งานแกะและตกแต่ งลายกนกโลง ศิลปะกนกโลงเป็ นงานประเภทวิจิตรศิลป์ มุ่งเน้นทางด้านความงามที่ตอ้ งอาศัยฝี มืออันประณี ต ในการแกะ และตกแต่งลายกนกบนกระดาษทอง ก่อนที่จะนาไปประดับบนโลงศพ งานแกะลายกนก บนกระดาษทองตามวิธีโบราณจะใช้วิธีการสลักลายด้วยสิ่ ว ตกแต่งลายกนกด้วยวิธีการปรุ ดุนลาย และ สอดลายด้วยกระดาษสี ต่าง ๆ ได้แก่ สี แดง สี เขียว และสี น้ าเงิน ต่อมาช่างในยุคปั จจุบนั ได้ประยุกต์ เครื่ องมือที่ใช้สลักจากสิ่ วมาเป็ น มีดขุด (เครื่ องมือแกะลายกนกโลงที่ทาจากใบมีดเล็ก ๆ ด้ามจับทาด้วยไม้ ขนาดพอดีมือ โดยช่ างจะทาไว้ใช้เองไม่มีขายในท้องตลาด) ส่ วนการตกแต่งลายกนก เพื่อให้ดูสวยงาม ช่างยังคงใช้วธิ ีการปรุ ดุนลาย และการสอดกระดาษสี เหมือนเดิม มีความงามเสมอเหมือนงานปิ ดทอง ประดับกระจกเช่นกัน งานแกะและการตกแต่งลายกนกโลงบนกระดาษทอง มีลาดับขั้นตอนการทางาน ดังนี้ ๑. การเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือ ๒. การทาแม่แบบลายกนกโลง ๓. การแกะและปรุ ดุนลายกนกโลงบนกระดาษทอง ๔. การสอดกระดาษสี ลายกนกโลง
วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือ มีดงั นี้ ๑. กระดาษชนิดต่าง ๆ ได้แก่ กระดาษทอง กระดาษมัน กระดาษเขียนลาย กระดาษ โปสเตอร์ บางสะท้อนแสงสี ต่าง ๆ กระดาษลอกลาย กระดาษซับลาย หรื อกระดาษฟาง ๒. อุปกรณ์การเขียนลาย ได้แก่ ดินสอ ไม้บรรทัด ยางลบ ดินสอสี ๓. อุปกรณ์การทาแม่แบบ ได้แก่ กรรไกร คัตเตอร์ แม็กเย็บกระดาษ กาวน้ าหรื อ แป้ งเปี ยก ๔. เครื่ องมือแกะลาย ได้แก่ มีดขุดลาย ตุด๊ ตู่เบอร์ ต่าง ๆ เขียงไม้ ค้อนไม้ ๕. เครื่ องมือตกแต่งลาย ได้แก่ เหล็กปรุ (ใช้ตะปูแทนก็ได้) ค้อนไม้ เขียงไม้
๗๐
ภาพที่ ๓.๑ ภาพกระดาษทองอังกฤษและกระดาษโปสเตอร์บางสี ต่าง ๆ
กระดาษทอง ที่นามาใช้แกะหรื อขุดลายกนกมีหลายชนิด “งานสลักกระดาษ” (เว็บไซต์ http://www.google.co.th/ "http://changsipmu.com/engraving_p05.html") ดังนี้ ๑. กระดาษอังกฤษ เป็ นโลหะชนิ ดหนึ่ งแผ่นบาง ๆ ปกติเป็ นสี เงินทั้งสองด้าน แต่ได้ทา ให้ดา้ นหนึ่งเป็ นสี ทอง หรื อสี อื่นๆ ๒. กระดาษทองย่น เป็ นกระดาษปิ ดโลหะแผ่นบางๆ เคลือบด้วยสี ทอง ผิวย่นเป็ นริ้ วๆ ๓. กระดาษทองตะกู หรื อ กระดาษทองน้ าตะโก เป็ นกระดาษปิ ดทับด้วยแผ่นตะกัว่ บางๆ แล้วทาด้วยรง ผสมน้ ามันยางให้เป็ นสี ทอง ๔. กระดาษแผ่ล วด หรื อ ทองแผ่ลวด เป็ นกระดาษทารั กน้ าเกลี้ ยง แล้วปิ ดหน้ากระดาษ ด้วยทองคาเปลวแผ่เต็มหน้ากระดาษ ๕. กระดาษทองเงิ น เป็ นกระดาษเคลื อ บผิ ว เป็ นสี ท อง สี เ งิ น และสี อื่ น ๆ ผิ ว เป็ นมัน คล้ายกระดาษอังกฤษ
มีดขุด
ตุด๊ ตู่ ขนาดใหญ่ เล็ก ภาพที่ ๓.๒ ภาพเครื่ องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มา : ภาพถ่ายโดยสุกญั ญา รัตนสุภา, ๒๕๕๐
เครื่องมือ และอุปกรณ์ ได้แก่ กาว แม็กเย็บกระดาษ มีดขุด คัตเตอร์ ตะปู ตุด๊ ตู่ ค้อนไม้ เขียงไม้ ดินสอ ไม้บรรทัด ยางลบ ๗๑
การทาแม่ แบบลายกนกโลง การท าแม่ แบบลายกนกโลง เป็ นขั้น ตอนที่ ส าคัญขั้นตอนหนึ่ ง ของงานแกะและตกแต่ ง ลายกนกโลงบนกระดาษทอง โดยเริ่ มต้นที่การเขียนลายกนกโลงซึ่ งในบทที่ ๒ ได้กล่าวถึงวิธีการเขียน ลายกนกโลงแบบเต็มตัวไว้แล้ว แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นคือเรื่ องความสมดุลของตัวลาย ถ้าช่างไม่ชานาญจริ ง ๆ ลายอาจจะบิดเบี้ยวได้ ดังนั้นวิธีการแก้ปัญหาของช่างจะใช้วิธีการเขียนลายเพียงซี กเดียว โดยลากเส้น แบ่งครึ่ งที่ ตวั ลาย แล้วเลื อกเขียนลายทางด้านซ้าย หรื อด้านขวาก็ได้ตามแต่ความถนัด หลังจากนั้น ให้คดั ลอกลายลงบนกระดาษแม่แบบที่พบั เตรี ยมไว้ (ถ้าต้องการทาบล็อกแม่แบบเพื่อเก็บไว้ใช้ในครั้ ง ต่อไปก็ไม่ตอ้ งพับกระดาษ) จะพับกระดาษกี่ทบขึ้นอยูก่ บั ลักษณะของตัวลาย การพับกระดาษจะพับอย่างไร ให้พิจารณาลักษณะของลาย เช่นเดียวกัน กับการลากเส้นแบ่ง ครึ่ งตัวลาย เช่น ลายที่มีลกั ษณะด้านซ้ายด้านขวาเหมือนกัน ด้านบนด้านล่างเหมือนกันก็ให้พบั กระดาษ เป็ นสี่ ทบตามแนวตั้งและแนวนอนเหมือนการลากเส้นแบ่งครึ่ งตัวลายเป็ นสี่ ส่วน เช่น ลายประจายามลูกโซ่ ลายลูกฟักประจายามก้ามปู และถ้าลายที่มีลกั ษณะด้านซ้ายด้านขวาเหมือนกัน แต่ดา้ นบนกับด้านล่าง ไม่เหมือนกัน ให้พบั กระดาษตามแนวตั้งอย่างเดียวจะพับกี่ทบแบ่งกี่ส่วนขึ้นอยูก่ บั ลักษณะของลายนั้น ๆ เมื่อลากเส้นแบ่งลายเสร็ จให้ตดั ลายออกมา ๑ ส่ วน ค่อย ๆ ศึกษาและสังเกตรายละเอียดของลาย แล้วจึง ฝึ กเขียนให้เกิดความชานาญ ตัวอย่าง การแบ่งส่ วนลายกนกโลงในลักษณะต่าง ๆ เพื่อนาไปสู่ วธิ ี การพับกระดาษ
๑ ลายหน้ากระดานประจายามลูกโซ่ แบ่งสี่ ส่วน
๒ ลายบัวปากถ้วยสองดอก แบ่งสี่ ส่วน
๓ แม่ลาย ลูกฟักประจายามก้ามปู แบ่งสี่ ส่วน
๔ ลายเชิงผ้าลายหรื อลายช่อสี่ ดอก แบ่งแปดส่วน
ภาพที่ ๓.๓ ภาพการตัดแบ่งลายกนกโลงเพื่อทาแม่แบบ ๑ – ๔ ๗๒
ที่มา : ขอม ทิพย์โพธิ์, ๒๕๕๐
ตัดลายกนกโลงมา ๑ ส่ วน นาไปแกะหรื อขุดส่ วนที่เป็ นพื้นออก จะได้บล็อกแม่แบบไว้ใช้ คัดลอกลายลงบนกระดาษแม่แบบในครั้ งต่อ ๆไปได้อีก หรื อจะใช้วิธีทาบลายลงไปบนกระดาษ ที่พบั ไว้สาหรับทาแม่แบบเลยก็ได้ โดยรองด้วยกระดาษก๊อปปี้ เสี ยก่อน แต่ถา้ ไม่มีกระดาษก๊อปปี้ จะเขียนลายกดทับลงไปให้เกิ ดเป็ นรอยแล้วลากเส้นทับรอยด้วยดิ นสออีกครั้งก็ได้เช่ นกัน วิธีการ พับกระดาษแม่แบบ จะช่วยประหยัดเวลาในการแกะแม่แบบ ตัวลายที่ได้ก็จะมีความเหมือน และ เท่ากันทุกตัว ดังนั้น การเขียนลายสาหรับทาแม่แบบจะใช้วิธีการทาบล็อกแม่แบบไว้ก่อน หรื อจะใช้วิธี ลากเส้นทับลงบนตัวลาย จะเลื อกใช้วิธีไหนก็สุดแต่ความสะดวกและความต้องการแต่ละคน ตัวอย่ าง ลายกนกโลงซี กเดียว
ภาพที่ ๓.๔ ภาพแม่แบบซีกเดียวลายช่อหรื อเชิงผ้าลาย ที่มา : ขอม ทิพย์โพธิ์, ๒๕๕๐
๗๓
วิธีการพับกระดาษแม่ แบบ ๑. เตรี ยมกระดาษพื้นขาวธรรมดา ขนาดกว้าง ยาว ประมาณ ๑๑ × ๒๖ เซนติเมตร ( ขนาดตามที่ช่างทากนกโลงใช้กนั อยูใ่ นปั จจุบนั ) ๒. พับครึ่ งตามรอยปรุ ในแนวตั้งเป็ นสองส่ วน ให้เท่ากัน
กว้าง ๑๑ ซ.ม. ยาว ๒๖ ซ.ม.
๓. พับครึ่ งตามรอยปรุ อีกครั้งตามแนวตั้ง หรื อตามแนวนอนให้เท่ากัน เป็ น สอง สาม หรื อ สี่ ทบ แล้วแต่ชนิดของลาย เว้นริ มขอบไว้ประมาณ ๐.๕ เซนติเมตร
แนวตั้ง
พับ ๒ ทบ
พับ ๓ ทบ ภาพที่ ๓.๕ ภาพแสดงวิธีการพับกระดาษแม่แบบ ที่มา : ขอม ทิพย์พ์ ิ, ๒๕๕๐
๗๔
แนวนอน พับ ๒ ทบ
พับ ๔ ทบ
ขั้นตอนการทาแม่ แบบลายกนกโลง มีลาดับดังนี้ ๑. เตรี ยมตัวลายที่เขียนไว้ซีกเดียว หรื อบล็อกแม่แบบซีกเดียว ๒. เตรี ยมกระดาษพื้นขาวธรรมดากว้าง ๑๑ เซนติเมตร ยาว ๒๖ เซนติเมตร (ซึ่ งเป็ น ขนาดที่ช่างทากนกโลงเลือกใช้ เพราะมีขนาดเท่ากันกับกระดาษทองที่ผลิ ตจาหน่ าย) และพับกระดาษ ตามชนิดลักษณะของลาย เช่น ลายบัวปากถ้วย พับตามแนวตั้ง ๒ ทบ ลายล่องไฟ ลายช่อ หรื อเชิงผ้าลาย พับตามแนวตั้ง ๔ ทบ แม่ลาย ลายหลังสิ งห์ พับตามแนวนอนสลับแนวนอน ๒ ทบ เป็ นต้น ๓. นาตัวลายที่เขียนไว้ หรื อบล็อกแม่แบบทาบลงบนกระดาษที่พบั ไว้ แล้วเขียนทับ ลายตามแบบ ๔. แกะหรื อขุดลายด้วยมีดขุด เดินเส้นไปตามลายที่ลอกเอาไว้ (วิธีการจับมีดขุด ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้จบั ด้ามมีดไว้ให้อยูใ่ นอุง้ มือ นิ้วก้อยวางติดกับพื้นคอยควบคุมทิศทางของการเดิน มีดไม่ให้ออกนอกเส้น หันใบมีดขึ้นด้านบนแล้วโยกมีดไปข้างหน้าเพื่อแกะลายตามแบบที่ลอกไว้) ด้วยความระมัดระวังอย่าให้ลายขาด ๕. คลี่กระดาษแม่แบบที่แกะหรื อขุดเสร็ จเรี ยบร้อยแล้วออก เราก็จะได้แม่แบบลาย กนกโลงเต็มตัวตามที่ตอ้ งการ ๖. ลากเส้นด้วยดินสอลงบนแม่แบบไปตามลายที่แกะไว้ เพื่อเป็ นแนวในการปรุ ดุน หรื อเดินมุกบนลายต่อไป
๗๕
ภาพแสดงขั้นตอนการทาแม่แบบลายกนกโลง (๑ - ๓)
๑ นาแม่แบบหรื อบล็อกไปทาบลงบนกระดาษที่พบั ไว้
๒ แกะหรื อขุดแม่แบบส่วนที่เป็ นพื้นทิ้งไป
๓ คลี่กระดาษแม่แบบออก ภาพที่ ๓.๖ ภาพแสดงขั้นตอนการทาแม่แบบลายกนกโลง ๑ – ๓ ที่มา : ทิพย์สุดา ศรี อ่อน, ๒๕๕๐ ๗๖
การแกะ และปรุดุนลายกนกโลงบนกระดาษทอง วิธีการแกะ และปรุ ดุนลายกนกโลงบนกระดาษทอง มีข้ นั ตอนตามลาดับ ดังนี้ ๑. นาแม่แบบลายกนกโลงแบบเต็มตัวที่แกะ หรื อขุดเรี ยบร้อยแล้ว มาทากาว หรื อ แป้ งเปี ยกให้ทวั่ ติดลงบนกระดาษมันสี ต่าง ๆ ให้เรี ยบสนิ ท เพื่อให้เห็นลายได้ชดั เจน กระดาษมัน ยัง ป้ องกันไม่ให้กระดาษทองฉี กขาดได้ง่ายใน ขณะที่ทาการแกะหรื อขุดลายกนกโลง ตัดริ มกระดาษมัน ให้เสมอกับแม่แบบ ๒. นากระดาษทองมาเรี ยงคว่าลงบนกระดาน สลับด้วยกระดาษซับลาย ทีละแผ่น โดยเรี ยงให้เสมอกันครั้งละ ๑๐ ถึง ๒๐ แผ่น และตามด้วยแม่แบบวางไว้บนสุ ด ตอกหมุดเล็ก ๆ ลงบน มุมกระดาษทั้งสี่ มุม หรื อจะเย็บด้วยเข็มเย็บกระดาษก็ได้ เพื่อป้ องกันไม่ให้ลายเลื่อนไปมา ๓. นากระดาษทองที่เย็บติดกับแม่แบบเรี ยบร้อยดีแล้ววางลงบนเขียงไม้ ใช้มีดขุด แกะหรื อขุดลายกนกโลงให้ครบถ้วน ๔. นาตุด๊ ตู่มาตอกลงบนส่ วนที่เป็ นดอกดวง หรื อต้องการให้เป็ นรู ออก ๕. นาเหล็กปรุ หรื อตะปูมาปรุ ดุนลายไปตามเส้นที่ลากไว้ โดยใช้คอ้ นไม้ตอกลง ไปเบา ๆ พอให้นูนขึ้นมาเป็ นเม็ด คล้ายเม็ดไข่ปลา จะปรุ ดุนแบบเส้นเดี่ยวหรื อเส้นคู่ก็ได้ตามที่ตอ้ งการ
๗๗
ภาพแสดงขั้นตอนการแกะและปรุ ดุนลายกนกโลงบนกระดาษทอง (๑ - ๔)
๑ เรี ยงกระดาษทองคว่าลงสลับกับกระดาษซับลายทีละแผ่น
๒ เย็บกระดาษทองติดกับแม่แบบ
๗๘
๓ แกะหรื อขุดลายกนกโลงบนกระดาษทองด้วยมีดขุด
๔ ปรุ ดุนลายไปตามเส้นที่ลากไว้ดว้ ยเหล็กปรุ หรื อตะปู ให้เป็ นเม็ดเล็ก ๆ ภาพที่ ๓.๗ ภาพแสดงขั้นตอนการแกะและปรุ ดุนลายกนกโลงบนกระดาษทอง ๑ - ๔ ที่มา : ณัฐพล พลสวัสดิ์, ๒๕๕๐ ๗๙
ก่อนที่จะนาลายกนกโลงไปตกแต่งด้วยการสอดกระดาษสี ต่าง ๆให้ดูสวยงาม เรามาทบทวน ความรู ้เรื่ องสี กนั ก่อน เพื่อให้เข้าใจถึงวัตถุประสงค์ในการใช้สีของช่างแกะกนกโลง และเพื่อเป็ นการ ตัดสิ นใจเลือกสี ที่ชื่นชอบมาประยุกต์ใช้ในงานตกแต่งลายกนกโลงของตนเองต่อไป
สี กบั งานศิลปะ สี เป็ นองค์ประกอบศิลปะอย่างหนึ่ ง ที่ถูกถ่ายทอดลงมาในงานศิลปะเพื่อให้เห็ นถึงคุณค่า ทางความงามและสะท้อนความรู้สึกทางอารมณ์ สี ช่วยจรรโลงโลกให้สวยงาม สร้างสรรค์งานศิลปะ ให้น่าสนใจ ดังคากล่าวที่วา่ “ถ้าโลกนี้ ไม่มีสีเหมือนสตรี ไม่ทาปาก” นัน่ หมายความว่า สี มีอิทธิ พล ต่อความงามและความรู ้สึกของมนุ ษย์ ดังนั้นการสร้างสรรค์งานศิลปะให้ดูสวยงามน่ าสนใจ จึงต้อง เรี ยนรู้ และสร้างความเข้าใจในเรื่ องสี ดว้ ย (เว็บไซต์ “วงจรสี ” www. http://images.google.co.th/images, ๒๕๕๐)
สี ที่เรามองเห็นกันทัว่ ไป มีที่มาอยูด่ ว้ ยกัน ๒ ทาง คือ สี ของแสง และสี ของสาร ๑. สี ของแสง (Colored Light) สี ของแสง คือ ความแตกต่าง สั้น ยาว ของคลื่นแสงที่เรามองเห็น เริ่ มจากสี ม่วงไปสี แดง (เหมือนรุ ้งกินน้ าที่เรามองเห็นหลังฝนตก) ๒. สี ของสาร (Colored Pigment) สี ของสาร คื อ สี ที่เรามองเห็ นบนวัตถุ ต่าง ๆ ซึ่ งเกิ ดจากการดู ดซึ มและสะท้อนความยาว ของคลื่นแสง หรื อเรี ยกอีกอย่างว่า สี วตั ถุธาตุ สี ทใี่ ช้ ในงานศิลปะ คือ สี ที่สกัดมาจากสี ของวัตถุธาตุ และผสมผสานขึ้นมาใหม่ตามกระบวนการ ทดลองทางวิทยาศาสตร์ ให้ได้สีที่ใกล้เคียงกับสี ของธรรมชาติมากที่สุด และพบว่ามีสีอยู่ ๓ สี ที่เป็ น ต้นกาเนิดของสี อื่น ๆ ไม่สามารถสร้างหรื อผสมจากสี อื่นได้ เรี ยกกันว่า " แม่สี " ได้แก่ สี น้ าเงิน สี แดง และสี เหลือง
๘๐
แม่ สี แม่สีศิลปะมีดว้ ยกัน ๓ สี คือ น้ าเงิน แดง เหลือง สี อื่นที่อยูร่ ะหว่างสี ท้ งั ๓ สี นั้น เกิดจากการผสมกันของแม่สี ดังรู ป
๑
๒ ๓
ภาพที่ ๓.๘ ภาพแสดงการผสมสี จากแม่สีสามสี ที่มา : “แม่สี ๓ สี ” www. http://images.google.co.th/images ... , ๒๕๕๐
๑. สี แดงผสมกับสี เหลือง ๒. สี แดงผสมกับสี น้ าเงิน ๓. สี น้ าเงินผสมกับสี เหลือง
เป็ น เป็ น เป็ น
สี ส้ม สี ม่วง สี เขียว
สี ๓ ขั้น สี ข้ นั ที่ ๑ เรี ยกว่า แม่สี หรื อ สี ปฐมภูมิ (Primary Colors) เป็ นต้นกาเนิ ดของสี อื่น ๆ ได้แก่ สี แดง สี เหลือง และสี น้ าเงิน สี ข้ นั ที่ ๒ เรี ยกว่า สี ทุติยภูมิ (Secondary Colors) เกิดจากการนาแม่สีท้ งั ๓ สี มาผสมกัน ทีละคู่ ออกมาเป็ นสี ข้ นั ที่ ๒ ได้แก่ สี ส้ม สี เขียว และสี ม่วง สี ข้ นั ที่ ๓ เรี ยกว่า สี ตติยภูมิ (Tertiary Colors) เกิดจากการผสมกันระหว่างแม่สีและ สี ข้ นั ที่ ๒ เข้าด้วยกันทีละคู่ ออกมาเป็ นสี ข้ นั ที่ ๓ ได้แก่ สี เขียวเหลือง สี เขียวน้ าเงิน สี ม่วงแดง สี ม่วง น้ าเงิน สี ส้มแดง สี ส้มเหลือง
๘๑
วงจรสี (Color Wheel)
COOL
แสดงสี ๓ ขั้น จานวน ๑๒ สี
WARM
ภาพที่ ๓.๙ ภาพวงจรสี แสดงให้เห็นถึงสี ที่ถูกกระทบด้วยแสงสว่าง เห็นถึงค่าของสี ที่มีน้ าหนักต่างกัน ที่มา : “วงจรสี ” www. http://images.google.co.th/images, ๒๕๕๐
วงจรสี คือ การวางเนื้อสี เรี ยงกันตามการผสมสี ของสารที่เรามองเห็น สี ในวงจรสี ถูก แบ่งกลุ่มสี ด้วยสี ม่วงกับสี เหลือง ซึ่ งสองสี น้ ีเป็ นสี กลางจะเปลี่ยนสถานะได้ตามบรรยากาศของสี รอบ ๆ ตัว กลุ่มสี ในวงจรสี แบ่งเป็ น ๒ วรรณะ คือ วรรณะร้อนและวรรณะเย็น ให้ความรู ้สึกต่างกัน
๘๒
วรรณะของสี (Tone Color) คือ สี ๒ กลุ่มที่ถูกแบ่งไว้ในวงจรสี กลุ่มละเท่า ๆ กัน ให้ความรู ้สึกต่างกัน คือ วรรณะร้ อน (Warm Tone) ได้แก่ สี มว่ ง สี มว่ งแดง สี แดง สี ส้มแดง สี เหลือง สี ส้ม สี ส้มเหลือง สี กลุ่มนี้ ให้ความรู ้สึกเร่ งเร้า เปรี้ ยวจี๊ด กระตือรื อร้น สดใส ร่ าเริ ง ใกล้ชิด กระฉับกระเฉง มีชีวติ ชีวา และอบอุ่น วรรณะเย็น (Cool Tone) ได้แก่ สี เหลือง สี เขียวเหลือง สี เขียว สี เขียวน้ าเงิน สี ม่วง สี น้ าเงิน สี ม่วงน้ าเงิน สี กลุ่มนี้ให้ความรู้สึกเรี ยบ ลึก นุ่มนวล ขรึ ม สงบเย็น นิ่ ง ผ่อนคลาย อิสระ เสรี และดูสบายตา การใช้สีวรรณะร้ อนและวรรณะเย็น ไม่นิยมใช้ในอัตราส่ วนที่เท่ากันเพราะจะทาให้ดูตดั กัน อย่างรุ นแรง ถ้าเลือกใช้สีวรรณะร้อนเป็ นสี หลักของภาพให้ใช้ในอัตราส่ วน ๗๐% และใช้สีวรรณะเย็น เป็ นสี รองในอัตราส่ วน ๓๐ % ในทางกลับกันของสี หลักและสี รองก็ใช้อตั ราส่ วนเดียวกันด้วย ลักษณะและการเลือกใช้ สีทอี่ ยู่ในวงจรสี มีดังนี้ สี เอกรงค์ (Monochrome color) คื อ สี ที่ มี เนื้ อสี เดี ย วกัน แต่ ใ ห้ค วามแตกต่ า งกัน ด้วยค่าน้ าหนักของสี โดยการเติมสี ดาเพื่อให้สีเข้มขึ้น หรื อเติมสี ขาวเพื่อให้สีอ่อนลง หรื อดูสว่างขึ้ น เลือกใช้สีหลักหนึ่งสี และลดความเข้มอ่อนลง เพื่อให้สีดูกลมกลืนเป็ นเอกภาพ การใช้สีเอกรงค์ในงานศิลปะ จะช่วยลดความรุ นแรงในเรื่ องของการใช้สีลงได้ และยังให้ความรู ้สึกอ่อนโยนอีกด้วย
ภาพที่ ๓.๑๐ ภาพสี เอกรงค์ (Monochrome color) ที่มา :www.bloggang.com/viewdiary.php?id=magicmonkey..., ๒๕๕๐
๘๓
สี ข้างเคียงหรื อสี กลมกลืน (Analogous color) คือ สี ที่อยูช่ ิ ดติดกัน อยูข่ า้ งเคียงกัน ในวงจรสี จะเป็ น ๒ สี หรื อ ๓ สี บางทีอาจจะใช้ถึง ๔ สี แต่จะไม่มากกว่านี้ เพราะสี อาจหลุ ด จากความเป็ นสี ขา้ งเคีย ง หรื อสี กลมกลืนได้ การเลื อกใช้สีขา้ งเคียงเพื่อให้เกิ ดความกลมกลื นดูแล้ว ไม่น่าเบื่อไม่จืดชืดจนเกินไป จะใช้สีขา้ งเคียงกัน ๒-๔ สี เพื่อชิ้นงานที่สดใสและอยูใ่ นอารมณ์เดียวกัน ในกรณี คาบเกี่ ยวกันระหว่างสี กลุ่มร้ อน และเย็น แล้วเกิ ดการขัดกันไปบ้าง ให้ใช้อตั ราส่ วนเดียวกัน กับหลักการใช้สีคู่ตรงข้าม หรื อสี ตดั กันคือ ๗๐:๓๐ % จะช่วยให้งานน่าสนใจยิง่ ขึ้น
ภาพที่ ๓.๑๑ ภาพสี ขา้ งเคียงหรื อสี กลมกลืน (Analogous color) ที่มา : www.bareo-isyss.com/18/color-2.htm, ๒๕๕๐
สี ค่ ูตรงข้ ามหรือสี ตัดกัน (Dyads หรือ Complementary color) คือ สี ที่อยูต่ รงข้ามกัน ในวงจรสี มีอยู่ ๒ ลักษณะ คือ สี ตดั กันอย่างแท้จริ งเป็ นสี ที่อยูต่ รงข้ามกันสุ ด ๆในวงจรสี และสี ตดั กัน โดยน้ าหนัก คือ สี ที่มีค่าความเข้มข่มกัน เช่น สี แดงกับสี เหลือง สี เหลืองกับสี น้ าเงิน สี คู่ตรงข้าม หรื อ สี ตดั กันให้ความรู้สึกสด ตื่นเต้น เร้าใจ ควรเลือกใช้เพื่อเน้นหรื อสร้างความสะดุดตาเฉพาะจุด ถ้าใช้ สองสี ตรงข้ามกันล้วน ๆ จะดูดิบหรื อแข็งมากไป เราจะลด และเบรกสี ท้ งั สองด้วยสี ขาวหรื อสี ดา หรื อ จะใช้สีตรงข้ามกันมาผสมลงไปในแต่ละสี เพียงเล็กน้อยเพื่อให้สีท้ งั คู่หม่นลง ถ้าไม่เบรกเราต้องใช้สี ทั้งสองสี ในอัตราส่ วน ๗๐:๓๐ % หรื อ ๘๐:๒๐ % ในชิ้นงาน ทั้งนี้เพื่อความงามที่เป็ นเอกภาพ
ภาพที่ ๓.๑๒ ภาพสี คู่ตรงข้ามหรื อสี ตดั กัน (Dyads หรื อ Complementary color) ที่มา : www.bareo-isyss.com/18/color-2.htm, ๒๕๕๐ ๘๔
สี และความหมาย (Color Meaning) สี มีคุณสมบัติที่เด่นอีกอย่างหนึ่ ง คือ การมีความหมายในตัวเอง ซึ่ งความหมายเหล่านี้ ใช้การอ้างอิงจากประสบการณ์ในการเห็นสี สันของสิ่ งของต่าง ๆ เช่น สี เงินจากอะลูมิเนี ยม เป็ นต้น หรื อบางสี มีความหมาย โดยหาหลักฐานอ้างอิงไม่ได้ก็มี ความหมายของสี น้ นั จึงไม่ใช่ หลักตายตัว สามารถเปลี่ยนแปลงความหมายได้ตามกาลเวลาที่ผา่ นไป แต่เราควรรู้ความหมายของสี หลัก ๆ ซึ่ งเป็ น ความหมายที่คนทัว่ ไปเข้าใจตรงกัน เพื่อประโยชน์ในการสร้างสรรค์งานศิลปะและใช้สื่อความหมาย ได้ในระดับหนึ่ง (เว็บไซต์ www.bareo-isyss.com/18/color-2.htm, ๒๕๕๐) สี แดง อ้างอิงมาจากดวงอาทิตย์ และไฟ ซึ่ งให้ความสว่าง ความร้อน ทาให้ เมื่อเห็นสี แดง เราจะรับรู ้ได้วา่ สี แดง คือ ความร้อน พลัง พลังงาน ความแรงที่มีอยู่ อีกทั้งในความเชื่อ ของชาวจีน สี แดงยังเป็ นสี มงคลอีกด้วย สี เหลือง มองเห็นได้แต่ไกล
ให้อารมณ์ของความสดใส ปลอดโปร่ ง สี เหลืองดึงดูดสายตาได้ดี และ
สี นา้ เงิน ให้ความหมายของความสงบเงียบ ความสุ ขมุ ความมีราคา ให้อารมณ์ หรู หรา มีระดับ บางครั้งก็สื่อถึงความสุ ภาพ ความหนักแน่น ผูช้ าย สี ส้ม
ให้ความรู้สึกดึงดูด ทันสมัย สดใส กระฉับกระเฉง มีพลัง
สี เขียว สี เขียวมาจากสี ของต้นไม้ ซึ่งมาหลากหลายโทนสี แต่ดว้ ยความที่เรา รับรู ้วา่ ต้นไม้ให้ความสดชื่น เราเลยอนุมานความหมายสี เขียวว่า เป็ นสี ที่หมายถึงธรรมชาติ ความเย็น สบาย ชุ่มชื้น สบายตา สี ม่วง
เป็ นสี ที่ให้อารมณ์หนักแน่น มีเสน่ห์ ความลับ สิ่ งที่ปกปิ ด
สี ชมพู
ให้ความรู้สึกถึงความอ่อนหวาน นุ่มนวล ความรัก วัยรุ่ น ผูห้ ญิง
๘๕
สี นา้ ตาล ให้ความหมายถึงความสงบ ความเรี ยบ ความเป็ นผูใ้ หญ่ ความเก่าแก่โบราณ บางครั้งเราก็สื่อถึงไม้ แผ่นไม้ สี ฟ้า ให้ความรู ้สึกโปร่ งโล่งสบายตา สื บเนื่องมาจากท้องฟ้ าที่เราเห็นกันอยู่ ทุกวัน ในบางครั้งก็หมายถึงความนุ่มนวล ความสุ ขสบาย สี เงิน สี เงินนั้นมาจากวัสดุประเภทมันวาว เช่น อะลูมิเนียม ซึ่ งเป็ นวัสดุใหม่ที่ นิยมนามาใช้ในช่วงหลัง ๆ มีราคาแพง ดังนั้นมันจึงแทนความรู ้สึก ทันสมัยและมีคุณค่า สี ทอง อ้างอิงมาจากแร่ ทองคา จึงเป็ นตัวแทนของความหมายว่าความมีคุณค่า ความมีราคาแพง ความหรู หรา
๘๖
สี ขาว
สื่ อถึงความบริ สุทธิ์ ความสะอาด ความเรี ยบง่าย ความโล่ง ความไม่มี
สี เทา
ให้อารมณ์เศร้า หม่นหมอง ไร้ชีวิตชีวา บางครั้งสื่ อถึงความเป็ นกลาง
สี ดา
มาจากความมืด ความไม่เห็น ซึ่ งซ่อนความไม่รู้ ความน่ากลัวเอาไว้
การใช้ สีกบั งานศิลปะกนกโลง งานศิลปะกนกโลง มีลกั ษณะความงดงาม ที่ดูโดดเด่น สะดุ ดตาน่ าสนใจแก่ผพู ้ บเห็ น ไม่ว่า จะเป็ นรู ปร่ างรู ปทรงของหน่วยโลง ฐานโลง ยอดโลง ลายกนกโลง และที่สะดุดตาอีกอย่างหนึ่ งก็คือสี ที่ใช้ในการประดับตกแต่งโลงศพ ได้แก่ สี ทองซึ่ งใช้เป็ นสี ส่วนรวมของภาพ และเลือกใช้สีขา้ งเคียง หรื อสี ตดั กันในการเน้นจุดสนใจ เช่น สี แดง สี น้ าเงิน สี เขียว รวมไปถึงสี สะท้อนแสง เมื่อภาพถูกแสง จะดูเด่นสะดุดตา น่าสนใจ การสร้างสรรค์งานศิลปะกนกโลง นอกเหนือจากความงามทางด้านรู ปลักษณ์ของโลงแล้ว สี ยงั เป็ นอีกปั จจัยอีกหนึ่ งที่ให้คุณค่าทางด้านความงามและความรู ้สึก การใช้สีในงานศิลปะกนกโลง ช่างจะเลือกสี ทองเป็ นหลัก ตกแต่งเพิม่ สี สันทางความงามด้วยสี แดง สี น้ าเงิน สี เขียว และสี สะท้อนแสง สี อื่น ๆ ที่มีอตั ราส่ วนในการใช้ไม่มากจนเกินไป ตามหลักการใช้สีขา้ งเคียงและสี คู่ตรงข้ามเพื่อให้เกิ ด ความกลมกลื น โดดเด่น สะดุ ดตา อย่างไรก็ดีสิ่งที่ช่างต้องคานึ งถึ งไม่นอ้ ยไปกว่ารู ปแบบความงาม ที่เกิดจากสี แล้ว นัน่ คือเรื่ องของคุ ณค่าทางอารมณ์และจิตใจ ซึ่ งวัตถุประสงค์ของงานศิลปะกนกโลง นั้นต้องการสื่ อความหมายถึงความยิ่งใหญ่ หรู หรา บารมีของผูต้ าย การเลือกใช้สีทองจะให้ความรู้สึก ของความมีคุณค่า หรู หรา สี แดงแสดงถึงความมีอานาจ ความยิง่ ใหญ่ บารมี สี น้ าเงินให้ความรู ้สึกถึง ความสงบเงี ยบ สุ ขุม สุ ภาพ สี เขียวให้ความรู้ สึก สดชื่ น สบายตา ดังนั้นถ้าจะเลือกใช้สีใด คงต้อง ค านึ ง ถึ ง คุ ณ ค่ า ทางด้า นความงาม จิ ต ใจ และถู ก กาลเทศะด้ว ยจึ ง จะเห็ น ว่ า ดี ต้อ งเลื อ กใช้ สี ด้วยความระมัดระวังไม่ให้ผิดเพี้ยนไปจากความหมาย และเจตนารมณ์ของการสร้างงาน การประยุกต์ใช้สี สามารถเปลี่ยนแปลงได้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น เพราะสี ที่ใช้อยูใ่ นอดีตมีความหมายต่อคติ และความเชื่อ ของคนในสังคมนั้น
๘๗
การสอดกระดาษสี ลายกนกโลง หลังจากแกะและปรุ ดุนลายกนกโลงบนกระดาษทองเสร็ จเรี ยบร้อยดีแล้ว ก็ถึงขั้นตอนการตกแต่ง ลายกนกโลงด้วยกระดาษสี ต่าง ๆ ตามความเหมาะสมสวยงาม มีวธิ ี การ ดังนี้ ๑. รื้ อกระดาษทอง หรื อแยกกระดาษทองที่ เย็บติดกันออกจากกันทีละแผ่น ระมัดระวัง อย่าให้กระดาษทองฉีกขาด ๒. พลิกด้านใต้ของกระดาษทองขึ้น และนากระดาษโปสเตอร์ สีต่าง ๆ มาตัดหรื อฉี กให้ เป็ นแผ่นเล็ก ๆ ทากาวติดลงไปด้านใต้ของลาย ปั จจุบนั ช่ างทากนกโลงเลือกใช้กระดาษโปสเตอร์ แบบสี สะท้อนแสงตามความนิ ยม ได้แก่ สี เหลื อง สี ส้ม สี เขียวอ่อน สี ชมพู มาสอดไปใต้ตวั ลาย โดยเว้นพื้นที่ส่วนใหญ่ของพื้นหลังไว้ ๓. นาลายกนกโลงที่สอดกระดาษสี ไว้ส่วนหนึ่ งแล้วมาทากาวให้ทวั่ แล้วติดลงบนกระดาษ ทองเกรี ยบ หรื อกระดาษทองเงิ น เลื อกสี ใดสี หนึ่ ง ได้แก่ สี แดง สี น้ าเงิ น หรื อ สี เขี ยว ลูบให้เรี ยบ ด้วยความระมัดระวัง กระดาษทองทั้ง ๓ สี เป็ นสี ที่ช่างสมัยโบราณเลือกใช้ โดยใช้สีแดงติดพื้นหลังแม่ลาย ลายบัวปากถ้วย ลายหน้าดาน ลายรางมุม ลายบัวขบ ลายหลังสิ งห์ ใช้สีเขียวติดพื้นหลังเชิงผ้าลาย หรื อ ลายช่อ ลายล่องไฟ ใช้สีน้ าเงินติดพื้นหลังลายขอบ ลายตุกตู่ ๔. เมื่อติดกระดาษสี ที่พ้ืนหลังเรี ยบร้อยแล้ว ตัดริ มกระดาษให้เสมอกันกับกระดาษทอง เราก็จะได้ลายกนกโลงพร้อมที่จะนาไปประดับตกแต่งบนโลงศพได้เลย
ภาพที่ ๓.๑๓ ภาพลายกนกโลงที่เกิดจากการปรุ ดุนเป็ นเม็ดเล็ก ๆ คล้ายจุดไข่ปลา ที่มา : สุเทพ ประชุมทอง และคนอื่น ๆ, ๒๕๕๐
๘๘
ภาพแสดงขั้นตอนการสอดกระดาษสี ลายกนกโลง (๑ - ๔)
๑ ติดกระดาษโปสเตอร์สีต่าง ๆ ลงไปด้านใต้ของลาย
๒ พลิกลายด้านบนขึ้น ตรวจดูความเรี ยบร้อย
๓ ติดพื้นหลังของลายลงบนกระดาษทองสี ต่าง ๆ
๔ ตัดกระดาษพื้นหลังออกให้เสมอกับลาย
ภาพที่ ๓.๑๔ ภาพแสดงขั้นตอนการสอดกระดาษสี ลายกนกโลง ๑ - ๔ ที่มา : ทิพย์สุดา ศรี อ่อน, ๒๕๕๐
ช่างโดยทัว่ ไปจะแกะและตกแต่งลายกนกโลงไว้ก่อนล่วงหน้า โดยเก็บลายที่ทาสาเร็ จแล้ว ทับไว้ ใต้กระดาน เพื่อให้ลายมีความเรี ยบ ไม่ยบั ยูย่ ี่ หรื อเสี ยทรง สะดวกในการนาไปใช้เมื่อเวลามีเจ้าภาพมาว่าจ้าง
๘๙
ตัวอย่าง ลายกนกโลงที่ปรุ ดุนและสอดกระดาษสี แบบต่าง ๆ (๑ – ๔)
๑ แม่ลาย
๒ ลายสิ งห์ (ฐานสิ งห์)
๓ เชิงผ้าลาย (ลายช่อ)
๔ ลายหน้าดานบน-ล่าง (ลายขอบ) ภาพที่ ๓.๑๕ ภาพลายกนกโลงที่แกะและตกแต่งเรี ยบร้อยแล้ว ๑ - ๔ ที่มา : สุเทพ ประชุมทอง และคนอื่น ๆ, ๒๕๕๐ ๙๐
ตัวอย่าง ลายกนกโลงที่ปรุ ดุนและสอดกระดาษสี แบบต่าง ๆ (๕ – ๘)
๕ ลายบัวปากถ้วย
๖ ลายตุกตู่
๗ ลายหลังสิ งห์ (หน้ากระดาน)
๘ ลายล่องไฟ ภาพที่ ๓.๑๖ ภาพลายกนกโลงที่แกะและตกแต่งเรี ยบร้อยแล้ว ๕ - ๘ ที่มา : สุมน คชนูด และคนอื่น ๆ, ๒๕๕๐ ๙๑
สรุ ป งานแกะ และตกแต่งลายกนกโลงเป็ นงานศิลปะที่ช่างได้นาวิธีการแกะ และขุดแบบวิธีโบราณ ผสมผสานกับวิธีการสมัยใหม่ อีกทั้งยังคิดสร้างสรรค์ลวดลายกนกโลงแบบใหม่ ๆ ขึ้นมาให้งดงาม ตามความนิ ยม ทั้งนี้ เพื่อความสะดวกและความทันสมัย การใช้อุปกรณ์ และเครื่ องมือบางอย่างที่หาซื้ อ ไม่ได้แล้วช่ างจะทาขึ้นเองหรื อประยุกต์ใช้อุปกรณ์ และเครื่ องมืออื่นมาทดแทน เช่ น มีดขุดใช้แทนสิ่ ว ตะปูใช้แทนเหล็กปรุ กระดาษทองย่นที่นามาใช้แกะลายกนกโลงปั จจุบนั ไม่มีจาหน่ายในท้องตลาด ก็เลือก ใช้กระดาษทองเงินหรื อกระดาษอังกฤษที่ยงั พอหาซื้ อได้มาแทนกระดาษทองย่น นับว่าเป็ นการแก้ปัญหา ที่ดี นอกจากการประยุกต์ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ เครื่ องมือและวิธีการที่เปลี่ยนไปตามยุคสมัยแล้ว เราควรคานึงถึง การเลือกใช้สีในงานศิลปะกนกโลงเพื่อก่อให้เกิดคุณค่าทางความงาม และความรู้สึกทางอารมณ์ ดว้ ย อย่างไรก็ตามในการประยุกต์ใช้สิ่งต่าง ๆ ต้องไม่ทาให้เสี ยรู ปแบบและลักษณะทางความงามของงาน ศิลปะกนกโลงแบบเดิมไป
๙๒
คาถามทบทวน ๑. ๒. ๓. ๔.
การแกะลายกนกโลงนักเรี ยนต้องเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือ เช่นอะไรบ้าง การเตรี ยมลายเพื่อทาแม่แบบ มีข้ นั ตอนการทาอย่างไร การจับมีดขุดเพื่อใช้แกะและขุดลายกนกโลงมีวธิ ีการอย่างไร การตกแต่งลายกนกโลงให้สวยงามตามโบราณวิธีและวิธีการในปั จจุบนั เหมือนหรื อ แตกต่างกันอย่างไร ๕. ยกตัวอย่างสี ต่าง ๆ ที่ให้ความรู ้สึกสุ กสว่าง สดใสร่ าเริ ง สดชื่นสบายตา ความมีพลัง อานาจ ความหรู หรามีค่า สุ ขุม ลุ่มลึก
๙๓
บัตรกิจกรรมที่ ๓.๑ คาสั่ ง
ฝึ กทักษะการทาแม่แบบลายกนกโลงตามขั้นตอน ดังนี้ ( ๑๐ คะแนน ) ๑. ตัดกระดาษธรรมดาเป็ นรู ปสี่ เหลียมผืนผ้า ขนาด กว้าง ๑๑ ซ.ม. ยาว ๒๖ ซ.ม. ๒. พับกระดาษเป็ นสองทบให้เท่ากัน และพับตามรอยปรุ ดงั นี้ ๑ ลายล่องไฟ
๒ แม่ลาย
๓ ลายบัวปากถ้วย
๓. เขียนลายกนกโลงซีกเดียวตามแบบ ๔. แกะและตอกลายตามแบบที่เขียนไว้ให้ครบถ้วน แล้วติดลงบนกระดาษมันให้เรี ยบร้อย ๑ ลายล่องไฟ
๙๔
๒ แม่ลาย
๓ ลายบัวปากถ้วย
บัตรกิจกรรมที่ ๓.๒ คาสั่ ง
ฝึ กทักษะการแกะ และตกแต่งลายกนกโลงบนกระดาษทองให้สวยงามตามขั้นตอน ดังนี้ ( ๑๐ คะแนน ) ๑. เตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือในงานแกะและตกแต่งลายกนกโลงให้พร้อม ๒. เรี ยงกระดาษทองสลับกระดาษซับลาย จานวน ๔ แผ่น ต่อแม่แบบ ๑ ลาย ๓. นาแม่แบบลายกนกโลงที่ได้จากการทากิจกรรมที่ ๓.๑ มาเย็บติดกับกระดาษทองให้ เรี ยบร้อย ๔. แกะ และขุดลายกนกโลงตามแบบ ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ ๕. ปรุ ดุนลาย และสอดกระดาษสี ให้สวยงาม
๙๕
แบบประเมินเชิงวิเคราะห์ คาสั่ ง วิเคราะห์ผลงานปฏิบตั ิงานแม่แบบลายกนกโลงโดยตอบคาถาม ดังต่อไปนี้ ( ๑๐ คะแนน ) ๑. การเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือมีอะไรบ้าง .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ๒. บอกขั้นตอน / กระบวนการในการทาแม่แบบกนกโลงมาตามลาดับ ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ๓. ขั้นตอนใดที่นกั เรี ยนคิดว่าง่ายและขั้นตอนใดคิดว่ายากที่สุด เพราะอะไร ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ๔. นักเรี ยนมีแนวทางในการแก้ปัญหาส่ วนที่ยากที่สุดอย่างไรเพื่อให้การทางานลุล่วงไปได้ ด้วยดี ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ๕. นักเรี ยนมีความรู ้สึกอย่างไรหลังจากได้ผลงานตามที่ตอ้ งการ ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................ ๖. นักเรี ยนคิดว่าควรนาความรู ้ที่ได้ ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างไรบ้าง ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................
๙๖
แบบประเมินเชิงวิเคราะห์ คาสั่ ง วิเคราะห์ผลการปฏิบตั ิงานแกะและตกแต่งลายกนกโลงบนกระดาษทองโดยตอบคาถาม ดังต่อไปนี้ ( ๑๐ คะแนน ) ๑. การเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือ มีอะไรบ้าง ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ๒. งานแกะและตกแต่งลายกนกโลง มีข้ นั ตอนอย่างไร อธิ บายมาตามลาดับ ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ๓. นักเรี ยนคิดว่าขั้นตอนใดง่ายที่สุดในงานแกะและตกแต่งลายกนกโลง เพราะเหตุใด ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................ ๔. นักเรี ยนคิดว่าขั้นตอนใดยากที่สุดในงานแกะและตกแต่งลายกนกโลง เพราะเหตุใด ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ๕. ในขั้นตอนที่ยากที่สุด นักเรี ยนมีวธิ ี แก้ปัญหาอย่างไร ให้การทางานลุล่วงไปได้ดว้ ยดี ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................. ๖. นักเรี ยนมีความรู้สึ กอย่างไรหลังจากได้ผลงานตามที่ตอ้ งการ และคิดว่าจะนาความรู ้ที่ได้ ไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวันได้อย่างไร ............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................
๙๗
อ้างอิง ขอม ทิพย์โพธิ์ . (๒๕๕๐). ช่ างทากนกโลง. บ้านเลขที่ ๑๕๗ หมูท่ ี่ ๖ ตาบลทุง่ โพธิ์ อาเภอจุฬาภรณ์ จังหวัดนครศรี ธรรมราช. สัมภาษณ์, ๑๕ สิ งหาคม. ณัฐพล พลสวัสดิ์. (๒๕๕๐). ลายกนกโลงศพ. โรงเรี ยนร่ อนพิบูลย์เกียรติวสุ นธราภิวฒั ก์ อาเภอร่ อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรี ธรรมราช. สัมภาษณ์, ๓๐ พฤศจิกายน. ทิพย์สุดา ศรี อ่อน. (๒๕๕๐). ลายกนกโลงศพ. โรงเรี ยนร่ อนพิบูลย์เกียรติวสุ นธราภิวฒั ก์ อาเภอร่ อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรี ธรรมราช. สัมภาษณ์, ๓๐ พฤศจิกายน. สุ กญั ญา รัตนสุ ภา. (๒๕๕๐). ภาพถ่ าย. โรงเรี ยนร่ อนพิบูลย์เกียรติวสุ นธราภิวฒั ก์ อาเภอร่ อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรี ธรรมราช. สุ มน คชนูด และคนอื่น ๆ. (๒๕๕๐). ช่ างทากนกโลง. บ้านเลขที่ ๘๔/๑ หมู่ที่ ๔ ตาบลควนเกย อาเภอร่ อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรี ธรรมราช. สัมภาษณ์, ๑๘ มิถุนายน. สุ รินทร์ รณศิริ และคนอื่น ๆ. (๒๕๕๐). ช่ างทากนกโลง. บ้านเลขที่ ๗๑ หมู่ที่ ๓ บ้านหนองปอ ตาบลควนชุม อาเภอร่ อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรี ธรรมราช. สัมภาษณ์, ๑๑ ตุลาคม. สุ เทพ ประชุมทอง และคนอื่น ๆ. (๒๕๕๐). ช่ างทากนกโลง. บ้านเลขที่ ๑๖๐ หมู่ที่ ๖ ตาบลทุ่งโพธิ์ อาเภอจุฬาภรณ์ จังหวัดนครศรี ธรรมราช. สัมภาษณ์, ๑๖ สิ งหาคม. Bareo-isyss.com. (๒๕๕๐). “สี ขา้ งเคียงหรื อสี กลมกลืน.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.bareo-isyss.com/18/color-2.htm. สื บค้น ๒๒ กรกฎาคม. . (๒๕๕๐). “สี คู่ตรงข้ามหรื อสี ตดั กัน.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.bareo-isyss.com/18/color-2.htm. สื บค้น ๒๒ กรกฎาคม. . (๒๕๕๐). “สี และความหมาย.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.bareo-isyss.com/18/color-2.htm, สื บค้นเมื่อ ๒๒ กรกฎาคม. Bloggang.com. (๒๕๕๐). “สี เอกรงค์.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.bloggang.com/viewdiary.php?id=magicmonkey..., สื บค้น ๒๒ กรกฎาคม. Changsipmu.com. (๒๕๕๑). “งานสลักกระดาษ.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://changsipmu.com/engraving_p05.html. สื บค้น ๓๑ กรกฎาคม. Nandmc.exteen.com. (๒๕๕๐). “วงจรสี .” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://images.google.co.th/images. สื บค้น ๒๒ กรกฎาคม. Singhato.com. (๒๕๕๐). “แม่สี ๓ สี .” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://images.google.co.th/images. สื บค้น ๒๒ กรกฎาคม. ๙๘