เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาลายกนกโลงศพ
รหัสวิชา ศ ๔๐๒๐๑ สาระทัศนศิลป์
โดย สุ กญั ญา รัตนสุ ภา โรงเรี ยนร่ อนพิบลู ย์เกียรติวสุ นธราภิวฒั ก์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๒
คานา
ลายกนกโลงศพ หรื องานศิลปะกนกโลง ชาวบ้านเรี ยกสั้น ๆ ว่า “กนกโลง” เป็ นภาษาท้องถิ่ นอาเภอร่ อน พิ บู ล ย์ จั ง หวั ด นครศรี ธรรมราช ซึ่ งเป็ นค าใช้ เ รี ยกแทนงานแกะลายไทยบนกระดาษทอง เพื่อนาไปประดับโลงศพ เป็ นงานศิลปะภูมิปัญญาไทยที่ได้รับการปฏิบตั ิสืบทอดต่อกันมา ด้วยฝี มืออัน ประณี ต ละเอียดอ่อนที่มีความงาม วิจิตร ตระการตา ปัจจุบนั มีให้เห็นน้อยลงเนื่องจากสภาพแวดล้อมทางสังคม เปลี่ยนไป สิ่ งของเครื่ องใช้ที่เคยทาด้วยมือก็ทาน้อยลงเพราะมีเทคโนโลยีเข้ามาแทนที่ แต่ดว้ ยความงามตามอุดม คติ และความเชื่อของคนในชุมชนรวมถึงความภาคภูมิใจของนักเรี ยนที่ได้สัมผัส และเห็นคุณค่างานศิลปะกนก โลงอย่างแท้จริ ง จึงทาให้ผเู้ ขียนรู้ สึกเสี ยดายภูมิปัญญาไทยแขนงนี้ หากว่าสู ญหายไปโดยไม่มีการอนุ รักษ์ สื บทอดอย่างเป็ นกระบวนการ และต่อเนื่อง ผูเ้ ขียนจึงได้ศึกษา ค้นคว้า เก็บรวบรวมข้อมูล และเรื่ องราวต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการทากนกโลง เพื่อจัดทาเป็ นเอกสารประกอบการเรี ยนให้แก่นกั เรี ยน ใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการ เรี ยนรู้ วิชาลายกนกโลงศพ สาระทัศนศิ ลป์ ให้นักเรี ยนได้พ ฒ ั นาทักษะความรู้ ความสามารถ กระบวนการ คุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิ ยมที่ดีงาม ตระหนักถึงคุ ณค่าของงานแกะลายกนกโลง อันเกิ ดจากภูมิปัญญาของ คนไทยในท้องถิ่นภาคใต้ การจั ด ท าเอกสารประกอบการเรี ยนวิ ช าลายกนกโลงศพ ผู้เ ขี ย นได้ น าภาพจากแหล่ ง ต่ า ง ๆ มาประกอบเนื้ อหา เพื่อให้ผอู ้ ่านได้เกิดความเข้าใจกระจ่างชัดมากยิ่งขึ้น ซึ่ งภาพส่ วนใหญ่ ผูเ้ ขียนถ่ายทาขึ้นด้วย ตนเอง บางภาพนามาจากเว็บไซต์ บางภาพวาดโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่ถึงอย่างไรภาพบางภาพนั้น มีความสอดคล้องกับเนื้ อหาอยู่แล้วจึ งไม่ใส่ คาบรรยายไว้ใต้ภาพ หวังว่าเอกสารประกอบการเรี ยนเล่มนี้ คงจะมี ประโยชน์อย่างยิง่ สาหรับนักเรี ยน และผูท้ ี่สนใจในงานแกะลายกนกโลง เอกสารประกอบการเรี ยนเล่มนี้สาเร็ จลุล่วงได้ดว้ ยการสนับสนุน ให้คาปรึ กษา ตรวจสอบจากผูช้ านาญและ ผูท้ รงคุ ณวุฒิ แต่ ละสาขา ประกอบด้วยว่า ที่ ร้อ ยตรี สุ เ วช กลับ ศรี รองผูอ้ านวยการเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึกษานครศรี ธรรมราช เขต ๒ นายปรี ชา สุ ขสงวน อดี ตผูอ้ านวยการโรงเรี ยนร่ อนพิบูลย์เกี ยรติ วสุ นธราภิวฒั ก์ นางดวงพร พรหมมาศ หัวหน้าศูนย์วฒั นธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น นายภาสกร ทองขุนดา อ า จ า ร ย์ ส อ น ภ า ค วิ ช า ศิ ล ป ะ น า ย สุ น ท ร พ ร ห ม แ ก้ ว ค รู ส อ น วิ ช า ศิ ล ป ะ ไ ท ย นางสุ จิราภรณ์ เพชรศิวานนท์ ครู บรรณารักษ์ นายขอม ทิพย์โพธิ์ ช่างทากนกโลง และผูเ้ อื้อเฟื้ อข้อมูลจาก ครู ภูมิปัญญาท้องถิ่ นช่ างทากนกโลงทุ กท่าน ที่ให้ขอ้ มูลความรู้เพื่อเป็ นวิทยาทาน ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ สุ กญั ญา รัตนสุ ภา
สารบัญ หน้ า คานา สารบัญ สารบัญภาพ คาชี้แจง สาระสาคัญและผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวัง บทนา
ก ข จ ฌ ญ ฎ
บทที่ ๑ ศิลปะภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น
๑
ความหมาย ที่มาและแรงบันดาลใจ ประเภทและลักษณะของศิลปะภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้ การอนุ รักษ์และสื บสานศิลปะภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น คาถามทบทวน บัตรกิจกรรม อ้างอิง
๒ ๔ ๑๒ ๑๔ ๑๖ ๑๗ ๑๘
บทที่ ๒ ศิลปะกนกโลง
๑๙
ความเป็ นมา องค์ประกอบของงานศิลปะกนกโลง คุณค่าของศิลปะภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะกนกโลง ที่มาและวิธีเขียนลายกนกโลง คาถามทบทวน บัตรกิจกรรม อ้างอิง
๒๐ ๒๙ ๔๑ ๔๓ ๕๙ ๖๐ ๖๗
หน้ า
บทที่ ๓ งานแกะและตกแต่งลายกนกโลง
๖๙
วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือ การทาแม่แบบลายกนกโลง การแกะและปรุ ดุนลายกนกโลงบนกระดาษทอง สี กบั งานศิลปะ การสอดกระดาษสี ลายกนกโลง คาถามทบทวน บัตรกิจกรรม อ้างอิง
๗๐ ๗๒ ๗๗ ๘๐ ๘๘ ๙๓ ๙๔ ๙๘
บทที่ ๔ แบบฝึ กทักษะแกะลายกนกโลง
๙๙
แม่ลาย ลายหลังสิ งห์ (หน้ากระดาน) ลายบัวปากถ้วย ลายบัวขบ เชิงผ้าลายหรื อลายช่อ ลายล่องไฟ ลายรางมุม ลายหน้าดานบน-ล่าง (ลายขอบ) ลายตุกตู่ ลายไต ลายสิ งห์ คาถามทบทวน บัตรกิจกรรม อ้างอิง
๑๐๑ ๑๐๔ ๑๐๖ ๑๑๐ ๑๑๑ ๑๑๔ ๑๑๗ ๑๒๑ ๑๒๒ ๑๒๒ ๑๒๓ ๑๒๔ ๑๒๕ ๑๒๖
หน้ า
บทที่ ๕ งานประดับตกแต่งโลงศพด้วยลายกนกโลง
๑๒๗
การจัดองค์ประกอบศิลป์ งานประดับตกแต่งโลงศพด้วยลายกนกโลง การประดับตกแต่งหน่วยโลงและฐานโลง(ฐานแบบเครื่ องชั้น) คาถามทบทวน บัตรกิจกรรม อ้างอิง
๑๒๙ ๑๓๕ ๑๓๖ ๑๔๖ ๑๔๗ ๑๕๐
บทที่ ๖ การทาและตกแต่งยอดโลงแบบ ๓ ยอด
๑๕๑
การทายอดโลงแบบ ๓ ยอด ขั้นตอนการทาและตกแต่งยอดโลงแบบ ๓ ยอด เทคนิคการทาดอกไม้ทองดอกไม้เงิน คาถามทบทวน บัตรกิจกรรม อ้างอิง
๑๕๓ ๑๕๔ ๑๖๑ ๑๖๔ ๑๖๕ ๑๖๖
บรรณานุกรม คาศัพท์ภาษาถิ่นใต้ ภาคผนวก เกณฑ์การประเมินผลงานแบบ Rubric แนวการตอบคาถาม แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
๑๖๗ ๑๗๑ ๑๗๕ ๑๗๘ ๑๘๗ ๒๐๘
สารบัญภาพ
หน้ า บทที่ ๑ ภาพที่ ๑.๑ ภาพแผนผังความสัมพันธ์ของศิลปะภูมิปัญญาไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาพที่ ๑.๒ ภาพครู ขอม ทิพย์โพธิ์ กับวิถีชีวติ ธรรมชาติ ภาพที่ ๑.๓ ภาพการทาอาชีพพื้นเมืองชองคนไทยในภาคใต้ ภาพที่ ๑.๔ ภาพสภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ ภาคใต้ของไทย ภาพที่ ๑.๕ ภาพพิธีบวงสรวงองค์ทา้ วจตุคามรามเทพและการแห่เปรตวันสารทเดือนสิ บ ภาพที่ ๑.๖ ภาพวิถีชีวติ เกี่ยวกับประเพณี และวัฒนธรรมไทย ภาพที่ ๑.๗ ภาพขบวนแห่หฺมรับ ในวันสารทเดือนสิ บ ของชาวบ้านจังหวัดนครศรี ธรรมราช ภาพที่ ๑.๘ ภาพศิลปะการแสดง “ราโนราหรื อมโนราห์” ภาพที่ ๑.๙ ภาพศิลปะการจัดตกแต่ง “หฺ มรับ” ประเพณี สารทเดือนสิ บ ภาพที่ ๑.๑๐ ภาพศิลปะการจัดตกแต่ง “เรื อพระ” ประเพณี การชักพระหรื อลากพระ ภาพที่ ๑.๑๑ ภาพศิลปะการจัดตกแต่งโลงศพ “ กนกโลง ”
๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๘ ๑๐ ๑๐ ๑๑ ๑๑ หน้ า
บทที่ ๒ ภาพที่ ๒.๑ ภาพพระโกศจันทน์ ภาพที่ ๒๒ ภาพพระเมรุ มาศ Queen_of_King_Rama7_Merumart ภาพที่ ๒.๓ ภาพพระเมรุ มาศ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ ากัลยาณิ วฒั นา ภาพที่ ๒.๔ ภาพงานสลักกระดาษหรื อปรุ กระดาษ ภาพที่ ๒.๕ ภาพงานสลักกระดาษทองแผ่ลวด ภาพที่ ๒.๖ ภาพตกแต่งผนังฐานพระเมรุ มาศด้วยงานสลักกระดาษทอง ภาพที่ ๒.๗ ภาพตกแต่งเครื่ องใช้ของพระมหากษัตริ ยด์ ว้ ยงานสลักกระดาษทองแผ่ลวด ภาพที่ ๒.๘ ภาพโลงนอนรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้าบนฐานเครื่ องชั้นประดับด้วยยอดโลงสามยอด
๒๔ ๒๔ ๒๔ ๒๖ ๒๖ ๒๖ ๒๖ ๒๙
หน้ า ภาพที่ ๒.๙ ภาพโลงนัง่ ทรงสู งบนฐานเครื่ องชั้นประดับยอดด้วยโลงหนึ่งยอด ๓๐ ภาพที่ ๒.๑๐ ภาพโลงสามส่ วนรู ปสี่ เหลี่ยมคางหมูบนฐานเครื่ องชั้นประดับยอดโลงสามยอด ๓๑ ภาพที่ ๒.๑๑ ภาพยอดโลงแบบสามยอดกลมมน ๓๒ ภาพที่ ๒.๑๒ ภาพยอดโลงแบบสามยอดยุคปัจจุบนั ๓๒ ภาพที่ ๒.๑๓ ภาพหน่วยโลงแหนวทรงสู งและหน่วยโลงแหนวแนวนอน ๓๓ ภาพที่ ๒.๑๔ ภาพหน่วยไม้หรื อหน่วยโลงแหนวแนวนอนยุคปัจจุบนั ๓๓ ภาพที่ ๒.๑๕ ภาพฐานโลงแบบตีนอยองและฐานโลงแบบเครื่ องชั้น ๓๔ ภาพที่ ๒.๑๖ ภาพฐานโลงเครื่ องชั้นยุคปั จจุบนั ๓๔ ภาพที่ ๒.๑๗ ภาพแม่ลาย ๓๕ ภาพที่ ๒.๑๘ ภาพลายบัวปากถ้วย ๓๕ ภาพที่ ๒.๑๙ ภาพลายหน้าดานบน ล่าง (ลายขอบ) ๓๕ ภาพที่ ๒.๒๐ ภาพลายหลังสิ งห์ ๓๕ ภาพที่ ๒.๒๑ ภาพเชิงผ้าลายหรื อลายช่อ ๓๖ ภาพที่ ๒.๒๒ ภาพลายรางมุม ๓๖ ภาพที่ ๒.๒๓ ภาพลายไต ๓๖ ภาพที่ ๒.๒๔ ภาพลายตุกตู่ ๓๖ ภาพที่ ๒.๒๕ ภาพลายล่องไฟ ๓๖ ภาพที่ ๒.๒๖ ภาพลายสิ งห์ ๓๖ ภาพที่ ๒.๒๗ ภาพหน่วยโลงประดับด้วยลายกนกโลงชนิ ดต่าง ๆ ๓๗ ภาพที่ ๒.๒๘ ภาพฐานโลงแบบเครื่ องชั้นประดับด้วยลายกนกโลงชนิดต่าง ๆ ๓๘ ภาพที่ ๒.๒๙ ภาพฐานโลงแบบเตีนอยองประดับด้วยลายกนกโลงชนิดต่าง ๆ ๓๘ ภาพที่ ๒.๓๐ ภาพประดับตกแต่งยอดโลงแบบสามยอด ๓๙ ภาพที่ ๒.๓๑ ภาพพิธีไหว้ครู หมอดาษ ครู หมอตายาย ๔๐ ภาพที่ ๒.๓๒ ภาพลายเส้นดอกบัวหลวง ดอกบัวสัตตบงกช ดอกบัวสัตตบุษย์ ๔๓ ภาพที่ ๒.๓๓ ภาพรู ปร่ างดอกบัวหลวง ดอกบัวสัตตบงกช ดอกบัวสัตตบุษย์ ๔๔ ภาพที่ ๒.๓๔ ภาพลายกระหนกในรู ปดอกบัวผ่าซี ก ลายกระหนกตัวเดียว ลายกระหนกสามตัว ๔๔
หน้ า ภาพที่ ๒.๓๕ ภาพลายบัวชนิดต่าง ๆ ภาพที่ ๒.๓๖ ภาพลายกระจังตาอ้อย ภาพที่ ๒.๓๗ ภาพลายพุม่ ทรงข้าวบิณฑ์ ภาพที่ ๒.๓๘ ภาพช่อแทงลาย ภาพที่ ๒.๓๙ ภาพลายกรุ ยเชิงหรื อกรวยเชิง ภาพที่ ๒.๔๐ ภาพลายดอกดวงชนิดต่าง ๆ ภาพที่ ๒.๔๑ ภาพลายลูกฟัก ภาพที่ ๒.๔๒ ภาพลายกนกเกลียวใบเทศ ภาพที่ ๒.๔๓ ภาพลายประจายามก้ามปู ภาพที่ ๒.๔๔ ภาพลายประจายามปี กค้างคาว ภาพที่ ๒.๔๕ ภาพลายลูกฟักประจายามก้ามปู ๑ ภาพที่ ๒.๔๖ ภาพลายลูกฟักประจายามก้ามปู ๒ ภาพที่ ๒.๔๗ ภาพฐานสิ งห์ ภาพที่ ๒.๔๘ ภาพการตกแต่งฐานสิ งห์ ตกแต่งฐานปัทม์บวั ภาพที่ ๒.๔๙ ภาพลายกรุ ยเชิงประดับงานเล็กและงานใหญ่ ภาพที่ ๒.๕๐ ภาพแม่แบบลายบัวปากถ้วย ภาพที่ ๒.๕๑ ภาพแสดงขั้นตอนการเขียนลายบัวปากถ้วย (กนกโลง) ๑ - ๗ ภาพที่ ๒.๕๒ ภาพแม่แบบแม่ลาย ภาพที่ ๒.๕๓ ภาพแม่แบบลายบัวปากถ้วย ภาพที่ ๒.๕๔ ภาพแม่แบบลายหน้าดานบน ล่าง (ลายขอบ) ภาพที่ ๒.๕๕ ภาพแม่แบบลายช่อหรื อเชิงผ้าลาย ภาพที่ ๒.๕๖ ภาพแม่แบบลายหลังสิ งห์ หรื อลายประกอบ ภาพที่ ๒.๕๗ ภาพแม่แบบลายบัวขบ ภาพที่ ๒.๕๘ ภาพแม่แบบรางมุม ภาพที่ ๒.๕๙ ภาพแม่แบบลายไต ๑ ภาพที่ ๒.๖๐ ภาพแม่แบบลายไต ๒ ภาพที่ ๒.๖๑ ภาพแม่แบบลายตุกตู่ ภาพที่ ๒.๖๒ ภาพแม่แบบลายสิ งห์
๔๕ ๔๖ ๔๖ ๔๗ ๔๗ ๔๘ ๔๘ ๔๘ ๔๙ ๔๙ ๔๙ ๔๙ ๔๙ ๕๐ ๕๐ ๕๑ ๕๓ ๕๔ ๕๔ ๕๔ ๕๕ ๕๕ ๕๕ ๕๖ ๕๖ ๕๖ ๕๗ ๕๗
หน้ า บทที่ ๓ ภาพที่ ๓.๑ ภาพกระดาษทองอังกฤษและกระดาษโปสเตอร์ บางสี ต่าง ๆ ภาพที่ ๓.๒ ภาพเครื่ องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ภาพที่ ๓.๓ ภาพการตัดแบ่งลายกนกโลงเพื่อทาแม่แบบ ๑ - ๔ ภาพที่ ๓.๔ ภาพแม่แบบซี กเดียวลายช่อหรื อเชิงผ้าลาย ภาพที่ ๓.๕ ภาพแสดงวิธีการพับกระดาษแม่แบบ ภาพที่ ๓.๖ ภาพแสดงขั้นตอนการทาแม่แบบลายกนกโลง ๑ - ๓ ภาพที่ ๓.๗ ภาพแสดงขั้นตอนการแกะและปรุ ดุนลายกนกโลงบนกระดาษทอง ๑ - ๔ ภาพที่ ๓.๘ ภาพแสดงการผสมสี จากแม่สีสามสี ภาพที่ ๓.๙ ภาพวงจรสี แสดงให้เห็นถึงสี ที่ถูกกระทบด้วยแสงสว่าง... ภาพที่ ๓.๑๐ ภาพสี เอกรงค์ (Monochrome) ภาพที่ ๓.๑๑ ภาพสี ขา้ งเคียง (Analogous) ภาพที่ ๓.๑๒ ภาพสี คู่ตรงข้าม (Dyads หรื อ Complementary color) ภาพที่ ๓.๑๓ ภาพลายกนกโลงที่เกิดจากการปรุ ดุนเป็ นเม็ดคล้ายจุดไข่ปลา ภาพที่ ๓.๑๔ ภาพแสดงขั้นตอนการสอดกระดาษสี ลายกนกโลง ๑ - ๔ ภาพที่ ๓.๑๕ ภาพลายกนกโลงที่แกะและตกแต่งเรี ยบร้อยแล้ว ๑ - ๔ ภาพที่ ๓.๑๖ ภาพลายกนกโลงที่แกะและตกแต่งเรี ยบร้อยแล้ว ๕ - ๘
๗๑ ๗๑ ๗๒ ๗๓ ๗๔ ๗๖ ๗๙ ๘๑ ๘๒ ๘๓ ๘๔ ๘๔ ๘๘ ๘๙ ๙๐ ๙๑ หน้ า
บทที่ ๔ ภาพที่ ๔.๑ ภาพแม่ลาย ๑ ภาพที่ ๔.๒ ภาพแม่ลาย ๒ ภาพที่ ๔.๓ ภาพแม่ลาย ๓ ภาพที่ ๔.๔ ภาพลายหลังสิ งห์ ๑ ภาพที่ ๔.๕ ภาพลายหลังสิ งห์ ๒ ภาพที่ ๔.๖ ภาพลายบัวปากถ้วย ๑ ภาพที่ ๔.๗ ภาพลายบัวปากถ้วย ๒
๑๐๑ ๑๐๒ ๑๐๓ ๑๐๔ ๑๐๕ ๑๐๖ ๑๐๗
หน้ า ภาพที่ ๔.๘ ภาพลายบัวปากถ้วย ๓ ภาพที่ ๔.๙ ภาพลายบัวปากถ้วย ๔ ภาพที่ ๔.๑๐ ภาพลายบัวขบ ภาพที่ ๔.๑๑ ภาพเชิงผ้าลายหรื อลายช่อ ๑ ภาพที่ ๔.๑๒ ภาพเชิงผ้าลายหรื อลายช่อ ๒ ภาพที่ ๔.๑๓ ภาพเชิงผ้าลายหรื อลายช่อ ๓ ภาพที่ ๔.๑๔ ภาพลายล่องไฟ ๑ ภาพที่ ๔.๑๕ ภาพลายล่องไฟ ๒ ภาพที่ ๔.๑๖ ภาพลายล่องไฟ ๓ ภาพที่ ๔.๑๗ ภาพลายรางมุม ๑ ภาพที่ ๔.๑๘ ภาพลายรางมุม ๒ ภาพที่ ๔.๑๙ ภาพลายรางมุม ๓ ภาพที่ ๔.๒๐ ภาพลายรางมุม ๔ ภาพที่ ๔.๒๑ ภาพลายหน้าดานบน ล่าง ๑ - ๔ ภาพที่ ๔.๒๒ ภาพลายตุกตู่ ๑ - ๒ ภาพที่ ๔.๒๓ ภาพลายไต ๑ - ๓ ภาพที่ ๔.๒๔ ภาพลายสิ งห์
๑๐๘ ๑๐๙ ๑๑๐ ๑๑๑ ๑๑๒ ๑๑๓ ๑๑๔ ๑๑๕ ๑๑๖ ๑๑๗ ๑๑๘ ๑๑๙ ๑๒๐ ๑๒๑ ๑๒๒ ๑๒๒ ๑๒๓ หน้ า บทที่ ๕
ภาพที่ ๕.๑ ภาพจาลอง “โลงแหนว” ๒ แบบ ภาพที่ ๕.๒ ภาพลายสิ งห์ลายสาหรับประดับตกแต่งส่ วนฐานโลง ภาพที่ ๕.๓ ภาพความกลมกลืนในความขัดแย้งทาให้ภาพดูเด่นสะดุดตา ภาพที่ ๕.๔ ภาพการจัดภาพสมดุลแบบซ้ายขวาเหมือนกันเท่ากันแบบสมมาตร ภาพที่ ๕.๕ ภาพการจัดตกแต่งลายกนกโลงบนโลงศพตามหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ ภาพที่ ๕.๖ ภาพขนาดและสัดส่ วนของ โลงแหนว ภาพที่ ๕.๗ ภาพขนาดและสัดส่ วนของโลงแหนวปั จจุบนั
๑๒๘ ๑๓๑ ๑๓๒ ๑๓๒ ๑๓๔ ๑๓๕ ๑๓๕
หน้ า
ภาพที่ ๕.๘ ภาพการแบ่งพื้นที่บนหน่วยโลงและฐานโลงเพื่อประดับลายกนกโลง ภาพที่ ๕.๙ ภาพการกาหนดลายกนกโลงในตาแหน่งต่าง ๆ บนหน่วยโลงและฐานโลง ภาพที่ ๕.๑๐ ภาพการเสริ มอกไก่ดว้ ยโฟมบนหน่วยโลงและฐานโลง ภาพที่ ๕.๑๑ ภาพลักษณะโฟมอกไก่ ภาพที่ ๕.๑๒ ภาพแสดงขั้นตอนการติดลายกนกโลงบนหน่วยโลงและฐานโลง ๑ – ๔ ภาพที่ ๕.๑๓ ภาพการประดับตกแต่งโลงศพด้วยลายกนกโลง(ด้านข้าง)
๑๓๘ ๑๓๙ ๑๔๐ ๑๔๐ ๑๔๓ ๑๔๔ หน้ า
บทที่ ๖ ภาพที่ ๖.๑ ภาพยอดโลงแบบ ๓ ยอด ภาพที่ ๖.๒ ภาพลักษณะของยอดเหมและยอดแหลมที่ประกอบกันเข้าด้วยกัน ภาพที่ ๖.๓ ภาพลักษณะยอดบนสุ ด (ยอดแหลม) ๓ แบบ ภาพที่ ๖.๔ ภาพยอดบนสุ ดตกแต่งด้วยกระดาษสี ลูกแก้ว และดอกไม้สี ภาพที่ ๖.๕ ภาพจาลองลักษณะยอดเหม ภาพที่ ๖.๖ ภาพทางต้นสาคู ภาพที่ ๖.๗ ภาพทางไม้สาคูตากแห้ง ภาพที่ ๖.๘ ภาพจาลองโครงไม้ยอดเหม แบบ ๓ ยอด ภาพที่ ๖.๙ ภาพแสดงวิธีการทายอดเหม ๑ - ๕ ภาพที่ ๖.๑๐ ภาพแสดงเครื่ องประดับตกแต่งยอดเหม ๑ – ๔ ภาพที่ ๖.๑๑ ภาพแสดงขั้นตอนการตกแต่งยอดเหม ๑ - ๔ ภาพที่ ๖.๑๒ ภาพแสดงขั้นตอนการทาดอกไม้เงินดอกไม้ทอง ๑ - ๑๖ ภาพที่ ๖.๑๓ ภาพดอกไม้เงินดอกไม้ทองและส่ วนประกอบการร้อยพวงดอกไม้
๑๕๒ ๑๕๓ ๑๕๔ ๑๕๕ ๑๕๖ ๑๕๖ ๑๕๖ ๑๕๗ ๑๕๘ ๑๕๙ ๑๖๐ ๑๖๒ ๑๖๓
คาชี้แจง
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาลายกนกโลงศพเล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ รายวิชา ลายกนกโลงศพ สาระทัศนศิลป์ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ซึ่ งผูเ้ ขียนได้นาข้อมูลความรู้จาก แหล่งต่าง ๆ มาเรี ยบเรี ยงให้เป็ นไปตามลาดับขั้นตอนของการสร้างสรรค์งานศิลปะกนกโลง เพื่อให้นกั เรี ยน ได้พฒั นาทักษะความรู้ ความสามารถ กระบวนการ คุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิ ยมที่ดีงาม จะเกิดประโยชน์ สู งสุ ดเมื่อนักเรี ยนได้ปฏิบตั ิตามคาชี้แจงนี้ ๑. ศึกษาผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวัง เพื่อให้เข้าใจถึงเป้ าหมายในการเรี ยน ๒. ศึกษารายละเอียดของเนื้อหาในแต่ละบทตามลาดับให้เข้าใจ ๓. ศึกษาขั้นตอนและวิธีการแกะลายกนกประดับโลงศพอย่างละเอียด ๔. ตอบคาถามทบทวนท้ายบท เพื่อตรวจสอบความรู้ ความเข้าใจ ๕. ปฏิบตั ิกิจกรรมในแต่ละบทให้ครบทุกกิจกรรม ๖. วิเคราะห์ผลการปฏิบตั ิงานโดยใช้แบบประเมินเชิงวิเคราะห์ ๗. ประเมินผลงานด้วยตนเองโดยใช้เกณฑ์การประเมินแบบ Rubric ๘. ประเมินทักษะกระบวนการปฏิบตั ิงานด้วยตนเองโดยใช้เกณฑ์การประเมินแบบ Rubric ๙. ประเมินความรู ้สึกถึงคุณค่าความงามและความสาคัญของลายกนกโลงศพ จากแบบประเมินเจตคติ ๑๐. ทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ หลังเรี ยน เพื่อประเมินทักษะความรู้ของตนเอง หวังว่าเอกสารประกอบการเรี ยนเล่มนี้จะช่วยพัฒนาศักยภาพของนักเรี ยนได้เป็ นอย่างดี
คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิ เพื่อให้มีทกั ษะความรู ้ ความสามารถ มองเห็นคุณค่างานศิลปะมรดกภูมิปัญญาไทยใน ท้องถิ่นภาคใต้ งานแกะลายกนกโลง ความเป็ นมา วิธีการสร้างสรรค์งานแกะและตกแต่งลายกนกโลงตาม แบบอย่างศิลปิ น การใช้วสั ดุ อุปกรณ์ การจินตนาการ วิเคราะห์ วิจารณ์ ถ่ายทอดความรู ้สึก ความคิดต่องาน ศิลปะอย่างอิสระ ชื่ นชม การประยุกต์ใช้ในชี วิตประจาวัน โดยประเมินจากทักษะความรู้ กระบวนการ ปฏิบตั ิงาน ผลงาน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ผลการเรียนรู้ ทคี่ าดหวัง (มาตรฐานที่ ศ ๑.๑ และ ศ ๑.๒) ๑. รู ้และเข้าใจการอนุ รักษ์ สื บสานศิลปะภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้ ๒. รู้และเข้าใจความเป็ นมาของงานศิลปะกนกโลง ๓. รู ้ข้ นั ตอน/วิธีการทาแม่แบบกนกโลง ๔. รู ้ข้ นั ตอน/วิธีการแกะและตกแต่งลายกนกโลงบนกระดาษทอง ๕. รู ้ข้ นั ตอน/วิธีการประดับตกแต่งโลงศพด้วยลายกนกโลง ๖. รู ้และเข้าใจวิธีการทาและประดับตกแต่งยอดโลงแบบ ๓ ยอด ๗. มีส่วนร่ วมในการอนุ รักษ์ สื บทอดงานศิลปะกนกโลง โดยใช้ทกั ษะความรู้ ความสามารถ ด้วยความชื่นชอบ ๘. วิเคราะห์ วิจารณ์ผลการปฏิบตั ิงานของตนเองและผูอ้ ื่นได้อย่างอิสระ ชื่นชม
สาระสาคัญ ลายกนกโลงศพ หรื อที่เรี ยกกันในภาษาท้องถิ่ นว่า ”กนกโลง” เป็ นงานศิลปะที่เกิดจากการแกะลายไทยบน กระดาษทอง เพื่อนามาใช้ประดับตกแต่งโลงศพ เป็ นศิลปะมรดกทางภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย ที่มีคุณค่า ความงามโดดเด่นเป็ นเอกลักษณ์ ควรค่าแก่การอนุ รักษ์ สื บสาน เพื่อบอกเล่าถึงตานาน วิถีชีวิตความเป็ นอยู่ ความเชื่ อ ความศรั ท ธา ขนบธรรมเนี ยม ประเพณี และวัฒนธรรมอันดี งามของคนในท้องถิ่ นภาคใต้ โดยเฉพาะชาวจังหวัดนครศรี ธรรมราชที่ได้ปฏิบตั ิสืบทอดการทากนกโลง หรื อลายกนกโลงศพนี้ มาจนถึง ปัจจุบนั
บทนา ลายกนกโลงศพ หรื อ ศิลปะกนกโลง หรื อเรี ยกสั้น ๆ ตามภาษาท้องถิ่นว่า กนกโลง เป็ นงานศิลปะภูมิปัญญา ไท ย ที่ อ ยู่ ค ว บ คู่ กั บ ป ร ะ เ พ ณี ง า น ศ พข อ ง ค น ไท ย ใ น ท้ อ ง ถิ่ น ภ าค ใ ต้ ที่ นั บ ถื อ ศ าส น า พุ ท ธ มาช้านาน ปั จจุบนั งานมีให้เห็นน้อยลง หรื อแทบจะเลือนหายไปพร้ อมกับผูต้ าย ถึงอย่างไรก็ตาม ด้วยคติความ เชื่อ ความศรัทธาในประเพณี วัฒนธรรมของคนในชุ มชนท้องถิ่น งานศิลปะกนกโลงจึงยังคงได้รับการปฏิบตั ิ สื บทอดต่อกันมาจนถึงทุกวันนี้ ลายกนกโลงศพจัดเป็ นงานศิลปะประเภทวิจิตรศิลป์ ที่มีคุณค่าทางด้านความงาม มีความวิจิตร ตระการตาเป็ น อย่างมาก ซึ่งเมื่อใครได้สัมผัสแล้วจะทาให้นึกถึงสิ่ งที่ดีงาม ความหรู หรา และความมีบารมี จากความงดงาม วิ จิ ต ร ตระการตาของงานศิ ล ปะที่ ป รากฏอยู่ บ นโลงศพ สี สั น สุ กสว่ า งไปด้ ว ย สี เหลืองทอง และลีลาอันอ่อนช้อยของลวดลายกนก เปรี ยบเสมือนความงดงาม ความอ่อนช้อย คุณความดี และ ความรุ่ งโรจน์ของผูต้ ายที่ได้ทาไว้ในขณะยังมีชีวิตอยู่ ดังบทกวีของ หมี่เป็ ด ผูช้ ายนัยน์ตาสนิมเหล็ก ที่เขียนไว้ อาลัยแก่ กนกพงศ์ สงสมพันธ์ นักเขียนรางวัลซี ไรท์ ซึ่ งปั้ นปลายของชีวิต ได้มาอาศัยอยูใ่ นเขตอาเภอพรหม คีรี จังหวัดนครศรี ธรรมราช ( ลายกนก. ๒๕๔๙ ) “กนกโลงกับความงดงามของผูต้ าย” ม้ วนหัวลากเส้ นเป็ นกนก มีคนพนมมือนอนหลับตา ...วันนี้คนหนึ่งถึงจุดจบ จากต้นจนปลายจวบวายปราณ เรามาเพียงชัว่ ครู่ มาอยูร่ ่ วม เกื้อกูลเผือ่ แผ่กนั แก่กนั เป็ นลายกนกแตกยอดที่ทอดไป เกิดความงามลึกลุ่มอันชุ่มชื ้น เป็ นเส้ นสายลายศิลป์ – แผ่ นดินเดียว คือความวิจิตรอันผลิพราย ม้ วนหัวลากเส้ นเป็ นกนก ลายกนกโลงที่โลกฉลุนั้น
ลายตกแต่ งโลงทั้งซ้ ายขวา ดวงหน้าไร้ความรู้สึกใด.. พรุ่ งนี้ศพถูกเผาเป็ นเถ้าถ่าน อวสานทุกสิ่ งอย่างนิ่งงัน หลอมรวมความมีต่างสี สัน สอดรั บสัมพันธ์ และกลมกลืน เคลื่อนไหวช้ อยชดกันสดชื่ น ร่ วมดื่นดกลายอีกหลายลาย ฟั่ นเกลียวซ้ อนเส้ นเร้ นสาย ร่ วมเกิดตายในโลกใบเดียวกัน กี่ศกกี่ศกก็โศกศัลย์ เรี ยกเผ่ าพันธุ์ร่วมโลก – กนกพงศ์
ซึ่ งในงานศพดังกล่าว มีการจัดพิธีกรรมทางพุทธศาสนาตามแบบประเพณี และวัฒนธรรมท้องถิ่ นภาคใต้ ความงดงามของลวดลายกนกที่อ่อนช้อย วิจิตร ตระการตา บนโลงศพได้ปรากฏแก่สายตาของผูม้ าร่ วมงานนับ พัน ๆ คู่ เป็ นความงดงามที่เกิดจากฝี มืออันประณี ต ละเอียดอ่อน ของคนไทยปั จจุบนั การสื บทอดงานศิลปะ กนกโลงนี้ ยงั พอมีให้เห็ นอยูบ่ า้ ง โดยเฉพาะบริ เวณท้องถิ่นที่ผเู ้ ขียนอาศัยอยู่ คือ เขตอาเภอร่ อนพิบูลย์ จังหวัด นครศรี ธรรมราช และบริ เวณเขตใกล้เคียง เช่น อาเภอทุ่งสง อาเภอนาบอน อาเภอพรหมคีรี อาเภอทุ่งใหญ่ อาเภอ จุฬาภรณ์ รวมไปถึ งจังหวัดที่มีเขตพื้นที่ติดต่อกับจังหวัดนครศรี ธรรมราช ได้แก่ จังหวัดพัทลุง จังหวัดสงขลา จังหวัดกระบี่ เป็ นต้น ศิลปะกนกโลง หรื อที่ ชาวบ้านในภาคใต้ใช้ภาษาถิ่นว่า “การทากนกโลง” จัดเป็ นงาน ศิลปะที่มีคุณค่าควรแก่การศึกษา และอนุรักษ์ไว้ ให้อยูค่ ู่กบั คนไทยตลอดไป เช่นเดียวกับงานศิลปะภูมิปัญญา ไทยในท้องถิ่ นภาคใต้อีกหลายอย่าง ที่นกั เรี ยนควรได้รู้จกั และเลือกนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ทั้งนี้ เพื่อความภาคภูมิใจ และเพื่อการเผยแพร่ เอกลักษณ์ของความเป็ นไทยอีกด้วย