ภาคผนวก
ส่ วนหนึ่งในความรู้ สึกประทับใจ ของนักเรี ยนทีเ่ ข้ าร่ วมทากิจกรรมการจัดการเรียนการสอน “ศิลปะกนกโลง” จากวิทยากรท้องถิ่น (นางสาว ธารทิพย์ แก้วอารี ย ์ นักเรี ยนชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๔, ๒๕๕๐.) “ ดิฉันได้มีโอกาสเรี ยนการแกะลายโลงกับลุ งขอมซึ่ งนับเป็ นโอกาสที่ดีอย่างยิ่ง ลุ งขอมได้ สอนดิฉนั และคนอื่น ๆ แกะลายโลง ตอนแรกดิฉนั คิดว่ายากแน่เลย แต่พอเริ่ มดูวิธีการทาและฟั งคาอธิ บาย ของคุณลุงขอม แล้วก็ลงมือทา ดิฉนั ก็ได้รู้วา่ การแกะลายโลงไม่ยากอย่างที่คิดเลยแถมยังสนุ ก ยังช่วย ฝึ กสมาธิ ลุงขอมเป็ นคนอัธยาศัยดี และพร้อมที่จะให้คาแนะนาในการแกะลายโลงเป็ นอย่างดีอย่างไม่หวง วิชา ดิฉนั รู ้สึกประทับใจเป็ นอย่างมาก ที่ได้เรี ยนรู ้ศิลปะที่มีมาแต่โบราณและดิฉนั ก็พร้อมที่จะร่ วมอนุรักษ์ การแกะลายโลง ถ้ามีโอกาสดิฉนั ก็อยากให้มีกิจกรรมดี ๆ อย่างนี้ข้ ึนมาอีก” (นางสาวจันทิมา ศุภนาม นักเรี ยนชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๔, ๒๕๕๐) “ วันที่เข้าค่ายศิลปะที่โรงเรี ยนร่ อนพิบูลย์เกียรติ ฯ ดิฉนั รู ้สึกเบื่อมาก แต่ความรู ้สึกของฉันก็ เปลี่ยนไปเมื่อดิฉนั ได้เรี ยนรู ้สิ่งใหม่ ๆ ที่น่าสนใจ ซึ่ งเมื่อดิฉนั ได้ลองทาก็รู้วา่ ทาไม่ยากเลยแต่ในการทาต้อง ใส่ หวั ใจของคนทาลงไปเพียงเท่านี้ก็พอ ดิฉนั ได้ลงมือทาตั้งแต่แรกจนเสร็ จ ในขณะทาดิฉนั รู ้สึกภูมิใจ ในตัวเองมากที่ทาลายกนกได้ดว้ ยมือของตัวฉันเอง และในการทาลายกนกครั้งนี้ ดิฉนั ได้รับประโยชน์ มากมาย เช่น ช่วยให้ดิฉนั มีสมาธิ มากขึ้น ทาให้ใจเย็นลง ช่วยกระตุน้ ให้มีความพยายาม อีกทั้งได้รับความ สนุกสนาน เพลิดเพลินอีกด้วย ส่ วนลุงขอมก็ใจดี เป็ นกันเอง ซ้ ายังให้ความรู ้แก่พวกเราอีกด้วย ดิฉนั ขอ ั ญา และที่ขาดไม่ได้ก็คือ ลุ งขอม ที่มาทาให้ความคิด ขอบคุณโรงเรี ยนร่ อนพิบูลย์เกียรติ ฯ อาจารย์สุกญ ของดิฉนั เปลี่ยนไป สุ ดท้ายนี้อยากฝากไว้วา่ เรามีภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีค่า จงช่วยกันรักษา และอนุ รักษ์ไว้ ให้อยูก่ บั ภาคใต้ตราบนานเท่านาน เพื่อชนรุ่ นหลังจะได้รู้จกั และอนุ รักษ์สืบไป และดิฉนั หวังว่าจะได้เข้า ร่ วมกิจกรรมนี้อีก ” (นางสาวขวัญระวี นามสุ วอ นักเรี ยนชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๔, ๒๕๕๐) “ใครจะคิดเล่าว่าศิลปะที่ไม่มีใครให้ความสนใจกลับมีคนกลุ่มหนึ่งมีโอกาสได้ศึกษา จากผูท้ ี่ มีใจรัก ซึ่ งหนึ่ งในนั้นก็มีฉนั อยูด่ ว้ ย ตอนที่ฉนั เห็นวิธีการทาครั้งแรก ก็คิดว่ายาก แต่พอได้ทาก็น่าสนใจ เพราะไม่ได้ยากอย่างที่คิด สุ ดท้ายนี้ฉนั คิดว่าทุกคนจะร่ วมกันอนุ รักษ์ ศิลปะการทาลายโลงที่บรรพชน ของชาวใต้ได้คิดขึ้นจากภูมิปัญญาให้คงอยูส่ ื บไปนานเท่านาน” (นายณัฐพล พลสวัสดิ์ นักเรี ยนชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๔, ๒๕๕๐.) “ ศิลปะการขุดลายโลง เป็ นศิลปะที่ควรค่าแก่การอนุ รักษ์ไว้ นับวันยิ่งจะสู ญหายไปจากชุ มชน ผูท้ ี่จะสื บสานให้คงอยูค่ ู่กบั ชุ มชน หมู่บา้ น มีเพียงแค่คนกลุ่มเล็ก ๆ เพียงไม่กี่กลุ่มเท่านั้น ที่พร้อมจะ สื บสานมันให้คงอยู่ ” ๑๗๖
ผู้เอือ้ เฟื้ อข้ อมูล และภาพประกอบ “งานศิลปะกนกโลง” นายขอม ทิพย์โพธิ์ นายสุ มน คชนูด นายสุ รินทร์ รณศิริ นายประภาส คชนูด นายสุ เทพ ประชุมทอง นายเขิม ช่วยสวัสดิ์ นายปรี ชา สุ ขสงวน นายเฉลียว สุ วรรณบารุ ง
ช่างทากนกโลง ๑๕๗ ม.๖ ต.ทุ่งโพธิ์ อ.จุฬาภรณ์ จ.นครศรี ธรรมราช ช่างทากนกโลง ๘๔/๑ ม. ๔ ต.ควนเกย อ.ร่ อนพิบูลย์ จ.นครศรี ธรรมราช ช่างทากนกโลง ๗๑ ม. ๓ บ้านหนองปอ ต.ควนชุม อ.ร่ อนพิบูลย์ จ.นครศรี ธรรมราช ช่างทากนกโลง ๒๐๔/๖ ม.๖ ต.ทุ่งโพธิ์ อ.จุฬาภรณ์ จ.นครศรี ธรรมราช ช่างทากนกโลง ๑๖๐ ม.๖ ต.ทุ่งโพธิ์ อ.จุฬาภรณ์ จ.นครศรี ธรรมราช เจ้าของงานศพคุณแม่ปิ่ม ช่วยสวัสดิ์ ๑๓๓ ม.๖ ต.ทุ่งโพธิ์ อ.จุฬาภรณ์ จ.นครศรี ธรรมราช ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนร่ อนพิบูลย์เกียรติวสุ นธราภิวฒั ก์ ครู โรงเรี ยนร่ อนพิบูลย์เกียรติวสุ นธราภิวฒั ก์
๑๗๗
ผลงาน งานเขียนลายกนกโลง
เกณฑ์ การประเมิน
ประเด็นการประเมิน ๑. ความสมบูรณ์ อ่อนช้อย ๒. การถมลาย ๓. ขนาด สัดส่วน ความสมดุล
คะแนนเต็ม ๔ คะแนนเต็ม ๒ คะแนนเต็ม ๔
นา้ หนักคะแนน ๑๐ คะแนน ประเด็น การประเมิน ความสมบูรณ์ อ่อนช้อย
การถมลาย
ขนาด สัดส่วน ความสมดุล
ระดับคะแนน ๔ ลายเส้น อ่อนช้อย เว้นระยะช่องไฟ ได้สม่าเสมอ ลายชัดเจน ถมลาย ได้ถูกต้อง ครบถ้วน สะอาดเรี ยบร้อย สวยงามดี ขนาด สัดส่วน ของตัวลาย สมดุลกันดี สวยงาม สะดุดตา
๓ ลายเส้น อ่อนช้อย เว้นระยะช่องไฟ ได้ค่อนข้าง สม่าเสมอ ถมลาย ครบถ้วน ค่อนข้างสะอาด สวยงาม
๒ ลายเส้น ดูแข็ง เป็ นบางจุด เว้นระยะช่องไฟ ยังไม่ค่อย สม่าเสมอ ถมลาย ครบถ้วน แต่ยงั ไม่ค่อยสะอาด
๑ ลายเส้นดูแข็ง เว้นระยะช่องไฟ ไม่สม่าเสมอ ลายไม่ชดั เจน
ขนาด สัดส่วน ของตัวลาย ค่อนข้างมี ความสมดุลกัน
ขนาด สัดส่วน ของตัวลาย ยังไม่สมดุล เท่าที่ควร
ขนาด สัดส่วน ของตัวลาย ขาดความสมดุล ไม่สวยงาม
ระดับคุณภาพของคะแนน ๔ ระดับ ระดับ ๔ = ดีมาก ๓๒ - ๔๐ คะแนน ระดับ ๒ = พอใช้ ๒๒ - ๒๗ คะแนน
๑๗๘
ถมลาย ไม่ครบ ไม่เรี ยบร้อย ไม่สะอาด
นา้ หนัก คะแนน
๔
๒
๔
ระดับ ๓ = ดี ๒๘ - ๓๑ คะแนน ระดับ ๑ = ปรับปรุ ง ต่ากว่า ๒๒ คะแนน
ผลงาน แม่แบบลายกนกโลง
เกณฑ์ การประเมิน
ประเด็นการประเมิน ๑. ขนาด สัดส่วน และความสมดุลของตัวลาย ๒. การเว้นระยะช่องไฟ ๓. การแกะแม่แบบ
คะแนนเต็ม ๓ คะแนนเต็ม ๓ คะแนนเต็ม ๔
นา้ หนักคะแนน ๑๐ คะแนน ประเด็น การประเมิน ขนาด สัดส่วน ความสมดุล ของตัวลาย
ระดับคะแนน
๔ ตัวลายมีขนาด สัดส่วน ที่เหมาะสม สวยงาม มีความสมบูรณ์ การเว้นระยะ เว้นระยะช่องไฟ ช่องไฟ มีความถี่ห่าง สม่าเสมอ สวยงามดี
๓ ตัวลายมีขนาด สัดส่วน ที่เหมาะสม แต่ลายยัง ไม่สมบูรณ์ เว้นระยะช่องไฟ มีความถี่ห่าง ค่อนข้าง สม่าเสมอ
๒ ตัวลายมีขนาด สัดส่วนค่อนข้าง เหมาะสม แต่ลายยัง ไม่สมบูรณ์ เว้นระยะช่องไฟ ไม่ค่อยมี ความสม่าเสมอ เท่าที่ควร
๑ ตัวลายมีขนาด สัดส่วน ที่ไม่เหมาะสม และ ไม่สมบูรณ์ เว้นระยะช่องไฟ ยังไม่สม่าเสมอ ขาด ความสวยงาม
การแกะ แม่แบบ
เดินเส้น ได้คมชัด กระดาษขาด เล็กน้อย
เดินเส้น ค่อนข้าง ขรุ ขระ มีกระดาษขาด
เดินเส้น ขรุ ขระ ไม่เรี ยบร้อย กระดาษขาดมาก
เดินเส้น ได้คมชัด กระดาษไม่ขาด ไม่ขรุ ขระ
นา้ หนัก คะแนน
๓
๓
๔
ระดับคุณภาพของคะแนน ๔ ระดับ ระดับ ๔ = ดีมาก ๓๒ - ๔๐ คะแนน ระดับ ๓ = ดี ๒๘ - ๓๑ คะแนน ระดับ ๒ = พอใช้ ๒๒ - ๒๗ คะแนน ระดับ ๑ = ปรับปรุ ง ต่ากว่า ๒๒ คะแนน
๑๗๙
ผลงาน งานแกะและตกแต่งลายกนกโลงบนกระดาษทอง
เกณฑ์ การประเมิน
ประเด็นการประเมิน ๑. การแกะลาย ๒. การปรุ ดุนลาย ๓. การสอดกระดาษสี
คะแนนเต็ม ๔ คะแนนเต็ม ๓ คะแนนเต็ม ๓
นา้ หนักคะแนน ๑๐ คะแนน ประเด็น การประเมิน การแกะลาย
การปรุ ดุนลาย
การสอด กระดาษสี
ระดับคะแนน ๔ แกะลายเส้น ตามแบบได้ คมชัด ไม่ขรุ ขระ กระดาษ ไม่ขาด ปรุ ดุนลาย ได้ละเอียด สม่าเสมอ สวยงามดี
๓ แกะลายเส้น ตามแบบได้ ค่อนข้างคมชัด ขรุ ขระเล็กน้อย กระดาษไม่ขาด
สอดสี ลายได้ มากกว่า ๒ สี สะอาด เรี ยบร้อย สวยงาม
สอดสี ลายได้ มากกว่า ๒ สี แต่ยงั ไม่ค่อย เรี ยบร้อย
ปรุ ดุนลาย ไม่ค่อยละเอียด แต่สม่าเสมอ
ระดับคุณภาพของคะแนน ๔ ระดับ ระดับ ๔ = ดีมาก ๓๒ - ๔๐ คะแนน ระดับ ๒ = พอใช้ ๒๒ - ๒๗ คะแนน
๑๘๐
๒ แกะลายเส้น ตามแบบได้ ค่อนข้างคมชัด ขรุ ขระเล็กน้อย มีกระดาษขาด เป็ นบางแห่ง ปรุ ดุนลาย ไม่ค่อยละเอียด และไม่ค่อย สม่าเสมอ เท่าที่ควร สอดสี ลายได้ ๒ สี ยังไม่ค่อย เรี ยบร้อย
๑ แกะลายเส้น ไม่ตรงตามแบบ มีความขรุ ขระ กระดาษขาด หลายแห่ง ปรุ ดุนลาย หยาบ และไม่มี ความสม่าเสมอ สอดสี ลายได้ เพียงสี เดียว ไม่เรี ยบร้อย
นา้ หนัก คะแนน
๔
๓
๓
ระดับ ๓ = ดี ๒๘ - ๓๑ คะแนน ระดับ ๑ = ปรับปรุ ง ต่ากว่า ๒๒ คะแนน
เกณฑ์ การประเมิน
ผลงาน งานประดับตกแต่งโลงศพด้วยลายกนกโลง
ประเด็นการประเมิน ๑. ขนาด สัดส่วนของโลงศพ (ด้านหน้าซีกเดียว)ถูกต้องสวยงาม ๒. ประดับลายได้ถูกต้องตามหลักการจัดองค์ประกอบศิลปะ ๓. ความสะอาด ประณี ต สวยงาม
คะแนนเต็ม ๒ คะแนนเต็ม ๕ คะแนนเต็ม ๓
นา้ หนักคะแนน ๑๐ คะแนน ประเด็น การประเมิน ขนาด สัดส่วน ของโลงศพ (ด้านหน้า ซีกเดียว)
๔ ขนาด สัดส่วน ของหน่วยโลง และฐาน ถูกต้อง เหมาะสม สวยงาม ประดับลาย ประดับลาย ได้ถูกต้อง ได้ครบถ้วน ตามหลักการ ถูกต้อง จัดองค์ประกอบ จัดภาพได้ ศิลปะ เหมาะสม กลมกลืน เป็ นหนึ่ง สวยสะดุดตา ความสะอาด ผลงาน สะอาด ประณี ต ประณี ต สวยงาม เรี ยบร้อย สวยงามดี
ระดับคะแนน ๓ ขนาด สัดส่วน ของหน่วยโลง ถูกต้อง แต่ฐาน ยังไม่ได้สดั ส่วน
๒ ขนาด สัดส่วน ของฐานถูกต้อง แต่หน่วยโลง ยังไม่ได้สดั ส่วน
๑ ขนาด สัดส่วน ของหน่วยโลง และฐาน ไม่ถูกต้อง
ประดับลาย บางลาย ไม่ถูกตาม ตาแหน่ง ที่กาหนด แต่การจัดภาพ มีความเหมาะสม กลมกลืนกัน ผลงานสะอาด แต่ไม่ค่อยประณี ต เท่าที่ควร สวยงามพอใช้
ประดับลาย บางลาย ไม่ถูกตาม ตาแหน่ง ที่กาหนด ภาพขาด ความสมดุล
ประดับลาย ไม่ครบถ้วน จัดวางลาย ยังไม่ถูกต้อง ขาดหลักการ จัดองค์ประกอบ ศิลปะ
ผลงานค่อนข้าง สะอาด แต่ ไม่ค่อยเรี ยบร้อย เท่าที่ควร
ผลงานค่อนข้าง สกปรก และ ขาด ความประณี ต ดูไม่สวยงาม
ระดับคุณภาพคะแนน ๔ ระดับ ระดับ ๔ = ดีมาก ๓๒ - ๔๐ คะแนน ระดับ ๒ = พอใช้ ๒๒ - ๒๗ คะแนน
นา้ หนัก คะแนน
๒
๕
๓
ระดับ ๓ = ดี ๒๘ - ๓๑ คะแนน ระดับ ๑ = ปรับปรุ ง ต่ากว่า ๒๒ คะแนน
๑๘๑
เกณฑ์ การประเมิน
ทักษะกระบวนการปฏิบตั ิงาน
ประเด็นการประเมิน ๑. การเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือ ๒. การใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือ ๓. การเก็บ ดูแล ทาความสะอาด เครื่ องมือ อุปกรณ์และวัสดุที่เหลือใช้ ๔. ผลงานที่ปรากฏ ประเด็น การประเมิน การเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ และ เครื่ องมือ การใช้ วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือ
๔ ดีมาก เตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือ ได้ครบถ้วน พร้อม ปฏิบตั ิงาน
ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และ เครื่ องมือ ได้อย่าง คล่องแคล่ว ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง และถูกวิธี การเก็บ ดูแล เก็บ ดูแล รักษาความ รักษา สะอาดเครื่ องมือ ความสะอาด อุปกรณ์ และวัสดุที่ เครื่ องมือ อุปกรณ์ เหลือใช้เข้าที่ได้ดว้ ย และวัสดุ ความเรี ยบร้อย ที่เหลือใช้ ผลงาน มีผลงานที่ปรากฏ ที่ปรากฏ เสร็ จสมบูรณ์
ระดับคุณภาพคะแนน ๓ ดี ๒ พอใช้ เตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ เตรี ยมเฉพาะวัสดุ และเครื่ องมือ และเครื่ องมือ ได้ค่อนข้าง ไม่มีอุปกรณ์อื่น ครบถ้วน ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือ ได้สมั พันธ์กนั ด้วย ความระมัดระวัง เก็บ ดูแล รักษา ความสะอาด เครื่ องมือ อุปกรณ์ และวัสดุที่เหลือใช้ ได้ค่อนข้าง เรี ยบร้อย ผลงานที่ปรากฏ เกือบเสร็ จสมบูรณ์
ระดับคุณภาพคะแนน ๔ ระดับ ระดับ ๔ = ดีมาก ๑๔ - ๑๖ คะแนน ระดับ ๒ = พอใช้ ๕ - ๙ คะแนน
๑๘๒
คะแนนเต็ม คะแนนเต็ม คะแนนเต็ม คะแนนเต็ม
๔ ๔ ๔ ๔
๑ ปรับปรุง เตรี ยมวัสดุ มาอย่างเดียว
ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือ ยังไม่สมั พันธ์กนั แต่มี ความระมัดระวัง ดูแล รักษาความ สะอาดเครื่ องมือ อุปกรณ์ แต่ ไม่เก็บให้เข้าที่
ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือ ไม่สมั พันธ์กนั ขาดความ ระมัดระวัง
มีผลงานปรากฏ ๕๐ %
ยังไม่มีผลงาน ปรากฏ
ละทิ้งเครื่ องมือ อุปกรณ์ และ วัสดุที่เหลือใช้ ไม่รักษา ความสะอาด
ระดับ ๓ = ดี ๑๐ - ๑๓ คะแนน ระดับ ๑ = ปรับปรุ ง ต่ากว่า ๕ คะแนน
เกณฑ์ การประเมิน พฤติกรรมอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน ( คะแนนเต็มข้อละ ๓ คะแนน ) ๑. มุ่งมัน่ ในการทางาน ๒. ใฝ่ เรี ยนรู ้ ซื่อสัตย์ สุจริ ต ๓. มีระเบียบวินยั ๔. มีความรับผิดชอบ ประเด็น การประเมิน มุ่งมัน่ ในการทางาน
ระดับคะแนน ๔ ให้ความร่ วมมือ ในหมูค่ ณะทุกครั้ง ด้วยความเต็มใจ และเสี ยสละ
๓ ให้ความร่ วมมือใน หมู่คณะค่อนข้าง สม่าเสมอ
ใฝ่ เรี ยนรู ้ ซื่อสัตย์ สุจริ ต
ตั้งใจเรี ยนดีทุกครั้ง ไม่ลกั ขโมย ไม่โกหก
ตั้งใจเรี ยน ค่อนข้างดี ไม่ลกั ขโมย ไม่โกหก
มีระเบียบ วินยั
มีระเบียบวินยั ในตนเองด้วยการ แสดงความเคารพ แต่งกายสุภาพ เรี ยบร้อย เข้าเรี ยนตรงเวลา ส่งงานตามเวลา ที่กาหนด ให้ความร่ วมมือทุก ครั้งในการทางาน จนงานสาเร็จลุล่วง ตามจุดหมาย
มีความรับผิดชอบ
๒ ให้ความร่ วมมือ ในหมูค่ ณะบ้าง เป็ นบางครั้ง แต่ตอ้ งขอ ความช่วยเหลือ ไม่ค่อยตั้งใจเรี ยน เท่าที่ควร ปกปิ ดความผิด ผูอ้ ื่น
๑ ไม่ค่อยให้ความ ร่ วมมือชอบเอา เปรี ยบผูอ้ ื่น
ค่อนข้างมีระเบียบ วินยั ในตนเอง ส่งงานทันเวลา แต่งกายเรี ยบร้อย เข้าห้องเรี ยนช้า เป็ นบางครั้ง
ไม่ค่อยมีระเบียบ วินยั เข้าห้องเรี ยน ช้าเป็ นส่วนมาก แต่งกายไม่ค่อย เรี ยบร้อย แต่ส่งงาน ตามกาหนด
ไม่มีระเบียบวินยั ชอบหนีเรี ยน ส่ง งานช้า เป็ นประจา แต่งกาย ไม่เรี ยบร้อย
ให้ความร่ วมมือทุก ครั้งในการทางาน แต่งานยังไม่สาเร็ จ ตามจุดหมาย
ให้ความร่ วมมือ ไม่คอ่ ยให้ความ ในการทางาน ร่ วมมือในการ บ่อยครั้งแต่งานยัง ทางานเท่าที่ควร ไม่สาเร็ จ ตามจุดหมาย
ไม่ต้ งั ใจเรี ยน ชอบโกหก
ระดับคุณภาพคะแนน ๔ ระดับ ระดับ ๔ = ดีมาก ๑๑ - ๑๒ คะแนน ระดับ ๒ = พอใช้ ๔ - ๗ คะแนน
ระดับ ๓ = ดี ๘ – ๑๐ คะแนน ระดับ ๑ = ปรับปรุ ง ต่ากว่า ๔ คะแนน ๑๘๓
แบบประเมินเจตคติ วิชาลายกนกโลงศพ จุดประสงค์ การประเมิน เห็นคุณค่าความงามและความสาคัญของลายกนกโลงศพ
๕ ๔ ๓
ไม่เห็นด้วยอย่างยิง่
ไม่เห็นด้วย
ประเด็นการประเมิน
ค่อนข้างเห็นด้วย
ที่
เห็นด้วยอย่างยิง่ เห็นด้วย
ระดับความคิดเห็น
๒ ๑
ด้ านขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม ๑ ๒ ๓ ๔ ๕
ลายกนกโลงศพ สะท้อนให้เห็นถึงประเพณี และวัฒนธรรมท้องถิ่น ควรปล่อยให้งานแกะลายกนกโลงศพสูญหายไปกับช่างในอดีต ประเพณี งานศพควรมีการแกะกนกโลงเพื่อเป็ นการยกย่องคุณงามความดีให้กบั ผูต้ าย การอนุรักษ์และสื บสานงานแกะลายกนกโลงศพเป็ นอัปมงคล งานแกะลายกนกโลงศพควรได้รับการอนุรักษ์สืบสานไว้เป็ นมรดกของคนไทย
ด้ านรู ปแบบ ลักษณะทางความงาม ๖ ๗ ๘ ๙
ลายกนกโลงศพมีความสวยงามเป็ นเอกลักษณ์โดดเด่นไม่เหมือนใคร ลีลา จังหวะของลายกนกโลงดูแล้วรู ้สึกน่ากลัว สี ทองของลายกนกโลงศพมีความหรู หรา สวยสะดุดตา สี ตดั กันของลายกนกโลงศพดูแล้วรู ้สึกหดหู่ ลายกนกโลงศพมีความประณี ต ละเอียดอ่อน ตรงกับลักษณะนิสยั ของคนไทย
๑๐
ด้ านคุณค่ าทางใจและสภาพแวดล้ อมภายนอก งานแกะลายกนกโลงศพเป็ นศิลปะมรดกที่มีค่าอย่างหนึ่งของคนไทย งานแกะลายกนกประดับตกแต่งโลงศพ ได้ค่าตอบแทนน้อยไม่ควรนามาศึกษา การแกะลายกนกโลงศพช่วยพัฒนาทักษะทางปั ญญาและฝี มือ การแกะลายกนกโลงในงานศพเป็ นการสิ้นเปลืองไม่มีประโยชน์ การนาลายกนกไปประดับตกแต่งโลงศพช่วยลดความเศร้าหมองและน่ากลัวลงได้ ๑๖ งานแกะลายกนกโลงศพไม่ช่วยให้คนในท้องถิ่นร่ อนพิบูลย์ เกิดความภาคภูมิใจ ๑๗ การแกะลายกนกโลงศพ สามารถทาควบคู่กบั อาชีพอื่นได้ ในยามว่าง ๑๘ ลายกนกโลงศพไม่สามารถนาไปตกแต่งสิ่ งของเครื่ องใช้อื่นๆได้ ๑๙ การแกะลายกนกประดับโลงศพ ควรได้รับการสื บทอดต่อไป ๒๐ ผลงานที่ได้จากการแกะลายกนกประดับโลงศพ ไม่ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕
ชื่อ – สกุล..............................................................................ชั้น.............โรงเรี ยนร่ อนพิบูลย์เกียรติฯ ๑๘๔
แนวการวัดผล / ประเมินผล
รายการวัดผล/ประเมินผล
ระดับคุณภาพคะแนน
๔
๓ ๒
๑
๑. ทักษะความรู้ (๑) รู ้และเข้าใจงานศิลปะภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้ (๒) รู ้และเข้าใจความเป็ นมาของงานศิลปะกนกโลง (๓) รู ้ข้ นั ตอน/วิธีการทาแม่แบบกนกโลง (๔) รู ้ข้ นั ตอน/วิธีการแกะและตกแต่งลายกนกโลงบนกระดาษทอง (๕) รู ้ข้ นั ตอน/วิธีการประดับตกแต่งโลงศพด้วยลายกนกโลง (๖) รู ้และเข้าใจวิธีการทาและประดับตกแต่งยอดโลงแบบ 3 ยอด
๒. ทักษะกระบวนการปฏิบัตงิ าน ๒.๑ (ความรับผิดชอบ) (๑) เตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ เครื่ องมือได้ครบถ้วนพร้อมปฏิบตั ิงาน (๒) ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ เครื่ องมือได้อย่างคล่องแคล่ว ระมัดระวังและถูกวิธี (๓) เก็บ ดูแล ทาความสะอาด เครื่ องมือ อุปกรณ์และวัสดุที่เหลือใช้ได้เรี ยบร้อย (๔) มีผลงานเป็ นที่ปรากฏ ๒.๒ (ผลงาน) ผลงาน เขียนลายกนกโลง (๑) ความสมบูรณ์ อ่อนช้อย (๒) การถมลาย (๓) ขนาด สัดส่ วน และความสมดุล ผลงาน แม่ แบบลายกนกโลง (๑) ขนาด สัดส่ วน และความสมดุล (๒) การเว้นระยะช่องไฟ (๓) การแกะแม่แบบ
๑๘๕
รายการวัดผล/ประเมินผล
ระดับคุณภาพคะแนน
๔
๓
๒
๑
ผลงาน งานแกะและตกแต่ งลายกนกโลงบนกระดาษทอง (๑) การแกะลาย (๒) การปรุ ดุนลาย (๓) การสอดกระดาษสี ผลงาน งานประดับตกแต่ งโลงศพด้ วยลายกนกโลง (๑) ขนาด สัดส่ วนของโลงศพ (ด้านหน้าซี กเดียว)ถูกต้องสวยงาม (๒) ประดับลายถูกต้องตามหลักการจัดองค์ประกอบศิลปะ (๓) ความสะอาด ประณี ต สวยงาม ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (๑) ให้ความร่ วมมือในหมู่คณะ (๒) มีความตั้งใจและความซื่ อสัตย์ (๓) มีระเบียบและวินยั ในตนเอง (๔) มีความรับผิดชอบ ๕. ทดสอบหลังเรียนจบเนือ้ หาครบทุกบท รวม
การแปลความหมาย ระดับคุณภาพคะแนน ระดับ ๔ = ดีมาก
๑๘๖
ระดับ ๓ = ดี
ระดับ ๒ = พอใช้
ระดับ ๑ = ปรับปรุ ง
เฉลย คาถามทบทวนท้ายบทที่ ๑ ๑. ศิลปะภูมิปัญญาไทย และศิลปะภูมิปัญญาท้องถิ่นแตกต่างกันหรื อเหมือนกันอย่างไร ตอบ แตกต่างกันเพราะศิลปะภูมิปัญญาไทยเกิดเป็ นผลงานที่เกิดขึ้นจากความรู ้ ความสามารถ ของคนไทยที่สื่อให้เห็นถึงความเป็ นไทย ส่ วนศิลปะภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็ นผลงานที่เกิดขึ้นจากความรู้ ความสามารถของกลุ่มคนที่อาศัยอยูใ่ นท้องถิ่นต่าง ๆ ของประเทศไทย มีความเหมือนกันเพราะเป็ น ผลงานที่เกิดขึ้นจากความคิดสร้างสรรค์และฝี มือของคนไทย ๒. อิทธิพลที่ทาให้รูปแบบและลักษณะของเครื่ องใช้สอยมีความแตกต่างกันในแต่ละท้องถิ่นคืออะไร จงอธิบาย ตอบ อิทธิพลที่ทาให้รูปแบบและลักษณะของเครื่ องใช้สอยในแต่ละท้องถิ่นมีความแตกต่างกัน มีดว้ ยกันหลายอย่าง เช่น คติความเชื่อ ความศรัทธา ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม ทางธรรมชาติที่อยูใ่ กล้ตวั รวมถึงระบบเศรษฐกิจที่เป็ นสิ่ งสะท้อนให้เห็นถึงวิถีการดาเนิ นชี วติ ของกลุ่มคน ในสังคมเดียวกัน ๓. แรงบันดาลใจที่ทาให้มนุษย์สร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆขึ้นเพื่อสนองต่อความต้องการภายในและภายนอกคืออะไร ตอบ ความจาเป็ นในการดารงชีวติ และความประทับใจในความสุ นทรี ของธรรมชาติ ๔. ศิลปะภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่นแบ่งประเภทและลักษณะของงานศิลปะได้อย่างไร ตอบ แบ่งตามความต้องการของมนุษย์ ดังนี้ ๑. ศิลปะเพื่อความงาม ความสุ ข ความเพลิดเพลิน ความพึงพอใจ เรี ยกว่า งานวิจิตศิลป์ เป็ นงานที่ตอบสนองต่ออารมณ์และความรู ้สึกภายในใจ ๒. ศิลปะเพื่อประโยชน์ใช้สอยในชีวติ ประจาวัน เรี ยกว่า งานประยุกต์ ศิลป์ เป็ นผลิตภัณฑ์ และผลิตผลที่เกิดขึ้นจากฝี มือและความคิดของคนไทย เพื่อสนองตอบต่อความต้องการภายนอกทางด้าน ร่ างกาย ได้แก่ อาหารการกิน ที่อยูอ่ าศัย สิ่ งของเครื่ องใช้ เครื่ องนุ่งห่ม และการรักษาโรค เรี ยกได้วา่ เป็ นปัจจัยสี่ ที่จาเป็ นสาหรับมนุษย์ ๕. นักเรี ยนมีวธิ ีการอนุรักษ์และสื บสานศิลปะภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาท้องถิ่นได้อย่างไรบ้าง ตอบ วิธีการอนุรักษ์และสื บสานศิลปะภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาท้องถิ่นมีดงั นี้ ๑. สื บทอดต่อจากปู่ ย่าตายาย มาสู่ รุ่นพ่อแม่และมาสู่ รุ่นลูกหลาน หมู่สมาชิกใน ครัวเรื อนหรื อในหมู่บา้ นเดียวกัน สร้างเป็ นอาชีพเพื่อเลี้ยงครอบครัว ๒. ผูม้ ีความรู้อุทิศตนโดยให้เด็กรุ่ นหลังมาฝึ กหัดเรี ยนที่บา้ นของตนเองหรื อที่แหล่งผลิต ๓. สถานศึกษาเชิญวิทยากรท้องถิ่นมาถ่ายทอดความรู ้งานศิลปะให้กบั นักเรี ยน ๔. สถานศึกษาจัดทาเป็ น “หลักสู ตรท้องถิ่น” ๕. เก็บรวบรวมข้อมูลในรู ปแบบต่าง ๆ เช่น จากแหล่งค้นคว้า สถานที่จริ ง เอกสาร การสอบถามช่างผูช้ านาญหรื อผูร้ ู ้ การจดบันทึก การถ่ายรู ป การบันทึกเทป เป็ นต้น ๑๘๗
เฉลย คาถามทบทวนท้ายบทที่ ๒ ๑. คาว่า “ศิลปะกนกโลง” หมายถึงอะไร มีที่มาอย่างไร ตอบ หมายถึงงานแกะลายไทยสี ทองประดับโลงศพหรื อการทาโลงทอง ที่มาของงานแกะ ลายไทยประดับโลงศพ สันนิฐานว่ามาจากการแกะลายไทยบนกระดาษทองย่นเพื่อใช้ประกอบเครื่ อง พระศพของเจ้านายในวังหลวง แต่คนไทยภาคใต้ได้นาวิธีการแกะลายไทยบนกระดาษทองย่นมาใช้ ตกแต่งเฉพาะส่ วนหน่วยโลง ฐานโลง และยอดโลงเท่านั้น ๒. ลายกนกโลงหรื อลายโลงประยุกต์รูปแบบมาจากสิ่ งใด ตอบ ลายไทยชนิดต่าง ๆ เช่น ลายกนก ลายกระจัง ลายบัว ลายช่อ ลายลูกฟักประจายาม เป็ นต้น ๓. เจตนารมณ์ของการทากนกโลงมีอะไรบ้าง ตอบ ลูกหลานได้แสดงความกตัญํูต่อผูต้ ายเป็ นครั้งสุ ดท้าย เพื่อยกย่อง เชิดชูคุณงามความดี ของผูต้ าย ต้องการให้ผตู ้ ายไปสู่ สัมปรายภพที่สวยงามตามความเชื่อของคนไทยเกี่ยวกับชาติภพ ๔. การนาลายกนกไปตกแต่งบนโลงศพของชาวไทยพุทธภาคใต้มีพิธีกรรมอย่างไร ตอบ ก่อนลงมือประดับตกแต่งโลงศพช่างต้องไหว้ครู หมอดาษ ครู หมอตายาย บอกกล่าวให้ทราบว่า จะขุดกระดาษตกแต่งโลง พิธีไม่มีอะไรมากเพียงแต่กาศ ให้รับรู ้เท่านั้น เจ้างานต้องเตรี ยมขันหมากซึ่ ง ประกอบไปด้วย หมากพลู ๑๒ คา ดอกไม้ ธูปเทียน ผ้าขาว ๑ ผืน หมอน ๑ ใบ เสื่ อ ๑ ผืน ขันน้ ามนต์ ช่างปูเสื่ อลงข้างโลงระลึกถึงครู หมอดาษ ครู หมอตายาย กาศให้ทวั่ กันเป็ นเสร็ จพิธี และเมื่อตกแต่ง โลงเสร็ จแล้ว ช่างทาพิธีไหว้ครู เหมือนตอนแรกเพิ่มเข้ามาแต่เครื่ องสังเวยครู เป็ นที่สิบสองหรื อข้าวสิ บสอง เงินค่าราดตามที่ตกลงกัน โดยช่างจะตั้งนะโม ชุมนุมเทวดา ไหว้สัสดีใหญ่ แล้วกาศรับเครื่ องสังเวย เป็ นเสร็ จพิธี ๕. ทาไมศิลปะการแกะกนกโลงจึงไม่เป็ นที่แพร่ หลายในสังคมไทยปั จจุบนั ตอบ คนยุคใหม่ไม่นิยมชมชอบ เสี ยเวลาในการประกอบพิธีกรรม ขาดความตระหนักรู ้ถึง คุณค่าของงานศิลปะ ช่างทากนกโลงมีนอ้ ย วัสดุที่ใช้ทาขาดแคลนเพราะกระดาษทองอังกฤษต้อง สัง่ ซื้ อจากประเทศจีน ๖. งานศิลปะกนกโลงมีคุณค่ากับคนไทยหรื อไม่ เพราะเหตุใด ตอบ คิดว่ามีคุณค่าต่อคนไทย เพราะเป็ นงานที่กิเดจากช่างฝี มือของคนไทยและได้รับการสื บทอด มาสู่ ลูกหลานไทย เป็ นงานที่มีคุณค่าต่อความรู ้สึกของผูท้ ี่สูญเสี ยคนที่ตนรักอีกด้วย ๗. การสร้างสรรค์ลายกนกโลงควรมีความรู ้พ้ืนฐานเกี่ยวกับเรื่ องใด เพราะอะไร ตอบ ลายไทย เพราะลายไทยเป็ นแม่แบบของลายกนกโลงทุกลาย
๑๘๘
เฉลย คาถามทบทวนท้ายบทที่ ๓ ๑. การแกะลายกนกโลงนักเรี ยนต้องเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือเช่นอะไรบ้าง ตอบ แม่ลาย กระดาษทองอังกฤษ มีดขุด กระดานรองขุดหรื อเขียงไม้ ค้อนไม้ ตุด๊ ตู่ กรรไกร เครื่ องเย็บกระดาษ ๒. การเตรี ยมลายเพื่อทาแม่แบบมีข้ นั ตอนการทาอย่างไร ตอบ ขั้นตอนมีดงั นี้ ๑. นากระดาษมาพับทบเป็ น สองทบ หรื อสามทบ หรื อสี่ ทบ ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ชนิดของตัวลาย ๒. เขียนลายกนกโลงซีกเดียว ๓. นามีดขุดมาแกะหรื อขุดลายในส่ วนที่ไม่ตอ้ งการออก ๔. นาแม่แบบลายกนกโลงที่แกะเสร็ จเรี ยบร้อยดีมาทากาวแล้วติดลงบนกระดาษมันปู ๓. การจับมีดขุดเพื่อใช้แกะและขุดลายกนกโลง มีวธิ ีการอย่างไร ตอบ ใช้อุง้ มือกาด้ามมีดไว้ ปลายนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้จบั ที่รอยต่อของใบมีดกับด้ามโดยหัน ใบมีดขึ้น เวลาขุดหรื อแกะให้โยกมีดไปทางด้านหน้า ๔. การตกแต่งลายกนกโลงให้สวยงามตามโบราณวิธีและวิธีการในปัจจุบนั เหมือนหรื อแตกต่างกัน อย่างไร ตอบ มีท้ งั ความเหมือนและความแตกต่างคือ ตกแต่งโดยการปรุ ดุลายให้เป็ นเม็ดคล้ายจุด ไข่ปลาเรี ยงเป็ นแถว สอดด้วยกระดาษสี ต่าง ๆ สมัยโบราณจะใช้กระดาษสี เพียงแค่สามสี คือ สี แดง สี เขียว และสี น้ าเงิน ส่ วนปั จจุบนั ใช้กระดาษสี สะท้อนแสงเพิ่มสี ข้ ึนมามากกว่าสามสี ที่กล่าวถึง ๕. ยกตัวอย่างสี ต่าง ๆ ที่ให้ความรู ้สึกสุ กสว่าง สดใสร่ าเริ ง สดชื่นสบายตา มีพลังอานาจ หรู หรามี ค่า สุ ขมุ ลุ่มลึก ตอบ สี เหลืองที่ให้ความรู ้สึกสุ กสว่าง สดใสร่ าเริ ง สี เขียวให้ความสดชื่นสบายตา สี แดงมี พลังอานาจ สี ทองดูหรู หรามีค่า สี น้ าเงินดูสุขมุ ลุ่มลึก
๑๘๙
เฉลย คาถามทบทวนท้ายบทที่ ๔ ๑. ลายกนกโลงที่นาไปประดับตกแต่งส่ วนหน่วยโลงมีลายอะไรบ้าง ตอบ ลายหน้าดานบน (ลายขอบ) ลายบัวปากถ้วย ลายรางมุม ลายตุกตู่ แม่ลาย เชิงผ้าลาย หรื อลายช่อ ลายไต ๒. ลายกนกโลงที่นาไปประดับตกแต่งส่ วนฐานโลงมีลายอะไรบ้าง ตอบ ลายบัวขบ ลายบัวหงาย ลายล่องไฟ ลายหลังสิ งห์(หน้ากระดาน) ลายตุกตู่ ลายหน้าดานล่าง (ลายขอบ )ลายสิ งห์ ๓. ข้อควรระมัดระวังในการแกะหรื อขุดลายกนกโลงคืออะไร ตอบ อย่าให้ลายเส้นขรุ ขระไม่ฉีกขาด ควรเตรี ยมเขียงไม้ มีดขุดที่มีความคมและลื่น จับมีดขุดให้ถูกวิธีและกดน้ าหนักมือลงไปบนลายเส้นอย่างสม่าเสมอจึงจะได้ลายเส้นที่มีความคมชัด สวยงามดี
๑๙๐
เฉลย คาถามทบทวนท้ายบทที่ ๕ ๑. หน่วยโลงและฐานโลงที่ช่างนามาประดับตกแต่งมีลกั ษณะอย่างไร ตอบ หน่วยโลงคล้ายรู ปสี่ เหลี่ยมคางหมูคอดเอวโค้งเล็กน้อยหรื อที่ชาวบ้านเรี ยกว่าโลงแหนว ฐานโลงเป็ นแบบฐานเครื่ องชั้นลดหลัดกันขึ้นไปฐานล่างกว้างยาวเท่ากับปากหน่วยโลง ๒. การประดับตกแต่งโลงศพด้วยลายกนกต้องเตรี ยมอะไรบ้าง ตอบ โฟมเพื่อทาอกไก่ ลายกนกโลงที่ตกแต่งเรี ยบร้อยแล้วจานวน ๑๓ ลาย กระจกเงา (ใช้กระดาษเงินแทน)เพื่อใช้ทาแถบล่องน้ า กระดาษสติกเกอร์ สะท้อนแสงสี แดงหรื อสี ส้ม สี ขาว แป้ งเปี ยกหรื อกาวลาเท็กซ์ แปรงทากาว กาวติดกระจก กรรไกร มีดคัตเตอร์ กระดาษทองเกรี ยบสี แดง สี เขียว สี น้ าเงิน ๓. หลักการจัดความงามทางศิลปะมีอะไรบ้าง และมีความสาคัญต่อการประดับตกแต่งโลงศพอย่างไร ตอบ ความสมดุล ความกลมกลืนและความขัดแย้ง ความเป็ นเอกภาพ ทิศทาง ขนาดและ สัดส่ วน ซึ่ งมีความสาคัญต่อการนาลายกนกโลงไปประดับลงบนหน่วยโลง ฐานโลง และยอดโลงเพื่อให้เกิด ความเหมาะสมสวยงาม สะดุดตา น่าสนใจ ๔. หน่วยโลงตั้งแต่ปากหน่วยโลงมาจนถึงฐานหน่วยโลงประดับด้วยลายอะไรบ้าง จงบอกมาตามลาดับ ตอบ จากปากหน่วยโลงลงไปถึงรัดพัด (ฐานหน่วยโลง) ได้แก่ ๑. ลายหน้าดานบน (ลายขอบ) ๒. ลายบัวปากถ้วย ๓. ลายตุกตู่ ๔. แม่ลาย ๕. เชิงผ้าลายหรื อลายช่อ ๖. ลายรางมุม ๗. ลายไต ๔. ฐานโลงตั้งแต่ส่วนรัดพัดลงมาจนถึงฐานล่างสุ ดประดับด้วยลายอะไรบ้าง จงบอกมาตามลาดับ ตอบ จากรัดพัดลงไปถึงฐานโลงส่ วนล่าง ได้แก่ ๑. ลายบัวขบ - ลายบัวหงาย ๒. ลายล่องไฟ ๓. ลายหลังสิ งห์ (หน้ากระดาน) ๔. ลายตุกตู่ ๕. ลายสิ งห์ (ฐานสิ งห์) ๖. ลายหน้าดานล่าง (ลายขอบ) ๑๙๑
เฉลย คาถามทบทวนท้ายบทที่ ๖ ๑. การทายอดโลงต้องใช้ไม้นุ่น ไม้สาคู ไม้ระกา หรื อไม้ทองหลางเพราะอะไร ตอบ เพราะมีน้ าหนักเบา เป็ นพืชที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น ๒. ส่ วนประกอบของยอดโลงมีกี่ส่วน แต่ละส่ วนเรี ยกว่าอะไร ตอบ สองส่ วน ส่ วนล่างเรี ยกว่ายอดเหม ส่ วนบนสุ ดเรี ยกว่ายอดแหลม ๓. ยอดโลงส่ วนที่ทาในลักษณะลดชั้นเรี ยกว่าอะไร ตอบ ยอดเหม ๔. ยอดแหลมหรื อยอดบนสุ ดช่างจะทาในรู ปลักษณะใดได้บา้ ง ตอบ กลึงให้กลมมน และเป็ นเหลี่ยม ๕. เครื่ องประดับตกแต่งยอดโลงมีอะไรบ้าง ตอบ ดอกไม้ไหว ลูกแก้ว ใบจังหรื อก้านจัง ลูกปั ดเกลียวลม
๑๙๒
แนวการตอบคาถาม จากบัตรกิจกรรมที่ ๑ เรื่ อง ศิลปะภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้ กิจกรรมที่ ๒.๑ มี ๒ ตอน ดังนี้ ตอนที่ ๑ คาสั่ ง ให้นกั เรี ยนอธิบายและยกตัวอย่างจากข้อคาถามต่อไปนี้ ( ๑๕ คะแนน ) ๑. จงอธิ บายคาว่า “ศิลปะภูมิปัญญาท้องถิ่น” มาให้เข้าใจ ตอบ ศิลปะภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็ นผลงานที่มีความหมายเรี ยบง่าย จากฝี มือของชาวบ้าน เพื่อ การดารงชีวติ โดยใช้ความรู้ ความคิด ความพยายามด้วยฝี มืออันประณี ต สร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณค่า ทางด้านการใช้สอย ความงาม ความไพเราะ ตรงต่อความต้องการ ๒. คาว่า ระบบเศรษฐกิจ เกี่ยวข้องกับการสร้าง ศิลปะภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร ตอบ ระบบเศรษฐกิจเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับการจับจ่ายใช้สอย โดยมีมูลค่าและตีราคาด้วยเงินทอง ซึ่งชาวบ้านที่อาศัยอยูต่ ามชนบทค่อนข้างมีรายได้นอ้ ย มีเงินมีทองเพื่อการใช้จ่ายไม่มากนัก ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจากสภาพสังคม และวิถีการดาเนิ นชีวิตที่มีความเรี ยบง่าย อาชีพที่ตอ้ งอาศัยแรงงาน พึ่งพากัน เช่น การลงแขกเกี่ยวข้าว รับจ้างถากหญ้า เฝ้ าสวน อีกอย่างหนึ่งเพราะลักษณะนิสัย พื้นฐานของคนในสังคมส่ วนใหญ่ มีน้ าใจเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ มีอะไรก็มกั หยิบยืน่ ให้กนั ไม่วา่ จะเป็ น สิ่ งของ เครื่ องมือ เครื่ องใช้ต่าง ๆ ที่ใช้อยูใ่ นชี วิตประจาวัน แม้กระทัง่ การให้ความรู ้ ในการสร้างสรรค์ ผลงานต่าง ๆ ด้วยความจริ งใจ จึงไม่ได้เกิดจากการซื้ อขายแต่ประการใด ผลงานที่สร้างขึ้นเป็ นงาน ฝี มืออย่างแท้จริ ง บางครั้งแฝงไปด้วยความงาม มีประโยชน์ตรงต่อการใช้สอย ๓. สภาพแวดล้อ มทางภู มิ ศ าสตร์ ใ นภาคใต้ข องไทยมี ผ ลต่ อ ศิ ล ปะภู มิ ปั ญ ญาท้อ งถิ่ น อย่ า งไร ยกตัวอย่างวัตถุดิบที่เกิดจากสภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ ในภาคใต้ มา ๓ - ๕ ชนิด ตอบ สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ ภาคใต้ของไทยมีผลต่อรู ปแบบและลักษณะของงานศิลปะ ที่มีความหลากหลาย ทั้งนี้เพราะภาคใต้ของประเทศไทย มีสภาพภูมิประเทศที่ค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ มีป่าไม้ ภูเขา และมีทะเลติดอยูท่ ้ งั สองฟากฝั่งของพื้นที่ จึงมีวตั ถุดิบทางธรรมชาติมากมาย ซึ่ งมีผล ต่อการสร้างงานศิลปะในรู ปแบบต่าง ๆ วัตถุดิบที่เกิดขึ้นในพื้นที่ภาคใต้ มีอยูด่ ว้ ยกันหลายชนิ ด เช่น ย่านลิเภา กระจูด หวาย ไม้ไผ่ หอยมุก แร่ หินสี ต่าง ๆ ฯลฯ
๑๙๓
๔. งานศิลปะภูมิปัญญาท้องถิ่นมีรูปแบบและลักษณะของผลงานตามที่ปรากฏขึ้นมานั้น มนุษย์ได้รับ แรงบันดาลใจมาจากสิ่ งใดบ้าง จงอธิบาย ตอบ แรงบันดาลใจที่มีผลต่อการสร้างสรรค์งานศิลปะภูมิปัญญาท้องถิ่นของมนุษย์ เกิดขึ้นจากความรู ้สึกทางธรรมชาติของสิ่ งมีชีวติ ที่ตอ้ งการสรรหาสิ่ งต่าง ๆ มาสนองตอบต่อความ ต้องการทางด้านร่ างกายและจิตใจ ซึ่ งมีอยูด่ ว้ ยกัน ๒ ประการ คือ ความจาเป็ น ที่มีผลต่อร่ างกาย เป็ นความต้องการทางด้านปัจจัย ๔ ได้แก่ อาหาร ที่อยูอ่ าศัย ยารักษาโรค และเครื่ องนุ่งห่ม อีกประการหนึ่งคือ ความรู้ สึกประทับใจ ในความงามของธรรมชาติ ที่มีผลต่อจิตใจของมนุษย์ ทาให้รู้สึกสดชื่น สบายใจ ๕. นักเรี ยนมีวธิ ีการอนุรักษ์และสื บสานศิลปะภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาท้องถิ่นได้อย่างไรบ้าง จงบอก มา เป็ นข้อ ๆ ตอบ ๑. รับการสื บทอดการปฏิบตั ิงานจากบรรพบุรุษ หรื อคนใกล้ชิด ๒. อุทิศตนเพื่อการฝึ กหัดเรี ยน และฝึ กปฏิบตั ิ ให้แก่เด็กรุ่ นหลัง ๓. สถานศึกษาเชิญผูม้ ีความรู ้มีทกั ษะความชานาญมาเป็ นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ งานศิลปะให้กบั นักเรี ยนที่อยูใ่ นท้องถิ่นนั้น ๆ ๔. ให้ครู จดั ทา “ หลักสู ตรท้องถิ่น ” เพื่อการฝึ กปฏิบตั ินกั เรี ยนจนเกิดความชานาญ หลังจบการศึกษาแล้วสามารถนาไปประกอบเป็ นอาชีพได้ ๕. ร่ วมกันเก็บรวบรวมข้อมูลในรู ปแบบต่าง ๆ จากแหล่งค้นคว้าสถานที่จริ ง บุคคล และเอกสาร ด้วยการสอบถามช่างผูช้ านาญหรื อผูร้ ู ้ ด้วยการจดบันทึก การถ่ายรู ป การบันทึกเทป อย่าง ไม่บิดเบือน ๖. ร่ วมกันเผยแพร่ ความรู ้ให้คนรุ่ นหลังได้รู้และเข้าใจในคุณค่าของศิลปะที่เกิดจาก ภูมิปัญญาของบรรพชนพวกเขา
๑๙๔
ตอนที่ ๒ คาสั่ ง จงตอบคาถามต่อไปนี้ ( ๑๕ คะแนน ) ๑. งานศิลปะภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้ แบ่งตามวัตถุประสงค์ได้กี่ประเภท ....๒ ประเภท อะไรบ้าง....เพื่อให้มนุษย์ทุกคนได้รับความสุ ขทางใจ และเพื่อให้มนุษย์นาไปใช้สอยในการดารงชีพ ๒. งานศิลปะประเภท วิจิตรศิลป์ มีลกั ษณะอย่างไร.....เป็ นผลงานที่มุ่งเน้นทางด้านความงาม ความไพเราะ มีคุณค่าต่อจิตใจ ช่วยให้เกิดความสุ ข ความสดชื่น สบายใจ ๓. ภาษาใต้ ที่เป็ นคาโดด มีอะไรบ้างจงบอกมา ๓- ๕ คา....บ่าว นุย้ ทอง เท่ง สาว ๔. ศิลปะการแสดงของภาคใต้ ประเภทการร่ ายรา มีอะไรบ้างจงบอกมา ๒ อย่าง...ราแม่บท ราโนรา ๕. วงดนตรี หรื อการขับร้องบทเพลงทางภาคใต้มีอะไรบ้างจงบอกมา ๒ อย่าง...ว่าเพลงบอก วงกาหลอ ๖. งานประเภทช่างฝี มือหัตถกรรม ทางภาคใต้ มีอยูห่ ลายงาน เช่น อะไรบ้าง....งานเครื่ องถม งานสลัก งานถักทอ งานจักสาน งานเย็บ ปัก ถัก ร้อย งานแกะ งานฉลุ ๗. งานเครื่ องถมทาจากวัสดุประเภทใด....โลหะ เงินและทอง ๘. งานศิลปะที่เกิดจากหอยมุกมีอะไรบ้าง.....แหวน สร้อยคอ ต่างหู ๙. ผ้าทอเมืองนครที่มีชื่อคือผ้าอะไร......ผ้ายกเมืองนคร ๑๐. ต้นสาคูนาไปใช้ประโยชน์อะไรได้บา้ ง....กาว , ส่ วนประกอบยอดโลง , หลังคาบ้าน ๑๑. งานศิลปะภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้ประเภทงานแกะ งานฉลุ มีอะไรบ้างจงบอกมา ๓ อย่าง.... งานแกะสลักหัวไม้เท้ารู ปสัตว์ต่าง ๆ งานแกะฉลุรูปหนังตะลุง งานแกะลายกนกโลง ๑๒. ลูกปัดและหินสี นามาสร้างเป็ นงานศิลปะมีอะไรบ้าง....ร้อยสร้อยคอ กาไล ประดับหัวแหวน ๑๓. วัสดุทางภาคใต้ที่นามาใช้ในงานประเภทจักสานมีอะไรบ้าง..กะพ้อ กระจูด ย่านลิเภา หวาย ไม้ไผ่ กก ๑๔. เครื่ องมือหรื อเครื่ องใช้ที่เกิดจากการจักสานของภาคใต้มีอะไรบ้างจงบอกมา ๕ อย่าง.... เจ้ย ค้อมไก่ กล่องยาเส้น หมวก กระเป๋ า ๑๕. นักเรี ยนรู้จกั ใครบ้างที่สร้างงานศิลปะทางภาคใต้บอกมา ๑ ชื่อ ผลงานที่สร้างคืออะไร ได้แก่ ๑. นายอ่า ศรี สัมพุทธ งานแทงหยวก งานแกะสลักหัวไม้เท้ารู ปสัตว์ต่าง ๆ ๒. นายสุ ชาติ ทรัพย์สิน งานแกะฉลุรูปหนังตะลุง งานเล่นหนังตะลุง ๓. นายขอม ทิพย์โพธิ์ งานทากนกโลง ๔. นายเอกชัย ศรี วชิ ยั งานแสดงการขับร้อง การร่ ายรา ๕. ฯลฯ
๑๙๕
แนวการตอบคาถาม จากบัตรกิจกรรมที่ ๒.๑ เรื่ อง ความเป็ นมาของงานศิลปะกนกโลง คาสั่ ง จงตอบคาถามต่อไปนี้ ( ๑๐ คะแนน ) ๑. ศิลปะการทากนกโลงทางภาคใต้มีที่มาอย่างไร..จากการเลียนแบบงานแกะลายกนกตกแต่งพระ โกศและพระเมรุ มาศของชาววังหลวง เพื่อเป็ นการยกย่องเชิดชูคุณงามความดีให้กบั ผูต้ าย ๒. งานแกะลายกนกโลงพัฒนามาจางานใดของกรมช่างสิ บหมู่..งานสลักกระดาษ ๓. ศิลปะการแกะลายกนกโลงเป็ นศิลปะภูมิปัญญาไทยซึ่งปั จจุบนั ได้รับการสื บทอดโดยชาวบ้าน ในท้องถิ่นใด....ท้องถิ่นภาคใต้ของประทศไทย ๔. ศิลปะกนกโลงเป็ นงานที่นาไปใช้ในโอกาสใด...การจัดงานศพ ๕. ไม้ที่นามาขุดทาโลงในสมัยก่อนคือไม้อะไร...ไม้กระท้อน ๖. ปั จจุบนั ยังพอมีการทากนกโลงให้เห็นอยูบ่ า้ งในจังหวัดนครศรี ธรรมราช เพราะเหตุใด. เพราะ ชาวบ้านยังมีคติความเชื่ อเกี่ยวกับเรื่ องภพจักรวาล เพื่อการแสดงความกตัญํู ในครั้งสุ ดท้ายให้กบั ผูต้ าย และจากการสื บสานอาชีพการทากนกโลงจากบรรพบุรุษ ๗. องค์ประกอบของงานศิลปะกนกโลงท้องถิ่นภาคใต้ มีอยู่ ๒ อย่าง คืออะไร ๑ ..โลงศพ ๒..ลายกนก ๘. รู ปแบบของโลงมีอยู่ ๓ แบบ อะไรบ้าง. ๑..โลงนัง่ ๒..โลงนอน ๓...โลงสามส่ วน ๙. โลงรู ปสี่ เหลี่ยมคางหมูทรงสู งเป็ นโลงที่ใช้บรรจุศพในลักษณะใด...ท่านัง่ ๑๐. รู ปแบบของโลงที่นามาแต่งด้วยกนกโลงทางภาคใต้มีลกั ษณะอย่างไร...คล้ายกับโลงสามส่ วน ปากหน่วยโลงผายออกเล็กน้อย แคบลงมาเกือบถึงฐานหน่วยโลงคอดเอวเข้าไปเล็กน้อยแล้ว ผายออกเช่นเดียวกับปากหน่วยโลง หรื อที่เราเรี ยกว่าโลงแหนว ๑๑. การนาลายกนกโลงไปตกแต่งโลงศพ จะตกแต่งบนส่ วนประกอบหลักของโลง ๓ ส่ วน คือ ส่ วนใดบ้าง ๑...หน่วยโลง ๒... ฐานโลง ๓...ยอดโลง ๑๒. ฐานโลงมีกี่แบบ.... ๒ แบบ.....อะไรบ้าง....แบบตีนอยอง และแบบเครื่ องชั้น ๑๓. ยอดโลงที่นามาตั้งบนหน่วยโลงมีกี่แบบ. . ๒ ... อะไรบ้าง...แบบยอดเดียว และแบบ ๓ ยอด ๑๔. ลายไทยที่นามาดัดแปลงเป็ นลายกนกโลงชนิดต่าง ๆ ได้แก่ลายอะไรบ้าง...ลายหน้ากระดาน ลายกระหนก ลายกระจัง ลายบัวคว่าบัวหงาย ลายกรุ ยเชิง ลายช่อแทงลาย ลายประจายาม ลายบัวร้อย ลายลูกฟักประจายามก้ามปู ลายแข้งสิ งห์ ลายกนกเกลียว
๑๙๖
๑๕. “ ลายหน้าดาน ” และ “ ลายตุกตู่ ” หมายถึงลายอะไร...ลายหน้ากระดาน และลายกระจัง ๑๖. การนาลายกนกโลงมาตกแต่งโลงส่ วนใหญ่มีการจัดวางลายกนกในแนวใด...แนวนอน ๑๗. การประดับตกแต่งโลงศพช่างจะต้องทาพิธีอะไร...ไหว้ครู หมอดาษ ครู หมอตายาย ๑๘. เครื่ องประกอบพิธีกรรมในการประดับตกแต่งโลงศพมีอะไรบ้าง ...หมากพลู ๑๒ คา ดอกไม้ ธูป เทียน ผ้าขาว ๑ ผืน หมอน ๑ ใบ เสื่ อ ๑ ผืน ขันน้ ามนต์ ที่สิบสอง เงินค่าราด ๑๙. พิธีกรรม ที่ตอ้ งทาก่อนลงมือประดับตกแต่งโลงทาอย่างไร...เจ้างานเตรี ยมเครื่ องขันหมาก เพื่อเตรี ยมไหว้ครู ช่างจะปูเสื่ อลงข้างโลง ระลึกถึงครู หมอดาษ ครู หมอตายาย โดยกาศหรื อ บอกกล่าวให้รู้วา่ จะลงมือประดับตกแต่งโลงศพ และเมื่อตกแต่งโลงเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว จะทา พิธีไหว้ครู เหมือนตอนแรก เพิ่มเครื่ องสังเวยที่สิบสองและเงินค่าราด ช่างตั้งนะโม ชุ มนุมเทวดา ไหว้สัสดีใหญ่ แล้วกาศครู มารับเครื่ องสังเวย เป็ นอันเสร็ จพิธี ๒๐. ปั จจุบนั อาชีพการทากนกโลงได้รับค่าจ้างทาลูกละเท่าไร...๑๐,๐๐๐ – ๑๕,๐๐๐ บาท
๑๙๗
แนวการตอบคาถาม จากบัตรกิจกรรมที่ ๒.๒ เรื่ อง ที่มาของลายกนกโลง คาสั่ ง ให้นกั เรี ยนเขียนลวดลายไทยพื้นฐานและตอบคาถามต่อไปนี้ ( ๒๐ คะแนน ) ๑. เขียนรู ปดอกบัวหลง ดอกบัวสัตตบุษย์ และดอกบัวสัตตบงกช จานวน ๑๐ ชุด ดังนี้
ดอกบัวหลวง
ดอกบัวสัตตบงกช ดอกบัวสัตตบุษย์
ลายไทยที่ดดั แปลงมาจากรู ปร่ างของดอกบัวหลวง ได้แก่ลายอะไรบ้าง... ลายกระจังรวน ลายกระจังหู ลายกระจังปฏิญาณ ลายพุม่ ลายบัวร้อย ลายดอกพุด ลายใบเทศ ลายกระหนก และนาไปประดิษฐ์เป็ นลายกนกโลง ได้แก่ลายอะไร...ลายบัวหงาย ลายตุกตู่ (ลายกระจัง) ลายบัวขบ ลายไทยที่ดดั แปลงมาจากรู ปร่ างของดอกบัวสัตตบงกช ได้แก่ลายอะไรบ้าง....ลายกระจังตาอ้อย ลายกระจังเจิม ลายกระจังใบเทศ ลายบัวถลา ลายบัวปากปลิง ลายบัวปากฐาน ลายประจายาม ลายบัวร้อย และนาไปประดิษฐ์เป็ นลายกนกโลง ได้แก่ลายอะไร...ลายบัวหงาย ลายบัวขบ ลายบัวปากถ้วย ลายรางมุม ลายไทยที่ดดั แปลงมาจากรู ปร่ างของดอกบัวสัตตบุษย์ได้แก่ลายอะไรบ้าง...ลายกรวยเชิง ลายช่อแทงลาย และนาไปประดิษฐ์เป็ นลายกนกโลง ได้แก่ลายอะไร...ลายล่องไฟ ช่อลายหรื อเชิงผ้าลาย ๒. เขียนรู ปร่ างลูกฟัก จานวน ๑๐ รู ป ดังนี้ ลูกฟัก รู ปร่ างของลูกฟักนาไปประกอบเป็ นลายหน้ากระดานได้หลายลาย เช่น ลายอะไรบ้าง... ลายลูกฟักก้ามปู ลายประจายามลูกฟักก้ามปู ๑๙๘
๓. เขียนลายกระจังปฏิญาณและลายประจายาม ลงในโครงร่ าง ด้านล่างนี้
๑
๒
๓
กระจังปฏิญาณ
ลายประจายาม
๑๙๙
เขียนลายกระหนกตัวเดียว ในท่าทางต่าง ๆ ท่าละ ๑๐ ตัว ด้วยมือเปล่า
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
๒๐๐
บัตรกิจกรรมที่ ๒.๓ เรื่ อง งานเขียนลายกนกโลง คาสั่ ง ให้นกั เรี ยนฝึ กเขียนลายกนกโลงพร้อมทั้งระบายสี ให้สวยงาม และวิเคราะห์ผล ตามขั้นตอนดังนี้ ( ๒๐ คะแนน ) ๑. ตีกรอบสี่ เหลี่ยมผืนผ้าขนาดกว้าง ๑๑ ซ.ม. ยาว ๒๖ ซ.ม. เว้นขอบด้านบนและล่าง ด้านละ ๐.๕ ซ.ม. ตามแบบ เพื่อเป็ นโครงร่ างก่อนเขียนลาย ๒. เขียนลายกนกโลง ดังต่อไปนี้ ลงในโครงร่ างที่เตรี ยมไว้
แม่ลาย
ช่อลาย
บัวปากถ้วย ๓. ทาแบบประเมินเชิงวิเคราะห์ เรื่ อง งานเขียนลายกนกโลง ๒๐๑
เฉลย บัตรกิจกรรมที่ ๒.๓ เรื่ อง งานเขียนลายกนกโลง คาสั่ ง ให้นกั เรี ยนฝึ กเขียนลายกนกโลงพร้อมทั้งระบายสี ให้สวยงาม และวิเคราะห์ผลการทากิจกรรม ตามขั้นตอนดังนี้ ( ๒๐ คะแนน ) ๑. ตีกรอบสี่ เหลี่ยมผืนผ้าขนาดกว้าง ๑๑ ซ.ม. ยาว ๒๖ ซ.ม. เว้นขอบด้านบนและล่าง ด้านละ ๐.๕ ซ.ม. ตามแบบ เพื่อเป็ นโครงร่ างก่อนเขียนลาย ๒. เขียนลายกนกโลง ดังต่อไปนี้ ลงในโครงร่ างที่เตรี ยมไว้
๒๐๒
เฉลย บัตรกิจกรรมที่ ๓.๑ คาสั่ ง ให้นกั เรี ยนฝึ กการทาแม่แบบลายกนกโลง ( ๑๐ คะแนน ) พิจารณาการให้คะแนนตามเกณฑ์การประเมินผลงานแม่แบบลายกนกโลง แบบ Rubric (ภาคผนวกหน้า ๑๗๙)
เฉลย บัตรกิจกรรมที่ ๓.๒ คาสั่ ง ให้นกั เรี ยนฝึ กการแกะและตกแต่งลายกนกโลงบนกระดาษทอง ( ๑๐ คะแนน ) พิจารณาการให้คะแนนจามเกณฑ์การประเมินผลงานแกะและตกแต่งลายกนกโลงบน กระดาษทอง แบบ Rubric (ภาคผนวกหน้า ๑๘๐)
เฉลย บัตรกิจกรรมที่ ๔ คาสั่ ง ให้นกั เรี ยนฝึ กทักษะงานแม่แบบลายกนกโลง งานแกะและปรุ ดุนลายกนกโลงบนกระดาษทอง งานสอดกระดาษสี ลายกนกโลง ( ๓๐ คะแนน ) พิจารณาการให้คะแนนจามเกณฑ์การประเมินผลงานแกะและตกแต่งลายกนกโลงบน กระดาษทอง (ภาคผนวกหน้า ๑๗๙, ๑๘๐)
เฉลย บัตรกิจกรรมที่ ๕ คาสั่ ง ให้นกั เรี ยนฝึ กการประดับตกแต่งโลงศพด้วยลายกนกโลง ( ๑๐ คะแนน ) พิจารณาการให้คะแนนจามเกณฑ์การประเมินผลงานประดับตกแต่งโลงศพด้วยลายกนกโลง แบบ Rubric (ภาคผนวกหน้า ๑๘๑) ๒๐๓
เฉลย แบบประเมินเชิงวิเคราะห์ เรื่ อง งานเขียนลายกนกโลง คาสั่ ง ให้นกั เรี ยนวิเคราะห์ผลการทากิจกรรมโดยตอบคาถาม ดังต่อไปนี้ ๑. การเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ในงานเขียนลายกนกโลง ทาอย่างไร ตอบ กระดาษขาวธรรมดา ไม้บรรทัด ดินสอ ยางลบ สี น้ าหรื อสี โปสเตอร์ พูก่ นั น้ า ฯลฯ ๒. มีข้ นั ตอน/วิธีการเขียนลายกนกโลงแบบเต็มตัวได้อย่างไร ตอบ ๑. เตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ที่จะเขียนลายกนกโลงให้ครบตามต้องการ ๒. ตีโครงร่ างลายกนกโลงตามแบบที่ร่างไว้ ๓. เขียนลายตามแบบที่ร่างไว้ลงในโครงสร้าง ๔.ใช้สีน้ าหรื อสี โปสเตอร์ ระบายลงบนตัวลายโดยเว้นช่องว่างที่เป็ นพื้นหลังไว้ ๓. การฝึ กเขียนลายกนกโลงแบบเต็มตัวมีขอ้ ดีอย่างไร ตอบ ทาให้จดจารายละเอียดของลายได้อย่างครบถ้วน และฝึ กเป็ นคนช่างสังเกต ๔. ข้อเสี ยของการเขียนลายกนกโลงแบบเต็มตัวมีอะไรบ้าง และนักเรี ยนมีวธิ ี การแก้ไขข้อเสี ยนี้ ได้อย่างไร ตอบ การเขียนตัวลายลายกนกโลงด้านซ้ายและขวามักไม่ค่อยสมดุลกัน ถ้าขาดการฝึ กฝน มาก่อน การแก้ไขใช้วธิ ี เขียนลายแบบซี กเดียว แล้วนาไปทาบต่อกันลงบนกระดาษทีละตัวก็จะได้ ตัวลายกนกโลงที่เท่ากัน ๕. นักเรี ยนมีความรู ้สึกอย่างไรหลังจากปฏิบตั ิกิจกรรมและได้ผลงานตามที่ตอ้ งการ ตอบ มีความสุ ข ความเพลิดเพลิน ได้ความรู้เรื่ องลายไทย และสามารถนาไป ประยุกต์ในการเรี ยนวิชาอื่น ๆ ได้อีกด้วย นอกจากนี้ยงั ช่วยให้เป็ นช่างสังเกต และมีสมาธิ ดีข้ ึน ๖. นักเรี ยนคิดว่าจะนาความรู ้ที่ได้ ไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวันได้อย่างไรบ้าง ตอบ ๑. รู ้จกั ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการนาความรู ้เกี่ยวกับการเขียนลายไทย ไปฝึ กฝนให้เกิดความชานาญ ๒. นาความรู้ความสามารถไปสอบแข่งขันเพื่อการศึกษาต่อในอนาคต ๓. รับจ้างเขียนลายไทยบนวัสดุต่าง ๆ เพื่อเป็ นอาชีพเลี้ยงตนเอง ฯลฯ
๒๐๔
เฉลย แบบประเมินเชิ งวิเคราะห์ เรื่ อง งานแม่แบบลายกนกโลง คาสั่ ง ให้นกั เรี ยนวิเคราะห์ผลการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยตอบคาถาม ดังต่อไปนี้ ๑. การเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือ มีอะไรบ้าง ตอบ กระดาษขาวธรรมดา แม่ลายกนกแบบต่าง ๆ ดินสอ ยางลบ ไม้บรรทัด กรรไกร มีดขุด มีดคัตเตอร์ เขียงไม้หรื อกระดานรองขุด กระดาษมันปู แป้ งเปี ยกหรื อกาวลาเท็กซ์ ๒. บอกขั้นตอน / กระบวนการในการทาแม่แบบกนกโลงมาตามลาดับ ตอบ ๑. เขียนหรื อคัดลอกลายลงบนกระดาษขาวขนาดกว้าง ๑๑ ซ.ม. ยาว ๒๖ ซ.ม. ๒. ใช้มีดขุดแกะหรื อขุดส่ วนไม่ใช่ตวั ลายออก ๓. นาไปติดลงบนกระดาษมันปู ๔. ตัดริ มกระดาษมันปูให้เสมอกับแม่แบบ ๓. ขั้นตอนใดที่นกั เรี ยนคิดว่าง่าย และขั้นตอนใดคิดว่ายากที่สุด เพราะอะไร ตอบ ขั้นตอนที่ง่ายที่สุดคือทากาวลงบนแม่แบบแล้วติดลงบนกระดาษมันปู ตัดริ ม กระดาษ ส่ วนขั้นตอนที่ยากที่สุดคือการแกะหรื อขุดกระดาษเพราะการกดน้ าหนักมือยังไม่สม่าเสมอ ๔. นักเรี ยนมีแนวทางในการแก้ปัญหาส่ วนที่ยากที่สุดอย่างไรเพื่อให้การทางานลุล่วงไปได้ดว้ ยดี ตอบ ต้องใช้สมาธิ อย่างดี อดทน มือต้องนิ่ง กดน้ าหนักมือให้สม่าเสมอ มีดขุดต้องคม และลื่น กระดานรองขุดต้องเรี ยบเสมอกัน ๕. นักเรี ยนมีความรู ้สึกอย่างไรหลังจากได้ผลงานตามที่ตอ้ งการ ตอบ รู ้สึกภาคภูมิใจ ดีใจที่งานสาเร็ จ หายเหนื่ อย ยิม้ ออก ฯลฯ ๖. นักเรี ยนคิดว่าควรนาความรู้ที่ได้ ไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวันได้อย่างไรบ้าง ตอบ ในการทางานต้องใช้ความพยายามและมีความอดทน ต้องมีสมาธิ ที่ดี มีความตั้งใจ และมุ่งมัน่ จนงานประสบผลสาเร็ จก็จะเกิดความภาคภูมิใจ งานแม่แบบลายกนกโลงสามารถนาไป ประยุกต์ในการเป็ นแม่แบบสาหรับกิจกรรมงานตกแต่งสิ่ งของเครื่ องใช้อื่น ๆ อีก
๒๐๕
เฉลย แบบประเมินเชิงวิเคราะห์ เรื่ อง งานแกะและตกแต่งลายกนกโลงบนกระดาษทอง คาสั่ ง ให้นกั เรี ยนวิเคราะห์ผลการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยตอบคาถาม ดังต่อไปนี้ ๑. การเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือ มีอะไรบ้าง ตอบ กระดาษทองอังกฤษ กระดาษซับลาย แม่แบบกนกโลงชนิดต่าง ๆ กรรไกร มีดคัตเตอร์ มีดขุด ตุด๊ ตู่ เขียงไม้หรื อกระดานรองขุด ค้อนไม้ เครื่ องเย็บกระดาษ ๒. งานแกะและตกแต่งลายกนกโลงมีข้ นั ตอนอย่างไร จงอธิบายมาตามลาดับ ตอบ ๑. เตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือให้พร้อม ๒. นาแม่แบบลายกนกโลงวางบนกระดาษทองอังกฤษสลับด้วยกระดาษซับลาย จานวน ๑๐ แผ่น ๓. เย็บมุมกระดาษทองติดกับแม่แบบอย่าให้แม่แบบเลื่อนไปมา ๔. แกะหรื อขุดลายกนกโลงตามแบบด้วยมีดขุดและตอกด้วยต๊ดตู่ส่วนที่เป็ น ดอกดวง ๓. นักเรี ยนคิดว่าขั้นตอนใดง่ายที่สุดในงานแกะและตกแต่งลายกนกโลง เพราะเหตุใด ตอบ ขั้นตอนที่ง่ายที่สุดคือการวางแม่แบบบนกระดาษทองและการตอกลายด้วย ตุด๊ ตู่ เพราะกระดาษแม่แบบและกระดาษทองมีขนาดเท่ากันอยูแ่ ล้ว ตุด๊ ตู่มีรูกลม ๆอยูห่ ลายขนาด ใช้คอ้ นไม้ตอกลงไปก็จะได้ดอกดวงเป็ นรู กลม ๆ ตามขนาดที่ตอ้ งการ ๔. นักเรี ยนคิดว่าขั้นตอนใดยากที่สุดในการแกะและตกแต่งลายกนกโลง เพราะเหตุใด ตอบ ขั้นตอนที่ยากที่สุดคือการแกะหรื อขุดลายกนกโลงด้วยมีดขุด เพราะต้องมี ความชานาญในการใช้มีดขุด ต้องคอยลับถูมีดให้คมและลื่นอยูเ่ สมอ ต้องใช้สมาธิ เป็ นอย่างมาก ๕. ในขั้นตอนที่ยากที่สุด นักเรี ยนมีวธิ ี แก้ปัญหาอย่างไรให้การทางานลุล่วงไปได้ดว้ ยดี ตอบ การแก้ปัญหาในขั้นตอนที่ยากคือ ต้องลับถูมีดให้คมและลื่นอยูเ่ สมอ ต้องใช้ สมาธิ เป็ นอย่างมากและที่สาคัญต้องคอยฝึ กฝนอยูเ่ สมอด้วย ๖. นักเรี ยนมีความรู ้สึกอย่างไรหลังจากได้ผลงานตามที่ตอ้ งการ และคิดว่าจะนาความรู้ ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างไร ตอบ รู ้สึกภาคภูมิใจ ดีใจที่งานสาเร็ จ หายเหนื่ อย ยิม้ ออก ฯลฯ สามารถนา วิธีการแกะและตกแต่งลายกนกโลงไปใช้ประกอบการทากิจกรรมในวิชาเรี ยนอื่น ๆ
๒๐๖
เฉลย แบบประเมินเชิ งวิเคราะห์ เรื่ อง งานประดับตกแต่งหน่วยโลงแหนวและฐานโลงด้วยลายกนกโลง คาสั่ ง ให้นกั เรี ยนวิเคราะห์ผลการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยตอบคาถาม ดังต่อไปนี้ ๑. การเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ มีอะไรบ้าง ตอบ ลายกนกโลงที่ตกแต่งเรี ยบร้อยแล้ว ดินสอดาหรื อปากกาเมจิก ยางลบ ไม้บรรทัด กรรไกร มีดคัตเตอร์ แป้ งเปี ยกหรื อกาวลาเท็กซ์ แปรงทากาว กระดาษทองเกรี ยบสี แดง สี เขียว และสี น้ าเงิน กระดาษสติกเกอร์ สีขาว สี แดง สี ส้ม และสี เงิน โฟมบาง 0.3 ม.ม. และโฟมหนา 2 นิ้ว กระจกเงา กาวติดกระจก ๒. บอกขั้นตอน / กระบวนการประดับตกแต่งโลงศพจาลอง (ด้านหน้าซี กเดียว) ด้วยลายกนกโลง มาตามลาดับ ตอบ ๑. กาหนดพื้นที่ที่ใช้ตกแต่งลายกนกโลงและคานวณจานวนลายกนกโลง ๒. โฟมหนาตัดเป็ นรู ปอกไก่ตามยาวติดที่ปากหน่วยโลงและฐานโลงส่ วนบน ๓. นาลายกนกโลงที่เสร็ จสวยงามดีไปติดลงบนตาแหน่งต่าง ๆ ตามที่กาหนด ๓. ขั้นตอนใดที่นกั เรี ยนคิดว่าง่ายและขั้นตอนใดคิดว่ายากที่สุด เพราะอะไร ตอบ ขั้นตอนที่ง่ายที่สุดคือการกาหนดพื้นที่และคานวณจานวนลายกนกโลง ส่ วนขั้นตอนที่ยากที่สุดคือการติดลายลงบนโฟมอกไก่ เพราะเป็ นส่ วนที่นูนเวลาติดลายจะไม่เรี ยบ ๔. นักเรี ยนมีแนวทางในการแก้ปัญหาส่ วนที่ยากที่สุดอย่างไรเพื่อให้การทางานลุล่วงได้ดว้ ยดี ตอบ ส่ วนที่ยากในการติดลายกนกโลงต้องใจเย็นและมีสมาธิ ทากาวให้เต็มพื้นที่ กระดาษทองจะเรี ยบไม่โป่ งพอง ๕. นักเรี ยนมีความรู ้สึกอย่างไรหลังจากปฏิบตั ิกิจกรรมและได้ผลงานตามที่ตอ้ งการ ตอบ รู ้สึกภาคภูมิใจ ดีใจที่งานสาเร็ จ หายเหนื่ อย ยิม้ ออก ฯลฯ ๖. นักเรี ยนคิดว่าประสบการณ์ ความรู ้ที่ได้ในครั้งนี้ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ได้อย่างไรบ้าง ตอบ ในการทางานต้องใช้ความพยายามและมีความอดทน ต้องมีสมาธิที่ดี มีความตั้งใจ และมุ่งมัน่ จนงานประสบผลสาเร็ จก็จะเกิดความภาคภูมิใจ งานประดับตกแต่งโลงศพใช้หลักการ จัดองค์ประกอบศิลป์ ซึ่ งสามารถนาหลักการนี้ไปใช้กบั งานประดับตกแต่งงานศิลปะอื่น ๆ ได้
๒๐๗
แบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ วิชาลายกนกโลงศพ คาชี้แจง ข้อสอบชุดนี้ เป็ นแบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จานวน ๔๐ ข้อ ให้นกั เรี ยนทาทุกข้อ คาสั่ ง ให้นกั เรี ยนเลือกคาตอบที่ถูกต้อง แล้วทาเครื่ องหมายกากบาททับลงบนอักษร ก. ข. ค. หรื อ ง. ในกระดาษคาตอบ ๑. ผลงานที่เกิดขึ้นจากฝี มือความคิดสร้างสรรค์ของคนไทย แฝงไปด้วยความประณี ต ละเอียดอ่อน เกี่ยวข้องกับวิถีชีวติ ความเป็ นอยูข่ องคนไท คือความหมายของคาว่าอะไร ก. ศิลปะชาวบ้าน ข. ศิลปะพื้นบ้าน ค. ศิลปะภูมิปัญญาไทย ง. ศิลปะภูมิปัญญาท้องถิ่น ๒. ผลงานที่มีความเรี ยบง่ายจากฝี มือของชาวบ้านเพื่อการดารงชีวติ แฝงไปด้วยคติความเชื่อ ความศรัทธา ขนบธรรมเนียม ประเพณี ที่เหมือนกันอยูร่ ่ วมสังคมเดียวกันคือความหมาย ของสิ่ งใด ก. ศิลปะชาวบ้าน ข. ศิลปะพื้นบ้าน ค. ศิลปหัตถกรรม ง. ศิลปะภูมิปัญญาท้องถิ่น ๓. อิทธิ พลที่ทาให้ชาวบ้านคิด ประดิษฐ์สิ่งของเครื่ องใช้เพื่อประโยชน์ใช้สอยในการดารงชีวติ มาจากสิ่ งใด ก. ขนบธรรมเนียม, ค่านิยม, ความยากจน ข. คติความเชื่อ, ประเพณี , ความศรัทธา ค. ความยากจน, ความเชื่ อ, เศรษฐกิจ ง. ความศรัทธา, ประเพณี , เศรษฐกิจ ๔. ที่มาของานศิลปะภูมิปัญญาท้องถิ่นเกิดขึ้นจากแรงบันดาลใจด้านใด ก. ทรัพยากรที่อยูใ่ กล้ตวั ข. ความงามทางธรรมชาติ ค. คติความเชื่อ และความศรัทธา ง. ความประทับใจและความจาเป็ น ๒๐๘
๕. ศิลปะภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้ ที่เกิดจากอิทธิ พลทางด้านขนบธรรมเนียม ประเพณี และ วัฒนธรรมได้แก่สิ่งใด ก. ขันโตก ข. กระทงสาย ค. แห่เรื อพระ ง. แห่เทียนพรรษา ๖. ศิลปะภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้ที่เกิดจากความจาเป็ นทางด้านเศรษฐกิจได้แก่สิ่งใด ก. การราโนรา ข. การแห่หฺมรับ ค.การว่าเพลงบอก ง. การทาหมาตักน้ า ๗. ศิลปะภาคใต้ที่เกิดจากคติความเชื่อ ความศรัทธาทางด้านศาสนาได้แก่อะไร ก. เจดียภ์ ูเขาทอง ข. พระพุทธชินราช ค. พระธาตุจอมทอง ง. พระอวโลกิเตศวร ๘. งานหัตถกรรมในข้อใดไม่ ใช่ งานศิลปะภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวปั กษ์ใต้ ก. เสื่ อจูด ข. พัดใบพ้อ ค. งอบใบตาล ง. กระเป๋ าย่านลิเภา ๙. ข้อใดไม่ ใช่ งานหัตถกรรมที่สร้างขึ้นด้วยวิธีการแกะหรื อการสลัก ก. ค้อมไก่ ข. ลายกนกโลง ค. ตัวหนังตะลุง ง. หัวไม้เท้ารู ปสัตว์
๒๐๙
๑๐. งานหัตถกรรมในข้อใดผลิตขึ้นจากวัสดุประเภทกระดาษ ก. งานสานเสื่ อ ข. งานแกะลายกนกโลง ค. งานประดิษฐ์หมาตักน้ า ง. งานถมลายบนเชี่ยนหมาก ๑๑. ศิลปะการแกะกนกโลง หรื องานแกะกระดาษทอง สันนิ ฐานว่ามีการทามาตั้งแต่สมัยใด ก. กรุ งธนบุรีเป็ นราชธานี ข. กรุ งสุ โขทัยเป็ นราชธานี ค. กรุ งศรี อยุธยาเป็ นราชธานี ง. กรุ งรัตนโกสิ นทร์ตอนต้น ๑๒. ศิลปะการแกะกนกโลง ของคนปักษ์ใต้ ได้รับรู ปแบบมาจากที่ใด ก. ชนบท ข. วังหลวง ค. ภาคเหนือ ง. ภาคอีสาน ๑๓. ศิลปะการแกะกนกโลง จัดอยูใ่ นงานช่างหมู่ใดของกรมช่างสิ บหมู่ ก. ช่างบุ ข. ช่างปั้ น ค. ช่างสลัก ง. ช่างเขียน ๑๔. ศิลปะการแกะกนกโลง ใช้ในประเพณี ใด ก. บวชนาค ข. แต่งงาน ค. งานศพ ง. โกนจุก
๒๑๐
๑๕. ปัจจุบนั การแกะกนกโลงยังพอมีให้เห็นอยูบ่ า้ ง เพราะเหตุใด ก. มีช่างจานวนมาก ข. คนส่ วนใหญ่นิยม ค. เป็ นอาชีพที่มีรายได้ดี ง. ต้องการยกย่องเชิดชูความดีของผูต้ าย ๑๖. องค์ประกอบหลักของงานศิลปะกนกโลง มีอยู่ 2 ส่ วน คือ ก. ยอดโลงและลายกนก ข. ลายกนกและโลงศพ ค. ฐานและหน่วยโลง ง. ยอดโลงและฐาน ๑๗.โลงสามส่ วนหรื อโลงกึ่งนัง่ กึ่งนอนจะประดับด้วยยอดโลงกี่ยอด ก. ยอดเดียว ข. สองยอด ค. สามยอด ง. สี่ ยอด ๑๘. “ลายโลง” คือชื่อเรี ยกลายที่นามาตกแต่งโลงศพหมายถึงลายอะไร ก. ลายช่อ ข. ลายบัวคว่าบัวหงาย ค. ลายไทยหรื อลายกนก ง. ลายลูกฟักประจายามก้ามปู ๑๙. กระดาษที่นามาแกะหรื อขุดลายกนกโลงคือกระดาษชนิดใด ก. กระดาษฟางหรื อกระดาษลอกลาย ข. กระดาษทองเงินหรื อทองอังกฤษ ค. กระดาษโปสเตอร์ สีต่าง ๆ ง. กระดาษมัน
๒๑๑
๒๐. “กระดาษซับลาย” มีประโยชน์อย่างไร ก. ใช้คนั่ ระหว่างกระดาษทองที่จะนาไปแกะหรื อขุด เพื่อไม่ให้กระดาษทองขาดได้ง่าย ข. ใช้รองแม่แบบเพื่อไม่ให้กระดาษทองฉี กขาดได้ง่าย ค. ใช้ซบั ลายให้มองเห็นลวดลายได้เด่นชัดขึ้น ง. ใช้ซบั ความชื้นของกระดาษทอง ๒๑. กระดาษที่นามาซับลายคือกระดาษชนิดใด ก. กระดาษมัน ข. กระดาษสติกเกอร์ ค. กระดาษโปสเตอร์ สีต่าง ๆ ง. กระดาษฟางหรื อกระดาษลอกลาย ๒๒. เครื่ องมือที่ช่างนามาใช้แกะหรื อขุดลายกนกโลงเรี ยกว่าอะไร ก. มีดขุด ข. มีดสลัก ค. มีดฉลุ ง. มีดแกะ ๒๓. หลังจากเตรี ยมวัสดุ เครื่ องมือ และอุปกรณ์ในการทากนกโลงพร้อมแล้วขั้นตอนแรก ควรทาอะไร ก. ขุดลาย ข. แกะลาย ค. แกะแม่แบบ ง. ร่ างแบบหรื อเขียนลาย ๒๔. เทคนิคในการเขียนลาย เพื่อนาไปแกะเป็ นแม่แบบช่างใช้วธิ ี การอย่างไรที่ทาให้ตวั ลายมี ขนาดเท่ากัน เหมือนกันทั้งด้านซ้ายและด้านขวา ก. ตีสเกล ข. เขียนลายทีละซีกแล้วนาไปประกบกัน ค. เขียนลายทีละตัวแล้วนามาทาบเรี ยงติดกัน ง. พับกระดาษเป็ นสองทบหรื อสามทบแล้วเขียนลายซีกเดียว
๒๑๒
๒๕. เมื่อเขียนลายกนกลงบนกระดาษร่ างแบบแล้วขั้นตอนต่อไปทาอย่างไร ก. นาไปทาบบนกระดาษทอง ข. นาไปติดกระดาษมัน ค. ดุนลายหรื อเดินมุก ง. แกะหรื อขุดแบบ ๒๖. ขนาดของลายกนกโลงแต่ละแผ่นที่เป็ นมาตรฐานคือขนาดเท่าไร ก. กว้าง 11 ซ.ม. ยาว 26 ซ.ม. ข. กว้าง 13 ซ.ม. ยาว 26 ซ.ม. ค. กว้าง 6.5 ซ.ม. ยาว 13 ซ.ม. ง. กว้าง 11 ซ.ม. ยาว 6.5 ซ.ม. ๒๗. คาว่า “แม่ลาย” เป็ นชื่อเรี ยกลายโลงหรื อลายกนกโลงชนิดหนึ่งหมายถึงลายอะไร ก. ลายบัว ข. ลายกระจัง ค. ลายประจายาม ง. ลายลูกฟักประจายามก้ามปู ๒๘. ช่างนาแบบร่ างหรื อแม่แบบที่ขดุ หรื อแกะเรี ยบร้อยแล้วไปติดลงบนกระดาษมันเพื่ออะไร ก. เพื่อความสวยงาม ข. เพื่อไม่ให้แม่แบบฉี กขาด ค. เพื่อนาแม่แบบกลับไปใช้ได้อีก ง. เพื่อให้เห็นส่ วนที่ตอ้ งการขุดออก ๒๙. การปรุ ดุนลายหรื อการเดินมุกด้วยเหล็กปรุ นิยมทาในขั้นตอนใด ก. การร่ างแบบ ข. การสอดสี ลาย ค. การทาแม่แบบ ง. การแกะหรื อขุดลายบนกระดาษทอง
๒๑๓
๓๐. การตกแต่งลวดลายให้เกิดความสวยงามด้วยการปรุ ดุนลายแล้วยังต้องทาอะไรอีกเพื่อให้ ลายกนกโลงดูเด่นสะดุดตา ก. นาไประบายสี ข. นาไปสอดกระดาษสี ต่าง ๆ ค. นาไปติดกระดาษสติกเกอร์ ง. ไม่ตอ้ งทาอะไร ใช้ติดโลงได้เลย ๓๑. ลายกนกโลงใช้ประดับตกแต่งส่ วนใดของโลง ก. หน่วยโลง ข. ยอดโลง ค. ฐานโลง ง. ถูกทุกข้อ ๓๒. ฐานแบบเครื่ องชั้นแต่งด้วยกนกลายทางอย่างหยาบได้แก่ลายอะไร ก. ลายพุม่ ข. ลายหน้าสิ งห์ ค. ลายกนกตัวเดียว ง. ลายประจายามลูกโซ่ ๓๓. “ลายบัวปากถ้วย” นามาตกแต่งบนส่ วนใดของโลง ก. ปากหน่วยโลง ข. หน่วยโลง ค. ยอดโลง ง. ฐานโลง ๓๔. ด้านข้างของหน่วยโลงที่เรี ยกว่า “รางมุม” ตกแต่งด้วยลายอะไร ก. ลายพุม่ ข. ลายบัวร้อย ค. ลายกนกเกลียว ง. ลายกระจังรวน
๒๑๔
๓๕. ช่อลายหรื อเชิงผ้าลายใช้ตกแต่งส่ วนใดของโลง ก. ปากหน่วยโลง ข. หน่วยโลง ค. ยอดโลง ง. ฐานโลง ๓๖. ข้อใดเป็ นวิธีการอนุรักษ์และสื บสานศิลปะภูมิปัญญาไทยที่ดีที่สุด ก. จัดทาวิดีโอ ข. บันทึกด้วยภาพถ่าย ค. สัมภาษณ์และจดบันทึก ง. ฝึ กทางานศิลปะที่บา้ นครู ภูมิปัญญา ๓๗. ศิลปะการแกะกนกโลงมีคุณค่าอย่างไร ก. รู้สึกภาคภูมิใจ ข. รู ้สึกเกรงกลัวต่อบาป ค. มีความงามที่เป็ นเอกลักษณ์ ง. แสดงถึงจิตใจที่ดีงามของคนไทย ๓๘. นักเรี ยนคิดว่าได้ประโยชน์อะไรจากการศึกษา ค้นคว้า งานศิลปะกนกโลงในครั้งนี้ ก. เพื่อทาไว้ใช้เอง ข. นาไปประกอบเป็ นอาชีพ ค. เพื่อนางานศิลปะมาปรับปรุ งให้เข้ากับยุคสมัย ง. มีส่วนร่ วมในการอนุ รักษ์และสื บสานงานศิลปะที่เกิดขึ้นจากบรรพบุรุษของไทย ๓๙. นักเรี ยนอยากบอกอะไรแก่ผทู ้ ี่ไม่เคยเห็นงานศิลปะกนกโลงมาก่อน ก. กนกโลงเป็ นงานศิลปะที่เกิดจากภูมิปัญญาไทย ชาวปั กษ์ใต้รับมาสื บสานให้อยูค่ ู่กบั คนในท้องถิ่นและรู ้สึกภาคภูมิใจ ข. กนกโลงเป็ นงานศิลปะที่เกิดจากคติความเชื่อ ความศรัทธาของคนไทย ค. ศิลปะกนกโลงปั จจุบนั พบเห็นได้ในท้องถิ่นภาคใต้เท่านั้น ง. ศิลปะกนกโลงทายาก มีรายได้นอ้ ยควรทาเป็ นอาชีพเสริ ม
๒๑๕
๔๐. ศิลปะกนกโลงนับว่าเป็ นศิลปะมรดกไทยได้หรื อไม่เพราะเหตุใด ก. ได้ เพราะเกิดจากความคิดสร้างสรรค์และฝี มืออันประณี ตละเอียดอ่อนของคนไทย ที่สืบทอดต่อกันมา ข. ไม่ได้ เพราะไม่มีการรับรองจากหน่วยงานกรมศิลปากร ค. ไม่ได้ เพราะไม่มีการสื บทอดทางทายาท ง. ได้ เพราะตกแต่งด้วยลวดลายไทย
๒๑๖
เฉลย แบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ วิชาลายกนกโลงศพ จานวน ๔๐ข้อ ข้ อที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐
เฉลย ค ง ง ง ค ง ง ค ก ข ค ข ค ค ง ข ค ค ข ก
ข้ อที่ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐
เฉลย ง ก ง ง ง ก ง ง ง ข ง ง ก ข ข ง ง ง ก ก
๒๑๗