263-514
CADStandard The first step in coordinating the efforts of the building design.
CAD Standard 263-514 DATABASE SYSTEM AND DATA STANDARD IN ARCHITECTURAL DESIGN
by Architect Jeerawan Boodsri I Pingpink I 54059307 Computer Aided Architectural Design Faculty of Architecture | Silpakorn University
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
มาตรฐานเขียนแบบก่ อสร้ าง AIA CAD Standards แบบสถาปั ตยกรรม ( Architecture )
54059304 วิลาสินี บุญประคม 54059307 จีระวรรณ บุตรศรี
| Computer-aided Architectural Design Course: Faculty of Architecture Silpakorn University
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
คำนำ การเขียนแบบก่อสร้ างเป็ นสิง่ ที่สาคัญสาหรับการปฎิบตั วิ ชิ าชีพของสถาปนิก เพราะเป็ นสิง่ ที่จะสื่อถึงงาน ออกแบบเพื่อที่จะสามารถนาไปใช้ ในการก่อสร้ างได้ อย่างสมบูรณ์ ในปั จจุบนั การเขียนแบบด้ วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ อย่าง Autodesk AutoCAD หรื อโปรแกรมอื่นๆ แต่ละสานักงานก็มีมาตรฐานแตกต่างกันออกไป มาตรฐานการเขียน แบบนันเป็ ้ นเรื่ องที่ควบคุมได้ ยาก หากขาดการวางแผนอย่างเป็ นระบบ ในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพจึงควรเล็งเห็นความสาคัญของการจัดทาแบบเพื่อใช้ ในการก่อสร้ าง และควรทาให้ ได้ มาตรฐานระดับสากล โดยอ้ างอิงจาก AIA CAD Standards (The American Institute of Architects ComputerAided Design Standards) ซึ่งเป็ นมาตรฐานต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา และนาไปสูก่ ารแข่งขันหรื อเปรี ยบเทียบ กับสานักงานออกแบบนานาชาติได้ ต่อไปเมื่อมีการเปิ ดเสรี ทางการค้ าทางด้ านวิชาชีพสถาปนิกที่อาจจะต้ องเสนอแบบ ต่อลูกค้ าต่างชาติ หรื อทางานร่วมกับสานักงานสถาปนิกต่างชาติ ก็สามารถจัดทาแบบให้ เป็ นมาตรฐานระดับสากล อันเป็ นสิง่ ที่แสดงถึงศักยภาพของวิชาชีพสถาปนิกในประเทศไทย ในรายงานเล่มนี ้จึงจัดทามาตรฐานการเขียนแบบของบริษัท พฤกษา เรี ยลเอสเตท จากัด โครงการก่อสร้ าง อาคารพัก อาศัยประเภทคอนโด เป็ นกรณีศกึ ษาเพื่อเป็ นประโยชน์กบั สานักงานออกแบบ และผู้สนใจนาไปพัฒนา ระบบการเขียนแบบให้ ได้ มาตรฐานสากลต่อไป ทังนี ้ ้ขอขอบพระคุณอาจารย์ผ้ สู อน รศ.ฐิตพิ ฒ ั น์ ประทานทรัพย์ และ สถาปนิกผู้มีประสบการณ์ในการให้ คาแนะนาเกี่ยวกับมาตรฐานการเขียนแบบให้ เป็ นไปตามมาตรฐาน นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบ ทางสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมกรรมศาสตร์ วิลาสินี บุญประคม 54059304 จีระวรรณ บุตรศรี 54059307
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
สำรบัญ เรื่อง
หน้ ำ
บทที่ 1 กำรตัง้ ชื่อสำรบัญโครงกำร (Project Folder)
1-7
- โครงสร้ างสารบัญโครงการ (Folder structure) บทที่ 2 กำรจัดชุดของแบบ (Sheet Identification) - วิธีการตังชื ้ ่อชุดของแบบ - ตัวอย่างการจัดชุดของแบบโครงการ Condolette 624 บทที่ 3 รูปแบบกำรทำงำน - รหัสประเภทของงาน (Discipline Codes)
1-7 8-9 8 9 10-32 10
- ชื่อย่อต่อท้ าย (Suffix)
11
- หลักการตังชื ้ ่อไฟล์งาน (Model file naming)
12
- ตัวอย่าง Model files ของโครงการ Condolette 624
13-14
- หลักการตังชื ้ ่อไฟล์งาน Plot แบบ (Sheet file naming)
15
- ตัวอย่าง Sheet files ของโครงการ Condolette 624
16-17
- Sheet Set Manager กับ Project Navigator
18-28
- สารบัญแบบก่อสร้ าง ( Sheet List Table )
28-32
บทที่ 4 กำรกำหนดชื่อเลเยอร์ (Layer names) - ระบบเลเยอร์ ( Layers )
33-48 33-34
- ตารางเปรี ยบเทียบเลเยอร์ ตามการเขียนแบบมาตรฐาน (AIA CAD Standards) กับเลเยอร์ ที่จาเป็ นกับการทางาน - แบบแปลน ( Floor Plans )
35-40
- แบบแปลนฝ้าเพดาน ( Reflected Ceiling Plans )
41-42
- รูปด้ าน ( Elevations )
43-45
- รูปตัด ( Sections )
46-48
บทที่ 5 สรุปขัน้ ตอนกำรทำงำน
49-56
- ขันตอนการท ้ างาน
49
- เอกสารแบบก่อสร้ าง
50-56
บรรณำนุกรม
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
57
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
บทที่ 1 การตัง้ ชื่อสารบัญโครงการ (Project Folder) ในโครงการออกแบบก่อสร้ างแต่ละโครงการจะมีการจัดทาแผ่นงานที่รวบรวมข้ อมูลแบบทัง้ Graphics และ ข้ อความ ตารางต่าง ๆ ซึง่ อาจจะเขียนบนกระดาษ กระดาษไข แต่สาหรับอีเลคโทรนิคส์ แฟ้ มข้ อมูลต่างๆ จะมีลกั ษณะ การเก็บข้ อมูลแบบเดียวกันเพียงแต่ด้วยความยืดหยุน่ ของแฟ้ มงานแบบอีเลคโทรนิคส์นนจะมี ั ้ ความยืดหยุน่ เพราะ สามารถ จัดการได้ สะดวกกว่า แฟ้ มข้ อมูลอีเลคโทรนิคส์ไม่เพียงแต่เป็ นการแสดงข้ อมูลแบบเท่านัน้ แต่สามารถใช้ ในการจัด แยกแยะข้ อมูลที่ จาเป็ น หรื อต้ องการในแต่ละกระบวนการทางานได้ โดยง่าย ไม่วา่ จะเป็ น ขันตอนการก่ ้ อสร้ าง การบารุงรักษาโครงการ การจัดระบบแฟ้ มข้ อมูลการเข้ าถึงแฟ้ มข้ อมูลของทีมงานที่ทาเหมาะสาหรับผู้ทางานที่จะต้ องเปลีย่ นจะระบบ Manual มาเป็ นแบบอีเลคโทรนิคส์ความถูกต้ องตรงกันของการตังชื ้ ่อแฟ้ มงานและระบบสารบัญ ( Folder ) เป็ นเรื่ องที่สาคัญ สาหรับการบริ หารข้ อมูล โครงการรวมไปถึงความสัมพันธ์ของข้ อมูลในเชิง Graphics กับข้ อความ ตารางต่าง ๆ ใน โครงการ หลักการจัดแบ่งโฟลเดอร์ งานข้ อมูลอ้ างอิงจากการแบ่ง Folder Structure CAD Standards และมา ประยุกต์ใช้ ในการก่อสร้ างทังโครงการ ้ เราสามารถใช้ ระบบสารบัญ ( Folder ) และสารบัญย่อย ( Subfolder ) เพื่อช่วย ในการแบ่งแยกระดับความละเอียด หรื อประเภทข้ อมูลในโครงการต่าง ๆ ได้
รูปที่ 1.1 สารบัญโครงการหลักเดิม *
รูปที่ 1.2 สารบัญโครงการหลักที่ปรับใช้ กับโครงการ
ทีม่ า : * รู ปภาพการตั้งชื่อสารบัญโครงการจาก Andriy Boychuck , CADD operator/Designer at The Clarient Group Greater New York City Area Telecommunications 263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
1
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards โครงสร้ างสารบัญโครงการ (Folder Structure) แบ่งตามหมวดต่าง ๆ ได้ 6 หมวด คือ Projects , Information and Resources , Drawings , Presentations , Finance , Archive
รูปที่ 1.3 สารบัญโครงการ 01_Projects ประกอบไปด้ วยข้ อมูลตัง้ แต่ เริ่มโครงการออกแบบ
รูปที่ 1.4 สารบัญโครงการ 02_Information and Resources ประกอบไปด้ วยรูปภาพของพืน้ ที่ก่อสร้ าง
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
2
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
รูปที่ 1.5 สารบัญโครงการ 03_Drawings รวบรวมแบบก่ อสร้ าง
รูปที่ 1.6 สารบัญโครงการ 03_Presentations รวบรวมแบบ 3 มิติ และรูปภาพที่ใช้ ในการนาเสนอ
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
3
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
รูปที่ 1.9 สารบัญโครงการ 05_Finance รวบรวม ขนาดวัสดุ , ราคาวัสดุก่อสร้ าง , ราคาค่ าก่ อสร้ าง
รูปที่ 1.10 สารบัญโครงการ 06_Archive รวบรวมหลักฐานต่ างๆ ในการติดต่ อประสานงาน
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
4
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
โครงสร้ างสารบัญโครงการ (Folder Structure) เพื่อให้ การเรี ยงลาดับแฟ้ มงานเป็ นไปตามขันตอน ้ และกลุม่ งาน การแบ่งสารบัญของโครงการโดยขึ ้นต้ นด้ วย ปี /เดือน/วัน ตามด้ วยรหัสของโครงการ
เป็ นสารบัญหลัก เช่น 100210_ProjCondoLatte624 ( ปี 2010_เดือน
กุมภาพันธ์_วันที่ 6 ) ซึง่ เป็ นวันที่เริ่ มทาโครงการ ภายในสารบัญหลักดังกล่าวจะแบ่งออก ตามขันตอนของ ้ กระบวนการออกแบบ ตังแต่ ้ ขนแบบร่ ั้ าง พัฒนา แบบ แบบและอื่นๆ ตามลาดับ กรณีที่เป็ นโครงการขนาดใหญ่ หรื อมีแฟ้ มงานแบบจา นวนมาก ภายในแต่ละขันตอน ้ การออกแบบจะแบ่งออกเป็ นส่วนต่างๆ ตามสาขา เช่น สถาปั ตยกรรม, โครงสร้ าง เป็ นต้ น ทังนี ้ ้ชื่อสารบัญย่อยเหล่านี ้ จะขึ ้นต้ นด้ วยลาดับที่ ตามกระบวนการเรี ยงแผ่นงาน ดังต่อไปนี ้ 100206_ProjCondoLatte624 (yy.mm.dd_Project Name) 01_Projects -_Project-Contract Documents ( โฟลเดอร์ ไฟล์เอกสารสัญญาโครงการก่อสร้ าง ) -_100206-PruksaRealEstate-ProjCondoLette624 (_ yy.mm.dd - Client Name - Project Name) -_Project - 01_Specification & Info (เกณฑ์การออกแบบ, เงื่อนไขความต้ องการของลูกค้ า) - Building Regulations - Requirement & Criteria - PDFs ( ไฟล์งานในรูปแบบเอกสาร .pdf ) - Texts ( ไฟล์งานเอกสาร เช่น Microsoft Words , excel , และอื่นๆ ) - 02_Pictures ( รูปภาพที่เกี่ยวข้ องของโครงการ) - Sorted By Categories (optional) - 03_Videos (ไฟล์วิดีโอ) -_Working File( ไฟล์งานต้ นฉบับ เช่น Site plan , Contour ที่จะนามาใช้ ในการทางาน ) 02_Information and Resources -Site Photos ( ภาพลักษณะสถานที่ก่อสร้ าง) - yy.mm.dd - location - folder name ( การตังชื ้ ่อที่ระบุวนั ที่ ปี เดือน วัน ) - Construction Photos ( ภาพความก้ าวหน้ าของงานก่อสร้ าง ) 263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
5
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards - yy.mm.dd - location - folder name ( การตังชื ้ ่อที่ระบุวนั ที่ ปี เดือน วัน ) - Finished Photos ( ภาพงานก่อสร้ างเสร็ จ ) - yy.mm.dd - location - folder name ( การตังชื ้ ่อที่ระบุวนั ที่ ปี เดือน วัน ) 03_Drawings 01_Templates (Title Blocks) 02_Program Files - Arch ( Architectural ) - Prelim ( แบบก่อสร้ างเบื ้องต้ น ) - Final ( แบบก่อสร้ างขันสุ ้ ดท้ าย ) - As-built ( แบบก่อสร้ างแล้ วเสร็ จ ) - Model files ( แบบไฟล์งานที่อยูใ่ นช่วงก่อสร้ างซึง่ อาจมีการแก้ ไข ) - Sheet files ( แบบงานก่อสร้ างที่เตรี ยมพิมพ์ ) - 04_PDFs ( แบบก่อสร้ างขนาดเท่าแผ่นพิมพ์ ) - 05_Education (สารบัญเพื่อการศึกษา เก็บเป็ นประวัติของโครงการก่อสร้ าง) 01_Name of College, School, etc -_General Information - yyyy - Name of College, School, etc - M&E ( Mechanical&Electrical ‟ งานระบบและงานไฟฟ้ า ) - Stru ( Structural - งานโครงสร้ าง ) 03_Library - Blocks ( ไฟล์ Block งานต่างๆ เช่น ประตู , หน้ าต่าง,งานเฟอร์ นิเจอร์ ) - Logo ( โลโก้ ของบริ ษัท ) - Plot Style ( แบบการตังค่ ้ าสี , ความหนาของปากกา ) - Fonts ( ตัวหนังสือในแบบ Autocad ) 04_Presentations 01_3D ( ไฟล์งานภาพ 3 มิติ ) - 3D files ( ไฟล์ 3 มิติ ) - Textures ( ภาพพื ้นผิวที่ใช้ ในโปรแกรม 3 มิติ ) 263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
6
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards 02_My Pictures - 01_ Drawing Images ( ภาพกราฟฟิ คของแบบวาด ) - 02_Visualization ( ภาพงาน Render ) - 03_Model Photos ( ภาพโมเดล ) - yy.mm.dd - location - folder name ( การตังชื ้ ่อที่ระบุวนั ที่ ปี เดือน วัน ) 03_Reading (Books, brochure & etc.) ( หนังสือ , นิตยสาร, โบรชัวร์ ) 04_Received -_Received Archive ( รูปภาพที่ได้ รับมาขณะทางานออกแบบ ) - yy.mm.dd ‟ Received ( ระบุ วันที่ได้ รับ ) 05_Videos - 01_My Videos ( ไฟล์งานภาพเคลือ่ นไหว ) _ 02_Music 05_Finance - 01_Material Specification - Company's Name 01_Specs ( specifications ชนิดวัสดุก่อสร้ าง ) 02_Pictures ( รูปภาพวัสดุก่อสร้ าง ) 03_Videos ( วิดีโอเกี่ยวกับวัสดุก่อสร้ าง ) - 02_Construction Cost 06_Archive ( ข้ อมูลการติดต่อประสานงาน ) - 01_Email ( อีเมล กับผู้วา่ จ้ างหรื อทางานร่วมกับบริ ษัทอื่น ) - 02_Submission - 09.02.12-submission-Prelim yy.mm.dd ‟ submission - file name ( โฟล์เดอร์ งานซึง่ ระบุ ปี เดือน วัน ที่สง่ งาน ) - 03_Approval (แบบฟอร์ มการขออนุมตั )ิ - 04_Memo (บันทึก Memorandum, รานงานก่อสร้ างประจาวัน , สัปดาห์ )
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
7
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
บทที่ 2 การจัดชุดของแบบ (Sheet Identification) วิธีการตัง้ ชื่อชุดของแบบ
ตัวอย่ างการจัดชุดของแบบโครงการ Condolette 624 แบบก่อสร้ างของโครงการ Condolette 624 มีจานวนทังหมด ้ 37 แผ่น A-000
สารบัญแบบและสัญลักษณ์
(Architectural Notes and Symbols)
A-100
ผังบริ เวณ
(Architectural Site Plan)
A-101
แปลนพื ้นชันล่ ้ าง
(First Floor Plan)
A-102
แปลนพื ้นชัน้ 2
(Second Floor Plan)
A-103
แปลนพื ้นชัน้ 3
(Third Floor Plan)
A-104
แปลนพื ้นชัน้ 4
(Fourth Floor Plan)
A-105
แปลนพื ้นชัน้ 5
(Fifth Floor Plan)
A-106
แปลนพื ้นชัน้ 6
(Sixth Floor Plan)
A-107
แปลนพื ้นชัน้ 7
(Seventh Floor Plan)
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
8
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards A-108
แปลนพื ้นชัน้ 8
(Eighth Floor Plan)
A-109
ผังฝ้ าเพดานชันล่ ้ าง
(First Floor Reflected Ceiling Plan)
A-110
ผังฝ้ าเพดานชัน้ 2 ‟ 4
(Second-Fourth Floor Reflected Ceiling Plan)
A-111
ผังฝ้ าเพดานชัน้ 5 - 8
(Fifth-Eight Floor Reflected Ceiling Plan)
A-112
แปลนหลังคาชันดาดฟ้ ้ า
(Roof Plan)
A-201
รูปด้ าน 1
(Exterior Elevation 1)
A-202
รูปด้ าน 2
(Exterior Elevation 2)
A-203
รูปด้ าน 3
(Exterior Elevation 3)
A-204
รูปด้ าน 4
(Exterior Elevation 4)
A-301
รูปตัด A
(Building Section A)
A-302
รูปตัด B
(Building Section B)
A-302
รูปตัด C
(Building Section C)
A-401
แบบขยายห้ องพักชัน้ 2-4
(Large-Scale Second-Fourth Floor Plans)
A-402
แบบขยายห้ องพักชัน้ 5-8
(Large-Scale Fifth-Eight Floor Plans)
A-403
แบบขยายห้ องน ้า
(Large-Scale Toilet Plans)
A-404
แบบขยายบันไดหลัก
(Main Stair Plans and Sections)
A-405
แบบขยายบันไดหนีไฟ 1
(Fire Protection Stair Plans and Section 1)
A-406
แบบขยายบันไดหนีไฟ 2
(Fire Protection Stair Plans and Section 2)
A-407
แบบขยายสถาปั ตยกรรม 1
(Large-Scale Architecture 1)
A-408
แบบขยายสถาปั ตยกรรม 2
(Large-Scale Architecture 2)
A-409
แบบขยายสถาปั ตยกรรม 3
(Large-Scale Architecture 3)
A-410
แบบขยายสถาปั ตยกรรม 4
(Large-Scale Architecture 4)
A-411
แบบขยายสถาปั ตยกรรม 5
(Large-Scale Architecture 5)
A-501
แบบรายละเอียดผนัง
(Wall Details)
A-502
แบบรายละเอียดประตู
(Door Details)
A-503
แบบรายละเอียดหน้ าต่าง
( Window Details)
A-601
แบบขยายประตู
(Door Schedules)
A-602
แบบขยายหน้ าต่าง
( Window Schedules)
A-701
แบบลายกระเบื ้องทางเดินชันล่ ้ าง
(First Floor Finishes Plan)
A-702
แบบลายกระเบื ้องทางเดินชัน้ 2-4
(Second to Forth Floor Finishes Plan)
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
9
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
บทที่ 3 รู ปแบบการทางาน ในการเขียนแบบที่เป็ นข้ อมูลอิเลคโทรนิคส์นนั ้ จะมีรูปแบบการทางานที่ตา่ งกันออกไปจากการเขียนแบบด้ วย มือโดยเฉพาะอย่างยิ่งการแจกงาน โดยระบบมาตรฐาน จะมีแฟ้ มข้ อมูลอยู่ 2 ชนิด คือ Model file และ Sheet file การระบุชื่อแผ่นงานที่ชดั เจน ของทังไฟล์ ้ งานทังสองแบบ ้ มี หลักการที่เป็ นมาตรฐานคือการใส่คานาหน้ าของประเภท งานที่ผ้ รู ับผิดชอบนันท ้ า เช่น ฝ่ ายงานสถาปั ตยกรรม ( Architecture ) คือ “ A ”
รหัสประเภทของงาน ( Discipline Codes)
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
10
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
ชื่อย่ อต่ อท้ าย ( Suffix ) เพื่อความชัดเจนในการระบุประเภทไฟล์งาน จึงคงจาเป็ นต้ องเพิ่มเติมข้ อความต่อท้ าย (suffix) ลงไป เพื่อ ขยายความให้ ชดั เจนยิ่งขึ ้น เช่น A-FP
Suffix
Descriptions
BM
Basement
CP
Reflecting Ceiling Plan
CR
Lift/Building Core
DR
Doors/Openings
EI
Interior Elevation
FD
Foundation
FL
Floor Pattern
FM
Beam/Framing
FP
Floor Plan
GN
General Enlarge
GZ
Window/Glazing
MZ
Mezzanine
PD
Plumbing Drainage
PI
Piling
PP
Plumbing Piping
RB
Reinforced Bar
RO
Roof Plan
RP
Ramp
SP
Site Plan
ST
Stair
WC
Water Closet, Toilet
WL
Wall Elevation
WS
Wall Section
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
11
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
หลักการตัง้ ชื่อ Model File „ Model File ‟ แฟ้ มข้ อมูลของแบบแต่ละรูป โดยการแก้ ไขดัดแปลง Drawing จะทาที่แฟ้ ม Model เหล่านี ้ เท่านัน้ และเพื่อให้ ได้ ประโยชน์สงู สุดของการเขียนแบบ จะมีการแยกแฟ้ มงานที่เป็ น Common ออกมาต่างหาก อาทิ เช่น Bubble Grid, Building Core เป็ นต้ น เพื่อจะใช้ อ้างอิงจากแฟ้ มงาน Model อื่นๆ อีกชันหนึ ้ ง่ โครงการขนาดเล็ก
โครงการขนาดใหญ่
สาเหตุที่ต้องระบุรหัสของโครงการ ( Project Code ) เพื่อเป็ นการระบุไฟล์งานแบบก่อสร้ างให้ มีความ ละเอียดและไม่เกิดการซ้ อนทับของไฟล์หากตังชื ้ ่อโดยไม่มีชื่อโครงการนาหน้ า ทังนี ้ ้ชื่อลาดับจานวนแผ่นสามารถตังชื ้ ่อ ในช่วงระหว่าง 01-99 อีกทังจ ้ านวนแผ่นก็ หากต้ องการความละเอียดของไฟล์งาน ผู้เขียนแบบสามารถระบุ ปี -เดือนวัน ต่อท้ ายชื่อไฟล์งาน ระบุวนั ที่แก้ ไขงาน ซึง่ อาเกิดกรณีลกู ค้ าต้ องการดูแบบอันเก่าเพื่อเปรี ยบเทียบกับอันใหม่ก็ สามารถนากลับมาเปิ ดดูได้ อีกครัง้ หนึง่ เช่น C624-Building A-FP07-090415 หมายความว่า แบบแปลนชัน้ 7 แก้ ไขเมื่อวันที่ 15 เมษายน 2552หรื ออีกวิธีหนึง่ คือ ตังชื ้ ่อสารบัญงาน ( Folder Name ) ใหม่ทกุ ครัง้ สาหรับวันที่ที่มี การแก้ ไขแบบก่อสร้ าง จะทาให้ ชื่อไฟล์ไม่ยาวจนเกินไป
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
12
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
ตัวอย่ าง Model files ของโครงการ Condolette 624 อาคาร A โครงการ Condolette Ratchada Soi 36 จัดอยูใ่ นประเภทอา คารชุดพักอาศัย ขนาดความสูง 8 ชัน้ ความสูง 22.29 เมตร จานวน 3 อาคาร ( อาคาร A , B , และ C ) มีจานวนห้ องชุดรวมทังสิ ้ ้น 486 ห้ อง ในที่นี ้ได้ ยกตัวอย่างการตังชื ้ ่อ Model File ของอาคาร A ซึง่ ต้ องมีการปรับเปลีย่ นแก้ ไขจนกว่างานจะออกมาถูกต้ อง หลักการตังชื ้ ่อของรหัสโครงการ ( Project Code) คือ กาหนดชื่อย่อของโครงการไว้ ด้านหน้ าสุด จะได้ เป็ น : C624- A ซึง่ ย่อมาจาก Condolette624 อาคาร A ลาดับที่สองคือบอกประเภทของงานที่ควบคุมของสถาปนิก ที่ยอ่ ด้ วยตัวอักษร ‟ A ลาดับที่สามคือชื่อย่อที่บอกประเภทไ ฟล์งานที่ทา ส่วนตัวเลขด้ านหลังคือระดับชัน้ เช่น Floor Plan 1 คือ ‟ FP01 หลักการเขียนแบบของโครงการประเภทนี ้มีจานวนทังหมด ้ 31 แผ่น แสดงไว้ ดงั ต่อไปนี ้ C624-A-A-SP
ผังบริ เวณ
C624- A-A-FP01
แปลนพื ้นชันล่ ้ าง
C624- A-A-FP02
แปลนพื ้นชัน้ 2
C624- A-A-FP03
แปลนพื ้นชัน้ 3
C624- A-A-FP04
แปลนพื ้นชัน้ 4
C624- A-A-FP05
แปลนพื ้นชัน้ 5
C624- A-A-FP06
แปลนพื ้นชัน้ 6
C624- A-A-FP07
แปลนพื ้นชัน้ 7
C624- A-A-FP08
แปลนพื ้นชัน้ 8
C624- A-A-CP01
ผังฝ้ าเพดานชัน้ 1
C624- A-A-CP02-04
ผังฝ้ าเพดานชัน้ 2 ‟ 4
C624- A-A-CP05-08
ผังฝ้ าเพดานชัน้ 5 ‟ 8
*โดยปกติแบบฝ้าเพดานทัว่ ไปจะมีการแบ่งตามจานวนชัน้ แต่ในกรณีออกแบบคอนโดมิเนียมแบบฝ้าจะเป็ นลักษณะ ห้ องชุดซึง่ มีความซ ้ากัน จึงได้ เขียนแบบก่อสร้ างที่อ้างอิง ผังฝ้ าเพดานชันที ้ ่มีความเหมือนกัน
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
13
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards C624- A-A-RO
แปลนหลังคาชันดาดฟ้ ้ า
C624- A-A-EL01
รูปด้ าน 1
C624- A-A-EL02
รูปด้ าน 2
C624- A-A-EL03
รูปด้ าน 3
C624- A-A-EL04
รูปด้ าน 4
C624- A-A-SC-A
รูปตัด A
C624- A-A-SC-B
รูปตัด B
C624- A-A-SC-C
รูปตัด C
C624- A-A-EP02-04
แบบขยายห้ องพักชัน้ 2-4
C624- A-A-EP05-07
แบบขยายห้ องพักชัน้ 5-7
C624- A-A-WC01
แบบขยายห้ องน ้า
C624- A-A-ST01
แบบขยายบันไดเพิ่มเติมหากไม่ปรากฏในรูปตัด ( Sections ) ในกรณีนี ้มีแบบบันไดหลายแบบอยูใ่ นไฟล์นี ้และทาการเชื่อมต่อกับ Sheet file
C624- A-A-EEL01
แบบขยายสถาปั ตยกรรม 1
C624- A-A-EEL02
แบบขยายสถาปั ตยกรรม 2
C624- A-A-EEL03
แบบขยายสถาปั ตยกรรม 3
C624- A-A-EEL04
แบบขยายสถาปั ตยกรรม 4
C624- A-A-EEL05
แบบขยายสถาปั ตยกรรม 5
C624- A-A-NP01
แบบลายกระเบื ้องทางเดินชันล่ ้ าง
C624- A-A-NP02-08
แบบลายกระเบื ้องทางเดินชัน้ 2-8
* SP = Site Plan , FP = Floor Plan , CP = Reflecting Ceiling Plan , RO = Roof Plan, EL = Elevation , SC = Section, EP = Enlarge Plan, WC = Water Closet ,
ST = Stair , EEL = Enlarge
Elevation , DR = Door , GZ = Glazing ,W=Wall , NP = Finishing Plan * แบบรายละเอียดและแบบขยาย ( ผนัง , ประตู , หน้ าต่าง ) สามารถนา Block ไปวางใน Sheet File ของ ประเภทงาน ได้ เลย 263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
14
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
หลักการตัง้ ชื่อ Sheet file name Sheet Files เป็ นแฟ้ มงานที่รวมรวมองค์ประกอบต่างๆ ในขันตอนสุ ้ ดท้ าย ไม่วา่ จะเป็ น Model Files ตาราง ตัวอักษร Title Block โดยมีวตั ถุประสงค์การการจัดพิมพ์เป็ น Hard Copy „ ในกรณีของการเขียนแบบด้ วยคอมพิวเตอร์ Sheet File อาจมีความหมายถึง Plot File ซึง่ ใช้ ในการพิมพ์ ไป ยังเครื่ องพิมพ์ตวั ใดตัวหนึง่ แต่กรณีของ Sheet File จะเป็ นแฟ้ มงานที่รวบรวมข้ อมูล และพร้ อมที่จะพิมพ์ ออกไปยัง เครื่ องพิมพ์ใดๆก็ตาม „ เนื่องจากวัตถุประสงค์ของ Sheet File คือการรวบรวมแบบ หรื อผลิตผลงานขันสุ ้ ดท้ ายออกไป การตังชื ้ ่อ แฟ้ มงานจึงใช้ หลักการเดียวกับระบบการตังชื ้ ่อแผ่นงานนัน่ เอง „ Sheet File ‟ แฟ้ มงานที่เป็ นตัวแทนของแผ่นงานหลัก โดยที่แฟ้ มนี ้จะเชื่อมโยงข้ อมูล Model File ข้ างต้ น เข้ ามารวมกัน และจะใช้ แฟ้ มนี ้เป็ นหลักในการพิมพ์แบบออกไป โครงการขนาดเล็ก
โครงการขนาดใหญ่
หลักการตังชื ้ ่อ Sheet file มีความสอดคล้ องกับ Model File แต่ตา่ งกันตรงที่มีการเพิ่มตัวเลขซึง่ แทน Discipline Designator เช่นในตัวอย่าง คือ เลข 1 ที่หมายถึง Plans ต่างๆ คือ แปลนพื ้น แปลนฝ้าเพดาน ส่วน เลขถัดมา คือ 07 ระบุตาแหน่งของแผ่นและอีกนัยหนึง่ คือลาดับจานวนชัน้ ในที่นี ้คือชันที ้ ่ 7 และ FP คือตัวอักษร ย่อ Suffix ไว้ ตอ่ ท้ ายแปลว่า Floor Plan นอกจากนี ้ผู้เขียนแบบก็สามารถระบุวนั ที่การเขียนแบบในแต่ละครัง้ เหมือน Model file
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
15
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
16
ตัวอย่ าง Sheet files ของโครงการ Condolette 624 อาคาร A โครงการ Condolette Ratchada Soi 36 การตังชื ้ ่อ Sheet File ของอาคาร A ต้ องมีความสอดคล้ องกัน แต่สงิ่ ที่เพิ่มเข้ มมาแทรกตรงกลาง คือ ประเภทไฟล์งานจะเป็ นรหัสเลขจานวน 3 ตัว เลขด้ านหน้ าคือประเภทไฟล์งาน สองตัวด้ านหลังระบุตาแหน่งแผ่นของแบบก่อสร้ าง หลักการตังชื ้ ่อของรหัสโครงการ ( Project Code) คือ กาหนดชื่อย่อของโครงการไว้ ด้านหน้ าสุด จะได้ เป็ น : C624- A ซึง่ ย่อมาจาก Condolette624 อาคาร A ลาดับที่สองคือบอกประเภทของงานที่ควบคุมของสถาปนิก ที่ยอ่ ด้ วยตัวอักษร ‟ A ลาดับที่สามคือชื่อย่อที่บอกประเภทไฟล์งานที่ทา ส่วนตัวเลขด้ านหลังคือระดับชัน้ เช่น Floor Plan คือ 1 คือตัวเลขสีแดง แผ่นที่ 1 และตามด้ วยแผ่นต่างๆเรี ยงตามลาดับตัวเลขคือสีดา แต่ห้ามเกินเลย 3 หลัก เช่น 101 หลักการเขียนแบบของโครงการประเภทนี ้มีจานวนทังหมด ้ 40 แผ่น แสดงไว้ ดงั ต่อไปนี ้ C624- A-A-000-COVER
สารบัญแบบและสัญลักษณ์ แบบทัว่ ไป (General -symbols legend, notes) - 0
C624- A-A-100-SP
ผังบริ เวณ
C624- A-A-101-FP
แปลนพื ้นชันล่ ้ าง
C624- A-A-102-FP
แปลนพื ้นชัน้ 2
C624- A-A-103-FP
แปลนพื ้นชัน้ 3
C624- A-A-104-FP
แปลนพื ้นชัน้ 4
C624- A-A-105-FP
แปลนพื ้นชัน้ 5
C624- A-A-106-FP
แปลนพื ้นชัน้ 6
C624- A-A-107-FP
แปลนพื ้นชัน้ 7
C624- A-A-108-FP
แปลนพื ้นชัน้ 8
C624- A-A-109-CP
ผังฝ้ าเพดานล่าง
C624- A-A-110-CP
ผังฝ้ าเพดานชัน้ 2 - 4
C624- A-A-111-CP
ผังฝ้ าเพดานชัน้ 5 ‟ 8
C624- A-A-112-RO
แปลนหลังคาชันดาดฟ้ ้ า
C624- A-A-201-EL
รูปด้ าน 1
C624- -A-202-EL
รูปด้ าน 2
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
แบบแปลน ( Plans ) - 1
รูปด้ าน ( Elevations ) - 2
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards C624- A-A-203-EL
รูปด้ าน 3
C624- A-A-204-EL
รูปด้ าน 4
C624- A-A-301-SC
รูปตัด A
C624- A-A-302-SC
รูปตัด B
C624- A-A-302-SC
รูปตัด C
C624- A-A-401-EP
แบบขยายห้ องพักชัน้ 2-4
C624- A-A-402-EP
แบบขยายห้ องพักชัน้ 5-7
C624- A-A-403-EP
แบบขยายห้ องน ้า
C624- A-A-404-ST
แบบขยายบันไดหลัก
C624- A-A-405-ST
แบบขยายบันไดหนีไฟ 1
C624- A-A-406-ST
แบบขยายบันไดหนีไฟ 2
C624- A-A-407-EL
แบบขยายสถาปั ตยกรรม 1
C624- A-A-408-EL
แบบขยายสถาปั ตยกรรม 2
C624- A-A-409-EL
แบบขยายสถาปั ตยกรรม 3
C624- A-A-410-EL
แบบขยายสถาปั ตยกรรม 4
C624- A-A-411-EL
แบบขยายสถาปั ตยกรรม 5
C624- A-A-501-W
แบบรายละเอียดผนัง
C624- A-A-502-DR
แบบรายละเอียดประตู
C624- A-A-503-GZ
แบบรายละเอียดหน้ าต่าง
C624- A-A-601-DR
แบบขยายประตู
แบบตารางรูปขยาย
C624- A-A-602-GZ
แบบขยายหน้ าต่าง
( Schedules and Diagrams )-6
C624- A-A-701-NP
แบบลายกระเบื ้องทางเดินชันล่ ้ าง
C624- A-A-702-NP
แบบลายกระเบื ้องทางเดินชัน้ 2-8
C624- A-A-702-NP
แบบลายกระเบื ้องทางเดินชัน้ 2-8
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
รูปด้ าน ( Elevations ) - 2
รูปตัด ( Sections ) - 3
แบบขยาย ( Large Scale Views (plans, elevations, sections that are not details) - 4
แบบรายละเอียด (Details)-5
แบบเพิ่มเติม (User Defined)-7
17
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
Sheet Set Manager กับ Project Navigator เมื่อตังชื ้ ่อโฟลเดอร์ และไฟล์งานเรี ยบร้ อยแล้ ว การจัดระบบการทางานในโปรแกรม AutoCAD ก็มี ความสาคัญเช่นกัน สาหรับทางานเชื่อมต่อกันระหว่าง Model file และ Sheet file ซึง่ ผู้เขียนแบบสามารถเลือกใช้ งานได้ ทงั ้ 2 โปรแกรมคือ Sheet Set Manager กับ Project Navigator
1. Sheet Set Manager วิธีเปิ ดการใช้ งาน การเปิ ดใช้ งานจะมี 3 วิธีด้วยกันคือ 1. วิธีการเปิ ดใช้ Sheet Set Manager เพื่อเรี ยกเปิ ดดูไฟล์งานทังโครงการ ้ ไปที่เครื่ องหมายลูกศรชี ้ลงซึง่ อยูด่ ้ านบน ของ Menu Bar และกด More Commands… จะปรากฏ Dialog Box ขึ ้นมา ให้ พิมพ์ในช่อง Search command list ว่า “Sheet Set” เลือก “ Sheet Set Manager ” และลากมาวางบน Menu Bar จะปรากฏ Icon
2. คลิกที่ Tools Work Spaces
AutoCAD Classic จะปรากฏแถบเครื่ องมือขึ ้นมา
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
18
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards 3. พิมพ์ที่ command line “ SHEETSET ” หรื อ “ SSM ”
Enter
ขัน้ ตอนการสร้ าง Sheet Set ใน Sheet Set Manager 1. อันดับแรกคือสร้ าง New Sheet Set
เลือก New Sheet Set
2. เลือก Existing Drawings
Next
เลือก
เลือก
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
s
Existing Drawing
Next
19
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards 3. ตังชื ้ ่อ Sheet Set เช่น “ ProjCondoLatte624 Building A-100206 ”
ตังชื ้ ่อ Sheet Set อธิบายรายละเอียด ของโครงการ เลือก folder ที่เก็บไฟล์ Sheet Set Data . dst
เลือก Next Name of new sheet set : ( โครงการชื่อ ) ProjCondoLatte624-Building A-100206 ( วันที่แก้ ไขครัง้ สุดท้ าย ) Description (optional) : ( รายละเอียดของโครงการ ) Project’s Name : CondoLatte624 Location: Ratchada Soi 36 , Chatalakasem District , Jatujak , Bangkok Details : 3 Buildings - Building A , B , C Completed year : 2010 Store sheet set data file(.dst) here: ( ที่เก็บไฟล์ Sheet Set ) D:\100206_ProjCondoLette624
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
20
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards 4. คลิกขวาที่ ProjCondoLatte624-Building A จะปรากฏแถบด้ านข้ างไว้ สาหรับตังชื ้ ่อโฟลเดอร์ หลักและโฟลเดอร์ ย่อย ( New subset ) และ การเพิ่มไฟล์งานลงไปในกลุม่ โฟลเดอร์ ( New sheet ) วิธีนี ้เป็ นข้ อดีสาหรับการจัดข้ อมูล ไฟล์งานให้ เป็ นระบบทัง้ Model File และ Sheet File โดยที่ ผ้ เู ขียนแบบสามารถเปิ ดดูไฟล์งานทังหมดจากในตั ้ ว โปรแกรมซึง่ มีการตังชื ้ ่อแบ่งกลุม่ ประเภทงาน เช่น Plans , Elevations , Sections , Enlarge Plans และอื่น ๆ ซึง่ ภายในตัว sub folder แต่ละตัวจะประกอบไปด้ วยไฟล์งานที่ได้ ทาการตังชื ้ ่อไว้ เรี ยบร้ อยแล้ ว ที่สามารถคลีเ่ ปิ ดปิ ดดู จากเครื่ องหมาย + กับ - ด้ านหน้ าโฟลเดอร์ และปิ ดตัว Sheet Set Manager ในระหว่างขันตอนการเขี ้ ยนแบบ และ เรี ยกใช้ งานจากการพิมพ์คาสัง่ ที่ Command Line ด้ านล่าง “ SHEETSET ” หรื อ “ SSM ”
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
Enter
21
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards 5. การเชื่อมโยงข้ อมูลระหว่างไฟล์งานเขียนแบบที่มีการแก้ ไขในช่วงออกแบบ ( Model file ) และ ไฟล์งาน Layout ที่ รวบรวบงานและเตรี ยมพิมพ์ ( Sheet file ) สามารถทาได้ โดยเปิ ด Sheet file ที่จดั เตรี ยมไว้ แล้ ว เช่น C624-Building A-A-101-FP และไปที่ Tab ด้ านข้ างชื่อ Model Views และเปิ ดโฟลเดอร์ ที่ต้องการเรี ยกใช้ ของ Model Files จากนันใช้ ้ วิธีการ Drag & Drop ไฟล์งานวางลงบนหน้ า Layout ที่มีกล่อง Title Block จัดวางไว้ เรี ยบร้ อยแล้ ว ผู้เขียนแบบสามารถจัดวางหลายไฟล์งานลงในแผ่นเดียวกันและปรับสเกล ( Scale ) งานให้ พอดี แล้ ว ทาการกดบันทึก ไฟล์งาน โดยโปรแกรม Sheet Set Manager จะทาการเชื่อมโยงแหล่งไฟล์งานอ้ างอิงต่างๆ หากมีการแก้ ไขแบบ ก่อสร้ าง การใช้ ระบบนี ้จะทาให้ การทางานรวดเร็ วขึ ้นและเป็ นระเบียบในการเปิ ดดูไฟล์เขียนแบบ
องค์ประกอบของ Sheet Set Manager จะประกอบไป ด้ วย 3 ส่วน คือ 1
1. Sheet List ‟ ส่วนที่จดั การรวบรวมไฟล์ทงหมดใน ั้ โฟลเดอร์ งานที่สามารถเปิ ดดูได้ จากแถบ Palette 2. Sheet Views ‟ บันทึกรายการที่ถกู เปิ ดจาก Model
2
Views ลงในส่วน Layout ของแบบ Sheet files 3. Model Views ‟ เปิ ด Model Files และใช้ วิธี Drag & Drop คือการดึงไฟล์มาวางลงบนหน้ า Layout ที่มี
3
Title Block ซึง่ อานวยความสะดวกสาหรับการจัดวาง Model Files หลายส่วนในหน้ าเดียวกัน
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
22
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
Project Navigator Project Navigator คือ หน้ าต่างสาหรับจัดการกลุม่ ของไฟล์งานทังหมดส ้ าหรับการทางาน 1 โครงการ 1.วิธีการใช้ Project Navigator เพื่อตังชื ้ ่อ Project และจัดทาเป็ น Folder จะเปิ ดการใช้ โดยไปที่เครื่ องหมายลูกศร ชี ้ลงซึง่ อยูด่ ้ านบนของ Menu Bar เมื่อทาการกดแล้ วจะมี Icon ของ Project Navigator ขึ ้นมาด้ านบน
2.พิมพ์ที่ command line “ PROJECTNAVIGATOR “ หรื อ กด “ Ctrl + 5
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
23
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards ขัน้ ตอนการสร้ าง Sheet Set ใน Project Navigator การสร้ างลาดับข้ อมูลไฟล์งานแบบก่อสร้ างของ Project Navigator กับ Sheet Set Manager มีความคล้ ายคลึง กัน แต่แตกต่างกันตรงที่ Project Navigator
ในขันตอนการตั ้ งชื ้ ่อจะมีการให้ ตงชื ั ้ ่อรหัสของโครงการเข้ ามาคือ
Project Number ตามด้ วย Project Name , Description และมีหน้ าต่าง Window Preview งานออกแบบ 3 มิติ ที่สามารถเลือ่ น หมุน ขยับ โมเดล ข้ อแตกต่างระหว่างการทางานคือจะมีจานวน Tab 4 อัน ในขณะที่ Sheet Set Managers จะมี Tab 3 อัน ซึง่ คือจานวนฟั งค์ชนั การใช้ งานที่เพิ่มขึ ้นคือ Project , Constructs , Views , Sheets
1. Project เมื่อเริ่ มทางานครัง้ แรกจะให้ มีการกาหนดชื่อของงาน ระยะเวลาการทางาน ชื่อโครงการ และรายละเอียด ต่างๆที่จะต้ องแนบการในแบบก่อสร้ าง
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
24
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards 2. Constructs กลุม่ ขันตอนการสร้ ้ างชิ ้นงาน ของโครงสร้ าง ในแบบ 3 มิติ ซึง่ ในแต่ละชิ ้นงานจะแยกไฟล์ละชิ ้น เช่น งานผนัง งานพื ้น งานหลังคา งานตกแต่ง เพื่อความสะดวกในการค้ นหาและแก้ ไข
ผู้ใช้ งานสามารถกาหนดกลุม่
โฟลเดอร์ ของแต่ละส่วนได้
3. Views คือหน้ าที่เก็บรวบรวม Model file และมีกลุม่ ขันตอนในการประกอบชิ ้ ้นงานของ Model File เข้ าด้ วยกัน ลง ใน Sheet File ซึง่ เป็ นกระดาษ layout Title Block โดยอันดับแรกผู้ ใช้ งานต้ องเปิ ดไฟล์ใน Tab Sheet ก่อน และ ไปหน้ า Views ในการดึงไฟล์ลงมาวางหน้ าแผ่นงานเปล่า จากนันท ้ าการบันทึกไฟล์ข้อมูลก็จะยังคงอยูเ่ หมือนเดิม และทาการ Update ข้ อมูลหากมีการแก้ ไขเกิดขึ ้น ในขณะที่ Sheet Set Manager ต้ องมีไฟล์อ้างอิงจากไฟล์ที่อื่นที่ ทาเสร็ จแล้ ว แต่ใน Project Navigator สามารถสร้ างไฟล์และบันทึกข้ อมูลได้ ในนี ้เลย
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
25
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
4. Sheet กลุม่ ขันตอนการสร้ ้ างแผ่นงาน Layout Title Block เพื่อเตรี ยมพิมพ์ ( Plot ) การกาหนดรายละเอี ยดของ แบบการแยกประเภทงาน เช่ น Plans , Elevations , Sections , Large Scale Views , Details , Schedules and Diagrams , 3D Representations
การใช้ โปรแกรม Sheet Set Manager กับ Project Navigator มีประโยชน์อย่างมากในการบริ หารจัดการงาน ก่อสร้ างทังโครงการ ้ ซึง่ เป็ นการ Link file โฟลเดอร์ ที่ผ้ เู ขียนแบบจัดทาไว้ อยูแ่ ล้ ว แต่ทงนี ั ้ ้ผู้ใช้ งานต้ องจัดลาดับ subset ของไฟล์งานให้ เป็ นหมวดหมูต่ ามมาตรฐาน AIA CAD Standards ดังตัวอย่างในรูปภาพข้ างบน ข้ อดีข อง Project Navigator ที่นิยมใช้ ในการทางานปั จจุบนั คือการแบ่งประเภท Model file ในหน้ า Views กับ Sheet file ในหน้ า Sheets และทางานเชื่อมต่อ จัดวางไฟล์อ้างอิงได้ รวดเร็ วกว่า Sheet Set Manager และเพิ่มฟั งค์ชนั ในหมวด 3D ในหน้ า Constructs
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
26
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
ฟั งค์ ชันการใช้ งาน การเลือกใช้ งานระหว่าง Sheet Set Manager กับ Project Navigator ขึ ้นอยูก่ บั Version ของโปรแกรม Auto Cad ถ้ าเป็ นแบบ Full Version ( AutoCAD 2012 ) จะใช้ งานได้ ทงสองโปรแกรม ั้ แต่แบบ Light Version ( AutoCAD LT 2012 ) จะใช้ งานได้ เฉพาะ Sheet Set Manager Full Version AutoCAD 2012 ‟ Project Navigator , Sheet Set Manager ราคา US$3,995 ( 122,526.53 บาท ) Lite Version AutoCAD LT 2012 - Sheet Set Manager ราคา US$ 1,200 ( 36,803.96 บาท ) ทังนี ้ ้การเลือก Version ของโปรแกรมขึ ้นอยูก่ บั งบประมาณของบริ ษัทด้ วย ซึง่ บริ ษัทส่วนใหญ่ในประเทศไทย จะติดตังแบบ ้ Lite Version - AutoCAD LT เพราะราคาต่ากว่าแบบ AutoCAD แต่ข้อเสียของ - AutoCAD LT คือ จะต้ องติดตังได้ ้ ตวั ละเครื่ อง และไม่สามารถลงโปรแกรมเสริ ม ( Add-ons ) ซึง่ ถ้ าเป็ นแบบ AutoCAD จะเป็ นการ ติดตังโปรแกรม ้ Licensed ระบบ Network เครื อข่ายของทังบริ ้ ษัทและการทางานที่สมบูรณ์กว่า
สารบัญแบบก่ อสร้ าง ( Sheet List Table )
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
27
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
ทุกครัง้ ในการเขียนแบบ Sheet File จะมีสารบัญแบบ ( Sheet List Table ) อยูใ่ บแรก และขันตอนการเขี ้ ยน อาจจะมีการเพิ่มข้ อมูล หรื อเปลีย่ นชื่อ ดังนันแบบก่ ้ อสร้ างที่เตรี ยมพิมพ์ ควรจะมีการกาหนดชื่อ FIELD ในตารางซึง่ อยู่ ด้ านขวา เช่น “ ชื่อแบบ : A-105 ” , “ Project Details : อาคาร ค.ส.ล สูง 8 ชัน้ ” โดยทาการ Hight Light ที่ชื่อ และพิมพ์คาสัง่ ที่ command line :FIELD หรื อคลิกขวา “ Insert Field…” จากนันจึ ้ งเลือก “CurrentSheetSetCustom” > Upper Class ทุกแผ่น วิธีการทาเช่นนี ้ช่วยให้ ผ้ เู ขียนแบบเปลีย่ นชื่อผ่านโปรแกรม Sheet Set Manager และ Project Navigator ได้ เลย และทาให้ แบบก่อสร้ างเปลีย่ นรหัสชื่อ และรายละเอียดได้ โดยอัตโนมัติ สิง่ ที่สาคัญของการจัดระบบสารบัญแบบก่อสร้ าง ( Sheet List Table ) ต้ องไปที่ชื่อของ Project ที่อยูบ่ นสุด จากนันท ้ าการคลิกขวา เลือก Insert Table ซึง่ จะมี 2 แบบให้ เลือกคือ แบบธรรมดา กับ แบบที่มีการแบ่งหมวดหมู่ ตามมาตรฐาน Cad Standards เช่น General , Plans , Elevations , Sections , Large Scale Views , Details , Schedules and Diagrams , 3D Representations แต่แบบส่วนใหญ่ที่นิยมเขียนในประเทศไทยจะเป็ นแบบธรรมดา ซึง่ ประกอบด้ วย รหัสตัวเลข ( Sheet Number ) และ ชื่อแบบ ( Sheet Title ) 263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
28
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
สารบัญแบบประเทศไทย
สารบัญแบบต่ างประเทศ
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
29
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
การแก้ ไขรู ปแบบตาราง Sheet List Table
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
30
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
31
การเพิ่มช่ องตาราง
คลิกขวาที่ช่องตารางด้ านบนสุด “สารบัญแบบ” เลือก “ Row > Insert Below ” เพื่อเพิ่มช่องข้ าง ใต้ สารบัญแบบว่า “แบบสถาปั ตยกรรม”
การ Update Sheet List Table
คลิกขวาที่ตารางสารบัญแบบ > Update Table Data Links แบบก่อสร้ างที่ปรับปรุงแก้ ไขทังหมด ้ จะถูก Update ข้ อมูลให้ โดยอัตโนมัติ
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
ข้ อดีของการจัดลาดับข้ อมูลตามมาตรฐานการเขียนแบบซึง่ ในโปรแกรมเรี ยกว่า “ Sheet Set ” ทังใน ้ Sheet Set Manager และ Project Navigator ทาให้ แบบก่อสร้ างทังโครงการมี ้ ความเป็ นระเบียบเรี ยบร้ อย และเมื่อมีการ แก้ ไขแบบข้ อมูลของแบบ ก่อสร้ างทังในแบบวาด ้ “ Model File ” และที่จดั เตรี ยมพิมพ์ “ Sheet File Naming ” ทังสอง ้ อย่างจะทางานเชื่อมโยงกัน จุดเด่นของการมีโปรแกรมการจัดข้ อมูลแบบ ก่อสร้ างคือ ฟั งค์ชนั Insert Table ของ “ สารบัญแบบ ” ( Sheet List Table ) ที่มีการแก้ ไขข้ อมูลตารางให้ โดยอัตโนมัติซงึ่ มีความคล้ ายคลึงกับโปรแกรม Excel และเพิ่มช่องตารางเพิ่งเติมได้ ปรับขนาดตาราง และช่วยอานวยความสะดวกแก่การทางาน
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
32
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
บทที่ 4 การกาหนดชื่อเลเยอร์ (Layer names) ระบบเลเยอร์ ( Layers ) ชื่อของ layer นันถู ้ กเรี ยงเป็ นลาดับชันจากซ้ ้ ายไปขวา ตังแต่ ้ กลุม่ ของข้ อมูลย่อยลงไปถึงรายละเอียด แต่ละ ลาดับนันจะคั ้ น่ ด้ วยเครื่ องหมายขีด (dash) ข้ อมูลแต่ละระดับมักจะใช้ คาภาษาอังกฤษปกติ ส่วนมากจะเป็ นคาย่อที่ รู้จกั ในด้ าน งานก่อสร้ างอยูแ่ ล้ ว เพื่อความสะดวกในการจดจา
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
33
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
ภาพ Isometric การแบ่ ง Layers
การจัดระบบแบ่งเลเยอร์ ที่ดีจะช่วยให้ การทางานออกแบบมีความสะดวกรวดเร็ วในการใช้ งานมากขึ ้น แต่เมื่อ จานวนเลเยอร์ ตามมาตรฐาน CAD Standards มากขึ ้นจะทาให้ การใช้ งานเกิดความสับสนได้ การศึกษา เลเยอร์ ที่มี ความจาเป็ นกับการใช้ งานจริ ง จึงได้ มีการคิดวิธีการลดเลเยอร์ ที่ไม่จาเป็ นออก และถ้ าหากเลเยอร์ ไหนมีการใช้ งานลักาณะเหมือนกันก็นามารวมใช้ เป็ นเลเยอร์ เดียวกัน หรื อเพิ่มเลเยอร์ ขึ ้นมาใหม่หากมีความจาเป็ นในการใช้ งาน การคัดเลือกแลเยอร์ ได้ ใช้ วิธีใส่สเี ป็ น 3 สัญลักษณ์ที่สอื่ ความหมายดังนี ้ เลเยอร์ ที่ไม่มีความจาเป็ น เลเยอร์ ที่ยบุ รวมกัน
เลเยอร์ ที่ยบุ รวมโดยใช้ ชื่อนี ้
เลเยอร์ ที่ควรเพิ่มเข้ ามา
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
34
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
ตารางเลเยอร์ ตามการเขียนแบบมาตรฐาน (AIA CAD Standards) 1. แบบแปลน 1.1 ) Floor Plan : 62 เลเยอร์ No
Description
Layer Name
1
เส้ นบอกระยะทัว่ ไป
A-ANNO-DIMS
2
Bubble และข้ อความ
A-ANNO-GRID-IDEN
3
Grid Line
A-GRID
4
เสา
A-COLS
5
รหัสอ้ างอิง (Reference keynotes) และเส้ นโยง
A-ANNO-KEYN
6
ข้ อความทัว่ ไป
A-ANNO-TEXT
7
คาบรรยายและข้ อสังเกตทัว่ ไป
A-ANNO-NOTE
8
เส้ นสายในแบบที่ไม่ต้องการพิมพ์ออกมา
A-ANNO-NPLT
9
ลวดลาย หรือแรเงาทัว่ ไป
A-ANNO-PATT
10
แฟ้มข้ อมูลอ้ างอิง
A-ANNO-REFR
11
เส้ นสายการทา Marking (Redlining)
A-ANNO-REDL
12
ข้ อมูล Revision
A-ANNO-REVS
13
สัญลักษณ์ทวั่ ไป
A-ANNO-SYMB
14
เลขที่ห้อง ผู้เช่า ข้ อมูลขนาดพื ้นที่
A-AREA-IDEN
15
เส้ นขอบสาหรับวัดพื ้นที่
A-AREA-LINE
16
ชื่อเจ้ าของพื ้นที่ หรือพนักงาน
A-AREA-OCCP
17
ลวดลายของพื ้นที่
A-AREA-PATT
18
ประตู
A-DOOR
19
เลขที่ และสัญลักษณ์ประตู
A-DOOR-IDEN
20
หน้ าต่าง
A-GLAZ
21
สัญลักษณ์อื่นๆของหน้ าต่าง
A-GLAZ-SYMB
22
เลขที่ และสัญลักษณ์หน้ าต่าง
A-GLAZ-IDEN
23
ผนังหรือแผงกันกระจก ้ ความสูงชนโครงสร้ าง
A-GLAZ-FULL
24
หน้ าต่างหรือแผงกันความสู ้ งไม่ชนโครงสร้ าง
A-GLAZ-PRHT
25
เส้ นสาย ธรณีหน้ าต่าง
A-GLAZ-SILL
26
ผนัง
A-WALL
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
35
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards No
Description
Layer Name
27
เลขที่ และสัญลักษณ์ผนัง
A-WALL-IDEN
28
เส้ นแสดงช่องในผนัง
A-WALL-CAVI
29
เส้ นแนวกึ่งกลางผนัง
A-WALL-CNTR
30
ผนัง Curtain Wall
A-WALL-CWMG
31
อุปกรณ์แขวน หรือยึดติดผนัง
A-WALL-EQPM
32
ลวดลายแสดงแนวผนังกันไฟ
A-WALL-FIRE
33
ผนังภายนอก ความสูงชนโครงสร้ าง
A-WALL-FULL-EXTR
34
ผนังภายใน ความสูงชนโครงสร้ าง
A-WALL-FULL-INTR
35
เส้ นสายเหนือประตูหน้ าต่าง
A-WALL-HEAD
36
วงกบประตูหน้ าต่าง
A-WALL-JAMB
37
ผนัง แผงกันที ้ ่เคลื่อนย้ ายได้
A-WALL-MOVE
38
ฉนวน ลวดลาย แรเงาของผนัง
A-WALL-PATT
39
ผนังความสูงไม่ถึงฝ้าเพดาน
A-WALL-PRHT
40
อุปกรณ์แขวน หรือยึดติดกับผนัง
A-WALL-SPCL
41
ข้ อมูลทัว่ ไปของพื ้น
A-FLOR
42
เส้ นขอบ เส้ นรอบรูปของพื ้น
A-FLOR-OTLN
43
เส้ นรอบรูปของห้ องภายใน
A-FLOR-OTLN-RPRM
44
แนวช่องเปิ ด หรือสิ่งที่อยูเ่ หนือพื ้น
A-FLOR-OVHD
45
พื ้นยก (Raised Floor)
A-FLOR-RAIS
46
ป้าย เครื่องหมายบนพื ้น
A-FLOR-SIGN
47
อุปกรณ์เฉพาะด้ าน
A-FLOR-SPCL
48
ลวดลาย หรือแรเงาวัสดุพื ้น
A-FLOR-PATT
49
ชื่อห้ อง ข้ อมูลพื ้นฐาน
A-FLOR-IDEN
50
เลขที่ และสัญลักษณ์ห้อง
A-FLOR-NUMB
51
ระดับพื ้น
A-FLOR-LEVL
52
ลูกตังลู ้ กนอนของขันบั ้ นได
A-FLOR-STRS
53
เลขที่ลกู ตังลู ้ กนอนของขันบั ้ นได
A-FLOR-STRS-NUMB
54
เส้ นจมูกขันบั ้ นได
A-FLOR-RISE
55
ลูกกรง ราวจับบันได
A-FLOR-HRAL
56
ลิฟท์ ( Lift Car และอุปกรณ์ )
A-FLOR-EVTR
57
แผงกันห้ ้ องน ้า
A-FLOR-TPTN
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
36
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards No
Description
Layer Name
58
เฟอร์ นิเจอร์
A-FURN
59
งานไม้ ประกอบในที่ เช่น ตู้ เคาน์เตอร์
A-FLOR-WDWK
60
เฟอร์ นิเจอร์ Build in
A-FURN-FIX
61
เฟอร์ นิเจอร์ เคลื่อนที่ได้
A-FURN-FREE
62
ต้ นไม้
A-FURN-PLNT
เนื่องจากขันตอนการเขี ้ ยนแบบจาเป็ นต้ องใช้ เลเยอร์ ในการจัดแบ่งแยกส่วนของสิง่ ต่างๆที่อยูใ่ นแบบก่อสร้ าง หากทาตามข้ อกาหนดในการตังชื ้ ่อเลเยอร์ ตามมาตรฐาน AIA CAD Standards หมดทุกตัวในแต่ละประเภทของแบบ ก่อสร้ าง อาจจะทาให้ เกิดความสับสนในการเลือกใช้ ชื่อเลเยอร์ ดังนันจึ ้ งจาเป็ นต้ องคัดเลือกชื่อเลเยอร์ ที่จาเป็ นต่อการ ใช้ งานจริ งๆ การพิจารณาคือการดูชื่อเลเยอร์ ทงั ้ หมดที่ มาตรฐานนันมี ้ อยูแ่ ละทาการตัดสิง่ ที่ไม่จาเป็ นออกหรื อเพิ่ม ชื่อ เลเยอร์ ที่ควรมีและสามารถทาให้ การทางานสะดวกรวดเร็ วขึ ้น ในที่นี ้กาหนดการใช้ สเี ป็ นตัวแยกความแตกต่าง เช่น สีเขียว คือ เลเยอร์ เฉพาะทางและเหมาะจะใช้ กบั งานบางประเภทซึง่ การเขียนแบบก่อสร้ างทั่วไปไม่จาเป็ นต้ องมีก็ได้ สีฟ้า คือ เลเยอร์ ที่สามารถรวมกันเป็ นเลเยอร์ เดียวกันได้ และ สีเทา คือ เลเยอร์ ที่เพิ่มเข้ ามา Floor Plans : 1. A-ANNO-TEXT กับ A-ANNO-NOTE ใช้ เขียนตัวอักษรทัว่ ไปกับ คาบรรยายและข้ อสังเกตทัว่ ไป ทังสอง ้ อย่างมีการใช้ งานในลักษณะเหมือนกัน ดังนัน้ A-ANNO-TEXT น่าจะใช้ สอื่ ความหมายต่อผู้ใช้ งานได้ เข้ าใจกว่า 2. A-ANNO-PATT คือ ลวดลาย หรื อแรเง าทัว่ ไป ซึง่ บริ เวณที่มีการแรเงาจะแบ่งการใช้ งานออกเป็ น 2 อย่าง คือ ลวดลายวัสดุพื ้น กับ ฉนวน ลวดลาย แรเงาของผนัง เวลาผู้ใช้ งานต้ องการปิ ด-เปิ ดเลเยอร์ ใดเลเยอร์ หนึง่ จะไม่สามารถทาการแยกดูเป็ นส่วนได้ ดังนัน้ A-ANNO-PATT จึงควรแบ่งเป็ น 2 แบบตามการใช้ งานคือ A-FLORPATT และ A-WALL-PATT
แรเงาของผนัง
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
แรเงาของพืน้
37
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards 3. A-ANNO-REDL กับ A-ANNO-REVS เส้ นสายการทา Marking (Redlining) ใช้ เมื่อต้ องการทาเป็ น สัญลักษณ์จดุ ที่ต้องทาการแก้ ไขในแบบ โดยปกติเวลาแก้ ไขแบบทางานทัว่ ไป ต้ องทาบันทึกเป็ นหลักฐาน ซึง่ อาจจะ ใช้ เลเยอร์ ชื่อ “A-ANNO-NPLT” แทนได้ หากต้ องการพิมพ์ออกมาให้ ไปปรับค่า Setting ตรง Layers ทีหลัง Click Home tab Draw panel Revision Cloud.
4. A-AREA-IDEN (เลขที่ห้อง ผู้เช่า ข้ อมูลขนาดพื ้นที่ (เส้ นขอบสาหรับวัดพื ้นที่ ), A-AREA-LINE(ชื่อเจ้ าของ พื ้นที่ หรื อพนักงาน), A-AREA-OCCP (ชื่อเจ้ าของพื ้นที่ หรื อพนักงาน ) , A-AREA-PATT(ลวดลายของพื ้นที่ ) เลเยอร์ เหล่านี ้ใช้ เกี่ยวกับพื ้นที่ทงหมดและเหมาะกั ั้ บงานทางด้ านออกแบบตกแต่งภายในมากกว่า เพราะต้ องมีความละเอียด ในการระบุเฟอร์ นิเจอร์ ตา่ งๆ ขนาดพื ้นที่ เป็ นต้ น ดังนันจึ ้ งไม่มีความจาเป็ นกับงานทางด้ านสถาปั ตย์เท่าที่ควร 5. A-GLAZ-SYMB (สัญลักษณ์อื่นๆของหน้ าต่าง) , A-GLAZ-IDEN (เลขที่ และสัญลักษณ์หน้ าต่าง) สาหรับ การใช้ งานมีความจาเป็ นต้ องปิ ด-เปิ ดพร้ อมกันเพื่อความรวดเร็ ว ดังนันทั ้ งสองเลเยอร์ ้ ควรรวมเป็ นเลเยอร์ เดียวกันชื่อ A-GLAZ-IDEN ที่สอื่ ความหมายของสัญลักษณ์หน้ าต่างและเกิดความเข้ าใจได้ ง่ายกว่า 6. A-GLAZ-FULL(ผนังหรื อแผงกันกระจก ้ ความสูงชนโครงสร้ าง ) , A-GLAZ-PRHT (หน้ าต่างหรื อแผงกัน้ ความสูงไม่ชนโครงสร้ าง), A-GLAZ-SILL(เส้ นสาย ธรณีหน้ าต่าง) เลเยอร์ พวกนี ้เป็ นงานเฉพาะทางหรื อใช้ กบั บางงาน ที่ต้องการความละเอียดมากเกี่ยวกับการออกแบบกระจก และกับเหมาะกับสถาปนิกที่ทางานทางด้ านนี ้ 7. A-WALL-CAVI (เส้ นแสดงช่องในผนัง) , A-WALL-CNTR (เส้ นแนวกึ่งกลางผนัง ) , A-WALL-CWMG(ผนัง Curtain Wall ), A-WALL-EQPM(อุปกรณ์แขวน หรื อยึดติดผนัง ), A-WALL-FIRE (ลวดลายแสดงแนวผนังกันไฟ), AWALL-FULL-EXTR (ผนังภายนอก ความสูงชนโครงสร้ าง ), A-WALL-FULL-INTR (ผนังภายใน ความสูงชน โครงสร้ าง), A-WALL-HEAD(เส้ นสายเหนือประตูหน้ าต่าง ) , A-WALL-JAMB(วงกบประตูหน้ าต่าง ), A-WALL-MOVE 263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
38
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards (ผนัง แผงกันที ้ ่เคลือ่ นย้ ายได้ ), A-WALL-PRHT(ผนังความสูงไม่ถึงฝ้ าเพดาน), A-WALL-SPCL(อุปกรณ์แขวน หรื อยึด ติดกับผนัง ) เลเยอร์ ที่เกี่ยวกับงานผนังเหล่านี ้จะเหมาะกับงานดีเทลที่ต้องการรายละเอียดมาก แต่ถ้าใช้ งานทัว่ ไปก็ อาจจะเยอะจนเกินความจาเป็ นที่จะแยกแต่ละส่วนของผนัง 8. A-FLOR-OTLN (เส้ นขอบ เส้ นรอบรูปของพื ้น ) , A-FLOR-OTLN-RPRM(เส้ นรอบรูปของห้ องภายใน ), A-FLOR-OVHD(พื ้นยก (Raised Floor), A-FLOR-RAIS(พื ้นยก (Raised Floor) , A-FLOR-SIGN(ป้าย เครื่ องหมาย บนพื ้น) , A-FLOR-SPCL(อุปกรณ์เฉพาะด้ าน) เลเยอร์ เกี่ยวกับพื ้นพวกนี ้อาจจะเยอะจนเกินความจาเป็ น และน่าจะ ใช้ ร่วมกับ A-FLOR ได้ จะช่วยลดเลเยอร์ ที่เกินความจาเป็ นลงไป 9. A-FLOR-IDEN (ชื่อห้ อง ข้ อมูลพื ้นฐาน ) กับ A-FLOR-NUMB (เลขที่ และสัญลักษณ์ ห้อง) สามารถใช้ งานร่วมกันได้ เพื่อสะดวกในการปิ ด -เปิ ดเลเยอร์ เมื่อต้ องการไม่ใช้ งาน หากต้ องการให้ ตวั หนังสือหรื อตัวเลขใน สัญลักษณ์ห้องมีความโดดเด่นในการใช้ งานก็เปลีย่ นสีเป็ นของเลเยอร์ อื่นที่มีขนาดปากกาเท่ากัน 10. A-FLOR-STRS-NUMB (เลขที่ลกู ตังลู ้ กนอนของขันบั ้ นได ) , A-FLOR-RISE (เส้ นจมูกขันบั ้ นได ), A-FLOR-HRAL (ลูกกรง ราวจับบันได ) สามารถใช้ งานร่วมกันได้ ดังนันสองเลเยอร์ ้ จึงใช้ ชื่อรวมกันว่า A-FLORRISE ที่สอื่ ถึงการขึ ้นบันได 11. A-FLOR-WDWK (งานไม้ ประกอบในที่ เช่น ตู้ เคาน์เตอร์ ) , A-FURN-FIX (เฟอร์ นิเจอร์ Build in) , AFURN-FREE (เฟอร์ นิเจอร์ เคลือ่ นที่ได้ ) , A-FURN-PLNT(ต้ นไม้ ) เลเยอร์ ทงหมดนี ั้ ้จัดอยูใ่ นกลุม่ เฟอร์ นิเจอร์ และควรจัด ให้ เป็ นหมวดหมูเ่ ดียวกันเพื่อ การมองดู และใช้ งานได้ สะดวก การแยกประเภทเฟอร์ นิเจอร์ แต่ละแบบอาจไม่มีความ จาเป็ นเท่าใดนักกับงานสถาปั ตย์ จึงสามารถใช้ งานเลเยอร์ ร่วมกันได้
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
39
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
ตารางเลเยอร์ ท่ จี าเป็ นกับการทางาน 1.2) Floor Plan : 25 เลเยอร์ No
Description
Layer Name
1
เส้ นบอกระยะทัว่ ไป
A-ANNO-DIMS
2
Bubble และข้ อความ
A-ANNO-GRID-IDEN
3
Grid Line
A-GRID
4
เสา
A-COLS
5
รหัสอ้ างอิง (Reference keynotes) และเส้ นโยง
A-ANNO-KEYN
6
ข้ อความทัว่ ไป
A-ANNO-TEXT
7
เส้ นสายในแบบที่ไม่ต้องการพิมพ์ออกมา
A-ANNO-NPLT
8
ลวดลาย หรือแรเงาผนัง
A-WALL-PATT
9
ลวดลาย หรือแรเงาวัสดุพื ้น
A-FLOR-PATT
10
สัญลักษณ์ทวั่ ไป
A-ANNO-SYMB
11
ประตู
A-DOOR
12
เลขที่ และสัญลักษณ์ประตู
A-DOOR-IDEN
13
หน้ าต่าง
A-GLAZ
14
เลขที่ และสัญลักษณ์หน้ าต่าง
A- GLAZ -IDEN
15
ผนัง
A-WALL
16
เลขที่ และสัญลักษณ์ผนัง
A-WALL-IDEN
17
ข้ อมูลทัว่ ไปของพื ้น
A-FLOR
18
เลขที่ และสัญลักษณ์ของห้ อง
A-FLOR-IDEN
19
ระดับพื ้น
A-FLOR-LEVL
20
ลูกตังลู ้ กนอนของขันบั ้ นได
A-FLOR-STRS
21
เลขที่ลกู ตังลู ้ กนอนของขันบั ้ นได
A-FLOR-RISE
22
ลิฟท์ ( Lift Car และอุปกรณ์ )
A-FLOR-EVTR
23
แผงกันห้ ้ องน ้า
A-FLOR-TPTN
24
เฟอร์ นิเจอร์
A-FURN
25
แฟ้มข้ อมูลอ้ างอิง
A-ANNO-REFR
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
40
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
ตารางเลเยอร์ ตามการเขียนแบบมาตรฐาน (AIA CAD Standards) 2. แปลนฝ้าเพดาน 2.1) Reflected Celing Plan : 28 เลเยอร์ No
Description
Layer Name
1
เส้ นบอกระยะทัว่ ไป
A-ANNO-DIMS
2
Bubble และข้ อความ
A-ANNO-GRID-IDEN
3
Grid Line
A-GRID
4
รหัสอ้ างอิง (Reference keynotes) และเส้ นโยง
A-ANNO-KEYN
5
ข้ อความทัว่ ไป
A-ANNO-TEXT
6
คาบรรยายและข้ อสังเกตทัว่ ไป
A-ANNO-NOTE
7
เส้ นสายในแบบที่ไม่ต้องการพิมพ์ออกมา
A-ANNO-NPLT
8
ลวดลาย หรือแรเงาทัว่ ไป
A-ANNO-PATT
9
แฟ้มข้ อมูลอ้ างอิง
A-ANNO-REFR
10
เส้ นสายการทา Marking (Redlining)
A-ANNO-REDL
11
ข้ อมูล Revision
A-ANNO-REVS
12
ลวดลาย หรือแรเงาฝ้าเพดาน
A-CLING-PATT
13
ลวดลาย หรือแรเงาผนัง
A-WALL-PATT
14
สัญลักษณ์ทวั่ ไป
A-ANNO-SYMB
15
ข้ อมูลทัว่ ไปของฝ้าเพดาน
A-CLING
16
เลขที่ และสัญลักษณ์หน้ าผนัง
A-CLING-IDEN
17
อุปกรณ์ติดฝ้าเพดาน
A-CLNG-SUSP
18
ดวงไฟ
A-LITE-CLING
19
ช่องเปิ ดของฝ้าเพดาน
A-CLNG-ACCS
20
Ceiling control joint
A-CLNG-CTLJ
21
กริดของฝ้าเพดาน
A-CLNG-GRID
22
ช่องเปิ ดบนฝ้าเพดาน ช่องหลังคา
A-CLNG-OPNG
23
แนวโครงตัวทีหลัก
A-CLNG-TEES
24
งานรือ้ ถอน - ระยะที่ 1
A-DEMO-PHS1
25
งานรือ้ ถอน - ระยะที่ 2
A-DEMO-PHS2
26
งานรือ้ ถอน - ระยะที่ 3
A-DEMO-PHS3
27
พื ้นชันล่ ้ างที่ใช้ อ้างอิง
A-FLOR-XREF
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
41
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards 1. A-CLNG-SUSP ( อุปกรณ์ติดฝ้ าเพดาน ) กับ A-LITE-CLING ( ดวงไฟ ) ทังสองเลเยอร์ ้ สามารถรวมกันได้ ซึง่ หมายถึงอุปกรณ์ที่ติดอยูบ่ นเพดานทังหมด ้ และ A-CLNG-SUSP (Suspension) จะสือ่ ความหมายได้ ดีที่สดุ 2. A-CLNG-ACCS ( ช่องเปิ ดของฝ้ าเพดาน ), A-CLNG-CTLJ (Ceiling control joint) , A-CLNG-GRID ( กริ ดของฝ้าเพดาน ), A-CLNG-OPNG(ช่องเปิ ดบนฝ้าเพดาน ช่องหลังคา ), A-CLNG-TEES( แนวโครงตัวทีหลัก ) ใน แบบก่อสร้ างทัว่ ไปอาจจะไม่จาเป็ นต้ องมีการแบ่งราบละเอียดเกี่ยวกับงานเพดาน แต่จะเหมาะกับการใช้ งานของ วิศวกรในการระบุตาแหน่งช่องเปิ ดของฝ้ าเพดาน งานโครงสร้ างมากกว่า 3. A-DEMO-PHS1(งานรื อ้ ถอน - ระยะที่ 1), A-DEMO-PHS2(งานรื อ้ ถอน - ระยะที่ 2), A-DEMO-PHS3 (งานรื อ้ ถอน - ระยะที่ 3) เลเยอร์ เหล่านี ้เหมาะกับการใช้ งานเมื่อต้ องออกแบบงานรื อ้ ถอน ( Renovation ) สาหรับงาน ออกแบบก่อสร้ างทัว่ ไปจึงไม่ควรจะมีเพราะจะเยอะเกินไปและไม่ได้ ใช้ 4. สิง่ ที่เพิ่มเติมมาในแบบแปลนของฝ้ าเพดาน (Reflected Ceiling Plan) นี ้คือ A-FLOR ‟XREF (พื ้นชันล่ ้ าง ที่ใช้ อ้างอิง ) เพื่อแยกความแตกต่างทังสองชั ้ นคื ้ อ พื ้น กับ ฝ้าเพดาน โดยเลเยอร์ พื ้นจะใช้ สโี ทนไม่โดดเด่นมากนัก ส่วนเลเยอร์ ฝ้าเพดานจะใช้ สโี ทนสว่างเพื่อการแบ่งแยกว่าพื ้นที่ใดมีการติดตังฝ้้ า และพื ้นที่ใดไม่มี
ตารางเลเยอร์ ท่ จี าเป็ นกับการทางาน 2.2) Reflected Ceiling Plan : 14 เลเยอร์ No
Description
Layer Name
1
เส้ นบอกระยะทัว่ ไป
A-ANNO-DIMS
2
Bubble และข้ อความ
A-ANNO-GRID-IDEN
3
Grid Line
A-GRID
4
รหัสอ้ างอิง (Reference keynotes) และเส้ นโยง A-ANNO-KEYN
5
ข้ อความทัว่ ไป
A-ANNO-TEXT
6
เส้ นสายในแบบที่ไม่ต้องการพิมพ์ออกมา
A-ANNO-NPLT
7
ลวดลาย หรือแรเงาฝ้าเพดาน
A-CLING-PATT
8
ลวดลาย หรือแรเงาผนัง
A-WALL-PATT
9
สัญลักษณ์ทวั่ ไป
A-ANNO-SYMB
10
ข้ อมูลทัว่ ไปของฝ้าเพดาน
A-CLING
11
เลขที่ และสัญลักษณ์หน้ าผนัง
A-CLING-IDEN
12
อุปกรณ์ติดฝ้าเพดาน
A-CLNG-SUSP
13
พื ้นชันล่ ้ างที่ใช้ อ้างอิง
A-FLOR-XREF
14
แฟ้มข้ อมูลอ้ างอิง
A-ANNO-REFR
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
42
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
ตารางเลเยอร์ ตามการเขียนแบบมาตรฐาน (AIA CAD Standards) 3. รู ปด้ าน 3.1) Elevations : 33 เลเยอร์ No
Description
Layer Name
1
เส้ นบอกระยะทัว่ ไป
A-ANNO-DIMS
2
Bubble และข้ อความ
A-ANNO-GRID-IDEN
3
Grid Line
A-GRID
4
รหัสอ้ างอิง (Reference keynotes) และเส้ น
A-ANNO-KEYN
โยง 5
ข้ อความทัว่ ไป
A-ANNO-TEXT
6
คาบรรยายและข้ อสังเกตทัว่ ไป
A-ANNO-NOTE
7
เส้ นสายในแบบที่ไม่ต้องการพิมพ์ออกมา
A-ANNO-NPLT
8
ลวดลาย หรือแรเงาทัว่ ไป
A-ANNO-PATT
9
แฟ้มข้ อมูลอ้ างอิง
A-ANNO-REFR
10
เส้ นสายการทา Marking (Redlining)
A-ANNO-REDL
11
ข้ อมูล Revision
A-ANNO-REVS
12
งานรือ้ ถอน-ระยะที่ 1
A-DEMO-PHS1
13
งานรือ้ ถอน-ระยะที่ 2
A-DEMO-PHS2
14
งานรือ้ ถอน-ระยะที่ 3
A-DEMO-PHS3
15
ผนังหล่อกับที่
A-ELEV-CSWK
16
อุปกรณ์ยดึ ติดทัว่ ไป
A-ELEV-FIXT
17
งานตกแต่งผิว งานไม้ และคิ ้ว
A-ELEV-FNSH
18
เส้ นระดับดินในรูปด้ าน
A-ELEV-GRND
19
ช่องเปิ ดในรูปด้ าน
A-ELEV-OPNG
20
ลวดลาย หรือแรเงารูปด้ าน
A-ELEV-PATT
21
สัญลักษณ์ทวั่ ไป
A-ANNO-SYMB
22
ประตู
A-ELEV-DOOR
23
เลขที่ และสัญลักษณ์ประตู
A-ELEV-DOOR-IDEN
24
หน้ าต่าง
A-ELEV-GLAZ
25
เลขที่ และสัญลักษณ์หน้ าต่าง
A-ELEV-GLAZ -IDEN
26
เลขที่ และสัญลักษณ์พื ้น
A-ELEV-FLOR-IDEN
27
เส้ นกรอบอาคาร
A-ELEV-OTLN
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
43
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards No
Description
Layer Name
28
เส้ นกรอบของอาคาร ระดับ 1
A-ELEV-OTLN-LV01
29
เส้ นกรอบของอาคาร ระดับ 2
A-ELEV-OTLN-LV02
30
เส้ นกรอบของอาคาร ระดับ 3
A-ELEV-OTLN-LV03
31
เส้ นกรอบของอาคาร ระดับ 4
A-ELEV-OTLN-LV04
32
อุปกรณ์งานสุขาภิบาล
A-ELEV-PFIX
33
ป้ายสัญญาณ
A-ELEV-SIGN
1. A-ELEV-CSWK (อุปกรณ์ยดึ ติดทัว่ ไป ) , A-ELEV-FIXT (อุปกรณ์ยดึ ติดทัว่ ไป ) , A-ELEV-OPNG (ช่อง เปิ ดในรูปด้ าน) เหมาะกับแบบที่ต้องการรายละเอียดมาก แต่เมื่อพิจารณาก็ไม่มีความจาเป็ นเท่าใดนัก เนื่องจากเรา สามารถใช้ เลเยอร์ A-ANNO-KEYN (รหัสอ้ างอิง (Reference keynotes) และเส้ นโยง ) เป็ นตัวบอกว่าส่วนนี ้ใบแบบ เป็ นอะไร และจะเป็ นที่เข้ าใจได้ ง่ายกว่า 2. A-ELEV-GRND ( เส้ นระดับดินในรูปด้ าน ) , A-ELEV-OTLN (เส้ นกรอบอาคาร ) , A-ELEV-SIGN ( ป้าย สัญญาณ ) สามารถใช้ เลเยอร์ ของ Outline ขนาดความหนาของเส้ นที่แตกต่างกันได้ ซึง่ สามารถเลือกใช้ ได้ ตามความ เหมาะสมกับการเขียนแบบที่แสดงส่วนรูปด้ านที่อยูร่ ะดับหน้ า ระดับกลาง ระดับหลัง คือ A-ELEV-OTLN-LV01 (เส้ นกรอบของอาคาร ระดับ 1) - 0.35 A-ELEV-OTLN-LV02 (เส้ นกรอบของอาคาร ระดับ 2) - 0.25 A-ELEV-OTLN-LV03 (เส้ นกรอบของอาคาร ระดับ 3) - 0.18 A-ELEV-OTLN-LV04 (เส้ นกรอบของอาคาร ระดับ 4) - 0.13
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
44
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
ตารางเลเยอร์ ท่ จี าเป็ นกับการทางาน 3.2) Elevations : 17 เลเยอร์ No
Description
Layer Name
1
เส้ นบอกระยะทัว่ ไป
A-ANNO-DIMS
2
Bubble และข้ อความ
A-ANNO-GRID-IDEN
3
Grid Line
A-GRID
4
รหัสอ้ างอิง (Reference keynotes) และเส้ นโยง A-ANNO-KEYN
5
ข้ อความทัว่ ไป
A-ANNO-TEXT
6
เส้ นสายในแบบที่ไม่ต้องการพิมพ์ออกมา
A-ANNO-NPLT
7
ลวดลาย หรือแรเงารูปด้ าน
A-ELEV-PATT
8
สัญลักษณ์ทวั่ ไป
A-ANNO-SYMB
9
ประตู
A-ELEV-DOOR
10
เลขที่ และสัญลักษณ์ประตู
A-ELEV-DOOR-IDEN
11
หน้ าต่าง
A-ELEV-GLAZ
12
เลขที่ และสัญลักษณ์หน้ าต่าง
A-ELEV-GLAZ -IDEN
13
เลขที่ และสัญลักษณ์พื ้น
A-ELEV-FLOR-IDEN
14
เส้ นกรอบของอาคาร ระดับ 1
A-ELEV-OTLN-LV01
15
เส้ นกรอบของอาคาร ระดับ 2
A-ELEV-OTLN-LV02
16
เส้ นกรอบของอาคาร ระดับ 3
A-ELEV-OTLN-LV03
17
เส้ นกรอบของอาคาร ระดับ 4
A-ELEV-OTLN-LV04
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
45
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
ตารางเลเยอร์ ตามการเขียนแบบมาตรฐาน (AIA CAD Standards) 4. รู ปตัด 4.1) Sections : 40 เลเยอร์ No
Description
Layer Name
1
เส้ นบอกระยะทัว่ ไป
A-ANNO-DIMS
2
Bubble และข้ อความ
A-ANNO-GRID-IDEN
3
Grid Line
A-GRID
4
รหัสอ้ างอิง (Reference keynotes) และเส้ นโยง A-ANNO-KEYN
5
ข้ อความทัว่ ไป
A-ANNO-TEXT
6
คาบรรยายและข้ อสังเกตทัว่ ไป
A-ANNO-NOTE
7
เส้ นสายในแบบที่ไม่ต้องการพิมพ์ออกมา
A-ANNO-NPLT
8
ลวดลาย หรือแรเงาทัว่ ไป
A-ANNO-PATT
9
แฟ้มข้ อมูลอ้ างอิง
A-ANNO-REFR
10
เส้ นสายการทา Marking (Redlining)
A-ANNO-REDL
11
ข้ อมูล Revision
A-ANNO-REVS
12
ลวดลาย หรือแรเงารูปด้ าน
A-SECT-PATT
13
สัญลักษณ์ทวั่ ไป
A-ANNO-SYMB
14
งานรือ้ ถอน - ระยะที่ 1
A-DEMO-PHS1
15
งานรือ้ ถอน - ระยะที่ 2
A-DEMO-PHS1
16
งานรือ้ ถอน - ระยะที่ 3
A-DEMO-PHS1
17
เส้ นกรอบของ Finishing ตรงแนวตัด
A-SECT-FNSH
18
เลขที่ประจาชิ ้นส่วน
A-SECT-IDEN
19
ประตู
A-SECT-DOOR
20
เลขที่ และสัญลักษณ์ประตู
A-SECT-DOOR-IDEN
21
หน้ าต่าง
A-SECT-GLAZ
22
เลขที่ และสัญลักษณ์หน้ าต่าง
A-SECT-GLAZ -IDEN
23
เลขที่ และสัญลักษณ์พื ้น
A-SECT-FLOR-IDEN
24
วัสดุที่อยูห่ ลังแนวตัด
A-SECT- MBND
25
วัสดุที่อยูห่ ลังแนวตัด ระดับ 1
A-SECT-MBND-LV01
26
วัสดุที่อยูห่ ลังแนวตัด ระดับ 2
A-SECT-MBND-LV02
27
วัสดุที่อยูห่ ลังแนวตัด ระดับ 3
A-SECT-MBND-LV03
28
วัสดุที่อยูห่ ลังแนวตัด ระดับ 4
A-SECT-MBND-LV04
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
46
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards No
Description
Layer Name
29
วัสดุตรงแนวตัด
A-SECT-MCUT
30
ฝ้าเพดาน ตรงแนวตัด
A-SECT-MCUT-CLNG
31
คอนกรีต ตรงแนวตัด
A-SECT-MCUT-CONC
32
ประตู ตรงแนวตัด
A-SECT-MCUT-DOOR
33
Lift Car ตรงแนวตัด
A-SECT-MCUT-EVTR
34
พื ้น ตรงแนวตัด
A-SECT-MCUT-FLOR
35
หน้ าต่าง ตรงแนวตัด
A-SECT-MCUT-GLAZ
36
เหล็ก ตรงแนวตัด
A-SECT-MCUT-STEL
37
ลูกตังลู ้ กนอนของบันได ตรงแนวตัด
A-SECT-MCUT-STRS
38
ผนัง ตรงแนวตัด
A-SECT-MCUT-WALL
39
ไม้ ตรงแนวตัด
A-SECT-MCUT-WOOD
40
เส้ นระดับดินทีแ่ นวตัด
A-SECT-MCUT-GRND
1. A-SECT-FNSH ( เส้ นกรอบของ Finishing ตรงแนวตัด ) , A-SECT-IDEN ( เลขที่ประจาชิ ้นส่วน ) อาจจะ ไม่มีความจาเป็ นมากนักในการเขียนรูปตัดทัว่ ไปแต่อาจจาเป็ นกับแบบรายระเอียด ( Detail Drawings ) ที่ต้องการระบุ ชนิดของวัสดุแต่ละชิ ้นส่วน 2. A-SECT- MBND ( วัสดุที่อยูห่ ลังแนวตัด ) ไม่จาเป็ นต้ องมีเพราะว่าเลเยอร์ นี ้มีการแบ่งระดับเส้ นหนา บาง เช่น A-SECT-MBND-LV01 - 0.35 , A-SECT-MBND-LV02 - 0.25 , A-SECT-MBND-LV03 - 0.18, A-SECTMBND-LV04 - 0.13 3. A-SECT-MCUT ( วัสดุตรงแนวตัด ) ไม่จาเป็ นต้ องมีเพราะว่า เลเยอร์ นี ้มีการแบ่งระดับเส้ นหนาของวัสดุ ต่างๆที่มีความแตกต่างกัน เช่น คอนกรี ต ไม้ ประตู ลิฟท์ และอื่นๆ
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
47
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
ตารางเลเยอร์ ท่ จี าเป็ นกับการทางาน 4.2) Sections : 27 เลเยอร์ No
Description
Layer Name
1
เส้ นบอกระยะทัว่ ไป
A-ANNO-DIMS
2
Bubble และข้ อความ
A-ANNO-GRID-IDEN
3
Grid Line
A-GRID
4
รหัสอ้ างอิง (Reference keynotes) และเส้ น
A-ANNO-KEYN
โยง 5
ข้ อความทัว่ ไป
A-ANNO-TEXT
6
เส้ นสายในแบบที่ไม่ต้องการพิมพ์ออกมา
A-ANNO-NPLT
7
ลวดลาย หรือแรเงารูปด้ าน
A-SECT-PATT
8
สัญลักษณ์ทวั่ ไป
A-ANNO-SYMB
9
ประตู
A-SECT-DOOR
10
เลขที่ และสัญลักษณ์ประตู
A-SECT-DOOR-IDEN
11
หน้ าต่าง
A-SECT-GLAZ
12
เลขที่ และสัญลักษณ์หน้ าต่าง
A-SECT-GLAZ -IDEN
13
เลขที่ และสัญลักษณ์พื ้น
A-SECT-FLOR-IDEN
14
วัสดุที่อยูห่ ลังแนวตัด ระดับ 1
A-SECT-MBND-LV01
15
วัสดุที่อยูห่ ลังแนวตัด ระดับ 2
A-SECT-MBND-LV02
16
วัสดุที่อยูห่ ลังแนวตัด ระดับ 3
A-SECT-MBND-LV03
17
วัสดุที่อยูห่ ลังแนวตัด ระดับ 4
A-SECT-MBND-LV04
18
ฝ้าเพดาน ตรงแนวตัด
A-SECT-MCUT-CLNG
19
คอนกรีต ตรงแนวตัด
A-SECT-MCUT-CONC
20
ประตู ตรงแนวตัด
A-SECT-MCUT-DOOR
21
Lift Car ตรงแนวตัด
A-SECT-MCUT-EVTR
22
พื ้น ตรงแนวตัด
A-SECT-MCUT-FLOR
23
หน้ าต่าง ตรงแนวตัด
A-SECT-MCUT-GLAZ
24
เหล็ก ตรงแนวตัด
A-SECT-MCUT-STEL
25
ลูกตังลู ้ กนอนของบันได ตรงแนวตัด
A-SECT-MCUT-STRS
26
ผนัง ตรงแนวตัด
A-SECT-MCUT-WALL
26
ไม้ ตรงแนวตัด
A-SECT-MCUT-WOOD
27
เส้ นระดับดินทีแ่ นวตัด
A-SECT-MCUT-GRND
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
48
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
บทที่ 5 สรุปขัน้ ตอนการทางาน ขัน้ ตอนการทางาน ในขันตอนการท ้ างาน เขียนแบบก่อสร้ างของโครงการหนึง่ การจัดเตรี ยมตังชื ้ ่อ ที่เริ่ มขันตอนจากการจั ้ ดแบ่ง โครงสร้ างสารบัญแบบ ( Folder Structure ) การตังชื ้ ่อ ไฟล์งานให้ เป็ นระบบมาตรฐาน AIA CAD Standards ของ Model file และ Sheet files ไปจนถึงการตังชื ้ ่อเลเยอร์ ที่แบ่งประเภทงานสถาปั ตยกรรม งานโครงสร้ าง งานระบบ (A-COLS , S-COLS, M-HVAC) ก่อนการทางานทุกครัง้ จะทาให้ การทางาน เป็ นระบบและระเบียบในการเปิ ดดูจาก รหัสตัวเลขที่แทนชื่อประเภทงานและเลขหน้ า เช่น C624-Building A-A-CP01 ( Model File ) , C624-Building AA-109-CP ( Sheet file) เมื่อผู้เขียนแบบกาหนดจานวนแบบก่อสร้ างที่ต้องมีในโครงการนันจั ้ ดวางในโฟลเดอร์ วิธีการเรี ยกใช้ งานที่มี ความจาเป็ น คือ Sheet Set Manager หรื อ Project Navigator จะช่วยในการทาการจัดระบบไฟล์งานทังหมดโดยที ้ ่ ผู้เขียนแบบต้ องเปิ ดโฟลเดอร์ แบบโดยมีการแบ่งประเภทของ Model file และ Sheet file ในแต่ละครัง้ ของการ ทางานควรมีการบันทึก ปี /เดือน/วัน ไว้ ตอนต้ นของชื่อโฟลเดอร์ ชื่อการจัดระบบ Sheet ของตัวโปรแกรม data.dst และต่อท้ ายชื่อไฟล์ เพื่อเป็ นการเตือนความจาและไฟล์งานไม่ปนกัน การจัด subset folder ควรจะจัดในลักษณะตัวอย่างดังรูปภาพที่นา COVER PAGE ไว้ ข้างบนสุด และมี ประเภทงานในส่วนที่รับ ผิดชอบ คือ Architectural , Structural , M&E ในตัวอย่างจะจัดแบ่งสารบัญย่อยในหมวด ต่างๆ ตามมาตรฐาน AIA CAD Standards ที่บรรจุไฟล์งานตามประเภท
ในกระบวนการเขียนแบบก่อสร้ างที่มีความจาเป็ นในการอ้ างอิง เพราะลักษณะแบบก่อสร้ างมีโครงเหมือนกัน ควรมีการใช้ วิธี X-REF คือการอ้ างอิงข้ อมูลไฟล์งานต้ นฉบับที่มีการเปลีย่ นแปลงแก้ ไขให้ สามารถ Update ข้ อมูล และผู้ร่วมงานคนอื่นสามารถแก้ ไขตามแบบนันได้ ้ เป็ นการลดเวลาในการเคลือ่ นย้ ายไฟล์งานอีกอันหนึง่ ไปยังอีกไฟล์ และข้ อมูลมีความถูกต้ องทุกครัง้ 263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
49
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards เอกสารแบบก่ อสร้ าง สารบัญแบบและสัญลักษณ์ (A-000)
ผังบริเวณ (A-100)
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
50
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards แปลนพืน้ ชัน้ 1-8 (A-101 > A-108 )
แบบแปลนฝ้าเพดาน (A-109 > A-111)
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
51
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards แปลนหลังคา (A-112)
รูปด้ าน (A-201 > A-204 )
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
52
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards รูปตัด (A-301> A-303)
แบบขยายพืน้ (A-401 > A-402)
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
53
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards แบบขยายห้ องนา้ (A-403)
แบบขยายบันได (A-404 > A-406)
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
54
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards แบบขยายสถาปั ตยกรรม (A-407 > A-411)
แบบรายละเอียดผนัง (A-501)
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
55
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards แบบรายละเอียดของ ผนัง / ประตู / หน้ าต่ าง (A-502 > A-504 )
แบบขยายประตู-หน้ าต่ าง (A-601)
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
56
มาตรฐานเขียนแบบก่อสร้ าง AIA CAD Standards
บรรณานุกรม - คู่มือปฏิบัติวิชาชีพมาตรฐานการเขียนแบบก่ อสร้ างฉบับปี พ.ศ. 2554 สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย สถาบันสถาปนิกสยาม THE ASSOCIATION OF SIAMESE ARCHITECTS UNDER ROYAL PATRONAGE BY INSTITUTE OF SIAMESE ARCHITECTS , p1-270 , จัดพิมพ์โดย: สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ - Managing Your Drawings — AutoCAD Architecture 2011 http://www.youtube.com/watch?v=cpULIqy_ib0 - How to open the Project Navigator and Sheet Set Manager to AutoCAD Architecture 2012 Posted by Cherisse Biddulph on 09/26/2011 at 12:14 PM in Building Solutions http://blogs.rand.com/support/2011/09/how-to-add-the-project-navigator-and-sheet-set-manager-toautocad-architecture-2012.html - Compare AutoCAD Products : AutoCAD Architecture & AutoCAD LT 2012 http://usa.autodesk.com/compare-autocad-products/ - Project Navigator: Setting Up Sheets for a Project http://newsletters.hagerman.com/newsletters/ebul44-AEC.htm - SSMPropEditor - Sheet Set Manager Properties Editor http://www.jtbworld.com/SSMPropEditor.htm
263-514 ระบบข้ อมูลและมาตรฐานข้ อมูลในงานสถาปั ตยกรรม
57