บทที่ 5 งานประดับตกแต่งโลงศพด้วยลายกนกโลง

Page 1


งานประดับตกแต่ งโลงศพด้ วยลายกนกโลง งานประดับตกแต่งโลงศพด้วยลายกนกโลง จะมีช่างทางานอยู่ ๒ ประเภทที่ตอ้ งทาคู่กนั คือ ช่างแกะลายกนกโลง และช่างไม้ประกอบหน่วยโลง ฐานโลง และยอดโลง เพราะในงานแกะลายกนกโลง ช่างจะต้องคานึงถึงขนาด สัดส่ วนความงามของลายกนกโลงที่จะนาไปประดับให้มีความสัมพันธ์พอดีกนั กับขนาด สัดส่ วนของหน่วยโลงและฐานโลงที่ช่างไม้ประกอบขึ้น รู ปทรงของหน่วยโลงจะมีเอกลักษณ์ เฉพาะตามแบบนิยมของคนในท้องถิ่นภาคใต้ ชาวบ้านเรี ยกว่า โลงแหนว คือ หน่วยโลงจะมีลกั ษณะ โค้งคอดเอว คล้ายกับรู ปสี่ เหลี่ยมคางหมูหรื อโลงสามส่ วน ซึ่งตั้งอยูบ่ นฐานแบบเครื่ องชั้น ๓ - ๕ ชั้น ลายกนกโลงที่ช่างนามาใช้ จะเป็ นลายที่เลียนแบบของเดิม บ้างก็ประดิษฐ์ลวดลายขึ้นมาใหม่ ตามความคิด สร้างสรรค์ของตนเอง ลักษณะโลงแหนว ตั้งอยู่บนฐานแบบเครื่องชั้ น ( ในช่ วงปี พ.ศ. ๒๕๒๐ จนถึงปัจจุบัน )

หน่วยโลง ฐานโลง แบบที่ ๑

แบบที่ ๒

ภาพที่ ๕.๑ ภาพจาลอง “โลงแหนว” ๒ แบบ ที่มา : ๑ สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคใต้, ๒๕๔๒; ๒ ขอม ทิพย์โพธิ์, ๒๕๕๐

การนาลายกนกโลงมาประดับตกแต่งโลงศพ เพื่อให้เกิดความสวยงาม ตระการตา น่าพึงชม ช่างทากนกโลงมีหลักการที่ถือเป็ นแนวปฏิบตั ิตลอดมา คือ การจัดภาพให้ดูเหมาะสม กลมกลืน มีจุดเด่น เป็ นเอกภาพ สะท้อนให้เห็นถึงวัตถุประสงค์ของงานที่ตอ้ งการสื่ อออกมาทางด้านความงาม ให้อารมณ์ และความรู ้สึกแก่ผดู ้ ู ผูช้ ม ดังนั้นเราจึงต้องเรี ยนรู ้เรื่ องของการจัดภาพให้เข้าใจ โดยอาศัยหลักการจัดภาพ หรื อหลักการจัดองค์ประกอบทางศิลปะ ดังนี้ ๑๒๘


๑๒๙

การจัดองค์ ประกอบศิลป์ (Composition) องค์ประกอบศิลป์ เกิ ดจากการนาทัศนธาตุ หรื อส่ วนประกอบศิลปะ (Elements of Art) มาจัดรวมกันโดยใช้หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ (Principles of composition) ในการจัดองค์ประกอบศิลป์ เราไม่จาเป็ นต้องใช้ทศั นธาตุพร้อมกันทุกตัว หรื อหลักการทุกข้อ ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ความพึงพอใจในความงาม และความรู้สึกทางอารมณ์ที่ตอ้ งการสื่ อออกมาให้เห็นในรู ปลักษณ์ต่าง ๆ องค์ประกอบศิลป์ มีความสาคัญ ต่อการสร้างสรรค์งานศิลปะเป็ นอย่างมาก ถ้าขาดความเข้าใจในเรื่ องทัศนธาตุ และหลักการจัดองค์ประกอบ ทางศิลปะ คุณค่าของงานศิลปะก็จะลดน้อยด้อยค่าลงไป ทัศนธาตุและหลักการจัดองค์ ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุ (Visual Elements) ทัศนธาตุ เป็ นคาที่กาหนดขึ้นมาใหม่ในงานศิลปะเมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๔ หมายถึง ชิ้นส่ วน หรื อส่ วนประกอบเล็ก ๆ ที่มองเห็นได้ ทัศนธาตุในงานศิลปะ ได้แก่ จุด เส้น รู ปร่ าง รู ปทรง สี พื้นผิว ขนาดและสัดส่ วน บริ เวณว่าง น้ าหนักอ่อนแก่ ทัศนธาตุในงานศิลปะเรี ยกอีกอย่างหนึ่ งว่า ส่ วนประกอบ ศิลปะ (Elements of Art) มีดงั นี้ ๑. จุด (Dot) คือ ส่ วนประกอบศิลปะที่มีขนาดเล็กที่สุดและเป็ นจุดกาเนิ ดของ เส้น รู ปร่ าง รู ปทรง พื้นผิว น้ าหนักอ่อนแก่ ในงานศิลปะอีกด้วย ๒. เส้ น (Line) เกิดจากจุดที่เรี ยงชิดติดกันเป็ นแนวยาว เส้นสามารถรับรู้ได้จากการ มองเห็นปรากฏอยูจ่ ริ งเรี ยกว่า เส้นแท้จริ ง ได้แก่ เส้นโค้ง เส้นตรง เส้นเฉี ยง เส้นหยัก ฯลฯ และรับรู้ ได้จากความรู้ สึก ตามจินตนาการ โดยไม่ปรากฏให้เห็ นเป็ นเส้ นเรี ยกว่า เส้ นไม่มีตวั ตน ลักษณะ ของเส้นแต่ละชนิ ด มีอิทธิ พลต่ออารมณ์ และความรู้สึกของมนุษย์ เช่น เส้นโค้งให้ความรู ้สึกนุ่มนวล อ่อนช้อย เส้นตรงแนวตั้งให้ความรู ้สึกมัน่ คง สู ง สง่า เส้นตรงแนวนอนให้ความรู้สึกราบเรี ยบ สงบ สบาย เป็ นต้น ๓. รู ปร่ าง (Shape) เกิดจากการลากเส้นมาบรรจบกัน ปรากฏเป็ นภาพ ๒ มิติ ได้แก่ รู ปร่ างธรรมชาติ รู ปร่ างเรขาคณิ ต รู ปร่ างอิสระ นอกจากรู ปร่ างจะสามารถบอกลักษณะของสิ่ งต่าง ๆได้ ยังส่ ง ผลต่อความรู ้ สึกของมนุ ษย์ได้เช่ นกัน เช่ น รู ปร่ างสี่ เหลี่ ยมผืนผ้าแนวนอนให้ความรู ้ สึ กสงบ กว้างขวาง รู ปร่ างสี่ เหลี่ยมผืนผ้าแนวตั้งให้ความรู ้สึกสู งเด่น สง่างาม รู ปสามเหลี่ยมให้ความรู ้สึกสู งเด่น สง่างาม รุ นแรง รู ปร่ างสี่ เหลี่ยมคางหมูให้ความรู ้สึกหนักแน่น มัน่ คง ปลอดภัย เป็ นต้น

๑๒๙


๔. รู ปทรง (Form) เกิดจากการลากเส้นมาบรรจบกัน ปรากฏเป็ นภาพ ๓ มิติ ได้แก่ รู ปทรงธรรมชาติ รู ปทรงเรขาคณิ ต รู ปทรงอิ สระ รู ปทรงมี ผลต่ออารมณ์ และความรู้ สึกของมนุ ษย์ได้ เช่นเดียวกัน กับรู ปร่ าง ๕. สี (Color) ในบรรดาทัศนธาตุ ท้ งั หมด สี มี ความส าคัญต่ ออารมณ์ และความรู ้ สึ ก ของมนุษย์มากที่สุด สี เกิดจากแสงที่มากระทบบนวัตถุ และสะท้อนกลับมายังตาของคนเรา สี ทาให้ งานศิลปะมีความสวยงาม สะดุดตา น่าสนใจ เพราะอิทธิ พลของสี เช่น สี แดงให้ความรู้สึก ร้อนแรง มีพลัง อานาจ ความยิ่งใหญ่ สี เขียวให้ความรู้สึก สดชื่ น เติบโต สี ขาวให้ความรู้สึก สะอาด บริ สุทธิ์ สี เหลือง ให้ความรู้สึก รื่ นเริ ง สี น้ าเงินให้ความรู ้สึก สุ ขมุ ผูด้ ี หนักแน่น เป็ นต้น ๖. น้าหนักอ่ อน แก่ (Value) เป็ นความแตกต่างของสี บนวัตถุ ที่มีความเข้มและอ่อน ต่างกัน เป็ นส่ วนที่เกิ ดจากการส่ องกระทบของแสง เช่น ถ้าวัตถุ ถูกแสงส่ องกระทบมากจะมีน้ าหนัก สี อ่อน และถ้าวัตถุถูกแสงส่ องกระทบน้อยจะมีน้ าหนักสี เข้ม น้ าหนักอ่อนแก่มีความสัมพันธ์กบั แสง และเงาในงานศิลปะ คือ ถ้าต้องการเน้นแสงในภาพให้ใช้ค่าน้ าหนักสี อ่อนภาพจะดูสว่าง และต้องการ เน้นเงาให้ใช้ค่าน้ าหนักสี แก่ หรื อสี เข้มภาพจะดูมืด ๗. ขนาดและสั ดส่ วน (Size and Proportion) เป็ นความสัมพันธ์กนั หรื อเปรี ยบเทียบกัน อย่างเหมาะสมระหว่างขนาดและปริ มาณขององค์ประกอบที่ต่างกัน หรื อเหมือนกัน เช่น รู ปทรงสี่ เหลี่ยม ขนาดเล็กสัมพันธ์กนั กับรู ปทรงสี่ เหลี่ยมขนาดใหญ่ รู ปวงกลมขนาดเล็กสัมพันธ์กบั รู ปวงรี ขนาดใหญ่ พื้นผิวเรี ยบสัมพันธ์กบั ลวดลาย หรื อบริ เวณว่างสัมพันธ์กบั รู ปทรง เป็ นต้น ซึ่ งสัดส่ วนที่มีความพอเหมาะ พอดีจะทาให้งานศิลปะดูสวยงามมากยิง่ ขึ้น ๘. บริ เวณว่ าง (Space) คือ ระยะช่ องว่างของภาพ ได้แก่ ระยะช่ องว่างระหว่างภาพ กับพื้นที่ อยู่ล้อมรอบภาพ เรี ยกว่า บริ เวณว่างลบ และระยะช่ องว่างระหว่างพื้นที่ ในภาพ เรี ยกว่า บริ เวณว่างบวก บริ เวณว่างในงานศิลปะช่ วยให้ภาพมีความปลอดโปร่ ง สบายตา ดูไม่อึดอัด การใช้ บริ เวณว่างควรจัดพื้นที่กบั ภาพ ให้สัมพันธ์กนั จึงจะทาให้ภาพเกิดความงาม ๙. พืน้ ผิว (Texture) คือ ลักษณะภายนอกที่สัมผัสได้ถึงความหยาบ กระด้าง เรี ยบ มันวาว ขรุ ขระ นุ่มนิ่ ม เป็ นปุย ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุ ษย์สร้างขึ้น พื้นผิวในงานศิลปะ ถูกสร้างขึ้นมาจากการนาจุด เส้น สี น้ าหนักอ่อนแก่ บริ เวณว่าง มาจัดตกแต่งพื้นผิวให้มีลกั ษณะแตกต่าง กันออกไป สามารถสัมผัสได้ในแบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ ตามความรู้สึกจากการมองเห็น และกายสัมผัส

๑๓๐


๑๓๑

หลักการจัดองค์ ประกอบศิลป์ (Principles of Composition) หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ คือ แนวทางในการจัดภาพให้ผสานสัมพันธ์ กนั อย่างเหมาะสมกลมกลืนเป็ นหนึ่งเดียว เพื่อก่อให้เกิดความสวยงาม สะดุดตา น่าสนใจ ประกอบด้วย เอกภาพ ความสมดุล จุดเด่น ความกลมกลืน และความขัดแย้ง ๑. เอกภาพ (Unity) เป็ นการจัดภาพให้ ดูเ ป็ นหน่ ว ยเดี ย วกัน มี ค วามสั ม พัน ธ์ สอดคล้องกลมกลืนกัน รวมไปถึงเอกภาพทางความคิดและเนื้ อหาที่เป็ นไปในทิศทางเดียวกันอีกด้วย ความเป็ นเอกภาพในงานศิลปะทาได้ดว้ ยการนาเส้น สี รู ปร่ าง รู ปทรง พื้นผิว มาจัดให้ประสานกลมกลื น เป็ นหน่วยเดียว หรื อเรื่ องเดียวกัน ไม่กระจัดกระจาย ดูแล้วไม่ขดั ตา ๒. จุ ดเด่ น (Dominance) คือ ส่ วนประกอบของภาพที่ ดูเด่ น สะดุ ดตา น่ าสนใจ การสร้างจุดเด่นหรื อจุดสนใจในงานศิลปะทาได้ดว้ ยการนา จุด เส้น สี รู ปร่ าง รู ปทรง พื้นผิว น้ าหนัก อ่อนแก่ แสงเงา หรื อ ขนาด มาจัดวางให้เห็ นชัดด้วยการเน้น การซ้ า การทาให้ขดั แย้ง การใช้จงั หวะ ทิศทาง หรื อการจัดวางตาแหน่งของภาพที่เหมาะสม ๓. ความสมดุล (Balance) เป็ นการจัดวางภาพให้มีความพอดี สัมผัสได้ดว้ ยตา และ ความรู้สึก ความสมดุลมี ๒ ลักษณะ คือ ๑ ภาพที่มีลกั ษณะซ้ายขวาเหมือนกัน มีขนาดเท่ากัน หรื อ มีบริ เวณว่างเท่ากัน เรี ยกว่า ความสมดุ ลแบบสมมาตร ๒ ภาพที่ มีลกั ษณะซ้ายขวาไม่เหมื อนกัน ขนาดไม่เท่ากันแต่มีน้ าหนักเท่ากัน เรี ยกว่า ความสมดุลแบบอสมมาตร การสร้างความสมดุลในงานศิลปะ ทาได้ดว้ ยการใช้เส้น สี รู ปร่ าง รู ปทรง พื้นผิว น้ าหนักอ่อนแก่ มาจัดวางให้เกิดความพอดี ดูแล้ว ไม่หนัก หรื อไม่เอียงไปทางด้านใดด้านหนึ่ง ๔. ความกลมกลืน (Harmony) คือ การนาทัศนธาตุทางศิลปะมาจัดองค์ประกอบ ให้มีความสัมพันธ์กลมกลืนกัน ไม่ขดั แย้งกัน เช่น การใช้สีกลุ่มเดียวกัน การใช้เส้นลักษณะเดียวกัน การใช้พ้นื ผิวที่เหมือนกันหรื อใกล้เคียงกัน การจัดวางภาพให้ไปในทิศทางเดียวกัน เป็ นต้น ๕. ความขัดแย้ ง (Contrast) คือ การจัดองค์ประกอบศิลป์ ให้เกิ ดการตัดกันหรื อ ขัดแย้งกัน เพื่อลดความจาเจ ซ้ าซากน่ าเบื่อ ทาให้ภาพดูน่าสนใจมากขึ้น เช่น การใช้สีตรงข้ามกัน การใช้เ ส้ นต่ า งชนิ ด กัน การใช้ทิ ศ ทางตรงข้า มกัน การใช้ค วามขัด แย้ง ในงานศิ ล ปะไม่ ค วรใช้ มากจนเกินไปเพราะจะทาให้ดูรุนแรง สัดส่ วนในการใช้ความขัดแย้งควรมีไม่เกิน ๓๐ % ของภาพทั้งหมด ตัวอย่าง การนาหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ มาใช้ในงานประดับลายกนกโลง เพื่อสร้าง ความสวยงาม และน่าสนใจแก่ผพู ้ บเห็น โดยใช้ความขัดแย้งของสี ตดั กัน และจัดภาพโดยใช้ความสมดุล แบบสมมาตร) ภาพที่ ๕.๒ ภาพลายสิ งห์ลายสาหรับประดับตกแต่งส่วนฐานโลง ที่มา : สุรินทร์ รณศิริ และคนอื่น ๆ, ๒๕๕๐ ๑๓๑


ภาพที่ ๕.๓ ภาพความกลมกลืนในความขัดแย้งทาให้ภาพดูเด่นสะดุดตา ที่มา : http://noomseksan.blogspot.com/2011_08_01_archive.html

๑. ใช้หลักความขัดแย้งในความกลมกลืน เป็ นการจัดภาพ โดยใช้หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ ในเรื่ อง สี รู ปทรง และทิศทางที่กลมกลืนกัน สร้างความสะดุดตาให้กบั ภาพด้วยการใช้สีแดงตัดกับ พื้นที่ส่วนรวมสี เขียว ซึ่ งหลักการนี้ ช่างทากนกโลง ได้นามาใช้กบั งานประดับตกแต่งโลงศพด้วย คือ ใช้สีทองเป็ นส่ วนรวมของภาพทั้งหมดและสร้างความสะดุดตาด้วยการใช้สีแดง สี เขียว สี น้ าเงิน (สี ตดั กัน ในลักษณะค่าความเข้มข่มกันหรื อสี ตดั กันโดยน้ าหนัก) มาตัดกับสี ทอง

ภาพที่ ๕.๔ ภาพการจัดภาพสมดุลแบบซ้ายขวาเหมือนกันเท่ากันแบบสมมาตร ที่มา : http://goto2d.blogspot.com

๒. ใช้ความสมดุลในการจัดภาพแบบสมมาตร ซึ่ งเป็ นหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ ที่นิยม ใช้ในงานศิลปะไทย เพราะมีความงดงามที่เป็ นระเบียบ เรี ยบร้อย สะดุดตา ตามแบบอย่างลักษณะ นิสัยของคนไทย ได้ถูกนามาใช้ในงานประดับตกแต่งโลงศพด้วย คือ จัดวางลายกนกโลงในแต่ละแถว ให้มีความพอดี เหมือนกัน เท่ากันทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวา ไม่เอนเอียงไปด้านใดด้านหนึ่ ง จึงทาให้ ภาพดูสวยงามเป็ นหนึ่ง กลมกลืนกัน

๑๓๒


๑๓๓

การจัดองค์ ประกอบศิลป์ กับงานประดับตกแต่ งโลงศพด้ วยลายกนกโลง นาหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ มาใช้ในงานประดับตกแต่งโลงศพด้วยลายกนกโลง ดังนี้ ๑. ความเป็ นเอกภาพ (Unity) จัดภาพให้ดูเป็ นหน่ วยเดี ยวกัน มีความสัมพันธ์สอดคล้อง กลมกลื นกันด้วยการใช้สี และทิ ศ ทาง ลายกนกโลงทุ ก ลายจะใช้ สี ทองเป็ นหลัก และจัดวางภาพ ตามแนวนอนมีความสม่าเสมอ สัมพันธ์กนั ดูแล้วไม่ขดั ตา ๒. ความสมดุล (Balance) จัดภาพด้วยความพอดี มีความเท่ากันเหมือนกันทั้งทางด้านซ้าย และด้านขวา เป็ นความสมดุลแบบสมมาตร สังเกตได้จากการจัดวางลายกนกโลงบนโลงศพ ที่มีขนาด สัดส่ วน เหมาะสมพอดี ไม่เอียงหรื อไม่หนักไปทางด้านใดด้านหนึ่ง ๓. จุดเด่ น (Dominance) จัดภาพให้ดูเด่น สะดุดตา น่าสนใจ ด้วยการใช้สี ขนาด พื้นผิว และ ทิศทางในการจัดวางภาพ ที่มีความขัดแย้งและกลมกลืนกันดังนี้ ๓.๑ การใช้สี จะเน้นที่สีทองตามชื่อเรี ยกของงานศิลปะกนกโลงหรื อการทาโลงทอง สี ที่ใช้ ร้อยละ ๗๐ เป็ นสี วรรณะร้อนได้แก่ สี ทอง สี แดง สี ส้ม สี เหลือง และลดความกลมกลืนลงบ้าง เพื่อให้ ภาพดูเด่น สะดุดตา น่าสนใจ ด้วยการตัดกันของสี วรรณะเย็นร้อยละ ๓๐ ได้แก่ สี เขียว และสี น้ าเงิน ๓.๒ การใช้ขนาด จัดวางลายกนกโลงขนาดใหญ่สลับกับขนาดเล็ก เพื่อลดความซ้ าซาก เช่น บริ เวณปากหน่วยโลงใช้ลายหน้าดานบนขนาดเล็ก ตามด้วยลายบัวปากถ้วยที่มีขนาดใหญ่ ตามด้วย ลายตุกตู่ขนาดเล็ก ตามด้วยแม่ลายขนาดใหญ่ เป็ นต้น ๓.๓ การใช้พ้ืนผิว การวางลายกนกโลงแต่ ละลายจะมี การสลับด้วยล่ องน้ า ที่ มี พ้ื นผิว ราบเรี ยบ โดยการใช้กระจกเงา และคัน่ ลายกนกโลงแต่ละลายด้วยเส้นสี เรี ยบไปตามแนวเดียวกัน กับ การวางลาย ทาให้ภาพดูไม่น่าเบื่อ ๓.๔ การใช้ทิศทาง ภาพรวมในการจัดวางลายกนกโลงจะวางลายไปในทิศทางเดียวกัน คือ จัดวางลายตามแนวนอนเกือบทั้งหมด สร้างความสะดุดตาด้วยการวางลายรางมุมและลายไตในแนวตั้ง ๔. ความกลมกลืน (Harmony) สร้างความกลมกลืนของภาพด้วยการใช้สีวรรณะร้อนที่ กลมกลืนกับสี ทองได้แก่ สี แดง สี ส้ม สี เหลือง และจัดวางลายกนกโลงตามแนวนอนเหมือนกันเกือบ ทุกลาย ดูแล้วกลมกลืนกัน ๕. ความขัดแย้ง (Contrast) สร้างความขัดแย้ง เพื่อลดความซ้ าซาก ความจาเจ น่าเบื่อลง เพื่อให้ภาพดูสะดุดตา น่าสนใจ ด้วยการนาลายกนกโลงแนวนอน เช่น แม่ลาย มาวางตัดกับลายกนกโลง แนวตั้ง เช่น ลายบัว ลายล่องไฟ ลายช่อ ลายรางมุม ลดความสว่างของกลุ่มสี ร้อนลงด้วยการใช้สีเขียว สี น้ าเงิน ใช้พ้นื ผิวเรี ยบของกระจกเงาสลับกับลวดลายกนกโลง เพื่อความสวยงาม การใช้หลักความขัดแย้ง ในการจัดองค์ประกอบศิลป์ ควรใช้ให้พอเหมาะ คือใช้ประมาณ ๓๐ % ของพื้นที่ท้ งั หมด ถ้าใช้มาก จะทาให้งานจะดูแข็งเกินไป ๑๓๓


ภาพที่ ๕.๕ ภาพการจัดตกแต่งลายกนกโลงบนโลงศพตามหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ ที่มา : สุรินทร์ รณศิริ และคนอื่น ๆ, ๒๕๕๐

๑๓๔


๑๓๕

งานประดับตกแต่ งโลงศพด้ วยลายกนกโลง หน่ วยโลง ที่นามาประดับตกแต่งด้วยลายกนกโลง ชาวบ้านส่ วนมากใช้โลงแหนว ซึ่ งมีรูปทรง คล้ายกับโลงสามส่ วน คือ มีลกั ษณะเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมคางหมู จากการศึกษาเรื่ องขนาด และสัดส่ วนของหน่วยโลง ในอดีต และหน่วยโลงยุคปั จจุบนั จะมีความแตกต่างกันในเรื่ องของขนาด กว้าง ยาว และสู ง ดังนี้ กว้าง ๖๐ ซ.ม. ด้าน ข้าง

ยาว ๑๐๕ ซ.ม.

ปากหน่วยโลง

สูง ๑๓๐ ซ.ม.

ปากหน่วยโลงถึงฐานหน่วยโลง

ด้าน หน้า

กว้าง ๕๕ ซ.ม.

ยาว ๑๐๐ ซ.ม.

ฐานหน่วยโลง

ภาพที่ ๕.๖ ภาพขนาดและสัดส่วนของ โลงแหนว ที่มา : สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคใต้, ๒๕๔๒ กว้าง ๖๐ ซ.ม. ด้าน ข้าง

ยาว ๑๘๐ ซ.ม.

ปากหน่วยโลง

สูง ๑๑๐ ซ.ม.

ปากหน่วยโลงถึงฐานหน่วยโลง

ยาว ๑๗๕ ซ.ม.

ฐานหน่วยโลง

ด้าน หน้า

กว้าง ๕๕ ซ.ม.

ภาพที่ ๕.๗ ภาพขนาดและสัดส่วนของโลงแหนวปัจจุบนั ที่มา : ขอม ทิพย์โพธิ์, ๒๕๕๐

จากความแตกต่างในเรื่ องขนาดและสัดส่ วนของหน่วยโลง มีผลต่อการคานวณลายกนกโลง ที่นาไปใช้ประดับโลงที่ต่างกันด้วย อย่างไรก็ตามช่างทาโลงกับช่างแกะลายกนกโลงต้องสัมพันธ์กนั ฐานโลง เป็ นฐานแบบเครื่ องชั้น ทาชั้นลดหลัน่ กันขึ้นไปสู ง ประมาณ ๘๐ – ๑๐๐ เซนติเมตร ขึ้นอยูก่ บั ความเหมาะสมของหน่วยโลง มีต้ งั แต่ ๓ – ๕ ชั้น ชั้นล่างสุ ดใช้ไม้กว้างประมาณ ๓๐ เซนติเมตร ชั้นถัดขึ้นไปลดความกว้างลงเรื่ อย ๆ พองาม ขึ้นอยูก่ บั การพิจาณาตามความเหมาะสมของช่างแต่ละยุค อีกเช่นกัน ๑๓๕


การประดับตกแต่ งหน่ วยโลงและฐานโลง (ฐานแบบเครื่องชั้น) หลังจากเสร็ จขั้นตอนการเตรี ยมหน่วยโลงและฐานโลงเรี ยบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ การนา ลายกนกโลงมาประดับตกแต่งให้สวยงาม โดยคานึ งถึงหลักการจัดภาพหรื อหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ ในเรื่ องของความสมดุลแบบงานศิลปะไทย มีลาดับขั้นตอนการทา (สุ รินทร์ รณศิริ, ๒๕๕๐) ดังนี้ เตรียมลายกนกโลง ลายกนกโลงที่นามาประดับตกแต่งหน่วยโลง และฐานโลงในแต่ละแถว จะต้องใช้ ลายกนกโลงกลายลักษณะ และในแต่ละลายต้องใช้ไม่นอ้ ยกว่า ๒๐ แผ่น ยกเว้น ลายไตใช้ไม่เกิน ๑๐ แผ่น มีดงั นี้ ลายกนกโลงที่ใช้ประดับตกแต่งบนหน่วยโลง  ลายหน้าดานบน (ลายขอบ)  ลายบัวปากถ้วย  ลายตุกตู่  แม่ลาย (ลายลูกฟักประจายามก้ามปู)  ลายช่อหรื อเชิงผ้าลาย  ลายรางมุม  ลายไต ลายกนกโลงที่ใช้ประดับตกแต่งฐานโลง (ฐานแบบเครื่ องชั้น)  ลายบัวขบ (บ้างก็ใช้ลายบัวหงาย)  ลายล่องไฟ  ลายหลังสิ งห์ (หน้ากระดาน)  ลายตุกตู่  ลายสิ งห์ (ฐานสิ งห์)  ลายหน้าดานล่าง (ลายขอบ)

๑๓๖


๑๓๗

เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ดังต่ อไปนี้ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗.

กระดาษสติกเกอร์ สะท้อนแสง สี ส้มหรื อสี แดง สี เงิน และสี ขาว โฟมขนาดหนา ๑ นิ้ว สาหรับทาอกไก่ โฟมบาง สาหรับตกแต่งรอยต่อระหว่างลายกนกโลง กระจกเงาหนา ๓ ม.ม. กว้าง ๒๐ ซ.ม. ยาว ประมาณ ๑๒๐ ซ.ม. กาวหรื อแป้ งเปี ยก กาวติดกระจก กรรไกร มีดคัตเตอร์ กระดาษทรายหยาบและทรายละเอียด สี ทาพื้นสี ขาวและแปรงทาสี

เตรียมพืน้ สาหรับติดลายกนกโลงและการเสริมอกไก่ ๑. นาสี ขาวมาทาพื้นที่ท้ งั หมดก่อนจะติดลายกนกโลง ปั จจุบนั จะทาเฉพาะส่ วนพื้นที่ ที่เหลือจากการติดลายกนกโลงเท่านั้น ช่างบางคนก็ไม่นิยมทา ๒. ลากเส้นแบ่งพื้นที่เพื่อกาหนดลายกนกโลงตั้งแต่ปากหน่วยโลงจนมาถึงด้านล่าง ของฐานโลง ตามแนวนอนและแนวตั้ง กาหนดจานวนลายกนกโลงในแต่ละแถวว่าจะใช้กี่ตวั ๓. นาโฟมหนา ๑ นิ้ว มาตัดแต่งให้เป็ นอกไก่รูปสามเหลี่ยมแนวยาว ด้วยมีดคัตเตอร์ ใช้กระดาษทรายถูให้เป็ นเหลี่ยม หรื อกลมมนก็ได้ แล้วนาไปทากาวติดลงบนบริ เวณที่ตอ้ งการเสริ มอกไก่ ให้นูนขึ้นมาเล็กน้อยบริ เวณปากหน่วยโลง ฐานโลงส่ วนบน และส่ วนกลางให้เรี ยบร้อย

๑๓๗


การแบ่งพื้นที่บนหน่วยโลงและฐานโลงเพื่อประดับลายกนกโลง

หน่วยโลง

ฐานโลง

จาลองภาพหน่วยโลงและฐานโลง (ด้านหน้า)

หน่วยโลง

ฐานโลง

จาลองภาพหน่วยโลงและฐานโลง (ด้านข้าง) ภาพที่ ๕.๘ ภาพการแบ่งพื้นที่บนหน่วยโลงและฐานโลงเพื่อประดับลายกนกโลง ที่มา : ขอม ทิพย์โพธิ์, ๒๕๕๐ ๑๓๘


๑๓๙

กาหนดลายกนกโลงแบบต่าง ๆ บนหน่วยโลงและฐานโลง

ปากหน่วยโลง

หน้าดานบน (ลายขอบ) บัวปากถ้วย แม่ลาย ลายช่อ

อกไก่

หน่วยโลง

รางมุม (บัวร้อย)

ชื่อผูต้ าย ลายช่อ แม่ลาย

ไต

รัดพัด บัวหงาย หรื อ บัวขบ ล่องไฟ หลังสิ งห์ (หน้ากระดาน )

อกไก่

ฐานโลง

ตุกตู่

อกไก่

ตุกตู่ ฐานสิ งห์ (ลายสิ งห์) หน้าดานล่าง(ลายขอบ)

ด้านหน้า ปากหน่วยโลง อกไก่

หน้าดานบน (ลายขอบ) บัวปากถ้วย แม่ลาย ลายช่อ

หน่วยโลง

อกไก่ อกไก่

ตุกตู่ รางมุม (บัวร้อย) ไต

ลายช่อ แม่ลาย รัดพัด บัวหงายหรื อบัวขบ ล่องไฟ หลังสิ งห์(หน้ากระดาน

ฐานโลง

ตุกตู่ ฐานสิ งห์ (ลายสิ งห์) หน้าดานล่าง(ลายขอบ)

ด้านข้าง ภาพที่ ๕.๙ ภาพการกาหนดลายกนกโลงในตาแหน่งต่าง ๆ บนหน่วยโลงและฐานโลง ที่มา : ขอม ทิพย์โพธิ์, ๒๕๕๐ ๑๓๙


ภาพการเสริ มอกไก่บริ เวณปากหน่วยโลงและฐานโลง

ภาพที่ ๕.๑๐ ภาพการเสริ มอกไก่ดว้ ยโฟมบนหน่วยโลงและฐานโลง ที่มา : สุรินทร์ รณศิริ และคนอื่น ๆ, ๒๕๕๐

หมายเหตุ การแกะโฟมเพื่อเสริ มอกไก่บริ เวณปากหน่วยโลง และฐานโลงจะทากี่ช้ นั ก็ได้ แต่ที่นิยมจะทาเพียง ๓ หรื อ ๔ ชั้น ลักษณะโฟมอกไก่ที่นามาเสริ มบนหน่วยโลงและฐานโลง โฟม อกไก่ บริ เวณปากหน่วยโลง กว้าง ๑๖.๕ ซ.ม. โฟม อกไก่ บริ เวณฐานโลงส่วนบน กว้าง ๑๑ ซ.ม. โฟม อกไก่ บริ เวณฐานโลงส่วนกลาง (หลังสิ งห์) กว้าง ๑๑ ซ.ม.

โฟม อกไก่ บริ เวณฐานสิ งห์ กว้าง ๑๖.๕ ซ.ม. ภาพที่ ๕.๑๑ ภาพลักษณะโฟมอกไก่ ที่มา : ขอม ทิพย์โพธิ์, ๒๕๕๐ ๑๔๐


๑๔๑

วิธีการประดับตกแต่ งหน่ วยโลงและฐานโลง วิธีการประดับตกแต่งหน่วยโลงและฐานโลงมีข้ นั ตอน ดังนี้ ๑. นาแป้ งเปี ยกหรื อกาวมาทาพื้นหน่วยโลงและฐานโลง บริ เวณที่จะติดลายกนกโลง ทีละแถว ๒. นาลายกนกโลงมาติดตามจุดที่กาหนดทีละแถว โดยเริ่ มจากส่ วนกลางของแต่ละแถว จนเต็มแถว เช่ น บริ เวณปากหน่ วยโลงประดับด้วยลายบัวปากถ้วย และลายหน้าดานบน (ลายขอบ) ฐานโลงส่ วนบนประดับด้วยลายบัวขบหรื อจะใช้ลายบัวหงายก็ได้ อกไก่บริ เวณฐานส่ วนกลาง ประดับ ด้วยลายหลังสิ งห์ (หน้ากระดาน) และส่ วนที่เหลือในตาแหน่งอื่น ๆ ก็ให้ประดับลายตามที่กาหนดไว้ ๓. ตัดกระจกเงาขนาดเท่ากับแถบล่องน้ า ตามจานวนที่ตอ้ งการ นามาทาด้วยกาว ติดกระจกแล้วติดลงไปบนแถบล่องน้ า (ใช้กระดาษสติกเกอร์ สีเงินแทนกระจกเงาก็ได้ตามแต่ความสะดวก เหมาะสม) ๔. ตัดโฟมบางสี ขาวเป็ นเส้นยาว ขนาดกว้าง ๐.๗๕ ซ.ม. นามาทากาวติดที่บริ เวณ ขอบกระจกเงา และขอบลายกนกโลงแต่ล ะแถว (ถ้าไม่ ใช้โฟมสี ขาว ใช้กระดาษสติก เกอร์ สีขาว ติดแทนก็ได้) ๕. ตัดกระดาษสติกเกอร์ สะท้อนแสงสี ส้ม หรื อสี แดง ขนาดกว้าง ๐.๕ ซ.ม. ติดลง บนกึ่งกลางโฟมบางสี ขาวตามแนวยาวในแต่ละแถว ให้เรี ยบร้อยสวยงาม ๖. ตัดกระจกเงาเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า ทาด้วยกาวติดกระจกนาไปติดที่ทอ้ งโลง เพื่อ ติดชื่อผูต้ าย (กระจกเงาอาจจะเปลี่ยนเป็ นวัสดุอื่นแทนก็ได้ตามแต่ความสะดวก เหมาะสม) ๗. บริ เวณรอยต่อระหว่างหน่วยโลงและฐานโลงที่เรี ยกว่ารัดพัด ประดับด้วยกระดาษ พื้นสี แดงหรื อสี ส้ม แล้วติดทับด้วยลายตุกตู่สีทองอีกทีให้สวยงาม หมายเหตุ ด้านข้า งของหน่ วยโลง และฐานโลงก็ ประดับด้วยลายกนกโลงเช่ นเดี ยวกัน กับด้านหน้า และด้านหลัง ดูภาพประกอบ ข้ อควรคานึง คือ ลายกนกโลงแต่ละลายที่นามาประดับ ต้องติดลายให้สมดุลกันทั้งด้านซ้าย และด้านขวา ถ้ามีส่วนขาด หรื อเกินช่างจะนาลายมาตัด ต่อเติม ให้มีความสวยงาม พอเหมาะพอดี

๑๔๑


ภาพแสดงขั้นตอนการประดับตกแต่งหน่วยโลงและฐานโลง (แบบเครื่ องชั้น)

๑ ทาแป้ งเปี ยกหรื อกาว ลงบนพื้นที่ที่จะติดลายกนกโลง

๒ เริ่ มติดลายกนกโลงบริ เวณกึ่งกลางของแถวแต่ละแถว

๑๔๒


๑๔๓

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗

๑๑

๙ ๑๐ หมายเลข ๑ หน้าดานบน (ลายขอบ) ๒ บัวปากถ้วย ๓ ตุกตู่ ๔ แม่ลาย ๕ รางมุม ๖,๗ ไต ๘ เชิงผ้าลาย ๙ แม่ลาย ๑๐ รัดพัด ๑๑ แถบล่องน้ า ๓ การประดับตกแต่งลายกนกโลงบนหน่วยโลง (ตั้งแต่ปากหน่วยโลงลงมาถึงรัดพัด)

๑ ๒

๓ ๔ ๕ ๖ ๗ หมายเลข ๑ บัวหงาย ๒ ล่องไฟ ๓ หลังสิ งห์ (หน้ากระดาน) ๔ ตุกตู่ ๕ ลายสิ งห์ (ฐานสิ งห์) ๖,๗ หน้าดานล่าง (ลายขอบ) ๘ แถบล่องน้ า ๔ การประดับตกแต่งลายกนกโลงบนฐานโลง แบบเครื่ องชั้น (จากรัดพัดลงมาถึงฐานล่าง) ภาพที่ ๕.๑๒ ภาพแสดงขั้นตอนการติดลายกนกโลงบนหน่วยโลงและฐานโลง ๑ - ๔ ที่มา : สุรินทร์ รณศิริ และคนอื่น ๆ, ๒๕๕๐ ๑๔๓


การประดับตกแต่งลายกนกโลงบนฐานโลง แบบเครื่ องชั้น ( ด้านข้าง )

ภาพที่ ๕.๑๓ ภาพการประดับตกแต่งโลงศพด้วยลายกนกโลง(ด้านข้าง) ที่มา : สุรินทร์ รณศิริ และคนอื่น ๆ, ๒๕๕๐

๑๔๔


๑๔๕

สรุ ป การประดับตกแต่งโลงศพให้สวยงาม ด้วยลายกนกโลงของช่างทากนกโลงในสมัยปั จจุบนั มีการประดับตกแต่งอยูด่ ว้ ยกัน ๒ ส่ วน คือ ๑. หน่ วยโลง จะประดับตกแต่งในส่ วนต่าง ๆ ดังนี้ คือ ปากหน่ วยโลง แต่งด้วยลายหน้าดานบน (ลายขอบ) ถัดลงมาเป็ นลายบัวปากถ้วย กลางหน่ วยโลง แต่งด้วยแม่ลายและเชิงผ้าลาย บริ เวณท้ องโลง ติดกระจกเงารู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า(ติดชื่อผูต้ าย) ฐานหน่ วยโลง (รัดพัด) แต่งด้วยลายกระดูกงูหรื อบัวร้อย (ปัจจุบนั ติดด้วยกระดาษสี พ้นื หรื อระบายสี พ้นื แล้วประดับด้วยลายตุกตู่สีทอง) รางมุม แต่งด้วยลายบัวร้อย (จะใช้เป็ นลายดอกลอยก็ได้) ถัดจากรางมุมเข้ามาด้านใน เรี ยกว่า ไต แต่งด้วยลายเถาหรื อจะใช้ลายน่องสิ งห์ ใบเทศก็ได้ ถัดจากไตลายเถาเป็ นไตประจายามก้ามปู ซึ่ งการประดับลายกนกโลงบนหน่วยโลงทั้งหมด นี้จะประดับตามแนวนอน ยกเว้นลายรางมุมกับลายไตประดับตามแนวตั้ง ๒. ฐานโลง ใช้ฐานแบบเครื่ องชั้น ประดับตั้งแต่รัดพัดลงมาจนถึงฐานล่างสุ ด ถัดจากรัดพัด ลงมาประดับด้วยลายบัวหงายหรื อบัวคว่า(บัวขบ) ตามด้วยลายล่องไฟ ลายหลังสิ งห์ (ลายหน้ากระดาน เช่น ลายประจายามลูกโซ่ ) ลายตุกตู่ และลายสิ งห์ ตามลาดับ ฐานล่างสุ ดประดับด้วยลายหน้าดานล่าง (ลายขอบ) ลายทั้งหมดจะประดับตามแนวนอนเช่นกันเพื่อความเป็ นเอกภาพ ขั้นตอนการประดับตกแต่ งโลงศพด้ วยลายกนกโลง มีดงั นี้ ๑. คานวณพื้นที่ของหน่วยโลงและฐานหน่วยโลง เพื่อกาหนดจานวนลายกนกโลงแต่ละลาย ๒. กาหนดตาแหน่งหรื อจุดที่จะประดับลายกนกโลงบนหน่วยโลงและฐานโลง ๓. เตรี ยมลายกนกโลง และวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการประดับตกแต่ง ๔. นาลายกนกโลงที่จดั เตรี ยมไว้ไปประดับตามจุดที่กาหนดให้มีความเหมาะสม พอดี ๕. นากระจกเงามาตัดให้เป็ นแถบยาวใช้ตกแต่งล่องน้ า และบริ เวณท้องโลง ๖. ตกแต่งขอบหรื อรอยต่อระหว่างลายกนกโลง และล่องน้ าแต่ละแถวด้วยแถบเล็ก ๆ สี ขาว สลับสี แดงให้เรี ยบร้อยสวยงาม การทางานศิลปะกนกโลง ช่างทาโลง และช่างแกะลายกนกโลงจะต้องมีความสัมพันธ์ และ เข้าใจตรงกันในเรื่ องขนาด สัดส่ วนของลายกนกโลง หน่วยโลงและฐานโลง มิฉะนั้นลายที่นาไปติด อาจจะไม่พอดีกบั พื้นที่ ทาให้เกิดความเสี ยหายและหมดคุณค่าทางความงามไป แต่ถา้ ช่างมีความเข้าใจ ตรงกันก็สามารถกาหนดขนาด สัดส่ วนและจานวนลายกนกโลงที่เป็ นมาตรฐานได้โดยไม่จาเป็ นต้อง คานวณอัตราส่ วนทุกครั้ง อย่างไรก็ดี ถ้ามีความผิดพลาดเกิดขึ้นจริ ง ๆ ช่างแกะลายกนกโลงก็จะแก้ปัญหา ด้วยการตัด ต่อ เติม เพื่อขยายหรื อลดขนาดของตัวลายได้เช่นกัน นอกจากการสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน ระหว่างช่างทาโลงและช่างแกะลายกนกโลงแล้ว ยังต้องใช้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการจัดภาพให้สวยงาม จึงจะทาให้งานประดับตกแต่งโลงศพด้วยลายกนกโลง เกิดการพัฒนารู ปแบบที่แปลกใหม่สวยงามมาก ขึ้นกว่าเดิมต่อไปอีก ๑๔๕


คาถามทบทวน ๑. หน่วยโลงและฐานโลงที่ช่างนามาประดับตกแต่งมีลกั ษณะอย่างไร ๒. การประดับตกแต่งโลงศพด้วยลายกนกต้องเตรี ยมอะไรบ้าง ๓. หลักการจัดความงามทางศิลปะมีอะไรบ้าง และมีความสาคัญต่อการประดับตกแต่ง โลงศพอย่างไร ๔. หน่วยโลงตั้งแต่ปากหน่วยโลงมาจนถึงฐานหน่วยโลง ประดับด้วยลายอะไรบ้าง จงบอกมา ตามลาดับ ๕. ฐานโลงตั้งแต่ส่วนรัดพัดลงมาจนถึงฐานล่างสุ ด ประดับด้วยลายอะไรบ้าง จงบอกมาตามลาดับ

๑๔๖


๑๔๗

บัตรกิจกรรมที่ ๕ คาสั่ ง ปฏิบตั ิงานประดับตกแต่งโลงศพด้วยลายกนกโลงให้สวยงามตามหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ ดังนี้ ( ๑๐ คะแนน ) ๑. จาลองแบบ โลงแหนวประกอบฐานโลง เฉพาะด้านหน้าซีกเดียว ด้วยไม้กระดานอัด หรื อ ฟิ วเจอร์บอร์ดตามขนาดที่กาหนด และแบ่งพื้นที่ในการกาหนดตัวลายตามแบบ (ดูภาพประกอบ จากเอกสารประกอบการเรี ยนวิชาลายกนกโลงศพ หน้า ๑๓๘-๑๓๙)

๙๐ ซ.ม. ปากหน่วยโลง ๒๐ ซ.ม.

หน่วยโลง สูง

๑๓๐ ซ.ม. ฐานหน่วยโลง ๘๐ ซ.ม.

ฐานโลง สูง

๙๐ ซ.ม.

ฐานล่าง สูง ๓๐ ซ.ม. ๙๕ ซ.ม.

โลงแหนวประกอบฐานโลง เฉพาะด้านหน้าซีกเดียว

๑๔๗


๒. ประดับตกแต่งหน่วยโลงแหนว และฐานโลงด้วยลายกนกโลงตามจุดที่กาหนดไว้ (โดย นาลายกนกโลงที่ได้จากการฝึ กทักษะแกะลายกนกโลงในบทที่ ๔ มาใช้) ดังนี้ ( ๑๐ คะแนน ) ๑. ลายหน้าดานบน-ล่าง (ลายขอบ)จานวน ๑๒ แผ่น ๒. ลายบัวปากถ้วย จานวน ๔ แผ่น ๓. ลายตุกตู่ จานวน ๘ แผ่น ๔. แม่ลาย (ลายลูกฟักประจายามก้ามปู) จานวน ๔ แผ่น ๕. ลายช่อ จานวน ๔ แผ่น ๖. ลายบัวขบ จานวน ๔ แผ่น ๗. ลายสิ งห์ จานวน ๔ แผ่น ๘. ลายล่องไฟ จานวน ๔ แผ่น ๙. ลายหลังสิ งห์ (หน้ากระดาน) จานวน ๔ แผ่น ๑๐. ลายรางมุม จานวน ๔ แผ่น ๑๑. ลายไต (๒ แบบ) จานวน ๖ แผ่น

๑๔๘


๑๔๙

แบบประเมินเชิงวิเคราะห์ คาสั่ ง วิเคราะห์ผลการปฏิบตั ิงานประดับตกแต่งหน่วยโลงแหนว และฐานโลงด้วยลายกนกโลง โดยตอบคาถาม ดังต่อไปนี้ ( ๑๐ คะแนน ) ๑. การเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ มีอะไรบ้าง ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ๒. บอกขั้นตอน / กระบวนการประดับตกแต่งโลงศพจาลอง (ด้านหน้าซีกเดียว) ด้วยลายกนกโลง มาตามลาดับ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ๓. ขั้นตอนใดที่นกั เรี ยนคิดว่าง่ายและขั้นตอนใดคิดว่ายากที่สุด เพราะอะไร ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ๔. นักเรี ยนมีแนวทางในการแก้ปัญหาส่ วนที่ยากที่สุดอย่างไรเพื่อให้การทางานลุล่วงไปได้ ด้วยดี ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................. ๕. นักเรี ยนมีความรู ้สึกอย่างไรหลังจากปฏิบตั ิกิจกรรมและได้ผลงานตามที่ตอ้ งการ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ๖. นักเรี ยนคิดว่าประสบการณ์ ความรู ้ที่ได้ในครั้งนี้ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชี วิตประจาวัน ได้อย่างไรบ้าง ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ........................................................................................................................................... ๑๔๙


อ้างอิง ขอม ทิพย์โพธิ์ . (๒๕๕๐). ช่ างทากนกโลง. บ้านเลขที่ ๑๕๗ หมูท่ ี่ ๖ ตาบลทุง่ โพธิ์ อาเภอจุฬาภรณ์ จังหวัดนครศรี ธรรมราช. สัมภาษณ์, ๑๕ สิ งหาคม. สุ รินทร์ รณศิริ และคนอื่น ๆ. (๒๕๕๐). ช่ างทากนกโลง. บ้านเลขที่ ๗๑ หมู่ที่ ๓ บ้านหนองปอ ตาบลควนชุม อาเภอร่ อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรี ธรรมราช. สัมภาษณ์, ๑๑ ตุลาคม. อุดม หนูทอง. (๒๕๔๒). “โลงศพ.” สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคใต้ . ๑๔: ๗๐๓๖-๗ Goto2d.blogspot.com. (๒๕๕๑) “ความสมดุลแบบสมมาตร.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://goto2d.blogspot.com. สื บค้น ๒๒ กรกฎาคม. Noomseksan.blogspot.com/ (๒๕๕๑) “ความกลมกลืนแบบขัดแย้ง.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://noomseksan.blogspot.com/2011_08_01_archive.html สื บค้น ๒๒ กรกฎาคม.

๑๕๐


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.