of Engineering

and Technology, E-mail: patchrapaint@pim.ac.th

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


186

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

who jointed the use of self-control of this research were selected through stratified random sampling, purposive sampling and asking to be volunteers sampling. The self-control Program used to adjust online games additive behavior is A-B-A-B Design. The A-B-A-B Design spent 6 weeks which was divided into 4 periods, baseline data, self-control, give up the use of self-control and self-control respectively. The statistics used to analyze the data was t-test for dependent samples. The findings found that the use of The Self-Control Program to adjust addictive online game of students also significantly decreased students’ addictive online game as .05. Keywords: The Self-Control Program, behavior of online game addiction, The A-B-A-B Reversal Design

บทน�ำ

สังคมโลกในปัจจุบนั มีเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทใน การเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสาร โดยบุคคลทั่วทุกมุมโลก สามารถติดต่อสื่อสารถึงกันได้เพียงเสี้ยววินาที โดยผ่าน ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ท�ำให้โลกเข้าสู่ยุคการ สื่อสารไร้พรมแดน หรือเรียกกันว่า “ยุคโลกาภิวัตน์” ท�ำให้ทุกประเทศสามารถติดต่อสื่อสาร และรับรู้ข้อมูล ข่าวสารต่างๆ ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว เสมือนอยู่ใน ประเทศเดียวกัน โดยเฉพาะการใช้ระบบอินเทอร์เน็ต ที่เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีการเชื่อมโยง กั น ไปทั่ ว โลก และปั จ จุ บั น มี ก ารน� ำ มาประยุ ก ต์ ใช้ ประโยชน์ อ ย่ า งหลากหลายและกว้ า งขวาง อาทิ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) การสืบค้นข้อมูล การซื้อขายสินค้าออนไลน์ การประชุมทางไกลผ่าน อินเทอร์เน็ต (The conference call over the Internet) การเล่นเกมออนไลน์ ฯลฯ ซึง่ ในขณะเดียวกัน อินเทอร์เน็ตก็สามารถก่อให้เกิดปัญหาหากน�ำไปใช้ ในทางที่ไม่เหมาะสม อาทิ ปัญหาเยาวชนลอกเลียน พฤติกรรมจากตัวละคร/ตัวแสดงในเกมออนไลน์ และ ปัญหาการเสพติดเกมออนไลน์ เกมออนไลน์ เ ป็ น เกมคอมพิ ว เตอร์ ซึ่ ง มี ลั ก ษณะ พิ เ ศษ คื อ เป็ น เกมที่ ผ สมผสานกั น ระหว่ า งเกม คอมพิวเตอร์และการสนทนาผ่านระบบอินเทอร์เน็ต (Chat) ผู้เล่นสามารถเล่นเกมไปกับเพื่อนต่างชาติต่าง ภาษาได้ เมื่อผู้เล่นท�ำการเข้าสู่ระบบ (Login) ของเกม ร่วมกับผูเ้ ล่นคนอืน่ ๆ นอกจากนีเ้ กมออนไลน์มแี รงดึงดูด ให้ ผู ้ เ ล่ น นิ ย มเนื่ อ งจากรู ป แบบของเกมที่ ส นุ ก สนาน

เพลิดเพลิน เนือ้ หาท้าทาย มีความสวยงาม ผูเ้ ล่นสามารถ แข่งขันและพูดคุยกับกลุ่มเพื่อนโดยผ่านตัวละครใน เกมออนไลน์ได้ทั้งที่นั่งเล่นอยู่ท่ีใดก็ตาม กระแสเกม ออนไลน์กำ� ลังเป็นทีน่ ยิ มของเยาวชนยุคไอซีที มีการเล่น เกมเชิงพาณิชย์ มีการซื้อ-ขายแลกเปลี่ยนเงินตราจริง ท�ำให้วัยรุ่นหลายคนมุ่งมั่นสร้างรายได้จากการเล่นเกม ขณะเดียวกันก็เป็นแหล่งนัดพบคนขีเ้ หงาทีต่ อ้ งการเพือ่ น ผ่านระบบออนไลน์ นอกจากเนื้อหาของเกมที่ผู้พัฒนา สร้างขึ้นมาแล้วยังมีช่องทางการแชท (chat) ติดต่อ สื่อสารระหว่างก�ำลังเล่นเกมอยู่ท�ำให้ผู้เล่นรู้สึกว่ามี เพื่อนที่ก�ำลังติดต่อสื่อสารกันตลอดเวลา ท�ำให้เกิด ชุมชนขึ้น (วรรณรัตน์ รัตนวรางค์, 2547: 69-72) จากการศึ ก ษาข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ พฤติ ก รรม เสพติ ด เกมออนไลน์ ข องนั ก เรี ย น ของจุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย ในโครงการพฤติ ก รรมการเสพติ ด เกม ออนไลน์ ข องนั ก เรี ย นที่ ใ ช้ บ ริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต คาเฟ่ ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยการส�ำรวจเด็กและเยาวชน ที่เป็นนักเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร ปี 2553 พบว่า ร้อยละ 56.3 เล่นเกมออนไลน์ โดยผูเ้ ล่นเกมร้อยละ 26.5 มีพฤติกรรมเข้าข่ายเสพติดเกมออนไลน์ ผู้เสพติดเกม ส่วนใหญ่จะเล่น 5-7 วันต่อสัปดาห์ ผลกระทบในด้านลบ ที่เกิดจากเกมออนไลน์ ได้แก่ ไม่มีเวลาทบทวนบทเรียน ผลการเรียนลดลง สุขภาพเสื่อมโทรม มีปัญหาทางด้าน สายตาเป็นเวลานาน มีอารมณ์ก้าวร้าวรุนแรงมากขึ้น และมีการพูดโกหก เป็นต้น (จุฬาสัมพันธ์, 2553) ซึ่ง นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญระบุว่าการเล่นเกมออนไลน์ ท�ำให้ติดเกมได้ หากเล่นจนมีพฤติกรรมติดเกมจะมี

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

ผลกระทบต่อการเรียนท�ำให้ผลการเรียนตกต�่ำผลการ วิจัยพฤติกรรมการเล่นออนไลน์ที่ส่งผลต่อการเรียนของ เด็กนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น พบว่า หากนักเรียนมี พฤติกรรมการเล่นเกมออนไลน์อย่างมากหรือไม่เหมาะ สมแม้แต่เพียงพฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึง่ ย่อมส่งผลต่อ การเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาอย่างเป็นเหตุเป็นผล ซึ่งกันและกัน คือ เล่นเกมมากท�ำให้เกรดลดลง การไป โรงเรียน และการเข้าห้องเรียนไม่สม�่ำเสมอ (ศุภัคนิจ วิษณุพงษ์พร, 2552) การปลูกฝังพฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค์ ในทางจิตวิทยานั้นอาจจะกระท�ำได้หลายวิธี ส�ำหรับวิธี ที่ เ ป็ น ระบบและสามารถน� ำ ไปใช้ ใ นการเสริ ม สร้ า ง พฤติกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือ การปรับพฤติกรรม โดยวิธีการควบคุมตนเอง (Self-control) (Cormier & Cormier, 1979: 476 อ้างถึงใน รจนา กาแก้ว, 2541: 3) โดยเทคนิคการควบคุมตนเอง (Self-control) เป็น เทคนิ ค วิ ธี ก ารพั ฒ นาตนอย่ า งหนึ่ ง โดยโรเซนบั ม (Rosenbaum, 1990 อ้างถึงใน จีรวรรณ มาทวี, 2548: 35) กล่าวว่า พฤติกรรมการควบคุมตนเอง คือ การเรียนรู้ ความสามารถในการรั บ มื อ กั บ สถานการณ์ ไ ด้ ดี ซึ่ ง รวมเป็นองค์ประกอบของบุคลิกลักษณะที่เป็นทักษะ ของบุคคล การเรียนรู้ความสามารถในการรับมือกับ สถานการณ์ที่เป็นปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพและ พฤติกรรมการควบคุมตนเองสามารถฝึกและพัฒนาโดย สามารถน�ำมาใช้ในการจัดการเหตุการณ์ หรือสภาพ แวดล้อมทีเ่ กิดขึน้ ในชีวติ ประจ�ำวัน การควบคุมตนเองที่ เพิม่ ขึน้ มีผลท�ำให้มที กั ษะในการรับมือและการแก้ปญ ั หา ได้ดี (Sotthiyapai, 2002) นอกจากนี้ความส�ำเร็จของ การควบคุมตนเองขึ้นอยู่กับการบังคับตนเองที่จ�ำเป็น ต้องมีทักษะในการแก้ปัญหาในชีวิตประจ�ำวัน หรือการ เรียนรูค้ วามสามารถทีจ่ ะรับมือกับสถานการณ์ได้ดนี ำ� ไป สู่สิ่งจ�ำเป็นของพฤติกรรม เพื่อการควบคุมตนเองหรือ หมายถึ ง ความสามารถในการควบคุ ม สถานการณ์ โดยตนเอง โดยการควบคุมตนเองต้องประยุกต์แนวทาง การปฏิ บั ติ ท างพฤติ ก รรมที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ บุ ค คล (Rosenbaum, 1990) และจากการทบทวนวรรณกรรม การศึกษางานวิจัยทั้งในและต่างประเทศ พบว่า เทคนิค การควบคุมตนเองช่วยลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ได้

187

เช่น พฤติกรรมการดื่มของผู้ติดสุรา พฤติกรรมเสี่ยง ต่ อ การเกิ ด ภาวะอ้ ว น พฤติ ก รรมการใช้ ส ารเสพติ ด พฤติกรรมเสพติดสื่อ โดยเฉพาะผลการวิจัยแนวทาง ในการลดพฤติ ก รรมติ ด เกมคอมพิ ว เตอร์ (จี ร วรรณ มาทวี, 2548) จากการใช้โปรแกรมการควบคุมตนเอง พบว่านักเรียนมีพฤติกรรมติดเกมคอมพิวเตอร์ลดลง จากงานวิจยั และแนวคิดเกีย่ วกับเทคนิคการควบคุม ตนเองทีป่ รับลดพฤติกรรมทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ให้ลดลงได้นนั้ กอปรกับปัจจุบนั โรงเรียนมีปญ ั หาเกีย่ วกับนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย มีพฤติกรรมการติดเกมออนไลน์ และผูว้ จิ ยั ต้องการหาแนวทางเพือ่ ลดพฤติกรรมดังกล่าว ผู ้ วิ จั ย จึ ง สนใจที่ จ ะน� ำ โปรแกรมการควบคุ ม ตนเอง มาปรับพฤติกรรมเพื่อลดพฤติกรรมติดเกมออนไลน์ ของนักเรียนให้น้อยลงหรือหมดไป โดยให้โรงเรียนมี ส่วนร่วมในกระบวนการและแก้ไขปัญหาไปพร้อมกัน ซึ่ ง จะได้ รู ป แบบที่ เ หมาะสมกั บ บริ บ ทของโรงเรี ย น ในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หา การติดเกมออนไลน์ ซึ่งจะส่งผลให้ขจัดพฤติกรรมที่ ไม่พึงประสงค์ต่างๆ อาทิ การหนีเรียน การไม่มีเวลา ทบทวนบทเรียน ฯลฯ ให้น้อยลงหรือหมดไปนั่นเอง

วัตถุประสงค์การวิจัย

เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมติดเกมออนไลน์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ก่อนและหลังการใช้ โปรแกรมการควบคุมตนเอง

วิธีด�ำเนินการวิจัย

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ ใช้ ใ นการศึ ก ษาเป็ น นั ก เรี ย นที่ ก� ำ ลั ง ศึกษาชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ปีการศึกษา 2556 ของ โรงเรียนมัธยมแห่งหนึ่งในเขตปริมณฑล ที่มีพฤติกรรม เล่นเกมออนไลน์ โดยไม่หยุดพักเป็นเวลา 3 ชัว่ โมงขึน้ ไป ต่อวัน และเล่นเกมออนไลน์ 5 วันต่อสัปดาห์ จ�ำนวน 75 คน ซึ่งมาจากการสุ่มโดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น และการคั ด เลื อ กแบบเจาะจง โดยใช้ แ บบสอบถาม พฤติ ก รรมการเล่ น เกมออนไลน์ ส่ ว นกลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง จ�ำนวน 18 คน ได้มาจากการคัดเลือกแบบเจาะจงและ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


188

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ตามความสมัครใจ เพือ่ เข้ารับการปรับพฤติกรรมการติด เกมออนไลน์ ด ้ ว ยโปรแกรมการควบคุ ม ตนเอง ที่ มี แบบแผนการทดลองเป็นแบบสลับกลับ A-B-A-B (The A-B-A-B Reversal Design) ซึ่งเป็นวิธีการที่นักเรียนจะ ควบคุมพฤติกรรมการติดเกมออนไลน์ของตนเองให้ลด ลง โดยนักเรียนมีส่วนร่วมในการก�ำหนดพฤติกรรม เป้าหมายและก�ำหนดเงื่อนไขการเสริมแรง ตลอดทั้ง สังเกตบันทึกพฤติกรรม และประเมินพฤติกรรมของ ตนเองด้วยตัวของนักเรียนเอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ โปรแกรมการ ควบคุมตนเองเพื่อลดพฤติกรรมติดเกมออนไลน์ ซึ่งเป็น วิ ธี ก ารที่ นั ก เรี ย นจะควบคุ ม พฤติ ก รรมการติ ด เกม ออนไลน์ของตนเองให้ลดลง โดยนักเรียนมีส่วนร่วมใน การก�ำหนดพฤติกรรมเป้าหมายและก�ำหนดเงือ่ นไขการ เสริมแรง ตลอดทัง้ สังเกตบันทึกพฤติกรรม และประเมิน พฤติกรรมของตนเองด้วยตัวของนักเรียนเอง โดยใช้ แบบส�ำรวจตัวเสริมแรง แบบบันทึกพฤติกรรมเล่นเกม ออนไลน์ แบบบันทึกการให้รางวัลหรือการลงโทษและ แบบประเมินพฤติกรรมเล่นเกมออนไลน์ ทีม่ กี ารทดสอบ ความเชื่อมั่นด้วยสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคมีค่า เท่ากับ 0.93 ส�ำหรับขั้นตอนของโปรแกรมการควบคุม ตนเองมีล�ำดับขั้นดังนี้ ขัน้ ที่ 1 นักเรียนก�ำหนดพฤติกรรมเป้าหมาย คือ ลด พฤติกรรมที่เล่นเกมออนไลน์ต่อเนื่อง เช่น เดิมนักเรียน เคยเล่นทุกวัน วันละ 10 ชั่วโมงขึ้นไป ให้ลดลงดังนี้ สัปดาห์แรก ให้เล่นวันละ 7 ชัว่ โมง สัปดาห์ทสี่ อง ให้เล่น วันละ 5 ชั่วโมง สัปดาห์ที่สาม ให้เล่นเฉพาะ เสาร์อาทิตย์ ไม่เกินวันละ 2 ชั่วโมง และบันทึกลงในแบบ บันทึกพฤติกรรมเล่นเกมออนไลน์ ขัน้ ที่ 2 นักเรียนมีสว่ นร่วมในการก�ำหนดเงือ่ นไขการ เสริมแรง โดยใช้แบบส�ำรวจตัวเสริมแรง เช่น กิจกรรมที่ นักเรียนชอบท�ำในช่วงเวลาว่าง ชมรมทีน่ กั เรียนชอบและ เลือกเป็นสมาชิกชมรม หรือแม้กระทั่งอาหารหรือขนม ที่นักเรียนชอบทาน ขั้นที่ 3 นักเรียนสังเกตและบันทึกพฤติกรรมตนเอง

โดยบันทึกจ�ำนวนชั่วโมงที่เล่นเกมออนไลน์ต่อวัน และ ผลที่ตามมาหลังการเล่นเกมออนไลน์ ขั้นที่ 4 นักเรียนให้การเสริมแรงหรือลงโทษตนเอง เมือ่ นักเรียนท�ำได้ตามทีก่ ำ� หนดก็ได้รบั รางวัลทีต่ งั้ ไว้ตาม เงือ่ นไขการเสริมแรง ตลอดจนให้นกั เรียนท�ำกิจกรรมอืน่ มาทดแทนเวลาที่ เ คยเล่ น เกมออนไลน์ ซึ่ ง นั ก เรี ย น เป็นผู้เลือกกิจกรรมเอง จึงท�ำให้เกิดความเพลิดเพลิน และเบนความสนใจไปจากการเล่นเกมออนไลน์ และถ้า นักเรียนไม่ได้ทำ� ตามก�ำหนดก็ลงโทษตนเองตามเงือ่ นไข ที่ตั้งไว้ ขั้นที่ 5 นักเรียนประเมินพฤติกรรมตนเอง โดยใช้ แบบประเมินพฤติกรรมเล่นเกมออนไลน์ทมี่ กี ารประเมิน พฤติ ก รรมการแสดงออกจากการเล่ น เกมออนไลน์ พฤติกรรมการแสดงออกเมื่อต้องหยุดเล่นเกมออนไลน์ และสัมพันธภาพที่เกิดขึ้นกับคนรอบข้าง

แบบแผนในการทดลอง

โปรแกรมการควบคุมตนเองทีใ่ ช้เพือ่ ปรับพฤติกรรม ติดเกมออนไลน์ จะน�ำไปใช้ทดลองในการวิจัยเป็นเวลา 6 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง รวม 6 ครั้ง ครั้งละ 60 นาที คือ วันจันทร์ และวันศุกร์ เวลา 15.00-16.00 น. โดย กระบวนการทดลองมีขั้นตอนโดยสังเขปดังต่อไปนี้ 1. ปฐมนิเทศนักเรียนและผู้ปกครองโดยผู้วิจัยเพื่อ สร้างความเข้าใจและความร่วมมือ ตลอดจนชี้ให้เห็นถึง ความส�ำคัญของการปรับลดพฤติกรรมติดเกมออนไลน์ เพื่อสร้างแรงจูงใจในการปรับพฤติกรรมของนักเรียน ด้วยตัวเอง 2. การฝึกนักเรียนผู้เข้ารับการทดลองให้เข้าใจหลัก การและวิธกี ารปรับพฤติกรรมด้วยโปรแกรมการควบคุม ตนเอง 3. ด�ำเนินการปรับพฤติกรรมติดเกมออนไลน์ของ นักเรียนด้วยโปรแกรมการควบคุมตนเอง การทดลองครั้งนี้ ผู้วิจัยด�ำเนินการทดลองแบบ A-B-A-B (Alberto and Troutman, 1990 อ้างถึงใน ผ่องพรรณ เกิดพิทักษ์, 2536: 148-154) โดยแบ่งการ ทดลองออกเป็น 4 ระยะ ดังนี้ 1. ระยะเส้นฐานพฤติกรรม (A1) ใช้เวลา 1 สัปดาห์

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

189

พฤติกรรมด้วยโปรแกรมการควบคุมตนเอง และสรุปวิธี การฝึกการควบคุมตนเองให้กับนักเรียน หลังจากนัน้ ผูว้ จิ ยั จะน�ำแบบประเมินพฤติกรรมเล่น เกมออนไลน์ที่ได้นี้มาให้คะแนน และน�ำคะแนนของ นักเรียนแต่ละคนที่ได้จากแบบประเมินพฤติกรรมเล่น เกมออนไลน์ ม าวิ เ คราะห์ เ กี่ ย วกั บ การเปรี ย บเที ย บ พฤติกรรมติดเกมออนไลน์ของนักเรียนก่อนและหลังการ ใช้โปรแกรมการควบคุมตนเอง จากการพิจารณาเปรียบ เทียบค่าเฉลีย่ ความถีพ่ ฤติกรรมระยะเส้นฐานพฤติกรรม (A1) และค่าเฉลี่ยความถี่พฤติกรรม ระยะถอดถอน (A2) และท�ำการทดสอบโดยใช้ค่า t (t-test for dependent samples)

(สัปดาห์ที่ 1) ผู้วิจัยให้นักเรียนท�ำการสังเกตและบันทึก พฤติกรรมเล่นเกมออนไลน์ของตนเอง ในสภาพการณ์ เล่นเกมออนไลน์ตามปกติ โดยในระยะนี้ ยังไม่มีการใช้ โปรแกรมการควบคุมตนเอง 2. ระยะทดลอง (B) ใช้เวลา 3 สัปดาห์ (สัปดาห์ที่ 2-4) ผูว้ จิ ยั ให้นกั เรียนท�ำการสังเกตและบันทึกพฤติกรรม เล่นเกมออนไลน์ของตนเอง ในสภาพการณ์เล่นเกม ออนไลน์ตามปกติ โดยผู้วิจัยให้นักเรียนผู้รับการทดลอง ได้รบั การควบคุมตนเองตามโปรแกรมการควบคุมตนเอง 3. ระยะหลังการทดลอง (A2) ใช้เวลา 1 สัปดาห์ (สัปดาห์ที่ 5) ผู้วิจัยให้นักเรียนท�ำการสังเกตและบันทึก พฤติกรรมการเล่นเกมออนไลน์ของตนเอง ในสภาพการณ์เล่นเกมออนไลน์ตามปกติ โดยในระยะนี้ คือ ระยะ ติดตามผล ผู้วิจัยไม่ได้ให้นักเรียนผู้รับการทดลองได้รับ ควบคุมตนเอง 4. ระยะทดลอง (B1) ใช้เวลา 1 สัปดาห์ (สัปดาห์ที่ 6) ผู้วิจัยให้นักเรียนท�ำการสังเกตและบันทึกพฤติกรรม เล่นเกมออนไลน์ของตนเอง ในสภาพการณ์เล่นเกม ออนไลน์ตามปกติ โดยผู้วิจัยให้นักเรียนผู้รับการทดลอง ได้รบั การควบคุมตนเองตามโปรแกรมการควบคุมตนเอง ในขั้นตอนนี้ผู้วิจัยให้นักเรียนท�ำการสังเกตและ บันทึกพฤติกรรมเล่มเกมออนไลน์ของตนเอง ในสภาพ การเล่นเกมออนไลน์ทงั้ 4 ระยะจากนัน้ ผูว้ จิ ยั ให้นกั เรียน น�ำแบบบันทึกพฤติกรรมเล่นเกมออนไลน์ ทีน่ กั เรียนเป็น ผู้บันทึกนี้มาส่งผู้วิจัย โดยให้นักเรียนแต่ละคนท�ำแบบ ประเมินพฤติกรรมเล่นเกมออนไลน์ และผู้ปกครองท�ำ แบบประเมินพฤติกรรมเล่นเกมออนไลน์ของนักเรียน ควบคู่กันไป 4. ปั จ ฉิ ม นิ เ ทศนั ก เรี ย นเพื่ อ ทราบผลและ ประโยชน์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น หลั ง จากที่ ไ ด้ รั บ การทดลองปรั บ

ผลการวิจัย

โปรแกรมการควบคุมตนเองด�ำเนินการทดลองแบบ A-B-A-B เป็ น วิ ธี ก ารที่ นั ก เรี ย นจะควบคุ ม และปรั บ พฤติกรรมการติดเกมออนไลน์ของตนเองให้ลดลง โดย นักเรียนมีส่วนร่วมในการก�ำหนดพฤติกรรมเป้าหมาย และก�ำหนดเงื่อนไขการเสริมแรง ตลอดทั้งสังเกตบันทึก พฤติกรรม และประเมินพฤติกรรมของตนเอง ด้วยตัว ของนักเรียนเอง จากการทดลองใช้โปรแกรมดังกล่าวกับ นักเรียนทีม่ พี ฤติกรรมการติดเกมออนไลน์พบว่าหลังจาก การใช้โปรแกรมการควบคุมตนเองนักเรียนมีพฤติกรรม การติดเกมออนไลน์ลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 ดังนั้นโปรแกรมการควบคุมตนเองเป็นวิธี การที่สามารถลดพฤติกรรมการติดเกมออนไลน์ของ นักเรียนได้ โดยค่าเฉลี่ยความถี่พฤติกรรมระยะเส้นฐาน พฤติกรรม (A1) เท่ากับ 44.33 และค่าเฉลี่ยความถี่ พฤติกรรม ระยะถอดถอน (A2) เท่ากับ 26.11 (ตาราง 1)

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบพฤติกรรมติดเกมออนไลน์ของนักเรียนก่อนและหลังการใช้โปรแกรมการควบคุมตนเอง (n = 18) n = 18

Mean

ก่อนการทดลอง 18 44.33 หลังการทดลอง 18 26.11 *มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

∑d2

∑d2

sd

t

213

4,357

15.61

3.22*

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


190

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

สรุปและอภิปรายผล

ในการหาแนวทางลดพฤติกรรมติดเกมออนไลน์ ซึง่ ก� ำ หนดให้ เ หมาะสมกั บ บริ บ ทของโรงเรี ย นระดั บ มัธยมศึกษาตอนปลาย โดยใช้โปรแกรมการควบคุม ตนเอง ที่เป็นโปรแกรมการปรับพฤติกรรมด้วยเทคนิค การควบคุมตนเอง จากผลการทดลองกับนักเรียนพบว่า ก่อนและหลังการใช้โปรแกรมการควบคุมตนเอง นักเรียน มี พ ฤติ ก รรมการติ ด เกมออนไลน์ แ ตกต่ า งกั น โดยมี พฤติกรรมติดเกมออนไลน์ลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญทาง สถิติ ที่ระดับ .05 โดยในช่วงระยะเส้นฐานนักเรียน ยังไม่ได้รับการปรับพฤติกรรมโดยโปรแกรมการควบคุม ตนเอง นักเรียนยังมีพฤติกรรมการติดเกมออนไลน์ และ ในช่ ว งระยะการทดลองเมื่ อ นั ก เรี ย นได้ รั บ การปรั บ พฤติกรรมโดยโปรแกรมการควบคุมตนเอง นักเรียนมี พฤติกรรมติดเกมออนไลน์ลดลง อธิบายได้วา่ เทคนิคการ ควบคุมตนเองเป็นวิธีการหรือกระบวนการที่ใช้ปรับ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมของบุ ค คลจากพฤติ ก รรมที่ ไ ม่ พึ ง ประสงค์ ไ ปสู ่ พ ฤติ ก รรมที่ พึ ง ประสงค์ ไ ด้ หรื อ เพิ่ ม พฤติกรรมที่พึงประสงค์หรือต่อต้านพฤติกรรมที่เบี่ยง เบน (Watson & Tharp, 1972: 15) เพราะฉะนั้นการ ควบคุมตนเองจึงต้องใช้ความพยายาม พฤติกรรมใดทีไ่ ด้ ยากก็จะต้องใช้ความพยายามมากกว่าพฤติกรรมทีท่ ำ� ได้ ง่าย (Wilson & O’Leary, 1980: 214) และการควบคุม ตนเองยังเป็นผลมาจากการเรียนรูท้ างสังคม โดยทีบ่ คุ คล พยายามปรับตัวเพื่อให้เป็นที่ยอมรับของสังคม (Kanfer & Phillips, 1970: 416) และโรเซนบรัม (Rosenbaum, 1990 อ้างถึงใน ปนัดดา ธีระเชือ้ และคณะ, 2551: 150) กล่าวว่า การควบคุมตนเองเป็นอีกหนึ่งทักษะที่สามารถ จะน�ำไปใช้ในการรับมือสถานการณ์ที่ดี นอกจากทักษะ การรับรู้ความสามารถตนเอง และทักษะการแก้ปัญหา สอดคล้องกับงานวิจัยของจีรวรรณ มาทวี (2548: 56) ที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมตนเองที่เป็นแนวทาง แก้ไขพฤติกรรมติดเกมคอมพิวเตอร์ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 พบว่า ก่อนและหลังการใช้การ ควบคุมตนเอง มีผลท�ำให้นกั เรียนมีพฤติกรรมการติดเกม ออนไลน์แตกต่างกัน โดยมีพฤติกรรมติดเกมออนไลน์ ลดลงอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ทีร่ ะดับ .01 และงานวิจยั

ของจารุวรรณ ภัทรจารินกุล (2551: 48) ศึกษาการปรับ พฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กออทิสติก โดยใช้เทคนิคการ ควบคุมตนเองพบว่า เด็กมีพฤติกรรมก้าวร้าวลดลง นอกจากนี้จะเห็นได้ว่าในเทคนิคการควบคุมตนเอง นั ก เรี ย นจะได้ รั บ สิ่ ง เสริ ม แรงตามที่ ก� ำ หนดไว้ ต าม เป้าหมาย เป็นไปตามหลักการปรับพฤติกรรมตามทฤษฎี การเรียนรูก้ ารวางเงือ่ นไขแบบการกระท�ำ ซึง่ พัฒนาจาก แนวคิดของสกินเนอร์ทวี่ า่ พฤติกรรมทีเ่ กิดขึน้ ของบุคคล จะเปลี่ยนไปเนื่องจากผลของการกระท�ำหรือผลกรรม ที่ เ กิ ด ในสภาพแวดล้ อ มนั้ น ผลกรรมใดที่ ไ ด้ รั บ การ เสริมแรงจึงท�ำให้ความถี่ของพฤติกรรมเพิ่มขึ้น อันเป็น ผลเนือ่ งจากผลกรรมทีต่ ามหลังพฤติกรรมนัน้ (สมโภชน์ เอี่ ย มสุ ภ าษิ ต , 2541: 32-33) ดั ง นั้ น เมื่ อ พิ จ ารณา พฤติกรรมการติดเกมออนไลน์ จะเห็นได้ว่าในระยะที่ 1 ซึ่งเป็นระยะเส้นฐานนั้น นักเรียนยังแสดงตามสภาพ ของนักเรียน เนื่องจากยังไม่มีการวางเงื่อนไข และการ เรียนรู้ว่าพฤติกรรมใด เมื่อท�ำแล้วจะได้รับรางวัล แต่ใน ช่วงที่ 2 คือ ระยะการจัดกระท�ำ เมื่อนักเรียนได้รับการ ฝึกเทคนิคการควบคุมตนเองและได้รับการวางเงื่อนไข การเสริมแรง จะเห็นว่าพฤติกรรมการติดเกมออนไลน์ ลดลง เนื่ อ งจากนั ก เรี ย นเรี ย นรู ้ ที่ จ ะแยกแยะได้ ว ่ า เมือ่ แสดงพฤติกรรมใดจะได้สงิ่ เสริมแรงทีต่ อ้ งการ ระยะ ที่ 3 ระยะถอดถอน และระยะที่ 4 ระยะการจัดกระท�ำ อีกครั้ง โดยการให้เทคนิคการควบคุมตนเองซ�้ำอีกครั้ง พบว่าพฤติกรรมการติดเกมออนไลน์ลดลง สอดคล้องกับ หลักการที่ว่า การเสริมแรงทางบวกเป็นการเพิ่มความถี่ ของการเกิดพฤติกรรม และยังท�ำหน้าที่ในการท�ำให้ พฤติกรรมที่เรียนรู้แล้วเกิดขึ้นอย่างสม�่ำเสมออีกด้วย (สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต, 2541: 172) ในงานวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยได้รับความ ร่ ว มมื อ จากทางโรงเรี ย นเพื่ อ ศึ ก ษาและแก้ ไขปั ญ หา ที่มีความจ�ำเป็นต้องแก้ไขและหาแนวทางแก้ไขโดยใช้ กระบวนการวิจัยในรูปแบบดังกล่าว ท�ำให้เกิดผลงาน วิจัยที่สามารถน�ำไปเผยแพร่และก่อให้เกิดประโยชน์ ต่อสังคมเป็นอย่างยิ่ง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

ข้อเสนอแนะ

ข้อเสนอแนะทั่วไป 1. จากการที่ ผู ้ วิ จั ย ได้ ท ดลองน� ำ โปรแกรมการ ควบคุมตนเองที่น�ำเทคนิคการควบคุมตนเอง มาใช้ใน การปรับลดพฤติกรรมการติดเกมออนไลน์ พบว่า ถ้ามี การขยายเวลาในการทดลองใช้เพื่อการปรับพฤติกรรม จะท�ำให้พฤติกรรมทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ลดลงเรือ่ ยๆ ดังนัน้ ใน การน�ำเทคนิคการควบคุมตนเองมาใช้ ควรเพิม่ ช่วงเวลา ในการฝึกให้นานมากยิ่งขึ้น เพื่อให้นักเรียนสามารถฝึก การควบคุ ม ตนเองให้ ม ากขึ้ น ท� ำ ให้ พ ฤติ ก รรมที่ พึ ง ประสงค์เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องต่อไป 2. ควรมีการติดตามผลการใช้รูปแบบเทคนิคการ ควบคุมตนเองในการปรับพฤติกรรมทุกๆ 3 เดือน เพื่อ ดูความเปลีย่ นแปลงของพฤติกรรม และผูป้ กครองควรมี ส่วนร่วมในการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนและจูงใจ ให้นักเรียนอยากเลิกพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ด้วย ตนเอง 3. โรงเรียนควรมีบริการให้ค�ำแนะน�ำแก่ผู้ปกครอง ที่มีปัญหาเด็กติดเกมออนไลน์ และให้การบ�ำบัดแก่เด็ก ทีต่ ิดเกมออนไลน์ โดยน�ำรูปแบบการควบคุมตนเองเพื่อ ลดพฤติกรรมการติดเกมออนไลน์ และเผยแพร่ให้เป็นที่ รับทราบโดยทั่วกัน นอกจากนี้โรงเรียนควรจัดกิจกรรม

191

ที่สนุกสนาน เพลิดเพลิน และเหมาะสมให้กับนักเรียน โดยจัดเป็นชมรมต่างๆ ที่มีประโยชน์ต่อนักเรียน เช่น ชมรมดนตรี ชมรมกีฬา ชมรมลีลาศ เป็นต้น เพือ่ ส่งเสริม และกระตุน้ นักเรียนทีใ่ ช้เวลาว่างในการเล่นเกมออนไลน์ หันมาเข้าชมรมที่ตนเองชอบและสนใจแทน ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1. การวิจัยครั้งนี้เป็นแนวทางหนึ่งที่จะท�ำให้แก้ ปัญหาเด็กติดเกมออนไลน์ได้ ในกลุม่ นักเรียนทีม่ กี ารเล่น เกมออนไลน์ระดับอื่นๆ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นต้น 2. ควรมีการวิจยั โดยใช้เทคนิคการควบคุมตนเองกับ การลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ด้านอื่นๆ เช่น การติด สื่ อ ในโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ หรื อ การติ ด สื่ อ ประเภทอื่ น ๆ เป็นต้น 3. การศึกษาครัง้ นีไ้ ด้ใช้แบบแผนในการทดลองเป็น แบบ A-B-A-B ที่มีข้อจ�ำกัดในเรื่องของความตรงภายใน ของการวิจัย (Internal validity of research) ดังนั้น ในการวิจยั ในครัง้ ต่อไปสามารถเลือกใช้แบบแผนในการ ทดลองที่มีการใช้กลุ่มควบคุมเป็นสิ่งที่ควบคุมปัญหา ความตรงภายในของการวิจยั ได้ คือ แบบแผนการทดลอง ABF และมีกลุ่มควบคุม (ABF control group design)

บรรณานุกรม

จารุวรรณ ภัทรจารินกุล. (2551). ผลของการใช้เทคนิคการควบคุมตนเองต่อพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนออทิสติก ที่เรียนร่วมในโรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่). สารนิพนธ์ กศม. (การศึกษาพิเศษ), มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. จีรวรรณ มาทวี. (2548). การศึกษาสาเหตุ ผลสืบเนื่อง และแนวทางในการลดพฤติกรรมติดเกม คอมพิวเตอร์. ปริญญานิพนธ์ กศม. (จิตวิทยาการแนะแนว), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. จุฬาสัมพันธ์. (2553). ส�ำรวจสถานการณ์ปัญหาเด็กติดเกมออนไลน์ในกรุงเทพฯ เกือบ 30% เข้าข่ายเสพติดส่งผลเสีย ต่อการเรียนและสุขภาพ. วารสารจุฬาสัมพันธ์ 53(35), 6. ปนัดดา ธีระเชื้อ, หรรษา เศรษฐบุปผา และสิริลักษณ์ วรรธนะพงษ์. (2551). ผลของโปรแกรมการควบคุมตนเองต่อ พฤติกรรมการดื่มของผู้ติดสุรา. พยาบาลสาร 35(3), 150. ผ่องพรรณ เกิดพิทักษ์. (2536). การปรับพฤติกรรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. รจนา กาแก้ว. (2541). การศึกษาพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กทีม่ ปี ญ ั หาทางพฤติกรรมทีเ่ รียนร่วมกับเด็กปกติระดับก่อน ประถมศึกษาจากการใช้วิธีปรับพฤติกรรมแบบควบคุมตนเอง. ปริญญานิพนธ์ กศม. (จิตวิทยาการศึกษา), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


192

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

วรรณรัตน์ รัตนวรางค์. (2547). การเล่นเกมออนไลน์ของเด็กนักเรียนกับความสัมพันธ์ในครอบครัว. กรุงเทพฯ: คณะ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ศุภัคนิจ วิษณุพงษ์พร. (2552). พฤติกรรมการเล่นเกมออนไลน์ที่ส่งผลต่อการเรียนของเด็กนักเรียนมัธยมศึกษาตอน ต้น. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (การจัดการสาธารณะ), มหาวิทยาลัยบูรพา. สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. (2541). ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. กรุงเทพฯ: ภาควิชาจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. Alberto, P. A. & Troutman, A. C. (1990). Applied Behavior Analysis for Teacher. (3rd ed.). Columbus, Ohio : Meniff Publishing Company. Cormier, W. H. & Cormier, L. S. (1979). Interviewing Strategies for Helpers: A Guide to Assessment, Treatment and Evaluation. California: Brooks/Cole Publishing Company. Drabman, R., Spitalnik, R. & O’Leary, K. D. (1973). Teaching Self-Control to Disruptive Children. Journal of Abnormal Psychology. 82(1), 6-10. Kanfer, F. H. & Phillips, J. S. (1970). Learning Foundations of Behavior Theory. New York: John Wiley & Sons. Rosenbaum, M. (1990). Learned Resourcefulness: on coping skills, self-control, and adaptive behavior. New York: Springer publishing Company. Sotthiyaphai, S. (2002). Effect of self-control skills training on self-control behaviors in juvenile delinquents with amphetamine use. Master’s Thesis in Nursing Science, Mahidol University, Nakhonpathom. Watson, D. L. & Tharp, R. G. (1972). Self-Directed Behavior: Self-Modification for Personal Adjustment. California: Brooks/Cole Publishing Company. Wilson. G. T. & O’Leary, K. D. (1980). Principles of Behavior Therapy. New Jersey: Prentice-Hall.

TRANSLATED THAI REFERENCES

Chula Weekly. (2010). Explore the issue of children addicted to online games in Bangkok, almost 30% into the drugs adversely affect learning and health. The Journal of Chula Weekly, 53(35). 6. [in Thai] Iamsupasit, S. (1998). Theories and techniques in behavior. Department of Psychology Chulalongkorn University, Bangkok. [in Thai] Kakaew, R. (1998). The aggressive behavior of children with behavioral problems at school with normal pre-primary education by using a self-control behavior. Master of Education degree (Educational Psychology). Srinakharinwirot University, Bangkok. [in Thai] Kerdpitak, P. (1993). The initial behavior. Department of Counseling and Educational Psychology. Srinakharinwirot University, Bangkok. [in Thai] Matawee, J. (2005). A study of causes and consequences of computer game addiction behavior and strategies in decreasing computer game addiction behavior. Master of Education degree (Guidance and Counseling Phychology). Srinakharinwirot University, Bangkok. [in Thai] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

193

Phattharacharinkun, J. (2008). The effect of self-control technique on aggressive behaviors of children with autism in the inclusive setting tessabarn 2. Master of Education degree (Special Education). Srinakharinwirot University, Bangkok. [in Thai] Ratanawarang, W. (2004). The game of students with family relationships. Faculty of Social Sciences. Srinakharinwirot University, Bangkok. [in Thai] Teerachue, P., Sethabouppha, H. & Vadtanapong, S. (2008). Effect of the Self-control Program on drinking behaviors among persons with alcohol dependence. Nursing Journal, 35(3), 150. [in Thai] Wisanupongporn, S. (2009). Online game behavior junior high school students learning behavior. Master of Education degree (Public Management). Burapha University, Chonburi. [in Thai]

Tanyavanunlia lianyang received her Bachelor Degree of Science, major in Mathematics from Srinakharinwirot University in 1985, she graduated M.S., major in Statistics from Chulalongkorn University in 1989. She is currently studying for a PhD. Research in Applied Behavioral Science (emphasis Research) at Srinakharinwirot University and a full time lecturer in Faculty of Engineering and Techology, Panyapiwat Institute of Management. Patchrapa Intrapot received her Bachelor Degree of education, major in Mathematics from Chulalongkorn University in 1999, she graduated M.Ed. major in Research from Chulalongkorn University in 2002. She is currently a full time lecturer in Faculty of Engineering and Technology, Panyapiwat Institute of Management.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


194

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

การออกแบบสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์รงิ ที่วงเวียน: กรณีศึกษาวงเวียนอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ROUNDABOUT METERING SIGNAL DESIGN: A CASE STUDY OF DEMOCRACY MONUMENT ROUNDABOUT บทคัดย่อ

นิวัฒน์ สุรโชติเกรียงไกร1 และอ�ำพล การุณสุนทวงษ์2 Niwat Surachodkriangkrai1 and Ampol Karoonsoontawong2

งานวิจัยนี้ได้ศึกษาการออกแบบสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริงที่วงเวียนเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพให้กับ วงเวียนเดิมทีม่ ปี ริมาณการจราจรสูงและมีรปู แบบการไหลทีไ่ ม่สมดุล ท�ำให้ไม่สามารถควบคุมด้วยหลักการให้ทางของ วงเวียนได้ งานวิจัยนี้ได้เลือกวงเวียนอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยที่ปัจจุบันได้ใช้ระบบสัญญาณไฟจราจร เป็นกรณีศึกษา ด้วยการติดตั้งสัญญาณไฟในเส้นทางเข้าสู่วงเวียนทิศทางหลัก และติดตั้งขดลวดตรวจจับ (Loop Detector) ใต้ผิว จราจรในเส้นทางเข้าสู่วงเวียนในทิศทางรองโดยจะท�ำงานเมื่อแถวคอยของรถในทิศทางรองยาวถึงระยะที่ได้ติดตั้งขด ลวดตรวจจับ (Loop Detector) ทั้งนี้ เพื่อสร้างช่องว่างในกระแสจราจรในวงเวียนให้รถในเส้นทางรองสามารถเข้าสู่ วงเวียนได้ จากนั้นท�ำการทดสอบด้วยโปรแกรมแบบจ�ำลองการจราจร TSIS-CORSIM ที่ระยะต่างๆ ของการติดตั้ง ขดลวดตรวจจับ เพื่อหาระยะที่ให้ค่าประสิทธิภาพการจราจรดีที่สุด (ค่าความเร็วเฉลี่ย ค่าความล่าช้ารวม และค่าการ เคลื่อนตัว) ทั้งในเวลาเร่งด่วนและนอกเวลาเร่งด่วน โดยพบว่า ที่ระยะการติดตั้งขดลวดตรวจจับ (Loop Detector) 120 ฟุต (36.58 เมตร) นั้น ให้ค่าประสิทธิภาพดีที่สุด วงเวียนที่ควบคุมด้วยสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริงที่ระยะ การติดตั้งขดลวดตรวจจับที่ให้ค่าประสิทธิภาพดีที่สุดนี้ เมื่อเปรียบเทียบกับวงเวียนที่ควบคุมด้วยสัญญาณไฟจราจร พบว่า มีความล่าช้ารวมน้อยกว่า ความเร็วเฉลีย่ มีคา่ ต�ำ่ กว่าโดยการเคลือ่ นทีโ่ ดยรวมของรถมีคา่ สูงกว่า ผลจากงานวิจยั นี้แสดงให้เห็นว่า สัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริงเป็นทางเลือกหนึ่งในการปรับปรุงประสิทธิภาพให้กับวงเวียนที่มี ปริมาณรถจ�ำนวนมากและมีรูปแบบการไหลที่ไม่สมดุลได้ ค�ำส�ำคัญ: ขดลวดตรวจจับ รูปแบบการไหลที่ไม่สมดุล วงเวียนอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริง

Abstract

This thesis studies the roundabout metering signal design to improve the efficiency of the existing roundabout with high and unbalanced traffic flows, which are not appropriate for yield principle in traditional roundabouts. The Democracy Monument roundabout, which currently has 1

นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีวศิ วกรรมโยธา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี, Master students of Engineering in the field of Civil Engineering Technology, Department of Civil Engineering, Faculty of Engineering, King Mongkut’s University of Technology Thonburi, E-mail: Niwat_sura@yahoo.com 2 รองศาสตราจารย์ โครงการเทคโนโลยีวิศวกรรมโยธา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, Associate Professor, Civil Engineering Technology Program, Department of Civil Engineering, Faculty of Engineering, King Mongkut’s University of Technology Thonburi, E-mail: ampol.kar@kmutt.ac.th ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

195

traffic signals, is chosen as a case study. The traffic signal is installed in the main roadway approach, and the loop detector is installed underneath the pavement surface in the minor roadway approach. The traffic signal turns red when the queue length in the minor roadway approach reaches the loop detector, so that the acceptable traffic gaps will be created in the roundabout for the vehicles in the minor roadway approach to merge in. Different locations of installed loop detector are tested in the TSIS-CORSIM simulation software in order to determine the optimal location based on the traffic efficiency (average speed, total delay and movement) in the system during both peak period and off-peak period. The optimal location is 120 feet (36.58 meters) upstream from the stop line. The roundabout metering signal with the optimal location of loop detector yields better total delay, worse average speed and higher movement when compared with the existing roundabout with traffic signals. The roundabout metering signal is demonstrated to be an alternative to improve traffic efficiency at roundabout with high and unbalanced traffic flows. Keywords: Loop detector, Metering Signal, The Democracy Monument Roundabout, Unbalanced flow pattern

บทน�ำ

ประเทศไทยได้รับเอาแนวคิดการสร้างวงเวียนเพื่อ จัดการจราจรบริเวณทางแยกตั้งแต่ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยเป็นวงเวียนในสมัยแรกที่เรียกว่า Rotary ซึ่งมีขนาด ใหญ่ และมักเป็นที่ตั้งของอนุสาวรีย์ที่ส�ำคัญๆ ดังเช่น วงเวียนอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย วงเวียน 22 กรกฎา, วงเวียนอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เป็นต้น วงเวียนดังกล่าว ผ่านการใช้งานมาจนถึงปัจจุบันที่มีปริมาณการจราจร จ� ำ นวนมาก จึ ง พบว่ า วงเวี ย นขนาดใหญ่ ที่ มี อ ยู ่ ใ น กรุงเทพมหานคร ใช้ระบบสัญญาณไฟจราจรเพื่อการ ควบคุมการจราจรในวงเวียน โดยที่สภาพทางกายภาพ ยังเป็นวงเวียนอยู่ ประกอบกับวงเวียนหลายแห่งมีรูป แบบไหลของกระแสจราจรที่ มี ป ริ ม าณไม่ ส มดุ ล กั น (Unbalanced Flow Patterns) คือ มีปริมาณการ จราจรสูงมากในทิศทางหลัก แต่มีปริมาณการจราจรใน ทางสายรองน้อยกว่าในสัดส่วนทีส่ งู ท�ำให้รถในทางสาย รองไม่สามารถเข้าสู่วงเวียนได้ หากไม่มีการใช้สัญญาณ ไฟจราจรควบคุม วงเวียนทีม่ กี ารติดตัง้ ระบบสัญญาณไฟ ทุกทิศทางโดยไม่มกี ารปรับปรุงทางกายภาพให้เป็นทาง แยกเช่นนี้ อาจไม่ใช่วิธีที่ดีที่สุดในการเพิ่มประสิทธิภาพ

แก่วงเวียน จึงพิจารณาเลือกกรณีศึกษาเป็นวงเวียนที่มี ลักษณะการไหลแบบไม่สมดุลอย่างชัดเจน และปัจจุบัน มีการติดตั้งสัญญาณไฟจราจรโดยยังคงลักษณะทาง กายภาพเป็นวงเวียนเช่นเดิม ทั้งนี้ได้เลือกอนุสาวรีย์ ประชาธิปไตยที่มีสภาพปัญหาตรงกับเงื่อนไขข้างต้น เป็นกรณีศกึ ษา เพือ่ ศึกษาการเพิม่ ประสิทธิภาพด้านการ จราจร (ลดความล่าช้า เพิ่มความเร็วเฉลี่ย) โดยใช้หลัก การของวงเวียนตามกายภาพทีเ่ ป็นอยู่ แต่เพิม่ เติมระบบ สัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์รงิ เพือ่ สร้างช่องว่าง (Gap) ขึ้นในกระแสจราจรในวงเวียน ให้รถในสายรองสามารถ เข้าสู่วงเวียนได้

วัตถุประสงค์ของการศึกษา

เพือ่ ศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพ (Performance) ของการจั ด การจราจรด้ ว ยสั ญ ญาณไฟจราจรแบบ มิ เ ตอร์ ริ ง กั บ สั ญ ญาณไฟจราจรที่ ใช้ ใ นสนาม และ เปรียบเทียบกับเมื่อใช้การควบคุมโดยหลักการให้ทาง เพื่ อ สรุ ป การเป็ น แนวทางหนึ่ ง ของการแก้ ป ั ญ หา การจราจรในวงเวียนที่มีสภาพปัญหาลักษณะเดียวกัน ต่อไป

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


196

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

รูปที่ 1 ถนนราชด�ำเนินกลางตัดกับถนนดินสอบริเวณวงเวียนอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย

ทบทวนวรรณกรรม

การศึกษานี้อ้างอิงทฤษฎีในหลายส่วน ทั้งในส่วน ของการศึกษาทฤษฎีวงเวียน สัญญาณไฟจราจรแบบ มิเตอร์ริง และการสร้างแบบจ�ำลองการจราจร เป็นต้น โดยแยกเป็นหัวข้อได้ดังนี้ หลักการของวงเวียน วงเวียนเป็นรูปแบบการควบคุมทางแยกทีไ่ ม่มรี ะบบ สัญญาณไฟ แต่ใช้หลักของล�ำดับความส�ำคัญในการ จัดการจราจร โดยหลักการของวงเวียนสมัยใหม่ ได้ตั้ง ขึน้ เมือ่ ปี 1960 ทีป่ ระเทศอังกฤษ กฎส�ำหรับวงเวียนสมัย ใหม่นี้ คือ Yield At Entry หรือ การให้รถในวงเวียนไป ก่อน นั่นคือ การจัดล�ำดับให้กระแสจราจรในวงเวียน (Circulating Flow) มีความส�ำคัญสูงกว่ากระแสจราจร บริเวณทางเข้าวงเวียน (Entering Flow) ดังนั้น ความจุ ของวงเวียนจึงขึน้ อยูก่ บั จ�ำนวนและรูปแบบของช่องว่าง ที่เกิดขึ้นในกระแสจราจรในวงเวียน รวมทั้งการยอมรับ ช่องว่างทีเ่ กิดขึน้ เพือ่ เข้าสูว่ งเวียนของรถบริเวณทางเข้า วงเวียน Highway Capacity Manual (HCM, 2000: 45-47) ไม่มใี นบรรณานุกรม จึงนิยามความจุของวงเวียน คือ ความจุที่ทางเข้าวงเวียนหรือ Approach Capacity โดยได้แยกวิธีการหาความจุของวงเวียนออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ วิธี Empirical Model ได้จากการเก็บ ข้อมูลในสนามเป็นวิธที พี่ จิ ารณาถึงกายภาพของวงเวียน ที่มีผลต่อประสิทธิภาพ ได้แก่ ความจุ ความล่าช้า และ อีกวิธี คือ Analytical Models เป็นวิธีที่อิง Gap

Acceptance Theory โดยวิธี Empirical Model ซึ่ง เป็นวิธีที่ดีกว่าแต่ต้องเก็บข้อมูลจ�ำนวนมากเพื่อน�ำมา วิเคราะห์ และเหมาะกับวงเวียนที่มีปริมาณการจราจร หนาแน่น ส่วนวิธี Analytical Models เป็นวิธีที่เหมาะ กับปริมาณการจราจรทัว่ ไป งานวิจยั นีศ้ กึ ษาการควบคุม การจราจรในวงเวียนทั้งรูปแบบของสัญญาณไฟจราจร และสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริง ซึ่งเป็นการศึกษา ที่ใช้หลัก Gap Acceptance Theory ดังนั้น การวิจัยนี้ จึงศึกษาประสิทธิภาพของวงเวียนด้วย Analytical Models ช่องว่างที่ยอมรับได้ส�ำหรับวงเวียน ช่องว่าง (Gap) คือ ระยะทีว่ ดั จากกันชนหลังของรถ คันหน้า ถึงกันชนหน้าของรถคันที่ตามมา แต่จะเป็นที่ ช่องว่างทีย่ อมรับได้หรือไม่นนั้ ขึน้ กับรถทีร่ อเข้าสูว่ งเวียน หากยอมรับไม่ได้รถก็จะหยุดรอต่อไป เรียกช่องว่างนั้น ว่า ช่องว่างที่ปฏิเสธ (Rejected Gap) ช่องว่างที่มีระยะ สั้นที่สุดที่ผู้ขับขี่สามารถยอมรับได้ เรียกว่าค่าช่องว่าง วิกฤต (Critical Gap) และค่าช่องว่างที่มีระยะสั้นกว่า ช่องว่างวิกฤตนี้ จะโดนปฏิเสธจากผู้ขับขี่ทั้งหมด ช่อง ว่างในกระแสจราจรมีความแตกต่างกันขึ้นกับลักษณะ การกระจายตัวของรถ ซึ่งใช้ค่า Headway หรือ ระยะ เวลาที่นับจากเมื่อรถคันแรกผ่านจุดๆ หนึ่ง ไปจนถึงเมื่อ รถคันที่ตามมาผ่านจุดเดียวกันกับรถคันแรก เป็นส่วน ส�ำคัญต่อการพิจารณาความจุของวงเวียน โดยพบว่า ความจุของทางแยก เมือ่ การกระจายตัวของ Headway

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

ในกระแสจราจร เป็นแบบสุ่ม มีค่าน้อยกว่า เมื่อกระแส จราจรมีการรวมตัวเป็นกลุ่ม ถึง 25-30% (Irvena & Randahl, 2010: 11-13) ดังนัน้ รูปแบบการกระจายตัว ของ Headway ในวงเวียนหากมีการจัดให้เกิดการ รวมเป็นกลุ่ม ไม่กระจายแบบสุ่มจะท�ำให้เกิดช่องว่าง ที่ยอมรับได้มากขึ้น ส่งผลต่อความจุของรถในด้านเข้าสู่ วงเวียนให้เพิ่มมากขึ้น รูปแบบการไหลของกระแสจราจรที่ไม่สมดุล Akcelik (2004) ได้น�ำเสนอบทความในงาน The Institute of Transportation Engineers 2004 Annual Meeting โดยได้กล่าวถึงผลการศึกษาปัจจัย ด้านรูปแบบการไหลของกระแสจราจรที่ไม่สมดุล หรือ Unbalanced Flow Patterns ในวงเวียนเป็นผลมาจาก ความต้องการการเดินทางจากจุดเริม่ ต้น (Origins) ไปยัง จุดหมาย (Destinations) มีปริมาณสูงมากในทิศทาง หนึง่ ของวงเวียนและมากกว่าในทิศทางถัดไปของวงเวียน อย่างชัดเจนส่งผลให้รถในทิศทางถัดไปไม่สามารถเข้าสู่ วงเวียนได้ เป็นปัจจัยส�ำคัญต่อความจุและระดับบริการ ของวงเวียน ทัง้ นีป้ จั จัยด้านรูปแบบการไหลของกระแสจราจรที่ ไม่สมดุลนี้ มิได้น�ำมาพิจารณาในทฤษฎีการหาค่าความ จุของวงเวียนที่มีอยู่ทั้งสองทฤษฎีหลัก คือ ทฤษฎีการ ยอมรับช่องว่าง (Gap Acceptance Theory) ซึ่งเป็น ทฤษฎีทใี่ ช้ใน HCM, AUSROADS, NAASRA และทฤษฎี Linear Regression Models ซึ่งใช้การเก็บข้อมูลทาง กายภาพวงเวียนเป็นหลัก ได้รบั การพัฒนาโดย TRL (UK) โดยทั้งสองทฤษฎีให้ผลการค�ำนวณไม่ตรงกันอีกด้วย Rahmi Akcelik (2004: 31) ไม่มีบรรณานุกรม ได้ตั้ง ข้อสังเกตว่าอาจเป็นเพราะทั้งสองทฤษฎีมิได้พิจารณา ปัจจัยด้านรูปแบบการไหลของกระแสจราจรที่ไม่สมดุล (Unbalanced Flow Patterns) ร่วมด้วยนั่นเอง สัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริงในวงเวียน Akcelik, (2005) ได้น�ำเสนอบทความในงาน TRB National Roundabout Conference มีใจความส�ำคัญ ว่า สภาพการจราจรของวงเวียนในระหว่างช่วงเวลาเร่ง

197

ด่วนที่มีปริมาณการจราจรสูงและมีรูปแบบการไหลของ ปริมาณจราจรไม่สมดุลกันระหว่างเส้นทางหลักและ เส้นทางรอง ส่งผลให้เกิดแถวคอยสะสมและความล่าช้า ในเส้นทางสายรองของวงเวียน การควบคุมวงเวียนด้วย สัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริงเฉพาะในช่วงเวลาเร่ง ด่วนโดยการติดตั้งเสาสัญญาณที่เส้นทางด้านหลัก เพื่อ สร้างช่องว่างในกระแสจราจรในวงเวียน จึงเป็นมาตรการ ทีค่ มุ้ ค่า ประหยัดกว่าการเปลีย่ นแปลงการควบคุมให้เป็น สัญญาณไฟโดยสมบูรณ์ Natalozio (2005) ได้นำ� เสนอบทความในงาน The Institute of Transportation Engineers 2004 Annual Meeting โดยได้นำ� เสนอการศึกษาวงเวียนทีใ่ ช้ ระบบสั ญ ญาณไฟจราจรแบบมิ เ ตอร์ ริ ง ในช่ ว งเวลา เร่งด่วน โดยใช้ The Part-time Metering signal model ที่พัฒนาโดย Akcelik and Associates Pty Ltd. ใช้ขอ้ มูลจากวงเวียนต่างๆ ในหลายประเทศ ทดลอง หาค่าความจุและประสิทธิภาพเมื่อไม่ใช้ และใช้ระบบ สัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริง พบว่า ระบบสัญญาณ ไฟจราจรแบบมิเตอร์ริงจะมีประโยชน์ต่อการควบคุม การจราจรในวงเวียนเมือ่ ปริมาณรถรวมระหว่างปริมาณ รถที่ทางเข้าวงเวียนและปริมาณรถในวงเวียนที่ด้านนั้น มีค่าประมาณ 1300-1400 คัน/ชม. และระบบสัญญาณ ไฟจราจรแบบมิเตอร์ริงจะเริ่มมีประโยชน์น้อยลงเมื่อ ปริมาณจราจรรวมดังกล่าวมีค่าประมาณ 1550-1650 คัน/ชม. Akcelik (2011) ได้น�ำเสนอบทความในงาน 6th International Symposium on Highway Capacity And Quality Of Service มีใจความว่า การควบคุม วงเวียนด้วยสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริง สามารถ ช่วยสร้างช่องว่างในกระแสจราจรภายในวงเวียน ช่วยแก้ ปัญหาแถวคอยสะสมยาวและความล่าช้าที่เกิดขึ้นจาก รูปแบบการไหลที่ไม่สมดุล โดยได้แสดงส่วนประกอบ การประมาณการค่าความจุ ค่าประสิทธิภาพ โดยสัญญาณ ไฟจราจรแบบมิเตอร์ริงในวงเวียนมีส่วนประกอบต่างๆ ดังนี้ (ดูรูปที่ 2 ประกอบ)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


198

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

รูปที่ 2 ส่วนประกอบของระบบสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริง (ที่มา: ดัดแปลงจาก Rahmi Akcelik , 2011, Roundabout metering signals: capacity, performance and timing”, 6th International Symposium On Highway Capacity And Quality Of Service, P. 3) Metered Approach คือ เส้นทางเข้าสู่ด้านที่ติด ตั้ ง สั ญ ญาณไฟแดงเป็ น เส้ น ทางด้ า นที่ มี ป ริ ม าณการ จราจรเข้าสู่วงเวียนสูง Controlling Approach คือ เส้นทางเข้าสู่วงเวียน ที่ตรวจจับความยาวของแถวคอยด้วยขดลวดตรวจจับ ด้าน Controlling Approach นีจ้ ะได้ประโยชน์จากการ หยุดรถในด้าน Metered Approach Queue Detector Setback Distance คื อ ระยะความยาวของแถวคอยที่ต้องการตรวจจับเพื่อ ส่งสัญญาณไปยังด้าน Metered Approach Stop Setback Distance คือ ระยะร่นจากเส้นให้ ทางบริเวณทางเข้าวงเวียนเป็นจุดที่ติดตั้งสัญญาณไฟ แบบมิเตอร์ริงซึ่งมีระยะไม่น้อยกว่า 3 เมตร หลักการของวงเวียนทีม่ กี ารควบคุมด้วยสัญญาณไฟ จราจรแบบมิเตอร์ริง คือ การสร้างช่องว่างที่รถจะ สามารถยอมรั บ ได้ ในกระแสจราจรภายในวงเวียน พิจารณารูปที่ 3 ประกอบ จะพบว่าในช่วงที่ Metered Approach ได้รบั สัญญาณไฟแดง (Interval 1: Red) จะ เกิ ด ช่ อ งว่ า งในกระแสจราจรในวงเวี ย นที่ ร ถในด้ า น Controlling Approach สามารถผ่านเข้าวงเวียนได้ โดย มีความจุเท่ากับ (sg)1 (จากรูปที่ 3 แสดงตัวอย่าง (sg)1 เท่ากับ 4 คัน) และในช่วงที่ Metered Approach ไม่มี สัญญาณไฟใดๆ (Interval 2: Blank) จะเกิดช่องว่าง

ในกระแสจราจรในวงเวียน ที่รถในด้าน Controlling Approach สามารถผ่านเข้าวงเวียนได้ โดยมีความจุ เท่ากับ (sg)2 (จากรูปที่ 3 แสดงตัวอย่าง (sg)2 เท่ากับ 2 คัน) โดยที่ (sg)1 มีค่ามากกว่า (sg)2 การสร้างแบบจ�ำลองการจราจรแบบวงเวียนด้วย โปรแกรม TSIS-CORSIM ส�ำหรับการศึกษาการออกแบบสัญญาณไฟจราจร แบบมิเตอร์ริงที่วงเวียนนี้ ใช้เครื่องมือในการสร้างแบบ จ�ำลองการจราจรที่วงเวียนอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย คือ โปรแกรมสร้างแบบจ�ำลอง TSIS-CORSIM Version 6.3 ซึ่งได้มีการประยุกต์ใช้โปรแกรมนี้จ�ำลองการจราจร ของวงเวียนมาแล้ว AARON ELIAS (2009: 48-56) ได้ท�ำการวิจัยการสร้างแบบจ�ำลองการจราจรวงเวียน ด้วยโปรแกรม TSIS-CORSIM ได้สรุปว่า โปรแกรมสร้าง แบบจ�ำลองการจราจร TSIS-CORSIM เป็นโปรแกรม ที่นิยมใช้ในอเมริกา แต่ยังไม่มีข้อมูลการจ�ำลองวงเวียน มากพอ ซึ่งจากการวิจัยพบว่า โปรแกรม TSIS-CORSIM สามารถสร้างแบบจ�ำลองเพือ่ วิเคราะห์วงเวียนได้ โดยจะ ต้องท�ำการเปลี่ยนค่าที่โปรแกรมตั้งไว้ เช่น การยอมรับ ช่องว่าง เป็นต้น ทั้งนี้ ความถูกต้องของผลการวิเคราะห์ ด้วยแบบจ�ำลองยังขึ้นกับช่วงเวลา และเส้นทางเข้าสู่ วงเวียนในแต่ละด้านอีกด้วย

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

199

รูปที่ 3 รูปแบบการไหลของกระแสจราจรเมื่อควบคุมด้วยสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริง (ที่มา: ดัดแปลงจาก Rahmi Akcelik, 2011, “Roundabout metering signals: capacity, performance and timing”,6th International Symposium On Highway Capacity And Quality Of Service, P. 3)

ขั้นตอนการศึกษา

การศึกษาแนวทางการใช้สัญญาณไฟจราจรแบบ มิเตอร์ริง หรือ Metering Signal ในวงเวียนอนุสาวรีย์ ประชาธิ ป ไตย ใช้ ก ารจ� ำ ลองการจราจรเพื่ อ วั ด ผล ประสิทธิภาพ ได้แก่ ความเร็วเฉลี่ย ความล่าช้ารวม ของรถทั้งแบบจ�ำลอง และค่าเฉลี่ยความล่าช้าจากการ ควบคุมทางแยก (Control Delay) เป็นต้น โดยโปรแกรม TSIS-CORSIM Version 6.3 เพือ่ ให้ครอบคลุมการศึกษา จึงต้องจ�ำลองการจราจรวงเวียนอนุสาวรียป์ ระชาธิปไตย ใน 3 กรณีหลัก คือ 1. การจ� ำ ลองการจราจรวงเวี ย นอนุ ส าวรี ย ์ ประชาธิปไตยในสภาพปัจจุบัน (มีสัญญาณไฟจราจร) 2. การจ� ำ ลองการจราจรวงเวี ย นอนุ ส าวรี ย ์ ประชาธิปไตยเมื่อใช้สัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริง โดยแบบจ�ำลองนี้ จะท�ำการตั้งค่าระยะการตรวจจับ ความยาวแถวคอยต่างๆ จ�ำนวน 4 ค่า เพื่อหาค่าที่ท�ำให้ ประสิทธิภาพของวงเวียนสูงสุด 3. การจ� ำ ลองการจราจรวงเวี ย นอนุ ส าวรี ย ์ ประชาธิปไตยภายใต้การควบคุมด้วยกฎการให้ทางของ

วงเวียน โดยใช้ปริมาณการจราจรในปัจจุบัน ขั้นตอนการศึกษาจึงประกอบไปด้วย 1. การพัฒนาแบบจ�ำลองด้วย CORSIM การจ� ำ ลองการจราจรในวงเวี ย นด้ ว ยโปรแกรม TSIS-CORSIM มีความยุ่งยากกว่าการจ�ำลองทางแยก ทั่วไป กล่าวคือ กระแสจราจรทุกทิศทางในแต่ละด้าน ของวงเวียนจะเข้าสู่วงเวียนและออกจากวงเวียนที่ด้าน ต่างๆ ตามจุดประสงค์การเดินทาง ท�ำให้มีการรวมกัน ของกระแสจราจรจากด้านต่างๆ ของวงเวียนและอาจ ท�ำให้กระแสจราจรบางส่วนถูกส่งออกจากวงเวียนไม่ตรง กับจุดประสงค์การเดินทาง รูปที่ 4 แสดงลักษณะของ การรวมกระแสจราจรที่ท�ำให้เกิดปัญหาดังกล่าว จากรูปที่ 4 จะเห็นว่ารถในทิศทางไปตรงจากทิศทาง มุ่งสู่ทิศเหนือ (TN) เมื่อเข้าสู่วงเวียนจะรวมกระแสกับรถ ในทิศทางไปตรงจากทิศทางมุ่งสู่ทิศตะวันตก (Tw) และ จะออกจากวงเวียนที่ Node 3 ท�ำให้กระแสจราจร (TN) เดินทางผิดจุดประสงค์ทจี่ ะต้องออกจากวงเวียนที่ Node 9 การจ�ำลองการจราจรในวงเวียนจึงจะต้องสร้างเงือ่ นไข ในการเลี้ยวโดยให้กระแสจราจร (TN) แปลงเป็นกระแส

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


200

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

รูปที่ 4 ผังทิศทางกระแสจราจรที่รวมกระแสกันในวงเวียน จราจรเลี้ยวขวา เพื่อให้สามารถรวมกระแสจราจรกับ กระแสจราจรเลีย้ วขวาจากทิศทางมุง่ สูต่ ะวันตก (RW) ได้ โดยจะต้องพิจารณาในลักษณะเช่นนี้ ส�ำหรับทุก Node ในวงเวียน

1.1 การตั้งค่าสัญญาณไฟจราจรที่ใช้ในสนาม จากการสังเกตการณ์ในสนามพบว่าสัญญาณ ไฟจราจรในสนามทีใ่ ช้อยูใ่ นปัจจุบนั มีสองเฟสดังแสดงใน รูปที่ 5 โดยรอบสัญญาณแสดงในตารางที่ 1

รูปที่ 5 (ก) รอบสัญญาณไฟที่ 1 ของสัญญาณไฟจราจร (ข) รอบสัญญาณไฟที่ 2 ของสัญญาณไฟจราจร ตารางที่ 1 แสดงระยะเวลาในแต่ละรอบสัญญาณไฟ รอบสัญญาณไฟที่ 1 2

เขียว (วินาที) 50 37

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

เหลือง (วินาที) 3 3

แดง (วินาที) 0 0


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

1.2 ความเร็ ว ที่ ก ารไหลอิ ส ระ (Free Flow Speed) พื้นที่วงเวียนอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยมีการ จ�ำกัดความเร็ว การตั้งค่าในแบบจ�ำลองจึงเป็นดังนี้ ถนนราชด�ำเนิน 40 mph ( 64 kph) ถนนดินสอ 30 mph ( 48 kph) ในวงเวียน 30 mph ( 48 kph) 1.3 การกระจายตัวของรถที่เข้าสู่วงเวียน ใช้ ลั ก ษณะการกระจายตั ว แบบ Erlang Distribution Shape Parameter “a” =1 ซึ่งอ้างอิง จาก Elias, (2009: 48-49) ทีไ่ ด้ศกึ ษาการจ�ำลองวงเวียน ด้วยโปรแกรม TSIS-CORSIM

201

1.4 ค่าการยอมรับช่องว่างในวงเวียน การตัง้ ค่าการยอมรับช่องว่างในวงเวียนอ้างอิง จากการศึกษาของ Elias (2009: 53-54) เช่นเดียวกัน 2. การสอบเที ย บแบบจ� ำ ลอง (Calibrate Model) ข้อมูลในสนามที่น�ำมาสอบเทียบ ได้แก่ ข้อมูล ปริมาณรถออกจากวงเวียนในแต่ละทิศทาง โดยท�ำการ ประมวลผลโปรแกรม TSIS-CORSIM จ�ำนวน 30 ครั้ง เพื่อหาค่าเฉลี่ยจ�ำนวนรถออกในแต่ละทิศทาง และ หาร้อยละความคลาดเคลื่อน ซึ่งได้แสดงดังตารางที่ 2 ส�ำหรับช่วงเร่งด่วน และส�ำหรับช่วงนอกเวลาเร่งด่วน

ตารางที่ 2 ผลการสอบเทียบปริมาณรถออกจากวงเวียนในแต่ละทิศทาง ทิศทาง รวม EB WB NB SB

ช่วงเวลาเร่งด่วน ข้อมูลรถออก ข้อมูลรถออกจาก ในสนาม แบบจำ�ลอง 5762 5756 1721 1754 2575 2562 230 214 1236 1226 sum error

%Error รถออก -0.10% +1.92% -0.50% -6.96% -0.81% - 6.35%

ช่วงนอกเวลาเร่งด่วน ข้อมูลรถออกใน ข้อมูลรถออกจาก ทิศทาง สนาม แบบจำ�ลอง รวม 5903 5919 EB 2199 2252 WB 2571 2562 NB 280 277 SB 853 828 sum error

%Error รถออก +0.27% +2.41% -0.35% -1.07% -2.93% -1.94%

จากตารางที่ 2 จะพบว่า มีค่าความคลาดเคลื่อน ไม่เกินร้อยละ 10 ซึง่ อยูใ่ นเกณฑ์ทยี่ อมรับได้ จึงสามารถ น�ำแบบจ�ำลองไปวิเคราะห์ต่อไปได้ 3. การสร้างระบบสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์รงิ ในแบบจ�ำลอง จากแบบจ�ำลองที่ผ่านการสอบเทียบแล้ว น�ำมา เปลี่ยนการควบคุมโดยสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริง โดยใช้ถนนราชด�ำเนินกลางด้านตะวันออกเป็น Metered Approach ทีจ่ ะติดตัง้ เสาสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์รงิ เนือ่ งจากเป็นด้านทีม่ กี ารจราจรสูง ในด้าน Controlling Approach ใช้ถนนดินสอด้านทิศใต้เนื่องจากเป็นถนน สายรอง โดยท�ำการติดตั้งขดลวดตรวจจับที่ระยะต่างๆ

รูปที่ 6 แบบจ�ำลองที่ติดตั้ง ระบบสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


202

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

4. การจ�ำลองการจราจรในวงเวียนอนุสาวรีย์ ประชาธิปไตยภายใต้กฎการให้ทาง ใช้แบบจ�ำลองทีผ่ า่ นการสอบเทียบแล้วเพือ่ ปรับรูป แบบการควบคุมโดยเอาระบบสัญญาณไฟจราจรออก และก�ำหนดให้ควบคุมด้วยการให้ทางในทุกเส้นทางเข้า สู่วงเวียน โดยไม่เปลี่ยนแปลงปัจจัยอื่นๆ 5. การวางแผนด�ำเนินการกับแบบจ�ำลองเพื่อ เตรียมข้อมูลในการวิเคราะห์ผล การวิเคราะห์ผลแบ่งเป็นสองช่วงเวลา คือ - ช่วงเวลาเร่งด่วน ช่วง 7.00-8.00 น. - ช่วงนอกเวลาเร่งด่วน ช่วง 9.00-10.00 น. ในแต่ละช่วงเวลาท�ำการวิเคราะห์ผลเปรียบเทียบ ดังนี้ 1. เปรียบเทียบประสิทธิภาพในภาพรวมทั้งแบบ จ�ำลองระหว่างเมื่อควบคุมด้วยสัญญาณไฟจราจรแบบ มิเตอร์รงิ ทีร่ ะยะการติดตัง้ ขดลวดตรวจจับความยาวแถว คอย ดังนี้ 1. ระยะการติดตั้ง Loop Detector ที่ระยะ 30 ฟุต หรือ 9.14 เมตร 2. ระยะการติดตั้ง Loop Detector ที่ระยะ 60 ฟุต หรือ 18.28 เมตร 3. ระยะการติดตั้ง Loop Detector ที่ระยะ 120 ฟุต หรือ 36.58 เมตร 4. ระยะการติดตั้ง Loop Detector ที่ระยะ 180 ฟุต หรือ 54.86 เมตร กับเมื่อควบคุมด้วยสัญญาณ ไฟจราจรแบบเดิม โดยค่าที่ท�ำการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความเร็วเฉลี่ย และความล่าช้ารวมของรถทั้งแบบ จ�ำลอง 2. เปรียบเทียบประสิทธิภาพทั้งในภาพรวม และ แยกสายหลักและสายรองเมื่อมีการควบคุมทางแยก ด้วยสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริงที่ระยะการติดตั้ง ขดลวดตรวจจับที่ให้ค่าประสิทธิภาพสูงสุด และเมื่อ มีการควบคุมด้วยสัญญาณไฟจราจรแบบเดิม กับเมื่อ ควบคุมด้วยหลักการให้ทางของวงเวียน โดยค่าที่น�ำมา วิ เ คราะห์ แ ยกสายหลั ก และสายรองได้ แ ก่ ค่ า เฉลี่ ย ความล่าช้าจากการควบคุมทางแยก

ผลการศึกษา

น� ำ แบบจ� ำ ลองมาท� ำ การประมวลผลด้ ว ยการ ประมวลผลโปรแกรม TSIS-CORSIM จ�ำนวน 30 ครั้ง น� ำ ผลด้ า นประสิ ท ธิ ภ าพมาหาค่ า เฉลี่ ย ตามแผน ด�ำเนินการทดลอง ดังนี้ 1. การวิเคราะห์ในภาพรวมเปรียบเทียบระหว่าง การควบคุมการจราจรด้วยระบบสัญญาณไฟจราจร แบบมิเตอร์ริงที่ระยะการติดตั้งขวดลวดตรวจจับค่า ต่างๆ กับสัญญาณไฟจราจรแบบเดิม จากผลด้านประสิทธิภาพที่ศึกษาในภาพรวม ของแบบจ�ำลองคือ ค่าความเร็วเฉลีย่ (ไมล์/ชม.) และค่า ความล่าช้ารวมของรถทั้งแบบจ�ำลอง (คัน-นาที) พบว่า ส�ำหรับการควบคุมด้วยสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์รงิ นั้น ค่าระยะการติดตั้งขดลวดตรวจจับที่ระยะ 120 ฟุต ให้ค่าความเร็วเฉลี่ยและความล่าช้ารวมดีกว่าที่การ ติดตั้งระยะอื่นๆ ตารางที่ 3 แสดงผลการวิเคราะห์ ที่กล่าวมาข้างต้น 2. การวิ เ คราะห์ แ ยกสายหลั ก และสายรอง เปรียบเทียบระหว่างการควบคุมการจราจรด้วยระบบ สั ญ ญาณไฟจราจรแบบมิ เ ตอร์ ริ ง กั บ สั ญ ญาณไฟ จราจรแบบเดิม จากการวิเคราะห์ในขั้นตอนที่ผ่านมาท�ำให้ได้ ค่าระยะการติดตั้งขดลวดตรวจจับ ที่ระยะ 120 ฟุต ให้ ผ ลด้ า นประสิ ท ธิ ภ าพดี ก ว่ า ที่ ร ะยะอื่ น ๆ จึ ง ใช้ ค ่ า การควบคุมนี้เป็นตัวแทนของการควบคุมด้วยสัญญาณ ไฟจราจรแบบมิเตอร์ริงซึ่งจะน�ำมาเปรียบเทียบกับการ ควบคุมด้วยกฎการให้ทางในวงเวียน ร่วมกับแนวทางการ ติดตั้งสัญญาณไฟจราจรที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเพื่อน�ำไปสู่ การสรุปการเป็นทางเลือกหนึ่งในการแก้ปัญหาวงเวียน ที่มีปัญหาด้านความจุ โดยได้ประมวลผลแบบจ�ำลอง แต่ละรูปแบบการควบคุมจ�ำนวน 30 ครัง้ และหาค่าเฉลีย่ ของค่าประสิทธิภาพทีส่ นใจ ทัง้ ความเร็วเฉลีย่ ความล่าช้า รวมของรถทั้งแบบจ�ำลอง และค่าเฉลี่ยความล่าช้าจาก การควบคุมทางแยก โดยท�ำการวิเคราะห์ทงั้ ในช่วงเวลา เร่งด่วนและช่วงนอกเวลาเร่งด่วน ได้ผลการประมวล ดังตารางที่ 4

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

203

ตารางที่ 3 แสดงผลประสิทธิภาพการควบคุมการจราจรด้วยระบบสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริงที่ระยะการติดตั้ง ขวดลวดตรวจจับค่าต่างๆ กับสัญญาณไฟจราจรแบบเดิม (ทั้งช่วงเร่งด่วนและช่วงนอกเวลาเร่งด่วน) ช่วงเวลาเร่งด่วน

ช่วงนอกเวลาเร่งด่วน

ติดตั้ง ติดตั้ง ติดตั้ง Detector Detector Detector ที่ระยะ ที่ระยะ ที่ระยะ 30 ฟุต 60 ฟุต 120 ฟุต

ความ เร็วเฉลี่ย 16.602 ไมล์/ชม. (26.72) (กม./ชม.) ความ ล่าช้ารวม 24.007 คัน-นาที

ควบคุมด้วยสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริง

ติดตั้ง ควบคุมด้วย Detector สัญญาณไฟ ที่ระยะ แบบเดิม 180 ฟุต

16.730 (26.92)

17.836 15.602 (28.70) (25.11)

20.079 (32.31)

22.971

11.439

55.077

32.871

ประสิทธิภาพ

ประสิทธิภาพ

ควบคุมด้วยสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริง

ติดตั้ง Detector ที่ระยะ 30 ฟุต

ความ เร็วเฉลี่ย 16.510 ไมล์/ชม. (26.57) (กม./ชม.) ความ ล่าช้ารวม 26.628 คัน-นาที

ติดตั้ง ควบคุมด้วย Detector สัญญาณไฟ ที่ระยะ แบบเดิม 180 ฟุต

ติดตั้ง Detector ที่ระยะ 60 ฟุต

ติดตั้ง Detector ที่ระยะ 120 ฟุต

16.953 (27.28)

16.964 (27.30)

16.736 (26.93)

24.011 (38.64)

22.701

22.563

24.670

42.361

ตารางที่ 4 แสดงผลประสิทธิภาพการควบคุมการจราจรด้วยระบบสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริง และสัญญาณไฟ จราจรแบบเดิม กับการควบคุมด้วยกฎการให้ทางในวงเวียน (ทั้งช่วงเร่งด่วนและช่วงนอกเวลาเร่งด่วน)

39.1403

55.077

11.439

1.143

11.000

12.980

55.37

18.797

25.220

ค่าเฉลี่ยประสิทธิภาพ

ขอบเขต การพิจารณา ภาพรวมทั้งแบบจำ�ลอง

17.836 (28.704)

การควบคุม การควบคุมด้วย ด้วย สัญญาณไฟ สัญญาณไฟ มิเตอร์ริง จราจรแบบ ที่ระยะ Detector เดิมในสนาม 120 ฟุต

15.457 (24.87)

24.011 (38.642)

16.964 (27.301)

37.55

42.361

22.563

สายหลัก (Link 20-2)

20.079 (32.314)

ความ เร็วเฉลี่ย ไมล์/ชม. (กม./ชม.) ความ ล่าช้ารวม คัน-นาที

ควบคุม โดยกฎ การ ให้ทางใน วงเวียน

แนวทางการแก้ปัญหา

3.247

10.900

9.030

สายรอง (Link 14-5)

14.675 (23.612)

ช่วงนอกเวลาเร่งด่วน

Control Delay (วินาที/คัน)

การพิจารณา

ขอบเขต

ภาพรวมทั้งแบบจำ�ลอง

การควบคุม การควบคุมด้วย ด้วย สัญญาณไฟ สัญญาณไฟ มิเตอร์ริง จราจรแบบ ที่ระยะ Detector เดิมในสนาม 120 ฟุต

สายหลัก (Link 20-2)

Control Delay (วินาที/คัน)

ความ เร็วเฉลี่ย ไมล์/ชม. (กม./ชม.) ความ ล่าช้ารวม คัน-นาที

ควบคุม โดยกฎ การ ให้ทางใน วงเวียน

แนวทางการแก้ปัญหา

สายรอง (Link 14-5)

ค่าเฉลี่ยประสิทธิภาพ

ช่วงเวลาเร่งด่วน

88.64

16.533

24.987

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


204

อภิปราย

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

1. อภิ ป รายผลการวิ เ คราะห์ ใ นภาพรวม ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพในภาพรวมทั้ง แบบจ�ำลองค่าความเร็วเฉลีย่ และความล่าช้ารวมทัง้ แบบ จ�ำลองให้ผลสอดคล้องกันทั้งในช่วงเวลาเร่งด่วนและ นอกเวลาเร่งด่วน โดยมีข้อสังเกตว่าผลด้านความเร็ว เฉลี่ยและความล่าช้ารวมของการควบคุมด้วยสัญญาณ ไฟจราจรแบบมิเตอร์รงิ ทีร่ ะยะการติดตัง้ ขดลวดตรวจจับ ค่าต่างๆ 4 ค่านัน้ ให้คา่ ทีใ่ กล้เคียงกัน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ที่ระยะการติดตั้ง 60 ฟุต และที่ระยะติดตั้ง 120 ฟุต ที่ให้ค่าความล่าช้ารวม 22.701 คัน-นาที และ 22.563 คัน-นาที ตามล�ำดับ (ดูตารางที่ 3 ประกอบ) ขณะที่ ในเวลาเร่งด่วนนั้นให้ค่าแตกต่างกันชัดเจน ทั้งนี้เมื่อ พิจารณาข้อแตกต่างของปริมาณการจราจรในช่วงเร่งด่วน และนอกเวลาเร่งด่วนนั้น พบว่าปริมาณการจราจรใน สายรองด้าน Controlling Approach มีปริมาณรถ 1029 PCU/ชม. และ 691 PCU/ชม. ตามล�ำดับในขณะที่ ในสายหลักด้าน Metered Approach มีปริมาณจราจร ในช่วงเวลาเร่งด่วน คือ 1658 PCU/ชม. นอกช่วงเวลา เร่งด่วนมีปริมาณ 2322 PCU/ชม. พิจารณาเป็นสัดส่วน ของปริมาณรถสายรองต่อสายหลักทัง้ สองช่วงเวลาพบว่า ในช่วงเวลาเร่งด่วนมีสัดส่วน 0.62 ขณะที่นอกเวลาเร่ง ด่วนมีสัดส่วนเพียง 0.297 จึงสามารถสรุปได้ว่า ระยะ การติดตั้งขดลวดตรวจจับที่ระยะต่างๆ กันจะให้ผล ประสิทธิภาพแตกต่างกันไม่มากนักส�ำหรับปริมาณรถ ที่มีสัดส่วนของรถในสายรองต่อรถในสายหลักที่มีค่า น้ อ ยๆ และจะเห็ น ผลแตกต่ า งกั น อย่ า งชั ด เจนเมื่ อ ปริมาณรถมีสัดส่วนรถในสายรองต่อสายหลักที่มีค่าเข้า ใกล้ 1 อย่างไรก็ดีทั้งสองช่วงเวลาได้ผลระยะการติดตั้ง ขดลวดตรวจจับทีใ่ ห้ประสิทธิภาพโดยรวมดีทสี่ ดุ ส�ำหรับ การควบคุ ม ด้ ว ยสั ญ ญาณไฟจราจรมิ เ ตอร์ ริ ง ที่ ร ะยะ 120 ฟุต เช่นเดียวกัน อย่างไรก็ดี เมื่อเปรียบเทียบกับ การควบคุมด้วยสัญญาณไฟจราจรแบบเดิมในสนามพบ ว่า การควบคุมด้วยสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์รงิ มีคา่ ความล่าช้ารวมน้อยกว่า แต่กลับมีค่าความเร็วเฉลี่ยของ รถน้อยกว่าการควบคุมด้วยสัญญาณไฟจราจรแบบเดิม เมื่อพิจารณาผลประสิทธิภาพด้านอื่นประกอบ ได้แก่

ค่าอัตราส่วนเวลาการเคลื่อนที่ของรถต่อเวลาทั้งหมด (Move/Total) พบว่ า เมื่ อ ควบคุ ม การจราจรด้ ว ย สัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริงมีค่าสูงกว่าเมื่อควบคุม ด้วยสัญญาณไฟแบบปกติ โดยมีค่า 0.829 และ 0.527 ตามล�ำดับ นั่นคือ การควบคุมการจราจรด้วยสัญญาณ ไฟจราจรแบบมิเตอร์ริงนั้น รถส่วนใหญ่ในระบบมีการ เคลื่อนตัว ตลอดเวลาด้ว ยความเร็ว ไม่สูงนัก ซึ่งเป็น ลักษณะเฉพาะของการควบคุมทางแยกด้วยหลักให้ทาง รถในวงเวียน นั่นเอง 2. อภิปรายผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบแนวทาง การแก้ปัญหาทั้งสองแนวทางกับการควบคุมด้วยกฎ การให้ทางทั้งในภาพรวม และแยกสายหลัก สายรอง จากการประมวลผลทั้ง 30 ครั้งและหาค่าเฉลี่ย ค่ า ประสิ ท ธิ ภ าพที่ ท� ำ การศึ ก ษาพบว่ า ในภาพรวม แนวทางการแก้ปญ ั หาทัง้ สองแนวทางคือการใช้สญ ั ญาณ ไฟจราจรแบบเดิมในสนาม และการใช้สญ ั ญาณไฟจราจร แบบมิเตอร์ริง ให้ค่าความเร็วเฉลี่ยที่สูงกว่าการควบคุม ด้วยกฎการให้ทางในวงเวียน โดยระบบสัญญาณไฟ จราจรแบบเดิมมีความเร็วเฉลีย่ สูงกว่าระบบสัญญาณไฟ จราจรแบบมิเตอร์ริง ทั้งในช่วงเร่งด่วนและนอกเวลา เร่งด่วน ส�ำหรับค่าความล่าช้ารวมของรถในแบบจ�ำลอง พบว่า การควบคุมด้วยระบบสัญญาณไฟจราจรแบบ มิเตอร์ริงให้ค่าความล่าช้ารวมน้อยกว่าทั้งการควบคุม ด้ ว ยสั ญ ญาณไฟจราจรแบบเดิ ม ในวงเวี ย นและเมื่ อ ควบคุมด้วยกฎการให้ทาง เป็นทีน่ า่ สังเกตว่า แนวทางการ เพิ่มประสิทธิภาพให้แก่วงเวียนอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ด้วยการติดตัง้ ไฟสัญญาณจราจรนัน้ มีคา่ ความล่าช้ารวม มากกว่าการควบคุมด้วยกฎการให้ทางในวงเวียนอีกด้วย ทั้งนี้ เนื่องจากการควบคุมด้วยสัญญาณไฟจราจรนั้นมี การแบ่งรอบสัญญาณล่วงหน้า ซึง่ ในแต่ละรอบสัญญาณ จะต้องมีการหยุดรอสัญญาณ นั่นเอง ในส่วนของการพิจารณาแยกสายหลักทีใ่ ช้เป็น Metered Approach และสายรองทีใ่ ช้เป็น Controlling Approach การควบคุมด้วยระบบสัญญาณไฟจราจร แบบมิเตอร์ริงนั้น พบว่า ก่อนใช้แนวทางแก้ปัญหา ทั้งสองแนวทาง วงเวียนอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยใช้กฎ การให้ทางในวงเวียน ซึ่งด้วยปริมาณรถจ�ำนวนมากใน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

สายหลัก (ราชด�ำเนินกลาง) ท�ำให้รถในสายรอง (ถนน ดินสอ) ไม่สามารถเข้าสู่วงเวียนได้จึงสะสมเป็นแถวคอย ยาวมาก เมื่อพิจารณาผลการประมวลแบบจ�ำลองจึง พบว่าค่าเฉลี่ยความล่าช้าจากการควบคุมทางแยก ที่ สายรองมีคา่ สูงถึง 55.37 วินาที/คัน ในช่วงเร่งด่วน และ 88.64 วินาที/คัน นอกช่วงเวลาเร่งด่วน ขณะที่สายหลัก มีค่าเพียง 1.143 วินาที/คัน ในช่วงเร่งด่วน และ 3.247 วินาที/คัน นอกช่วงเวลาเร่งด่วน เมื่อใช้แนวทางแก้ปัญหาด้วยแนวทางทั้งสอง พบว่าสามารถลดค่าเฉลี่ยความล่าช้าจากการควบคุม ทางแยก ในทางรองลงได้ทั้งสองแนวทาง คือ ลดลง เป็น 18.797 วินาที/คัน ในช่วงเร่งด่วน และ 16.533 วินาที/คัน นอกช่วงเร่งด่วน ส�ำหรับแนวทางการติดตั้ง สัญญาณไฟจราจร และลดลงเป็น 25.220 วินาที/คัน ในช่วงเร่งด่วน และ 24.987 วินาที/คัน นอกช่วงเร่งด่วน ส� ำ หรั บ แนวทางการติ ด ตั้ ง สั ญ ญาณไฟจราจรแบบ มิเตอร์ริง ในขณะที่สายหลัก ค่าเฉลี่ยความล่าช้าจาก การควบคุมทางแยก มีค่าเพิ่มขึ้นทั้งในช่วงเวลาเร่งด่วน และนอกช่ ว งเวลาเร่ ง ด่ ว นส� ำ หรั บ ทั้ ง สองแนวทาง ดังแสดงในตารางที่ 4

สรุปผลการวิจัย

จากผลการวิเคราะห์และอภิปรายท�ำให้สามารถ

205

สรุ ป ได้ ว ่ า แนวทางการใช้ สั ญ ญาณไฟจราจรแบบ มิเตอร์รงิ ในวงเวียนอนุสาวรียป์ ระชาธิปไตยสามารถเป็น ทางเลือกหนึ่งในการแก้ปัญหาได้ โดยเป็นแนวทางที่ ประหยัดด้วยการติดตั้งเสาสัญญาณเพียงต�ำแหน่งเดียว ร่วมกับขดลวดตรวจจับใต้ผิวจราจรด้านถนนสายรอง ทัง้ นี้ มิได้หมายความว่าจะสามารถน�ำมาใช้ในปัจจุบนั ได้ เนื่องจากมีการใช้ระบบสัญญาณไฟจราจรในแก้ปัญหา มาเป็ น ระยะเวลานาน ซึ่ ง ผู ้ ใช้ ร ถมี ค วามเคยชิ น กั บ ระบบไฟสัญญาณจราจร รวมทั้งหลักการด้านการใช้ ความเร็วที่ระบบไฟสัญญาณจราจรออกแบบมาเพื่อให้ รถผ่านรอบสัญญาณไฟเขียวให้มากที่สุด การหันมาใช้ ระบบสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์รงิ ทีอ่ งิ หลักการเดิม คือ การให้ทางในวงเวียน จึงไม่เหมาะกับสถานการณ์ ปั จ จุ บั น ของวงเวี ย นอนุ ส าวรี ย ์ ป ระชาธิ ป ไตย ทั้ ง นี้ งานวิ จั ย นี้ มี จุ ด ประสงค์ ที่ จ ะเปรี ย บเที ย บให้ เ ห็ น ว่ า ระบบสัญญาณไฟจราจรแบบมิเตอร์ริงสามารถเป็น ทางเลือกในการแก้ปัญหาให้กับวงเวียนที่มีปัญหาด้าน ความจุได้ โดยยังใช้หลักการเดิมของวงเวียน คือ การให้ ทางอยู่ และประหยัดค่าใช้จ่ายกว่าแนวทางอื่น งานวิจัย นี้จึงสามารถน�ำไปเป็นแนวทางส�ำหรับการแก้ปัญหา วงเวี ย นอื่ น ๆ ที่ ยั ง ไม่ มี ก ารติ ด ตั้ ง สั ญ ญาณไฟจราจร โดยใช้ ข ้ อ มู ล ต่ า งๆ ของวงเวี ย นนั้ น ในการวิ เ คราะห์ ประกอบการพิจารณา

บรรณานุกรม

Akcelik, R. (2004). Roundabout With Unbalance Flow Patterns. The Institute of Transportation Engineers 2004 Annual Meeting, 1-4 August 2004 Lake Buena Vista Florida. USA. Akcelik, R. (2005). Capacity And Performance Analysis Of Roundabout Metering Signals. TRB National Roundabout Conference, 22-25 May 2005 Vail Colorado. USA. Akcelik, R. (2011). Roundabout metering signals: capacity, performance and timing. 6th International Symposium on Highway Capacity And Quality Of Service. Transportation Research Board, 28 June to 1 July 2011 Stockholm. Sweden. Elias, A. (2009). Roundabout Modeling In Corsim. The Master Of Engineering, Faculty Of Civil Engineering. University Of Florida. USA. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


206

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Irvena, J. & Randahl, S. (2010). Analysis of gap acceptance in a saturated two-lane roundabout and implementation of critical gaps in VISSIM. Thesis of Traffic and Roads Department of Technology and Society, Faculty of Engineering. Lund University, Sweden. Natalozio, E. (2005). Roundabouts with Metering Signals. The Institute of Transportation Engineers 2005 Annual Meeting, 7-10 August 2005 Melbourne. Australia. TRB. (2000). Highway Capacity Manual 2000. Washington D.C., USA: The Transportation Research Board.

Niwat Surachodkriangkrai received his Bachelor Degree of Civil Engineering from Prince of Songkla University in 1999. In 2013, he received the Degree of the Master of Engineering in the field of Civil Engineering Technology, major in Traffic and Transportation Engineering from King Mongkut’s University of Technology Thonburi. He is currently a civil engineer at Department of Highway. Ampol Karoonsoontawong is an Associate Professor of Department of Civil Engineering at King Mongkut’s University of Technology Thonburi. He received his B.Eng. from Chulalongkorn University with Honors in 1997. He received his M.S. and Ph.D. in Transportation Engineering in 2002 and 2006, respectively, from The University of Texas at Austin, USA. Dr. Ampol is interested in transportation network modeling, logistical distribution network optimization, and applied operations research.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

207

การศึกษาโมเดล SPII-XP เพื่อเสริมสร้างทักษะการพัฒนา ซอฟต์แวร์ส�ำหรับผู้เรียนเฉพาะบุคคล An empirical study for SPII-XP model as a software development skill Improvement for individual learner. พรสิริ ชาติปรีชา1 Pornsiri Chatpreecha1 บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้น�ำเสนอการทดลองการน�ำรูปแบบใหม่ “Software Process for improvement with Extreme Programming: (SPII-XP)” ของกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ส่วนบุคคลไปทดลองใช้กับการปรับปรุงกระบวนการ พัฒนาซอฟต์แวร์ขนาดเล็กของนักศึกษาระดับปริญญาตรี จุดเด่นของ SPII-XP คือ การน�ำเอาข้อดีและประโยชน์ของ กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์เฉพาะบุคคล (Personal Software Process (PSP)) และวิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์ของ Extreme Programming (XP) ของสองรูปแบบมาผสมผสานกันเพื่อให้เกิดการสร้างรูปแบบใหม่ของการพัฒนา กระบวนการซอฟต์แวร์เฉพาะบุคคล โดยรูปแบบใหม่ของ SPII-XP จะเน้นการวัดกระบวนการส่วนบุคคล กระบวนการ จัดการและการประมาณการซอฟต์แวร์ และกระบวนการจัดการด้านคุณภาพ เป้าหมายคือ การปรับให้เหมาะกับ การพัฒนาซอฟต์แวร์ส่วนบุคคลซึ่งจะสามารถน�ำไปปรับใช้กับกระบวนการพัฒนาทีมซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ได้ ในภายหลังอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ค�ำส�ำคัญ: กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์เฉพาะบุคคล เอ็กซ์ตรีมโปรแกรมมิง่ การพัฒนากระบวนการ ซอฟต์แวร์เฉพาะ บุคคลโดยรูปแบบใหม่ของเอ็กซ์ตรีมโปรแกรมมิ่ง

Abstract

This article introduces a new experimental approach, the “Software Process for improvement with Extreme Programming (SPII-XP)”, on personal software development process as a test process to enhance the software improvement process for the undergraduate student. The strong point of SPII-XP is to combine the advantage of both the “Personal Software Process (PSP)” and the “Extreme Programming (XP)” process to create a new format for personal software development for individual. This new approach, the “Software Process for improvement with Extreme Programming (SPII-XP)”, will emphasis on: Personal Measurement, Personal Management and Estimating including the Personal Quality Management. The goal is to come up with appropriate personal software development process which can later on adapt to the team development of large scaled software. 1

อาจารย์ประจ�ำสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี, full time lecturer in Faculty of Engineering and Technology, Panyapiwat Institute of Management, E-mail: pornsiricha@pim.ac.th ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


208

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Keywords: Personal Software Process, Extreme Programming, Software Process Improvement for Individual with Extreme Programming

บทน�ำ

ปัจจุบนั องค์กรต่างๆ เน้นมาให้ความส�ำคัญกับเรือ่ ง ของกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์กันมากขึ้น เนื่องจาก เป็นแนวทางที่ช่วยลดความเสี่ยงและเพิ่มคุณภาพของ การพัฒนาซอฟต์แวร์ โดยเฉพาะการพัฒนากระบวนการ พัฒนาซอฟต์แวร์เฉพาะบุคคล โดยเฉพาะวิธีการที่ได้รับ การยอมรั บ และถู ก น� ำ มาใช้ กั บ กระบวนการพั ฒ นา ซอฟต์แวร์ส่วนบุคคล คือ PSP (Personal Software Process) และ XP (Extreme Programming) ซึ่งวิธีการของ PSP [1] จะเน้นให้ความส�ำคัญทาง ด้านความรับผิดชอบต่อกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ ของตนเอง การวัดผล การวิเคราะห์การท�ำงานและ การน�ำสิ่งที่เรียนรู้มาปรับใช้กับวิธีการท�ำงานของตนเอง ส่วนวิธีการของ XP จะเน้นให้ความส�ำคัญส�ำหรับการ พัฒนาซอฟต์แวร์ที่ท�ำให้เกิดความรวดเร็ว ตรงต่อเวลา และการใช้เทคนิควิธีต่างๆ ที่ก่อให้เกิดคุณภาพส�ำหรับ การพัฒนาซอฟต์แวร์ให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ด้วยเหตุนี้ ผู้วิจัยจึงเกิดแนวความคิดที่จะน�ำเอา วิธีการ PSP และ XP ซึ่งเป็นกระบวนการซอฟต์แวร์ ที่ช่วยพัฒนาขีดความสามารถของนักพัฒนาซอฟต์แวร์ แต่ละคนหรือทีมซอฟต์แวร์ขนาดเล็ก โดยการน�ำเอาข้อดี และประโยชน์ของ PSP และ XP มาท�ำการปรับปรุงจน เกิดเป็นกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์เฉพาะบุคคล คือ SPII-XP (Software Process Improvement for Individual with Extreme Programming)

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

ศึกษาถึงผลของการน�ำรูปแบบใหม่ระหว่างการ ผสมผสานของกระบวนการทางซอฟต์แวร์เฉพาะบุคคล (PSP: Personal Software Process) และการพัฒนา ซอฟต์แวร์ในรูปแบบ Extreme Programming ไปใช้ งานได้จริง

ทบทวนวรรณกรรม

ส� ำ หรั บ หลั ก การและที่ ม าของ PSP และ XP Personal Software Process (PSP) คือ กระบวนการ พั ฒ นาซอฟต์ แวร์ ส ่ ว นบุ ค คลที่ เ น้ น การวางแผนและ คุณภาพของระบบ คือ มีการตรวจสอบการออกแบบและ การตรวจสอบการเขียนโค้ดแต่ PSP มีข้อจ�ำกัด คือ ไม่มี การจัดเก็บความต้องการของผู้ใช้การวิเคราะห์ระบบ การทดสอบโปรแกรมการบ�ำรุงรักษา การจัดการกับ ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น และมีการท�ำเอกสารค่อนข้างมาก รวมไปถึงจะต้องมีการเก็บข้อมูลเพื่อมาท�ำการวัดผลจึง เกิดความล่าช้ากับกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ [2] ในล�ำดับขั้นของกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ส่วน บุคคลจะแบ่งออกเป็น 4 กระบวนการดังรูปที่ 1 PSP 0 คือ จะใช้กระบวนการพัฒนาที่นักพัฒนา โปรแกรมใช้อยู่ในปัจจุบัน นักพัฒนาโปรแกรมจะเริ่ม เรียนรูฟ้ อร์มและสคริปของพีเอสพี (PSP) และจับเวลาที่ ใช้ในการพัฒนาโปรแกรม และวัดจ�ำนวนข้อผิดพลาด (defect) ที่ตรวจพบ PSP 0.1 คื อ มี ก ารใช้ ม าตรฐานของการเขี ย น โปรแกรม (Coding Standard) การวัดขนาดของ โปรแกรมและพีไอพีฟอร์ม (PIP: Process Improvement Proposal form) ซึง่ จะรวบรวมปัญหา และแนวคิดทีจ่ ะ ใช้ในการพัฒนาโปรแกรมตลอดจนข้อเสนอการปรับปรุง กระบวนการ PSP 1 คือ มีการวางแผนส�ำหรับกระบวนการพัฒนา ซึ่ ง การวางแผนนี้ จ ะรวมถึ ง การประมาณการขนาด โปรแกรมและทรัพยากรที่ใช้ และบันทึกการทดสอบ โปรแกรม (Test report) ในพีเอสพี (PSP) การประมาณ ขนาดและเวลาจะใช้ในการพัฒนาโปรแกรมจะใช้วธิ กี าร ของโพรบ (PROBE: Proxy Base Estimate) [3] PSP 1.1 คือ มีการวางแผนและก�ำหนดการงานหรือ กิจกรรมต่างๆ ที่ต้องท�ำส�ำหรับของการพัฒนาซอฟต์แวร์ PSP 2 คือ มีการจัดการข้อผิดพลาด (defect) เพื่อ ตรวจสอบและป้องกันข้อผิดพลาด (defect) โดยเพิ่ม

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

การตรวจสอบโค้ด (Code review) และการทบทวนการ ออกแบบ (Design review) ส่วน PSP 2.1 คือ มีการออกแบบในกระบวนการ พัฒนา PSP 3 คื อ การใช้ เ ป็ น วั ฎ จั ก ร ซึ่ ง มี ก ารปรั บ

209

กระบวนการส�ำหรับการพัฒนาโปรแกรมเพือ่ รองรับการ พัฒนาโปรแกรมขนาดใหญ่ โดยแบ่งโปรแกรมออกเป็น ส่วนๆ แล้วพัฒนาแต่ละส่วนของโปรแกรมตาม PSP 2 การพัฒนาแบบนี้สามารถพัฒนาโปรแกรมที่มีขนาด หลายพันบรรทัด

รูปที่ 1 PSP Structure [1] ส่วน Extreme Programming (XP) คือ กระบวนการ พัฒนาซอฟต์แวร์สำ� หรับทีมขนาดเล็กโดยพยายามให้นกั พัฒนามุ่งเน้นไปที่การพัฒนาซอฟต์แวร์ ซึ่งมีการเขียน กรณีทดสอบก่อนการเขียนโปรแกรมท�ำให้มกี ารวางแผน

ส�ำหรับการทดสอบระบบในขณะเริม่ ต้นการพัฒนาระบบ การทดสอบจะถูกพัฒนาคู่ขนานไปกับการวิเคราะห์ ความต้องการของผู้ใช้ระบบทั้งหมดตามความต้องการ ของผู้ใช้ [4]

รูปที่ 2 XP Practice [6] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


210

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

จากรูปที่ 2 คือ แนวทางปฏิบัติของ XP ประกอบ ด้วย 12 แนวทางปฏิบัติดังนี้ คือ 1. เกมส์การวางแผน (Planning Game) คือ ลูกค้า จะเลื อ กขอบเขตและเวลาของแต่ ล ะรอบจากการ ประมาณโดยนั ก พั ฒ นาโปรแกรม จะต้ อ งพั ฒ นา โปรแกรมตามความต้ อ งการในแต่ ล ะรอบของการ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง 2. การส่งมอบงานขนาดเล็ก (Small releases) คือ ระบบจะถูกแบ่งออกเป็นส่วนๆ และเมือ่ ผูใ้ ช้เห็นว่าระบบ มี ค วามสามารถมากพอที่ จ ะน� ำ มาใช้ ง านได้ ก็ จ ะ น�ำระบบนั้นมาเริ่มใช้งานโดยไม่ต้องรอให้ระบบเสร็จ สมบูรณ์ และพัฒนาใหม่ในทุกวันหรือในทุกเดือน 3. เมตาฟอร์ (Metaphor) คือ การแสดงความเข้าใจ โดยการอธิบายการใช้ระบบเมตาฟอร์จะถูกใช้โดยลูกค้า และนักพัฒนาโปรแกรมเท่านั้น 4. การออกแบบเน้นความง่าย (Simple design) การออกแบบจะต้องถูกทดสอบทั้งหมด โดยจะไม่มีโค้ด ที่ซ�้ำกันและมีจ�ำนวนคลาสและเมธอดน้อยที่สุดเท่าที่ เป็นไปได้ 5. การทดสอบซอฟต์แวร์ (Test) นักพัฒนาจะต้อง เขียนกรณีทดสอบอยูต่ ลอดเวลา และการทดสอบทัง้ หมด จะต้ อ งถู ก ต้ อ ง ลู ก ค้ า จะก� ำ หนดฟั ง ก์ ชั น นอลเทสต์ (functional test) ส�ำหรับแต่ละสตอรีในทุกไอเทอร์เรชัน ฟั ง ก์ ชั น นอลเทสต์ นี้ จ ะต้ อ งใช้ ท ดสอบระบบเช่ น กั น ในบางครั้งอาจจะมีการส่งระบบที่ไม่ผ่านการทดสอบ ทั้งหมดได้เช่นกัน ด้วยเหตุผลทางธุรกิจ 6. การท� ำ งานของนั ก พั ฒ นาที่ เ ป็ น คู ่ (Pair Programming) คือ นักพัฒนาโปรแกรมจะท�ำการพัฒนา โปรแกรมเป็นคู่โดยใช้เครื่องมือทุกอย่างร่วมกันไม่ว่าจะ เป็นคอมพิวเตอร์ ปากกา กระดาษ

7. การบูรณาการอย่างต่อเนื่อง (Continuous integration) คือ โค้ดทีน่ กั พัฒนาโปรแกรมเขียนขึน้ ใหม่ จะต้องถูกน�ำไปรวมในระบบอย่างเร็วที่สุด ระบบต้อง ถูกต้องคอมไพล์ใหม่ทั้งหมดและต้องผ่านการทดสอบ ไม่เช่นนั้นโค้ดส่วนนั้นจะต้องถูกตัดออกไป 8. คอเล็กทีฟโอนเนอร์ชพิ (Collective ownership) คือ นักพัฒนาโปรแกรมทุกคนมีสทิ ธิทจี่ ะแก้ไขโปรแกรม ส่วนใดส่วนหนึ่งได้ ตราบเท่าที่การแก้ไขนั้นผ่านการ ทดสอบทั้งหมด 9. ออนไซด์คัสตอมเมอร์ (On-site customer) คือ ลูกค้าจะต้องนั่งท�ำงานอยู่กับนักพัฒนาโปรแกรม ตลอดเวลา 10. การท�ำงานสัปดาห์ละ 40 ชั่วโมง (40-hour weeks) คือ การที่นักพัฒนาโปรแกรมท�ำงานหนักมาก เกินไป ท�ำให้ขาดประสิทธิภาพในการท�ำงาน ดังนั้น จะไม่ใช้เวลามากเกินไปในการท�ำงาน 11. รีแฟกเตอร์ริง (Refactoring) หมายถึง การ ออกแบบระบบโดยการเปลี่ยนระบบเดิม โดยที่ระบบ ใหม่ต้องผ่านการทดสอบทั้งหมด 12. การท�ำงานในสภาวะเปิด (Open workspace) นักพัฒนาโปรแกรมทุกคนในทีมจะท�ำงานอยู่ในห้องเดียว เนื่ อ งจากบางแนวทางปฏิ บั ติ ข อง XP ยากต่ อ การน�ำไปปฏิบัติ เช่น การพัฒนาโปรแกรมเป็นคู่ (Pair Programming) การเขี ย นโปรแกรมเท่ า ที่ จ� ำ เป็ น นอกจากนี้ XP ไม่มีตัววัดผลส�ำหรับกระบวนการพัฒนา ซอฟต์แวร์เฉพาะบุคคลและไม่มีเอกสารรองรับส�ำหรับ กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์เพราะใช้ source code เป็ น เอกสารดั ง นั้ น นั ก พั ฒ นาจึ ง ต้ อ งเขี ย นโค้ ด ที่ อ ่ า น และเข้ า ใจง่ า ย สามารถสรุ ป ข้ อ ดี ข ้ อ เสี ย ของได้ [3] ดังตารางที่1

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

211

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ส่วนบุคคลของ PSP XP และ SPII-XP ขั้นการพัฒนา PSP (PDCA) ขั้นตอน PSP 1.0 จะใช้การวางแผนและเริ่มจากการ การวางแผน ออกแบบในขั้นต้นแล้วจึงใช้วิธี PROBE ใน (Plan) การประมาณขนาดและเวลาที่ ใ ช้ ถ้ า โปรแกรมมีขนาดใหญ่กจ็ ะแบ่งโปรแกรมเป็น ส่วนๆ เพื่อท�ำการพัฒนา PSP 1.1 จะใช้การจัดแผนงานและตาราง เวลาส�ำหรับการพัฒนาโปรแกรมและจัดท�ำ เป็นเอกสาร

ขั้นตอนการ ปฏิบัติ (Do)

ขั้นตอนการ ตรวจสอบ (Check)

XP

SPII-XP

XP ใช้ Planning Game โดยให้ลกู ค้า เรียง user story ตามล�ำดับความ ส�ำคัญ แล้วเลือก user story มาตาม ล� ำ ดั บ โดยแบ่ ง เป็ น รอบ รอบละ ประมาณ 3 สัปดาห์ การประมาณ ขนาดของ user story ดูจาก user story ก่อนหน้าทีใ่ กล้เคียงกันแต่ไม่มี เอกสาร

SPII-XP 2.2 น�ำรูปแบบของเอกสารใน PSP 1.1 มาใช้แต่ปรับปรุงในส่วนของ เอกสารให้สามารถใช้ได้กับการวางแผน พัฒนาโปรแกรมที่มีขนาดเล็ก ส่วนใน XP ได้น�ำรูปแบบของเอกสารมา ปรับใช้เพื่อก�ำหนดการวางแผน SPII-XP 2.2 น�ำรูปแบบของเอกสารใน PSP 1.1 มาใช้ ส่ ว นใน XP ได้ น� ำ หลั ก การของ การเขียน Test Case มาใช้ SPII-XP 2.1 เข้ า มาปรั บ ปรุ ง วิ ธี ก าร ประมาณขนาดของ PSP 1.0 โดยใช้ Usecasepoints ส่ ว นใน XP ซึ่ ง SPII-XP 2.1 ได้ น� ำ วิ ธี ก ารประมาณขนาดมาใช้ ร วมไปถึ ง รูปแบบเอกสาร

XP มี ก ารส่ ง มอบงานขนาดเล็ ก (Small releases) ระบบจะถูกแบ่ง ออกเป็นส่วนๆ และเมื่อพัฒนาระบบ จนผู้ใช้เห็นว่าระบบมีความสามารถ มากพอที่จะน�ำมาใช้งานได้ ก็จะน�ำ ระบบนั้นมาเริ่มใช้งานโดยไม่ต้องรอ ให้ระบบเสร็จสมบูรณ์ XP มีใช้มาตรฐานการเขียนโปรแกรม เช่นเดียวกับ PSP โดยที่การวัดขนาด ของ XP จะใช้การประมาณขนาด ซอฟต์ แวร์ จ ากการประมาณเวลา อย่างหยาบๆ เป็นสัปดาห์ XP จะใช้การออกแบบเน้นความง่าย โดยใช้เทคนิค explicit design เพื่อ ท�ำความเข้าใจ ส่วนใหญ่นักพัฒนา โปรแกรมที่ใช้ UML หรือ CRC card ในการออกแบบแต่เป็นเพียงแค่การ ออกแบบแค่โครงสร้างเท่านั้น PSP 2 มีการจัดการข้อผิดพลาด (defect) XP การทดสอบการเขียนโค้ดโดยการ เพื่ อ ตรวจสอบและป้ อ งกั น ข้ อ ผิ ด พลาด ใช้เทคนิคที่ชื่อว่า Test–first design (defect) โดยเพิม่ การตรวจสอบโค้ดและการ โดยจะเขี ย นกรณี ท ดสอบครั้ ง ละ 1 กรณี และเขียนโปรแกรม ตรวจสอบการออกแบบ

น�ำ PSP 0 มาใช้เพื่อเปรียบเทียบข้อมูล 2 อย่ า ง คื อ เวลาและข้ อ ผิ ด พลาด ที่เกิดขึ้น SPII-XP 1.2 น�ำรูปแบบของเอกสารใน PSP 0.1 มาปรับใช้ใน XP SPII-XP 1.2 ได้น�ำวิธีการวัดขนาดของ SEI มาปรับใช้ใน PSP 0.1 ส่วน XP ได้นำ� วิธกี ารประมาณขนาดและ เอกสารไปใช้

PSP 0 จะให้นกั พัฒนามีการเรียนรูฟ้ อร์มและ สคริปต์ของ PSP และนักพัฒนาโปรแกรมจะ จับเวลาที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรม และ บันทึกจ�ำนวนข้อผิดพลาด (defect) ที่ตรวจ พบ ซึ่งในส่วนของการพัฒนาโปรแกรมแยก เป็น 3 ขั้นตอน และใน PSP ระดับที่ 3 จะ เตรียมกรณีทดสอบก่อนเขียนโปรแกรม PSP 0.1 ใช้มาตรฐานการเขียนโปรแกรมการ วัดขนาดของโปรแกรม และข้อเสนอการ ปรับปรุงกระบวนการ (PIP Form) ซึ่ง PIP ฟอร์มจะรวบรวมปัญหา และแนวคิดที่จะ พัฒนากระบวนการที่ใช้ PSP 2.1 มีการเพิ่มการออกแบบแต่ไม่ได้ ก�ำหนดวิธีการออกแบบ มีเพียงตัวอย่างการ ออกแบบโดยใช้เซตของ template และ logic notation

SPII-XP 3.1 น�ำหลักการของ PSP มาใช้ แต่จะก�ำหนดวิธีการตรวจสอบคุณภาพ ขั้นพื้นฐาน ส่วนใน XP ไม่น�ำ Pair Programming มาใช้แต่น�ำวิธีการใน SPII-XP 3.1 มาใช้ แทน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


212

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ขั้นการพัฒนา (PDCA)

PSP

ขั้ น ต อ น ก า ร PSP 3 มีการด�ำเนินการส�ำหรับการปรับปรุง ด� ำ เนิ น การให้ กระบวนการพั ฒ นาโปรแกรมให้ ร องรั บ เหมาะสม (Act) การพัฒนาโปรแกรมขนาดใหญ่ โดยแบ่ง โปรแกรมออกเป็นส่วนๆ แล้วพัฒนาแต่ละ ส่วนของโปรแกรมตาม PSP 2 การพัฒนา แบบนี้ ท� ำ ให้ ส ามารถพั ฒ นาโปรแกรมที่ มี ขนาดหลายพันบรรทัดได้

XP

SPII-XP

ให้ผ่านกรณีทดสอบนั้น โดยอาจมี การ refactoring เพือ่ ปรับโครงสร้าง ของโปรแกรมให้ ง ่ า ยต่ อ การแก้ ไข และเขียนกรณีทดสอบถัดไปจนกว่า จะเขียนโปรแกรมเสร็จ XP ใช้เทคนิคของการ refactoring เพื่อแก้ไขการออกแบบ

SPII-XP3.1 น�ำหลักการของ PSP มาใช้ แต่จะก�ำหนดวิธีการตรวจสอคุณภาพ ขั้นพื้นฐาน ส่วนใน XP ได้น�ำหลักการนี้ไปใช้เพราะ จะช่วยให้นักพัฒนาโปรแกรมสามารถที่ จะสร้างความเข้าใจส�ำหรับการอธิบาย โ ป ร แ ก ร ม ที่ พั ฒ น า ส ร ้ า ง ขึ้ น ใ ห ้ มี ประสิทธิภาพมากขึ้น

XP ใช้ วิ ธี ก าร Continuous integration โดยโค้ ด ที่ นั ก พั ฒ นา โปรแกรมเขียนขึ้นใหม่จะต้องถูกน�ำ ไปรวมในระบบอย่างเร็วที่สุด ระบบ จะต้องถูกคอมไพล์ใหม่ทั้งหมดและ ต้องผ่านการทดสอบ ไม่เช่นนั้นโค้ด ส่วนนั้นจะถูกตัดออกไป

SPII-XP 3.2 น�ำหลักการของ PSP 3 มาใช้ แต่ ป รั บ รู ป แบบของกระบวนการ โดยสร้างรูปแบบตัวอย่างของโปรแกรม ที่สามารถน�ำไปใช้งานได้จริง ส่ ว นใน XP น� ำ หลั ก การของการท� ำ Refactoring มาใช้รวมไปถึงรูปแบบของ เอกสาร

SPII-XP MODEL SPII-XP MODELได้นำ� หลักการของวงจร PDCA [7] มาประยุกต์ใช้กับกระบวนการพัฒนา ซอฟต์แวร์เฉพาะ บุคคลโดยใช้วิธีการของ XP ซึ่งขั้นตอนของ PDCA จะ ประกอบไปด้วยดังนี้ “การวางแผน” อย่างรอบคอบ

เพือ่ “การปฏิบตั ”ิ แล้วจึง “ตรวจสอบ” วิธกี ารปฏิบตั ใิ ด มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด ก็ จั ด ให้ เ ป็ น มาตรฐาน หาก ไม่ ส ามารถบรรลุ เ ป้ า หมายได้ ก็ ต ้ อ งมองหาวิ ธี ก าร ปฏิบัติใหม่หรือใช้ความพยายามให้มากกว่าเดิม ดังรูป ที่ 3 [7]

รูปที่ 3 SPII-XP MODEL ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

จากรูปที่ 1 SPII-XP MODEL จะประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้ คือ 1. ขัน้ ตอนการวางแผน (Plan) น�ำมาประยุกต์ใช้กบั กระบวนการจั ด การและการประมาณการส� ำ หรั บ กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์เฉพาะบุคคล 2. ขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ (Do) ในขั้ น นี้ จ ะต้ อ งมี การตรวจสอบระหว่างการปฏิบัติด้วยว่าได้ด�ำเนินไป ในทิ ศ ทางที่ ตั้ ง ใจไว้ ห รื อ ไม่ ซึ่ ง น� ำ มาประยุ ก ต์ ใช้ กั บ กระบวนการวัดผลส�ำหรับนักพัฒนาซอฟต์แวร์เฉพาะ บุคคล 3. ขั้นตอนการตรวจสอบ (Check) น�ำมาประยุกต์

213

ใช้กบั กระบวนการจัดการทางด้านคุณภาพขอกระบวนการ พัฒนาซอฟต์แวร์เฉพาะบุคคล 4. ขั้นตอนการด�ำเนินการให้เหมาะสม (Act) น�ำมา ประยุกต์ใช้ส�ำหรับเป็นแนวทางในการน�ำกระบวนการ ไปปฏิบัติและปรับปรุงกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ เฉพาะบุคคลให้มีคุณภาพมากขึ้น

SPII-XP PROCESS

SPII-XP PROCESS คือ กระบวนการที่น�ำเอา หลักการของ PSP และแนวทางการปฏิบัติของ XP มาปรับปรุงแล้วได้เป็น 3 กระบวนการ ดังรูปที่ 4

รูปที่ 4 SPII-XP PROCESS จากรูปที่ 4 SPII-XP PROCESS จะประกอบไปด้วย 3 กระบวนการ คือ SPII-XP 1 คือ การวัดกระบวนการ ส่วนบุคคลจะแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ SPII-XP 1.1 คือ การวัดกระบวนการขั้นพื้นฐาน ซึ่งไม่มีใน XP ผู้เขียนได้น�ำ PSP 0 มาใช้ โดยไม่มีการ ปรับปรุง ซึ่งเป็นการสร้างตัวเปรียบเทียบโดยจะเก็บ ข้ อ มู ล พื้ น ฐาน 2 อย่ า ง คื อ เวลาและข้ อ ผิ ด พลาด ที่เกิดขึ้น SPII-XP 1.2 เริ่มน�ำหลักการของ PSP และ XP มา ใช้ คื อ มาตรฐานส� ำ หรั บ การเขี ย นโค้ ด (coding standard) โดยยึดรูปแบบเอกสารของ PSP 0.1 เพราะ

ใน XP ไม่มีรูปแบบของเอกสารส่วนการวัดขนาดของ โปรแกรมได้น�ำหลักการของ SEI [5][6][7] มาใช้ ทั้งใน PSP และ XP เพราะวิธีการวัดขนาดใน PSP เข้าใจยาก ส่วน XP ไม่มีการวัดขนาดของโปรแกรม ส่วนหลักการของ XP ที่น�ำมาใช้ในกระบวนการนี้ แต่ PSP ไม่ได้ก�ำหนดไว้อย่างชัดเจน คือ การบูรณาการ อย่างต่อเนื่อง (Continuous integration) คือ โค้ด ที่นักพัฒนาเขียนขึ้นใหม่จะต้องถูกนําไปรวมในระบบ อย่างเร็วทีส่ ดุ ระบบจะต้องถูกคอมไพล์ใหม่ทงั้ หมดและ ต้องผ่านการทดสอบ ไม่เช่นนัน้ โค้ดส่วนนัน้ จะถูกตัดออก ไปจากระบบ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


214

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

SPII-XP 2 คือ กระบวนการจัดการส�ำหรับการ วางแผนและการประมาณการส่วนบุคคล โดยแบ่งออก เป็น 2 ขั้นตอนดังนี้ คือ SPII-XP 2.1 คือ น�ำเพียงหลักการของ PSP 1.0 มา ใช้ แต่ไม่นำ� วิธกี ารประมาณขนาดโปรแกรมของ PSP 1.0 มาใช้เพราะวิธกี ารของ PROBE เป็นวิธกี ารทีย่ งุ่ ยาก ส่วน XP ใช้การประมาณขนาดจาก User story โดยเปรียบเทียบ จาก User story ที่คล้ายกัน จึงได้เพียงค่าหยาบๆ จาก การประมาณเท่านัน้ ดังนัน้ ผูว้ จิ ยั จึงได้นำ� เอาวิธกี ารของ Use Case Point มาใช้ส�ำหรับการประมาณขนาดซึ่ง เป็นวิธีการที่เข้าใจง่ายและสามารถน�ำไปปรับใช้ได้กับ ทุกเครื่องมือที่น�ำมาใช้ในการพัฒนาโปรแกรม SPII-XP 2.2 คือ น�ำหลักการของ PSP และ XP มาใช้ คือ การวางแผน ซึ่งใน XP จะใช้วิธีการของเกมวางแผน (Planning game) โดยให้ลูกค้าเลือกขอบเขต และเวลา ของแต่ละรอบจากการประมาณโดยนักพัฒนา แต่ไม่มี การจัดท�ำเป็นเอกสารส�ำหรับการพัฒนา ดังนั้นผู้วิจัยจึง น� ำ เอารู ป แบบของเอกสารใน PSP 1.1 มาปรั บ ใช้ ให้เหมาะสมกับการวางแผนและการจัดแผนการด�ำเนิน งาน ส่วนการทดสอบโปรแกรมได้น�ำหลักการของ XP มาใช้ คือ การเขียนกรณีทดสอบก่อนการเขียนโปรแกรม และท�ำการทดสอบโปรแกรมทั้งหมดจนถูกต้องเพื่อลด ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการพัฒนาโปรแกรม SPII-XP 3 คือ กระบวนการจัดการทางด้านคุณภาพ ส่วนบุคคล โดยมี 2 ขั้นตอน คือ SPII-XP 3.1 คือ การตรวจสอบคุณภาพขั้นพื้นฐาน โดยแยกออกเป็น 2 ส่วน คือ Coding Review และ Design Review โดยปฏิบัติตามหลักการของ PSP ส่วน XP น�ำหลักการของ Simple design มาใช้ส�ำหรับ การออกแบบเพื่ อให้ นักพัฒ นาโปรแกรมสามารถน�ำ หลักการนี้ไปใช้ได้เหมาะสมกับการพัฒนาโปรแกรม

ให้มีคุณภาพมากขึ้น SPII-XP 3.2 คื อ น� ำ เอาหลั ก การของการท� ำ Refactoring ใน XP มาใช้ส�ำหรับการปรับโครงสร้าง ของโปรแกรมให้ อ ยู ่ ใ นรู ป แบบที่ ง ่ า ยต่ อ การแก้ ไขมี ความถูกต้องสมบูรณ์ และมีประสิทธิภาพมากที่สุด รวม ไปถึงสามารถน�ำการออกแบบที่ผ่านการตรวจสอบจาก SPII-XP 3.1 ไปใช้งานได้จริง

วิธีการวิจัย

การศึกษาครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบ การทดลอง (Experiment) เพื่อศึกษาถึงการน�ำวิธีการของ SPII-XP ไปทดลองใช้กับนักศึกษา โดยมีล�ำดับขั้นดังนี้ ก�ำหนด ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา การเก็บรวบรวมข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล

ผลการทดลอง

ผู้วิจัยได้น�ำเอา SPII-XP MODEL ไปทดลองใช้กับ นักศึกษาระดับปริญญาตรีโดยแบ่งออกเป็น 4 กลุม่ กลุม่ ละ 4 คน โดยท�ำการทดลอง จ�ำนวน 4 โปรแกรม ใน ภาษาจาวา คือ กลุ่มที่ 1 คือ กลุ่มที่ไม่ได้ใช้วิธีการใดเลย ในการพัฒนาโปรแกรม (CTRL GROUP), กลุ่มที่ 2 ใช้ วิธีการของ PSP (PSP GROUP), กลุ่มที่ 3 ใช้วิธีการของ XP (XP GROUP) และกลุม่ สุดท้ายใช้วธิ กี ารของ SPII-XP (SPII-XP GROUP) 1. ผลผลิต (Productivity) ส�ำหรับการค�ำนวณหาค่าผลผลิต (Productivity) สามารถค� ำ นวณได้ จ ากขนาดของแรงงาน (effort) หารด้ ว ยขนาด (Size) ของโปรแกรมในหน่ ว ยของ (KLOC) ดังตารางที่ 3

ตารางที่ 3 สูตรการค�ำนวณหาค่า Productivity [ 8 ] Calculation ส่วนตารางที่ 4 แสดงค่าเฉลีย่ ของผลผลิต (Productivity)

Effort size

Work/Time

ซึ่งค�ำนวณได้จากสูตรในตารางที่ 3

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

215

ตารางที่ 4 แสดงค่าเฉลี่ยของผลผลิตที่ได้จาการค�ำนวณจากสูตรในตารางที่ 3 Group Program1 Program2 Program3 Program4

CTRL 0.72 0.74 0.67 0.92

PSP 0.42 0.68 0.81 1.22

XP 0.51 0.62 0.80 1.03

SPII-XP 0.78 0.92 0.94 1.20

รูปที่ 5 Productivity by Development Program 2. อัตราการข้อผิดพลาด (Defect Rate) ส�ำหรับ การค�ำนวณหาเปอร์เซ็นต์ของข้อผิดพลาด (Defect) นัน้ สามารถค�ำนวณได้จาก เวลาทีแ่ ก้ไขข้อผิดพลาดทีเ่ กิดขึน้ (Defect) หารด้วยเวลาที่ใช้ในการวางแผนส�ำหรับการ พัฒนาโปรแกรมแล้วคูณด้วย 100 แสดงดังตารางที่ 5

จากรูปที่ 5 คือ กราฟแสดงค่าผลผลิตส�ำหรับการ พัฒนาโปรแกรมของนักศึกษาจ�ำนวน 4 กลุ่มสามารถ อธิบายดังนี้ คือ จากการทดลอง 4 โปรแกรม พบว่า กลุม่ SPII-XP จะมีค่า effort สูงกว่ากลุ่มอื่น ซึ่งแสดงให้เห็น ว่ากลุ่มที่ใช้วิธีการของ SPII-XP มีการพัฒนาโปรแกรมที่ มีค่าของผลผลิต (Productivity) สัมพันธ์กับขนาดของ แรงงานที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรม ท�ำให้ได้โปรแกรมที่ มีประสิทธิภาพ

ตารางที่ 5 สูตรการค�ำนวณหาข้อผิดพลาดที่เกิดจากการพัฒนาโปรแกรม Time spent for bug fixing X100 Plan time

Calculation

Percentage (%)

ตารางที่ 6 แสดงค่าเปอร์เซ็นต์ของข้อผิดพลาด (defect) ที่พบ ซึ่งค�ำนวณได้จากตารางที่ 5 Group Program1 Program2 Program3 Program4

CTRL 5.77 9.78 11.02 20.83

PSP 3.53 6.13 12.14 17.13

XP 4.68 6.43 7.04 8.45

SPII-XP 3.67 7.76 7.34 9.04

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


216

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

รูปที่ 6 Number of defect rate จากรูปที่ 6 คือ กราฟแสดงเปอร์เซ็นต์ข้อผิดพลาด ทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่างการพัฒนาโปรแกรม 4 โปรแกรม คือ โปรแกรมที่ 1 ถึง โปรแกรม 4 กลุ่ม CTRL พบว่ามีอัตรา การเกิดข้อผิดพลาดสูงสุด ส่วนระดับที่ 2 จะเป็นกลุ่ม ที่ใช้วิธีการของ PSP ระดับที่ 3 คือ กลุ่มของ XP ส่วน กลุ่มที่พบข้อผิดพลาดที่เกิดจากการพัฒนาโปรแกรม น้อยที่สุด คือ กลุ่มที่ใช้วิธีการของ SPII-XP

3. ผลต่างของเวลาที่ใช้ในการพัฒนา (Relative Schedule Deviation) ส�ำหรับการค�ำนวณหาผลต่าง ของเวลาที่ ใช้ จ ริ ง จากการพั ฒ นาโปรแกรมสามารถ ค�ำนวณได้จากเวลาทีใ่ ช้สำ� หรับการวางแผน (Plan time) ลบกับเวลาที่ใช้จริง (Actual time) แล้วหารด้วยเวลา ที่ใช้ส�ำหรับการวางแผน (Plan time) คูณด้วย 10 ดังตารางที่ 7

ตารางที่ 7 แสดงสูตรการค�ำนวณหาผลต่างของเวลาที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรม Planed time-Actual time X100 Planed time

Calculation

ส่วนตารางที่ 8 แสดงค่าที่ได้จาการค�ำนวณหาผลต่าง

Percentage (%)

ของเวลาที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรมของแต่ละกลุ่ม

ตารางที่ 8 แสดงค่าผลต่างของเวลาที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรมที่ได้จากการค�ำนวณในตารางที่ 7 Group Program1 Program2 Program3 Program4

CTRL 18.7 11.3 15.87 11.34

จากข้อมูลในตารางที่ 8 พบว่า กลุ่มที่ใช้วิธีการของ SPII-XP มีเปอร์เซ็นต์ของค่าผลต่างของเวลาสูงกว่ากลุ่ม อื่นๆ ส่วนกลุ่มที่ใช้วิธีการของ XP มีเป็นล�ำดับที่ 2 กลุ่ม ที่ใช้วิธีการของ PSP มีค่าเป็นล�ำดับที่ 3 และ ล�ำดับที่ 4

PSP 19.16 17.71 14.07 10.17

XP 24.23 19.13 17.72 13.47

SPII-XP 28.14 23.45 19.73 17.37

คือ กลุ่ม CTRL ดังนั้นแสดงให้เห็นว่ากลุ่มที่ใช้วิธีการ ของ SPII-XP สามารถพัฒนาโปรแกรมได้เสร็จทันภายใน เวลาทีว่ างแผนไว้จงึ ท�ำให้มคี า่ ผลต่างเวลาเหลือมากกว่า กลุ่มอื่น แสดงดังรูปที่ 7

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

217

รูปที่ 7 Relative Schedule Deviations

อภิปรายและสรุปผลการวิจัย

จากการศึกษาและน�ำกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ เฉพาะบุคคลโดยใช้วธิ กี ารของ Extreme Programming (SPII-XP: Software Process Improvement for Individual) ซึ่ ง เกิ ด จากการผสมผสานระหว่ า ง กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์เฉพาะบุคคคล (PSP: Personal Software Process) และกระบวนการพัฒนา ซอฟต์แวร์แบบ Extreme Programming (XP) SPII-XP ประกอบไปด้วย 3 กระบวนการ คือ การวัด ส่วนบุคคล (Personal Measurement) กระบวนการ วางแผนและประมาณการส่ ว นบุ ค คล (Personal Management and Estimating) และกระบวนการ จัดการทางด้านคุณภาพส่วนบุคคล (Personal Quality Management) ซึ่งกระบวนการทั้งสามนี้เข้ามาช่วย ในการปรับปรุงกระบวนการต่างๆ ของกระบวนการ พัฒนาซอฟต์แวร์ให้มีคุณภาพส�ำหรับการน�ำไปปรับใช้ ดังนี้ 1. กระบวนการจั ด การและการประมาณการ ซอฟต์แวร์ ซึ่งน�ำมาปรับใช้ใน SPII-XP ส่วนของการ ประมาณขนาดนั้นจะใช้วิธีการของ Use Case point พบว่าเมื่อน�ำมาใช้กับการประมาณขนาดซอฟต์แวร์ของ นักศึกษาแล้วได้ค่าที่ใกล้เคียงกับขนาดซอฟต์แวร์ที่ พัฒนาขึน้ จริงและเป็นวิธกี ารทีเ่ ข้าใจง่ายกว่า วิธกี ารการ ประมาณขนาดซอฟต์แวร์ของ PSP คือ PROBE พบว่า มีความยุ่งยากต่อการน�ำมาใช้ ส่วนกลุ่มที่ใช้วิธีการของ

XP ไม่มีการประมาณขนาดซอฟต์แวร์ จึงท�ำให้การ พัฒนาซอฟต์แวร์ได้ขนาดใหญ่กว่า กลุ่มที่ใช้วิธีการของ PSP และกลุ่มที่ใช้วิธีการของ SPII-XP 2. การวัดกระบวนการส่วนบุคคล กลุ่มที่ใช้วิธีการ ของ SPII-XP น�ำกระบวนการของ PSP มาปรับใช้ในส่วน ของวิธกี ารวัดขนาดและรูปแบบเอกสารแล้วท�ำให้งา่ ยต่อ การน�ำไปใช้งาน ส่วน XP ไม่มีการวัดขนาด และการวัด กระบวนการทีน่ กั พัฒนาท�ำ ณ ปัจจุบนั รวมไปถึงรูปแบบ ของเอกสาร ซึ่งเมื่อน�ำมาปรับใช้ก็จะสามารถปรับปรุง กระบวนของนักพัฒนาให้ดขี นึ้ ซึง่ พบว่า กลุม่ ทีใ่ ช้วธิ กี าร ของ PSP และกลุม่ ทีใ่ ช้วธิ กี ารของ SPII-XP มีคา่ ของเวลา ที่ใช้ส�ำหรับการพัฒนาไม่แตกต่างกัน 3. กระบวนการจั ด การด้ า นคุ ณ ภาพ กลุ ่ ม ที่ ใช้ วิธกี ารของ SPII-XP พบว่า เมือ่ ท�ำกระบวนการตรวจสอบ โค้คและการออกแบบแล้วจะช่วยให้ลดข้อผิดพลาด ส่วนกลุม่ ทีใ่ ช้วธิ กี ารของ PSP พบว่า เมือ่ ท�ำกระบวนการ ตรวจสอบโค้ ค และการออกแบบแล้ ว จะช่ ว ยให้ ล ด ข้ อ ผิ ด พลาด ส่ ว นกลุ ่ ม ที่ ใช้ วิ ธี ก ารของ XP พบว่ า ข้อผิดพลาดมากกว่ากลุ่มที่ใช้วิธีการของ PSP และ SPII-XP ส� ำ หรั บ การน� ำ SPII-XP ไปทดสอบใช้ กั บ นักศึกษาพบว่า วิธีการที่น�ำมาใช้ส�ำหรับการพัฒนา ซอฟต์แวร์ที่มีผลต่อการพัฒนาต่อกระบวนการต่างๆ ไม่ว่าจะกระบวนการจัดการทางด้านคุณภาพ ซึ่งพบว่า ถ้ า นั ก ศึ ก ษามี ก ารท� ำ กระบวนการจั ด การทางด้ า น คุณภาพ เช่น การตรวจสอบโค้ดและการตรวจสอบการ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


218

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ออกแบบนั้นจะท�ำให้จ�ำนวนข้อผิดพลาดที่เกิดจากการ เขียนโค้ดและการออกแบบลดลง ส่วนกระบวนการจัดการ และการประมาณการซอฟต์ แวร์ พ บว่ า ถ้ า นั ก ศึ ก ษา น�ำมาปรับใช้แล้วจะสามารถประมาณขนาดได้ใกล้เคียง กับขนาดจริง รวมไปถึงยังช่วยในการประมาณเวลา ที่ใช้ส�ำหรับการพัฒนาได้ใกล้เคียงเช่นกัน ส่วนการวัด กระบวนการส่วนบุคคลเมื่อน�ำมาปรับใช้กับนักศึกษา แล้วพบว่านักศึกษาสามารถเข้าใจกระบวนการต่างๆ ของขั้นตอนการพัฒนา และประเภทของข้อผิดพลาด ที่เกิดจากการพัฒนามากขึ้น ซึ่งท�ำให้นักศึกษาเข้าใจ ถึงกระบวนการที่นักศึกษาท�ำการพัฒนาอยู่ ณ ปัจจุบัน มากขึ้น นอกจากการศึกษาและท�ำการวิจัยในครั้งนี้ พบว่า

วิธีการพัฒนาของ SPII-XP ควรจะต้องมีการปรับปรุง บางกระบวนการให้มีความเหมาะสมส�ำหรับการน�ำไป ปรั บ ใช้ กั บ กระบวนการท� ำ งาน รวมไปถึ ง รู ป แบบ ของเอกสารและการสร้ า งความเข้ า ใจกั บ ผู ้ น� ำ ไปใช้ นอกจากนี้ กระบวนการทีท่ ำ� การวัดผลบางกระบวนการ ไม่ ส ามารถบอกถึ ง ความแตกต่ า งได้ เ พราะลั ก ษณะ ของข้อมูล และกระบวนการที่น�ำมาใช้แตกต่างกัน ส�ำหรับ SPII-XP สามารถพัฒนาและน�ำไปปรับใช้ กั บ การพั ฒ นาในรู ป แบบของที ม พั ฒ นาซอฟต์ แวร์ ได้ คือ SPIT-XP (Software Process Team for Individual) เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพของกระบวนการ พัฒนาซอฟต์แวร์ให้มีประสิทธิภาพและคุณภาพมาก ยิ่งขึ้น

บรรณานุกรม

สุรเดช จิตประไพกุลศาล. (2555). กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์เฉพาะบุคคล. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2556, จาก http://www.slideshare.net/suradetj/03-using-psp0-12983756 Chatpreecha, P. (2008). Software Process Improvement for Individual with Extreme Programming. JSSE conference International. May 7-9, 2008 Felix River Kwai Resort, Kanchanaburi, Thailand. Cockburn, A. (2007). Agile Software Development. Boston: Addison-Wesley. Humphrey, W. S. (2005). The Personal Software Process, Rationale and Status. the 8th International Software Process Workshop. Germany: Wadern. Humphrey, W. S. (2009). Using a defined and measured Personal Software Process. IEEE Software, 13(3), 77–88. K. Beck. (2000). Extreme Programming Explained: Embrace Change. Boston: Addison-Wesley. Park, R. E. (2010). Software Size Measurement: A Framework for Counting Source Statements. Technical Report CMU/ SEI-92-TR-020, Software Engineering Institute, 1-242. Watts, H. S. (2008). The Software Quality Challenge. Crosstalk, 21(6), 4-9.

Translated Thai References

Jitprapaikulsarn, S. (2012). Personal Software Process. Retrieved October 30, 2012, from http://www. slideshare.net/suradetj/03-using-psp0-12983756

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

219

Pornsiri Chatpreecha received her Bachelor Degree of Informatic, major in Computer Science from Sripatum University in 2004. She also received a scholarship as an outstanding student of the university. In 2008, she graduated master degree of Information Technology, major in Software Engineering from Sripatum University. In 2010, she received certificate her Personal Software Process Fundamentals and Personal Software Process Advance from Carnegie Mellon University (Software Engineering Institute) at United States of America. She is currently a full time lecturer in Faculty of Engineering and Technology, Panyapiwat Institute of Management.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


220

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

THE APPLICATION OF THREE READING MODELS AND WRITING PROCESS FOR TEACHING STUDENTS’ OPINIONS WRITING ABOUT ARTICLE READ การประยุกต์การอ่านสามรูปแบบและกระบวนการการเขียน เพื่อการสอนการเขียนแสดงความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับบทความที่อ่าน Charisopon Inthapat1 Abstract

This article aims to share and to suggest the way of applying three reading models and writing process for teaching undergraduate students how to write opinion writing. Referring to the writer’s various experiences in teaching writing, the writer has realized the students’ problems in writing reflection paper by giving opinion towards the article read. To the problems, the writer found that the students’ problems were their reading techniques and giving opinion about the articles read. In case of problem of writing, it was organizing idea into well organized paragraphs. In order to solve the problems, the writer gain utilizes from theories and applied with his own teaching techniques to teach the students how to give their opinions so that the students can improve their reading and writing skill. Keywords: Three Reading Models, Writing Process, Opinion

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ของบทความนี้เป็นการน�ำเสนอและแนะน�ำแนวทางการประยุกต์การอ่านสามรูปแบบและ กระบวนการเขียนเพื่อการสอนการเขียนแสดงความคิดเห็นในเรื่องราวที่อ่านของนักศึกษาระดับปริญญาตรี โดยการ อ้างอิงถึงประสบการณ์การสอนการเขียน ผู้เขียนได้เห็นถึงปัญหาในการเขียนผลสะท้อนและหรือให้ความคิดเห็น ในเรื่องราวที่อ่าน ส�ำหรับปัญหาดังกล่าว ผู้เขียนได้พบว่า ปัญหาของนักศึกษา คือ เทคนิคการอ่าน และการเสนอ ความคิดเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ในกรณีของปัญหาของการเขียนคือการประมวลความคิดให้อยู่ในรูปการเขียนย่อหน้าที่ดี ดังนั้นเพื่อแก้ปัญหาผู้เขียนจึงใช้ทฤษฎีมาประยุกต์เป็นเทคนิคของผู้เขียนในการสอนนักศึกษาให้เขียนการแสดง ความคิดเห็นเพื่อช่วยพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนของนักศึกษา ค�ำส�ำคัญ: การอ่านสามรูปแบบ กระบวนการการเขียน ความคิดเห็น

1

English Lecturer of Faculty of Liberal Arts, Panyapiwat Institute of Management, E-mail: charisoponint@pim.ac.th

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

Introduction

With reference to writing for sharing opinions, the readers should use reading techniques to comprehend the articles read. Firstly, they have to know the meaning of important or key words in the articles. Secondly, the readers should be able to acknowledge to the article in order to comprehend the situation, surrounding, illustration, etc. Thirdly, the readers / students should be able to interact their background knowledge, real situation with the reading article in order to share their opinions about the article. Then, they also have the process of writing to help them to organize and edit their writing the opinion. According to the process of writing, the students should have planning stage, drafting their papers and re-writing: revising and editing. All of the process is explained about how to apply the theories as the followings. First of all, there are three main stage of reading which the students should be able to read. The three main steps of reading are cognitive, expressive and social culture reading models. They are explained as follows. 1. Three Reading Models Wallace (1992) said that reading could be seen to have certain relation to both social and individual perspectives. This view is explained that reading focuses on a reader’s progression through a text rather than a text itself. Moreover, reading can be looked at as a process rather than as a product. As a product, it only relates to what the reader has “got out of” the text while as a process, it investigates how the reader may arrive at a particular interpretation.

221

Therefore, what really happens when a reader reads a text is that he / she comprehends the text or analyzes or relates the text to situations and / or their lives. This can only be explained with the help of the analysis of three reading models which will provide readers the conceptualization of reading and help foreign language teachers find a suitable way of teaching reading. According to McCormick (1994), there are three reading models, the first is cognitive model, the second is expressive model and the third is social–cultural model. 1.1 Cognitive Reading Model Cognitive reading model is based on the perception of knowledge, which is considered objective and universal. This knowledge can be understood as prior knowledge of the readers. It enables the readers to process the texts by using word processes including decoding, lettercorrespondence and phonic approach. This is similar to the process of learning to read, in which an individual develops and utilizes his ability to select and organize symbolic stimuli into perceptual unites in order to comprehend the text (McCormick, 1994). It is obvious that the cognitive reading model only focuses on the information process or information that often looks at reading as a product- a container of meaning and it does not provide reader autonomy. Furthermore, readers cannot negotiate for knowledge and they may not analyze social cultural issues or processing social culture. They are likely to suffer from poverty of reading. Moreover, as comprehension, it is considered a result of a reader’s purely mental capacities, it has nothing to do with the readers as a social

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


222

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

being with the classroom context or with the particular nature of the reading task. Hence, it is possible to say that this reading model ignores the social culture conception of readers. In terms of pedagogical implication, this model with direct, often quite authoritarian, instruction does not allow students to examine either themselves or the text’s social context. It emphasizes conserving knowledge, promotes reproductive approaches to learning, stresses strategies such as memorization and imitation, and deals with questions of “what” (Mckay & Hornberger 1996). Dagosition & Carifio (1994) added that this model of reading includes linguistic factor such as phonological, morphological, syntactic and semantic element. According to Supol (1998), Munday (2008) and Newmark (1988), they said that the readers should read the original text and they should be cleared in context and they should use textual level or work on the text level. 1.2 Expressive Reading Model Based on McCormick (1994), he pointed out that the expressive reading model focuses on readers and it pays much attention to readers, especially their cultural background. It means that readers are more important than texts as they can bring experience, culture and life to texts read. In addition, they can make texts more interesting and lovely as well as readers can respond to texts. This means, they can feel the feeling of the text and see the scenery described the text and hear the sound in the text. Additionally, readers can put themselves in the text. To this view, they, therefore, have temptation to create something related to the text.

Furthermore, this reading model motivates the readers become interested in reading because it enables readers do what they like. Based on Smith (1998) in McCormick (1994), reading like this model involves far broader aspects of human thought and behavior. Thus, it may be assumed that readers are allowed to reflect on what they are reading. Pimsarn (2009) added that the readers try to comprehend the text by using interaction of bottom-up with top-down processing. They have to motivate cognitive skills to analyze, interpret and understand the writer’s thoughts and ideas. He defined “bottom-up processing that the readers decode and reconstruct the author’s meaning through recognizing the printed letters and words and then make meaning from the smallest textual units while top-down processing is defined that the readers move through reading texts and trying to understand them as a whole without worrying about individual visual components of the language but actively using strategies like making and adjusting predictions, activating or generating prior knowledge as well as interpreting contextual clues.” According to Nuttall (1996) “In bottom-up processing, the reader builds up a meaning from the black marks on the page: recognizing letters and words, working out sentence structure and top-down processing, the readers draw on their own intelligence and experience the predictions they can make based on the schemata they have acquired to understand the text.” Thus, to comprehend the texts, the readers do not read only by focusing on the text level but also the readers have to put themselves in the texts in order to impress

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

situation as well as the surrounding in the texts. Anderson (1999) supported that the readers had to interact both bottom-up and top-down processing as interactive process was the interaction between the readers themselves and the texts. McCormick (1994) added that in terms of pedagogies, the expressive reading model was characterized as a the individualization. It tends to value analytical thinking, focus on judging and reconciling ideas, and examine questions of “why” and “how.” This seems to be very useful for the foreign language teachers in a sense that it enables them to motivate students to use the language in a communicative way. 1.3 Social-Cultural Reading Model This reading model helps to develop a reading capacity in which readers are not only functionally or culturally literate, but they are critically literate (McCormick, 1994). They can relate the text to life depending on the social cultural factors of the text and on the readers’ personal social conditions. In other words, the readers can not only comprehend the text but

223

also take meanings out of the text into life. Consequently, they can also have the ability to make rational and informed judgments about the world. They are also able to analyze those conditions and practice and to possess the critical and political awareness to take action within and against them. This can also be understood that social-cultural reading model helps to form a successful literate behavior that “entails the ability not only to decode written symbols but also to interpret these symbols against a backdrop of social conventions (Mckay, 1996). According to Gumperz (1996), cultures in this model focus on the deliberate searching of new possibilities and explanations and they often answer questions of “what if”. By applying three reading models, before the students write their opinion, they were asked to read the short passage “4 reasons why learning English is so important” (Annapurna 2014). To this step, three reading model are applied to teach the students to comprehend the reading.

Four reasons why learning English is so important 1. English may not be the most spoken language in the world, but it is the official language in a large number of countries. It is estimated that the number of people in the world that use in English to communicate on a regular basis is 2 billion! 2. English is the dominant business language and it has become almost a necessity for people to speak English if they are to enter a global workforce. Research studies from all over the world shows that cross-border business communication is most often conducted in English. Its importance in the global market place therefore cannot be understated, learning English really can change your life. 3. Many of the world’s top films, books and music are published and produced in English. Therefore, by learning English you will have access to a great wealth of entertainment and will be able to have a greater level of cultural understanding. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


224

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

4. Most of the content produced on the internet (50%) is in English. So knowing English will allow you to access to the incredible amount of information which may not be otherwise available! Although learning English can be challenging and time consuming, we can see that it is also very valuable to learn and can create many opportunities!

After the students read, they were asked to write by answering the question: “According to your opinion, why is English an important language in business?” To the first step, the students were asked to read the passage word by word and sentence by sentence carefully. Based on the theory of cognitive reading model, the students needed to understand at the word and text level. To this step, the students only know what they read and if they do not know meaning of the words, they were allowed to use bilingual dictionary and they could note down the meanings. Moreover, as most of them did not know the meaning of some words, the teacher translated them into the mother tongue language for the students. Saraceni (2001) said that this step of reading was intelligibility which is word level recognition. After students had acknowledged the meaning of words in the passage, they were asked to tell what they had translated the text aloud in order to check their understanding in plenary. This activity enables students to check whether all the entire students of the class have the same understanding of the text means and meaning of the words used in the passage. However, cognitive reading model is only the first step. Based on the step, the students have just acknowledged the meaning of the passage at words level but not by the deep understanding. Then, the second reading step was

employed. In this step, the students were motivated to be impressed on the text so that they could express their emotion and felling to what they read and to illustrate for themselves. Hence, they were encouraged to link their experiences and / or background knowledge together as shown from paragraph 1 to 4, the students were impelled to imagine that they work in the office and English is used as a means of communication in the work places. Moreover, all of colleagues speak English to communicate with each other, or when the students have to contact or go on business trip, they also have to speak English with people around the world. Furthermore, they have to use English in their real lives or every surrounding, for example, when they read the labels of products or various topics on the Internet in English. To imagine, the students illustrated their ideas of what they read and how they felt in English used in the surrounding in order to comprehend with text. According to Saraceni (2001), he pointed out that the readers should motivate their comprehensibility and interpretability to appropriately and pragmatically understand of the writers’ meaning, utterance, etc. This action shows up when students were blending the texts with feeling, emotion and idea to understand the text. However, there are still some limitations of this reading model.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

Firstly, the theory is not strong enough to replace the objective notion of a text as a container of meaning. Secondly, it may be hard to know what exactly is being taught by this approach. Finally, the expressive reading model seems to be related primarily to the domain in literary reading. It cannot be generalized well with reading the text. So, the social cultural reading model will refer to how to read the text and help students to interact with the passage appropriately. Regarding learning behavior, students were able to comprehend much more about the text or passage. Then, they were asked to retranslate the reading text by inserting real social situation when English is spoken in their real lives. By asking the question, the students were motivated to answer “Why is English an important language in business?” To the question, the students had to relate the reading text to their real situation in order to share their opinion in class. For this step, the students had to express their idea by writing. First of all, the students were asked about the use of English in business by brainstorming and the writer (teacher) asked the students to share three reasons so that they help each other in plenary. Moreover, it was easy to teach them by following the steps of writing process. 2. Writing Process Kroll (1991) said that when writers have composed texts either at sentence level or paragraph level, even though those who summarize the texts, they have to use the writing process. It means that every purpose of writing counts on writing process. According to

225

Hedge (2000: 302) “writing is the product of employing strategies to manage the composing process, which involves number of activities said as setting goals, generating ideas, organizing information, selecting appropriate language (planning), drafting, and re-writing: revising and editing.” Reid (2000) added that the writers can re-write when they want to edit the text. To this view, it means when the writers compose the text, they do the steps of writing process which will be respectively described as follows. 2.1 Planning Planning is defined as setting the purpose of writing, the organization of the text and proper writing style. It is a stage in which writers work in notes as setting a goal and generating ideas before writing a draft. Consequently, planning is to review the point which writers also think of the new ideas and the way to organize and compose the texts (Hedge, 2000). Wehmeyer (2012) added that in case of writing the opinions, planning is actually occurred at the first stage in which those who will compose the texts also have pre-writing stage such as reading to understand the content of the original text, Furthermore, writers plan their drafts by taking note and writing an outline so that the writers can organize their ideas to arrange the important details of their own texts. Additionally, Palmer, Hafner & Sharp (1994) point out that planning helps those who will compose the text are ready to write and it is a preparation for the next stage. In addition, planning before composing helps the writers what they will write and achieve the information from texts clearly. Celce-Murcia & Olshtain (2000) mentioned these ideas by saying that planning stage is important in breaking the

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


226

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

writing barrier since it helps writers gain the information for composing texts. Consequently, it is obvious that planning enables writers to follow their ideas, to think and to make notes, semantic maps or flowcharts. Additionally, they can make flexible plans and use a variety of techniques to write the first draft (Harris, 1993). The first step of writing, the writer (teacher) himself guided writing of introduction for the students:

“In the past, general English is important however English is now divided into various subjects, Business English which is a part of socio-linguistics and it is important in work as follows.” With reference to planning stage, the students were elicited to answer what is the importance of English used in business? To this, they helped each other to tell three points of importance of Business English. Then, they wrote on the board.

English is fused for communication in globalization. English is lingua franca English is the easiest language in the world - Business English has its terminology. Words used in business Particular words - Business English is easier than other English subjects.

Examples: 1 __ 2__ 3 __

- Vocabulary: Spoken and Written _______ - Conclusion: - Business English is English for Specific Perpose (Esp.) used in office. The writer asked his students to write mind map as a planning stage. Then, he asked his students to write their own first draft which is the second stage which is explained below. 2.2 Drafting After the planning stages, the writer asked students to transfer mind map, note and outline into paper writing. This stage, the students also develop their papers as the first draft. This means their maps, notes, outlines are composed into paragraphs which are the first draft or body

of writing (Northan, 2011). (See Appendix 1) (Reid, 1993); (Rackham & Bertagnalli, 1988) and Pappas, Kiefer & Levstik (1995: 216) state, “Drafting involves attempts to create or construct a whole text.” Kennedy, Kennedy & Smith (2000) support that writers draft in order to create paragraphs and to complete the paper. It is seen that drafting is a writing process, the writers transform their plans into complete texts (Harris, 1993). Then, drafting enables the students to move to the next steps below.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

2.3 Re-writing After the students wrote their drafts, they were asked to re-read their papers in order to check what points should be developed and then write the drafts, the second draft and so on. According to Reid (1993), he said that when writers edited their texts, they might add some important information from the original text into the drafting papers. Moreover, they also reorganize and re-write what they wrote. It is said that re-writing is another step of writing process which enables the writers (students) to shape and organize their papers (Kroll, 1991). Langan (1987) supported that, when the writers finished their writing texts, they actually improve their texts in term of language and important detail. According to Smith & Bernhardt (1997), they divide the re-writing stage into two activities i.e. revising and editing as follows. 2.3.1 Revising Northan (2011) mentioned that revising in the students’ writing means that the students add their own new ideas and / or information into their papers (See Appendix 1). Hedge (2000: 302) says, “The writers re-read, look back at their own texts and then think about how to express the next set of ideas.” Thus, after writing part of the draft, the students also review what they wrote and add more details in their papers. By considering the nature of revising, the writers can re-arrange the new information after they finished their drafting. Moreover, the writers re-think, re-make, re-construct or re-create their texts. (Pappas, Kiefer & Levstik, 1995). The students should do the step for correcting words and grammar mistake which is described in editing stage.

227

2.3.2 Editing Editing is a writing process which the students used for shaping the language such as grammar points of their papers. Tribble (1997) supported that writers (students) will re-read what they wrote and make corrections for grammatical accuracy. Moreover, they will shape the words and the sentence structures. According to Pappas, Kiefer & Levstik (1995) said that editing is to clean up the draft and/or the first draft so that the message or information is stated in the most comprehensible way using the most appropriate language possible. They continued that editing is the ability to replace one word with another in order to make it fit better or clearer. Actually, skillful students, who compose the texts, know that they need to read their papers carefully to check errors such as word spelling, punctuation, structure, word choice, etc. (Harris, 1993). Palmer, Hafner & Sharp (1994) added that, during editing, the students (writers) should consider language mistake, the conventions of the language, syntax, and structures which should be analyzed and corrected (See Appendix 1). Then, the students were asked to re-write their complete papers into the second draft and they were requested to do re-writing so that their papers are completely written papers (See Appendix 2). After the students finished the correcting of language used, they could re-write: revising and editing into the third draft and so on.

Conclusion

The students’ writings by sharing their opinions are able to apply three reading models

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


228

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

as the first step in order to motivate the students’ thinking skill to share their opinions before composing the papers. Then, the students have interaction with the article read and they are motivated to share their opinions about the article by asking the students to talk about their idea in plenary and the teacher ask them to tell the important information of article

read before they compose their papers Moreover, the teachers should help their students to write as the teachers are scaffolders or facilitators in writing class. Then, the writing process is used to train students so that the students’ writing will be well organized and the completely composing papers.

References

Annapurna, K. (2014). 4 reasons why learning English is so important. Retrieved September 1, 2014, from www.esoe.co.uk/blog Anderson, N. J. (1999). Exploring Second Language Reading. Issues and Strategies, Toronto: Heinle & Heinle. Celce-Murcia, M. & Olshtain, E. (2000). Discourse and Context in Language Teaching, A Guide for Language Teachers. Cambridge: Cambridge University Press. Dagostion, L. & Carifio, J. (1994). Evaluative reading and literacy. A cognitive View. University of Massachusetts at Lowell. Gumperz, J. C. (1996). The Social Construction of Literacy. Cambridge: Cambridge University Press. 51-53. Harris, J. (1993). Introducing Writing. New Zealand: Penguin English. Hedge, T. (2000). Teaching and Learning in the Language Classroom. Oxford: Oxford University Press. Kennedy, M. L., Kennedy, W. J. & Smith, H. M. (2000). Writing in The Disciplines: A Reader For Writers. New Jersey: Prentice Hall. Kroll, B. (1991). Second Language Writing: Research Insights for the Classroom. Cambridge: Cambridge University Press. McCormick, K. (1994). Three Models of Reading. Manchester: Manchester University Press. Mckay, S. & Hornberger, N. H. (1996). Sociolinguistics and Language Teaching. A Sociocultural Perspective Literacy in a Historical Context. Cambridge: Cambridge University Press. Munday, J. (2008). Introducing Translation Studies. Theories and Applications. New York: Routledge. Newmark, P. (1988). A Textbook of Translation. UK: Prentice Hall International English Language Teaching. Northan, J. (2011). Writing a Lay Summary is Easy, Right?: Latest Research and Knowledge Exchange News. Bournemouth University. Retrieved September 26, 2012, from http://blogs. bournemouth.ac.uk/research ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

229

Nuttall, C. (1996). Teaching Reading Skills in a foreign language. Hong Kong: Macmillan Heinemann. Palmer, B. C., Hafner, M. L. & Sharp, M. F. (1994). Developing Cultural Literacy Through the Writing Process. Boston: A Division of Paramount Publishing. Pappas, C. C., Kiefer, B. Z. & Levstik. (1995). An Integrated Language Perspective in the Elementary School. New York: Longman Publishers. Pimsarn, P. (2009). The Effects of Reading Strategies Instruction on Graduate Students’ Reading Comprehension, Reflections. Kmutt Journal of Language Education, 12(January), 25-27. Rackham, J. & Bertagnolli, O. (1988). From Sight to Insight, Stages in the Writing Process. Saunders: College Publishing. Reid, S. (1993). The Prentice Hall Guide For College Writers. New Jersey: Prentice Hall Upper Saddle River. Reid, S. (2000). The Prentice Hall Guide for College Writers. New Jersey: Prentice Hall Upper Saddle River. Saraceni, M. (2001). English as a World Language. Institute of English Language Education. Thailand: Assumption University. Smith, E. L. & Bernhardt, S. A. (1997). Writing at Work, Professional Writing Skills For People On The Job, NTC. Publishing Group. USA: Lincolnwood, Illinois. Smith, F. (1998). Three Model of Reading. Manchester: Manchester University Press. Supol, D. (1998). Theory and Strategies of Translation. English Department. Faculty of Liberal Arts, Chulalongkorn University. Tribble. C. (1996). Writing. Oxford: Oxford University Press. Wallace, C. (1992). Reading. Oxford: Oxford University Press. Wehmeyer, D. (2012). Summary Writing, Learning activities help people succeed-find your success here. Retrieved June 17, 2012, from http://www.wisc-online.com/objects/ViewObject. aspx?ID=TRG2603.Retrieved [14 June 2012]. 1.

Appendix 1: The students’ draft.

previous time

for

but

In the past, general English is popular of learning and they are several occupation in the present. Divided into several type of English and it is needed for the people in

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


230

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Therefore, English, it is focusing on English for Specific Purpose (ESP). Thus, Business English is a part of is

now

ESP which concerned with socio-linguistics and it is important in work as following. English is used for communication in globalization, because n the world language with various but English and it is a Lingua Franca. Moreover, the people around the world use English to communicate to each other. is the international language because English is easiest language make international communication is Particularly, English is important for the people who work in business for making connection. easier and communication in organization is easier too. Its which is Business English has it terminology. To this, Business English is a part of ESP different from English for every day (everyday)

Therefore, it has terminology for the workers to know and --

communicate life. Business English used to communication with employee in the companies. or other businessman. is in learning to know Thus, learning Business English interesting and it can help effective communication than terminology concerning with Business field. as “return cheque, good will, stock, etc. such as English for Engineer, Pharmacist, Doctor, etc. Business English is easier than others English The reason is that vocabulary in Business English is not more generally used among the people both spoken and written language. difficult it because they are spoken and written. We don’t need to learn deeply in the language because Furthermore, we do not need to learn deeply in linguistics details. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

231

vocabulary is easy to understand such as check return business plan, black list, bonus certification. Business English is an English for specific purpose, however it is used in the large group of people. Additionally, it is the mostly use in everyday living life too.

Appendix 2: Students’ complete draft.

In the past, general English is popular for learning but there are several types of English course and it is needed for the people in several occupation in the present. Therefore, English is now focusing on English for Specific Purpose (ESP). Thus, business English is a part of ESP which is concerned with socio-linguistics and it is important in work. English is used for communication internationally and it is a Lingua Franca. Moreover, the people around the world use English to communicate to each other. Particularly, English is important for the people who work in the business field when they need to make connections. Business English has its terminology. To this, Business English is a part of ESP which is different from English for everyday life. Therefore, it has terminology for the workers to know and to communicate with colleagues in the companies. Thus, Business English is interesting in learning to know terminology concerning with Business field. Business English is easier than other types of English such as English for Engineer, Pharmacists, Doctors, etc. The reason is that vocabulary in Business English is more generally used among the people in both spoken and written language. Furthermore, we do not need to learn deeply in linguistics details. Business English is English for specific purpose, however it is used by the large group of people. Additionally, it is mostly used in everyday life too.

Charisopon Inthapat received his Master Degree in Applied Linguistics in English Language Teaching from King Mongkut’s University of Technology Thonburi and Bachelor Degree in Business Administration in Accounting of Siam University. In past, he was lecturer at five universities; King Mongkut’s University of Technology Thonburi, Bangkok university, South East Asia university, Sripatum university (Chonburi) and Payapiwat Institute of Management and British American Language Institute. Present, he is English lecturer at Panyapiwat Institute of Management (PIM). ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


232

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

การอ่านภาษาอังกฤษ: การสอนที่เน้นกลวิธีการอ่าน English Reading: Strategy based Instruction

ไกรคุง อนัคฆกุล1 Kraikung Anugkakul1

บทคัดย่อ

การอ่านเป็นทักษะหลักที่ส�ำคัญหนึ่งในสี่ทักษะของการเรียนภาษาอังกฤษ ในฐานะที่เป็นภาษาต่างประเทศ ภาษาที่สอง (English as a second language: ESL) ทักษะนี้มีความส�ำคัญหรือจ�ำเป็นอย่างยิ่งส�ำหรับผู้เรียนในระดับ มหาวิทยาลัย สิง่ นีเ้ ห็นได้จากหลักฐานทีช่ ดั เจน คือ มีรายวิชาการอ่านเป็นจ�ำนวนมากทีเ่ ป็นรายวิชาบังคับทัง้ ในหลักสูตร ระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษาในมหาวิทยาลัยต่างๆ ในประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ส�ำหรับความส�ำคัญของทักษะการอ่านในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ นักวิจัยจ�ำนวนมาก ระบุว่า “การอ่านเป็น ทักษะทีจ่ ำ� เป็นส�ำหรับผูเ้ รียนทีเ่ รียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาทีส่ อง ผูเ้ รียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาทีส่ องจะมีความก้าวหน้า ทีส่ งู ขึน้ และบรรลุผลสัมฤทธิต์ ามเป้าหมายของการเรียนรูภ้ าษาในทุกสาขาของการสอนภาษาอังกฤษ การอ่านเป็นดัชนี ทีช่ ใี้ ห้เห็นว่าความส�ำเร็จของนักศึกษาในการเรียนรูม้ แี นวโน้มทีจ่ ะใช้กลยุทธ์ในการอ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ กว่านักเรียนที่ประสบความล้มเหลวในการเรียนรู้ นอกจากนีถ้ า้ มีกลยุทธ์การอ่านทีเ่ หมาะสมโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ ผู้เรียนได้ประโยชน์สูงสุด โดยใช้ความสามารถในการอ่านน้อยที่สุด สรุปได้วา่ การอ่านเป็นสิง่ จ�ำเป็นเพือ่ การเรียนรูภ้ าษาอังกฤษและนัน่ คือเหตุผลทีส่ ำ� คัญยิง่ ในการเรียนรูภ้ าษา อังกฤษเป็นภาษาที่สอง จึงมีความจ�ำเป็นต้องใช้กลยุทธ์การเรียนรู้ภาษา เพื่อน�ำมาใช้พัฒนาทักษะการอ่าน นักวิจัย พบว่า มีค่าสหสัมพันธ์สูงระหว่างการอ่าน และผลสัมฤทธิ์ทางด้านวิชาการ หรืออาจกล่าวได้ว่าผู้เรียนที่อ่านเก่ง จะประสบความส�ำเร็จในการศึกษา และถ้าปราศจากความเข้าใจ การอ่านจะเป็นเพียงการอ่านค�ำในหน้าหนังสือจาก ซ้ายไปขวาโดยไม่เข้าใจความหมาย ผลจาก PISA ยังแสดงให้เห็นว่า ความสามารถในการอ่านของนักเรียนไทยยังต้อง มีการพัฒนาให้มากขึ้น (ประเทศไทยได้ 441 คะแนน จาก 570) สิ่งที่จะต้องใช้ในการพัฒนา คือ การมุ่งเน้นกลยุทธ์ ในการอ่าน ได้แก่ การอ่านอย่างคร่าวๆ การหาใจความส�ำคัญของเรื่องการใช้ค�ำอ้างอิง การสรุปอ้างอิง การกล่าวใหม่ และทัศนคติของผู้เขียน หรือวัตถุประสงค์และแนวโน้มของเรื่อง ค�ำส�ำคัญ: กลวิธี การมีทักษะการอ่านไม่เพียงพอในการท�ำงานประจ�ำวันซึ่งต้องใช้ความรู้สูงกว่าระดับประถมศึกษา โปรแกรมส�ำหรับการประเมินผลนักศึกษาระหว่างประเทศ

Abstract

Reading is one of the four major skills of language learning. As a second language, foreign language (English as a second language: ESL) skills are important for university students. This can be seen clearly from the evidence that there are a lot of English reading courses in both undergraduate 1

อาจารย์ประจ�ำคณะศิลปศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์, Permanent Instructor in the English Department, Faculty of Arts, Panyapiwat Institute of Management, E-mail: kraikunganu@pim.ac.th

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

233

and graduate courses in various universities in Thailand and other countries. For the importance of reading skills in learning English. Many researchers stated that “Reading is a necessary skill for students learning English as a second language. Learners of English as a second language or a foreign language will be progressively higher and achieve language learning goals in all disciplines in teaching English. Especially, the students learn with their favorite strategies and expertise: they will have more effective learning If a student is proficient in reading speed . There is a term known as functional Illiteracy. This term is used to describe reading and writing skills that make it very difficult to manage daily living and work in an environment that requires reading beyond the most elementary level. Lack of reading comprehension skills will affect a student’s success in school. Learning will also increase if a student uses appropriate reading strategies, so reading strategies are very important for students who want to improve their reading skills. In conclusion, reading is essential for learning English and that is why it is very important to learn English as a second language. Learning language strategies should be used in an attempt to develop reading skills. The researchers found a high correlation between reading and academic achievements or it can be said that the students who are good readers will be successful in school and can pass the exam better than those who are poor in reading. Without comprehension, reading is simply following words on a page from left to right while sounding them out. The words on the page have no meaning. Results from PISA also showed that Thai students’ reading ability also needs to be developed more. (Thailand scoring 441 out of 570). What must be used in the development is to focus on reading strategies, those are: previewing, skimming the main idea, finding reference, making inference, restatement, and author’s Attitude or purpose and tone of the passage. Keywords: strategies, functional illiteracy, PISA

บทน�ำ

ความเป็นมาและความส�ำคัญของการอ่าน การอ่านเป็นทักษะหลักทีส่ ำ� คัญหนึง่ ในสีท่ กั ษะของ การเรียนภาษาอังกฤษ ในฐานะทีเ่ ป็นภาษาต่างประเทศ ภาษาที่สอง (English as a second language: ESL) ทักษะนี้มีความส�ำคัญหรือจ�ำเป็นอย่างยิ่งส�ำหรับผู้เรียน ในระดับมหาวิทยาลัย ดังจะเห็นได้จากหลักฐานทีช่ ดั เจน คือ มีรายวิชาการอ่านเป็นจ�ำนวนมากที่เป็นรายวิชา บังคับในหลักสูตรระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยต่างๆ ในประเทศไทย เพื่อสนับสนุนให้เห็นถึงความส�ำคัญของทักษะการ อ่านในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ นักวิชาการที่มีชื่อเสียง คือ แอนเดอร์สัน (Anderson, 1999) ได้กล่าวยืนยันว่า “การอ่ า นเป็ น ทั ก ษะจ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ นั ก ศึ ก ษาที่ เรี ย น

ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง และเป็นทักษะที่มีความ ส�ำคัญมากที่สุดที่จะต้องฝึกฝน” เพราะช่วยให้ผู้เรียน ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทีส่ องหรือเป็นภาษาต่างประเทศ จะมีความก้าวหน้าทางภาษาสูงยิ่งขึ้นและท�ำให้บรรลุ เป้าหมายในการเรียนทุกสาขาวิชา ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ การมุ่งเน้นเกี่ยว กับกลวิธีการเรียนรู้ภาษา เพื่อยกระดับความก้าวหน้า ของนักศึกษาเกีย่ วกับทักษะการอ่านได้มกี ารกล่าวถึงกัน อย่างกว้างขวางในงานวิจัยในปัจจุบัน (Cohen, 2000; Cook, 2001 และ Oxford, 1990, 1993) การศึกษา วิจัยหลายๆ งานเกี่ยวกับการอ่านได้บ่งชี้ว่านักศึกษา ที่ประสบผลส�ำเร็จในการเรียนมักจะมีแนวโน้มที่จะใช้ กลวิธีการอ่านอย่างมีประสิทธิภาพมากกว่านักศึกษา ที่ไม่ประสบผลส�ำเร็จในการเรียน และดูเหมือนว่ามี

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


234

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

หลากหลายกลวิธกี ารเรียนทีเ่ น้นในการสอนการอ่าน โดย เฉพาะอย่างยิ่งการอ่านเชิงวิชาการ นักศึกษาที่ให้ความส�ำคัญต่อการอ่านมีหลายท่าน เช่น คาร์เรล ดีไวน์ และเอสกี้ (Carrell, Devine & Eskey, 1989: 1) แอนเดอร์สัน (Anderson, 1999: 1) และคามิสไตน์ (Kamhi-Stein, 2003: 35) ต่างให้ความ เห็นต่อการอ่านอย่างสอดคล้องต้องกันว่าทักษะการอ่าน เป็นทักษะที่ควรฝึกฝน เนื่องจากการอ่านมีความส�ำคัญ ยิ่งทั้งในการศึกษา การท�ำงาน หรือแม้แต่ชีวิตส่วนตัว ถ้าผูเ้ รียนมีความสามารถสูงในด้านการอ่านภาษาอังกฤษ ย่อมช่วยให้มีความก้าวหน้าในด้านวิชาการและหน้าที่ การงานมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม พบว่า นักศึกษาที่เลือกเรียนภาษา อังกฤษเป็นวิชาเอก มีระดับความรู้ความสามารถในการ ใช้ศัพท์และส�ำนวนภาษาอังกฤษอยู่ในระดับที่ต�่ำกว่า ปกติ (พันทิพา เข็มทอง, 25-26: 19) และในการศึกษา การสอบ CU-TEP ของกาญจนา ปราบพาล (Prappal, 2003: 9) พบว่า นักเรียนที่สอบ CU-TEP ในช่วง 7 มกราคม 2544 ถึงวันที่ 4 มีนาคม 2544 ได้คะแนน การสอบอ่าน 39.20% ส�ำหรับผู้ต้องการสมัครเข้าเรียน ในสายวิทยาศาสตร์ และ 36.85% ส�ำหรับผู้ต้องการ เข้าเรียนในสายสังคม จะเห็ น ได้ ว่ า ผู ้ เรี ยนที่มีป ัญ หาในการเรียนภาษา ส่วนใหญ่ มักจะท�ำคะแนนด้านภาษาได้ไม่ดีนัก แต่ นักวิจัยในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ กลับมีความเชื่อว่า ควรน� ำ เอากลวิ ธี ก ารเรี ย นมาสอนมาใช้ แ ก้ ป ั ญ หา (Chamot & O’Malley, 1994 และ Cohen, 1998) ผลการเรี ย นภาษาอั ง กฤษเป็นภาษาที่สองหรือเรียน ในฐานะที่เป็นภาษาต่างประเทศ (ESL/EFL) ได้บ่งชี้ว่า นักอ่านที่ประสบผลส�ำเร็จในการอ่านเป็นผู้ที่ได้ใช้กลวิธี การเรียนรู้และเป็นนักอ่านแบบมีกลวิธีในการอ่าน และ กลวิธกี ารอ่านอย่างมีประสิทธิผลมิใช่จะได้มาอย่างง่ายๆ ด้วยการอ่านแต่เพียงอย่างเดียว แต่การสอนที่ท�ำให้ ผู ้ เรี ย นมี ค วามกระจ่ า งชั ด ในเรื่ อ งที่ เรี ย นก็ ถื อ ว่ า เป็ น สิ่งจ�ำเป็นอีกด้วย (Block, 1992; Kletzien, 1991 และ Feng & Mokhtari, 1998)

การสอนที่เน้นกลวิธีการเรียนรู้ ความหมายของกลวิธีการเรียนรู้ ดัฟฟี่ (Duffy et al., 1986) ได้สรุปเกี่ยวกับกลวิธี การเรียนรู้ไว้ว่า เมื่อมีการสอนเกี่ยวกับกลวิธีการเรียนรู้ ผู้สอนควรระบุกลวิธีการเรียน บอกประโยชน์ของกลวิธี การเรียนรู้ สาธิตการใช้กลวิธีการเรียนรู้ให้นักศึกษา ได้ฝึกและประยุกต์ใช้ รวมทั้งหาวิธีแก้ปัญหา หากใช้ กลวิธีการเรียนรู้แล้วไม่ได้ผล ในขณะที่ ริชาร์ด (Richard et al., 2002) ได้ให้ ความหมายว่า กลวิธกี ารเรียนรูใ้ นการเรียนรูภ้ าษาทีส่ อง หมายถึง พฤติกรรมทีม่ คี วามตัง้ ใจ และความคิดทีผ่ เู้ รียน ใช้ระหว่างการเรียนรู้ เพือ่ ท�ำให้ตนเองมีความเข้าใจดีขนึ้ ในการเรียน หรือจดจ�ำข้อมูลใหม่จากกลวิธีการเรียนรู้ ภาษา ท�ำให้นักวิจัยศึกษาการใช้กลวิธีการเรียนรู้มาช่วย พัฒนาทักษะการอ่าน โดยพบว่า กลวิธีแบบอภิปัญญา (Meta-Cognitive strategies) มีความสัมพันธ์กับ การอ่าน ซึ่งผลการศึกษานี้สอดคล้องกับการวิจัยของ ม็อคทารี และเชียรี่ (Mokhtari & Sheory, 2002) ที่ได้ พบความสัมพันธ์ของกลวิธีการเรียนรู้กับกลวิธีการอ่าน เช่นกัน นอกจากนี้ ถ้ามีกลวิธีการอ่านที่เหมาะสม จะท�ำให้ ผูเ้ รียนตัง้ เป้าหมายทีจ่ ะท�ำให้เกิดประโยชน์สงู สุด โดยใช้ ความสามารถน้อยทีส่ ดุ ในการอ่าน และถ้าผูเ้ รียนได้เรียน รู้ด้วยกลวิธีที่ตนชื่นชอบและมีความช�ำนาญ ย่อมส่งผล ให้เกิดประสิทธิภาพในการเรียนเพิ่มมากขึ้น ถ้าผู้เรียน มีความช�ำนาญด้านการอ่านสูง จะท�ำให้มคี วามก้าวหน้า ในแวดวงวิ ช าการมากกว่ า และได้ รั บ การสนั บ สนุ น ในหน้าที่การงานมากกว่า (กิจจา ก�ำแหง, 2549: 2) การสอนที่เน้นกลวิธีการเรียนรู้ภาษาจึงเป็นวิธีการ สอนทีม่ เี ป้าหมายให้ผเู้ รียนได้ตระหนักถึงกลวิธกี ารเรียน รู้และจัดประสบการณ์ด้านการฝึกอย่างเป็นระบบ การ ให้การเสริมแรง และการควบคุมและก�ำกับตนเองในด้าน การใช้กลวิธีการเรียนให้แก่ผู้เรียน (กมลพรรณ บุญกิจ, 2006) มีนกั วิจยั หลายท่านทีด่ ำ� เนินการวิจยั ในบริบทของ การเรียนรู้และการสอนให้แก่ผู้เรียนภาษาต่างประเทศ (Oxford, 1993; Nunan, 1997 และ Cohen, 2000) ผลการวิจัยได้แสดงให้เห็นว่าผู้สอนสามารถสอนกลวิธี

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

การอ่านให้แก่นกั ศึกษาได้ และเมือ่ สอนแล้ว กลวิธตี า่ งๆ จะช่วยปรับปรุงความสามารถในการเรียน การทดสอบ เกีย่ วกับความเข้าใจในการอ่าน และการระลึกได้ (recall) (Brown & Palincsar, 1989; Carrell, 1991 และ Pearson & Fielding, 1991) ทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้องกับกลวิธีการอ่าน วิธีการหนึ่งที่จะน�ำผู้เรียนไปสู่การใช้วิธีการเรียนรู้ อย่างมีประสิทธิภาพ คือ การบูรณาการการสอนกลวิธี การเรียนรู้ภาษาเข้ากับบทเรียนทางภาษาในชั้นเรียน ปกติ (Kinoshita, 2008) นักวิจัยให้ความสนใจและใช้ กลวิธีการอ่าน (Reading strategies) เพราะกลวิธี การอ่านจะเป็นเสมือนเครือ่ งมือทีช่ ว่ ยให้ผเู้ รียนทราบว่า เขาจะต้องท�ำอะไร และท�ำอย่างไรเมื่อเขาอ่านแล้วเกิด ความไม่เข้าใจในเนือ้ หาทีอ่ า่ น กลวิธเี หล่านีช้ ว่ ยให้ผเู้ รียน มีความเข้าใจเนื้อหาในการอ่านสูงขึ้นและสามารถลด ความล้มเหลวในการอ่านลงได้ นักวิจัยหลายท่านได้ พบว่าการใช้กลวิธกี ารอ่านแบบต่างๆ ช่วยให้ความเข้าใจ ในการอ่านของนักศึกษาดีขึ้น (Bookbank, Grover, Kullbury & Strawser, 1999) และในขณะเดียวกัน ความเข้าใจในการอ่านอาจจะเป็นคุณลักษณะทีส่ ง่ ผลต่อ ประสิทธิภาพของการใช้กลวิธีการอ่านเช่นกัน (Braum, 1985) มีนกั วิจยั อีกท่านหนึง่ ท�ำการวิจยั ในปี 2001 ฮี (He, 2001) ได้ศกึ ษาอิทธิพลของการก�ำหนดเป้าหมาย เกีย่ วกับ การใช้รูปแบบของกลวิธีการเรียนและความเข้าใจใน การอ่านของผู้ใหญ่ที่เรียนภาษาอังกฤษในฐานะภาษา ต่างประเทศในไต้หวัน ผลการศึกษาพบว่าการรวมกลุ่ม ของผู้เข้าร่วมวิจัยท�ำให้มีการใช้กลวิธีการเรียนมากขึ้น ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ในด้านความเข้าใจในการอ่านสูงขึ้น ดังนั้น กลวิธีการเรียนรู้ จึงหมายถึง เทคนิควิธี (Techniques) กลวิ ธี (Tactics) การวางแผนที่ มี ประสิทธิภาพ (Potentially conscious plan) ทักษะ การเรียนรู้ (Learning skills) ทักษะในการท�ำงาน (Functional skills) ความสามารถทางด้านความรูค้ วาม เข้าใจ (Cognitive abilities) กระบวนการแก้ไขปัญหา (Problem processing procedures) ในขณะที่รชิ าร์ด

235

(Richard et al., 2002) ได้ให้ความหมายว่ากลวิธีการ เรียนรู้ในการเรียนรู้ภาษาที่สอง หมายถึงพฤติกรรมที่มี ความตั้งใจ และความคิด ซึ่งผู้เรียนใช้ระหว่างการเรียนรู้ เพือ่ ท�ำให้ตนเองมีความเข้าใจดีขนึ้ ในการเรียน หรือจดจ�ำ ข้อมูลใหม่จากกลวิธีการเรียนภาษา ซึ่งผลจากการศึกษานี้ สอดคล้องกับการวิจยั ของม็อคทารี และเชียร์รี (Mokhtari & sheorey, 2002) ที่พบความสัมพันธ์ของกลวิธีการเรียน กับกลวิธีการอ่าน เช่นกัน บุคคลส�ำคัญในการศึกษากลวิธีการเรียนรู้ภาษาซึ่ง มีอิทธิพลอย่างมากต่อนักวิจัยรุ่นหลังในด้านที่เกี่ยวข้อง กับกลวิธีการเรียนรู้ภาษา คือ อ๊อกซฟอร์ด (Oxford, 1990) อ๊อกซฟอร์ด (Oxford, 1993) ได้พิสูจน์ให้เห็น ชัดแจ้งว่าผูเ้ รียนสามารถปรับตัวเองในด้านการเรียนโดย ให้สอดคล้องกับการใช้กลวิธีการเรียนรู้ภาษาที่สองและ ถ้าผูเ้ รียนได้ฝกึ ทักษะและใช้กลวิธกี ารเรียนรูท้ กุ รูปแบบ แล้ว ผู้เรียนย่อมสามารถประสบผลส�ำเร็จในการเรียนรู้ ภาษาได้ กล่าวโดยสรุป กลวิธกี ารเรียนรูม้ คี วามส�ำคัญมาก ต่อผู้เรียนภาษาโดยเฉพาะในการส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ใน การเรียนโดยถือว่าเป็นองค์ประกอบส�ำคัญในการเรียน ภาษาอังกฤษ เพราะผู้เรียนแต่ละคนมีลักษณะการเรียนรู้ และกลวิธีในการเรียนรู้ภาษาแตกต่างกันถ้าผู้เรียนได้ เรียนรูด้ ว้ ยกลวิธที ตี่ นเองชืน่ ชอบและมีความช�ำนาญย่อม ส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพในการเรียนเพิ่มมากขึ้น งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. งานวิจัยในต่างประเทศ นักวิจยั ในต่างประเทศจ�ำนวนมากได้วจิ ยั เกีย่ วกับวิธี การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ยกตัวอย่าง เช่น หวง เฉียว หัว (Huang Xiao-Hua, 1985: 167-168) ได้ศกึ ษาวิจยั เรือ่ ง “วิธีการเรียนรู้ทักษะการสื่อสารของนักศึกษาจีนที่เรียน ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ” เพื่อศึกษาวิธีการ เรียนรูแ้ ละเทคนิคเฉพาะทีน่ กั ศึกษาจีนใช้ในการปรับปรุง ความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษและการประเมิน ผลการใช้วธิ กี ารเรียนรูภ้ าษาอังกฤษของนักศึกษา ผลการ ศึกษาพบว่า วิธีการเรียนรู้ภาษามีบทบาทส�ำคัญในการ พัฒนาความสามารถด้านการพูด โดยเฉพาะ คือการฝึก ใช้ภาษาในสถานการณ์ทเี่ ป็นจริงภายนอกห้องเรียน เช่น

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


236

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

การคิดเป็นภาษาอังกฤษ การสนทนากับเพื่อน ครู และ เจ้าของภาษา 2. งานวิจัยในประเทศ เกศสุดา รัชฎาวิศิษฐกุล (2529: 74-75) ได้ศึกษา กลวิธกี ารเรียนรูภ้ าษาอังกฤษของนักเรียนชัม้ ธั ยมศึกษา ปีที่ 6 ในกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนใช้ กลวิธีการเดาหรือการตีความหมายของค�ำหรือประโยค ในบริบท ในระดับปานกลาง ใช้วิธีการต่างๆ เพื่อการสื่อ ความหมายน้อย นักเรียนมีการฝึกฝนการใช้ภาษาอังกฤษ ทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนน้อยต�่ำ ใช้บริบทในการ เดาหรือตีความหมายของค�ำ หรือประโยค และใช้ลักษณะ การเรียนรู้ภาษาแบบต่างๆ เพื่อสื่อความหมายแตกต่าง กันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อาวุธ วาจาสัตย์ (2533) ได้ศึกษากลวิธีการเรียนรู้ ภาษาอั ง กฤษของนิ สิ ต ชั้ น ปี ที่ 1 แห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างเลือกใช้กลวิธีด้าน การเดาศัพท์หรือการท�ำนายอย่างมีหลักการมากที่สุด อันดับรองลงมาได้แก่กลวิธกี ารเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน การฝึกฝนภาษา การค้นหาวิธีการเรียนภาษาที่เป็นของ ตนเอง การใช้ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเรียนรู้ภาษา และวิธกี ารควบคุมต่างๆ เพือ่ ให้ตนเองสามารถจ�ำข้อมูล ทางภาษาได้ดียิ่งขึ้น ส่วนกลวิธีที่กลุ่มตัวอย่างใช้น้อย ที่สุด คือ กลวิธีการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารกับบุคคลอื่น ต่อมาในปี 2540 อาภาภรณ์ จินดาประเสริฐ (2540) ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศของนักศึกษา ไทย พบว่าผูเ้ รียนจ�ำนวนมากขาดความกระตือรือร้นและ เคยชินกับการสอนที่ผู้สอนป้อนความรู้ให้ และบอกว่า ผู้เรียนต้องท�ำอะไรบ้าง มีวิธีอย่างไร และผู้เรียนมักจะ ท�ำเฉพาะสิ่งที่ท�ำให้คะแนนของตนดีขึ้นเท่านั้น โดย ไม่ใส่ใจต่อวิธีการเรียนรู้ที่ถูกต้อง ยิ่งรัก ชุนชาติประเสริฐ (2546) ยังได้ศึกษากลวิธี การเรียนภาษาจีนกลางของนักศึกษาไทย โดยศึกษาจาก นิสิตของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในระดับปริญญาตรี และปริญญาโท คณะอักษรศาสตร์ จากการศึกษาของ ยิง่ รัก ชุนชาติประเสริฐ เป็นการยืนยันว่าการเรียนภาษา นัน้ เป็นความสัมพันธ์ระหว่างกลวิธใี นการเรียนกับความ สามารถในการเรียนรู้ภาษา ซึ่งพัชราภรณ์ เขียวรื่นรมย์

(2537) ได้ศึกษามาตั้งแต่ปี 2537 โดยผู้วิจัยได้ศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างกลวิธีการเรียน กับความสามารถ ในทักษะการรับสารภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 4 ในกรุงเทพมหานคร และผลการศึกษาสรุป ได้ดังนี้ 1) พบว่า นักเรียนในกลุม่ ตัวย่างได้ใช้กลวิธใี น การเรียนรู้ 6 ด้าน คือ กลวิธีการจ�ำอย่างมีประสิทธิภาพ กลวิธีการใช้กระบวนการทางความคิด กลวิธีการชดเชย ข้อบกพร่องในการใช้ภาษา กลวิธีการจัดระบบและการ ประเมินการเรียน กลวิธดี า้ นจิตพิสยั และกลวิธดี า้ นสังคม ในระดับปานกลาง 2) กลวิ ธี ใ นการเรี ย นของนั ก เรี ย นในกลุ ่ ม ทีน่ ำ� มาศึกษามีความสัมพันธ์กบั ความสามารถในการอ่าน ภาษาอังกฤษอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) กลวิธกี ารเรียนของนักเรียนในกลุม่ ทีน่ ำ� มา ศึกษา ไม่มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการฟัง ภาษาอังกฤษ การใช้กลวิธีการอ่านที่เหมาะสม การใช้กลวิธีการอ่านที่เหมาะสมมีความส�ำคัญมาก ส�ำหรับผูเ้ รียนทีต่ อ้ งการพัฒนาทักษะการอ่าน โดยเฉพาะ ถ้าเป็นการอ่านเพื่อหาข้อมูลที่ส�ำคัญหรือในบริบทของ การเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ ในการศึกษาเรือ่ งการอ่านนี้ มีนักวิจัยหลายท่านได้ศึกษาและพบว่า มีความสัมพันธ์ เชิงบวกระหว่างกลวิธกี ารเรียนรูก้ บั การอ่านเพือ่ ความเข้าใจ บรุ๊คแบงค์, โกรเวอร์, คัลเบอร์ก และสตรอเซอร์ (Brookbank, Grover, Kullberg & Strawser, 1999) ได้ศึกษาเรื่องการอ่านและพบว่ากลวิธีการอ่านท�ำให้ ความเข้าใจในการอ่านของผู้เรียนดีขึ้น และกลวิธีการ อ่ า นที่ ใช้ ใ นบริ บ ทของภาษาที่ ส องส่ ง ผลต่ อ การเพิ่ ม ประสิทธิผลของความเข้าใจในการอ่านในระดับที่สูงขึ้น (Braum, 1985 และ Dermody, 1988) กลวิธีการอ่าน (Reading Strategies) กลวิธีการอ่านถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ การเรียนรู้ที่ส�ำคัญ ช่วยท�ำให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อหาของ เรื่องที่อ่าน และช่วยให้ผู้อ่านรู้จักการแก้ไขปัญหาที่เกิด จากความไม่เข้าใจในเนื้อเรื่องที่อ่าน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

กลวิธีการอ่านที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นต้องฝึกฝน กลวิธีการอ่านที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นต้องฝึกฝนให้เกิด ความช�ำนาญมีดังนี้คือ 1. Previewing Previewing คือ การทีผ่ อู้ า่ นได้สำ� รวจส่วนประกอบ ต่างๆ ของหนังสือหรือต�ำราก่อนทีจ่ ะอ่าน ซึง่ ได้แก่ ปกหน้า (Title page) หน้าลิขสิทธิ์ (Copyright page) ค�ำน�ำ (Preface or Introduction) สารบัญ (Contents) รูปภาพ (picture) กราฟ (Graphs) แผนภูมิ (Chart) อภิธานศัพท์ (Glossary) ภาคผนวก (Appendix) ผู้อ่าน ก็สามารถใช้วิธีการ Previewing จากชื่อเรื่องที่อ่าน ประโยคแรกของย่อหน้า และ/หรือประโยคสุดท้ายของ ข้อความ การอ่านต้องอ่านอย่างรวดเร็วเพือ่ ให้ได้หวั เรือ่ ง (Topic) ของข้อความนั้นๆ แต่ไม่ใช่ส่วนที่เป็นราย ละเอียดของเรื่อง (Blanchard Root, 2005) 2. Reference Reference คือ ค�ำอ้างอิงที่ใช้แทนค�ำ กลุ่มค�ำ หรือ ประโยคทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วในเรือ่ ง หรืออาจอ้างถึงสิง่ ทีจ่ ะ กล่าวต่อไปก็ได้ เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้ค�ำซ�้ำค�ำเดิมช่วยให้ เรือ่ งทีอ่ า่ นมีความกระชับไม่เยิน่ เย้อ (Contemporary’s Reading Basicss, 2001) 3. Skimming for Main Ideas Skimming ได้แก่ การอ่านอย่างรวดเร็วเพื่อจับ ใจความส�ำคัญ (Main Idea) ของสิ่งที่อ่าน (Pavlik & Cheryl, 2004) โดยไม่ มุ ่ ง หวั ง ที่ จ ะทราบเกี่ ย วกั บ รายละเอียดของเนื้อเรื่อง การอ่านประเภทนี้มักได้แก่ การอ่านบทความจากหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร ปกหนังสือ (ตามแผงหรือร้านขายหนังสือ) และนวนิยาย ต่างๆ การอ่านด้วยวิธี Skimming นีจ้ ะไม่อา่ นทุกค�ำหรือ ทุกประโยค แต่จะจับใจความเฉพาะค�ำที่ส�ำคัญ (Key words) ทีจ่ ะบอกให้รวู้ า่ เนือ้ เรือ่ งทีอ่ า่ นทัง้ หมดเกีย่ วกับ เรื่องอะไร (What is it all about?) (Anderson, 1993 และ Jack & Samuela, 2003) 4. Restatement การกล่าวใหม่ การกล่าวใหม่ (Restatement) หมายถึง การกล่าว ในอีกรูปแบบหนึ่งโดยใช้ค�ำ กลุ่มค�ำ หรือประโยคใหม่

237

แทนสิ่งที่กล่าวไปแล้ว โดยที่ยังคงความหมายเหมือน ข้ อ ความเดิ ม แต่ อ าจกล่ า วใหม่ โ ดยใช้ ค� ำ เหมื อ น (synonym) ค�ำตรงข้าม (antonym) ส�ำนวนภาษา (Idioms) การอุทาน (Exclamations) และการใช้ โครงสร้างไวยากรณ์ใหม่ (Restatement of Grammar) เป็นต้น (Jack & Samuela, 2003) 5. Making Inferences การสรุปความ Inferences ได้แก่ การลงความเห็น การวินิจฉัย หรือการสรุปรวบยอดอย่างมีเหตุผล ซึ่งการสรุปความ จากเนื้อเรื่องที่อ่านได้อย่างถูกต้องนั้น ผู้อ่านจะต้อง พิจาณาจากรายละเอียดที่ปรากฏในข้อความแล้วน�ำมา สรุปอย่างมีเหตุผล โดยที่ผู้อ่านไม่สามารถหาค�ำตอบ โดยตรงจากเนือ้ เรือ่ ง และการทีจ่ ะบอกได้วา่ ผูอ้ า่ นสามารถ อ่านข้อความได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ก็ยอ่ มหมายความ ว่าผูอ้ า่ นสามารถตอบค�ำถามประเภทสรุปความได้อย่าง ถูกต้องด้วย (Anderson, 2003 และ Diana & Simon, 2000) 6. Author’s Attitude or Purpose and Tone of the Passage เจตคติหรือความมุ่งหมายของผู้แต่ง และแนวโน้มของการอ่านเป็นหัวใจในการศึกษาหาความ รูข้ องมนุษย์ แต่การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพนัน้ เป็นเรือ่ ง ที่ยาก ต้องอาศัยองค์ประกอบหลายประการ ซึ่งปัจจัย ประการหนึ่งที่ท�ำให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อเรื่องได้รวดเร็วก็คือ การเข้าใจเจตคติ ความคิดเห็น และความมุ่งหมายของ ผู้แต่ง รวมไปถึงแนวโน้มของเรื่องด้วย (Anderson, 2003 และ Sam & Norman, 2007) เมื่อกล่าวโดยสรุป การอ่านมีความส�ำคัญยิ่งต่อการ เรียนรู้ภาษาอังกฤษ นักวิจัยทางการศึกษา พบว่า มีค่า สหสัมพันธ์สูงระหว่างการอ่านและผลส�ำเร็จทางการ ศึกษา หรืออาจกล่าวได้ว่าผู้เรียนที่เป็นนักอ่านที่ดีน่าจะ ประสบความส�ำเร็จในการเรียนและสามารถสอบผ่าน ได้ดีกว่าผู้ที่อ่านไม่เก่ง นอกจากนี้ หน่วยงาน OECD (Organization for Economic Co-operation and Development) ซึง่ จัดท�ำโครงการ PISA (Programme for International Assessment) หรือโครงการเพือ่ การ ประเมินผลระหว่างประเทศ เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ ผู้เรียนทั่วโลกใน 3 วิชา คือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


238

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

และการอ่าน (WiKipedia, 2013) ได้พบว่า ในส่วนของ การอ่านที่มีคะแนนเต็ม 570 ประเทศไทย ได้คะแนน เพียง 441 อยู่ในอันดับที่ 47 จากผู้เข้าสอบ 510,000 คน โดยมีฮ่องกง (545) สิงคโปร์ (542) และญี่ปุ่น (538) อยู่ในอันดับ 1, 2 และ 3 ตามล�ำดับ ซึ่งผลการสอบนี้ แสดงให้เห็นว่าความสามารถในการอ่านของนักเรียนไทย

ยังต้องมีการพัฒนาอีกมาก สิ่งที่ต้องน�ำมาใช้ในการ พัฒนา คือ ต้องเน้นกลยุทธ์การอ่าน เพราะกลยุทธ์ การอ่ า นจะมี ส ่ ว นช่ ว ยให้ ผู ้ อ ่ า นมี ทั ก ษะในการอ่ า น การแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการอ่านไม่ออกแปลไม่ได้ หรืออ่านได้แต่ไม่เข้าใจในสิ่งที่ผู้เขียนต้องการสื่อสาร

บรรณานุกรม

กิจจา ก�ำแหง. (2550). การศึกษากลวิธีในการอ่านภาษาอังกฤษของนิสิตที่มีผลสัมฤทธิ์ในการอ่านสูง และต�่ำ. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 4(2), 41-63. เกศสุดา รัชดาวิศิษฐกุล. (2530). การเปรียบวิธีการเรียนวิธีการเรียนรู้ภาษาอังกฤษระหว่างนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาสูงและต�่ำ. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กมลพรรณ บุญกิจ. (2549). การอ่านภาษาอังกฤษวิชาการ: การสอนโดยเน้นกลวิธีการอ่าน. ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาศิลปากร. พัชราภรณ์ เขียวรื่นรมย์. (2537). ความสัมพันธ์ระหว่างกลวิธีในการเรียนกับความสามารถในภาษาจีนกลางของ นักศึกษาไทย. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. พันทิพา เข็มทอง. (2526). การศึกษาข้อบกพร่องในการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาวิชาเอกการสอนภาษา อังกฤษ. มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง วิจัยสนเทศ. ปีที่ 4 (6), ธันวาคม อาภาภรณ์ จินดาประเสริฐ. (2540). การพัฒนากลวิธีการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ. ภาควิชาภาษาต่างประเทศ. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อาวุธ วาจาสัตย์. (2533). การศึกษากลวิธีการเรียนภาษาอังกฤษของนิสิตชั้นปีที่ 1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: สถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Anderson, N. (1993). Exploring second language Reading: Issues and Strategies. Boston: Heinle & Heinle. Anderson, N. J. (2003). Active Skills for Reading Student Book 3, 4. Thomson Corporation Singapore: Heinle. Block, E. (1992). See how they read: Comprehension monitoring of native and second language readers. TESOL Quarterly, 26(2), 319-343. Braum, C., Rennie, B. J. & Labercane, G. D. (1986). A conference approach to the development of metacognitive strategies. National Reading Conference Yearbook, 35. 204-209. Brookbank, D., Grover, S., Kullberg, K. & Strawser, C. (1999). Improving student chievement through organization of student learning. (ED 435094). Xiao-Hua, Huang.“Chinese EFL Students’ Learning Strategies for Oral communication.”TESOL Quarterly, 19(1) (March 1985), 167-168. Brown, A. & Palincsar, A. (1989). Guided, cooperative learning and Individual knowledge acquisition, In L.B. Resnick (ed.), Knowing, learning and instruction: Essays in honor of Robert Glacer. Hillsdale, NJ: Lawrence Erlbaum. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

239

Carrell, P. L. (1991). Second language reading: Reading ability or Language proficiency?. Applied Linguistic. 12: 159-179. Carrell, P. L., Devine, J. & Eskey, D. F. (1989). Interactive approaches to second language reading. Cambridge: Cambridge University Press. Chamot, A. U. & O’Malley, J. M. (1994). The CALLA handbook: Implementing the cognitive academic language learning approach. New York: The University of Chicago Press. Cohen, A. D. (1998). Strategies in learning and using a second language. NY: Addison Wesley Longman Limited. Contemporary’s Reading Basicss. (2001). Reading Basics Intermediate 2. The United States of America: McGraw-Hill. Cook, V. (2001). Second Language Learning and Language Teaching. (3rd ed.). London: Arnold, co-published by Oxford University Press: New York. Dermody, M. (1988). Metacognitive strategies for developing of reading comprehension for Younger children. (ED292070) Duffy, G. G., Roehler, L. R., Meloth, M. S., Vavrus, L. G., Book, C., Putnam, J. & Wesslman, R. (1986). The Relationship between explicit verbal explanation during reading skill instruction and student awateness and achievement: A study of reading teacher effects. Reading Research Quarterly, 21(3), 237-252. Feng, X. & Mokhtari, K. (1998). Reading Easy and Difficult Texts in English and Chinese: Strategy Use by Native Speakers of Chinese. Asian Journal of English Language Teaching, 8, 19-40. Greenall, S. & Pye, D. (2000). Reading 2. Seventh Printing. Cambridge University Press: The United Kingdom. He, T. (2001). Contrastive Goal Orientations in an EFL Reading Context: Influences on Reading Strategy Use and Comprehension Patterns.TESL-EJ,5(1)(April). Retrieved October 10, 2014, from www.kyoto-su.ac.jp/Information/tesl-ej/ej17/a2.html. Karen, B. & Root, C. (2005). Ready to read now: a skill- based reader. New York: Pearson Education, Inc. Kinoshita, Y. (2008). Foreign Direct Investment and Structural Reforms: Panek Evidence from Eastern Europe and Latin Amweica. 28-29, February 2008. The INS and ELSNIT (Barcelona): IMF. Huang-Xiao-Hua. (1985). Chinese EFL Students’ Learning Strategies for Communication. TESOL Quarterly. 19(1), 167-168. Kamhi-Stein, Lia D. (2003). Reading in two languages. How attitudes toward home language and beliefs about reading affect the behaviors of “Underprepared” L2 College reading. TESOL QUATERLY, 37(1), 35-71. Kletzien, S. B. (1991). Strategy use by good and poor comprehenders reading expository text of differing levels. Reading Research Quarterly, 26, 67- 86. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


240

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

McCarter, S. & Whitby, N. (2007). Reading Skills. Spain: Macmillan Publishers Limited. Mokhtari, K. & Sheorey, R. (2002). Measuring ESL students Awareness of reading strategies. Journal of Developmental Education, 25(3) Spring, 2-8. Naiman, N. (1978). The Good Language Learner. Toronto: The Ontario Institute for Studies in Education. Nunan, D. (2002). Strategy training in the classroom: an empirical investigation. RELC Journal, 28(2), 56-81. Oxford, R. (1990). Language learning strategies. What every teacher should know. Boston: MA. Oxford, R. (1993). Instructional implications of gender differences in second/foreign language learning styles and strategies. Applied Language Learning, 4, 66-94. Oxford, R. L. (1996) Language Learning Strategies around the World: Cross Culture Perspective. Manoa: University of Hawaii Press. Pavlik, C. (2004). Readsmart 3 High Intermediate. New York: McGraw-Hill ESL/ELT. Polizer, R. L. & McGrearty, M. (1985). An exploratory study of learning behaviours and their relationships to gain in linguistic and communicative competence. TESOL Quarterly, 19, 103-123. Pearson, P. D. & Fielding, L. (1991). Comprehension instruction. in R. Barr, M. Kamil, P. Mosenthal, & P.Pearson (Eds.), Handbook of reading research. White Plains. NY: Longman. Prapphal, K. (2003). English proficiency of Thai learners and directions of English teaching and learning in Thailand. Journal of English Studies, 1(1), 6-12. Richards, J. C. & Eckstut-FDidier, S. ( 2003). Strategic Reading 1. Building Effective Reading Skills. Student’s Book. USA: Cambridge University Press. Richard, J. C. et al. (2002). Longman Dictionary of Language Teaching & Applied Linguistics. Beijing: Foreign Language Teaching and Research Press. shoebottom, P. (2013). A guide to learning English. Retrieved October 10, 2004, from http://esl.fis.edu/info/index.htm Song, M. (1998). Teaching Reading Strategies in an Ongoing EFLUniversity Reading Classroom. Asian Journal of English Language Teaching, 8, 41-54. Tarone, E. (1981). Decoding a primary language: The crucial role of strategic competence. Paper presented at the conference Interpretive Strategies in Language Learning, University of Lancaster. Wikipedia. (2013). PISA 2012 Results in Focus, OECD. สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2557, from http://en. wikipedia.org/wiki/PISA_2012

TRANSLATED THAI REFFERENCE

Boonkit, K. (2006). Academic English Reading: Strategy-based Instruction. English Division, Faculty of Arts, Silpakorn University. [in Thai] Jindaprasert, A. (1997) Development of Language Learning Strategies. Department of Foreign Language. Facullty of Humanities and Social Sciences, Kornkhaen University. [in Thai] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

241

Khamhaeng, K. (2007). Strategies of English reading achievement of students with high and low readings. Journal of Humanities Naresuan University, 4(2), 41-63. [in Thai] Kiawruenromk, P. (1994). Relationship among Learning Strategies with Thai students’ ability in Using Mandarin. Master Degree Thesis in Linguistics. Faculty of Liberal Arts, Thammasat University. [in Thai] Ratchadawisitkul, K. (1987). Comparison of learning English between the 6th grade students with high and low learning achievement. Master Degree Thesis, Chulalongkorn University. [in Thai] Wajasat, A. (1990). A study of the English learning strategies of first year students, Culalongkorn University. Bangkok. Language Insitute. Culalongkorn University. [in Thai] Asst. Prof. Kraikung Anugkakul graduated a B.Ed from Srinakharin Wirot University (SWU), Bangkhen, M.Ed. from SWU Prasarnmitr. And finishedall courses in the Development Education Program, Doctoral degree at Srinakharin Wirot Prasarnmitr. At present: Permanent Instructor in the English Department, Faculty of Arts, Panyapiwat Institute of Management, and also the editorial staff of Panyapiwat Journal. - Former Deputy Director of Dusit Center, and Head of English and Business English Programme, Suan Dusit Rajabhat University

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


242

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ผู้สูงอายุในโลกแห่งการท�ำงาน: มุมมองเชิงทฤษฎีทางกายจิตสังคม AGING INTHE WORLD OF WORK: BIOPSYCHOSOCIAL PERSPECTIVES ธนยศ สุมาลย์โรจน์1 และฮานานมูฮบิ บะตุดดีน นอจิ สุขไสว2 Thanayot Sumalrot1 and Hananmuhibbatuddin Nochi Suksawai2 บทคัดย่อ

บทความนีน้ ำ� เสนอลักษณะงานทีเ่ หมาะสมกับผูส้ งู อายุ โดยใช้การทบทวนวรรณกรรมตามมุมมองทฤษฎีทาง กายจิตสังคมซึง่ จะให้ความส�ำคัญกับแนวคิดทฤษฎีตา่ งๆ ทีม่ อี ทิ ธิพลร่วมกัน ท�ำให้สามารถเข้าใจและอธิบายพฤติกรรม มนุษย์ได้อย่างครอบคลุมและเป็นลักษณะองค์รวม ได้แก่ ทฤษฎีทางด้านชีววิทยาที่เน้นอธิบายความชราภาพทางด้าน กายภาพทฤษฎีทางด้านจิตวิทยาที่เน้นอธิบายพัฒนาการทางบุคลิกภาพ (Erikson’s Psychosocial Development; Lewinson’s Adult Development และ Costa & MaCrae’s Big Five Personality) สติปัญญา (Wechsler’s Theory of Intelligence) แรงจูงใจ (Maslow’s Motivation Theory) ความเครียด (Karasek’s Job Strain Model) และทฤษฎีทางด้านสังคมที่เน้นอธิบายการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุกับสิ่งแวดล้อมรอบตัว เช่น ทฤษฎีกิจกรรม (Havighurst’s Activity Theory) ทฤษฎีการถอยห่าง (Cummings & Henry’s Disengagement Theory) ทฤษฎี ความต่อเนื่อง (Neugarten’s Continuity Theory) และทฤษฎีบทบาท (Role Theory) รวมทั้งแนวความคิดของ ภาวะธรรมทัศน์ในวัยผู้สูงอายุตามมิติด้านจิตวิญญาณ (Tornstam’s Gerotranscendence Theory) ผลจากการ วิเคราะห์ในภาพรวม พบว่าลักษณะงานที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ คือ งานที่มีความเครียดต�่ำ งานลักษณะจิตอาสา งานที่ได้รับการยอมรับจากสังคมและมีผลตอบแทนที่มุ่งเน้นไปในด้านสวัสดิการมากกว่าการตอบแทนเป็นตัวเงิน งานที่ผู้สูงอายุเคยมีประสบการณ์หรือมีความช�ำนาญ งานตามความสนใจ ซึ่งบทสรุปของบทความนี้จะน�ำไปสู่การ พัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายส�ำหรับผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการท�ำงานของผู้สูงอายุต่อไป ค�ำส�ำคัญ: ผู้สูงอายุ ลักษณะงาน มุมมองทางกายจิตสังคม

Abstract

This article proposes job characteristics suitable for the elderly. Biopsychosocial’s perspectives including physical, psychological, social and spiritual domain were reviewed to explain the jobs which is suitable for the elderly. The biological aspects focus on physical age-relatedchanges. The psychological aspects cover the elderly’s development of personality, mental ability, motivation and adaptation to job stress as well. The social aspects reflect the interaction between the elderly 1

อาจารย์ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล, Lecturer, Department of Psychiatry, Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University, E-mail: thanayot.sum@mahidol.ac.th 2 อาจารย์ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, Lecturer, Department of Psychology and Guidance, Faculty of Education, Prince of Songkla University, Email: mhtd_hanan@yahoo.com ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

243

and environments effecting on their work behaviors. The spiritual aspects based on Gerotranscendence theory depict the developmental positive aging. We found that the job characteristics which fit in with the elderly should be low-stress jobs and be voluntary works. Moreover, the elder worker should be recognized and respected from other sand they will work effectively when having experiences related the tasks before. For incentives, the necessary welfares are more essential than money in elderly’s daily life. These outcomes are useful to develop the policy and promote the quality of the elderly’s life in the future. Keywords: Elderly, Job characteristics, Biopsychosocial perspectives

บทน�ำ

จากการส� ำ รวจสถานการณ์ ท� ำ งานพบว่ า ในปี พ.ศ. 2555 มีผู้สูงอายุท�ำงานจ�ำนวน 3.4 ล้านคน จาก จ�ำนวนทั้งสิ้น 8.6 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 39.4 โดย เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา (ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2556: บทสรุปผู้บริหาร) จะเห็นได้ว่าโลกของการท�ำงานเริ่ม ขยายกว้างมากขึ้น ไม่เพียงแต่คนหนุ่มสาววัยท�ำงาน เท่านั้น ผู้สูงอายุเริ่มเข้าสู่ตลาดแรงงานมากขึ้น และ ประเทศไทยก� ำ ลั ง กลายเป็ น สั ง คมผู ้ สู ง อายุ (Aging Society) อย่างเต็มตัว นั่นสะท้อนว่าผู้สูงอายุก�ำลังเป็น ปัจจัยส�ำคัญหนึง่ ทีม่ ผี ลต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ ดังนั้นประเด็นเรื่องการก�ำหนดนโยบายและ มาตรการจะท�ำเฉพาะเรื่องการจัดสวัสดิการในเรื่องเงิน สงเคราะห์หรือการออมเพื่อใช้ในยามชราภาพเท่านั้น ไม่ได้ แต่การสนับสนุนและส่งเสริมการท�ำงานให้กับ ผู้สูงอายุ หรือส่งเสริมให้อยู่ในตลาดแรงงานในช่วงเวลา ที่ยาวนานขึ้นนั้นก็เป็นเรื่องส�ำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน สอดคล้ อ งกั บ พระราชบั ญ ญั ติ ผู ้ สู ง อายุ พ.ศ. 2546 มาตรา 11 ที่ว่าด้วยเรื่องสิทธิที่ผู้สูงอายุพึงได้รับ ซึ่งหนึ่ง ในนัน้ คือการได้ประกอบอาชีพหรือฝึกอาชีพทีเ่ หมาะสม และตามปฏิญญาผูส้ งู อายุไทยข้อ 4 ทีม่ ใี จความส�ำคัญว่า ผู้สูงอายุควรได้ถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์ให้ สังคม มีโอกาสได้ท�ำงานที่เหมาะสมกับวัยตามความ สมัครใจโดยได้รับค่าตอบแทนที่เป็นธรรม เพื่อให้เกิด ความภาคภูมิใจ และมีชีวิตที่มีคุณค่า ดังนั้นกลุ่มผู้สูงอายุจึงกลายเป็นทรัพยากรบุคคล ทีม่ คี วามส�ำคัญมากขึน้ ในโลกของการท�ำงาน และจ�ำเป็น

ที่ จ ะต้ อ งสนั บ สนุ น และวางแนวทางการท� ำ งานให้ เหมาะสมกับศักยภาพของผู้สูงอายุ ระยะเวลา 10 ปี ที่ ผ ่ า นมา ประเด็ น การศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ผู ้ สู ง อายุ เริ่ ม มี ผู ้ ใ ห้ ค วามสนใจมากขึ้ น ไม่ ว ่ า จะเป็ น การวิ เ คราะห์ โครงสร้างทางประชากร สถานการณ์ ความต้องการ การเตรียมความพร้อมรับมือ และการวิเคราะห์ปัจจัย หรือตัวแปรที่เกี่ยวข้องที่ส่งเสริมการเป็นผู้สูงอายุที่มี คุณภาพ ดังนั้นการท�ำความเข้าใจทฤษฎี และกรอบ แนวคิ ด ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ความสู ง อายุ จึ ง เป็ น สิ่ ง จ� ำ เป็ น นอกจากนี้การประยุกต์ใช้หลักการในแต่ละทฤษฎีที่ว่า ด้ ว ยความสู ง อายุ จ ะเป็ น เครื่ อ งมื อ อั น ส� ำ คั ญ ในการ วางแผนส่งเสริมฟื้นฟูสุขภาพของผู้สูงอายุให้เหมาะสม และสอดคล้องตามแนวทางการส่งเสริมคุณภาพชีวิต ในการท�ำงาน และการด�ำรงชีวิตของผู้สูงอายุต่อไป อี ก ทั้ ง การที่ จ ะท� ำ ความเข้ า ใจพฤติ ก รรมหรื อ สถานการณ์ที่บุคคลประสบ จ�ำเป็นต้องอาศัยการมอง แบบองค์รวม (Holistic Approach) และตระหนักถึง การมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างปัจจัยหลายด้าน ทั้งด้าน ร่างกาย ด้านจิตใจ และด้านสังคม เพื่อจะท�ำให้ได้ข้อมูล ทีค่ รอบคลุมในการวิเคราะห์ลกั ษณะงานทีเ่ หมาะสมกับ ผูส้ งู อายุ ผูเ้ ขียนขออธิบายแนวคิดและทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้อง โดยวิเคราะห์ในแต่ละปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ ด้ า นกายภาพของผู ้ สู ง อายุ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ งาน (Physical Domain) ตามทฤษฎีทอี่ ธิบายความชราภาพของผูส้ งู อายุสว่ น ใหญ่จะอธิบายถึงความบกพร่อง การสูญเสีย การสะสม

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


244

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ของเสียไว้ในเซลล์ หรือการเสือ่ มลงของเซลล์ และระบบ ต่างๆ เช่น ระบบภูมิคุ้มกัน ระบบกล้ามเนื้อ อนุมูลอิสระ ระบบนาฬิกาชีวภาพ เป็นต้น ซึง่ น�ำไปสูภ่ าวะถดถอยของ ร่างกาย (Senescence) เหล่านีย้ อ่ มส่งผลต่อการท�ำงาน ของผู้สูงอายุ โดยเฉพาะสังคมไทยงานภาคเกษตรกรรม ที่จ�ำเป็นต้องอาศัยความพร้อมสมบูรณ์ของร่างกายเป็น หลัก ส�ำหรับเรือ่ งความคล่องแคล่วรวดเร็วในการท�ำงาน ของผู้สูงอายุจะต�่ำกว่าวัยอื่นๆ จากงานของ Czaja และ Sharit (1999: 561-563) ทีศ่ กึ ษาเปรียบเทียบกับวัยอืน่ ๆ พบว่าวัยผู้สูงอายุจะท�ำงานได้ช้ากว่า แต่ในขณะที่มี จ�ำนวนความผิดพลาดในการท�ำงานทีไ่ ม่แตกต่างกับกลุม่ อายุอื่น นอกจากนั้นจากการศึกษาเรื่องอุบัติเหตุที่เกิด ขึ้นในขณะท�ำงาน พบว่าผู้สูงอายุจะมีการเกิดอุบัติเหตุ น้อยกว่ากลุ่มวัยอื่นๆ ส�ำหรับประเด็นการเปลี่ยนแปลง ทางด้านเทคโนโลยีในปัจจุบัน โดยเฉพาะลักษณะงาน ที่ มี ก ารน� ำ เทคโนโลยี เข้ า มาใช้ เช่ น คอมพิ ว เตอร์ Cowgill และ Holmes มองว่าผู้สูงอายุก�ำลังเผชิญกับ การหมุนกลับของสถานะ (Inversion of status) ซึง่ เป็น ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่กับ การสูงอายุ ยิ่งมีความทันสมัยมากเท่าไรบทบาทของ

ผู้สูงอายุยิ่งถดถอยลงไปเรื่อยๆ (Cowgill & Holmes, 1972 อ้างอิงจากปัทมา อมรสิริสมบูรณ์, 2535: 11) ฉะนั้ น ผู ้ สู ง อายุ จ� ำ เป็ น ต้ อ งปรั บ ตั ว เข้ า กั บ เทคโนโลยี ดังกล่าว และพบว่ามีงานวิจยั ทีพ่ ยายามพัฒนาโปรแกรม เพื่อช่วยให้ผู้สูงอายุใช้เทคโนโลยีได้สะดวกขึ้น เช่น ALTEC และ LUSI (Rudinger et al., 1991: 163) ซึ่ง ในประเด็นนี้ Rogers ได้ให้คำ� แนะน�ำเกีย่ วกับการฝึกหรือ สอนแก่ผู้สูงอายุ (Czaja & Sharit, 1999: 561) ได้แก่ ควรสนับสนุนให้ฝึกพัฒนาการเคลื่อนไหวด้านร่างกาย อย่างเหมาะสม การฝึกต้องง่ายต่อการปฏิบัติ พร้อมทั้ง สร้างบรรยากาศของการเรียนรู้ให้น่าสนใจตรวจสอบ สภาพแวดล้อมในการฝึกอบรมต้องไม่ถูกรบกวนจาก สิ่งที่ไม่พึงประสงค์ ควรเน้นข้อมูลสาระส�ำคัญที่เป็น ประโยชน์และหากมีการน�ำวัสดุอุปกรณ์มาใช้ควรจัดให้ เหมาะสมกับวัย ให้ความใส่ใจในขณะทีผ่ สู้ งู อายุกำ� ลังฝึก ใช้อุปกรณ์ที่ทันสมัย เช่น การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ควรลดการใช้ความสามารถด้านการจ�ำ จัดกิจกรรมการ ฝึกอบรมให้เพียงพอต่อการน�ำไปใช้ในการปฏิบัติงาน และส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยเน้นให้คน้ พบเส้นทาง ที่จะประสบความส�ำเร็จในการท�ำงาน

ตารางที่ 1 สรุปลักษณะงานที่สอดคล้องกับสภาพร่างกายของผู้สูงอายุ ลักษณะผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุโดยทั่วไปตัดสินใจช้า (แต่การตัดสินใจไม่ค่อยผิด พลาด) ความสามารถในการเคลือ่ นไหวลดลงกล้ามเนือ้ และ ข้อต่อไม่ดีความสมดุลของร่างกายลดลง ท�ำให้มีโอกาสเกิด อุบัติเหตุได้สูง ผู้สูงอายุนอนหลับยาก ความสามารถในการควบคุมอุณหภูมิ ของร่างกายลดลงความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับ อุณหภูมิยาก ความสามารถในการตอบสนองต่อความร้อน หนาวรอบๆ ตัวลดลง ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีปัญหาเรื่องสายตาและการได้ยิน

ลักษณะงาน หลีกเลี่ยงการท�ำงานที่ต้องยกของหนัก แบกหาม งานที่ก้มๆ เงยๆ หรือเอีย้ วตัวมาก งานทีม่ สี ภาพแวดล้อมทีล่ นื่ งานทีท่ ำ� ให้ ตกใจง่าย เช่น ระเบิดเสียงดัง ควรมีเครื่องทุนแรง และเพิ่ม เวลาพัก ไม่ควรท�ำงานใช้แรงงานติดต่อกันเป็นเวลานาน เพราะอุณหภูมิ ในร่ า งกายอาจสู ง เกิ น ไป เช่ น ไม่ ค วรท� ำ งานกลางแจ้ ง การท�ำงานใช้แรงงานต่อเนื่องกันหลายชั่วโมงในที่ร้อนจัด ควรเลี่ยงการท�ำงานที่มีตารางเวลาท�ำงานไม่แน่นอน หรือ เปลี่ยนไปมาระหว่างกะกลางวัน-กลางคืน สถานที่ ท� ำ งานควรมี แ สงสว่ า งมาก ควรหลี ก เลี่ ย งการใช้ ตัวหนังสือเล็ก ไม่ควรท�ำงานในที่ที่มีเสียงดัง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

ด้ า นจิ ต ใจของผู ้ สู ง อายุ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ งาน (Psychological Domain) นอกจากผูส้ งู อายุตอ้ งเผชิญกับการเปลีย่ นแปลงของ ร่างกายแล้ว ยังต้องเผชิญกับความรู้สึกและอารมณ์ของ ตนเองที่เปลี่ยนแปลงได้ง่ายกล่าวคือ ผู้สูงอายุต้องปรับ ตัวกับการสูญเสีย (Loss) ที่เกิดขึ้นทั้งร่างกายและจิตใจ อันได้แก่ การเสียอิสรภาพในการควบคุมตนเองจากที่ เคยท�ำอะไรด้วยตัวเองกลับต้องเป็นฝ่ายพึ่งพิงคนอื่นๆ การสูญเสียรายได้ที่เคยได้รับการสูญเสียบุคคลอันเป็น ที่รัก ทั้งในลักษณะการตายจากของคู่สมรส เพื่อนฝูง และการพลัดพรากของบุตรที่ไปมีครอบครัวใหม่จนมี ผู้สูงอายุหลายรายรู้สึกห่อเหี่ยวเนื่องจากขาดคนดูแล หรือทีเ่ รียกว่า Emptiness Syndrome และการสูญเสีย สถานภาพบทบาทหน้าที่ในสังคม เช่น การปลดเกษียณ อายุราชการ การออกจากงาน การถูกลดเกียรติและ ศักดิ์ศรี ในขณะที่ได้รับสถานภาพใหม่ในฐานะผู้พึ่งพิง ผู้ป่วย หรือผู้เป็นภาระ หรือถูกตีตราว่าเป็นไม้ใกล้ฝั่ง เป็นต้น มีผสู้ งู อายุจำ� นวนไม่นอ้ ยต้องเข้ารับการรักษาใน โรงพยาบาลด้วยความรู้สึกไร้ค่า และอาการซึมเศร้า จึงขออธิบายในแต่ละตัวแปรทางจิตใจ ซึ่งมีความเกี่ยวโยง กับการปรับตัวและส่งเสริมการท�ำงานในผู้สูงอายุ ดังนี้ พั ฒ นาการทางบุ ค ลิ ก ภาพ (Personality Development) Erikson นั ก จิ ต วิ ท ยาได้ อ ธิ บ าย พัฒนาการทางบุคลิกภาพ โดยเขาเชื่อว่าบุคคลจะมี พัฒนาการตลอดช่วงชีวิต โดยอาจเป็นไปในลักษณะที่ดี หรือไม่ดกี ไ็ ด้ ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก่ บั การมีปฏิสมั พันธ์อย่างเหมาะ สมกับสิ่งแวดล้อมรอบตัว โดยเฉพาะบุคคลส�ำคัญใน แต่ละวัย ร่วมกับต้องมีรากฐานของพัฒนาการในล�ำดับ ก่อนหน้าที่ดี ซึ่งเขาได้แบ่งพัฒนาการทางจิตสังคมในวัย ผู้สูงอายุไว้ในขั้นที่ 8 กล่าวว่าผู้สูงอายุเป็นระยะเวลา ที่ บุ ค คลจะทบทวนประสบการณ์ ใ นอดี ต ถ้ า พบว่ า ตนเองได้ท�ำหน้าที่อย่างดีที่สุดแล้วก็จะเกิดความพอใจ มีบุคลิกภาพที่เข้มแข็งมีอารมณ์มั่นคง ก่อให้เกิดความ มั่นคงทางใจที่เรียกว่า Integrity ในทางตรงกันข้าม หากพิจารณาแล้วรู้สึกว่าชีวิตของตนขมขื่น ทุกข์ร้อน และผิดหวัง งานที่ตนเองท�ำยังไม่ประสบความส�ำเร็จใน

245

ชีวิต ก็จะเกิดความรู้สึกสิ้นหวังไร้ค่าที่เรียกว่า Despair ดังนัน้ ในผูส้ งู อายุควรท�ำใจให้ยอมรับทัง้ ความส�ำเร็จและ ความล้มเหลวอย่างเข้าใจ รู้จักชีวิต และปล่อยวาง เพื่อ ให้เกิดความสุขสงบในชีวติ ต่อไป ดังทีก่ ล่าวไปแล้วว่าการ ทีผ่ สู้ งู อายุจะมีความมัน่ คงทางใจ (Integrity) ในบัน้ ปลาย ชีวติ ได้นนั้ จ�ำเป็นต้องผ่านกระบวนการในการจัดการกับ ข้อขัดแย้งทางจิตสังคม (Psychosocial Crisis) ในขั้น ก่อนหน้า โดยบุคคลสามารถมีพัฒนาการในทางบวก (Generativity หรือการบ�ำรุงส่งเสริมผู้อื่น) ได้หลาย ลักษณะ เช่น การสืบสกุลมีบุตรธิดา การให้การเลี้ยงดู บุตรหลาน แนะน�ำสัง่ สอน การถ่ายทอดทักษะงานต่างๆ ที่ตนเองมีความถนัดให้กับลูกน้อง การด�ำรง รักษา และ สืบทอดประเพณีวัฒนธรรม เป็นต้น ฉะนั้นลักษณะงาน และสภาพแวดล้อมของงานที่เอื้อให้เกิด Generativity ดังที่กล่าวไปแล้วนั้นก็จะน�ำไปสู่การมี Integrity ที่ดีใน อนาคต Costa และ MaCrae นักทฤษฎีบุคลิกภาพ (Trait Theorists) แบ่งบุคลิกภาพของคนออกเป็น 5 ลักษณะ ได้แก่ เปิดรับสิ่งใหม่ (Openness to Experience) ระมัดระวังรอบคอบ (Conscientiousness) ชอบสังคม (Extraversion) เห็นพ้องกับคนอื่น (Agreeableness) และขีก้ งั วลประหม่า (Neuroticism) จากการศึกษาของ Jones และ Meredith พบว่า ผู้สูงอายุจะสนใจสิ่งรอบตัว น้อยลง เปิดใจรับสิ่งใหม่ลดลง แต่ระมัดระวังรอบคอบ ยอมรับคล้อยตามคนอื่น และรู้สึกสงบมากขึ้น (Jones & Meredith, 1996: 444 อ้างอิงจาก Kanfer & Ackerman, 2004) ดังนั้นจึงอาจส่งผลให้ผู้สูงอายุต้อง ใช้เวลาในการเรียนรู้งานใหม่ๆ นานขึ้น Lewinson นั ก จิ ต วิ ท ยาพั ฒ นาการวั ย ผู ้ ใ หญ่ ได้กล่าวถึงบุคลิกภาพและพฤติกรรมของคนว่าจะมี ช่วงคงที่และเปลี่ยนแปลงสลับกันไปแต่ละช่วงวัย ซึ่ง ส่งผลต่อความเหมาะสมกับลักษณะงานแต่ละประเภท ที่แตกต่างกันไป เขากล่าวว่าผู้สูงอายุเป็นวัยผู้ใหญ่ ตอนปลายที่สะท้อนความส�ำเร็จจากในอดีต เป็นวัย ทีป่ ระกอบไปด้วยความรูแ้ ละประสบการณ์ มีความมัน่ คง ทางอารมณ์ บุคลิกภาพที่มักไม่ค่อยแตกต่างจากเดิม แต่ ก ารเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด อาจเป็ น ผลมาจากการ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


246

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

เปลี่ยนแปลงของอัตมโนทัศน์ (Self-Concept ) หากมอง จากทัศนะของ Lewinson ผู้สูงอายุจะเหมาะสมกับ การเป็นตัวแบบ เป็นผูถ้ า่ ยทอด ท�ำงานทีต่ อ้ งอาศัยความ รู้ ประสบการณ์ และความน่าเชือ่ ถือเป็นส�ำคัญ เช่น การ เป็นที่ปรึกษา หรือการเป็นวิทยากร ซึ่งในปัจจุบันนี้ ข้าราชการที่มีความรู้ความสามารถ มักจะได้รับการต่อ อายุราชการ หรือไม่กไ็ ด้รบั การจ้างให้ทำ� งานในองค์การ ต่อไปในลักษณะของผู้เชี่ยวชาญหรือที่ปรึกษา ความสามารถทางสติ ป ั ญ ญา (Intellectual Capacity) มุมมองของนักประเมินความสามารถทาง เชาวน์ปญ ั ญาได้แบ่งเชาวน์ปญ ั ญาออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่ Fluid Intelligence ซึ่งเกี่ยวข้องกับการคิดเชิง นามธรรม มิติสัมพันธ์ กระบวนการจ�ำ สมาธิความสนใจ เป็นต้น และ Crystallized Intelligence ซึ่งเกี่ยวข้อง กับความรู้ทั่วไป ความเข้าใจด้านภาษา เป็นต้น แม้ว่า ความสามารถทางเชาวน์ปญ ั ญาของผูส้ งู อายุทงั้ สองด้าน จะเสือ่ มถอยตามวัยก็ตามแต่พบว่า Fluid intelligence จะลดลงมากกว่ า Crystallized Intelligence (Wechsler, 1944 อ้างอิงจาก Kanfer & Ackerman, 2004) นั่นหมายถึงความสามารถในการใช้ภาษาพูด ไม่ ค ่ อ ยเปลี่ ย นแปลง ส่ ง ผลให้ ยั ง คงสามารถท� ำ งาน ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาได้ แต่การประมวลผลข้อมูล การท�ำงานสองสิ่งพร้อมกัน หรือการเชื่อมโยงอย่างมี เหตุผลจะช้าลง การเรียนรูแ้ ละความจ�ำ (Learning and Memory) การเรี ย นรู ้ ข องบุ คคลจะเริ่มลดลงประมาณอายุ 40-50 ปี และจะลดลงมากขึ้นเมื่อหลังอายุ 70 ปี ทั้งนี้ การลดลงมากน้ อ ยนั้ น ขึ้ น กั บ สติ ป ั ญ ญา การศึ ก ษา แรงจูงใจ ความตัง้ ใจ เป็นต้น แม้วา่ การเรียนรูข้ องผูส้ งู อายุ จะลดลง แต่ยงั สามารถเรียนรูส้ งิ่ ใหม่ๆ ได้ ถ้าการเรียนรู้ มีความสัมพันธ์กบั ประสบการณ์เดิมทีผ่ า่ นมา ความตัง้ ใจ ที่จะเรียนรู้ และระยะเวลาที่ใช้ในการเรียน ซึ่งต้องให้ เวลาแก่ผู้สูงอายุมากขึ้นรวมทั้งลดความคาดหวังที่จะได้ รับด้วย การเรียนรู้ที่ผู้สูงอายุท�ำได้ดีและเรียนได้เร็ว คือการเรียนรู้เฉพาะอย่างโดยไม่เร่งรัด ส�ำหรับความจ�ำ

นั้นผู้สูงอายุจะมีความจ�ำเรื่องราวในอดีต (Long-term or Remote Memory) ได้ดี แต่จะมีความจ�ำเกี่ยวกับ สิ่งใหม่ๆ (Short-term or Recent Memory) ลดลงซึ่ง อาจเป็นผลมาจากการเปลีย่ นแปลงทางด้านร่างกายและ ทางด้านจิตสังคม การกระตุ้นความจ�ำของผู้สูงอายุจะ ต้องอาศัยการปฏิบัติเป็นล�ำดับขั้นตอน เช่น การเขียน หนังสือตัวโต การใช้สกี ระตุน้ การมองเห็นและไม่ควรเน้น หรือถามซ�้ำในเรื่องที่ผู้สูงอายุจ�ำไม่ได้ การจดบันทึกจะ ช่วยผู้สูงอายุจ�ำได้มากขึ้น ความเครียด (Strain and Stress) Karasek ได้ อธิบายความเครียดทีเ่ กีย่ วข้องกับการท�ำงาน โดยพัฒนา แบบจ�ำลองที่ชื่อว่า Karasek’s Job Strain Model ซึ่ง แสดงความสัมพันธ์ระหว่างอ�ำนาจหรือความสามารถ ในการตัดสินใจควบคุมในงานกับภาระงานที่ต้องท�ำ สามารถแบ่งงานออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ งานเชิงรุก (Active job) งานเชิงรับ (Passive job) งานที่มีความ ตึงเครียดหรือกดดันต�่ำ (Low strain) และงานที่มีความ ตึงเครียดหรือความกดดันสูง (High strain) Psychological demand of work Decision Low High High Low strain job Active job latitude High strain (control) Low Passive job job ที่มา: ดัดแปลงจากแบบจ�ำลองความตึงเครียดของงานของ Karasek (สมรักษ์ รักษาทรัพย์ และคณะ, 2553: 19)

งานเชิงรุกต้องอาศัยความสามารถในการตัดสินใจสูง สามารถก�ำหนดกรอบการท�ำงานของตัวเองได้ มีสว่ นร่วม ในการตั ด สิ น ใจ แสดงความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ งานได้ งานเชิงรับเป็นงานที่ท�ำไปเรื่อยๆ ไม่เร่งรีบ เวลามีความ ยืดหยุน่ งานมีลกั ษณะซ�ำ้ ๆ อาศัยทักษะระดับต�ำ่ ไม่ตอ้ ง ใช้ความสามารถในการตัดสินใจ งานที่มีความตึงเครียด ต�่ำเป็นงานที่มีความยืดหยุ่นในเรื่องเวลา ภาระงาน ไม่มาก มีอ�ำนาจในการตัดสินใจในการเลือกงานเพื่อให้ ได้งานที่มีประสิทธิภาพ งานที่มีความตึงเครียดสูงเป็น

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

งานซ�้ำๆ ใช้ทักษะสูง งานหนัก มีความเร่งรีบ มีอ�ำนาจ ในการตัดสินใจน้อย ท�ำงานตามกรอบของเวลาและ เนื้อหา ฉะนั้นผู้สูงอายุสามารถท�ำงานได้ทั้งเชิงรุกและเชิง รับ หากได้พฒ ั นาตนเอง และเสริมสร้างประสบการณ์ให้ กับตัวเองอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งคอยดูแลสุขภาพของ ตัวเองให้แข็งแรง ส�ำหรับงานที่มีความเครียดต�่ำ ต้องจัด วิธีการท�ำงานของตัวเองให้เหมาะสมกับวัย ต้องควบคุม อารมณ์ และรู้จักผ่อนคลายอารมณ์ของตนเอง แต่ควร หลีกเลี่ยงงานที่มีความตึงเครียดสูง หรือมีความเสี่ยงต่อ สุขภาพกายและจิต แรงจูงใจ (Motivation) Maslow ได้อธิบายล�ำดับ ขั้นความต้องการของมนุษย์ 5 ขั้น ซึ่งต้องเป็นไปตาม ล�ำดับจากขั้นพื้นฐาน หากไม่ได้รับการตอบสนองความ ต้องการอย่างเพียงพอ ก็ไม่สามารถบรรลุความต้องการ ในขั้นถัดไปได้ โดยเรียงล�ำดับจากความต้องการด้าน ร่างกาย ความต้องการความปลอดภัย ความต้องการมี ส่วนร่วมและเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ความต้องการ เกียรติยศศักดิศ์ รี และขัน้ สุดท้ายคือความต้องการบรรลุ สัจจะแห่งตน ซึง่ สามารถเปลีย่ นแปลงขึน้ ลงได้ขนึ้ อยูก่ บั

247

ความต้ อ งการที่ ข าดหรื อ เต็ ม แล้ ว จากรายงานวิ จั ย ที่สัมภาษณ์ผู้สูงอายุ พบว่า ส่วนใหญ่มีความต้องการให้ มีสวัสดิการเกีย่ วกับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาล รองลงมาคือ ต้องการให้มกี ารประกันสุขภาพ จัดบริการ ปฐมพยาบาล และการประกันภัย (สมรักษ์ รักษาทรัพย์ และคณะ, 2553: 107) ซึ่งเห็นว่าสอดคล้องกับความ ต้องการขั้นสองของ Maslow ตามทฤษฎีความต้องการ มนุษย์ วัยผู้สูงอายุควรจะบรรลุความต้องการในขั้น 4 หรือ 5 จึงจะเป็นผู้สูงอายุที่มีความพึงพอใจในชีวิต การรับรู้ตนเองและความรู้สึกมีคุณค่า (SelfConcept and Self-Esteem) ถ้าเป็นไปในทางบวก จะช่วยให้สามารถปรับตัวแก้ปญ ั หาได้ดแี ละรูส้ กึ มีคณ ุ ค่า ในตั ว เองมี ผ ลมาจากกระบวนการความคิ ด อารมณ์ ความปรารถนา คุณค่า และพฤติกรรม ในขณะทีผ่ สู้ งู อายุ มีแนวโน้มมองตัวเองว่ามีความสามารถลดลง โดยเฉพาะ เรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับความสามารถทาง Fluid Intelligence หรือความสามารถทางสมองโดยรวม จึงท�ำให้ผู้สูงอายุ พยายามชดเชย โดยเพิ่มความสนใจในงานที่จะแสดงถึง ความสามารถเกี่ยวกับ Crystallized Intelligence ซึ่งท�ำให้สามารถปรับตัวและมองตัวเองว่ายังมีค่าได้

ตารางที่ 2 สรุปลักษณะงานที่สอดคล้องกับสภาพจิตใจของผู้สูงอายุ ลักษณะผู้สูงอายุ

ลักษณะงาน

พัฒนาการทางบุคลิกภาพ บรรยากาศหรือสภาพการท�ำงานต้องให้เกียรติ ยอมรับ เอื้อให้เกิดการถ่ายทอดแบ่งปันความรู้ ประสบการณ์เกีย่ วกับการท�ำงาน งานต้องสอดคล้องกับประสบการณ์เดิมทีผ่ สู้ งู อายุมคี วามเชีย่ วชาญ หรือเคยท�ำมาก่อน สติปัญญา เน้นงานที่ต้องใช้ความสามารถที่เกี่ยวข้องกับภาษามากกว่างานที่เกี่ยวข้องกับการใช้ความสามารถ ทางมิติสัมพันธ์ การค�ำนวณซับซ้อน และต้องใช้สมาธิมาก เช่น การเป็นที่ปรึกษา วิทยากร ปราชญ์ ชาวบ้าน เป็นต้น การเรียนรู้และความจ�ำ ต้องเน้นงานที่เป็นขั้นเป็นตอน มีความซับซ้อนน้อย มีความยืดหยุ่นในเรื่องเวลาในการเรียนรู้และ ปฏิบัติ ควรเลี่ยงงานใหม่ๆ ที่ไม่มีประสบการณ์มาก่อน ความเครียดในงาน

ท�ำได้ทั้งเชิงรุกและเชิงรับ แต่ต้องพัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่อง ควรหลีกเลี่ยงงานที่ท�ำให้เกิด ความเครียด เช่น งานที่ต้องตัดสินใจสูง งานที่มีเวลาจ�ำกัด กดดัน ฯลฯ ผู้สูงอายุหมั่นดูแลสุขภาพ รู้จักผ่อนคลายความเครียด ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

248

ลักษณะผู้สูงอายุ แรงจูงใจ การรับรู้ตนเองและ ความรู้สึกมีคุณค่า

ลักษณะงาน ผลตอบแทนของงานควรมุ่งเน้นในด้านการให้สวัสดิการตามความต้องการทั้งในด้านร่างกาย สวัสดิการ มากกว่าการตอบแทนเป็นตัวเงิน เน้นการท�ำงานเพื่อสังคม งานที่ได้รับการยอมรับจากบุคคลรอบตัว มีการรวมกลุ่มของบุคคล วัยเดียวกัน เช่น ชมรมผู้สูงอายุ

ด้านสังคมของผูส้ งู อายุทเี่ กีย่ วข้องกับงาน (Social domain) ทฤษฎี ท างสั ง คมเป็ น ทฤษฎี ที่ ก ล่ า วถึ ง แนวโน้ ม บทบาท สัมพันธภาพ และการปรับตัวในสังคมของผู้สูง อายุ ซึ่งพยายามวิเคราะห์สาเหตุที่ท�ำให้ผู้สูงอายุต้องมี การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางสังคมไปและพยายามที่ จะช่วยให้ผู้สูงอายุมีการด�ำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมี ความสุข ซึ่งมีแนวคิดที่น่าสนใจ ได้แก่ ทฤษฎีกจิ กรรม (Activity Theory) พัฒนาขึน้ โดย Robert Havighurst ในปี 1960 ได้อธิบายถึงสถานภาพ ทางสังคมของผู้สูงอายุ กล่าวคือเมื่อบุคคลมีอายุมากขึ้น สถานภาพ และบทบาททางสังคมจะลดลง แต่บุคคลยัง มีความต้องการทางสังคมเหมือนบุคคลในวัยกลางคน ต้องการทีจ่ ะเข้าร่วมกิจกรรมเพือ่ ความสุขและการมีชวี ติ ที่ดีเช่นเดียวกับวัยผู้ใหญ่และสามารถเข้าร่วมกิจกรรม ทีต่ นเองสนใจได้ เช่น กิจกรรมทีป่ ฏิบตั ติ อ่ เพือ่ นฝูง สังคม หรือชุมชน เมื่อบุคคลเข้าสู่วัยเกษียณอายุราชการ จะมี ความรูส้ กึ ว่าภาระหรือบทบาทหน้าทีข่ องตนเองจะลดลง ท�ำให้ตอ้ งหากิจกรรมอืน่ ๆ มาช่วยเสริมสร้างหรือทดแทน สิ่งที่ขาดหายไป การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชนจะ สร้างความสุข ความภาคภูมิใจในตนเอง และมีความ พอใจในชีวติ เนือ่ งจากยังคงรักษาบทบาทและสถานภาพ ทางสังคมไว้ได้ระดับหนึ่ง ท�ำให้เขามีความรู้สึกว่ามี ส่วนร่วมในสังคม มีคุณค่าและมีชีวิตที่ประสบความ ส�ำเร็จ ดังที่ Gibson (งามตา วนินทานนท์, 2545: 619) ได้ให้นยิ ามของการมีชวี ติ ในวัยสูงอายุอย่างประสบความ ส�ำเร็จว่าเป็นการพัฒนาศักยภาพของบุคคลจนถึงระดับ ที่เกิดความเป็นสุขทางกาย สังคม และจิตใจ ซึ่งเป็นสิ่งที่ น่าพอใจทั้งของตนเองและผู้อื่น

ทฤษฎี แ ยกตนเองหรื อ ทฤษฎี ก ารถอยห่ า ง (Disengagement Theory) เป็นทฤษฎีทเี่ กิดขึน้ ครัง้ แรก ราวปี 1950 ของ Elaine Cummings และ William Henry ที่กล่าวถึงการถอยห่างออกจากสังคมของผู้สูงอายุซึ่ง พิมพ์เผยแพร่เป็นครัง้ แรกในหนังสือ Growing old: The Process of Disengagement เมื่อปี 1961 มีใจความว่า ผู้สูงอายุและสังคมจะลดบทบาทซึ่งกันและกันอย่าง ค่อยเป็นค่อยไปตามความต้องการของร่างกายและ ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ซึ่งระยะแรกอาจมีความวิตกกังวล อยูบ่ า้ งในบทบาททีเ่ ปลีย่ นแปลงไปและจะค่อยๆ ยอมรับ ได้ในที่สุด อย่างไรก็ตามโดยปกติแล้วบุคคลจะพยายาม ผสานอยู่กับสังคมให้นานเท่าที่จะท�ำได้ เพื่อเป็นการ รักษาสมดุลทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ก่อนที่ บทบาทของตนเองจะแคบลงเมื่อมีอายุเพิ่มมากขึ้น โดย สรุปกระบวนการถอยห่างเป็นกระบวนการที่มีลักษณะ เฉพาะและเป็นสากลของทุกสังคม โดยปัจจัยที่มีผล ต่อการถอยห่างของผู้สูงอายุ ได้แก่ กระบวนการชราที่มี ความแตกต่างกันของแต่ละบุคคล สภาพสังคม และ ความเชื่อมโยงของอายุที่เพิ่มขึ้น จะเห็นได้วา่ ทฤษฎีการถอยห่างและทฤษฎีกจิ กรรม จะมีความขัดแย้งกัน ซึง่ Bernice Neugarten และคณะ ได้ศึกษาเพื่อหาข้อขัดแย้งทั้งสองทฤษฎีแล้วพบว่าการ ด�ำเนินชีวติ ของผูส้ งู อายุทปี่ ระสบความส�ำเร็จ มีความสุข และมี กิ จ กรรมร่ ว มกั น นั้ น ขึ้ น อยู ่ กั บ บุ ค ลิ ก ภาพและ แบบแผนชีวิตของแต่ละบุคคลที่ผ่านมา ผู้ที่มีบทบาท ในสังคมชอบ เข้าร่วมกิจกรรมในสังคมก็ตอ้ งการทีจ่ ะร่วม กิจกรรมต่อไป ส่วนผูท้ ชี่ อบสันโดษไม่เคยมีบทบาทใดใน สังคมมาก่อนก็ย่อมที่จะแยกตัวเองออกจากสังคมเมื่อ อายุมากขึ้น เมื่อถึงขั้นนี้แล้วบุคคลจะต้องพัฒนาความ รู้สึกได้ว่าตนได้กระท�ำกิจต่างๆ ที่ควรท�ำเสร็จสิ้นตาม

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

หน้าที่ของตนแล้ว ยอมรับได้ทั้งความส�ำเร็จสมหวังและ ผิดหวัง (ปล่อยวาง) ถ้าประสบความส�ำเร็จดีจะรูส้ กึ พอใจ ในความมั่นคง ภาคภูมิใจและสืบทอดไปยังรุ่นลูกหลาน ขณะเดียวกันทีผ่ สู้ งู อายุรสู้ กึ ยอมรับว่าสภาพร่างกายของ ตนถดถอยลงและชีวิตจะมีสุขถ้าสามารถยอมรับและ ปรับความรูส้ กึ ทีม่ ตี อ่ กฎเกณฑ์และการเปลีย่ นแปลงทาง ธรรมชาตินี้ได้ ทฤษฎีความต่อเนือ่ ง (Continuity Theory) เป็น ทฤษฎีที่พัฒนาขึ้นโดย Bernice Neugarten และคณะ ราวปี 1960 นักทฤษฎีกลุ่มนี้เชื่อว่าการด�ำเนินชีวิตของ ผู้สูงอายุที่ประสบความส�ำเร็จนั้นขึ้นอยู่กับบุคลิกภาพ และแบบแผนชีวติ ของแต่ละช่วงวัยทีผ่ า่ นมาและมีปจั จัย อื่นๆ ที่เข้ามาร่วมอธิบาย ได้แก่ แรงจูงใจ สถานภาพ ทางสังคม เศรษฐกิจ และสังคม บุคลิกภาพความยืดหยุน่ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยความส�ำเร็จและความล้มเหลว ในชีวิตบั้นปลายของผู้สูงอายุ ทฤษฎีนี้ยังได้กล่าวอีกว่า ผู้สูงอายุจะมีความสุขได้ก็ต่อเมื่อได้กระท�ำกิจกรรมหรือ ปฏิบัติตัวเช่นเคยกระท�ำมาแต่เก่าก่อน อีกทั้งจะต้อง ปรับตัวให้มีพฤติกรรมเข้ากับการเปลี่ยนแปลงมากมาย หลายอย่างในสังคม เช่น การเกษียณอายุราชการ เป็นต้น (รวิวรรณ ลีมาสวัสดิก์ ลุ , 2547: 17) บุคคลทีเ่ ป็นผูส้ งู อายุ นับเป็นบุคคลที่มีความสามารถในการเผชิญปัญหาและ ฝ่าฟันอุปสรรค เมื่อเจอปัญหาคิดว่ามีความสามารถ ควบคุมสถานการณ์ และพยายามใช้อิทธิพลเข้าไปใช้ แก้ไขปัญหา ผู้สูงอายุที่มีความสามารถในการเผชิญและ ฝ่าฟันอุปสรรคอย่างมีประสิทธิภาพ ท�ำให้เกิดความหวัง มีก�ำลังใจ ด�ำรงความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ยังคงมี บทบาทด้านการเรียนการสอน มีสถานภาพเป็นครูผู้ให้

249

ความรู ้ แ ก่ นิ สิ ต และช่ ว ยลดหรื อ ก� ำ จั ด ความกดดั น ความวิตกกังวลด้านการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ ด้านร่างกาย และยังรู้สึกมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลต่างๆ มีสัมพันธภาพและความผูกพันที่ดีกับผู้อื่น ผลท�ำให้ บุคคลมีภาวะสุขภาพที่ดี ทฤษฎีบทบาท (Role Theory) ได้อธิบายว่าบุคคล มี ก ารปรั บ ตั ว ต่ อ ความสู ง อายุ แ ละการเป็ น ผู ้ สู ง อายุ กล่าวคือ ตลอดช่วงชีวิตของบุคคลจะผ่านบทบาททาง สังคมหลายบทบาท เช่น การเป็นพ่อ แม่ปู่ย่า เป็นต้น บทบาทเหล่านีจ้ ะเป็นสิง่ ทีแ่ ยกแยะสถานภาพทางสังคม และทัศนะทีม่ ตี อ่ ตนเอง ผูส้ งู อายุเป็นผูท้ มี่ บี ทบาทส�ำคัญ ต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของสังคม เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ บทบาท และความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น ขึ้นอยู่กับการที่ผู้อื่นให้ความส�ำคัญอีกด้วย บทบาทของ ผูส้ งู อายุทางสังคมทีแ่ สดงออกทางด้านสถานภาพ ได้แก่ การเป็นผู้น�ำด้านวิทยาการต่างๆ เช่น มีความรู้ความ เชี่ยวชาญทางสังคมในการให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำต่างๆ (ลัดดา สุทนต์, 2551: บทคัดย่อ) ผู้สูงอายุที่มีกิจกรรม ที่ต้องปฏิบัติอยู่เสมอ จะส่งผลให้มีสุขภาพดีทั้งกาย และจิตใจอารมณ์ เกิดความพึงพอใจในชีวติ เกิดภาพพจน์ ที่ ดี ต ่ อ ตั ว เอง และสามารถปรั บ ตั ว ให้ เข้ า กั บ การ เปลี่ยนแปลงได้ดีจะปรับตัวได้ดีกว่าผู้สูงอายุที่เฉื่อยชา หรือปราศจากกิจกรรมใดๆ โดยกิจกรรมที่ผู้สูงอายุ ด�ำเนินการ ได้แก่ การมีส่วนร่วมในสังคม การมีงาน อดิเรก การท�ำงานทีม่ รี ายได้ การส่งเสริมสุขอนามัย และ การพัฒนาท้องถิ่นสังคม (ประพิศ จันทร์พฤกษา, 2537: บทคัดย่อ; ปราโมทย์ วังสะอาด, 2530: 32)

ตารางที่ 3 สรุปลักษณะงานที่สอดคล้องกับสภาพทางสังคมของผู้สูงอายุ ลักษณะผู้สูงอายุ ทฤษฎีกิจกรรม

ลักษณะงาน เป็นงานที่ผู้สูงอายุสนใจ เช่น งานที่มีประโยชน์ต่อสังคม หรือชุมชน และเป็นงาน ที่ผู้สูงอายุปฏิบัติร่วมกับเพื่อนฝูงในวัยเดียวกัน

ทฤษฎี แ ยกตนเองหรื อ ทฤษฎี ก าร เป็นงานที่ใช้แรงงานน้อย โดยคำ�นึงถึงสุขภาพ เช่น งานบ้านเน้นงานที่ถ่ายทอด ถอยห่าง ให้ความรู้ มอบหมายงานให้กับคนรุ่นหลัง ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


250

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558 ลักษณะผู้สูงอายุ

ลักษณะงาน

ทฤษฎีความต่อเนื่อง

เป็นงานที่ผู้สูงอายุมีประสบการณ์มาก่อน คุ้นเคย และมีความภาคภูมิใจในงานนั้น เช่น คนที่มีอาชีพครูจะมีความสุขถ้าได้ทำ�งานด้านการสอนต่อ ลักษณะของงาน ควรขึ้นอยู่กับลักษณะบุคลิกภาพ แบบแผนของชีวิต และความถนัด

ทฤษฎีบทบาท (Role Theory)

เป็นผู้นำ�ชุมชน หรือเป็นผู้นำ�ในกลุ่มครอบครัว

ด้านจิตวิญญาณของผู้สูงอายุที่เกี่ยวข้องกับงาน (Spiritual Domain) Gerotranscendence Theory (Tornstam, 1989 อ้างอิงจาก Wadensten, 2005: 381–388) เป็ น ทฤษฎี ที่ ก ล่ า วถึ ง มโนทั ศ น์ ข องภาวะธรรมทั ศ น์ (Transcendence) ในวัยผูส้ งู อายุวา่ เป็นภาวะทีผ่ สู้ งู อายุ มีความเข้าใจและยอมรับปรากฏการณ์ของชีวิต ยอมรับ ว่าทุกสิ่งในโลกมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน รวมทั้งมี วุฒิภาวะในการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่นและสังคม ภาวะ ธรรมทัศน์เป็นพัฒนาการตามธรรมชาติของมนุษย์ โดย เริ่มขึ้นตั้งแต่วัยผู้ใหญ่ตอนต้น แล้วมีพัฒนาการที่สูงขึ้น เมือ่ เข้าสูว่ ยั ผูส้ งู อายุ ผูส้ งู อายุแต่ละคนจะมีระดับพัฒนาการ ของภาวะธรรมทัศน์ที่แตกต่างกัน ทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับปัจจัย ทางสังคมและวัฒนธรรมทีส่ นับสนุน เช่น การทีผ่ สู้ งู อายุ แยกตัวออกจากสังคม มีความสนใจเฉพาะเรื่องของตน และมีการเข้าร่วมกิจกรรมในสังคมตามการตัดสินใจ เลือกของตน ย่อมส่งผลให้ผู้สูงอายุมีพัฒนาการภาวะ ธรรมทัศน์ ภาวะธรรมทัศน์ในวัยผู้สูงอายุประกอบด้วย 3 มิติ ได้แก่ 1) มิติการมองโลก (Cosmic Dimension) การที่ ผู ้ สู ง อายุ มี ค วามเข้ า ใจและยอมรั บ ว่ า ทุ ก สิ่ ง และทุ ก เหตุ ก ารณ์ ใ นโลกมี ค วามสั ม พั น ธ์ ซึ่ ง กั น และกั น เวลา ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคตจะเชื่อมโยงกันและมีความ ต่อเนื่องกัน สิ่งที่เกิดขึ้นในอดีตจะมีผลต่อปัจจุบัน ท�ำให้ เกิดความรู้สึกผูกพันกับบรรพบุรุษมากขึ้น เห็นความ จ�ำเป็นที่ต้องสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับบุตรหลาน มองว่า ความตายเป็นเพียงสิง่ ธรรมดาของชีวติ มนุษย์ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในผู้สูงอายุที่มีภาวะธรรมทัศน์ในระดับสูงพบ ว่าการกลัวความตายจะหายไป 2) มิติการมองตน (Self-Dimension) การที่มี ความเข้าใจและยอมรับตัวตนที่แท้จริงของตน ค้นพบ

ด้านที่ดีและไม่ดีของตนเองยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง (Self-Centeredness) น้อยลง ยอมรับความเสื่อมและ ความเจ็บป่วยของร่างกายดูแลรักษาสุขภาพ แต่ไม่ ลุ่มหลงกับรูปลักษณ์ภายนอก อยู่เหนือตน เปลี่ยนจาก การเห็นแก่ตัวเป็นการค้นหาความบริสุทธิ์ใจระลึกถึงวัย เด็กและการเปลี่ยนในวัยเด็ก ท�ำให้มีความเป็นเด็กอยู่ ในตัวเอง และบางครั้งอาจท�ำกิจกรรมอะไรที่ขัดแย้งกับ วัย เช่น สวมเสื้อผ้าสีสันสดใสแทนการใส่สีด�ำขาว และมี ความซื่อสัตย์ 3) มิตกิ ารมีสมั พันธภาพต่อผูอ้ นื่ และสังคม (Social and Individual Relations Dimension) ผู้สูงอายุ จะมีความเข้าใจและยอมรับการกระท�ำและความคิดเห็น ของผูอ้ นื่ รวมทัง้ มัน่ ใจในการกระท�ำของตน จึงมีความกล้า ในการเลือกท�ำในสิ่งที่ตนพึงพอใจ สนใจความสัมพันธ์ กับผู้อื่นอย่างมีค วามหมายและลึกซึ้งมากกว่าความ สัมพันธ์แบบผิวเผิน ขณะเดียวกันก็รกั ความสันโดษมากขึน้ เข้าใจในความแตกต่างระหว่างตนเองและบทบาท แม้ ในบางครั้งมีสิ่งกระตุ้นให้ละทิ้งหน้าที่ แต่ผู้สูงอายุจะมี การปรับเปลี่ยนความเข้าใจเพื่อรักษาบทบาทในชีวิตให้ ประสบความส�ำเร็จ ผูท้ มี่ ภี าวะธรรมทัศน์ในวัยผูส้ งู อายุระดับสูง มีแนวโน้ม ที่จะมีความพึงพอใจในชีวิตสูงขึ้น ด�ำเนินชีวิตที่เหลือ อย่างมีความหมายและก�ำลังใจ ปฏิบตั ติ ามความเชือ่ ทาง ศาสนา (ลดารัตน์ สาภินันท์, 2545) มีความสุขกับ ชีวิตเรียบง่าย ไม่สนใจสัมพันธภาพกับผู้อื่นแบบผิวเผิน เลือกเข้าร่วมกิจกรรมในสังคมตามที่ตนสนใจ สามารถ ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงในชีวิตและสิ่งรอบข้างได้ มี สั ม พั น ธภาพกั บ บุ ค คลทุ ก วั ย และอุ ทิ ศ ตนให้ เ ป็ น ประโยชน์ต่อสังคม (Tornstam, 1996 อ้างอิงจาก Wadensten, 2005: 381–388) นอกจากนี้ผู้สูงอายุ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

มีความเข้าใจความเป็นไปของโลก ปล่อยวาง ยอมรับข้อดี และข้ อ ด้ อ ยของตน ไม่ ยึ ด ตนเองเป็ น ศู น ย์ ก ลาง ต้องการบรรลุถึงความต้องการขั้นสัจจะแห่งตน (SelfActualization) ครุ่นคิดเรื่องความตายในแง่มุมที่เป็น สิ่งธรรมดาของชีวิต จึงเข้าหาหลักธรรมเพื่อเป็นหลัก ยึดเหนี่ยวจิตใจ พร้อมเข้าสู่ความตายอย่างสงบ ซึ่งจะ เห็นได้โดยทั่วไปในสังคมว่าวัยผู้สูงอายุเป็นวัยที่มอง หาความสงบและมั่นคงทางจิตใจเป็นหลัก เข้าโบสถ์ วัด

251

มัสยิด หรือสถานที่ประกอบกิจทางศาสนามากขึ้น ซึ่ง สามารถอธิบายได้โดยใช้ทั้ง 3 มิติที่กล่าวมาข้างต้น ดังนัน้ ลักษณะงานทีเ่ หมาะสมกับวัยผูส้ งู อายุควรเป็นงาน ทีท่ ำ� โดยสมัครใจ และมีโอกาสได้ถา่ ยทอดประสบการณ์ ของตนให้กบั คนรุน่ หลัง เป็นงานทีท่ ำ� ประโยชน์ให้บคุ คล อื่นและสังคม เช่น อาจารย์พิเศษ ปราชญ์ชาวบ้าน ก่อตั้งมูลนิธิที่ท�ำประโยชน์ให้สังคม จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ ที่ให้ความรู้ในด้านต่างๆ เป็นต้น

ตารางที่ 4 สรุปลักษณะงานที่สอดคล้องกับสภาพทางจิตวิญญาณของผู้สูงอายุ คุณลักษณะผู้สูงอายุ - ให้ความส�ำคัญกับเรื่องจิตวิญญาณ ศาสนา เช่น ใฝ่ใน หลักธรรมศาสนามากกว่าสนใจวัตถุเงินทอง - เลือกท�ำกิจกรรมทางสังคมตามที่ตนต้องการ - ยึดตัวเองเป็นศูนย์น้อยลง ยอมรับข้อดีข้อเสียของตน และเปิดใจกว้างยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นมากขึ้น - มีเป้าหมายในชีวิตในทางโลกและทางวัตถุลดลง และ หากได้รับโอกาสได้ท�ำงานที่ตนต้องการ จะมุ่งมั่น ท�ำงานโดยใช้ความสามารถตนเพื่อเกิดประโยชน์ต่อ ผู้อื่น หน่วยงานองค์กรอย่างเต็มที่ - มีความปรารถนาที่จะบรรลุสัจจะแห่งตนตามทฤษฎี ล�ำดับขั้นความต้องการของ Maslow และเข้าสู่ภาวะ ธรรมทัศน์ตามทฤษฎี Gerotranscendence Theory ของ Tornstam

บทสรุป

จากการวิเคราะห์คุณลักษณะของผู้สูงอายุตามมุม มองทฤษฎีทางกายจิตสังคม ท�ำให้ทราบลักษณะงานที่ สอดคล้องกับผู้สูงอายุ เพื่อเป็นแนวทางให้กับผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้อง รวมทั้งตัวผู้สูงอายุเอง ในการพัฒนาคุณภาพ ชีวติ ในการท�ำงานต่อไป โดยในฐานะของผูป้ ระกอบการ ควรจัดงานและสภาพแวดล้อมการท�ำงานให้เหมาะสม กับผูส้ งู อายุ เช่น จัดหาเครือ่ งทุน่ แรงให้ผสู้ งู อายุทที่ ำ� งาน

ลักษณะงานที่เหมาะสม - งานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ศาสนา - งานอาสาสมัครที่ท�ำเพื่อสังคมส่วนรวม เช่น งานมูลนิธิ ที่ปรึกษาหน่วยงานองค์กรต่างๆ งานการกุศล งานบ�ำเพ็ญประโยชน์เพื่อสังคม - งานที่ได้ใช้ความรู้และประสบการณ์งานที่ผ่านมา มีโอกาส ได้ถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญา เช่น ปราชญ์ชาวบ้าน วิทยากรพิเศษ อาจารย์พิเศษ เป็นต้น - งานตามความสนใจ ที่ไม่มีข้อจ�ำกัดเรื่องเวลา ไม่มีเงื่อนไข และกฎระเบียบมากนัก - การจัดอบรมเกี่ยวกับงานและแนะแนวอาชีพ ควรจะมี เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เห็นโอกาสในการท�ำงาน น�ำเสนอ ทางเลือกที่หลากหลายและเหมาะสม เพื่อเปิดโอกาส ให้ได้เลือกท�ำงานตามความสนใจของตน เพื่อส่งเสริมให้ ผู้สูงอายุเกิดความพึงพอใจในชีวิต เข้าสู่ภาวะธรรมทัศน์ ในระดับสูง เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งในเรื่องงานและ ชีวิตส่วนตัว

ลักษณะเดียวกับผูท้ อี่ ยูใ่ นวัยแรงงานทัว่ ไป หลีกเลีย่ งงาน ทีต่ อ้ งใช้กำ� ลังและการเคลือ่ นไหวสูง พัฒนาศักยภาพของ ผูส้ งู อายุในการใช้เทคโนโลยี ในขณะเดียวกันต้องพัฒนา เทคโนโลยีที่เอื้อต่อผู้สูงอายุ ควรจัดเวลาท�ำงานให้มี ความยืดหยุ่น สามารถเลือกเวลาในการท�ำงานได้ ควร จัดให้มีการอบรมผู้สูงอายุงานโดยใช้หลักสูตรที่ต่อยอด กับทักษะหรือประสบการณ์เดิมที่มีอยู่แ ล้ว และจัด สวัสดิการด้านสุขภาพที่เหมาะสม สนับสนุนให้ผู้สูงอายุ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


252

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ที่ ยั ง มี ศั ก ยภาพในการท� ำ งานได้ ส ามารถปฏิ บั ติ ง าน ต่อตามศักยภาพที่มี เป็นต้น ส�ำหรับตัวผู้สูงอายุเอง จ�ำเป็นต้องฝึกฝนตนเองให้มีทักษะที่ทันสมัยอยู่เสมอ เปิดใจยอมรับสิ่งใหม่ และการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ดูแลรักษาสุขภาพกายและใจอย่างสม�่ำเสมอ ส�ำหรับ ผู ้ สู ง อายุ ที่ ป ระกอบธุ ร กิ จ ส่ ว นตั ว หรื อ อาชี พ อิ ส ระ จะต้องวิเคราะห์แนวโน้มความน่าสนใจต่อการลงทุน ส่วนหน่วยงานภาครัฐควรเร่งรัดการปฏิบตั ติ ามนโยบาย

หรือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุอย่างจริงจัง เช่น นโยบายการต่ออายุราชการข้อเสนอแนะในการ ศึกษาเกี่ยวกับการท�ำงานผู้สูงอายุควรมีการวิจัยพัฒนา โปรแกรมเพื่ อ ส่ ง เสริ ม ศั ก ยภาพในการท� ำ งาน และ เพิม่ คุณภาพชีวติ ของผูส้ งู อายุ ควรมีการวิจยั เพือ่ ประเมิน ผลการปฏิบัติงานตามนโยบาย หรือพระราชบัญญัติ เกี่ยวกับผู้สูงอายุ

บรรณานุกรม

งามตา วนินทานนท์. (2545). เอกสารค�ำสอนวิชา วป581 การถ่ายทอดทางสังคมกับพัฒนาการของมนุษย์. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. จิราภา เต็งไตรรัตน์. (2542). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ประพิศ จันทร์พฤกษา.(2537). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพและการมีส่วนร่วมในสังคมกับความพอใจในชีวิตของ ผู้สูงอายุไทย ในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปัทมา อมรสิริสมบูรณ์. (2535). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อภาวะการท�ำงานของผู้สูงอายุในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ สค.ม. (วิจัยประชากรและสังคม), มหาวิทยาลัยมหิดล. ปราโมทย์ วังสะอาด. (2530). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อสุขภาพจิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. (ประชากรศึกษา), มหาวิทยาลัยมหิดล. รวิวรรณ ลีมาสวัสดิ์กุล. (2547). การศึกษาเปรียบเทียบการเห็นคุณค่าในตนเอง ความว้าเหว่ และสุขภาพจิตของผู้สูง อายุในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านจันทบุรี. สารนิพนธ์ วท.ม. (จิตวิทยาพัฒนาการ), มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. ลดารัตน์ สาภินันท์. (2545). ภาวะธรรมทัศน์ในวัยสูงอายุและการเตรียมตัวเกี่ยวกับความตายของผู้สูงอายุ. วิทยานิพนธ์ พย.บ. (วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ลัดดา สุทนต์. (2551). การใช้ภมู ปิ ญ ั ญาของผูส้ งู อายุเพือ่ สนับสนุนการจัดกิจกรรมของชมรมผูส้ งู อายุ: ศึกษากรณีชมรม ผู้สูงอายุในเครือข่ายของสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทยฯ. วิทยานิพนธ์ สส.ม. (การบริหารและนโยบาย สวัสดิการสังคม), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2556). สรุปผลที่สําคัญการทํางานของผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2555. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2557, จาก http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/elderlywork55.pdf สมรักษ์ รักษาทรัพย์, กาญจนี กังวานพรศิริ และนงนุช อินทรวิเศษ. (2553). รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษา อาชีพและโอกาสที่จะได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมสอดคล้องกับผู้สูงอายุ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง. Czaja, S. J. (1999). Technological Change and the Older Worker. Handbook of the Psychology of Aging. Edited by Birren, J. E. & Schaie, K. W. 547-568. California: Academic Press. Erikson, E. H. (1968). Identity: Youth and Crisis. New York: Norton. Kanfer, R. & Ackerman, P. L. (2004). Aging, Adult Development, and Work Motivation. Academy of Management Review, 29(3), 440-458. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

253

Maslow, A. H. (1943). A Theory of Human Motivation. Psychological Review, 50(4), 370-396. Rudinger, G., et al. (1991). Aging and Modern Technology: How to Cope with Products and Services. Work and Aging: A European Perspective. Edited by Snel, J. & Cremer R. 163-172. London: Taylor & Francis. Tornstam, L. (1994). Gerotranscendence – a Theoretical and Empiricalexploration. Aging and Religious Dimension. Edited by Thomas, L. E. & Eisenhandler S. A., 203-225. Greenwood Publishing Group: Westport. Tornstam, L. (1996). Caring for the Elderly. Introducing the Theory of Gerotranscendence as a Supplementary Frame of Reference for Care of Elderly. Scandinavian Journal of Caring Sciences, 10, 144-150. Wadensten, B. (2005). Introducing Older People to the Theory of Gerotranscendence. Journal of Advanced Nursing, 52(4), 381–388.

Translated Thai References

Amornsirisomboon, P. (1992). Factors Related to Employment Status of Elderly in Thailand. Master’s Thesis (Population and Social Research), Mahidol University, Bangkok, Thailand. [in Thai] Chanpueksa, P. (1994). Relationship between Personality, Social Engagement and Life Satisfaction of Thai Elderly in Bangkok. Master’s Thesis (Applied Behavioral Science Research), Srinakharinwirot University, Bangkok, Thailand. [in Thai] Leemasawatkun, R. (2004). Comparative Study on Self-Esteem, Loneliness and Mental Health of the Elderly in Ban Chantaburi Elderly Home. Master’s Project (Developmental Psychology), Srinakharinwirot University, Bangkok, Thailand. [inThai] National Statistical Office. (2013). Key Finding of Elderly Work in Thailand. Retrieved June 1, 2014, from http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/elderlywork55.pdf [in Thai] Raksasap, S., Kangwanponsiri, K. & Intharawises, N. (2010). The Project of Suitable Occupation and Earned Income Opportunities in Accordance with Older Workers: Final Report (1st ed.). Bangkok: Research and Development Institute, Ramkhamhaeng University. [in Thai] Sapinun, L. (2002). Gerotranscendence and Death Preparation Among the Elderly. Master’s Thesis (Gerontological Nursing), Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand. [in Thai] Suton, L. (2008). Application of the Elderly Wisdom to support the programs of Senior Citizens Club : A Case Study in Senior Citizens Council of Thailand (SCCT). Master’s Thesis (Social Welfare Administration and Policy), Thammasat University, Bangkok. [in Thai] Tengtrirat, J. (1999). General Psychology. Bangkok: Thammasat University. [in Thai] Vanintanon, N. (2002). Textbook of RB 581 Socialization and Human Development. Bangkok: Behavioral Science Research Institute, Srinakharinwirot University. [inThai] Wangsaard, P. (1987). Factors Related to Psychological Health of Elderly in Municipal of Community Kalasin. Master’s Thesis (Population Education), Mahidol University, Bangkok, Thailand. [in Thai] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


254

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Thanayot Sumalrot received his Bachelor Degree of Sciences with the first class honors in Community Psychology from Kasetsart University in 2004. Later, he also received stipends for Siriraj Graduate Scholars and Siriraj Graduate Thesis Scholarship to study in master degree. In 2007, he graduated in Clinical Psychology from Mahidol University. He is currently a full time lecturer in Department of Psychiatry, Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University. HananmuhibbatuddinNochiSuksawai received her Bachelor Degree of Science (Biology) from Prince of Songkla University in 2004. In 2007, she graduated Master Degree of Education, major in Educational Psychology from Prince of Songkla University. She is currently a doctoral student of Applied Research in Behavioral Science, Srinakharinwirot University, and a full time lecturer in Faculty of Education, Prince of Songkla University.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

255

แนวโน้มเทคโนโลยีสมัยใหม่ส�ำหรับธุรกิจค้าปลีก NEW TECHNOLOGY TREND FOR RETAIL BUSINESS พรรณเชษฐ ณ ล�ำพูน1 และณัฐภัทรา สุรพงษ์รักตระกูล2 Phannachet Na Lamphun1 and Natthaphatthra Surapongruktakul2 บทคัดย่อ

ธุรกิจค้าปลีกจัดเป็นธุรกิจที่มีสัดส่วนที่ใหญ่เป็นอันดับสองรองจากอุตสาหกรรม ซึ่งจัดว่าเป็นธุรกิจที่มีการ แข่งขันกันสูง ปัจจุบนั การแข่งขันด้านสินค้าและราคาอย่างเดียวนัน้ อาจไม่เพียงพอ อีกทัง้ ยังมีรา้ นค้าปลีกออนไลน์ทใี่ ช้ ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในการท�ำธุรกิจทีล่ กู ค้าสามารถเลือกซือ้ สินค้าจากทีบ่ า้ นโดยไม่จำ� เป็นต้องเดินทางไปทีร่ า้ น เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายและยังประหยัดค่าเดินทาง ในการที่จะแข่งขันกับธุรกิจออนไลน์ ร้านค้าปลีกจึงจ�ำเป็นต้อง มีการบริการหรืออะไรที่ต่างออกไปเพื่อสร้างความแตกต่างและเป็นที่น่าสนใจมากขึ้นเพื่อดึงดูดลูกค้า ท�ำให้ลูกค้าเกิด ความสนใจและเลือกที่จะใช้บริการ เทคโนโลยีจึงเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ถูกเลือกน�ำมาใช้ในการสร้างความแตกต่าง ในตัวธุรกิจไม่ว่าจะเป็นด้านการบริการหรือการน�ำเสนอข้อมูลให้กับลูกค้าในรูปแบบใหม่ ซึ่งเทคโนโลยีได้มีการพัฒนา อย่างต่อเนื่องเพื่อให้ความสะดวกอีกทั้งยังสร้างความแตกต่างในการน�ำเสนอและบริการ โทรศัพท์สมาร์ทโฟนจัดเป็น หนึง่ ในอุปกรณ์ทจี่ ำ� เป็นในชีวติ ประจ�ำวัน นอกจากจะใช้ตดิ ต่อสือ่ สารแล้วยังสามารถน�ำมาใช้บริหารจัดการกิจกรรมอืน่ ได้อีกด้วย ซึ่งโทรศัพท์สมาร์ทโฟนนั้นจัดเป็นเทคโนโลยีที่ได้รับการพัฒนาให้สามารถประยุกต์ใช้งานได้หลากหลาย รูปแบบในหลายธุรกิจรวมถึงธุรกิจค้าปลีก บทความวิชาการนี้จัดท�ำขึ้นเพื่อน�ำเสนอเทคโนโลยีใหม่ที่น�ำมาใช้ในธุรกิจ เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้งาน สร้างความน่าสนใจและความได้เปรียบทางธุรกิจ ค�ำส�ำคัญ: รถเข็นอัจฉริยะ ระบบบริการ ณ จุดขายแบบพกพา ร้านเสมือนจริง การผสานเอาโลกแห่งความเป็นจริง เข้ากับโลกเสมือน การสื่อสารไร้สายระยะสั้น

Abstract

Retail Business is the second largest industry, with a high competitive business rating. Relying on product and price advantages alone may not be adequate in the present competition. On the other hand, online retail business enables customers to purchase from home, without the necessity to travel to stores, thus, providing convenience and saving travelling expenses. As a result, it has become essential that conventional retail business provide services in such a way that would be different and attractive to customers who would be interested in choosing their services. Technology is, therefore, the key factor chosen to differentiate this business from others in services or innovation in information dissemination to customers. Technology has been continuously developed to provide convenience and create unique presentation and services. The Smartphone is not only an essential daily-life device for communication, but also for the management of various activities. Through the 1 2

Lecturer of Engineering and Technology Panyapiwat Institute of Management, Email: phannachetnal@pim.ac.th Master Degree Student National Institute of Development Administration, Email: mamealna@gmail.com ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


256

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

application that can be installed, smart phone could now be applied to a variety of fields including Retail Business. The purpose of this article is to present new technology that can be used in business to make the process more convenient, interesting, and lend a competitive edge to business. Keywords: Smart Cart, Mobile POS, Virtual Store, Augmented Reality, Near Field Communication

บทน�ำ

ธุรกิจค้าปลีกเป็นธุรกิจที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว และมีการพัฒนาเปลีย่ นแปลงรูปแบบตลอดเวลา นับเป็น หนึง่ ในธุรกิจทีม่ คี วามส�ำคัญต่อภาคธุรกิจและใกล้ชดิ กับ ผูบ้ ริโภคมากทีส่ ดุ เป็นธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับการขายสินค้า ผลิตภัณฑ์ให้กับผู้บริโภคโดยตรงเพื่อตอบสนองความ ต้องการของผู้บริโภค (อนุศาสตร์ สระทองเวียน, 2553) โดยธุรกิจค้าปลีกบางประเภทเป็นธุรกิจที่ใกล้ชิดกับ ผู้บริโภคมากกว่าธุรกิจอื่น เช่น ธุรกิจที่จ�ำหน่ายเครื่อง อุปโภคบริโภคและเครื่องใช้ประจ�ำวันเนื่องจากได้รับ ความนิยมเป็นอย่างมากท�ำให้เกิดการแข่งขันกันอย่างสูง จึงได้มีการน�ำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิ ท ธิ ผ ลในการบริ ห ารจั ด การตลอดจนการ บริการและขายสินค้าแก่ผู้บริโภค โดยเทคโนโลยีมีผล ต่อการท�ำธุรกิจอย่างมาก ยกตัวอย่างเช่น กรณีร้าน สะดวกซื้อ ในการให้บริการลูกค้าหนึ่งคนโดยไม่มีเครื่อง บริการ ณ จุดขาย (Point of Sale: POS) ใช้เวลา 5 นาที ในการค�ำนวณและออกใบเสร็จ ในหนึง่ ชัว่ โมงจะสามารถ บริการได้ 12 คน และในหนึ่งวันจะสามารถบริการได้ 288 คน แม้ว่าจะขายดีและต้องการขายมากเท่าไรก็ ไม่สามารถซือ้ เวลาเพิม่ ได้ แต่เมือ่ ใช้เครือ่ ง POS สามารถ ลดระยะเวลาในการท�ำงาน คือ ใช้เวลาให้บริการลูกค้า 1-3 นาทีต่อคน ซึ่งวันนึงสามารถบริการได้ถึง 600 คน ดังนั้นจ�ำนวนที่สามารถให้บริการได้มากขึ้นหมายถึง รายรับที่มากขึ้นตามไปด้วย จากตัวอย่างสามารถแสดง ให้เห็นว่าเทคโนโลยีนั้นมีความส�ำคัญต่อธุรกิจค้าปลีก ปัจจุบนั มีการแข่งขันทางธุรกิจอย่างสูงดังนัน้ เพือ่ ให้ องค์กรสามารถแข่งขันในตลาดได้ จึงได้มกี ารพัฒนาและ น�ำเทคโนโลยีมาใช้อย่างรวดเร็ว จากการส�ำรวจของ PWC (Pricewaterhouse Coopers International Limited) พบว่า 80% ของ CEO เชื่อว่าเทคโนโลยีและ

นวัตกรรมมีส่วนช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการแข่งขัน เกือบ 70% ของผลส�ำรวจพบว่าจากการลงทุนด้าน เทคโนโลยี ส ารสนเทศนั้ น ช่ ว ยลดค่ า ใช้ จ ่ า ยและเพิ่ ม ประสิทธิภาพให้กับธุรกิจ ผลส�ำรวจยังพบว่าองค์กรได้มี การเติบโตจากการใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยีใหม่ เช่น เทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือ และสื่อสังคมออนไลน์ถึง 54% (PWC Advisory, 2555) จากข้อมูลแสดงให้ เห็นว่าเทคโนโลยีมผี ลต่อองค์กรและธุรกิจ แต่การจะน�ำ เทคโนโลยีมาใช้นั้นมีค่าใช้จ่ายที่ต้องเสีย ไม่ว่าจะเป็นค่า เทคโนโลยี การอบรม การดูแลรักษา ดังนั้นก่อนจะน�ำ เทคโนโลยีมาใช้จึงจ�ำเป็นต้องเข้าใจตัวเทคโนโลยีและ วัตถุประสงค์ขององค์กรที่ต้องการใช้เทคโนโลยีนั้น วัตถุประสงค์ในการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในธุรกิจนัน้ มี หลากหลาย จากงานวิจัยของชนาสิน ธาราพิตร (2556) สามารถแยกวัตถุประสงค์ออกได้เป็น 4 หัวข้อดังนี้ • สร้างมูลค่าให้สินค้าและบริการดูทันสมัย โดย การน�ำเทคโนโลยีมาช่วยในการน�ำเสนอสือ่ และ ข้อมูลในรูปแบบที่น่าสนใจและดึงดูดมากขึ้น นอกจากนั้นยังสามารถน�ำเทคโนโลยีมาใช้ใน การบริการลูกค้าเพื่อความสะดวกสบายมากขึ้น • ลดค่าใช้จา่ ย เช่น ค่าใช้จา่ ยในการประสานงาน การดูแลรักษาสินค้า เทคโนโลยีสามารถช่วย ลดค่าใช้จ่ายส�ำหรับธุรกิจค้าปลีกได้ ไม่ว่าจะ เป็นการบุคลากร การประสานงาน ตลอดจน การสูญหายของสินค้า • เพิม่ โอกาสทางธุรกิจให้สามารถท�ำการตลาดได้ มากขึ้ น ซึ่ ง การน� ำ เทคโนโลยี ม าใช้ ท� ำ ให้ สามารถเข้าถึงผู้บริโภคจ�ำนวนมากได้อย่าง รวดเร็ ว และสามารถสื่ อ สารกั บ ผู ้ บ ริ โ ภค ได้ ห ลากหลาย ยกตั ว อย่ า งเช่ น พาณิ ช ย์ อิเล็กทรอนิกส์

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

• เพื่อปรับปรุงการบริหารเพิม่ ประสิทธิภาพการ ท� ำ งานและการประสานงาน เทคโนโลยี สามารถช่วยให้ประสานงานกันได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว จากวัตถุประสงค์ 4 ข้อนี้แสดงให้เห็นว่าเทคโนโลยี มีความส�ำคัญส�ำหรับการท�ำธุรกิจ โดยวัตถุประสงค์ของ บทความวิชาการนีเ้ พือ่ น�ำเสนอเทคโนโลยีใหม่ ทีส่ ามารถ น�ำมาใช้กบั ธุรกิจค้าปลีก ได้แก่ รถเข็นอัจฉริยะ เครือ่ งบริการ ณ จุดขายแบบพกพา เทคโนโลยีการผสานเอาโลกแห่ง ความเป็นจริงเข้ากับโลกเสมือน ร้านเสมือนจริง และ เทคโนโลยีการสือ่ สารระยะสัน้ เพือ่ อธิบายแนวคิดการน�ำ ไปใช้ และประโยชน์ที่สามารถช่วยอ�ำนวยความสะดวก ให้แก่ผู้ใช้งาน ไม่ว่าจะเป็นลูกค้าหรือเจ้าของกิจการ อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถช่วยสร้างข้อแตกต่างและความได้ เปรียบในธุรกิจ รถเข็นอัจฉริยะ (Smart Cart) รถเข็นอัจฉริยะเป็นนวัตกรรมต่อยอดของรถเข็นใส่ สินค้าธรรมดา โดยพัฒนาให้สามารถท�ำงานได้หลาก หลายรูปแบบมากขึ้นเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของ ผู้บริโภค เนื่องจากร้านค้าปลีกบางร้านมีพื้นที่กว้างและ จ�ำนวนสินค้าที่มากมาย อีกทั้งรูปแบบการจัดร้านของ แต่ละร้านหรือสาขานั้นไม่เหมือนกัน จึงท�ำให้บางครั้ง ผู้บริโภคเกิดปัญหาในเรื่องการค้นหาสินค้าที่ต้องการ การเดินหาสินค้าเหล่านั้นอาจท�ำให้ผู้บริโภคเสียเวลา อีกทัง้ ยังไม่สามารถทราบได้วา่ สินค้านัน้ ยังมีขายอยูห่ รือ ไม่ รถเข็นอัจฉริยะจึงถูกพัฒนาเพื่อตอบสนองต่อปัญหา ที่เกิดขึ้น โดยการผสมผสานระหว่างรถเข็นทั่วไปกับตัว รับ และแสดงผลข้อมูลในรูปแบบหน้าจอดังแสดงในรูป ที่ 1 โดยรถเข็นอัจฉริยะมีหน้าจอเพือ่ แสดงผลข้อมูล และ ยังเป็นรูปแบบหน้าจอระบบสัมผัสเพื่อโต้ตอบกับผู้ใช้ (Udita Gangwal, Sanchita Roy & Jyotsna Bapat, 2556) และ (Ghadi Sebaali, Samer Hodroj & Daniela Ashoush, 2014) ตัวอย่างการท�ำงานของ ระบบรถเข็นอัจฉริยะสามารถดูได้จาก http://www. youtube.com/watch?v=7QvktffdVp4

257

รูปที่ 1 รถเข็นอัจฉริยะ (Smart Cart) ที่ ม า: http://www.front-technologies.com/ Solutions.html รูปแบบการท�ำงานของรถเข็นอัจฉริยะ • ระบบสแกน: ตั ว รถเข็ น อั จ ฉริ ย ะติ ด ตั้ ง ตั ว สแกนไว้กับตัวรถเพื่อให้ผู้ใช้สามารถสแกน ดูรายละเอียดของสินค้าเช่นราคาหรือโปรโมชัน่ เมื่อผู้ใช้เจอสินค้าที่ต้องการก็สามารถสแกน สินค้าตัวนั้นแล้ววางไว้ในรถเข็น โดยตัวระบบ นี้ จ ะคอยบอกผู ้ ใช้ ว ่ า ตอนนี้ ร ถเข็ น มี สิ น ค้ า อยู่จ�ำนวนกี่ชิ้นเป็นราคาเท่าไหร่ ดังแสดง ในรูปที่ 2

รูปที่ 2 หน้าจอระบบสัมผัสแสดงข้อมูลที่สแกน • ระบบน�ำทาง: ผู้ใช้งานสามารถใส่รายละเอียด สิ น ค้ า จากทางหน้ า จอหรื อ จากการสแกน รายการที่ ต ้ อ งซื้ อ จากนั้ น ตั ว รถเข็ น อั จ ฉริ ย ะ สามารถช่ ว ยน� ำ ทางผู ้ ใ ช้ ง านไปยั ง สิ น ค้ า ที่ ต้องการเพื่อเป็นการประหยัดเวลาแก่ผู้ใช้งาน ตัวระบบจะแสดงว่า ตอนนี้รถเข็นอยู่ ณ จุดไหน แล้วสินค้าอยู่ที่ใดบนหน้าจอ ดังแสดงในรูปที่ 3

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


258

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

รูปที่ 5 รายการซื้อของ

รูปที่ 3 หน้าจอค้นหาสินค้าและระบบน�ำทาง • ระบบแสดงโปรโมชั่น: เมื่อหน้าจอไม่ได้ใช้งาน ตัวหน้าจอสามารถใช้แสดงโปรโมชั่น ซึ่งการ แสดงข้อมูลอย่างต่อเนือ่ งนีส้ ามารถส่งมอบสือ่ ที่ผู้ใช้งานอาจจะสนใจเพื่อเพิ่มโอกาสในการ ขายสินค้าได้อีกด้วย ดังแสดงในรูปที่ 4

รูปที่ 4 หน้าจอแสดงโปรโมชั่น • ระบบรายการซื้ อ ของ: ตั ว รถเข็ น อั จ ฉริ ย ะ สามารถจัดท�ำหรือน�ำเข้ารายการซื้อของเพื่อ ให้ผู้ใช้งานสามารถซื้อสินค้าได้ครบถ้วนตาม ความต้องการ ระบบนี้มีไว้ช่วยเตือนความจ�ำ ให้ กั บ ผู ้ ใช้ ง านว่ า ต้ อ งซื้ อ สิ น ค้ า อะไรบ้ า ง ดังแสดงในรูปที่ 5

ประโยชน์ส�ำหรับรถเข็นอัจฉริยะต่อธุรกิจค้าปลีก รถเข็นอัจฉริยะนั้นสามารถสร้างมูลค่าแก่สินค้า และบริการต่อร้านค้าปลีกได้โดยการอ�ำนวยความสะดวก แก่ผู้บริโภคมากขึ้น อีกทั้งยังสามารถสร้างโอกาสทาง การตลาดผ่านหน้าจอทีต่ ดิ กับตัวรถได้อกี ด้วย เปรียบได้ กับผู้ช่วยส่วนตัวในร้านสะดวกซื้อที่สามารถให้ข้อมูล รายละเอี ย ดและยั ง น� ำ ทางไปหาสิ น ค้ า ที่ ต ้ อ งการได้ อีกด้วย ประโยชน์ต่อร้านค้าปลีกโดยสามารถสร้างความ แตกต่ า งในการแข่ ง ขั น จากการใช้ เ ทคโนโลยี ใ หม่ และสามารถเก็ บ ข้ อ มู ล รายละเอี ย ดของลู ก ค้ า และสิ น ค้ า ที่ ลู ก ค้ า ซื้ อ เพื่ อ น� ำ ไปวิ เ คราะห์ แ ละจั ด ท� ำ โปรโมชั่ น ส่ ง เสริ ม การขาย สามารถเพิ่ ม ยอดขาย จากการโฆษณาและน�ำเสนอโปรโมชั่นที่อาจตรงตาม ความต้ อ งการของผู ้ ซื้ อ อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถเพิ่ ม รายได้ จากการโฆษณา ประโยชน์จากการโฆษณาโดยสามารถส่งมอบสื่อ ที่ เ หมาะสม และตรงตามความต้ อ งการของลู ก ค้ า ได้ตลอดเวลา ลูกค้าสามารถรับสื่อได้ตามความต้องการ และครบถ้ ว นเพราะเป็ น รู ป แบบการน� ำ เสนอแบบ หนึ่ ง ต่ อ หนึ่ ง ประโยชน์ ต ่ อ ผู ้ บ ริ โ ภคโดยให้ บ ริ ก ารที่ แปลกใหม่และอ�ำนวยความสะดวกแก่ลูกค้า ช่วยให้ สามารถบริหารการซื้อสินค้า และการใช้เงินได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น สามารถตรวจสอบข้อมูลสินค้า รวมถึงโปรโมชั่นก่อนการตัดสินใจซื้อได้ และลูกค้า จะรู้สึกเหมือนมีผู้ช่วยคอยดูแลตลอดการซื้อสินค้า

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

เครื่องบริการ ณ จุดขายแบบพกพา (Mobile Point of Sale) เครือ่ งบริการ ณ จุดขายแบบพกพา (Mobile Point of Sale: MPOS) เป็นนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้ สามารถท�ำธุรกิจที่ต้องมีการท�ำธุรกรรมได้ทุกที่ทุกเวลา โดยเปลี่ยนมือถือสมาร์ทโฟนให้กลายเป็นเครื่องบริการ ณ จุดขายที่ผู้ใช้สามารถท�ำการช�ำระค่าสินค้าผ่านตัว โทรศัพท์สมาร์ทโฟน โดยอุปกรณ์ประกอบด้วย โทรศัพท์ สมาร์ ท โฟนหรื อ ตั ว แท๊ ป เล็ ต ตั ว โปรแกรมประยุ ก ต์ และตัวฮาร์ดแวร์ที่ใช้รับข้อมูลจากบัตรเพื่อช�ำระสินค้า ดังแสดงในรูปที่ 6 ด้วยการแปลงโทรศัพท์สมาร์ทโฟน ให้เป็นเครื่องบริการ ณ จุดขาย ท�ำให้สามารถพกพา ได้สะดวกและเพิม่ โอกาสทางธุรกิจได้มากขึน้ (Verifone, 2554) และในขณะเดียวกันก็ยังเพิ่มความปลอดภัย ให้กับการท�ำธุรกรรม

259

เสริมที่ใช้ในการอ่านข้อมูลจากบัตรเครดิต และส่วน ที่สามจะเป็นโปรแกรมประยุกต์ที่ใช้คู่กับตัวฮาร์ดแวร์ เสริมเพื่อให้ตัวสมาร์ทโฟนหรือแท๊ปเล็ตกับตัวอุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์เสริมสามารถท�ำงานร่วมกันได้ โดยเมือ่ ต้องการ ใช้งานระบบบริการ ณ จุดขายแบบพกพา ผู้ใช้งานก็จะ น�ำฮาร์ดแวร์เสริมมาเชื่อมต่อกับโทรศัพท์สมาร์ทโฟน หรือแท๊ปเล็ต ตัวโปรแกรมประยุกต์ก็จะเริ่มต้นท�ำงาน ผู้ใช้สามารถใส่ข้อมูลสินค้า รายละเอียด และราคาได้ เมื่ อ ท� ำ การใส่ ร ายละเอี ย ดแล้ ว ขั้ น ตอนต่ อ ไปผู ้ ใช้ ก็จะน�ำบัตรเครดิตของลูกค้ามารูดกับตัวฮาร์ดแวร์เสริม เหมือนกับการรูดผ่านตัวอ่านการ์ดทั่วไป ลูกค้าสามารถ เซ็นผ่านหน้าจอเพื่อเป็นการยืนยันตัวบุคคลส�ำหรับ จบการซื้อขาย ดังแสดงในรูปที่ 7

รูปที่ 7: หน้าจอระบบบริการ ณ จุดขายแบบพกพา และหน้าจอเซ็นชื่อส�ำหรับลูกค้า ที่มา: www.firstdata.com รูปที่ 6 ระบบบริการ ณ จุดขายแบบพกพา ที่มา: http://www.firstdata.com การท�ำงานของระบบบริการ ณ จุดขายแบบพกพา ปั จ จุ บั น ได้ มี ห ลายบริ ษั ท พั ฒ นาระบบบริ ก าร ณ จุดขายแบบพกพา ได้แก่ MasterCard (http://www. mastercard.com) Verifone (http://www.verifone. com) FirstData (http://www.firstdata.com/) ซึ่ง รูปแบบและขัน้ ตอนการท�ำงานจะค่อนข้างคล้ายคลึงกัน โดยจะมีส่วนประกอบหลักสามส่วน ส่วนแรกจะเป็น ตั ว โทรศั พ ท์ ส มาร์ ท โฟนหรื อ แท๊ ป เล็ ต ที่ ส ามารถลง โปรแกรมประยุกต์ได้ ส่วนที่สองตัวฮาร์ดแวร์อุปกรณ์

ประโยชน์ของระบบบริการ ณ จุดขายแบบพกพา ระบบบริการ ณ จุดขายแบบพกพา สามารถสร้าง ประโยชน์ให้กบั ธุรกิจค้าปลีกได้อย่างมาก โดยผูป้ ระกอบ การธุรกิจค้าปลีกไม่จ�ำเป็นต้องซื้อเครื่อง POS เพื่อใช้ ในการท�ำธุรกรรมหรือบริการลูกค้า ด้วยการเปลี่ยน โทรศัพท์สมาร์ทโฟนให้เป็นระบบบริการ ณ จุดขายแบบ พกพา ผู้ประกอบการสามารถพกพาตัวเครื่องได้อย่าง สะดวกซึง่ สามารถสร้างโอกาสในการขาย ผูข้ ายสามารถ ขายสิ น ค้ า จากต� ำ แหน่ ง ใดก็ ไ ด้ ใ นร้ า นหรื อ นอกร้ า น ท�ำให้ไม่ต้องมีการเข้าคิวยืนรอ หรือกีดขวางการจราจร ภายในร้าน อีกทั้งตัวระบบมีการเข้ารหัสเพื่อป้องกัน ข้อมูลท�ำให้สามารถท�ำการซื้อขายได้อย่างปลอดภัย

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


260

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

การผสานเอาโลกแห่งความเป็นจริงเข้ากับโลกเสมือน (Augmented Reality) เทคโนโลยีการผสานเอาโลกแห่งความเป็นจริงเข้า กั บ โลกเสมื อ น (Augmented Reality: AR) เป็ น เทคโนโลยี ที่ ผ สมผสานโลกแห่ ง ความเป็ น จริ ง กั บ โลกเสมือนเข้าด้วยกัน โดยการเพิ่มชั้นของข้อมูลให้ แสดงภาพในโลกแห่งความเป็นจริงผ่านทางอุปกรณ์ เช่น กล้องของสมาร์ทโฟนหรือกล้องคอมพิวเตอร์ทำ� ให้แสดง ข้อมูลดิจติ อลในโลกแห่งความเป็นจริง โดยหลักการแล้ว จะประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ด้วยกัน (Ronald T. Azuma, 1997) • Combines real and virtual คื อ การ ผสมผสานกันระหว่างภาพจ�ำลอง และภาพจริง โดยการแสดงผลของภาพจ�ำลองเมื่อตัวระบบ จับภาพตามทีไ่ ด้ตงั้ ค่าไว้ เช่น โปสเตอร์ โบรชัวร์ แคตตาล็อก นามบัตร หรือสถานที่ เมื่อตัว โปรแกรมจับภาพที่ได้ตั้งค่าไว้ ตัวระบบก็จะ แสดงภาพ 3 มิติขึ้นมา ดังแสดงในรูปที่ 8 เมื่อ มองสถานที่ผ่านกล้องของสมาร์ทโฟนจะเห็น รายละเอียดของสถานที่ในรูปแบบ 3 มิติ

ขั้นตอนการท�ำงานของ Augmented Reality การท�ำงานของ Augmented Reality ประกอบ ด้วยสีส่ ว่ น ส่วนประกอบแรกคือโทรศัพท์สมาร์ทโฟนหรือ คอมพิวเตอร์ที่มีกล้อง เพื่อใช้ในการรับข้อมูลเข้าและ แสดงผลในรูปแบบ 3 มิติ บนหน้าจอ ส่วนที่สอง ตัววัตถุ ทีเ่ ราต้องการน�ำมาใช้สำ� หรับให้กล้องจับภาพ ส่วนทีส่ าม ตัวภาพ 3 มิติที่ต้องการให้แสดงหลังจากเอาโทรศัพท์ สมาร์ ท โฟนหรื อ กล้ อ งจั บ ที่ วั ต ถุ ห รื อ ภาพนั้ น และ ส่วนที่สี่ ตัวโปรแกรมที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างวัตถุกับ ภาพ 3 มิติ โดยเริ่มแรกผู้ใช้ต้องเข้าไปในโปรแกรม ประยุกต์ที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างตัววัตถุกับภาพ 3 มิติ และเมื่อน�ำมือถือสมาร์ทโฟนหรือกล้องคอมพิวเตอร์ มาจับที่ตัววัตถุหรือภาพ หน้าจอจะแสดงผล 3 มิติ ยกตัวอย่างเช่น การน�ำเทคโนโลยี AR มาประยุกต์ใช้กับ แคตตาล็อกทั่วไปเพื่อให้สามารถน�ำเสนอข้อมูลผ่านสื่อ ในรูปแบบใหม่ ดังตัวอย่างของแคตตาล็อกโทรศัพท์ มือถือ Bouygues Telecom บุคคลทั่วไปสามารถน�ำ โทรศัพท์สมาร์ทโฟนหรือคอมพิวเตอร์มาจับภาพตัว แคตตาล็อกได้ จากนั้นหน้าจอจะแสดงภาพ 3 มิติของ สินค้าที่อยู่ในหน้านั้นและยังแสดงตัวอย่างการท�ำงาน ของสินค้าชิ้นนั้น ในรูปแบบภาพเคลื่อนไหว ผู้ใช้งาน ยังสามารถโต้ตอบกับตัว AR โดยสามารถเปลีย่ นให้แสดง ข้อมูลรายละเอียดของมือถือรุ่นอื่นได้อีกด้วย ท�ำให้ ผู้ใช้งานสามารถเข้าใจรายละเอียดได้มากขึ้น และสนใจ ที่จะติดตามสื่อที่น�ำเสนอ ดังแสดงในรูปที่ 9

รูปที่ 8 การผสมผสานระหว่างภาพจ�ำลองและภาพจริง ที่ ม า: http://conversations.nokia.com/tag/ augmented-reality/ • Registered in 3-D คือ การแสดงผล โดยจะ แสดงผลในรูปแบบ 3 มิติ เพื่อให้การแสดงผล มีความสมจริงและน่าดึงดูดมากขึ้น • Interactive in Real คือ ความสามารถในการ ตอบสนองกับตัวแสดงผล 3 มิติได้

รูปที่ 9 Bouygues Telecom Augmented Reality Catalog ที่มา: http://www.youtube.com/watch?v=J9g DR4JCXdw

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

ปัจจุบนั เทคโนโลยี AR สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ใน ธุรกิจค้าปลีกได้หลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการน�ำมาใช้ ในการน�ำเสนอข้อมูลเพิ่มเติมให้กับตัวสินค้า ผู้สนใจ สามารถรับข้อมูลเพิม่ เติมเพือ่ ประกอบการตัดสินใจ หรือ น�ำมาใช้แสดงสินค้าในรูปแบบสามมิติเพื่อให้ผู้สนใจ เห็นภาพของสินค้าได้อย่างชัดเจนมากขึ้น เช่น แสดง รูปจ�ำลองของสินค้าจากกล่องบรรจุภณ ั ฑ์ เพือ่ สร้างความ น่ า สนใจและเข้ า ใจในตั ว สิ น ค้ า มากขึ้ น ยกตั ว อย่ า ง ผลิตภัณฑ์เลโก้ (Lego) ตัวสินค้าเป็นบล็อคที่สามารถ น�ำมาประกอบเพื่อสร้างชิ้นงานต่างๆ โดยมีรูปชิ้นงาน ที่เมื่อประกอบเสร็จสิ้นอยู่รอบๆ กล่อง แต่รูปนั้นเป็น รูปภาพ 2 มิติ ผูซ้ อื้ อาจจะไม่เห็นภาพทัง้ หมด เมือ่ น�ำ AR มาประยุกต์ใช้ ผูใ้ ช้สามารถน�ำกล่องบรรจุภณ ั ฑ์ของเลโก้ มาดู ผ ่ า นกล้ อ งเพื่ อ แสดงชิ้ น งานเมื่ อ ประกอบส� ำ เร็ จ ในรูปแบบ 3 มิติ เพื่อให้ผู้ซื้อสามารถมองได้ทุกมุมของ สินค้าดังแสดงในรูปที่ 10 และสามารถน�ำมาใช้ทดลอง สินค้าแทนสินค้าจริง โดยผู้สนใจไม่จ�ำเป็นต้องเดินทาง ไปทดลองที่ร้าน เช่น ห้องลองเสื้อในรูปแบบ AR โดย ผู้สนใจสามารถทดลองเสื้อจากที่ไหนก็ได้ ไม่จ�ำเป็นต้อง เดินทางไปลองที่ร้าน สามารถเลือกรูปแบบและขนาด ดังรูปที่ 11

รูปที่ 10 การน�ำ Augmented Reality มาใช้ในการให้ข้อมูลสินค้า ทีม่ า: http://nusocialimc.blogspot.com/2011/11/ augmented-reality-new-opportunity-for.html

261

รูปที่ 11 การน�ำ Augmented Reality มาทดลองใช้กับห้องลองเสื้อจาก ที่มา: http://weareorganizedchaos.com/category/ zugara_news/ ประโยชน์จากการใช้ Augmented Reality ในธุรกิจ ค้าปลีก เมื่อน�ำ Augmented Reality มาประยุกต์ใช้ ในธุรกิจค้าปลีก สามารถช่วยเพิ่มมูลค่าของสินค้าและ บริการ ท�ำให้สามารถน�ำเสนอสื่อในรูปแบบที่น่าสนใจ และดึงดูดใจได้มากขึน้ จากแคตตาล็อกธรรมดาสามารถ เปลี่ ย นแปลงรู ป แบบเป็ น แคตตาล็ อ กแสดงสิ น ค้ า ในรูปแบบ 3 มิติ ทีส่ ามารถให้รายละเอียดได้มากขึน้ และ ยังสามารถโต้ตอบกับสือ่ นัน้ ได้ ท�ำให้สามารถสร้างโอกาส ทางการตลาดได้ ม ากขึ้ น นอกจากนี้ Augmented Reality ยังสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายจากการเสียหาย หรือสูญหายของสินค้า เช่น สินค้าเครื่องนุ่งห่มที่ลูกค้า สามารถทดลองสวมใส่ได้นั้น ในบางครั้งสินค้าอาจเกิด ความเสียหายจากการทดลองหรือถูกขโมย เทคโนโลยี Augmented Reality ท�ำให้ลกู ค้าสามารถทดลองสินค้า เสมือนสวมใส่อยู่จริง ท�ำให้ลูกค้าเห็นได้ว่าถ้าสวมใส่ ชุดนั้นจะเป็นอย่างไร โดยสินค้านั้นจะไม่ได้รับความ เสียหายจากการทดลอง ร้านเสมือนจริง (Virtual Store) ร้านเสมือนจริงหรือ Virtual Store เป็นการท�ำ ธุรกิจแบบไม่มหี น้าร้าน แต่มชี อ่ งทางในการท�ำธุรกิจผ่าน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


262

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

เครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยลูกค้าสามารถเลือกสั่งซื้อ สินค้าจากทางร้านผ่านระบบ online โดยที่ไม่ต้องเดิน ทางไปที่ร้าน (Lingyun Qiu, Zhenhui Jiang & Izak Benbasat, 2549) ตัวร้านค้าเสมือนสามารถแสดง รายละเอียดสินค้าทั้งหมดที่ร้านค้าจริงมีอยู่ ด้วยความ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ท�ำให้ลูกค้าสามารถใช้โทรศัพท์ มือถือสมาร์ทโฟนในการสั่งซื้อสินค้าหรือท�ำธุรกรรมได้ อย่างรวดเร็วทุกที่ทุกเวลา ยกตัวอย่าง Homeplus Smart Virtual Store ในประเทศเกาหลี ที่ถือได้ว่าเป็น Smart Store แห่งแรกที่ได้รับความนิยมและประสบ ความส�ำเร็จอย่างสูงเพราะเป็นการน�ำเสนอร้านค้าปลีก แบบไม่มีหน้าร้านในสถานที่ที่ผู้บริโภคผ่านไปผ่านมา หรือต้องหยุดรอ เพื่ออ�ำนวยความสะดวกและสามารถ เข้าถึงผูบ้ ริโภคได้มากขึน้ ในขณะทีส่ ามารถลดค่าใช้จา่ ย ที่ต้องใช้ในการเปิดร้านสาขาใหม่ ค่าพนักงาน และค่า บริหารจัดการ (http://www.tescoplc.com/) โดย Homeplus ได้จัดท�ำโปสเตอร์แสดงสินค้า รายละเอียด และราคาขนาดใหญ่ น�ำไปติดที่สถานีรถไฟ ดังแสดง ในรูปที่ 12 โดยรูปแบบของร้านค้าเสมือนจริงนี้ช่วย เพิ่มความสะดวกสบายและท�ำให้ประชาชนที่ใช้บริการ รถไฟฟ้าใต้ดินสามารถสั่งซื้อสินค้าระหว่างที่รอรถไฟฟ้า ผ่ า นทางสมาร์ ท โฟน เมื่ อ ลู ก ค้ า ท� ำ การสั่ ง ซื้ อ สิ น ค้ า ผ่านทางระบบออนไลน์แล้ว สินค้าจะส่งไปให้กับผู้ซื้อ ตามเวลาที่ลูกค้าระบุไว้

รูปที่ 12 Homplus Smart Virtual Store ในประเทศเกาหลี ที่มา: http://www.flashfly.net/wp/?p=8642

ขั้นตอนการท�ำงานของร้านเสมือนจริง การซือ้ ขายผ่านร้านเสมือนจริงคล้ายกับการซือ้ ของ ผ่านอินเทอร์เน็ต โดยเปลี่ยนจากการที่ลูกค้าต้องเลือก และสั่งซื้อสินค้าจากหน้าจอเป็นการเลือกซื้อสินค้าจาก รูปจ�ำลองทีใ่ ห้บรรยากาศการซือ้ เทียบเท่ากับการซือ้ ของ จริง โดยการท�ำงานจะประกอบด้วยสามส่วน • โทรศัพท์สมาร์ทโฟนเพื่อใช้เป็นช่องทางเชื่อม ต่อกับร้านเสมือนจริง • ภาพรายละเอียดสินค้าพร้อมตัวสแกน • โปรแกรมประยุกต์ทใี่ ช้เชือ่ มต่อไปทีร่ า้ นเสมือน จริงเพื่อท�ำธุรกรรม ดังนั้นเมื่ออยู่ในพื้นที่ของร้านเสมือนจริงผู้ใช้งาน สามารถเปิดโปรแกรมประยุกต์แล้วน�ำโทรศัพท์สมาร์ทโฟนมาสแกนที่ตัวบาร์โค้ด หรือ QR โค้ด โปรแกรมก็ จะบันทึกรายละเอียดสินค้าชิ้นนั้นใส่ตระกร้าในระบบ เมื่อลูกค้าเสร็จสิ้นการเลือกซื้อสินค้าก็ท�ำการช�ำระค่า สินค้าด้วยบัตรเครดิตผ่านทางระบบ ประโยชน์ของร้านเสมือนจริงส�ำหรับธุรกิจ ในการท�ำร้านเสมือนจริงสามารถสร้างประโยชน์ ส� ำ หรั บ ธุ ร กิ จ ได้ ห ลากหลาย สามารถลดค่ า ใช้ จ ่ า ย ในการเปิดร้านหรือตั้งสาขาใหม่ เจ้าของกิจการสามารถ เปิดร้านสาขาใหม่ดว้ ยการลงทุนทีต่ ำ�่ กว่าเดิม นอกจากนัน้ ยังลดค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการสินค้าภายในร้าน เนื่ อ งจากตั ว สิ น ค้ า ทั้ ง หมดเป็ น แค่ รู ป จากโปสเตอร์ ที่แสดงรายละเอียด ท�ำให้ไม่ต้องมีการจัดการสินค้า ในร้านและยังสามารถป้องกันสินค้าสูญหายได้อีกด้วย เจ้ า ของธุ ร กิ จ สามารถปรั บ เปลี่ ย นสิ น ค้ า ได้ อ ย่ า ง สะดวกและรวดเร็ว อีกทั้งยังสามารถบริหารจัดการและ ท�ำธุรกิจโดยใช้พนักงานที่มีจ�ำนวนจ�ำกัด และการท�ำ ธุรกรรมเป็นการท�ำผ่านระบบออนไลน์ท�ำให้ลดปัญหา ด้านการบริหารจัดการด้านการเงินไม่ต้องมีการเตรียม เงิ น และทอนเงิ น ร้ า นเสมื อ นจริ ง จึ ง จั ด เป็ น อี ก หนึ่ ง ทางเลือกส�ำหรับธุรกิจที่ต้องการขยายสาขาด้วยการ ลงทุ น ที่ จ� ำ กั ด ช่ ว ยลดต้ น ทุ น และยั ง ช่ ว ยลดเวลา ในการบริหารจัดการ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

การสือ่ สารระยะสัน้ (Near Field Communication) เทคโนโลยีเนียร์ฟิลด์คอมมูนิเคชั่น (Near Field Communication; NFC) เป็นเทคโนโลยีตวั ใหม่ทใี่ ช้การ สื่อสารไร้สายระยะสั้นไม่เกิน 4 เซนติเมตรในการรับ ส่ง และแลกเปลี่ยนข้อมูล ซึ่งจะพบได้ในโทรศัพท์สมาร์ทโฟนบางรุน่ ในปัจจุบนั เทคโนโลยีสอื่ สารระยะสัน้ ท�ำงาน ในรูปแบบที่ไม่ต้องเชื่อมต่อหรือสัมผัสกัน ผู้ใช้งานเพียง แค่ต้องเอาอุปกรณ์ NFC มาใกล้กันก็จะสามารถรับ ส่ง หรือแลกเปลีย่ นข้อมูลกันได้ (Jan Kremer Consulting Services, 2010) และ (Lawrence M. Muriira & Nimrod Kibua, 2012) ดังแสดงในรูปที่ 13 และยังเป็น เทคโนโลยีที่พัฒนาส�ำหรับโทรศัพท์สมาร์ทโฟนที่เป็น อีกหนึ่งปัจจัยที่ส�ำคัญ ให้สามารถใช้งานได้หลากหลาย รูปแบบมากขึ้น ดังนั้นเทคโนโลยีการสื่อสารระยะสั้นจึง ได้รับความนิยมมากขึ้นในปัจุบัน

รูปที่ 13 การแลกเปลี่ยนข้อมูลในอุปกรณ์ ที่รองรับ NFC ทีม่ า: http://seminarlinks.blogspot.com/2014/03/ near-field-communication-nfc.html รูปแบบการท�ำงานของ NFC ตัวเทคโนโลยีสอื่ สารไร้สายระยะสัน้ สามารถท�ำงาน ได้ 3 รูปแบบ • Card Emulation หรือ การท�ำงานในรูปแบบ สมาร์ทการ์ด โดยท�ำให้อุปกรณ์ที่รองรับ NFC สามารถเก็ บ ข้ อ มู ล และใช้ ง านในรู ป แบบ สมาร์ทการ์ดได้ เช่น การน�ำสมาร์ทโฟนที่มี ข้อมูลของบัตรเครดิตมาใช้ช�ำระแทนบัตรจริงได้ การใช้สมาร์ทโฟนในการปลดล็อคประตู หรือ ใช้แทนบัตรพนักงานเพื่อความปลอดภัย

263

• Reader Mode/ Writer Mode: คือการที่ อุปกรณ์ NFC สามารถอ่านหรือรับข้อมูลจาก ตัวส่งสัญญาณ NFC หรือที่เรียกว่า NFC tag โดยที่ตัว Tag นั้นสามารถน�ำไปติดตั้งตาม ต�ำแหน่งที่ต้องการได้ เช่น โปสเตอร์ สติ๊กเกอร์ หรื อ สิ่ ง ของ และเมื่ อ น� ำ อุ ป กรณ์ NFC ที่ สามารถอ่านได้เข้ามาใกล้หรือแตะที่ตัว Tag ข้อมูลจะถูกส่งไปที่เครื่องอ่านเพื่อน�ำไปใช้งาน ต่อไป • Peer to Peer Mode: คือการที่อุปกรณ์ NFC สองตัวสามารถเชื่อมต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่ง กันได้เมื่อน�ำอุปกรณ์ NFC ทั้งสองมาใกล้กัน เช่น การถ่ายโอนหรือแลกเปลีย่ นข้อมูลระหว่าง มือถือ จากรูปแบบการท�ำงานหลักเหล่านี้ สามารถน�ำ เทคโนโลยี NFC มาประยุกต์ใช้งานบนโทรศัพท์สมาร์ทโฟนได้หลายด้าน ดังแสดงในรูปที่ 14 เช่น น�ำมาใช้ใน การท�ำธุรกรรมของธุรกิจโดยสามารถใช้อปุ กรณ์ทรี่ องรับ NFC ในการช�ำระเงินแทนบัตรเครดิต หรือน�ำมาใช้ใน การเดินทางในรูปแบบบัตรโดยสารอิเล็กทรอนิกส์เพื่อ เพิ่มความสะดวกให้กับผู้ใช้ ตลอดจนให้ข้อมูลเกี่ยวกับ เส้นทางการเดินทาง ประโยชน์ของเทคโนโลยี NFC ต่อธุรกิจ เทคโนโลยี NFC เป็นเทคโนโลยีทพี่ ฒ ั นาให้โทรศัพท์ สมาร์ทโฟนสามารถท�ำงานได้หลากหลายมากขึ้น ดัง ตัวอย่างใน Amazing Smart Mobile Life with NFC (http://www.youtube.com/watch?v=X09WahyUxM) โดย Grand NFC Korea Alliance ที่เป็นกลุ่ม นักพัฒนาการประยุกต์ใช้ NFC บนโทรศัพท์สมาร์ทโฟน โดยจะเห็นได้ว่าเทคโนโลยี NFC ได้เปลี่ยนให้โทรศัพท์ สมาร์ทโฟนสามารถช�ำระเงินแทนบัตรเครดิต สั่งสินค้า ใช้คูปองอิเล็กทรอนิกส์ เก็บแต้มหรือแสตมป์ ใช้เป็น Mobile Point of Sale และยังสามารถน�ำไปประยุกต์ ใช้งานในรูปแบบอื่นได้อีกมากมาย ท�ำให้เกิดประโยชน์ หลายด้านในการท�ำธุรกิจ เพิม่ ความสะดวกรวดเร็วให้กบั ผู้ใช้งาน สามารถท�ำธุรกรรมได้รวดเร็วขึ้นได้ทุกที่ โดย

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


264

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

รูปที่ 14 การประยุกต์ใช้ NFC ที่มา: http://www.cnet.com/news/iphone-5-aside-what-is-nfc-faq/ ผูใ้ ช้ไม่จำ� เป็นต้องพกเงินสดจ�ำนวนมาก บัตรเครดิต หรือ บั ต รเงิ น สดหลายใบ ผู ้ ใ ช้ ก็ ส ามารถท� ำ ธุ ร กรรมผ่ า น โทรศัพท์สมาร์ทโฟนได้ทันที ตัวเทคโนโลยีนี้ยังสามารถ สร้างมูลค่าให้กบั สินค้าและการบริการ เนือ่ งจากสามารถ ดึงและรับข้อมูลสินค้า โปรโมชั่น ตลอดจนคูปองที่ผู้ใช้ สามารถน�ำมาใช้งานได้สะดวกขึน้ หรือน�ำมาใช้ในการสัง่ สินค้า ท�ำให้ลดเวลาการท�ำงานและลูกค้าไม่ต้องเข้าคิว ซึ่งมีส่วนช่วยเพิ่มความพึงพอใจ (Ali Alshehri & Steve Schneider, 2013) ทั้งนี้เทคโนโลยี NFC ยังมีส่วนช่วย ในการลดค่าใช้จ่าย โดยที่เจ้าของกิจการไม่ต้องลงทุน มากกั บ เทคโนโลยี ส� ำ หรั บ ธุ ร กิ จ ค้ า ปลี ก เพี ย งแค่ ใ ช้ สมาร์ทโฟนและตัวโปรแกรมประยุกต์ก็สามารถต่อยอด การท�ำงานของโทรศัพท์สมาร์ทโฟนให้รองรับการท�ำ ธุ ร กิ จ มากขึ้ น ได้ ท� ำ ให้ ส ามารถน� ำ เทคโนโลยี ม าใช้ เพิ่มโอกาสทางธุรกิจ

สรุปและข้อเสนอแนะ

เทคโนโลยีใหม่ ได้ถกู พัฒนาขึน้ อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ น�ำ เสนอข้อมูลในรูปแบบใหม่ กระบวนการท�ำงานใหม่ ตลอดจนแนวทางใหม่ในการท�ำธุรกิจ โทรศัพท์สมาร์ทโฟนเป็นอีกหนึง่ ปัจจัยทีส่ ำ� คัญ ซึง่ สามารถใช้ในกิจกรรม ต่างๆ ได้มากกว่าใช้ในการสื่อสาร ด้วยความสามารถที่ รองรับโปรแกรมประยุกต์รูปแบบต่างๆ ท�ำให้โทรศัพท์ สมารท์โฟนเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ส่งผลต่อธุรกิจ ปัจจุบัน โทรศัพท์สมาร์ทโฟนสามารถรองรับ เทคโนโลยีการ ผสานเอาโลกแห่ ง ความเป็ น จริ ง เข้ า กั บ โลกเสมื อ น (Augmented Reality) ระบบบริการ ณ จุดขายแบบ พกพา (m-POS) เทคโนโลยีการสื่อสารระยะสั้น (NFC) ใช้ในการซื้อสินค้าในร้านเสมือนจริง (Virtual Store) หรือแม้กระทั่งใช้ส่งข้อมูลให้กับรถเข็นอัจฉริยะ (Smart Cart) ผู้ใช้งานเพียงแค่ดาวน์โหลดและลงโปรแกรม

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

ประยุกต์ก็สามารถใช้งานฟังก์ชันต่างๆ ของระบบได้ ซึง่ ตัวโปรแกรมประยุกต์นนั้ ได้พฒ ั นาส�ำหรับระบบปฏิบตั ิ การต่างๆ ท�ำให้โทรศัพท์สมาร์ทโฟนแม้ว่าจะใช้ระบบ ปฏิบัติการที่ต่างกันก็สามารถท�ำธุรกิจกันได้ เทคโนโลยีรถเข็นอัจฉริยะ เครื่องบริการ ณ จุดขาย แบบพกพา โลกเสมือนจริง ร้านเสมือนจริง และการ สื่อสารระยะสั้น สามารถน�ำมาใช้ในการสร้างมูลค่าให้ สินค้าและบริการดูทันสมัย ให้เป็นที่น่าดึงดูดใจมากขึ้น เช่น การน�ำเทคโนโลยีการผสานเอาโลกแห่งความเป็น จริงเข้ากับโลกเสมือน (Augmented Reality) มา ประยุ ก ต์ ใช้ กั บ สื่ อ แคตตาล็ อ กหรื อ โบรชั ว ร์ เ พื่ อ ให้ สามารถน�ำเสนอสินค้าและรายละเอียดในรูปแบบใหม่ ได้ ขณะเดียวกันก็ยังสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายและเพิ่ม โอกาสทางธุรกิจให้สามารถท�ำการตลาดได้มากขึ้น เช่น การน�ำระบบบริการ ณ จุดขายแบบพกพา (m-POS) ทีผ่ ขู้ ายสามารถเปลีย่ นโทรศัพท์สมาร์ทโฟนให้เป็นเครือ่ ง บริการ ณ จุดขาย (POS) ได้ ท�ำให้ผู้ขายไม่ต้องลงทุน ซือ้ บริการ ณ จุดขายไม่ตอ้ งแบ่งพืน้ ทีส่ ำ� หรับติดตัง้ เครือ่ ง บริการ ณ จุดขาย ท�ำให้มีพื้นที่ในการบริหารจัดการ แสดงสินค้าได้มากขึ้น อีกทั้งยังสามารถท�ำธุรกรรมได้ ทุกที่ทุกเวลา หรือการน�ำร้านเสมือนจริงไปใช้เพื่อขยาย กิจการที่ผู้ขายไม่ต้องลงทุนในการหาพื้นที่ตลอดจน ก่อสร้างและตกแต่งตัวร้าน ผู้ขายสามารถใช้พื้นที่จ�ำกัด ในการเปิดร้านค้าเสมือนเพื่อเพิ่มช่องทางและโอกาส ในการท�ำธุรกรรมได้มากขึน้ นอกจากนัน้ ยังสามารถช่วย ปรับปรุงการบริหารเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานและ การประสานงาน เช่น การน�ำรถเข็นอัจฉริยะมาใช้ในร้าน

265

สะดวกซื้อเพื่อให้ลูกค้าสามารถหาสินค้าในร้านได้ด้วย ตนเองอย่างสะดวกและรวดเร็วอีกทัง้ ยังสามารถตรวจสอบ รายละเอียดของสินค้าได้ด้วยตนเอง เทคโนโลยีการ สื่อสารระยะสั้น (NFC) สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้งานได้ หลากหลายไม่ว่าจะเป็นการท�ำธุรกรรมที่สามารถใช้ ช�ำระแทนบัตรเครดิตได้ ผู้ใช้งานสามารถใช้โทรศัพท์ สมาร์ทโฟนในการท�ำธุรกรรม นอกจากนี้ยังสามารถ ใช้ในกิจกรรมได้หลายรูปแบบ ไม่ว่าจะใช้ในการท�ำ คูปองอิเล็กทรอนิกส์ การเก็บสะสมแต้มผ่าน NFC ใน สมาร์ทโฟน เป็นต้น แต่ในการที่จะน�ำเทคโนโลยีเหล่านั้นมาใช้ จ�ำเป็น ต้องศึกษาและเข้าใจถึงความเหมาะสมของเทคโนโลยี เหล่านั้นต่อตัวธุรกิจ เทคโนโลยีที่ถูกพัฒนาขึ้นมาแต่ละ ตัวนัน้ ไม่ได้ตอบสนองความต้องการของทุกธุรกิจ การน�ำ มาใช้นอกจากจะมีคา่ ใช้จา่ ยของตัวเทคโนโลยี ยังมีคา่ ใช้ จ่ายในการเรียนรู้ อบรม ตลอดจนการดูแลรักษา จึงควร ศึกษาถึงตัวเทคโนโลยีให้เข้าใจก่อนน�ำมาใช้ เช่น รถเข็น อัจฉริยะที่ช่วยจัดการน�ำรายการซื้อเข้าตัวระบบและ ช่วยบอกต�ำแหน่งของสินค้าในร้านนั้นเหมาะกับร้าน ที่มีขนาดใหญ่อย่างเช่น Makro, Ikea หรือร้านสะดวก ซื้อที่มีขนาดใหญ่ แต่ไม่เหมาะกับร้านที่มีขนาดเล็ก ร้านเสมือนจริงที่ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งหน้าร้าน สามารถน�ำมาใช้ในธุรกิจได้แต่ต้องมีการวางแผนในการ ส่งมอบสินค้าอย่างเหมาะสม เจ้าของธุรกิจจ�ำเป็นต้อง เข้าใจถึงเทคโนโลยีวา่ จะน�ำมาใช้ดงึ จุดเด่นหรือสนับสนุน ธุ ร กิ จ ของตนอย่ า งไรจึ ง จะสามารถใช้ เ ทคโนโลยี ใ ห้ ประสบผลส�ำเร็จสูงสุด

บรรณานุกรม

อนุศาสตร์ สระทองเวียน. (2553). ธุรกิจค้าปลีก ประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2557, จาก http://www. bu.ac.th/knowledge center/executive_journal/july_sep_10/ pdf/aw21.pdf Alshehri, A. & Schneider, S. (2013). Formally defining NFC M-coupon requirements, with a case study, The 5th International Workshop on RFID Security and Cryptography. Azuma, R. T. (2550). A Survey of Augmented Reality. Teleoperators and Virtual Environments 6(4), 355-385. Church, L. & Moloney, M. (2012). State of the Art for Near Field Communication: security and privacy within the field. Ireland: Escher Group Ltd. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


266

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

Du, H. (2013). NFC Technology: Today and Tomorrow. International Journal of Future Computer and Communication, 2(4). FirstData, (2555). Wireless & Mobile Terminal Solutions. Retrieved May 2, 2014, from http://www. firstdata.com/en_us/about-first-data/media/image-library.html Front Technologies. (2555). Frontier For Shopping Carts. Retrieved May 12, 2014, from http://www. front-technologies.com/Solutions.html Gangwal, U., Roy, S. & Bapat, J. (2556). Smart Shopping Cart for Automated Billing Purpose using Wireless Sensor Networks. The Seventh International Conference on Sensor Technologies and Applications, Barcelona, Spain. Sebaali, G., Hodroj, S. & Ashoush, D. (2014). Smart Shopping Cart. 13th FEA Student and Alumni Conference. Beirut, Lebanon. Jan Kremer Consulting Services (2010). Near Field Communication. Retrieved December 20, 2013, from http://jkremer.com/White%20Papers/Near%20Field%20Communication% 20White %20 Paper%20JKCS.pdf MasterCard. (2556A). Unlock New Business Opportunities with Mobile Point Of Sale (POS). Retrieved May 7, 2014, from http://www.mastercard.com/corporate/mpos.html MasterCard. (2556B). Mastercard Best Practices For Mobile Point Of Sale Acceptance. Retrieved May 7, 2014 from http://www.mastercard.com/us/company/en/docs/ MasterCard_Mobile_ Point_Of_Sale_Best_Practices.pdf Muriira, L. M. & Kibua, N. (2012). Near Field Communication (NFC) Technology: The Future Mobile Money Service for Kenya, International Journal of Computing and ICT Research, 6(1), 73-83. Niedt, B. (2552). What's possibly on the line for supermarket shoppers in Syracuse? Smart carts. Retrieved May 7, 2014, from http://blog.syracuse.com/storefront/2009/09/ whats_possibly_ on_the_line_for.html PWC Advisory Oracle Practice (2012). How to Drive Innovation and Business Growth: Leveraging Emerging Technology for Sustainable Growth. Retrieved May 7, 2014, from http://www.pwc. com/en_US/us/supply-chain-management/assets/pwc-oracle-innovation-white-paper.pdf Qiu, L., Jiang, Z. & Benbasat, I. (2549). Real Experience in a Virtual Store: Designing for Presence in Online Shopping. The Tenth Pacific Asia Conference on Information Systems (PACIS 2006). Tharapitr, C. (2013). Study Needs Assessment To Application Of Information Technology and Communications TO Business Operations Traditional Trade. RMUTT Global Business and Economics Review. Vol. 2, No. 2. Verifone. (2554). Mobile Payments-The Smartest Mobile Solutions in the World. Retrieved May 7, 2014, from http://www.verifone.com/products/ software/mobile/mpos/ ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

267

Translated Thai References

Sratongvian, A. (2010). Retail business in Thailand. Retrieved May 7, 2014, from http://www.bu.ac. th/knowledge center/executive_journal/july_sep_10/ pdf/aw21.pdf [in Thai] Dr. Phannachet Na Lamphun is currently a lecturer in Engineering and Technology, Panyapiwat Institute of Management, Thailand. He received his B.Eng. in Computer and System Engineering from Rennselear Polytechnic Institute, NY, USA in 2002 and MSc. degree in Computer Engineering from Polytechnic University, NY, USA in 2005. After completed master degree in United State, he decided to come back and continue his doctoral degree in Thailand and received his D.Eng form Asian Institute of Technology in 2012. His research interests include e-Government collaboration, semantic web, ontology, and linked open data. Ms. Natthaphatthra Surapongruktakul is currently studying for a master’s degree in Information System Management, National Institute of Development Administration. Thailand.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


268

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ค�ำแนะน�ำในการเตรียมบทความ การจัดพิมพ์บทความ

- ความยาวของบทความ 10-12 หน้ากระดาษ A4 พิมพ์หน้าเดียว ก�ำหนดระยะห่างจากขอบกระดาษ 1 นิ้ว (2.54 ซม.) เท่ากันทุกด้าน - บทคัดย่อและบรรณานุกรม พิมพ์ 1 คอลัมน์ เนื้อหาบทความ พิมพ์ 2 คอลัมน์ ย่อหน้า 1 ซม. - ตัวอักษรใช้รูปแบบ TH Sarabun PSK ขนาดและชนิดต่างๆ ดังนี้ ข้อความ

ขนาด ชนิด ชื่อเรื่อง (ภาษาไทย) 18 (CT) ตัวหนา ชื่อเรื่อง (ภาษาอังกฤษ - ตัวพิมพ์ใหญ่) 16 (CT) ตัวหนา ชื่อผู้เขียน 16 (RJ) ตัวหนา ตำ�แหน่ง หน่วยงานที่สังกัด และอีเมลของผู้เขียน (Footnote) 12 (LJ) ตัวธรรมดา หัวข้อของบทคัดย่อ/Abstract 16 (LJ) ตัวหนา เนื้อหาบทคัดย่อ/Abstract 16 (LRJ) ตัวธรรมดา คำ�สำ�คัญ/Keywords 16 (LJ) ตัวธรรมดา หัวข้อเรื่อง (ไม่ลำ�ดับเลข) 16 (LJ) ตัวหนา หัวข้อย่อย 16 (LJ) ตัวหนา เนื้อเรื่อง 16 (LRJ) ตัวธรรมดา บรรณานุกรม 16 (LJ) ตัวธรรมดา ชื่อตาราง (ระบุไว้บนตาราง) 16 (LJ) ตัวหนา ชื่อรูป ชื่อแผนภูมิ (ระบุชื่อไว้ใต้รูป แผนภูมิ) 16 (CT) ตัวหนา CT = Centre Text, LJ = Left Justified, RJ = Right Justified, LRJ = Left & Right Justified

ส่วนประกอบของบทความ

1) ชื่อเรื่องบทความ (ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) 2) ชื่อผู้เขียนทุกคน พร้อมระบุต�ำแหน่งทางวิชาการ (ถ้ามี) ต�ำแหน่งงาน หน่วยงานที่สังกัด และอีเมล์ ที่ Footnote (ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) 3) บทคัดย่อ (Abstract) ความยาวไม่เกิน 250 ค�ำ และค�ำส�ำคัญ (Keywords) 3-5 ค�ำ (ทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ) ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Panyapiwat Journal Vol.7 No.1 January - April 2015

269

4) เนื้อเรื่อง 4.1) บทความวิชาการ ประกอบด้วย บทน�ำ เนื้อหา และบทสรุป 4.2) บทความวิจัย ประกอบด้วย บทน�ำ ทบทวนวรรณกรรม วิธีการวิจัย ผลการวิจัย อภิปราย และ สรุปผลการวิจัย 5) เอกสารอ้างอิง 6) ถ้ามีรูปภาพ แผนภูมิ ตารางประกอบ หรืออื่นๆ ต้องมีหมายเลขก�ำกับในบทความ อ้างอิงแหล่งที่มาของ ข้อมูลให้ถูกต้อง ชัดเจน และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น ใช้รูปภาพสีหรือขาว-ด�ำ ที่มีความคมชัด และส่งภาพถ่าย ต้นฉบับหรือไฟล์รูปภาพแยกต่างหาก แนบมาพร้อมกับบทความด้วย

การอ้างอิงเอกสาร

1) การอ้างอิงในเนือ้ หา เพือ่ บอกแหล่งทีม่ าของข้อความนัน้ ให้ใช้วธิ กี ารอ้างอิงแบบนาม-ปี โดยระบุชอื่ ผูเ้ ขียน ปีพิมพ์ และเลขหน้าของเอกสาร ไว้ข้างหน้าหรือข้างหลังของข้อความที่ต้องการอ้างอิง เช่น สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ (2546: 147) ….. หรือ ..... (Newman & Cullen, 2007: 18-19) หรือ ..... (ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ, 2546: 217-219) 2) การอ้างอิงท้ายบทความ ให้รวบรวมเอกสารที่ใช้อ้างอิงไว้ท้ายบทความ เรียงตามล�ำดับอักษรชื่อผู้เขียน โดยใช้รูปแบบการเขียนอ้างอิงตามระบบ APA ดังนี้ วารสารและนิตยสาร รูปแบบ: ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง. ชื่อวารสาร, ปีที่(ฉบับที่), หน้าแรก-หน้าสุดท้าย. ตัวอย่าง: ขวัญฤทัย ค�ำขาว และเตือนใจ สามห้วย. (2530). สีธรรมชาติ. วารสารคหเศรษฐศาสตร์, 30(2), 29-36. Acton, G. J., Irvin, B. L. & Hopkins, B. A. (1991). Theory-testing research: building the science. Advance in Nursing Science, 14(1), 52-61. หนังสือ รูปแบบ: ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อหนังสือ. เมืองที่พิมพ์: ส�ำนักพิมพ์. ตัวอย่าง: วิจารณ์ พานิช. (2551). การจัดการความรู้ ฉบับนักปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการจัดการ ความรู้เพื่อสังคม. Chakravarthy, B., Zaheer, A. & Zaheer, S. (1999). Knowledge Sharing in Organizations: A Field Study. Minneapolis: Strategic Management Resource Center, University of Minnesota. รายงานการประชุมหรือสัมมนาทางวิชาการ รูปแบบ: ชือ่ ผูแ้ ต่ง. (ปีทพี่ มิ พ์). ชือ่ เรือ่ ง. ชือ่ เอกสารรวมเรือ่ งรายงานการประชุม, วัน เดือน ปี สถานทีจ่ ดั . เมืองทีพ่ มิ พ์: ส�ำนักพิมพ์. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


270

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2558

ตัวอย่าง: กรมวิชาการ. (2538). การประชุมปฏิบัติการรณรงค์เพื่อส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน, 25-29 พฤศจิกายน 2528 ณ วิทยาลัยครูมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม. กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนาหนังสือ กรมวิชาการ. Deci, E. L. & Ryan, R. M. (1991). A motivational approach to self: Integration in personality. In R. Dienstbier (Ed.), Nebraska Symposium on Motivation: Vol. 38. Perspectives on Motivation (pp. 237-288). Lincoln: University of Nebraska Press. บทความจากหนังสือพิมพ์ รูปแบบ: ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์, เดือน วันที่). ชื่อเรื่อง. ชื่อหนังสือพิมพ์, หน้าที่น�ำมาอ้าง. ตัวอย่าง: สายใจ ดวงมาลี. (2548, มิถนุ ายน 7). มาลาเรียลาม 3 จว. ใต้ตอนบน สธ.เร่งคุมเข้มกันเชือ้ แพร่หนัก. คม-ชัด-ลึก, 25. Di Rado, A. (1995, March 15). Trekking through college: Classes explore modern society using the world of Star Trek. Los Angeles Time, p. A3. วิทยานิพนธ์ รูปแบบ: ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อวิทยานิพนธ์. ชื่อปริญญา, สถาบันการศึกษา. ตัวอย่าง: พันทิพา สังข์เจริญ. (2528). วิเคราะห์บทร้อยกรองเนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนม-พรรษา 5 ธันวาคม. ปริญญา นิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. Darling, C.W. (1976). Giver of Due Regard: The Poetry of Richard Wilbur. Ph.D. Thesis, University of Conecticut, USA. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ รูปแบบ: ชื่อผู้เขียน. (ปีที่เผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต). ชื่อเรื่อง. สืบค้นเมื่อ......., จาก URL Address ตัวอย่าง: ประพนธ์ ผาสุขยืด. (2551). การจัดการความรู้...สู่อนาคตที่ใฝ่ฝัน. สืบค้นเมื่อ 27 มีนาคม 2552, จาก http://www. si.mahidol.ac.th/km/admin/add_information/document_files/95_1.pdf Treeson, L. (2009). Exploring a KM Process for Retaining Critical Capabilities. Retrieved February 11, 2009, from http://kmedge.org/2009/03/ knowledge-management-process-retainingcritical-capabilities.html

การส่งบทความ

ผู้สนใจเสนอบทความสามารถจัดส่งบทความถึงกองบรรณาธิการวารสารปัญญาภิวัฒน์ ผ่านระบบ “Paper Submission” ได้ที่เว็บไซต์ http://journal.pim.ac.th ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.