12
03
06
28
25 16
26
17
หนมลา KHANOM LA
ภูมิปัญญาท้องถิ่นใต้ 01 ประเพณีบุญเดือนสิบ 03 หมฺรับ 05 ขนมเดือนสิบ 09 ประวัติชุมชน 11 หมู่บ้านขนมลา 13 ขนมลา 15 ความเป็นมา 17 ความเชื่อ 21 เครื่องมือและวัตถุดิบ 23 ขั้นตอนการทำ�ขนมลา 29 ผลิตภัณฑ์OTOP 31 กลุ่มวิสาหกิจชุมชนอาชีพ
ประเพณี บุญเดือนสิบ “เป็ น งานบุ ญ ประเพณี ข อง คนภาคใต้ของประเทศไทย”
1
วันสารทเดือนสิบ เป็นการ ทำ � บุ ญ กลางเดื อ นสิ บ เพื่ อ นำ � เครื่ อ ง อุ ป โภคและเครื่ อ งบริ โ ภคไปถวายพระ เป็ น การอุ ทิ ศ ส่ ว นกุ ศ ลแก่ บ รรพบุ รุ ษ ของตน เป็นงานบุญประเพณีของคน ภาคใต้ของประเทศไทยโดยเฉพาะชาว นครศรีธรรมราช
“การทำ�บุญวันนี้เป็นการส่งบรรพบุรุษและ ญาติพี่น้องให้กลับไปเมืองนรก” พิธีกรรมเริ่มตั้งแต่วันแรม 1ค่ำ� เดือน 10 ซึ่งถือว่าเป็นวันที่พญายมปล่อยตัวผู้ ล่วงลับไปแล้วที่(เรียกว่า “เปรต”) มาจากนรก สำ�หรับวันนี้บางคนก็ประกอบพิธี บางคนจะ ประกอบพิธีในวันแรม 13 ค่ำ� 14ค่ำ� และ15ค่ำ� โดยการนำ�อาหารไปทำ�บุญที่วัดเรียกว่า “หมฺรับเล็ก” เป็นการต้อนรับบรรพบุรุษ และ ญาติมิตรที่ขึ้นมาจากนรกเท่านั้น
การเตรียมการสำ�หรับประเพณีสารทเดือน สิบ เริ่มขึ้นในวันแรม 13 ค่ำ� เดือน 10 วัน นี้ เรียกว่า “วันจ่าย” เป็นวันที่เตรียมหมรับ และจัดหมรับ คือการเตรียมสิ่งของต่างๆ ที่ใช้ ในการจัดหมรับ เมื่อได้ของตามที่ ต้องการแล้วก็เตรียมจัดหมรับ การจัดหมรับแต่เดิมใช้กระบุงเตี้ยๆ ขนาด เล็กหรือใหญ่ก็ ได้ แต่ภายหลังใช้ภาชนะ ได้ หลายชนิด เช่น กระจาด ถาด กะละมัง ถัง หรือ กระเชอ
วันแรม 15 ค่ำ� ซึ่งเป็นวันสารทเรียกว่า “วันฉลองหมรับ” มีการทำ�บุญเลี้ยงพระ และบังสุกุล การทำ�บุญวันนี้เป็นการส่ง บรรพบุรุษและญาติพี่น้องให้กลับไปเมือง นรก นับเป็นสำ�คัญยิ่งวันหนึ่งซึ่งเชื่อกันว่า หากไม่ได้ทำ�พิธีในวันนี้ บรรพบุรุษและญาติ พี่น้องที่ล่วงลับไปแล้วจะไม่ได้รับส่วนบุญ ส่วนกุศลทำ�ให้ เกิดทุกขเวทนาด้วยความอด ยาก ลูกหลานที่ยังมีชีวิตอยู่ก็กลายเป็นคน อกตัญญูไป
2
หมฺรับ
3
หัวใจของการทำ�บุญเดือนสิบ คือการการจัด หมฺรับ(หมรับ) เป็นการเตรียมอาหารคาวหวานบรรจุ ภาชนะไปถวายพระ อุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพชน ให้ นำ�กลับไปใช้สอยในนรกภูมิ ลูกหลานจะต้องจัดเตรียม สิ่งของเครื่องใช้ อาหาร มิให้ขาดตกบกพร่องตกแต่ง ประดับประดาสวยงามด้วยใจกตัญญู
วันหมฺรับเล็ก ตรงกับ วันแรม 1 ค่ำ� เดือน10 เชื่อกันว่าเป็นวันแรกที่วิญญาณ ของบรรพบุ รุ ษ ที่ ล่ ว งลั บ ไปแล้ ว ได้ รั บ อนุญาต ให้กลับมาเยี่ยมลูกหลาน ซึ่งลูก หลานจะจั ด สำ � หรั บ อาหารคาวหวานไป ทำ�บุญที่วัด เป็นการต้อนรับ บางท้องถิ่น เรียกวันนี้ว่า “วันรับตายาย”
วันหมฺรับเล็ก ตรงกับ วันแรม 1 ค่ำ� เดือน10 เชื่อกันว่าเป็นวันแรกที่วิญญาณของ บรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้วได้รับอนุญาต ให้กลับมาเยี่ยมลูกหลาน ซึ่งลูกหลานจะ จัดสำ�หรับอาหารคาวหวานไปทำ�บุญที่วัด เป็นการต้อนรับ บางท้องถิ่นเรียกวันนี้ว่า “วันรับตายาย” วันหมฺรับใหญ่ หรือวันฉลองหมรับ ตรงกับวันแรม15ค่ำ�เดือน10 เป็นวันที่นำ�อาหาร คาวหวานไปทำ�บุญเลี้ยงพระที่วัดครั้งใหญ่ ทำ�พิธีบังสุกุล อุทิศส่วนกุศลให้บรรพ ชน และตั้งเปรตเพื่ออุทิศส่วนกุศล ให้วิญญาณที่ ไม่มีลูกหลานมาทำ�บุญให้ ขณะ เดียวกันก็ทำ�พิธีฉลองสมโภชหมรับที่ยกมา
4
ขนมเดือนสิบ ขนมพอง ขนมดีซำ� ขนมบ้า ขนมลา
5
เพื่อใช้แทนเครื่องนุ่งห่ม พาหนะการเดินทาง เพื่อใช้แทนเงินเหรียญใช้จ่าย เพื่อแทนลูกสะบ้าไว้ละเล่น เพื่อใช้แทนเสื้อผ้า (ถนอม พูนวงศ์,2550)
ขนมที่ ใช้ ในงานบุ ญ สารทเดื อ นสิ บ ประกอบด้วย ขนมพอง เป็นสัญลักษณ์แทน เรือ แพ ที่บรรพบุรุษใช้ข้ามห้วงมหรรณพ เหตุ เพราะขนมพองนั้นแผ่ดังแพมีน้ำ�หนักเบาย่อมลอย น้ำ� และขี่ข้ามได้ ขนมลา เป็นสัญลักษณ์แทนแพร พรรณเครื่องนุ่งห่ม เหตุเพราะขนมลามีรูปทรงดัง ผ้าถักทอ พับ แผ่ เป็นผืนได้
ขนมบ้า เป็นสัญลักษณ์แทนลูกสะบ้า สำ�หรับ ไว้เล่นต้อนรับสงกรานต์เหตุเพราะขนมบ้ามี รูปทรงคล้ายลูกสะบ้า การละเล่นที่นิยมใน สมัยก่อนขนมดีซำ� เป็นสัญลักษณ์แทนเงิน เบี้ย สำ�หรับใช้สอยเหตุเพราะรูปทรงของ ขนมคล้ายเบี้ยหอย ขนมกง (ไข่ปลา) เป็น สัญลักษณ์แทนเครื่องประดับเหตุเพราะมีรูป ทรงลักษณะคล้าย กำ�ไล แหวน ลาลอยมัน สัญลักษณ์ แทนฟูก แลหมอน ซึ่งมีบางท้องถิ่น
6
คำ�ขวัญอำ�เภอปากพนัง...
“รังนกเลื่องชื่อ ร่ำ�ลือขนมลา โอชาไข่ปลากระบอก ส่งออกกุ้งกุลา ออกพรรษาไหว้พระลาก นิยมมากแข่งเรือเพรียว”
ประวัติชุมชน “...บ้ า นศรี ส มบู ร ณ์ เ พราะเป็ น หมูบ่ า้ นทีม่ คี วามอุดมสมบูรณ...์”
9
บ้ า นศรี ส มบู ร ณ์ เ ดิ ม ชื่ อ หอยรากซึ่ ง ตอนนั้นอำ�เภอปากพนังชื่ออำ�เภอเบี้ยซัดเพราะ นายอำ�เภอนามสกุลวงศ์เบี้ยซัดท่านเลยตั้งชื่อ อำ�เภอเบี้ยซัด บ้านหอยรากมีผู้ปกครองท้อง ที่สมัยนั้นคือท่านขุ่นระวัง ชื่อจริงคือนายสุด สุดจิตโต ประวัติบ้านหอยรากคือเป็นหอยแมลง ภู่ ลั ก ษณะมี ร ากจั บ เกาะตามไม้ ห รื อ มี ดิ น เกาะ ตามตัวเป็นพวงคนในท้องที่เรียกหอยราก
และต่อมานายอำ�เภอคนใหม่เปลี่ยนชื่ออำ�เภอเป็น อำ � เภอปากพนั ง เห็ น ว่ า สมั ย นั้ น ต้ อ งผ่ า นพนั ง ดั ก กุ้งมากมาย พนังหรือซั้งดักกุ้งขุนระวังเองได้เป็น กำ�นันตำ�บลหูล่องคนแรกและเปลี่ยนชื่อบ้านหอย รากเป็นบ้านศรีสมบูรณ์เพราะเป็นหมู่บ้านที่มีความ อุดมสมบูรณ์ด้วยกุ้งหอยปูปลา
10
หมู่บ้านขนมลา ปัจจุบันขนมลาบ้านศรีสมบูรณ์(หอยราก) เป็น สินค้าที่ทำารายได้ ให้กับชุมชน และยังเป็นสินค้าหนึ่งตำาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ของตำาบลหูล่อง อำาเภอปากพนัง จังหวัด นครศรีธรรมราช แต่เทคนิคและขั้นตอนการทำาขนมลาให้มี คุณภาพได้รสชาติเป็นที่ยอมรับของคนทั่วไปในปัจจุบันกำาลัง จะสูญหายไป จึงมีความสนใจที่จะศึกษาเรื่ องขนมลา เพื่ อ จะได้ทราบถึงขั้นตอน กระบวนการทำาขนมลาตลอดจนรูป ร่างลักษณะ รสชาติ เป็นอย่างไร และต้องการทราบถึงการ สืบทอดการทำาขนมลาของคนในอดีตมาให้ลูกหลานในปัจจุบัน ตลอดถึงการอนุรักษ์ ส่งเสริมภูมิปัญญา ในการทำาขนมลา ของชุมชนบ้านศรีสมบูรณ์ ตำาบลหูล่อง อำาเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ดังนั้น การรวบรวมภูมิปัญญาการ ทำาขนมลา จึงมีความสำาคัญในการรวบรวมเพื่ อสืบทอดให้คน รุ่นหลังศึกษาเรียนรู้ส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณี เพื่ อไม่ให้ สูญหายตามกาลเวลา (เมตตา สุขเสนีย์,2554)
11
แต่เดิมชุมชนบ้านศรีสมบูรณ์เป็นชุมชนแบบเกษตรกรรม และประกอบกับภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นพื้นนาการทำา นาจึงเป็นอาชีพหลักของคนในชุมชนจะมีการทำาขนมลา บ้างก็เฉพาะในเทศกาลเท่านั้นแต่ ในลักษณะโครงสร้าง ทางสังคมในปัจจุบันส่งผลให้หมู่บ้านศรีสมบูรณ์เปลี่ยน จากชุ ม ชนเกษตรกรรมมาเป็ น ชุ ม ชนการทำ า ขนมลาใน รูปแบบการรวมกลุ่มของสมาชิกในชุมชนทำาธุรกิจขนาด ย่อมส่งผลให้การจ้างงานสร้างรายได้ ให้กับคนในชุมชน ของตนเอง ชุมชนบ้านศรีสมบูรณ์มีวัฒนธรรมดั้งเดิม และสืบทอดมายาวนานจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต ของคนในชุมชนแม้กระทั้งการทำาขนมลาเองก็ต้องอาศัย ความเชื่อในเรื่องของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ส่ังสมความเชื่อมา จากอดีตดังจะเห็นได้จากกระบวนการทำาขนมลาจะต้องมี การไหว้ครู อุปกรณ์และเครื่ องมือในการทำาขนมลาต่างๆ ซึ่ ง เป็ น การรวมระหว่ า งพิ ธี ก รรมทางศาสนาพุ ท ธและ ศาสนาพราหมณ์เข้าด้วยกัน เพื่ อนำาไปร่วมในพิธีกรรมทาง พระพุทธศาสนา
“...จากภูมิปัญญาการทำาขนมลาของชาวศรีสมบูรณ์ ทำาให้ชาวชุมชนพัฒนา ภูมิปัญญาด้านนี้จนกล้ายเป็นอาชีพ ที่สร้างรายได้ ให้แก่คนในชุมชน จนใน ปัจจุบันกลายเป็นอาชีพหลักที่ทำากันเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของชาวชุมชน บ้านศรีสมบูรณ์...”
12
ขนมลา ซึ่ ง เป็ น ขนมที่ มี ค วามสำ � คั ญ และ
ความเกี่ ย วข้ อ งกั บ ประเพณี ส ารทเดื อ นสิ บ ของชาว นครศรีธรรมราช สำ�หรับการทำ�ขนมลาในจังหวัด นครศรีธรรมราช มีกลุ่มที่ทำ�ขนมลาอยู่หลายกลุ่ม หลาย ชุมชน แต่มีชื่อเสียงและมีการสืบทอดกันมาเป็นเวลา ยาวนานคือชุมชนทำ�ขนมลาบ้านศรีสมบูรณ์ (หอยราก) อำ�เภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช
13
ขนมลาเป็นขนมพื้นบ้านของทางภาคใต้ ของ ประเทศไทย ซึ่งทำ�มาจากแป้งข้าวเจ้าเป็นขนมสำ�คัญอย่าง หนึ่งในห้าชนิดที่ใช้สำ�หรับจัดหมรับเพื่อนำ�ไปถวายพระสงฆ์ ในงานประเพณีบุญสารทเดือนสิบ ซึ่งเป็นงานบุญประเพณี ที่สำ�คัญของจังหวัดในภาคใต้ เช่น จังหวัดสุราษฏร์ธานี จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดสงขลา โดยอุทิศส่วนกุศล ให้แกบรรพบุรุษที่ล่วงลับ ขนมลาปรุงขึ้นเพื่อเป็นเสมือน แพรพรรณเสื้อผ้า
“ขนมลา” “...รับเพื่อนำ�ไปถวายพระสงฆ์ ในงาน ประเพณีบุญสารทเดือนสิบ...”
14
15
ความเป็นมา “ขนมลาบ้านหอยราก”
ขนมลาเป็นขนมไทยทางภาคใต้ชนิดหนึ่ง ชื่อ
ของขนมลา อาจจะไม่คุ้นหูคุ้นตาบุคคลโดยทั่วไปมากนัก แปลก ทั้งชื่อและรูปแบบเนื่องจาก เพราะเป็นขนมพื้นบ้านของท้อง ถิ่น เมื่อก่อนอาจจะรู้จักกันเพียงคนในภาคใต้ โดยเฉพาะอำ�เภอ ปากพนัง นครศรีธรรมราช เป็นแหล่งที่ทำ�ขนมลากันเป็นจำ�นวน มาก นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันที่ ได้มีการบันทึกเอาไว้มีเพียง แห่งเดียวในประเทศไทย คือขนมลาบ้านหอยราก ปัจจุบันคือชุมชน(บ้านศรีสมบูรณ์) ตำ�บลหูล่อง อำ�เภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ชุมชนบ้านศรีสมบูรณ์ อยู่ในเขต ชุมชนชนบท คือ หมู่ที่2 บ้านศรีสมบูรณ์ ตำ�บลหูล่อง อำ�เภอ ปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช อาชีพของประชาชนส่วน ใหญ่เดิมคือการเกษตรทำ�นา ต่อมาก็มีการทำ�นากุ้ง แต่การทำ� ขนมลา เป็นอาชีพดั้งเดิม ซึ่งเริ่มทำ�มาประมาณเป็นร้อยๆปี ชุมชนนี้มีชื่อเสียงด้านการทำ�ขนมลาในระดับแถวหน้า และมี รสชาติอร่อยมากสืบทอดมาถึงปัจจุบัน ปัจจุบันขนมลาบ้านศรี สมบูรณ์ เป็นสินค้าทำ�รายได้ ให้กับชุมชน และยังเป็นสินค้าหนึ่ง ตำ�บลหนึ่งผลิตภัณฑ์ของตำ�บลหูล่อง อำ�เภอปากพนัง จังหวัด นครศรีธรรมราช
16
ความเชื่อ...? อิทธิพลด้านความเชื่อ
ซึ่งมาจากทางศาสนา พราหมณ์ โดยมีการผสมผสานกับความเชื่อทางพระพุทธศาสนา ซึ่งเข้ามาในภาย หลัง โดยมีจุดมุ่งหมายสำ�คัญ เพื่อเป็นการกุศล ให้แก่ดวงวิญญาณของบรรพชนและ ญาติที่ล่วงลับซึ่งได้รับการปล่อยตัวมาจากนรก ที่ตนต้องจำ�อยู่ เนื่องจากผลกรรมที่ ตนได้เคยทำ�ไว้ตอนที่ยังมีชีวิตอยู่โดยจะเริ่มปล่อยตัวมาจากนรกในทุกวันแรม 1 ค่ำ� เดือน 10เพื่อมายังโลกมนุษย์ โดยมีจุดประสงค์ในการมาขอส่วนบุญจากลูกหลาน ญาติพี่น้อง ที่ ได้เตรียมการอุทิศไว้ ให้เป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้ล่วงลับ
“เพราะขนมลาเป็นความเชื่อตามประเพณี ว่า ใช้แทนแพรพรรณ เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม”
17
สำ�หรับที่มาของคำ�ว่า...
ขนมลา
มีช ื ่ อ เรี ยกอยู ่ ส องสามกระแสด้า นความเชื ่ อ
1. น่าจะมาจากกะลา (กะลามะพร้าว) เพราะสมัยก่อนยัง ไม่มีกระป๋องเพื่อใส่แป้งในการทอดลา จึงใช้กะลามะพร้าว (ชาวใต้เรียก ว่า”พรก”) นำ�มาเจาะรูเล็กๆหลายๆรู ขนาดรูเท่ากับไม้จิ้มฟัน เมื่อตัก แป้งใส่แล้วจึงแกว่งส่าย (ชาวใต้เรียกว่า “ทอดลา” )แกว่งเป็นวงกลมไป ตามรูปกระทะแป้งที่ดีเส้นต้องไม่ขาด และเส้นต้องเล็กเท่ากับเส้นด้าย สีแป้งสะท้อนแวววาวเป็นประกาย ถ้าเส้นแป้งใหญ่จะเป็นปัญหาด้าน ความเชื่อที่ว่า “เปรตจะกินขนาดลาไม่ได้” เพราะขนมลาเป็นความเชื่อ ตามประเพณีว่า ใช้แทนแพรพรรณ เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม หรือเป็นอาหาร ให้กับบรรพชนผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ส่วนใหญ่คนที่ตายไปแล้วจะนรกกลาย ไปเป็นเปรต รูปร่างผอมสูงใหญ่ ตาโปน มีปากเท่ากับรูเข็ม ดังนั้นเส้น ของขนมลาจะต้องเล็ก เหนียวนุ่มเป็นประกาย ไม่ขาดสาย เหมือนกับ เส้นไหมสอดรูเข็มได้ 2. น่าจะมาจากการเช็ดกระทะด้วยน้ำ�มัน ชาวใต้เรียก “ลา มัน” คือการเช็ดกระทะ เพราะทุกครั้งที่มีการทอดแป้งลาลงในกระทะจะ ต้องมีการ “ลามัน” ทุกครั้ง ถ้าเป็นลาแผ่น ลามัน1 ครั้งจะลอกดึงแผ่น ลาได้ 2 แผ่น ถ้ามากกว่านั้นแป้งจะติดกระทะลอกดึงขึ้นไม่ได้ การลอก ดึงแผ่นลา ชาวใต้เรียกว่า “การพับลา” ดังนั้นหากไม่มีการลามัน แผ่นลา จะพับหรือลอกดึงขึ้นมาจากกระทะไม่ได้ แป้งจะติดกระทะ ความสำ�คัญ ของการ “ลามัน” ตรงนี้จึงอาจเป็นที่มาของคำ�ว่า “ขนมลา” (สมเดช เส้งเสน,2553)
18
วัสดุอุปกรณ์ ในการทำา
ขนมลา
21
เครื่ อ งบดแป้ ง และเครื่ อ งกรองแป้ ง ,เครื่ อ ง หนีบแป้ง ชาวใต้เรียกว่า (หีบแป้ง),กระป๋องทอดขนม ลา (ใช้กระป๋องนม ปัจจุบันพัฒนาเป็นกระป๋องสแตน เลสก็มี)เพื่อป้องกันสนิม,กระทะทอดขนมลา(ใช้กระทะ ใบบัว),เตาแก๊สหรือเตาถ่าน (ปัจจุบันใช้เตาแก๊สม้วน เป็นขดโค้งไปตามรูปกระทะ),ผ้ากรองแป้ง (ชาวใต้ เรียกตรองแป้ง),เตาอบแปรรูปขนมลา,ไม้พับลาและ ถาดหรือภาชนะอื่นใช้ ใส่ขนมลาหลังจากพับหรือลอก ดึงมาจากกระทะ
22
ขั้นตอนการเตรียมแปง ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมแป้งการเตรียมแป้งนำาสารข้าวเจ้ามาผสมกับสารข้าวเหนียว (ข้าวเจ้า1ถัง : ข้าวเหนียวประมาณ4กิโลกรัม) นำามาซาวคลุกให้เข้ากันแล้วนำาไปแช่น้ำา ประมาณ2ชั่วโมง เสร็จแล้วล้างให้สะอาด
23
ขั้นตอนในการทำาขนมลา 1.ข้าวสารผสมข้าวเหนียว อัตราส่วน 3:1 ผสมเข้ากันใส่น้ำา แช่ทิ้ง ไว้ 1คืน 2.นำาข้าวสารที่แช่น้ำาแล้ว มาส่งน้ำาใส่ในตะกร้า รองด้วยตาข่าย พลาสติก 3.นำาผ้าหรือถุงพลาสติกคลุมหมักทิ้งไว้3คืน 4.นำาข้าวสารมาล้างน้ำาจนสะอาด ไม่มีกลิ่น ตั้งทิ้งไว้จนสะเด็ดน้ำา 5.นำาข้าวสารผสมน้ำาเข้าเครื่อ งบดละเอียด
6.นำาแป้งมากรองด้วยผ้าสะอาด 3 ชั้น 7.ตักแป้งใส่ตะกร้าที่รองด้วยน้ำาสะอาดเมื่อ แป้งตกตะกอนริน น้ำาใสออก 8.ห่อแป้ง นำาเข้าเครื่อ งหีบแป้ง ให้แป้งแห้ง เพื่ อไล่น้ำาเปรี้ยว ออก 9.ผสมแป้ง น้ำาผึ้ง น้ำาตาล เข้าเครื่อ งผสมแป้ง ใช้เวลา ประมาณ 45 นาที จนแป้งเป็นเส้นตีไม่ขาด
24
25
วิ ธี ก ารโรย... ...หรื อทอดลา 1.นำ�แป้งที่ผสมไว้แล้วใส่กะละมัง แช่น้ำ�ให้เย็นจึงนำ�ไปทอด 2.ทอดด้วยกระทะใหญ่บนเตาไฟอ่อนๆ ทากระทะด้วยน้ำ�มันพืชผสม ไข่แดงเมื่อกระทะร้อนตักแป้งใสกระป๋อง โรยวนไปวนมาจนเต็มกระทะ 3.เมื่อสุกใช้ไม้ไผ่เล็กบาง เขี่ยนขนมลา ยกขึ้นจากกระทะวางซ้อนๆกัน 4.นำ�ไปจำ�หน่ายเป็นลาพับ หรือแปรรูปเป็นลาชนิดต่างๆ 26
ผลิตภัณฑ์
29
OTOP
“ชุมชนบ้านศรีสมบูรณ์ได้มีการพัฒนา ขนมลาในหลากหลายรูปแบบจนได้เป็นกลาย ผลิตภัณฑ์OTOPเพิ่มมูลค่าของขนมลาในรูป แบบต่างๆได้แก่” ขนมลาแผ่น ขนมลาม้วนเล็กอบกรอบ ขนมลางู ขนมลาทับ ขนมลาแดงกรอบ
30
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนอาชีพขนมลา
บ้านศรีสมบูรณ์
บทสัมภาษณ์
“...ขนมลาเป็นขนมที่มาตั้งแต่ ในอดีต เป็นขนมที่มีรสชาติ อร่อย หอมหวาน ซึ่งการทำ�ขนมลานั้นมีหลากหลายขั้นตอนมาก ต้ อ งเรี ย นรู้ แ ละศึ ก ษากั น มาจริ ง ๆจึ ง จะทำ � ได้ อี ก ยั ง ต้ อ งอาศั ย ประสบการณ์และภูมิปัญญาดั้งเดิมมาปรับปรุงเปลี่ยนแปลง เพื่อให้ ขนมนั้นเป็นขนมที่ดีมีคุณภาพ และชุมชนบ้านศรีสมบูรณ์มีความเป็น อยู่แบบดั้งเดิม มีการไหว้ครูอุปกรณ์การทำ�ขนมลาทุกปี มีวัฒนธรรม ที่สืบทอดกันมาจากบรรพบุรรุษ มีการทำ�บุญวันสารทเดือนสิบ เพื่อ อุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้บรรพบุรุษเป็นการตอบแทนบุญคุณของผู ล่วงลับไปแล้วเชื่อกันว่าปีนั้นมีความอุดมสมบูรณ์ จะค้าขายดี ต้อง ขอบคุณบรรพบุรุษที่มีการสืบทอดอาชีพให้ลูกหลานได้มีอาชีพ...” (อนงค์นาฏ นาคสิงค์)
นางอนงค์นาฏ นาคสิงค์ 29/2 ศรีสมบูรณ์ หมู่ 2 ศรีสมบูรณ์ ถนนอชิโต ตำ�บลหูล่อง อำ�เภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80140
31
ผู้จัดทำ� : นางสาวปิยวรรณ ศรีพลราช รหัสนิสิต 551031223 สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขต สงขลา อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ศุภชัย โชติกิจภิวาทย์
32