ครอบครั ว พอเพี ย ง คื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
“..ขอขอบใจที่ จ ะมาช่ ว ยงานฉั น แต่ ข อบอกไว้ ก ่ อ นว่ า มาช่ ว ยงานฉั น ฉั น ไม่ มี อ ะไรจะให้ นอกจากความสุ ข ที่ จ ะมี ร ่ ว มกั น ในการท� ำ ประโยชน์ ใ ห้ กั บ ผู ้ อื่ น ..” พระราชด�ำรัสพระราชทาน แก่ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เมื่อครั้งเข้ารับต�ำแหน่งเลขาธิการคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.)
ค�ำน�ำ มูลนิธิครอบครัวพอเพียง ตระหนักถึงความส�ำคัญของศาสตร์พระราชา เรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ ท�ำอย่างไรนักเรียนจะได้เข้าใจอย่างถ่องแท้ สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ได้ในทุกเรื่อง ทุกสถานการณ์ในวิถีชีวิตรวมทั้ง การปลูกฝังคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๘ ประการตามที่หลักสูตรของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานก�ำหนด ควร มีแนวทางการจัดกิจกรรมตามที่ครูสามารถน�ำไปใช้ได้จริงและปลูกฝังให้เกิดเป็นคุณลักษณะในตัวนักเรียนได้ มูลนิธิ ครอบครัวพอเพียงจึงแต่งตั้งคณะกรรมการ ซึ่งประกอบไปด้วย ผู้อ�ำนวยการ ผู้ทรงคุณวุฒิและคุณครูผู้มีประสบการณ์ ด้านการการจัดกิจกรรมในเรื่องดังกล่าว ร่วมกันจัดท�ำคู่มือแนวทางการจัดกิจกรรมปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้วยศาสตร์พระราชา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เดินตามรอยเท้าพ่อ สานต่องานที่พ่อท�ำ ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอนขึ้น เพื่อให้ครูผู้สอนได้น�ำไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอนปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทุกกิจกรรม นักเรียนจะได้รับการเน้นย�้ำและคิดเชื่อมโยงการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับเรื่องนั้นๆ ให้เกิดความรู้ความ เข้าใจ เข้าถึง และน�ำแนวทางดังกล่าวไปพัฒนาตนเอง คู่มือแนวทางการจัดกิจกรรมฯ นี้ ครูผู้สอนสามารถน�ำไปใช้ให้ เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนตนเอง และสามารถเลือกกิจกรรมใดก่อนหรือหลังได้ แต่สุดท้ายเมื่อสิ้นปีการศึกษา นักเรียนจะมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๘ ประการ และเข้าใจเรื่องการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ เอกสารเล่มนี้เป็นฉบับร่าง เพื่อทดลองใช้ในโรงเรียนกลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน ๑๒๓ โรงเรียนซึ่งเป็นศูนย์ครอบครัว พอเพียงที่กระจายอยู่ทั่วประเทศ เมื่อโรงเรียนตัวอย่าง น�ำไปใช้โดยครูผู้สอนสามารถใช้จัดการเรียนรู้ในคาบการเรียน การสอน คาบเรียนกิจกรรม คาบลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ หรือประยุกต์ให้เหมาะกับโรงเรียนตามหลักภูมิสังคม อย่าง เป็น รูปธรรม เพราะคณะกรรมการได้ด�ำเนินการจัดท�ำเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ประกอบไปด้วย กิจกรรม สื่อ ใบ ความรู้ ใบงานพร้อมแนวทางการปฏิบัติที่เข้าใจง่าย เมื่อผลการทดลองใช้สะท้อนกลับมาแล้ว คณะกรรมการจะน�ำ ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะมาปรับปรุง พัฒนาเอกสารเล่มนี้ เพื่อให้ทุกโรงเรียน สามารถน�ำไปปรับใช้ในโรงเรียน ตนเองได้ คณะผู้จัดท�ำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือแนวทางการจัดกิจกรรมปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้วยศาสตร์พระ ราชา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เดินตามรอยเท้าพ่อสานต่องานที่พ่อท�ำ ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน จะเป็น ประโยชน์ต่อครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนานักเรียนให้เป็นคนดีของสังคมและประเทศชาติติอไป
คณะผู้จัดท�ำ ๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
สารบัญ บทที่ ๑ เรื่ อ ง รั ก ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย ์ คาบที่ ๑ คาบที่ ๒ คาบที่ ๓ คาบที่ ๔
๙ ๑๔ ๑๘ ๒๓
บทที่ ๒ เรื่ อ ง อยู ่ อ ย่ า งพอเพี ย ง คาบที่ ๑ คาบที่ ๒
๓๓ ๓๗
บทที่ ๓ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ คาบที่ ๑ คาบที่ ๒ คาบที่ ๓
๔๒ ๖๔ ๖๙
บทที่ ๔ เรื่ อ ง ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต คาบที่ ๑ คาบที่ ๒
๘๕ ๘๗
บทที่ ๕ เรื่ อ ง มี วิ นั ย คาบที่ ๑ คาบที่ ๒ คาบที่ ๓
๙๗ ๑๐๗ ๑๑๒
บทที่ ๖ เรื่ อ ง ใฝ่ เ รี ย นรู ้ คาบที่ ๑ คาบที่ ๒ คาบที่ ๓
๑๒๒ ๑๒๗ ๑๓๑
บทที่ ๗ เรื่ อ ง มุ ่ ง มั่ น ในการท� ำ งาน คาบที่ ๑ คาบที่ ๒ คาบที่ ๓
๑๓๘ ๑๔๓ ๑๔๘
บทที่ ๘ เรื่ อ ง รั ก ความเป็ น ไทย คาบที่ ๑ คาบที่ ๒ คาบที่ ๓
๑๖๖ ๑๗๐ ๑๗๔
คณะกรรมการ
๑๘๖
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หลั ก สู ต ร
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
จ� ำ นวน ๔ คาบ
วั ต ถุ ป ระสงค์ ๑. เพื่ออบรมให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงการเป็นพลเมืองดีของชาติ ๒. เพื่อจัดกิจกรรมให้นักเรียนเกิดความสามัคคีปรองดอง ภูมิใจ เชิดชูความเป็นไทย ๓. เพื่อให้นักเรียนฝึกปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ ๔. เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ความเป็นมาของสถาบันพระมหากษัตริย์ไทย เกิดความเคารพรัก เทิดทูน และจงรักภักดี ๕. เพื่อฝึกนักเรียนให้เชื่อมโยงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ฯ กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน กลุ ่ ม ผู ้ เ ข้ า รั บ การอบรม นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ วิ ท ยากร ครูในโรงเรียน แกนน�ำครอบครัวพอเพียง หรือวิทยากรในชุมชน เนื้ อ หาสาระ เราคนไทย ถือก�ำเนิดและอาศัยอยู่บนผืนแผ่นดินไทยอันอุดมสมบูรณ์ และมีความสุขสงบร่มเย็นจนถึงทุกวันนี้ เพราะ มีบรรพบุรุษที่ได้เสียสละเลือดเนื้อและชีวิตเพื่อปกป้องอธิปไตย คนไทยทุกคนจึงควรมีความภาคภูมิใจและธ�ำรงไว้ซึ่ง สถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ โดยการแสดงออกถึงการเป็นพลเมืองดี มีความสามัคคี ปรองดอง ภูมิใจ เชิดชูความเป็นไทย ปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ และแสดงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ผลการเรี ย นรู ้ ที่ ค าดหวั ง ๑. นักเรียนแสดงออกถึงความรักชาติ และปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดี ๒. นักเรียนสามารถปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ และเป็นศาสนิกชนที่ดี ๓. นักเรียนมีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๔. นักเรียนสามารถเชื่อมโยงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ฯ กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน สื่ อ และอุ ป กรณ์ ก ารเรี ย นการสอน ๑. สื่อวีดีทัศน์ ประกอบด้วย ๑.๑ เพลงสรรเสริญพระบารมี (https://m.youtube./watch?v=u0ivHKBVf9Q#) ๑.๒ ความสามัคคีเท่านั้น ที่จะคืนความเป็นไทย (http:m.youtube.com/watch?v=cp3s8Few4ek#) ๑.๓ เพลงประกอบภาพ ดั่งดอกไม้บาน (https://youtu.be/SOR3DjuQ1No) ๑.๔ ละครสั้น ในม่านหมอก (https://youtu.be/SINWi-0i EQ) ๑.๕ เพลงสรรเสริญพระบารมี (https://youtu.be./t6D2I 4ZxMxM) ๑.๖ โฆษณา เรื่อง ใคร...ยอมล�ำบากเพื่อคนอื่น (ในหลวงของเรา) (https://youtu.be./sGB 3x.JcxZA) ๑.๗ เพลงพระราชาผู้ทรงธรรมประกอบภาพพระราชกรณียกิจ (https://youtu.be./XTWTi uDo) ๒. กระดาษฟลิปชาร์ท ๓. ปากกาเคมี / กาว / กรรไกร ๔. กระดาษสีคละสี 8
บทที่ ๑ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย ์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ คาบที่ ๑
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ นักเรียนมีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม ๑.๑ ให้นักเรียนและครูที่เข้าร่วมกิจกรรมยืนเพื่อแสดงความเคารพและน้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณด้วยเพลง สรรเสริญพระบารมี (https://m.youtube./watch?v=u0ivHKBVf9Q#) (ใช้เวลา ๕ นาที) ๑.๒ ครูเริ่มต้นการเรียนรู้ด้วยการสนทนาสร้างปฏิสัมพันธ์กับนักเรียนเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับนักเรียน (ใช้เวลา ๕ นาที) ๑.๓ แบ่งกลุ่มจัดกิจกรรมนันทนาการเพื่อละลายพฤติกรรม เช่น ร้อง/เต้นเพลง “รถตุ๊กๆ” (๒ – ๓ รอบ) เพลง “รถตุ ๊ ก ๆ”
รถตุ๊กๆ บรรทุกถ่าน รถขึ้นสะพาน รถลงสะพานรถเลี้ยวซ้าย รถเลี้ยวขวา รถชักกระตุกๆๆๆ!!... จากนั้นให้นักเรียนเล่นเกม สะสมเงิน (Collect money) (ใช้เวลา ๑๐ นาที) วิ ธี ก ารเล่ น (กติ ก า)
• ให้นักเรียนล้อมเป็นวงกลมใหญ่ โดยหันหน้าไปทิศทางเดียวกัน • ร้องเพลง และเดินเป็นวงกลมไปเรื่อยๆ ประมาณ ๑ - ๒ รอบ • ครูเป่านกหวีด พร้อมออกค�ำสั่ง “Baht So Stangs”(สองบาทห้าสิบสตางค์) • นักเรียนจะต้องวิ่งเข้ากลุ่ม และรวมกันให้ได้เท่ากับที่ครูสั่ง เสร็จแล้วให้นั่งลง เพลงสะสมเงิ น (เพื่ อ แบ่ ง กลุ ่ ม นั ก เรี ย น)
“รวมเงิน รวมเงิน วันนี้ ผู้หญิงนั้นเป็นเหรียญบาท
รวมกันให้ดี อย่าให้มีผิดพลาด ผู้ชายเก่งกาจห้าสิบสตางค์”
Collect money Song:
“We are gathering todayTo come and play with soul and heart The girl’s value one baht,the girl’s value one baht The boy’s smart fifty Stang, the boy’s smart fifty Stang” ขั้ น ที่ ๒ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม ๒.๑ ครูพูดถึงความหมายและความส�ำคัญของสถาบันหลักของสังคม อันประกอบด้วยสถาบันชาติ สถาบันศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ (ใช้เวลา ๕ นาที) ๒.๒ นักเรียนชมวีดีทัศน์เรื่อง “ความสามัคคีเท่านั้น ที่จะคืนความเป็นไทย” (ใช้เวลา ๑๐ นาที) (http:m.youtube.com/watch?v=cp3s8Few4ek#) ๒.๓ ให้แบ่งกลุ่มนักเรียนแต่ละกลุ่มสะท้อนความรู้สึกในการชมวีดีทัศน์ (ใช้เวลา ๕ นาที) ๒.๔ ให้นักเรียนท�ำกิจกรรม “เสือกินวัว” โดยให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการท�ำกิจกรรม (ใช้เวลา ๕ นาที) ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
9
วิ ธี ก ารเล่ น (กติ ก า)
เลือกผู้เล่นในกลุ่มที่หนึ่งเป็นวัว ๓-๔ คน ที่เหลือนอกนั้นจับมือกันยืนล้อมวงเป็นคอกใหญ่ ให้วัวอยู่กลางวง กลุ่มที่สองเป็นเสือ โดยผลัดกันเป็นเสือครั้งละ ๓ – ๔ คน โดยเสืออยู่นอกวงและพยายามจะเข้าไป ในคอกเพื่อจับวัวกิน คอกก็ต้องจับมือให้แน่นเพื่อไม่ให้เสือผ่านเข้าไปได้ เสือต้องพยายามหาคอกต้านที่คิดว่าไม่แน่นหนาและ ฝ่าเข้าไป เมื่อเข้าไปได้ก็ไล่จับวัวให้ได้ วัวจะวิ่งหนีทันที ซึ่งมักจะหนีออกไปนอกคอก พอเสือจะตามไปคอกก็ต้องพยายามกัน ไว้ ถ้าเสือฝ่าออกไปได้ ก็จะวิ่งไล่จับวัว พอจับได้ถือว่าการเล่นสิ้นสุดลง ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด ๓.๑ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปข้อคิดเห็นจากการท�ำกิจกรรมพร้อมกับส่งตัวแทนออกมาน�ำเสนอ (การแสดงออกถึง ความรักสามัคคี ) ๓.๒ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ (ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน) ๑ มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒ มีคุณธรรม ๓ มีความพอประมาณ ๔ มีเหตุผล ๕ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๓ ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน หลังจากด�ำเนินการ ตามข้อ ๓.๒ เรียบร้อย พร้อมทั้งน�ำมาส่งในคาบต่อไปทั้งนี้ให้ครูผู้สอนเน้นย�้ำเรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
10
บทที่ ๑ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย ์
ใบงาน
เรื่อง การเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน จากกิจกรรม หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๕ ค� ำ ๕ ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
คุณธรรม
พอประมาณ
มีเหตุผล
มิติด้านเศรษฐกิจ
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
สมดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น พร้ อ มรั บ การ เปลี่ ย นแปลง
มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม มิติด้านวัฒนธรรม ขั้ น ที่ ๔ สรุ ป ประเมิ น ผล รายการที่วัด/ประเมินผล
วิธีการประเมิน
นักเรียนแสดงออกถึงความรักชาติ ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดี
สังเกต
ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ฯ กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน
ตรวจใบงาน
เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนนตั ว ชี้ วั ด ที่ ๑ • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม�่ำเสมอ • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง • พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง • พฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติ
เครื่องมือ เกณฑ์การ ประเมิน ประเมิน ระดับ ๒ ขึ้นไป แบบวัด ผ่านเกณฑ์ พฤติกรรมบ่ง ชี้คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ แบบตรวจ ตอบ ๕ ค�ำ ๕ ใบงาน ข้อที่พ่อสอน ถูกทุกข้อ
ผู้ประเมิน ผู้จัดกิจกรรม
ผู้จัดกิจกรรม
ให้ ๓ คะแนน ให้ ๒ คะแนน ให้ ๑ คะแนน ให้ ๐ คะแนน ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
11
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of the Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้อง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการ ทุก ขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจใน ทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้าน วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ค� ำ นิ ย าม ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการ ผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำนั้นๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดย ค�ำนึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่ อ นไข • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะน�ำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�ำเนินชีวิต แนวทางในการปฏิบัติผลที่คาดว่าจะได้รับจากการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้และ เทคโนโลยี “ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น เสมื อ นรากฐานของชี วิ ต รากฐานความมั่ น คงของแผ่ น ดิ น เปรี ย บเสมื อ นเสาเข็ ม ที่ ต อกรองรั บ บ้ า นเรื อ น ตั ว อาคารไว้ นั่ น เอง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งจะมั่ น คงได้ ก็ อ ยู ่ ที่ เ สาเข็ ม แต่ ค นส่ ว นมากมองไม่ เ ห็ น เสาเข็ ม และลื ม เสาเข็ ม เสี ย ด้ ว ยซ�้ ำ ไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากวารสารชัยพัฒนา เดือนสิงหาคม ๒๕๔๒
12
บทที่ ๑ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย ์
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
13
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ คาบที่ ๒
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ นักเรียนปฎิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ และเป็นศาสนิกชนที่ดี ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม ๑.๑ ให้นักเรียนและครูที่เข้าร่วมกิจกรรมยืนเพื่อแสดงความเคารพและน้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณด้วยเพลง สรรเสริญพระบารมี (https://m.youtube./watch?v=u0ivHKBVf9Q#) (ใช้เวลา ๕ นาที) ๑.๒ ครูเริ่มต้นการเรียนรู้ด้วยการสนทนาสร้างปฏิสัมพันธ์กับนักเรียนเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับนักเรียน (ใช้เวลา ๕ นาที) ๑.๓ จัดกิจกรรมนันทนาการ เช่น ปรบมือชุดใหญ่ เพื่อเตรียมความพร้อม จากนั้นให้นักเรียนท�ำท่าประกอบเพลง ดั่ง ดอกไม้บาน (https://youtu.be/SOR3DjuQ1No) (ใช้เวลา ๕ นาที) เพลง ดั่ ง ดอกไม้ บ าน
“ลมหายใจเข้า ลมหายใจออก ดั่งดอกไม้บาน ภูผาใหญ่กว้าง ดั่งสายน�้ำฉ�่ำเย็น ดังนภากาศอันบางเบา” ขั้ น ที่ ๒ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม ๒.๑ นักเรียนชมวีดีทัศน์ละครสั้น เรื่องในม่านหมอก (https://youtu.be/SINWi-0i EQ) (ใช้เวลา ๑๕ นาที) ๒.๒ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแสดงความคิดเห็นในการชมวีดีทัศน์ ๒.๓ ให้นักเรียนท�ำกิจกรรม “หนึ่งเดียว” โดยให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการท�ำกิจกรรม (ใช้เวลา ๑๐ นาที) วิ ธี ก ารท� ำ กิ จ กรรม “หนึ่ ง เดี ย ว”
ให้นักเรียนในแต่ละกลุ่มช่วยกันตัดกระดาษสีที่เตรียมไว้ ตัดเป็นชิ้นๆให้ครบเท่ากับหรือมากกว่าจ�ำนวนของนักเรียน ของแต่ละกลุ่ม ให้ออกแบบ ตัดต่อ ทากาวลงในกระดาษฟลิปชาร์ทให้เกิดเป็นรูปภาพหรือสัญลักษณ์ที่แสดงให้เห็นถึงความ ศรัทธา ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักศาสนาทุกศาสนา ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด ๓.๑ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ (ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน) ๑ มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒ มีคุณธรรม ๓ มีความพอประมาณ ๔ มีเหตุผล ๕ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๒ ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน หลังจากด�ำเนินการตาม ๓.๑ เรียบร้อยแล้ว พร้อมทั้งน�ำมาส่งในคาบต่อไปทั้งนี้ให้ครูผู้สอนเน้นย�้ำเรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
14
บทที่ ๑ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย ์
ใบงาน
เรื่อง การเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน จากเรื่องที่ก�ำหนดให้ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๕ ค� ำ ๕ ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
คุณธรรม
พอประมาณ
มีเหตุผล
มิติด้านเศรษฐกิจ
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
สมดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น พร้ อ มรั บ การ เปลี่ ย นแปลง
มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม มิติด้านวัฒนธรรม ขั้ น ที่ ๔ สรุ ป ประเมิ น ผล รายการที่วัด/ประเมินผล
วิธีการประเมิน
นักเรียนแสดงออกถึงความรักชาติ ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดี
สังเกต
ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ฯ กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน
ตรวจใบงานที่
เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม�่ำเสมอ • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง • พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง • พฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติ
เครื่องมือ ประเมิน
เกณฑ์การ ประเมิน
ระดับ ๒ ขึ้นไป แบบวัด ผ่านเกณฑ์ พฤติกรรมบ่ง ชี้คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ แบบตรวจ ใบงาน
ตอบ ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน ถูกทุกข้อ
ผู้ประเมิน ผู้จัดกิจกรรม
ผู้จัดกิจกรรม
ให้ ๓ คะแนน ให้ ๒ คะแนน ให้ ๑ คะแนน ให้ ๐ คะแนน ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
15
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of the Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้อง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการ ทุก ขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจใน ทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้าน วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ค� ำ นิ ย าม ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการ ผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำนั้นๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดย ค�ำนึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่ อ นไข • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะน�ำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�ำเนินชีวิต แนวทางในการปฏิบัติผลที่คาดว่าจะได้รับจากการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้และ เทคโนโลยี “ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น เสมื อ นรากฐานของชี วิ ต รากฐานความมั่ น คงของแผ่ น ดิ น เปรี ย บเสมื อ นเสาเข็ ม ที่ ต อกรองรั บ บ้ า นเรื อ น ตั ว อาคารไว้ นั่ น เอง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งจะมั่ น คงได้ ก็ อ ยู ่ ที่ เ สาเข็ ม แต่ ค นส่ ว นมากมองไม่ เ ห็ น เสาเข็ ม และลื ม เสาเข็ ม เสี ย ด้ ว ยซ�้ ำ ไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากวารสารชัยพัฒนา เดือนสิงหาคม ๒๕๔๒
16
บทที่ ๑ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย ์
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
17
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ คาบที่ ๓
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ นักเรียนแสดงออกถึงความรักชาติ และปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดี ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม ให้นักเรียนและครูที่เข้าร่วมกิจกรรมยืนเพื่อแสดงความเคารพและน้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณด้วยเพลง สรรเสริญพระบารมี (https://youtu.be./t6D2I 4ZxMxM)(ใช้เวลา ๑๐ นาที) ขั้ น ที่ ๒ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม ๒.๑ นักเรียนชมวีดีทัศน์โฆษณา เรื่อง ใคร...ยอมล�ำบากเพื่อคนอื่น (ในหลวงของเรา) (https://youtu.be./sGB 3x. JcxZA ) และเพลงพระราชาผู้ทรงธรรม ประกอบภาพพระราชกรณียกิจพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (ใช้เวลา ๑๐ นาที) (https://youtu.be./XTWTi uDo) ๒.๒ ให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละกลุ่มท�ำ Mind map ดี-ที่ได้ท�ำ/ดี-ที่ได้รู้ ตามแบบระเบียนความดี เช่น ดีที่ ได้ท�ำ หมายถึง ความดีที่อยากท�ำ ท�ำกับใคร ท�ำที่ไหน และ ดีที่ได้รู้ เรียนรู้อะไรรู้สึกอย่างไร คุณธรรมที่นักเรียนได้รับ เป็นต้น แล้วน�ำไปเขียนลงในกระดาษฟลิปชาร์ท (ใช้เวลา ๑๕ นาที)
(ตัวอย่างแบบระเบียนความดี)
18
บทที่ ๑ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย ์
ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด ๓.๑ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสะท้อนความคิดเห็นจากการท�ำกิจกรรมพร้อมทั้งส่งตัวแทนออกมาน�ำเสนอ ๓.๒ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ (ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน) ๑ มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒ มีคุณธรรม ๓ มีความพอประมาณ ๔ มีเหตุผล ๕ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๓ ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน หลังจากพร้อมทั้งน�ำมา ส่งในคาบต่อไป ทั้งนี้ให้ครูผู้สอนเน้นย�้ำเรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
19
ใบงาน
เรื่อง การเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน จากเรื่องที่ก�ำหนดให้ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๕ ค� ำ ๕ ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
คุณธรรม
พอประมาณ
มีเหตุผล
มิติด้านเศรษฐกิจ
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
สมดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น พร้ อ มรั บ การ เปลี่ ย นแปลง
มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม มิติด้านวัฒนธรรม ขั้ น ที่ ๔ สรุ ป ประเมิ น ผล รายการที่วัด/ประเมินผล
วิธีการประเมิน
นักเรียนแสดงออกถึงความรักชาติ ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดี
สังเกต
ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ฯ กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน
ตรวจใบงาน
เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม�่ำเสมอ • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง • พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง • พฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติ
20
เครื่องมือ ประเมิน
ระดับ ๒ ขึ้นไป แบบวัด ผ่านเกณฑ์ พฤติกรรมบ่ง ชี้คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ แบบตรวจ ใบงาน
ให้ ๓ คะแนน ให้ ๒ คะแนน ให้ ๑ คะแนน ให้ ๐ คะแนน
บทที่ ๑ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย ์
เกณฑ์การ ประเมิน
ตอบ ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน ถูกทุกข้อ
ผู้ประเมิน ผู้จัดกิจกรรม
ผู้จัดกิจกรรม
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of the Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้อง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการ ทุก ขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจใน ทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้าน วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ค� ำ นิ ย าม ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการ ผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำนั้นๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดย ค�ำนึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่ อ นไข • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะน�ำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�ำเนินชีวิต แนวทางในการปฏิบัติผลที่คาดว่าจะได้รับจากการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้และ เทคโนโลยี “ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น เสมื อ นรากฐานของชี วิ ต รากฐานความมั่ น คงของแผ่ น ดิ น เปรี ย บเสมื อ นเสาเข็ ม ที่ ต อกรองรั บ บ้ า นเรื อ น ตั ว อาคารไว้ นั่ น เอง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งจะมั่ น คงได้ ก็ อ ยู ่ ที่ เ สาเข็ ม แต่ ค นส่ ว นมากมองไม่ เ ห็ น เสาเข็ ม และลื ม เสาเข็ ม เสี ย ด้ ว ยซ�้ ำ ไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากวารสารชัยพัฒนา เดือนสิงหาคม ๒๕๔๒
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
21
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
22
บทที่ ๑ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย ์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ คาบที่ ๔
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ นักเรียนสามารถเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม ๑.๑ ให้นักเรียนและครูที่เข้าร่วมกิจกรรมยืนเพื่อแสดงความเคารพและน้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณด้วยเพลง สรรเสริญพระบารมี (https://m.youtube./watch?v=u0ivHKBVf9Q#) (ใช้เวลา ๕ นาที) ๑.๒ ครูเริ่มต้นการเรียนรู้ด้วยการสนทนา ทบทวนคาบที่ผ่านมาเพื่อสร้างความสัมพันธ์กับนักเรียนเพื่อสร้างความ สัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับนักเรียน(ใช้เวลา ๕ นาที) ๑.๓ ให้นักเรียนท�ำกิจกรรมเกม “รหัสปรบมือ” โดยให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการท�ำกิจกรรม (ใช้เวลา ๕ นาที) วิ ธี ก ารท� ำ กิ จ กรรม ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนั่งเป็นแถวหรือวงกลมแล้วแต่กรณี ผู้ด�ำเนินการกิจกรรม ก�ำหนดค�ำส�ำคัญ หลัก(Key words) ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอนในการเล่นเกมนี้ ตัวอย่างเช่น ผู้ด�ำเนินการกิจกรรมพูดค�ำว่า มีความรู้ ให้ผู้นักเรียนปรบมือที่บริเวณหน้าขาตัวเอง ๒ ครั้ง เมื่อพูดค�ำว่า คู๋คุณธรรม ให้นักเรียนปรบมือ ระดับอก ๒ ครั้ง เมื่อพูดค�ำว่า พอประมาณ ให้นักเรียนปรบมือ ระดับเหนือศรีษะ ๒ ครั้ง เมื่อ พูดค�ำว่า มีเหตุผล ให้นักเรียนเอามือแตะไหล่ และเมื่อพูดค�ำว่าภูมิคุ้มกัน ให้นักเรียนเอามือแตะที่ศรีษะซึ่งสามารถพูดสลับค�ำ เพื่อให้นักเรียนมีสติ และสมาธิ เพิ่มความสนุกสนานมากยิ่งขึ้น (เวลา ๕ นาที) ขั้ น ที่ ๒ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม ๒.๑ นักเรียนชมวีดีทัศน์ เรื่อง เวลาของแม่ (https://m.youtube./watch?v=Y1H0J1bb #) ( ๕ นาที ) ๒.๒ ให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละกลุ่ม วิเคราะห์เนื้อหาของวีดีทัศน์ เรื่องเวลาของแม่ โดยใช้หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข ๔ มิติและท�ำ Mind map ลงในกระดาษฟลิปชาร์ท พร้อมกับส่งตัวแทนออกมาน�ำ เสนอ (ใช้เวลา ๑๕ นาที) ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด ๓.๑ ให้นักเรียนร่วมกันสรุปและสะท้อนความคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพร้อมชมวีดีทัศน์เรื่อง ชีวิตเป็นสุข ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง (https://m.youtube./watch?v=XCsyQTP3ukE #) (ใช้เวลา ๕ นาที)เพื่อเป็นการเน้นย�้ำความเข้าใจ ในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓.๒ ครูกล่าวถึงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระผู้ทรงเป็นต้นแบบของความเรียบง่าย ความ ประหยัด ความเพียร จากพระราชจริยวัตรแห่งความพอเพียงที่ทรงแสดงออกให้คนไทยทุกคนได้เห็นเป็นแบบอย่างท�ำให้เรา คนไทยน้อมน�ำไปปฏิบัติตามรอยพระยุคลบาทอย่างแท้จริง และจากหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถสร้างความสุข อย่างยั่งยืน ทั้งนี้ได้รับการเชิดชูจากองค์การสหประชาชาติว่าเป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ อีก ทั้งยังสนับสนุนให้ประเทศสมาชิกยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน พร้อมทั้งให้นักเรียนได้ชมวีดีทัศน์เรื่อง ข้าวผัดอิ่มใจ ในหลวง(https://m.youtube.com.watch) ( ใช้เวลา ๕ นาที )
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
23
๓.๓ ให้นักเรียนน้อมน�ำร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชด้วยการ ชมวีดีทัศน์เฉลิมพระเกียรติวันพ่อแห่งชาติ เรื่อง “พอเพียงเยี่ยงพ่อ” ( ใช้เวลา ๕ นาที ) พร้อมทั้งเขียนปณิธานที่ตั้งใจจะ ปฏิบัติตนพอเพียงเยี่ยงพ่อ (https://m.youtu.be/WRzICsBLRYk) และ/หรือสรุปจบโน้มน้าวใจด้วยเพลง “รักพ่อ ไม่มีวัน พอเพียง” https://www.youtube.com/watch?v=mpy3IIYTkFc หรือเพลง “พระราชาในนิทาน” www.youtube. com/watch?v=Yrwk3qFgzD4 ๓.๔ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ (ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน) ๑ มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒ มีคุณธรรม ๓ มีความพอประมาณ ๔ มีเหตุผล ๕ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๕ ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน หลังจากพร้อมทั้งน�ำ มาส่งในคาบต่อไปทั้งนี้ให้ครูผู้สอนเน้นย�้ำเรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
24
บทที่ ๑ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย ์
ใบงาน
เรื่อง การเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน จากเรื่องที่ก�ำหนดให้ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๕ ค� ำ ๕ ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
คุณธรรม
มิติด้านเศรษฐกิจ
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
สมดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น พร้ อ มรั บ การ เปลี่ ย นแปลง
มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม มิติด้านวัฒนธรรม
ดังนี้
นักเรียนได้เรียนรู้การใช้ชีวิตที่สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงใน ๒ มิติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้าน
วัตถุ
สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง สังคม สิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม
ความรู้ ทักษะ
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
25
ขั้ น ที่ ๔ การวั ด และประเมิ น ผล ๔.๑ สังเกตพฤติกรรมการน�ำเสนอผลงานการเขียน Mind map เรื่องเวลาของแม่ ๔.๒ สังเกตพฤติกรรมการตอบค�ำถามของนักเรียนการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ผู้ประเมิน
แบบวัดพฤติกรรม บ่งชี้คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง
ระดับ ๒ ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์
ผู้จัด กิจกรรม
แบบตรวจ ใบงาน
ตอบ ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน ถูกทุกข้อ
ผู้จัด กิจกรรม
วิธีการประเมิน
เครื่องมือประเมิน
การน�ำเสนอผลงานการเขียน Mind map เรื่องเวลาของแม่
แบบวัด พฤติกรรม
ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ฯ กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน
ตรวจใบงาน
เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม�่ำเสมอ • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง • พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง • พฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติ
26
เกณฑ์การ ประเมิน
รายการที่วัด/ประเมินผล
ให้ ๓ คะแนน ให้ ๒ คะแนน ให้ ๑ คะแนน ให้ ๐ คะแนน
บทที่ ๑ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย ์
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of the Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้อง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการ ทุก ขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจใน ทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้าน วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ค� ำ นิ ย าม ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการ ผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำนั้นๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดย ค�ำนึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่ อ นไข • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะน�ำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�ำเนินชีวิต แนวทางในการปฏิบัติผลที่คาดว่าจะได้รับจากการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้และ เทคโนโลยี “ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น เสมื อ นรากฐานของชี วิ ต รากฐานความมั่ น คงของแผ่ น ดิ น เปรี ย บเสมื อ นเสาเข็ ม ที่ ต อกรองรั บ บ้ า นเรื อ น ตั ว อาคารไว้ นั่ น เอง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งจะมั่ น คงได้ ก็ อ ยู ่ ที่ เ สาเข็ ม แต่ ค นส่ ว นมากมองไม่ เ ห็ น เสาเข็ ม และลื ม เสาเข็ ม เสี ย ด้ ว ยซ�้ ำ ไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากวารสารชัยพัฒนา เดือนสิงหาคม ๒๕๔๒
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
27
28
บทที่ ๑ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย ์
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
บันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๑. ผลการจัดกิจกรรม ๑.๑ จุดเด่นของกิจกรรม…………………….................................…………………………………………………………………… ……………………….............................................................…................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๑.๒ ปัญหาอุปสรรค…………………….................................………………………………………………………………………… ………………….............................................................…........................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๒. แนวทางในการแก้ไขปัญหาและพัฒนากิจกรรม…………………….................................……………………………………… …………………………………………………….............................................................…................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๓. ข้อเสนอแนะอื่นๆ…………………….................................…………………………………………………………..…………………… …………….............................................................….............................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ลงชื่อ………………...………………………………ผู้จัดกิจกรรม (……………………………………………………) วันที่……………เดือน……………….พ.ศ................
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
29
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง อยู่อย่างพอเพียง
30
บทที่ ๒ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง อยู ่ อ ย่ า งพอเพี ย ง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง อยู่อย่างพอเพียง หลั ก สู ต ร
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
จ� ำ นวน ๒ คาบ
วั ต ถุ ป ระสงค์ ๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง อยู่อย่างพอเพียง ๒. เพื่อให้นักเรียนน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการด�ำเนินชีวิตได้ ๓. ฝึกทักษะคิดวิเคราะห์เชื่อมโยงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่องเรื่องอยู่อย่างพอเพียงกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน กลุ ่ ม ผู ้ เ ข้ า รั บ การอบรม นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๖ วิ ท ยากร ครูในโรงเรียน แกนน�ำครอบครัวพอเพียง หรือวิทยากรในชุมชน วิทยากรจาก กสทช. เนื้ อ หาสาระ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการเป็นคนมีเหตุผลรู้จักประมาณ ตนเอง ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่ประมาทในการท�ำงานและการด�ำเนินชีวิต ศึกษาเรียนรู้ในเรื่องที่สนใจอย่างถ่องแท้และเป็นคนมีคุณธรรม ไม่กระท�ำการใดๆ ให้ตนเองและผู้อื่นเดือดร้อน ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข การด�ำเนินชีวิตอย่างพอเพียง คือด�ำเนินชีวิตที่เหมาะสมกับฐานะ มีแผนการด�ำเนินชีวิตที่ชัดเจน รู้จักสร้างฐานะ ความมั่นคงในชีวิต ด้วยความรับผิดชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น เห็นคุณค่าของทรัพยากรต่าง มีการวางแผนป้องกันความเสี่ยง และพร้อมปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลง ผลการเรี ย นรู ้ ที่ ค าดหวั ง ๑. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. นักเรียนมีความตระหนัก และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการด�ำเนินชีวิตของประจ�ำวัน อย่างพอเพียง สื่ อ และอุ ป กรณ์ ก ารเรี ย นการสอน ๑. สื่อวิดีทัศน์ ชุด พระราชด�ำรัสพระเจ้าอยู่หัวเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ๔ ธ.ค. ๒๕๔๑ (https://www.youtube.com/watch?v=8jjZ4qnfwtk ) ๒. สื่อสไลด์ภาพนิ่งชุด ความหมายของ “อยู่อย่างพอเพียง” ภาพของใช้ส่วนพระองค์ ดินสอ ยาสีฟัน ๓. สื่อวีดิทัศน์ชุดเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา(https://www.youtube.com/watch?v=WfsdqcgwUro) ๔. สื่อสไลน์ภาพนิ่งชุด ของใช้ส่วนพระองค์ ภาพดินสอ ภาพหลอดยาสีฟัน ภาพบ้าน ภาพรถยนต์พระที่นั่ง ๕. สื่อวิดีทัศน์บุคคลต้นแบบพอเพียง(https://www.youtube.com/watch?v=PBMe0tnxJp4 ) ๖. สื่อสไลน์ภาพนิ่งชุด ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ๗. แผ่นภาพโปสเตอร์ชุด สื่อสารไร้สาย พัฒนาคนได้เริ่มต้นที่ใจ จ�ำนวน ๑๒ แผ่น ๘. ใบงานที่ ๑ ชุด ดีที่ได้ท�ำ ดีที่ได้รู้ ๙. ใบงานที่ ๒ ชุดดี- ที่ได้รู้ Mind Map แนวทางสู่ความพอเพียงในชีวิตตนเอง ๑๐. เพลงอยู่อย่างพอเพียง( https://www.youtube.com/watch?v=0wnLJ0op8Ug) ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
31
๑๑. เพลงสวัสดี(https://www.youtube.com/watch?v=BccW-9qC1ec) ๑๒. เพลงสรรเสริญพระบารมี(https://www.youtube.com/watch?v=JEj6D48lkjg) ๑๓. แบบประเมินพฤติกรรมตนเองในการใช้โทรศัพท์ ๑๔. แบบประเมินคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง ๑๕. เกณฑ์การประเมินบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับรายวิชาหน้าที่พลเมืองและการงานอาชีพ
32
บทที่ ๒ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง อยู ่ อ ย่ า งพอเพี ย ง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง อยู่อย่างพอเพียง คาบที่ ๑
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม ( ใช้ เ วลา ๑๐ นาที ) ๑.๑ ครูและนักเรียน ร่วมร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี (https://www.youtube.com/watch?v=JEj6D48lkjg) (ใช้ เวลา ๒.๐๐ นาที ) ๑.๒ ครูและนักเรียนแกนน�ำทักทายด้วยกิจกรรมร้องเพลงสวัสดี สวัสดี สวัสดี วันนี้เรามาเจอกัน เธอ กับ ฉัน พบกัน(ไหว้) สวัสดี ...สวัสดี สวัสดี วันนี้เรามาเจอกัน เธอ กับ ฉัน (จับมือกัน) สวัสดี....สวัสดี สวัสดี วันนี้เรามาเจอกัน เธอ กับ ฉัน (กอด) กัน สวัสดี พร้อมท่าประกอบและให้นักเรียนร่วมแสดงท่าประกอบเพลง เมื่อจบให้อธิบายความหมายของเพลงที่เป็นส่วนหนึ่ง ของเอกลักษณ์วัฒนธรรมไทย และเชิญชวนให้นักเรียนได้แสดงการทักทายด้วยการไหว้และกล่าวค�ำว่า สวัสดีในชีวิตประจ�ำวัน (ใช้เวลา ๓ นาที ) ๑.๓ ครูบอกวัตถุประสงค์ ของกิจกรรม“ตามรอยศาสตร์พระราชา สืบสานพระราชปณิธานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง”คุณลักษณะอันพึ่งประสงค์ อยู่อย่างพอเพียง และเชิญชวนให้นักเรียนชม วีดิทัศน์ ชุดพระราชด�ำรัสพระเจ้าอยู่หัว เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ๔ ธ.ค. ๒๕๔๑ (https://www.youtube.com/watch?v=8jjZ4qnfwtk ) ใช้เวลา ๕ นาที ขั้ น ที่ ๒ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม (ใช้ เ วลา ๓๐ นาที ) ๒.๑ นักเรียนชมวีดิทัศน์ชุดเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาhttps://www.youtube.com/watch?v=WfsdqcgwUro (ใช้เวลา ๕ นาที) ๒.๒ นักเรียนสรุปประเด็นความรู้จากพระบรมราโชวาทและวิดีทัศน์ชุดเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา บันทึกใน ใบงานดี-ที่ได้รู้ (ใช้เวลา ๑๐ นาที)
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
33
ใบงานกิจกรรม
ชุด ดี-ที่ได้ท�ำ ดี-ที่ได้รู้ ชื่อ-นามสกุล..............................................................ห้อง...............................เลขที่............................................ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนสรุปประเด็นความรู้จากพระบรมราโชวาทและวีดิทัศน์ชุดเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เรียนรู้อะไร ........................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... .......................................................................................
รู้สึกอย่างไร ........................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... .......................................................................................
ค�ำสอนของพ่อที่น�ำมาใช้ ............................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ๒.๓ นักเรียนชมภาพ power point ของใช้ส่วนพระองค์ (อุปกรณ์ทรงงานภาพดินสอ สภาพหลอดยาสีฟัน บ้านรถยนต์) โดยวิทยากรอธิบายถึงสิ่งที่พระองค์ทรงเป็นแบบอย่างในการใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการด�ำเนินชีวิตจริงๆ และ ให้ทุกคนออกแบบผังมโนทัศน์แนวทางการด�ำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของตนเอง ในใบงานดี-ที่ได้ท�ำ (ใช้เวลา๕นาที ) ๒.๔ นักเรียนชมสื่อวีดีทัศน์บุคคลต้นแบบพอเพียง(https://www.youtube.com/watch?v=PBMe0tnxJp4 ) จาก สถานี thaiPBS (ใช้เวลา ๗ นาที) ๒.๕ ให้นักเรียนนั่งสงบนิ่งและทบทวนถึงการด�ำเนินชีวิตของตนเองที่ผ่านมาว่าเราได้น้อมน�ำหลักคิดจากพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมาใช้เพื่อตนเอง ครอบครัว อย่างไร และให้ทุกคนก�ำหนดเป้าหมายตั้งสัจจะของตนเองว่า เราจะปรับปรุงตัวเองอย่างไรเพื่อร่วมกันพัฒนาตนเอง ไปสู่ความเป็นเยาวชนพอเพียง(เปิดเพลงอยู่อย่างพอเพียง) (https:// www.youtube.com/watch?v=0wnLJ0op8Ugเชิญชวนให้นักเรียนร่วมกันร้องเพลง (ใช้เวลา ๑๒ นาที ) ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด ๓.๑ ให้นักเรียนสรุปข้อคิดการด�ำเนินชีวิตพอเพียงของบุคคลต้นแบบจากสื่อข้อ ๒.๔ หลังจากนั้นให้ตัวแทนออก มาน�ำเสนอ และให้นักเรียนเขียนMind map แนวทางสู่ความพอเพียงในชีวิตตนเอง ในใบงาน ดี-ที่ได้รู้ (ใช้เวลา ๕ นาที )
34
บทที่ ๒ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง อยู ่ อ ย่ า งพอเพี ย ง
ใบงานกิจกรรม
ชุด ดี-ที่ได้ท�ำ ดี-ที่ได้รู้ ชื่อ-นามสกุล..............................................................ห้อง...............................เลขที่............................................ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนออกแบบเขียน Mind map แนวทางสู่ความพอเพียงในชีวิตตนเอง ในใบงานที่ ๒ ชุด ดี-ที่ได้รู้ (ใช้เวลา ๕ นาที )
แนวทางสู่ความพอเพียง ในชีวิตตนเอง
๓.๒ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ (ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน) ๑) มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒) มีคุณธรรม ๓) มีความพอประมาณ ๔) มีเหตุผล ๕) มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๓ ให้นักเรียนท�ำใบงาน วิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน หลังจากด�ำเนิน การตามข้อ ๓.๒ พร้อมทั้งน�ำมาส่งในคาบต่อไปทั้งนี้ให้ครูผู้สอนเน้นย�้ำเรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
35
ใบงานกิจกรรม
การเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอนจากกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๕ ค� ำ ๕ ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
คุณธรรม
พอประมาณ
มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม มิติด้านวัฒนธรรม ขั้ น ที่ ๔ สรุ ป ประเมิ น ผล (ใช้ เ วลา ๑๕ นาที ) ๑.ประเมินผลงานนักเรียนจากใบงานดี-ที่ได้รู้ที่ ๑ และ ๒ ๒.ตรวจใบงานการวิเคราะห์เชื่อมโยง
36
บทที่ ๒ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง อยู ่ อ ย่ า งพอเพี ย ง
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
สมดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น พร้ อ มรั บ การ เปลี่ ย นแปลง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง อยู่อย่างพอเพียง คาบที่ ๒
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ การน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้สร้างภูมิคุ้มกันในการใช้สื่อและเทคโนโลยี ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม (ใช้ เ วลา ๕ นาที ) ๑.๑ ครูและนักเรียน ร่วมท�ำกิจกรรมร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี https://www.youtube.com/watch?v=c0OKIrtRYbQ) (ใช้เวลา ๒.๐๐ นาที ) ๑.๒ นักเรียนทบทวนความหมายของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยให้นักเรียนอ่านข้อความจากสื่อภาพ (ใช้เวลา ๓ นาที) “เศรษฐกิจพอเพียง เป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็มและลืมเสาเข็มเสียด้วยซ�้ำไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากวารสารชัยพัฒนา ฉบับประจ�ำเดือนสิงหาคม๒๕๔๒ ๑.๓.นักเรียนทบทวนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วยสื่อภาพ ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน ๑) มีความรู้ (รอบรู้ รอบครอบ ระมัดระวัง) ๒) มีคุณธรรม ๓) พอประมาณ ๔) มีเหตุผล ๕) มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง ขั้ น ที่ ๒ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม (ใช้ เ วลา ๓๐ นาที ) ๒.๑ ครูบอกจุดประสงค์ของการอบรมคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง ในช่วงที่ ๒ คือการสร้างภูมิคุ้มกันในการใช้สื่อ เทคโนโลยี อย่างรู้เท่าทัน ในหัวข้อ สื่อสารไร้สาย พัฒนาคนได้เริ่มต้นที่ใจ ๒.๒ ครูแบ่งสมาชิกออกเป็น ๑๒ กลุ่มๆ ละเท่าๆกัน แจกโปสเตอร์ชุดสื่อสารไร้สาย พัฒนาคนได้เริ่มต้นที่ใจ ให้กลุ่มละ ๑ ชุด และมอบหมายให้นักเรียนศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลถอดบทเรียนจากภาพในโปสเตอร์ จากภาพคือสถานการณ์ อดีต ปัจจุบัน อนาคต โดยใช้ภาพเหตุการณ์ในโปสเตอร์คือเหตุการณ์ ณ ปัจจุบัน โดยให้นักเรียนค้นหาว่าจากภาพอดีตจะเป็น อย่างไร จึงเกิดปัจจุบันอย่างนี้ และถ้าไม่ต้องการให้เกิดเหตุการณ์ปัจจุบันเหมือนในภาพ จะต้องท�ำอย่างไรโดยใช้ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง (ใช้เวลา ๑๕ นาที)
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
37
๒.๓ ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งผู้แทนออกมาน�ำเสนอการถอดบทเรียนชุดสื่อสารไร้สาย พัฒนาคนได้เริ่มต้นที่ใจ โดย ให้เวลา กลุ่มละ ๑ นาที (ใช้เวลา ๑๐ นาที) ๒.๔ ครู ใ ห้ นั ก เรี ย นดู สื่ อ youtube เรื่ อ งมหั น ตภั ย จากโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ https://www.youtube.com/ watch?v=0cZm3a2KZYw ( ใช้เวลา ๕ นาที) ๒.๕ ครูและนักเรียนสรุปผลกระทบจากการใช้โทรศัพท์มือถือร่วมกัน ๒.๖ ครูแจกแบบประเมินพฤติกรรมอยู่อย่างพอเพียงให้นักเรียนทุกคนท�ำ 38
บทที่ ๒ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง อยู ่ อ ย่ า งพอเพี ย ง
ใบงานกิจกรรม แบบประเมินคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง ชื่อ......................................................นามสกุล.............................................ห้อง..................เลขที่..................... เกณฑ์ ก ารประเมิ น ระดั บ คุ ณ ภาพ ๔ หมายถึง ดีมาก ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง พอใช้ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง
ผ่าน
ปรับปรุง
พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคุณภาพ๔ ระดับคุณภาพ๓ ระดับคุณภาพ๒ ระดับคุณภาพ๑ ๑.ใช้ ท รั พ ย์ สิ น ของตนเองเช่ น เงิ น เครื่องใช้อย่างประหยัดคุ้มค่าและเก็บดูแล รักษาอย่างดี รวมทั้งการใช้อย่างเหมาะสม ๒.ใช้ ท รั พ ยากรส่ ว นรวมอย่ า งประหยั ด คุ้มค่าและเก็บรักษาอย่างดี ๓.ปฏิบตั ติ นและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล ๔.ไม่เอาเปรียบผู้อื่น ไม่ท�ำให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้อภัยเมื่อผู้อื่นกระท�ำผิดพลาด ๕.วางแผนการเรี ย น การท� ำ งานและ การใช้ ชี วิ ต ประจ� ำ วั น บนพื้ น ฐานความรู ้ ข้อมูล ข่าวสาร ๖.รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ สภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัวเพื่ออยู่ ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข รวมคะแนน
ลงชื่อ............................................ครูที่ปรึกษา (.....................................................)
ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด ๓.๑ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ ( ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน ๑) มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒) มีคุณธรรม ๓) มีความพอประมาณ ๔) มีเหตุผล ๕) มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ) ๓.๒ การวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ขั้ น ที่ ๔ สรุ ป ประเมิ น ผล ๔.๑ สังเกตติดตามพฤติกรรมการด�ำเนินกิจกรรมตามแผนเรื่องการสื่อสารไร้สาย พัฒนาคนได้เริ่มต้นที่ใจ ๔.๒ ตรวจแบบประเมินพฤติกรรมอยู่อย่างพอเพียง ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
39
บันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๑. ผลการจัดกิจกรรม ๑.๑ จุดเด่นของกิจกรรม…………………….................................…………………………………………………………………… ……………………….............................................................…................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๑.๒ ปัญหาอุปสรรค…………………….................................………………………………………………………………………… ………………….............................................................…........................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๒. แนวทางในการแก้ไขปัญหาและพัฒนากิจกรรม…………………….................................……………………………………… …………………………………………………….............................................................…................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๓. ข้อเสนอแนะอื่นๆ…………………….................................…………………………………………………………..…………………… …………….............................................................….............................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ลงชื่อ………………...………………………………ผู้จัดกิจกรรม (……………………………………………………) วันที่……………เดือน……………….พ.ศ..................
40
บทที่ ๒ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง อยู ่ อ ย่ า งพอเพี ย ง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง มีจิตสาธารณะ
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
41
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง จิตสาธารณะ หลั ก สู ต ร
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
จ� ำ นวน ๓ คาบ
วั ต ถุ ป ระสงค์ ๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ข้อที่ ๘ ด้านจิตสาธารณะ ๒. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงประโยชน์ของส่วนรวมของสังคม และประเทศชาติ ๓. เพื่อให้นักเรียนเกิดจิตสํานึก ในการบําเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ๔. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน ความรอบรู้ คุณธรรม พอประมาณ มีเหตุผลและมี ภูมิคุ้มกัน กลุ ่ ม ผู ้ เ ข้ า อบรม นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ วิ ท ยากร ครูในโรงเรียน แกนน�ำครอบครัวพอเพียง วิทยากรในชุมชน เนื้ อ หาสาระ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์เป็นกระบวนการจัดกิจกรรมในลักษณะส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา ตนเองตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยค�ำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เน้นให้ความ ส�ำคัญทั้งความรู้ และคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมอาสาพัฒนาหรือกิจกรรมสร้างสรรค์สังคมโดย นักเรียนสามารถดําเนินการด้วยตนเองในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม ความดี งาม ความเสียสละ และมีจิตสาธารณะโดยมีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และบุคคล ส�ำคัญในสังคมเป็นต้นแบบ ผลการเรี ย นรู ้ ที่ ค าดหวั ง นักเรียนได้น�ำค�ำสอนของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มาใช้ในการด�ำเนินชีวิต เกิดคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้านจิตสาธารณะ สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้และค�ำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง สื่ อ และอุ ป กรณ์ ก ารเรี ย นการสอน ๑. ข้อมูลข่าวสารทางสื่อ จากหนังสือพิมพ์ สื่อออนไลน์ โทรทัศน์ วิทยุการท�ำความดีของคนทั่วไป เช่น การช่วยเหลือ สุนัขที่ถูกรถชนของนักเรียน ข่าวการช่วยเหลือคนออกจากรถยนต์ที่ไฟไหม้ ๒. การน�ำเสนอ โปรแกรม power point เรื่องหลักการด�ำเนินชีวิต ๓. ใบงานเรื่อง การเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน ๔. โฆษณา ไทยประกันชีวิต เรารักในหลวง Follow the Father https://www.youtube.com/watch?v=lJglKv98yU0 ๕. Thai Life Insurance - Melody of Life https://www.youtube.com/watch?v=Yk5vDet2_5w&list=PLUA6ncphYv-3p-YN8xWD9sBiCAWGG0D6J&index=11
42
บทที่ ๓ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ
๖. อยากให้ทุกคนทั้งโลกได้ดูคลิปนี้!! https://www.youtube.com/watch?v=Pk4NHmiaHb0 ๗. โฆษณาไทยที่คุณดูแล้วต้องเสียน�้ำตา โอเลี้ยง เพื่อนที่จะอยู่กับคุณตลอดไป https://www.youtube.com/ watch?v=x1S-0aByZss ๘. คลิปสุดประทับใจ เด็กช่วยหมาจนตัวเองมอมแมม https://www.youtube.com/watch?v=WdOZjy4o8nk ๙. วีรบุรุษชีวิตจริง - น�้ำใจจากมนุษย์สู่มนุษย์ – คลิปสุดซึ้งการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ https://www.youtube.com/ watch?v=YNKkNhQJfOE ๑๐. “นางฟ้าชุดนักเรียน” ช่วยหมาถูกรถชนกลางถนน https://www.youtube.com/watch?v=xGwBiMiJoqg ๑๑. จิ ต อาสาเด็ ก เก็ บ ขยะสนามหลวง | 23-10-59 | น้ อ มถวายบั ง คม https://www.youtube.com/ watch?v=ZhR0Hw1oRpc ๑๒. โฆษณาซึ้ง สุดประทับใจ my angel “ย่ายิ้ม”https://www.youtube.com/watch?v=ocSOkDK2pj4 ๑๓. Hero ของคนไทย ช่ ว ยคู ่ รั ก ชาวต่ า งชาติ อ อกจากโคลนดู ด ที่ ก ระบี่ https://www.youtube.com/ watch?v=gRYd-jMYi5Y ๑๔. ปรบมือดังๆ!พยาบาลสาวไทยสร้างชื่อ ช่วยปั๊มหัวใจผู้ป่วยหมดสติกลางสถานีรถไฟในญี่ปุ่นhttps://www.youtube.com/watch?v=H244asCnv8g&spfreload=10 ๑๕. ผู้หญิงคนนี้เปลี่ยน “ค�ำพูด” ที่ป้ายชายขอทาน https://www.youtube.com/watch?v=PmsXto0bBLY ๑๖. Clip เพลง ผู้ปิดทองหลังพระ ตามรอยพระราชา พระราชาในนิทาน ความฝันอันสูงสุด
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
43
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง จิตสาธารณะ คาบที่ ๑
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ การสร้างแรงบันดาลใจ ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม (ใช้ เ วลา ๑๐ นาที ) ๑.๑ ครูและนักเรียนร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี / เพลงที่เกี่ยวข้องกับในหลวงรัชกาลที่ ๙ (https://m.youtube./watch?v=u0ivHKBVf9Q#) ๑.๒ ครูสนทนากับนักเรียน เกี่ยวกับข่าวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เช่น ข่าวการช่วยเหลือของคนในสังคมทั่วไป (ตาม สถานการณ์ที่เกิดขึ้น) ที่นักเรียนได้ประสบมาในช่วงวันหยุด/ให้ดูภาพข่าวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ เพื่อเป็นการสร้างความ สนใจและเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดกระบวนการคิด ๑.๓ ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นต่อเหตุการณ์นั้นๆ และให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน ขั้ น ที่ ๒ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม ๒.๔ ครูถามนักเรียนถึงค�ำว่า อุดมคติ และอุดมการณ์ คืออะไร เมื่อนักเรียนตอบค�ำถามดังกล่าวแล้ว ครูได้ท�ำเฉลย ขึ้น power point ความหมายของอุดมคติ และอุมการณ์
44
บทที่ ๓ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ
๒.๕ ครูน�ำเสนอ power point เรื่องหลักการด�ำเนินชีวิต โดยในแต่ละตอนจะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตของบุคคลต่างๆ ในสังคมไทยและของโลก (ใช้เวลา ๑๕ - ๒๐ นาที) จากนั้นให้ศึกษาเอกสารประวัติของบุคคลเหล่านั้นมาวิเคราะห์ ( ใบความรู้ ๑)
ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด ๓.๑ ครูน�ำเสนอ power point อ่านประวัติของบุคคลในเอกสารจบแล้ว คุณครูตั้งประเด็นค�ำถามกับนักเรียนเกี่ยว กับบุคคลที่นักเรียนสนใจ ว่าบุคคลใดที่เป็นต้นแบบแก่นักเรียน และเหตุผลที่ประทับใจ เพื่อเป็นการสร้างแรงบันดาลใจแก่ นักเรียน (ใช้เวลา ๒๐ นาที) ๓.๒ นักเรียนบันทึกลงในใบงาน (แบบบันทึกบุคคลที่เป็นต้นแบบด้านจิตอาสา) ๓.๓ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ (ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน) ๑) มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒) มีคุณธรรม ๓) มีความพอประมาณ ๔) มีเหตุผล ๕) มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๔ ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน พร้อมทั้งน�ำมาส่งในคาบ ต่อไปทั้งนี้ให้ครูผู้สอนเน้นย�้ำเรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ใบงาน) ขั้ น ที่ ๔ สรุ ป ประเมิ น ผล ๔.๑ ตรวจใบงาน (แบบบันทึกบุคคลที่เป็นต้นแบบด้านจิตอาสา) ๔.๒ สังเกตการสนทนาและการแสดงความคิดเห็น สถานการณ์ที่เกิดขึ้น ที่นักเรียนได้ประสบมาในช่วงวันหยุด/ให้ดู ภาพข่าวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ เพื่อเป็นการสร้างความสนใจและเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดกระบวนการคิด ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
45
ใบความรู้ที่๑
๒๔๙๒ สืบ นาคะเสถียรเกิดเมื่อวันเสาร์ที่ ๓๑ ธันวาคม ที่ต�ำบลท่างา อ�ำเภอเมืองจังหวัด ปราจีนบุรี เป็นลูกของนาย สลับ นาคะเสถียร อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี และนางบุญเยี่ยม นาคะเสถียร มีพี่น้องทั้งหมดสามคน ๒๕๐๒ สืบมีนิสัยท�ำอะไรมักจะท�ำให้ได้ดีตั้งแต่เด็ก และเมื่อจบประถม ๔ สืบได้ย้ายไปเรียนโรงเรียนเซ็นต์หลุยส์ จังหวัด ฉะเชิงเทรา เป็นนักเป่าทรัมเป็ตมือหนึ่ง และนักวาดภาพฝีมือดีของโรงเรียน ๒๕๑๐-๒๕๑๔ สืบอยากเรียนสถาปัตยกรรมเพราะชอบด้านศิลปะ แต่มาสอบติดคณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ รุ่นที่ ๓๕ ๑๕๑๖-๒๕๑๗ เมื่อส�ำเร็จการศึกษาได้เข้าท�ำงานที่ส่วนสาธารณะการเคหะแห่งชาติ และไปศึกษาต่อระดับปริญญา โท สาขา วนวัฒน์วิทยา คณะวนศาสตร์ ๒๕๑๘ สอบเข้ากรมป่าไม้ได้ แต่เลือกที่จะมาท�ำงานที่กองอนุรักษ์สัตว์ป่าโดยไปประจ�ำที่เขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่า เขา เขียว-เขาชมพู่จังหวัดชลบุรี ๒๕๒๒ ได้รับทุนจาก British Council ไปเรียนปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศอังกฤษในสาขาอนุรักษ์วิทยา ๒๕๒๔ ด�ำรงต�ำแหน่งหัวหน้าเขตห้ามล่าสัตว์ป่าบางพระ และเริ่มงานวิจัยชิ้นแรก คือการศึกษาการท�ำรังวางไข่ของนก บางชนิด ที่อ่างเก็บน�้ำบางพระ จังหวัดชลบุรี ๒๕๒๘ เดินทางไปท�ำวิจัยเรื่องกวางผา กับดร.แซนโดร โรวาลี ที่ดอยม่อนจองในบริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ และเกิดเหตุการณ์ไฟไหม้ป่า จนเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่าเสียชีวิต สร้างความสะเทือนใจให้แก่สืบมาก ๒๕๒๙ หัวหน้าโครงการอพยพสัตว์ป่าในเขื่อนเชี่ยวหลาน จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีสัตว์นับพันตัวได้รับความช่วยเหลือ แต่สืบรู้ดีว่ามีสัตว์อีกนับจ�ำนวนมหาศาลที่ตายจากการสร้างเขื่อน และในระหว่างนั้น สืบได้ค้นพบรังนกกระสาคอขาวปาก แดงครั้งแรกในประเทศไทย ๒๕๒๐ สืบได้เปลี่ยนบทบาทจากนักวิชาการไปสู่นักอนุรักษ์ โดยเข้าร่วมต่อสู้คัดค้านการสร้างเขื่อนน�้ำโจน จังหวัด กาญจนบุรี สืบชี้ให้เห็นถึงบทเรียนจากการที่มีสัตว์จ�ำนวนมาก ล้มตายหลังจากการสร้างเขื่อนเชี่ยวหลาน สืบเริ่มต้นอภิปราย ทุกครั้งว่า “ผมขอพูดในนามของสัตว์ป่า” ๒๕๓๑ สืบและเพื่อนอนุรักษ์ออกโรงคัดค้านการที่บริษัทไม้อัดไทยจะขอสัมปทานท�ำไม้ ที่ป่าห้วยขาแข้ง สืบได้อภิปราย ว่า “คนที่อยากอนุญาตให้ท�ำไม้ก็เป็นกรมป่าไม้ คนที่จะรักษาก็เป็นกรมป่าไม้เหมือนกัน” ๒๕๓๒ สืบได้รับทุน เรียนต่อปริญญาเอกที่ประเทศอังกฤษ แต่ตัดสินใจเข้ารับต�ำแหน่งหัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง สืบพบปัญหาต่างๆมากมายในห้วยขาแข้ง อาทิ ปัญหาการตัดไม้ท�ำลายป่า การล่าสัตว์ของบุคคลที่มีอิทธิพล เจ้า หน้าที่พิทักษ์ป่าถูกยิงเสียชีวิต ปัญหาความยากจนของชาวบ้านรอบป่า และที่ส�ำคัญคือปัญหาเหล่านี้ไม่เคยได้รับความสนใจ จากผู้ใหญ่เลย สืบจึงทุ่มเทเขียนรายงานน�ำเสนอยูเนสโก เพื่อพิจารณาให้ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรและห้วยขาแข้งเป็นมรดกโลก อัน เป็นสิ่งค�้ำประกันให้พื้นที่แห่งนี้ได้รับการคุ้มครองเต็มที่ ๑ กันยายน ๒๕๓๓ สืบสะสางงาน และเขียนพินัยกรรมไว้เรียบร้อย ก่อนกระท�ำอัตวิบาตรกรรม เพื่อเรียกร้องให้สังคม และราชการหันมาสนใจปัญหาการท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติ อย่างจริงจัง 46
บทที่ ๓ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ
๑๘ กันยายน ๒๕๓๓ ผู้ใหญ่และพ้องเพื่อนนักอนุรักษ์ ได้ร่วมกันก่อตั้งมูลนิธิสืบนาคะเสถียร เพื่อสืบทอด เจตนารมณ์ของสืบ ๒๖ เมษายน ๒๕๓๖ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จพระราชด�ำเนินมาที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง เพื่อ ทรงเปิดอนุสรณ์สถนสืบนาคะเสถียร ๒๕๔๒ มี การส�ำรวจความคิดเห็นของประชาชนทั่วประเทศว่า ในรอบ ๕๐ ปี ท่านเสียดายการจากไปของสามัญชน ผู้ใดมากที่สุด ปรากฏว่าสืบ นาคะเสถียร ติดอับดับที่ ๒ ที่มาhttp://www.seub.or.th/index.php?option=com_content&view=category&id=10&layout อ.นภาวรรณ จินตชิน ผู้เรียบเรียง
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
47
‘เภสั ช กรยิ ป ซี ‘ดร.กฤษณา ไกรสิ น ธุ ์ ’ ‘บุ ค คลแห่ ง ปี เ อเชี ย ’ นั ก สู ้ เ อดส์ ชื่อยาต้านไวรัสเอดส์อย่างซีโดวูดีน หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เอแซดที และ จีพีโอเวียร์ เป็นที่รู้จักในสังคมไทยมาระยะหนึ่ง แล้ว ซึ่งยานี้คิดค้นและผลิตโดยเภสัชกรไทย ขายโดยองค์การเภสัชกรรมของไทย ท�ำให้ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อยาจากต่างชาติ ได้ถึง ๒๖ เท่า โดยบุคคลที่อยู่เบื้องหลังความส�ำเร็จนี้ เมื่อหลายปีก่อนได้เดินทางไปถ่ายทอดการผลิตยาในหลายประเทศใน ทวีปแอฟริกา จนได้รับฉายา “เภสัชกรยิปซี” เจ้าของฉายา “เภสัชกรยิปซี” คนที่ว่านี้ ก็คือ “ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์” ซึ่งล่าสุดได้รับรางวัล “บุคคลแห่งปีของเอเชีย ประจ�ำปี ค.ศ. ๒๐๐๘” จากนิตยสารรีดเดอร์ส ไดเจสท์ ในฐานะที่เป็นบุคคลที่ทุ่มเทท�ำงานอย่างมิรู้จักเหน็ดเหนื่อย เพื่อผลัก ดันให้ผู้ป่วยยากไร้ทั่วโลกมีโอกาสได้ใช้ยารักษาโรคเอดส์ เปิดฉากบทสนทนากับทีม “วิถีชีวิต” ถึงเหตุผลการลาออกจากต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา องค์การ เภสัชกรรม ของ ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๕ เจ้าตัวบอกว่า ก็เพื่อไปช่วยคนที่แอฟริกาตามสัญญา เพราะประเทศไทย ไปประกาศในที่ประชุมองค์การอนามัยโลก เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๕ ว่าเราจะไปช่วยเขา แต่นักการเมืองซีกรัฐบาลที่เกี่ยวข้องตอนนั้น ประกาศเสร็จแล้วก็แล้วไป กลายเป็นสัญญาปากเปล่า ทีนี้คนแอฟริกันที่รู้จักกันเขาก็ถามว่าเมื่อไหร่จะไปสักที ก็รู้สึกอายแทน เมืองไทย ก็เลยลา ออกดีกว่า แล้วก็ไปช่วยเขาเอง”ในประเทศไทยผู้ป่วยโรคเอดส์เยอะแยะ แต่เราก็ช่วยแล้ว ท�ำยาแล้ว และ คนไทยได้ใช้กันหมดแล้ว เราก็เลยไป และคิดว่าตัวเองมีความหมายกับที่อื่นมากกว่า เขาต้องการเรามากกว่า ไปเพราะว่าอยาก ไป และชอบทวีปนั้นมาตั้งแต่เรียนหนังสือที่อังกฤษแล้ว มีเพื่อนชาวแอฟริกันเยอะ รูมเมท (เพื่อนร่วมห้อง) เป็นทั้งชาวไนจีเรีย และอาหรับ ก็รู้สึกมีความผูกพันกับพวกเขา”ดร.กฤษณาบอกต่อไปว่า ที่ไปก็เป็นการไปตามสัญญา ไปรักษาสัญญา เพราะว่า เป็นคนเขียนโครงการนี้ขึ้นมากับมือ แล้วเสนอขึ้นไปตามล�ำดับงาน ก็มีการไปประกาศในที่ประชุมองค์การอนามัยโลก ทุกคน ก็ชื่นชมตบมือกันใหญ่ แต่เอาเข้าจริงคนพูดก็พูดไป แต่ตนเป็นคนท�ำ จึงรู้สึกว่าต้องรับผิดชอบ และก็เต็มใจที่จะไป ส่วนงานที่ องค์การเภสัชกรรมนั้นไม่ห่วง เพราะมีคนพร้อมที่จะสานต่อได้อย่างดี โดยเฉพาะเรื่องยาต้านไวรัสเอดส์ “ไม่ได้ยึดติดกับต�ำแหน่ง กับเงินเดือน โชคดีที่ไม่ได้ยากจนเท่าไหร่ ก็สบาย จึงใช้เงินตัวเองไปได้ อีกอย่างมันอยู่ที่ ใจ ถ้าคิดว่าพอ เราก็ไม่จ�ำเป็นจะต้องใช้อะไรมากมาย” อดีตผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา องค์ การเภสัชกรรม บอกอีกว่า ที่เลือกประเทศในทวีปแอฟริกา เพราะเขา ยังมีปัญหาเรื่องผู้น�ำ ประชาชนยากจน และประเทศมหาอ�ำนาจเอาทรัพยากรไปหมด ท�ำให้ด้อยโอกาส ไม่มีจะกิน มีโรคภัย ไข้เจ็บต่าง ๆ ทั้งเอดส์ มาลาเรีย วัณโรค ในโลกนี้มีคนติดเชื้อเอดส์อยู่ ๓๘ ล้านคน อยู่ที่ทวีปนี้ ๓๐ ล้านคน คิดเป็นร้อยละ ๙๐ และแต่ละปีคนตายเพราะ มาลาเรีย ๒ ล้านคน ตายมากกว่าโรคเอดส์ ๒ เท่า ก็มองว่าถ้าไปอยู่ตรงนั้น น่าจะช่วยเขาได้มาก ประเทศแรกในดินแดนกาฬทวีปที่ ดร.กฤษณาได้เดินทางไปคือ คองโกประเทศที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ อย่างเพชรแทนทาลัมน�้ำมันฯลฯแต่ประชากรยากจนที่สุดเพราะถูกประเทศมหาอ�ำนาจเอารัดเอาเปรียบและมีการสู้รบใน ประเทศตลอดเวลา สิ่งที่ไปท�ำคือไปสร้างโรงงานยา ไปวาดแผนผังโรงงานยา และสอนผลิตยา จนเขาผลิตยาได้ สูตรยาที่ใช้ใน ทุกประเทศทวีปแอฟริกา คือสูตรเดียวกับในเมืองไทย แต่ต่างกันก็ที่วัตถุดิบ ซึ่ง ดร.กฤษณายังได้ไปลองที่ประเทศจีนอีกด้วย ซึ่งราคาถูกกว่าของประเทศไทยมากทีเดียว ดร.กฤษณาบอกว่า ไปช่วยคราวนั้น ค่าเดินทาง ค่าที่พัก และ อื่น ๆ ใช้ทุนส่วนตัวทั้งหมด เริ่มต้นที่เจ้าของโรงงานยา ในคองโกติดต่อมา เพราะอ่านเรื่องราวของตนและยาต้านไวรัสเอดส์ในนิตยสารภาษาเยอรมัน และเห็นว่ายานี้ดี ก็ติดต่อตน ขอให้ไปพบที่เมืองเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ โดยเจ้าของโรงงานบอกว่าจะช่วยพนักงานของเขาฟรี และช่วยคนพื้นเมือง ซึ่งก็ เห็นว่าเขาจะช่วยฟรี ก็เลยไป ตอนแรกก็ไม่มีใครช่วยเหลือ แต่พอผ่านไปหนึ่งปี รัฐบาลเยอรมันก็เข้ามาช่วยเหลือโรงงานใน การซื้อเครื่องจักรต่าง ๆ “อยู่ที่คองโก ๓ ปี ตรงนั้นรบกันตลอด เรื่องความปลอดภัยไม่มี บางทีเข้าประเทศนั้นไปท�ำงานแต่ตกเย็นมานอน 48
บทที่ ๓ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ
อีกประเทศหนึ่ง และเราก็ไม่รู้ว่าใครจะยิงเราเมื่อไหร่ ช่วงแรกมีคนคุ้มกันตลอด แต่ตอนหลังไม่มี เพราะถ้ามีมากจะยิ่ง กลายเป็นเป้า เรียกว่าตื่นเต้นจนไม่ตื่นเต้นแล้ว และเคยถูกจี้ตอนลงจากรถที่ประเทศไนจีเรีย ซึ่งไปท�ำโครงการให้สหภาพ ยุโรป (อียู) พอตอนหลังก็เฉย ๆ แล้ว คนที่จี้เขาต้องการเงินเท่านั้น ไม่ได้ต้องการชีวิต แต่ที่ประเทศอื่นอาจจะต้องการ ชีวิตก็ได้ ไม่รู้นะ เพราะว่าเราเป็นคนต่างชาติเข้าไปที่นั่น ที่นั่นไม่มีนักท่องเที่ยวเลย เพราะมันอันตรายมาก” ช่วงเวลาประมาณ ๕ ปี ดร.กฤษณาเดินทางไปทั่วทวีปแอฟริกา เพื่อช่วยการสร้างโรงงานผลิตยา สอนวิธีการผลิตยา ต้านไวรัสเอดส์ จนสามารถผลิตยา “แอฟริเวียร์” ในคองโกได้ส�ำเร็จ และยารักษามาลาเรีย “ไทยแทนซูเนท” ยาเหน็บทวาร “อาร์เตซูเนท” เพื่อรักษาโรคมาลาเรีย ในเด็ก ในประเทศแทนซาเนีย รวมถึงฟื้นฟูโรงงานยาในประเทศมาลีซึ่งใกล้ปิดกิจการ ได้ส�ำเร็จ ผลิตยารักษามาลาเรียระดับอุตสาหกรรมได้ ซึ่งท�ำให้กว่า ๑๐ ประเทศในแอฟริกา อาทิ อิริคเทอร์เรีย เบนิน รวันดา บุรุนดี ไลบีเรีย ได้รับอานิสงส์มากมายเหล่านี้เกิดจากพันธสัญญาที่เคยมีการประกาศไว้ในนามประเทศไทย บวกกับแรงบันดาล ใจที่สมัยเรียนที่อังกฤษ ดร.กฤษณามีเพื่อนร่วมห้องเป็นชาวแอฟริกัน และทวีปนี้ก็ธรรมชาติสวยงาม ทุกอย่างจึงลงตัว ตัดกลับมาที่ประวัติส่วนตัวของเภสัชกรไทยผู้นี้ ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ เป็นชาว อ.เกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานี ปัจจุบันอายุ ๕๕ ปี เรียนจบคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ไม่ได้จบแพทย์ก็ด้วยเหตุผลที่ว่าคะแนนไม่ถึงคณะแพทยศาสตร์ ขาดไปเพียง ๑ คะแนนเท่านั้น ส่วนปริญญาโท จบสาขาเภสัชวิเคราะห์ มหาวิทยาลัยสตราห์ ไคลด์ และปริญญาเอก สาขาเภสัชเคมี มหาวิทยาลัย บาธ ประเทศอังกฤษ จากนั้นรับต�ำแหน่งหัวหน้าภาควิชาเภสัชเคมี ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ๒ ปี ก่อนที่จะลาออกเพื่อ ท�ำงานที่องค์การเภสัชกรรม เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๒ และได้รับเลือกเป็นผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา ด้วยอายุเพียง ๓๗ ปี “จริง ๆ แล้วชอบศิลปะมาก อยากเป็นวาทยกร เพราะชอบ ดนตรี ชอบศิลปะ แต่งกลอน เขียนหนังสือ แต่พ่อ แม่เป็นหมอเป็นพยาบาล หากจะเลือกเรียนศิลปะก็รู้สึกยังไง ๆ อยู่ ใจจริงอยากเป็นคนคุมวงดนตรีมากกว่าเป็นเภสัชกร เพราะมันสนุกดี ได้คุมจังหวะ แต่ตอนนี้เราก็เหมือนกับคอนดักเตอร์น่ะแหละ เพราะเราไปคุมให้เขาสร้างโรงงาน ให้เขา ผลิตยา ก็พยายามปลอบใจตัวเอง เมื่อเราไม่ได้เป็นในสิ่งที่เราอยากจะเป็น เราก็ต้องชอบสิ่งที่เรามีอยู่ ต้องท�ำให้ดีที่สุด” ดร.กฤษณาบอกอีกว่า เมื่อมีเวลาก็จะฟังดนตรีของทุกประเทศ อย่างเอธิโอเปีย มาเลเซีย อารบิก เพลงไทย ฟังหมด นอกจากนี้สมัยอยู่โรงเรียนราชินีก็ได้เข้าร่วมวงดนตรีไทย เล่นระนาดเอกอยู่ถึง ๖ ปี ซึ่งท�ำให้ชอบดนตรี เมื่อไม่ได้ประกอบ อาชีพทางด้านนี้แล้ว ก็ไม่ได้เสียใจอะไร ท�ำอาชีพไหน ก็ต้องท�ำให้ดีที่สุด นอกจากแอฟริกา ดร.กฤษณายังเป็นศาสตราจารย์พิเศษที่มหาวิทยาลัยฮาบิน ประเทศจีน สอนวิชาสร้างโรงงาน สอน วิชาเครื่องมือ เพราะประเทศจีนก�ำลังจะสร้างโรงงานสมุนไพรเล็ก ๆ แห่งหนึ่ง ซึ่งก็ได้ไปช่วยเพิ่มเติมหลายอย่างให้ที่นั่น โดย สิ่งที่ไปช่วยนอกประเทศก็คือสิ่งที่เมืองไทยท�ำเสร็จหมดแล้ว “อย่าเพิ่งท้อแท้ ท้อถอย ไม่ว่ากับเรื่องอะไร ขอให้อดทน เรื่อง การเมืองก็อย่าไปอินกับสถานการณ์การเมืองมาก นัก อย่าเอามาเป็นทุกข์ เพราะเราท�ำอะไรไม่ได้ ท�ำหน้าที่แค่เป็นประชาชนที่ดีก็พอแล้ว”...เป็นค�ำทิ้งท้ายฝากถึงเพื่อนคน ไทย ก่อนจะปิดฉากบทสนทนา ของ “ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์””เภสัชกรยิปซี” เลือดไทยแท้ !!. รางวัลแห่งความภูมิใจกว่า ๓๐ ปีแห่งการเรียนรู้ การท�ำงาน รวมถึงการอุทิศชีวิตให้กับสังคม ท�ำให้ ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ ได้รับรางวัลมากมาย อาทิ รางวัลนักวิทยาศาสตร์โลก (Global Scientist Award) ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๔๗ จาก Letten Foundation ประเทศนอร์เวย์, ผู้หญิงคนแรกที่ได้รับปริญญาเอกกิตติมศักดิ์ สาขาวิทยาศาสตร์ จาก Mauny Holly Oke College, USA รวมถึงปริญญากิตติมศักดิ์อีกไม่รู้กี่ใบต่อกี่ใบ เรื่องราวของ ดร.กฤษณา ได้รับความสนใจจากสื่อต่างประเทศ จนถูกน�ำไปสร้างเป็นภาพยนตร์สารคดี ความยาว ๔๕ นาที เรื่อง A Right to Live-AIDS medication for Millions (๒๐๐๖) ได้รับรางวัลจากเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติ เมืองคานส์ และยังถูกน�ำไปสร้างเป็นละครบรอดเวย์ ชื่อ Cocktailแต่เมื่อถ้าถามว่ารางวัลไหน ที่ภูมิใจที่สุด ดร.กฤษณาบอก ว่าคือ รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นของโรงเรียนราชินีฯ ซึ่งที่ภูมิใจมากเพราะโรงเรียนสอนตนเองมาดี สอนให้เข้ากับคนได้ สอนให้มี มนุษยสัมพันธ์กับคน ไม่ได้สอนแต่วิชาความรู้ให้ ซึ่งคนเราต้องมี หลาย ๆ ด้านประกอบกัน ไม่ใช่ว่าเก่ง...แต่เอาตัวไม่รอด ต้อง มีน�้ำใจ นี่คือสิ่งที่ภูมิใจที่สุดไม่ว่าใครจะถาม โดยที่รางวัลนี้เป็น เข็มอักษร สผ.ประดับเพชรอายุกว่า ๕๐ ปีแล้ว เพิ่งจะมาได้รับ ดูเหมือนไม่มีอะไร แต่คนเราความภูมิใจต่างกัน เราเหมือนเป็นโมเดล เป็นไอดอลให้เด็ก ๆ ส่วนตัวมีความภูมิใจในโรงเรียน แห่งนี้เสมอ และความคิดดี ๆ ยังได้รับการปลูกฝังอย่างดีจากคนในครอบครัวด้วย โดยเฉพาะอิทธิพลความคิดจาก คุณ ยาย เยื้อน วิชัยดิษฐ์ ซึ่งเป็นแม่ชี ที่สอนให้ท�ำดีทุกครั้งที่มีโอกาส ดร.กฤษณากล่าวพร้อมทั้งบอกว่า เคยได้รางวัลเป็นเงินเป็นทอง เยอะ ๆ แต่ก็เฉย ๆ ก็บริจาคไป และไปที่แอฟริกา หรือไปท�ำงานที่ไหน ก็จะไปตั้ง มูลนิธิกฤษณา ไกรสินธุ์ แล้วก็เอาเงินจาก ยอดขายยามาเข้ามูลนิธิฯ เพื่อจะช่วยเด็กก�ำพร้าที่พ่อแม่ตายเพราะเอดส์ และเด็กก็ติดเอดส์ด้วย ซึ่งเด็กพวกนี้น่าสงสารมาก สุภารัตน์ ยอดศิริวิชัยกุล / วิภาพร เปลี่ยนเจริญ : รายงานที่มา www.dailynews.co.th อ.นภาวรรณ จินตชิน ผู้เรียบเรียง ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
49
ปิดต�ำนาน หมอห้าบาท สิ้น รศ.นพ.สภา ลิมพาณิชย์การ ลูกศิษย์เล่า อาจารย์ขออยู่แค่ในหลวงจากไป เมื่อวันที่ ๙ พ.ย. เวลา ๒๑.๕๗ น. สิ้นใจอย่างสงบที่รพ.ศิริราช ๑. ประวั ติ ก ารศึ ก ษา พ.ศ. ๒๔๙๒ เตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนเซ็นต์คาเบรียล พ.ศ. ๒๕๐๒ แพทยศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ๒๕๐๗ ประกาศนียบัตร Art as Applied to Medicine, The Johns Hopkins Hospital ประกาศนียบัตรนักประชาสัมพันธ์ฝ่ายอ�ำนวยการ รุ่นที่ ๗ พ.ศ. ๒๕๐๓ อาจารย์โท ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๑๑ อาจารย์เอก ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๑๖ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ รองศาสตราจารย์ ๒. นโยบายและอุ ด มการณ์ ใ นการท� ำ งาน เอาใจเขามาใส่ใจเรา รักงาน และมีความสุขกับการท�ำงาน หมั่นค้นคว้าหาความรู้ใหม่ๆอยู่เสมอ ๓. รางวั ล และความส� ำ เร็ จ ในชี วิ ต การท� ำ งาน ๑. สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระราชทานโล่เกียรติคุณ รางวัล “น�้ำใจงาม” ด้านการ สงเคราะห์ และพัฒนาคุณภาพชีวิต อันดับที่ ๑ ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๔๗ รายการคัดเลือกของผู้ชมรายการ “ฟ้าใส น�้ำใจ งาม” ๒. โรตารี่ ธนบุรี พ.ศ. ๒๕๑๘ ๓. ทีวีอาสา ๔. โรตารี่ สีลม พ.ศ. ๒๕๕๐ ๕. โรตารี่ เจริญนคร พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๒ ๖. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์มอบโล่เชิดชูเกียรติ ผู้น�ำคุณประโยชน์ดีเด่น แก่ผู้อยู่ในภาวะ ยากล�ำบาก ประจ�ำปี ๒๕๕๐ ๗. ศิษย์เก่าดีเด่นและศิษย์เก่าดียอดเยี่ยม พ.ศ. ๒๕๔๓ โดยสมาคมศิษย์เก่าเซนต์คาเบรียล โดยได้รับพระราชทาน เข็มที่ระลึกเพื่อเชิดชูเกียรติจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พ.ศ. ๒๕๔๔ ๘. ศิษย์เก่าแพทย์ศิริราชดีเด่น พ.ศ. ๒๕๔๖ สาขาการบริการชุมชนทั้งหมดได้จากการท�ำงานที่ส�ำนักงานแพทย์ ตลอดระยะเวลาเกือบปี ๕๐ ปี โดยเฉพาะการเรียนขานจากสื่อว่า “หมอ ๕ บาท” ๙. แม้จะเกษียณแล้ว แต่ได้รับความไว้วางใจให้เป็นที่ปรึกษาต่อ และสอนถ่ายภาพระบบร่างกายต่ออีก ๑๐ ปี ต่อ จากนั้น ๖ ปีหลัง ก็ยังได้รับเป็นที่ปรึกษาต่อถึงปัจจุบัน
50
บทที่ ๓ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ
๔. ทรรศนะต่ อ วงการวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี อยากให้ประชาชนทั่วไปรู้จักและเข้าใจวงการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากขึ้นกว่านี้ ทุกสิ่งทุกอย่างจะได้ด�ำเนินไป ได้อย่างสะดวก ๕. กิ จ การอั น เป็ น คุ ณ ประโยชน์ เ พื่ อ สั ง คม สาธารณกุ ศ ล “การท�ำความดีไม่มีเกษียณอายุ ทุกคนสามารถเริ่มท�ำดีตั้งแต่เกิดจนตาย” เป็นค�ำกล่าวถึงเรื่องการท�ำดีของ รศ.นพ. สภา ลิมพาณิชย์การ คุณหมอใจดีผู้เปิดคลินิก “แพทย์สภา” รับรักษาคนป่วยที่คิดค่ารักษาในราคาแสนประหยัดเพียง ๕ – ๗๐ บาท โดยเริ่มต้นเก็บเงิน ๕ บาท ส�ำหรับคนไข้ที่ปวดหัวตัวร้อนเป็นไข้หวัด หากไม่มีเงินจริงๆ ก็ไม่คิดเงิน หรือถ้ามีไม่พอให้ เท่าไหร่ก็เท่านั้น จนเป็นที่มาของฉายา “หมอ ๕ บาท” ปัจจุบัน คุณหมอสภามีอายุ ๗๙ ปี แม้ว่าจะเกษียณอายุมาแล้ว ๑๙ ปี แต่ด้วยความรักในวิชาชีพและความมีมนุษยธรรม อันเปี่ยมล้น คุณหมอสภาจึงไม่ยอมเกษียณตัวเองออกจากหน้าที่ ทั้งการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาโรงเรียนเวชนิทัศน์ หน่วยงาน ในสถานเทคโนโลยีการศึกษาแพทย์ศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล คุณหมอจะเดินทางมาท�ำงานที่ศิริราชตั้งแต่วัน จันทร์-ศุกร์ จนถึง ๕ โมงเย็น ก่อนจะขับรถไปเปิดคลินิกที่ซอยระนอง ๑ ถนนพระราม ๕ ปิดวันเสาร์และเปิดวันอาทิตย์ รศ.นพ.สภา เริ่มเปิดคลินิกส�ำนักงานแพทย์มาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๐๗ ตามค�ำชักชวนของเพื่อน แต่เมื่อท�ำไปได้สักพักหนึ่ง เพื่อนของคุณหมอสภาก็ขอถอนตัว คุณหมอจึงท�ำคลินิกนี้แต่เพียงผู้เดียว โดยรับรักษาโรคทั่วไป จะเก็บเงินเฉพาะค่ายาและ เวชภัณฑ์เท่านั้น โดยไม่คิดค่าวินิจฉัยโรค แต่ถ้าหากคนไข้ไม่มีเงินจริงๆ ก็ไม่คิดเงิน หรือหากมีไม่พอจะให้เท่าไหร่ก็ได้ เพราะ รู้สึกเห็นใจคนไข้ และไม่ต้องการให้ไปซื้อยารับประทานเอง ตามความเคยชินของคนไทยที่มักจะไปร้านขายยาโดยไม่มีใบสั่ง แพทย์ ผลเสียคือ ผู้ป่วยจะไม่รู้ว่าตนเองแพ้ยาชนิดนั้นหรือไม่ และจะท�ำให้ดื้อยาอีกด้วย “ผมจะแนะน�ำคนไข้ว่า ควรปฏิบัติตัวอย่างไรบ้างถึงจะหายป่วย บางทีก็ต้องบังคับให้คนไข้เชื่อฟัง เพราะจับได้ว่า กินยาไม่ครบ เลยต้องก�ำชับให้กินตามค�ำสั่ง ที่ผ่านมายังไม่มีผู้ป่วยได้ยาจากผมแล้วมีอาการดื้อยาหรือแพ้ยา และจะให้ยา กินไป ๒วันเท่านั้น เพราะไม่ต้องการให้เอายาไปทิ้งขว้าง เวลาจ่ายยาจะถามก่อนว่า มียาอะไรเหลืออยู่ที่บ้าน จะได้ไม่ให้ ยาซ�้ำกัน” ที่น่ายกย่องคือ คุณหมอสภาไม่เคยคิดถึงผลประโยชน์ว่าจะก�ำไรหรือขาดทุน เพราะมองว่าไม่ได้ลงทุนสูงเท่าคลินิก อื่นๆมีค่าใช้จ่ายแต่เพียงตัวยาเท่านั้น ที่จะสั่งซื้อจากบริษัทที่ได้ลิขสิทธิ์มาผลิตยาในไทย เวลาสั่งซื้อแต่ละครั้งจะสั่งจ�ำนวนมากๆ ซึ่งได้ราคาถูก ประหยัดเงินได้มาก แม้ในช่วงหลังๆ สั่งซื้อยาจ�ำนวนน้อยลง แต่บริษัทผลิตยาก็ยังขายในราคาเดิมเป็นการช่วย เหลือกัน เพราะทราบว่าคุณหมอไม่ได้ท�ำธุรกิจหวังผลก�ำไร แถมยังต้องถอนเงินบ�ำนาญส่วนตัวมาเป็นค่าซื้อยาให้คนไข้คลินิก ซึ่งคิดราคาตั้งแต่ ๕-๗๐ บาท “ผมไม่คิดว่า สิ่งที่ท�ำไปนั้นเป็นการช่วยเหลือ แต่ผมท�ำตามหน้าที่ของแพทย์ต่อคนไข้ เราก็ ต่างเป็นคนไทยด้วยกัน เวลาคนไข้มาหา ผมยังคิดว่าเป็นญาติพี่น้องกัน คุยกันได้ทุกเรื่อง เมื่อเรามีพอกินพอใช้ ก็แบ่งปันกัน ไม่เคยคิดเรื่องทรัพย์สินเงินทอง ว่าต้องสูญเสียไปมากน้อยเท่าไหร่ ถ้าเห็นคนไข้หายดี ก็ท�ำให้ผมมีความสุขแล้ว” หลายๆครั้งที่มีคนถามคุณหมอสภาว่าคุ้มไหม คุณหมอสภาจะตอบไม่ได้ว่าคุ้มหรือไม่ ก�ำไรหรือขาดทุน เพราะคุณหมอ รู้ดีว่าขาดทุนทุกวันไม่มากก็น้อย แต่คุณหมอก็ไม่ได้คิดอะไร กลับมองว่าตัวเองไม่ได้มีค่าใช้จ่ายอะไรมากนัก ลูกเต้าก็มีงานท�ำ ที่ดีแล้ว แม้จะมีแต่คนเตือนเรื่องขาดทุน แต่คุณหมอก็ยังไม่มีความคิดที่จะเลิกท�ำ ยังคงเป็นห่วงผู้ป่วย เวลาที่ยาหมดก็ต้องสั่ง ซื้อ เงินหมดก็จะถอนเงินบ�ำนาญมาใช้ ไม่เคยคิด ไม่เคยท�ำบัญชี จึงไม่รู้ว่าก�ำไรขาดทุนอย่างไร คุณหมอคิดแต่เพียงว่าตนไม่ ได้เดือดร้อนอะไรในเรื่องค่าใช้จ่าย ท�ำไปเรื่อยๆเท่าที่จะท�ำได้ คุณหมอมีความเห็นเกี่ยวกับเรื่องการท�ำความดีว่า เมื่อเราเกิด มาก็สามารถท�ำดีได้ตลอดเวลาจนกระทั่งไม่มีเรี่ยวแรงจะท�ำแต่เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนแปลงไป ก็ท�ำให้ผู้คนในสังคมนึกถึงตัวเอง มากขึ้น การช่วยเหลือกันน้อยลง มุ่งแต่จะเอาตัวเองให้รอดก่อน สภาพแวดล้อมและสถานการณ์ต่างๆ ก็มีส่วนท�ำให้คนเห็น แก่ตัวเพิ่มขึ้นอีกด้วย รศ.นพ.สภา มีความคิดเห็นต่อบุคลากรทางการแพทย์รุ่นใหม่ ที่ก�ำลังจะก้าวเข้ามาทดแทนคลื่นลูกเก่าว่า การท�ำความ ดีไม่สามารถบอกให้ท�ำกันได้ว่าท�ำอย่างไร แต่เราสามารถเริ่มต้นกระท�ำให้ดูเป็นตัวอย่างได้ ดังนั้น นักศึกษาแพทย์ควรเรียนรู้ จิตใจและวิถีปฏิบัติของคุณหมอท่านนี้ ไว้เป็นต้นแบบของผู้กระท�ำประโยชน์ต่อสังคม โดยไม่หวังผลตอบแทน ส่วน “จรรยา บรรณของแพทย์” ก็เหมือนอาชีพอื่นๆที่มีเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพสังคม จิตใจคนเราก็เปลี่ยนไป การช่วยเหลือกันมันน้อย ลง เรื่องคดีความระหว่างคนไข้กับหมอที่เกิดขึ้นมากในเวลานี้เป็นเพราะวิวัฒนาการที่เราก�ำลังวิ่งตามต่างประเทศ วิ่งตาม เทคโนโลยี สมัยก่อนคนไทยไม่กล้าฟ้องเรียกร้องค่าเสียหายกับหมอ แต่เดี๋ยวนี้เมื่อคนมีความรู้มากขึ้น สื่อน�ำเสนอข่าวมากขึ้น ก็เป็นเรื่องธรรมดาที่หมอจะถูกคนไข้ฟ้อง เพราะไปท�ำเขาเสียหายและยังเก็บค่ารักษาแพงอีก ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
51
คุณหมอยังให้ข้อสังเกตเกี่ยวกับสังคมไทยในอนาคตอีก ๑๐ ปีข้างหน้า จะขาดแคลนบุคลากรที่เป็นอาจารย์แพทย์ เพราะ “ปัจจุบันมีแพทย์ที่สนใจจะท�ำงานในสถาบันศึกษาน้อยลง เพราะการเป็นอาจารย์ต้องเสียสละเวลา ที่จะถ่ายทอด ความรู้ เอาใจใส่ในการสอน มุ่งมั่นที่จะศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ไม่ใช่ว่าทุกคนจะเป็นอาจารย์สอนได้ ขึ้นอยู่กับทักษะการ ถ่ายทอดความรู้ให้นักศึกษา รวมทั้งความรักในอาชีพแพทย์เป็นสิ่งส�ำคัญ อีกทั้งยังไม่มีเวลาเปิดคลินิกส่วนตัวหารายได้ มากเท่ากับแพทย์เฉพาะทาง” การกระท�ำของคุณหมอสภา ไม่เคยทวงบุญคุณ ไม่เคยประกาศยกย่องตัวเอง ว่าเป็นผู้กล้า วีรบุรุษที่เสียสละให้ชาติบ้าน เมือง แต่ไม่คิดว่าเป็นเพราะอุดมการณ์ใดๆ แต่มาจากจิตส�ำนึกของความเป็นมนุษย์ ผู้ที่คิดว่าเกิดมาแล้วควรท�ำเพื่อผู้อื่น ๖. ประวั ติ ก ารท� ำ งาน - ที่ปรึกษาสถานเทคโนโลยีการศึกษาแพทยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล - ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนเวชนิทัศน์จนถึงเดือนกันยายน ๒๕๓๗ - อาจารย์สอนวิชามหกายวิภาคศาสตร์ - อาจารย์สอนวิชาถ่ายภาพทางการแพทย์ - ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานถ่ายภาพทั่วไป, ถ่ายภาพ Micro และ Macro ที่มา มูลนิธิสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (มสวท.)กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อ.นภาวรรณ จินตชิน ผู้เรียบเรียง
52
บทที่ ๓ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ
ร้อยต�ำรวจเอกธรณิศฯ หรือผู้กองแคน เกิดเมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๒๐ ที่จังหวัดขอนแก่น เป็นบุตรชายของรอง ศาสตรจารย์ด็อกเตอร์เกรียงศักดิ์ ศรีสุข อดีตคณบดีคณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวย การศูนย์วิจัยน�้ำบาดาล ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี ส่วนมารดาคือ รองศาสตราจารย์ทันตแพทย์หญิงนิธิภาวี อดีตคณบดีคณะ ทันตแพทย์ศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ชีวิตในวัยเด็กของร้อยต�ำรวจเอกธรณิศเติบโตที่จังหวัดขอนแก่นพร้อมกับน้องชายเพียงคนเดียวคือนายแพทย์ธราธิป โดยบิดามารดาตั้งชื่อเล่นให้เขาว่า “แคน” ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีอันเป็นเอกลักษณ์ของแผ่นดินอีสาน แคนเริ่มต้นการศึกษาที่ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่นจนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ก่อนจะติดตามบิดาไปศึกษาต่อที่ประเทศแคนนาดาเมื่อปี ๒๕๓๓ เมื่อกลับมาเมืองไทยจึงเข้ารับการศึกษาต่อที่โรงเรียนขอนแก่นวิทยาจนกระทั่งถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ จึงไปสอบเข้า โรงเรียนเตรียมทหารเมื่อปี ๒๕๓๘ โดยเลือกเหล่าต�ำรวจด้วยความใฝ่ฝันว่าอยากจะเป็น ตชด. เพื่อรับใช้ชาติและปกป้อง คุ้มครองพี่น้องประชาชนซึ่งอยู่ในพื้นที่ห่างไกล รองศาสตรจารย์ด็อกเตอร์เกรียงศักดิ์ ซึ่งเดินทางมากรุงเทพเพื่อร่วมงาน “วันต�ำรวจ’ และบันทึกเทปรายการ “เจาะ ใจ’ ระหว่างวันที่ ๑๓-๑๔ ตุลาคมที่ผ่านมา ได้เล่าถึงเรื่องราวบางตอนของบุตรชายให้ผู้เขียนฟังว่า “สมัยนั้นนักเรียนวัยรุ่นในขอนแก่นจะรู้จักแคนมาก แคนเป็นคนรักเพื่อน ชอบการต่อสู้ผจญภัย เคยแอบไปชกมวยชิง รางวัลตามหมู่บ้านมา ๒-๓ ครั้ง จนหมอแจงซึ่งเป็นคุณแม่ตกใจ “ต่อมาแคนไปสอบเข้าโรงเรียนเตรียมทหาร โดยเลือกเหล่าต�ำรวจและสอบได้เป็นที่หนึ่งในส่วนของต�ำรวจท�ำให้ทุก คนในครอบครัวภูมิใจในตัวแคนมาก ระหว่างที่เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่น ๓๘ แคน ซึ่งมีคะแนนสอบยอดเยี่ยมได้รับการแต่งตั้ง ให้เป็นนายตอน ๔ ท�ำหน้าที่นักเรียนปกครองบังคับบัญชาดูแลรุ่นน้องและเพื่อน ๆ และเมื่อขึ้นเหล่าเป็นนักเรียนนายร้อยต�ำรวจ รุ่น ๕๔ แคนก็ได้เป็นนักเรียนบังคับบัญชา เป็นนักกีฬาหลายประเภท เป็นหัวหน้าชมรมยูโด นักแม่นปืน นักมวย ฯลฯ เหนือสิ่งอื่นใดก็คือ เขาเป็นที่รู้จักของรุ่นน้อง ๆ และรุ่นพี่ ๆ ในฐานะนักเรียนนายร้อยต�ำรวจที่เรียนเก่ง มีอุดมการณ์ และได้คะแนนสอบตอนเรียนจบในล�ำดับต้น ๆ ซึ่งมีสิทธิที่จะเลือกรับราชการที่ไหนก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นโรงพักในท้องที่ “เกรด A’ การเป็น “นายเวร” หรือนายต�ำรวจติดตามผู้บังคับบัญชาระดับสูง หรือแม้กระทั่งการลาไปศึกษาต่อต่างประเทศ แต่สิ่งที่แคน เลือกกลับกลายเป็นการหันหลังให้สิ่งเหล่านั้นอย่างคนมีอุดมการณ์ แรงกล้า เขาเลือกที่จะละทิ้งชีวิตแสงสีความศิวิไลซ์หรูหรา แบบ “สุขนิยม” ทั้งที่สามารถกระท�ำได้แล้วมุ่งหน้าไปสู่การใช้ชีวิตกลางป่าของล�ำเนาไพรในฐานะ “ต�ำรวจตระเวนชายแดน’ ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
53
แม้จะรู้อยู่แล้วชีวิตของ ตชด. หมายถึงชีวิตที่ต้องนอนกลางดินกินกลางทรายแวดล้อมไปด้วยความยากล�ำบาก แต่ สิ่งเหล่านั้นคือความเป็นไปที่จะท�ำให้ “ฝัน’ ของผู้พิทักษ์สันติราษฎร์หนุ่มในอันที่จะเสียสละตนเองเพื่อผู้อื่นเป็นความจริง “แคนพูดอยู่เสมอว่าถ้าเขาไม่ท�ำหน้าที่นี้แล้วใครจะท�ำ ถ้าคนหนุ่มทุกคนเอาแต่คิดถึงความสุขสบายโดยไม่เสียสละตนเองแล้ว ประเทศชาติจะมีใครที่ไหนคอยปกป้อง รองศาสตรจารย์ด็อกเตอร์เกรียงศักดิ์กล่าวถึงอุดมการณ์ความมุ่งมั่นของบุตรชายผู้จากไป “แคนจึงเลือกที่จะเป็น ตชด. และท�ำการฝึกฝนอย่างหนัก เพื่อให้ตนเองเป็น ตชด. ที่เก่งกล้ามีขีดความสามารถ ครบถ้วนพร้อมที่จะปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด” แม้จะมีชีวิตราชการค่อนข้างสั้นและต้องออกปฏิบัติราชการ สนามครั้งละ ๖ เดือนมาโดยตลอดแต่นายต�ำรวจ “ไฟแรง” อย่างแคนก็ใช้เวลาในช่วงสับเปลี่ยนก�ำลังสมัครเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตรพิเศษต่าง ๆ มากมาย อาทิ หลักสูตรการท�ำลายวัตถุระเบิดหลักสูตรการต่อต้านการก่อการร้าย หลักสูตรกระโดดร่ม แบบกระตุกเอง นอกจากนี้ ยังเข้ารับการฝึกหลักสูตรการรบพิเศษของนาวิกโยธินหรือที่รู้จักกันในนาม “รีคอน ซึ่งได้ชื่อว่า เป็นการฝึกที่เข้มข้นยากล�ำบากไม่น้อยไปกว่าหลักสูตร “นักท�ำลายใต้น�้ำจู่โจม” หรือมนุษย์กบ แคนได้เข้ารับการฝึก “มหา หิน” ของทหารนาวิกโยธินในปลายปี ๒๕๔๘ และเป็นนายต�ำรวจชั้นสัญญาบัตรเพียงหนึ่งเดียวที่ผ่านหลักสูตรนั้นท่ามกลาง สายตาชื่นชมของบรรดาครูฝึกและเพื่อนร่วมรุ่นรีคอน ๓๖ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นนาวิกโยธินที่ต่างพากันนับถือในความเป็น “นาย ต�ำรวจใจเพชร” ผู้มีความเข้มแข็งอดทนเป็นเลิศจนสามารถฝ่าฟันการฝึกจู่โจมและลาดตระเวนรบสะเทินน�้ำสะเทินบกไปได้ อย่างน่ายกย่องรองศาสตรจารย์ด็อกเตอร์เกรียงศักดิ์ เล่าต่อไปอีกว่า “แคนเป็นคนเสียสละ นึกถึงส่วนรวมมากกว่าส่วนตัวรักลูกน้องและเพื่อนร่วมงานมาก เขาเคยมาขอยืมเงินพ่อก้อน หนึ่งเพื่อน�ำไปเป็นกองกลางไว้ใช้จ่ายในทีมของเขา แคนบอกว่าลูกน้องของเขาเงินเดือนน้อยและมีครอบครัวต้องดูแล บาง ครั้งการเบิกจ่ายเบี้ยเลี้ยงหรือเงินสวัสดิการต่าง ๆ อาจจะล่าช้าตามขั้นตอนของทางราชการ แคนก็จะให้ลูกทีมใช้เงินกอง กลางส่วนนี้ส�ำรองไปก่อน “หรือแม้แต่รถยนต์ที่พ่อซื้อให้ แคนก็น�ำไปใช้ที่ภาคใต้เพื่อให้เป็นรถใช้สอยส�ำหรับการปฏิบัติงานของหน่วยโดยไม่ ถือว่าเป็นของส่วนตัว แคนเคยมาขอเงินพ่อบอกว่าจะน�ำไปให้รุ่นพี่กับเพื่อนร่วมงานยืมซื้อปืนพกเป็นอาวุธส่วนตัวเพิ่มเติมไว้ ปฏิบัติงาน พ่อก็ให้ไป แคนท�ำทุกอย่างเพื่อคนอื่นมาโดยตลอดและมีความสุขที่จะท�ำเช่นนั้นเสมอมา สิ่งเดียวที่แคนไม่เคยท�ำ ก็คือการบอกกล่าวให้คนอื่นรู้ว่า แคนมาจากครอบครัวที่เพียบพร้อมสมบูรณ์ในทุก ๆ ด้าน’ ผู้เป็นบิดากล่าวด้วยแววตาที่บ่งบอกถึงความอาลัยที่มา http://www.iseehistory.com
54
บทที่ ๓ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ
สุ ด ยอดต� ำ รวจไทย! ๓๐ กว่ า ปี อุ ด มการณ์ ไ ม่ เ คยเปลี่ ย น : ร.ต.ต.วิ ชั ย สุ ริ ยุ ท ธ “ผมจะปลู ก ต้ น ไม้ ไ ปจนกว่ า ผมจะตาย” คุณยังจ�ำกันได้ไหมกับชายชื่อ “ดาบวิชัย นักปลูกต้นไม้” หรือ ด.ต.วิชัย สุริยุทธ คนต้นแบบที่ปลูกต้นไม้ ๒ ล้านต้น! เมื่อราวสิบปีที่แล้ว เขาโด่งดังจากการออกไปปลูกต้นไม้ตามที่รกร้างที่ว่างสาธารณะทุกๆวัน เริ่มมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๑ ปลูก เรื่อยมานับสิบกว่าปีคนจะรู้ซึ้งถึงความตั้งใจของเขา เพราะช่วยพลิกพื้นดินแห้งแล้งของอ�ำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ ที่ ขึ้นชื่อว่ากันดารและจนที่สุดในประเทศให้กลายเป็นอ�ำเภอที่ร�่ำรวยต้นไม้ ให้ความร่มเย็นหลากหลายชนิด เช่น ต้นตาล คูน ถ่อน ยางนา แค และต้นขี้เหล็ก “ผมจะปลูกต้นไม้ไปจนกว่าผมจะตาย” ค�ำพูดของดาบวิชัยจากหนังโฆษณาเครื่องดื่มยี่ห้อหนึ่ง ที่ถ่ายทอดชีวิตจริง ของนักปลูกต้นไม้ออกมาให้คนทั้งประเทศได้รู้จักจวบจน วันนี้ ดาบวิชัยมุ่งมั่นปลูกต้นไม้อย่างไม่เคยย่อท้อจึงท�ำให้เขาได้รับ รางวัล “ลูกโลกสีเขียว ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๔๕” จาก ปตท. และรางวัลอื่นๆ อีกมากมายจากหน่วยงานของรัฐและองค์กร ต่างๆ ตลอดหลายปีที่ผ่านมา ปัจจุบันดาบวิชัยเกษียณราชการมาได้ ๖ ปีแล้ว ด้วยวัยที่ย่างเข้า ๖๗ ปี ต�ำแหน่งสุดท้ายที่ราชการมอบให้เพื่อเป็น เกียรติยกย่องการท�ำความดี คือ ร.ต.ต.วิชัย สุริยุทธ แม้วันนี้จะไม่ติดยศดาบแล้วแต่เขาก็ยังเรียกตัวเองว่า “ดาบวิชัย” อยู่ดี เขาบอกกับเราอย่างภาคภูมิใจว่า “ถึงวันนี้ผมปลูกต้นไม้ไปกว่า ๓ ล้านต้นแล้วครับและอาจจะเป็นคนเดียวที่ปลูกต้นไม้ ได้มากที่สุดในโลกอีกด้วย ” ซึ่งไม่ผิดความจริงแน่น เพราะทุกวันนี้ดาบวิชัยยังออกไปปลูกต้นไม้ตามที่ต่างๆ ไม่ต�่ำกว่าวันละ ๓๐๐ – ๔๐๐ ต้นเช่นเคย ส่วนใหญ่จะปลูกจากเมล็ดพันธุ์ที่เก็บสะสมไว้จากต้นที่ปลูกมาก่อน เพื่อขยายพื้นที่สีเขียวให้กับโลก เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเขาจะเริ่มต้นการปลูกในวันที่ ๑ พฤษภาคมของทุกปี เพราะเป็นวันแรงงาน “ผมเป็นปฏิบัติกร(หมาย ถึงแรงงานท�ำด้วยมือและปฏิบัติการจริงๆ) ผู้ใช้แรงงานครับ” เขาให้เหตุผลไว้เช่นนั้นดาบวิชัยจะเตรียมเมล็ดพันธุ์ในหน้า แล้งแล้ว เริ่มปลูกในวันที่ ๑ พฤษภาคม ก่อนเข้าหน้าฝนปลูกไปเรื่อยๆ จนถึงปลายปีตามสภาพฟ้าฝนจนเข้าหน้าแล้ง ก็จะเริ่ม เก็บเมล็ดพันธุ์อีกครั้ง วนอยู่เช่นนี้มา ๒๕ ปีแล้ว วันนี้ดาบวิชัยไม่เพียงเป็นนักปลูกต้นไม้ แต่ยังใช้ประสลการณ์ที่สั่งสมมาตลอดชีวิตเป็นวิทยากรบรรยายเรื่องเศรษฐกิจ พอ เพียงรณรงค์การปลูกต้นไม้กับหน่วยงานต่างๆ เช่น ธกส. อบต. กองทุนฟื้นฟู ฯลฯ เป็นที่ปรึกษาผู้ว่าราชการจังหวัด ศรีสะเกษเป็นอาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยชีวิต เพื่อสร้างเศรษฐกิจพอเพียงให้อ�ำเภอปรางค์กู่อีกด้วย หาไม่ได้ง่ายๆเลย ที่ชีวิตคนๆ หนึ่งจะท�ำประโยชน์เพื่อสังคมได้มากมายเช่นนี้ จนสงสัยว่าเขาได้แรงบันดาลใจมาจาก ไหน “แนวคิดนี้ผมได้มาหลังจากที่เข้าร่วมอบรมโครงการแผ่นดินธรรม-แผ่นดินทองในปี ๒๕๓๐ – ๒๕๓๑ แผ่นดินธรรม คือเราอยู่กันด้วยความสงบ ไม่มีโจรผู้ร้าย ไม่มีการข่มเหงรังแกกัน แผ่นดินทองคือการที่เรามีทรัพยากรธรรมชาติและ สามารถน�ำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ในน�้ำมีปลาในนามีข้าว ห้วยหนองคลองบึงควรจะมีกุ้งหอยปูปลาอุดมสมบูรณ์ และใช้ แผ่นดินอย่างคุ้มค่า” จากการอบรมในครั้งนั้นดาบวิชัยจึงยึดอุดมการณ์ ๓ ข้อ เป็นเป้าหมายในชีวิตการด�ำเนินชีวิตและปฏิบัติเพื่อ สังคมตลอดมาคือ
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
55
๑. พึ่งตนเองอย่างมีศักดิ์ศรี โดยไม่เบียดเบียนใคร ๒. มีความขยันอย่างฉลาดและปราศจากอบายมุข ๓. เมื่อเห็นเพื่อนบ้านเป็นทุกข์ เป็นภารกิจที่เราต้องร่วมกันแก้ไขเพราะถ้าเรามีเพื่อนบ้านที่ดี บ้านเราก็ไม่จ�ำเป็นต้อง มีรั้วบ้าน แล้วเราก็จะมีความเข้มแข็ง และนี่คือพลังที่ผลักดันให้ดาบวิชัย พยายามขับเคลื่อนให้ชาวบ้านศรีสะเกษร่วมกันสร้างแผ่นดินธรรม-แผ่นดินทอง ภายใต้โครงการต่างๆ เช่น โครงการปลูกต้นยางนา การท�ำไร่นาสวนผสม เพราะการปลูกต้นไม้ไม่เพียงลดโลกร้อนแล้วยัง ช่วยแก้จนได้อีกด้วยนอกจากนี้ เขาได้ตั้ง “มหาวิทยาลัยธรรมชาติ” ขึ้นมาเองเพื่อปลูกจิตส�ำนึกชาวบ้าน ทั้งคนที่ทิ้งที่นาไป รับจ้างในเมือง และข้าราชการที่เป็นลูกชาวนาที่รับมรดกมาจากพ่อแม่ให้สืบสานวัฒนธรรมในการท�ำ กินเหมือนบรรพบุรุษ เพื่อให้เกิดความรักในถิ่นฐานบ้านเกิด ตระหนักว่าตนเองนั้นมีมรดกตกทอดเป็นไร่นาให้กลับมาสร้างฐานะด้วยทรัพย์สิน ที่ ตนมีอยู่ ซึ่งในวันนี้โครงการส�ำคัญที่ดาบวิชัยก�ำลังผลักดันขยายองค์ความรู้สู่ชาวบ้าน มีอยู่สองโครงการคือ โครงการพืชสวน นาป่าและโครงการอีสานบ้านแตก ดาบวิชัยบอกว่าทั้งสองโครงการนี้ก�ำลังจะน�ำเสนอรัฐบาล เพราะว่าจะเป็นทางรอดของ คนรากหญ้าอย่างแท้จริง โครงการพืชสวนนาป่า เป็นการรณรงค์ให้ปลูกต้นไม้ที่ทนทานตายยาก ให้หมากผลเป็นอาหาร ใช้ประโยชน์ได้ เช่น ต้นตะกู ถ่อน สะเดา ขี้เหล็ก ยางนา ฯลฯ เป็นการเติมเต็มที่ดินที่มีโฉนดของตัวเองให้มีมูลค่าเหมือนเป็นกระปุกออมสิน เพราะมีต้นไม้ที่มีคุณค่าเติบโตงอกงามขึ้น โครงการนี้นอกจากจะช่วยเศรษฐกิจแล้วยังช่วยคืนธรรมชาติให้แผ่นดินและช่วย ลด โลกร้อน ส่วนอีกโครงการคือโครงการอีสานบ้านแตก ซึ่งคิดขึ้นมาเพื่อประยุกต์ให้เข้ากับโครงการพืชสวนนาป่า ซึ่งค�ำว่า “บ้าน แตก” ในภาษาอีสานก็คือ “บ้านหลังที่สอง” ของชาวนาที่อยู่กลางนาที่นา สร้างไว้พักพิงยามท�ำนา บ้านหลังที่หนึ่งคือบ้าน ที่มีทะเบียนบ้านไว้อยู่อาศัยจริง บ้านหลังที่สองนี้จะกระจายไปอยู่ตามท้องไร่ท้องนา เดิมเป็นแค่เถียงนาตามทุ่งนาโล่งๆ ดาบ วิชัยรณรงค์ให้ปลูกต้นไม้ล้อมบ้านไว้อยากให้มีถนนตัดถึง มีไฟส�ำหรับใช้ในการเกษตรพอเพียง ปลูกพืชสวนนาป่าให้พื้นที่ไม่โล่ง เหมือนอย่างที่เป็นอยู่ แต่ให้มีต้นไม้สารพัดเหมือนปลูกป่าไว้ในทุ่งนา เป็นไม้โตเร็วตัดขายได้เร็วมีราคา เช่น ยางนา ไม้แดง สัก พยุง ถ้าทุกคนท�ำก็จะสร้างความเข้มแข็ง เกิดเป็นป่าคุณภาพที่มีเจ้าของดูแลรักษา เขาพยายามรณรงค์ให้ชาวบ้านเป็นเจ้าของ ป่าไม้ที่มีคุณค่าในพื้นที่ตัวเองที่ มีโฉนด ดาบวิชัยเองก็ท�ำมาได้ ๒ ปีแล้ว แนวคิดดีๆที่ดาบวิชัยคิดขึ้น มีเจตนาสร้างความร่มเย็นเป็นสุข พึ่งตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงให้กับชาว ศรีสะเกษโดยเขาฝากทิ้งท้ายให้ กับเราทุกคนว่า..... “ขอให้ทุกท่านมีจิตส�ำนึกรักครอบครัวตัวเอง โดยเฉพาะเกษตรกรที่มีที่ดินของตัวเอง เราต้องสร้างฐานะอย่าล้าง ผลาญตัวเอง เติมเต็มชีวิตให้มีอุดมการณ์ ต้องขยันอย่างฉลาดและมีจิตส�ำนึก คนที่มีผืนนา มีที่ว่างเปล่าพยายามเติมเต็ม ให้เป็นสีเขียว ลองหายใจเข้าเป็นสีเขียวหายใจออกเป็นสีเขียว ธรรมชาติจะกลับคืนมาเองผมปลูกมา ๓ ล้านต้นแล้ว และ มาร่วมกับโครงการทั้ง ๒ นี้ที่ดินก็จะมีมูลค่า สร้างฐานะให้ตัวเองได้ดี” ที่มา http://www.vcharkarn.com/varticle/44248 อ.นภาวรรณ จินตชิน ผู้เรียบเรียง
56
บทที่ ๓ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ
ย่ า ยิ้ ม ... หญิ ง ชรา กั บ ชี วิ ต ล� ำ พั ง กลางป่ า เขา ล� ำ พั ง คนหนุ ่ ม สาว จะให้ เ ดิ น ขึ้ น ลงเขาสั ก ๗-๘ กิโลเมตร ยังเล่นเอาเหงื่อตก หอบแฮ่ก ๆ ๆ ถ้าไม่ใช่ทริปท่อง เที่ยว หรือเหตุจ�ำเป็นจริง ๆ ล่ะก็...คงส่ายหน้าหนีกันเป็นแถว แต่ส�ำหรับ “ย่ายิ้ม” หญิงชราวัยใกล้ร้อย การกระ ท�ำข้างต้นถือเป็นกิจวัตรสม�่ำเสมอทุกวันพระ จนชาวบ้านท่า หนอง จ.พิษณุโลก รู้กันดีว่า หากเห็น ย่ายิ้ม เดินลงจากบ้าน กลางป่าเขาวันไหน วันนั้นแหละ คือวันพระ เพราะไม่ว่าฝน จะตก ฟ้าจะร้อง ย่าก็ต้องไปถึงวัดไม่เคยขาด ระยะทางไกลที่เต็มไปด้วยหล่มโคลน ถนนเป็นร่อง ขรุขระ ไม่ได้เป็นอุปสรรค หรือส่งผลต่อใบหน้าเปื้อนยิ้มของ หญิงชราผู้มีอารมณ์ดีอยู่เป็นนิตย์ โดยทุกวันพระ ย่ายิ้ม จะ ออกเดินเท้าจากบ้านตั้งแต่เช้ามืด แต่อย่าถามเลยว่ากี่โมง เพราะบ้านของแก ไม่มีทั้งนาฬิกา และปฎิทิน แกรู้เพียง มืด ก็นอน สว่างก็ตื่น ตะวันตรงหัวก็เที่ยง และเมื่อกลับจากวัด แกก็จะมานับวันหลังจากนั้นไปถึงวันโกนวันพระอีกที ซึ่งไม่เคยพลาดหรือคลาดเคลื่อน ย่ายิ้ม...หญิงชรา กับชีวิตล�ำพังกลางป่าเขาย่ายิ้ม...หญิงชรา กับ ชีวิตล�ำพังกลางป่าเขา ทุกวันนี้แม้วัยจะล่วงเลยมาถึง ๘๓ ปี แต่ ย่ายิ้ม ยืนยันว่า ร่างกาย ยังแข็งแรงดี และก็ไม่ได้ทุกข์ร้อนอะไรนักกับการที่ต้องอยู่ในบ้านกลางป่า เพียงล�ำพัง หลายครั้ง ลูกชาย ๒ คนที่ยังคอยดูแลแม่คนนี้อยู่ห่าง ๆ พยายาม รบเร้าให้แกไปอยู่ด้วย แต่ก็ดูเหมือนจะเอาชนะใจแม่ได้ยากยิ่ง ย่ายิ้ม ยืนกราน จะปักหลักบั้นปลายชีวิตอยู่ที่นี่ไม่ไปไหน ด้วยเหตุว่า บ้านกลางป่าของแก ท�ำให้ชีวิตไม่วุ่นวายจนเกินไปนัก เพียงแค่เก็บหน่อไม้มาดองกินกับมะพร้าว คั่วหอม ๆ ก็นับเป็นอาหารรสดีที่ช่วยให้อิ่มท้องและประทังชีวิตได้แล้ว “ความเจริญอยู่ที่ไหน มันก็ทุกข์ยากที่นั่น อยู่บนเขานี้ ไม่มีเงินย่า ก็ยังอยู่ได้ แต่ถ้าอยู่ในตัวเมือง ไม่มีเงินอยู่ไม่ได้เลยหนา ต้องซื้อเอาทุก อย่าง ไปอยู่ก็จะเดือดร้อนเขา” ถึงอย่างนั้น วิถีบ้านป่าแบบ ย่ายิ้ม ก็ใช่จะสบายอย่างปากว่า ในช่วง ฤดูฝน ดูจะโหดร้ายเป็นที่สุด เพราะหนทางในป่านั้นเอาแน่เอานอนไม่ได้ หากมีน�้ำหลากลงจากเขา จนข้ามห้วยไม่ได้ ย่ายิ้มก็ จะไม่ออกจากบ้าน ซึ่งช่วงที่ไม่ได้ลงเขาหลายวัน ข้าวสารก็มักจะไม่มีเหลือให้หุงให้กิน ครั้นจะแจ้งบอกข่าวฝากไปถึงใครก็ไม่มี “ก็ต้องอดเอามั่ง บางทีเกือบ ๆ อาทิตย์ไม่ได้กินข้าวเลย กินแต่หัวกลอยป่าเอามานึ่งกับมะพร้าวคั่ว” นอกจากจะเก็บหน่อไม้ไปแลกข้าวกับคนในชุมชนแล้ว ย่ายิ้มยังมีรายได้ประจ�ำตัวคือ เบี้ยสงเคราะห์คนชราเดือนละ ๕๐๐ บาท ทว่าเงินจ�ำนวนนี้ ก็มักจะหมดไปกับการท�ำบุญเสียทุกคราวที่ไปวัด รวมไปถึงเงินที่ลูกหลานแบ่งไว้ให้ใช้ยามมา เยี่ยม ก็ร่อยหรอไปกับกิจกรรมในทางธรรมเช่นกันความเป็นคนจริงเรื่องการท�ำบุญ และรอยยิ้มที่ไม่เคยหายจากใบหน้าสม ชื่อ ย่ายิ้ม ท�ำให้แกได้รับมิตรภาพดี ๆ จากคนในชุมชนบ้านไร่เชิงเขา ... บ่อยครั้ง ย่ายิ้ม ได้รับอาหาร ของฝาก รวมทั้งความ เป็นห่วงเป็นใยจากคนที่ไม่ใช่ญาติ ความเป็นห่วงเป็นใยปนสงสัยว่า หญิงแก่อยู่คนเดียวกลางป่าได้อย่างไรเป็นเวลาหลายปี หากนับถึงวันนี้ก็ ๒๗ ปีเข้าไป แล้ว ในช่วงแรก ๆ จึงเคยมีข่าวลือต่าง ๆ นานา บ้างว่า ย่ายิ้มเลี้ยงผี บ้างว่าเลี้ยงโจร ส่งยาบ้า ถึงขนาดเคยมีเจ้าหน้าที่มาล้อม ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
57
บ้านย่ายิ้ม และจุดไฟเผาหญ้ารอบบริเวณบ้าน เพื่อหวังให้โจรออกมา แต่เผาไปแล้วก็ไม่มีใครออกมาสักคน หลัง ๆ ข่าวลือจึงเริ่มซา และ หายไปในที่สุด เฒ่า-ศรศักดิ์ มากมา ลูกชายคนที่ยังอยู่ใน อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก เป็นคนที่คอยมาดูแลแม่บ่อยที่สุด เขาจะขับรถอีแต๋นมารับ ย่ายิ้มก่อนวันพระใหญ่ เพื่อพาไปท�ำบุญ นุ่งขาวห่มขาวค้างวัด ถือศีล อุโบสถที่วัดหลวงพ่อใหญ่พระพุทธชินราช เป็นประจ�ำสม�่ำเสมอ เสร็จ จากงาน ไอ้เฒ่าของแม่ ก็จะขับรถมาส่งพร้อมด้วยเสบียง ข้างสาร มะพร้าว และของแห้ง “แม่เขาจะบอกว่าไม่ต้องเอามาให้มากนะ ในชีวิตเขา แม่ เขาไม่เคยอยากได้อะไรเลย เคยถามเขาก็บอกว่า เขาพอแล้ว สมัย ยังเด็กบ้านเราจนกันมาก พ่อก็ตายตอนที่เรายังเล็ก ๆ แต่แม่คนเดียวก็หาเลี้ยงลูกได้ มานึกดูแกต้องท�ำงานหนักมาก แม่ ถึงเน้นสอนให้เข้มแข็ง หนักเอาเบาสู้ไม่เลือกงาน” ความจริงแล้ว ย่ายิ้ม มีลูกทั้งหมด ๕ คน ๒ คนแรก เกิดกับสามีคนแรก ที่มาด่วนเสียชีวิตไปก่อน ย่ายิ้มจึงต้องเลี้ยง ลูกสาวลูกชายตัวคนเดียวมาหลายปี ก่อนจะมาผูกสมัครรักใคร่กับสามีคนที่ ๒ (ก็มาตายจากไปอีก) และมีลูกอีก ๓ คน แต่คน ที่ย่ายิ้ม ยังพูดถึงอยู่เสมอก็มีเพียงแค่ ๒ คน คือ ไอ้เฒ่า และพ่อทูล น้องคนเล็ก ที่สร้างบ้านไม้กลางป่าอยู่กับแก ก่อนจะตัดสิน ใจหอบลูกพาเมียไปหางานท�ำในกรุงเทพฯ ตลอดหลายปีกับชีวิตกลางป่าเขาเพียงล�ำพัง ย่ายิ้ม สารภาพว่า เมื่อไหร่ที่ลูกขึ้นมาหาและมานอนด้วย แกก็ดีใจทุกครั้ง แต่พอกลับกันไป แค่เห็นเดินคล้อยหลังก็นั่งใจละห้อยแล้ว...แต่ถึงอย่างไร แกก็ยังยืนหยัดว่าจะขออยู่ในป่าในเขาอย่างนี้ไปจน ตาย และค�ำขอสุดท้ายที่ฝากไว้กับลูกคือ...ถ้าแม่ตาย ก็ให้เผาให้ฝังไว้ที่ไร่บนเขานี้ “ย่าไม่อยากตายหรอกหนา แต่ไม่เคยกลัว ถึงเวลาจะต้องละแล้ว ก็ต้องไป...” เรื่องราวของ ย่ายิ้ม อาจเป็นเรื่องธรรมดาๆ ของหญิงชราคนหนึ่ง แต่เมื่อรับรู้รับทราบแล้ว ก็อดนึกถึงปู่ย่าตายายของ ตัวเองเสียไม่ได้ ...บางที “ยิ้มของย่า” ก็ท�ำให้รู้สึกดี ๆ ได้เหมือนกัน ขอขอบคุณข้อมูลจากทีวีบูรพา อ.นภาวรรณ จินตชิน ผู้เรียบเรียง
58
บทที่ ๓ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ
เปิ ด ถนนแห่ ง ชี วิ ต “ซู ป เปอร์ แ ท็ ก ซี่ หั ว ใจทองค� ำ ผมตอนเป็นเด็กไปโรงเรียน รองเท้าก็ไม่มีใส่ เดินไปโรงเรียนหลายกิโล หนังสือก็ต้องหอบ ไม่มีกระเป๋า รองเท้าไม่มี เสื้อก็ได้มาจากการบริจาค กางเกงก็ปะจนเป็นแผนที่ เสื้อก็ปะ มันล�ำบาก ฝนตกทีก็ต้องหาใบตองมากันฝน” เขาเล่าถึงความ เป็นอยู่ที่ยากล�ำบากในวัยเด็ก ซึ่งเป็นที่มาของการตัดสินใจครั้งส�ำคัญที่สุดในชีวิต ย้อนกลับไปเมื่อ ๓๘ ปีก่อน แม่ของเขาตัดสินใจแยกทางกับพ่อ ถึงแม้จะอยู่ในช่วงตั้งครรภ์ เธอกลับมาใช้ชีวิตที่บ้าน เกิดในจังหวัดนครศรีธรรมราช อาชีพรับจ้างทั่วไปคือที่มาของรายได้หลักเพื่อเลี้ยงปากท้องของสองแม่ลูกแบบตามมีตามเกิด ให้พอผ่านชีวิตในแต่ละวันไปได้เท่านั้น “ผมเกิดมาพ่อก็ไม่มี แม่ล�ำบากมาก พอมีบวชสามเณรภาคฤดูร้อน ก็เลยคิดว่าจะพึ่งทางวัด คิดว่าถ้าเราบวช พึ่ง ศาสนา น่าจะช่วยลดภาระของแม่ได้ พอถึงเวลาต้องสึกมาเรียน คุณครูบอกให้สึก ผมไม่ยอมสึก เพราะรู้ว่าถ้าสึกมา คือ สงสารแม่ ก็เลยบวชไม่สึก” เรื่องราวในอดีตถูกปลุกขึ้นมาอีกครั้ง พร้อมกับที่ผู้เล่าพยายามสูดหายใจลึกๆ เพื่อกลั้นน�้ำตา สุวรรณฉัตรในวัย ๙ ขวบ ตัดสินใจเข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์ แม้จะเพิ่งจบการศึกษาเพียงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ กับอีก ๑ เทอม เพราะมันเป็นทางเลือกเดียวที่เด็กอย่างเขาจะคิดออก โชคดีที่เขาคิดถูก เพราะมันท�ำให้เขาได้พบเจอกับเหตุการณ์เล็กๆ ที่ ท�ำให้เขากลายเป็น “แท็กซี่หัวใจหล่อ” อย่างที่หลายๆ คนรู้จักในวันนี้ เมื่อสามเณรสุวรรณฉัตรอยากเจอหน้าพ่อสักครั้งในชีวิต เขาใช้เวลาหลายปีตามสืบจนรู้ว่าพ่อท�ำงานเป็นช่างไม้ในไซต์ งานก่อสร้างที่หาดใหญ่ จึงเริ่มออกเดินทางโดยล�ำพังเป็นครั้งแรก มันดูยากเหมือนงมเข็มในมหาสมุทร เพราะไม่รู้ว่าจุดหมาย ปลายทางเป็นอย่างไร แต่เขาก็มุ่งมั่นอย่างแรงกล้าที่จะตามหาพ่อให้เจอ “ตอนที่นั่งรถโดยสารไปตามหาพ่อที่หาดใหญ่ ไปเจอโยมคนหนึ่ง ไม่คิดค่าโดยสาร แถมยังถวายเงินมาด้วยร้อย นึง ก็รู้สึกเกิดความประทับใจว่าท่านเป็นพุทธบริษัทที่ดี เป็นการส่งเสริมให้สมณะเดินทางได้สะดวก ตอนนั้นเราไม่ค่อย มีเงิน เพราะไม่มีกิจนิมนต์เหมือนพระ” เขาได้พบหน้าพ่อเป็นครั้งแรกด้วยความช่วยเหลือของพระผู้ใหญ่ในจังหวัด น�้ำใจจากคนแปลกหน้าในวันนั้น ท�ำให้การ เดินทางไปพบหน้าพ่อมีความหมายยิ่งกว่าที่เคยจินตนาการไว้ และอาจจะเป็นเพราะเหตุนี้ ที่ท�ำให้เขาผันตัวเองมาเป็นผู้ส่ง มอบรอยยิ้มและความสุขผ่านการเดินทางให้กับผู้อื่นในปัจจุบัน ดูเหมือนว่าความอัตคัดขัดสนในวัยเด็กก็มีข้อดีของมันอยู่บ้าง ในวัย ๑๕ ปีเต็ม เขาตัดสินใจสละผ้าเหลือง เพื่อหาเงินมาจุนเจือครอบครัวอีกทางหนึ่ง เขาตัดสินใจเดินทางเข้ากรุงเทพฯ เมืองแห่งโอกาสส�ำหรับใครหลายๆ คน ท�ำงานสุจริตทุกอย่างเท่าที่ความรู้ระดับ ป.๓ ครึ่งของเขาจะเอื้ออ�ำนวย จากหนุ่ม โรงงานกระดาษสู่ช่างเชื่อมโลหะ ค่าแรงรายวันเจ็ดสิบบาทมาจนถึงสองร้อยห้าสิบ ชะตากรรมในเมืองกรุงไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ นอกจากรายได้วันละไม่กี่ร้อย สิ่งหนึ่งที่เมืองหลวงมอบให้เขาคือบท เรียนครั้งส�ำคัญในชีวิต หากวันนั้นเขาก้าวพลาด วันนี้เขาอาจจะใช้ชีวิตหลังม่านเหล็กในเรือนจ�ำที่ไหนสักแห่งของประเทศนี้ ๔ เดือนแห่งความมืดมนในชีวิตเริ่มต้นขึ้นเมื่อเขาตัดสินใจสมัครเป็นพนักงานรักษาความปลอดภัยในบริษัทที่มีชื่อเสียง แห่งหนึ่ง โดยหวังว่าจะมีรายได้พอให้ลืมตาอ้าปากได้บ้าง ตามค�ำโฆษณาของผู้ว่าจ้าง “ท�ำอยู่ ๔ เดือน ไม่ได้เงินเดือนสักบาทเดียว โดนล็อกกุญแจมือ โดนซ้อม เลื่อนจ่ายค่าแรงไปเรื่อยๆ รปภ. มีมีด อยู่ข้างเอว ถ้าไม่มีธรรมะในหัวใจผมคงเอามีดเสียบคนที่โกงผม เพราะแค้นมาก แล้วก็เป็นห่วงแม่มาก คิดว่าถ้าเราท�ำ อย่างนั้นเขาก็จบ เราก็จบ เราท�ำอย่างนั้นก็ยิ่งท�ำให้ศีลธรรมเราต�่ำลง เขาศีลธรรมต�่ำแล้ว เราท�ำไมต้องไปต�่ำอย่างเขาล่ะ ก็เลยถอยออกมา” ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
59
หลังจากดิ้นรนอยู่กับอาชีพรับจ้างรายวันในเมืองกรุงได้ ๓ ปี เขาเริ่มตระหนักว่าไม่สามารถยึดอาชีพนี้ไปได้ตลอดชีวิต เพราะวันไหนเจ็บป่วยไม่สบาย วันนั้นก็ไม่มีรายรับ เมื่อนั้นเองที่เริ่มนึกถึงอาชีพอิสระ จนสุดท้ายจับพลัดจับผลูได้มาขับแท็กซี่ ตอนนั้นอายุ ๑๘ ไปเช่ารถแท็กซี่ขับ เจ้าของก็มีเมตตา ให้เราขับตั้งแต่อายุ ๑๘ ช่วงนั้นก็ใหม่ๆ ไปชนท้ายเค้าบ้าง วิชาชีพขับรถก็เรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นงูๆ ปลาๆ มาจากโรงงาน ด้วยความที่ใจสู้ ก็เลยขับมาเรื่อยๆ แรกๆ ก็เหลือมั่งไม่เหลือ มั่ง คิดซะว่าเรียนรู้ละกัน” ประสบการณ์สอนให้เขารู้ว่ามนุษย์จะผ่านทุกความยากล�ำบากได้หากตั้งใจจริง สุวรรณฉัตรในวันนี้ ก้าวผ่านประสบการณ์เลวร้ายมาได้เพราะใช้ธรรมะน�ำทาง ตั้งแต่วันแรกที่ยึดอาชีพโชเฟอร์แท็กซี่ เขาไม่เคยคิดค่าโดยสารจากพระสงฆ์ สามเณร และแม่ชี เพื่อเป็นการระลึกถึงน�้ำใจจากคนขับรถโดยสารเมื่อครั้งยังเป็นสามเณร เขาเลือกที่จะส่งต่อสิ่งดีๆ ที่เคยได้รับเมื่อโอกาสมาถึง “เวลาเจอพระ ผมจะลงไปบอกว่านั่งฟรี แต่ท่านจะขึ้นยากนิดนึง เพราะเราไม่มีสติ๊กเกอร์บอก เพราะรถเช่าเขา ไม่ให้แปะ ก็นิมนต์ท่านขึ้น ท่านเข้าใจท่านก็ขึ้น ระหว่างทางนี่จะเป็นบุญของเราตรงที่ว่าเจอพระนักเทศน์ เราได้ฟังเทศน์ ยันถึงวัดเลย พอไปส่งแล้วขับรถออกมา ท่านยังมองตามรถผม ผมว่าท่านต้องประทับใจเหมือนที่เราประทับใจ ท�ำแล้ว ก็เกิดความรู้สึกปิติยินดี” ไม่เฉพาะกับผู้สืบทอดศาสนาเท่านั้น แต่กับผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส หากได้ขึ้นรถแท็กซี่ของเขา การเดินทางในครั้ง นั้นจะกลายเป็นความทรงจ�ำที่น่าประทับใจจนต้องเอาไปบอกต่อคนรอบข้าง ทุกวันนี้มีผู้พิการหลายคนโทรจองคิวรับ – ส่ง เป็นประจ�ำจนคุ้นเคยเหมือนคนในครอบครัว “ศิริรัตน์ จั่นเพ็ชร” หรือ “จุ๊” คือหนึ่งในผู้โดยสารขาประจ�ำของเขา ภาวะแทรกซ้อนจากโรคพุ่มพวงท�ำให้เธอเกิด อาการติดเชื้อที่ไขสันหลัง เป็นเวลา ๑๕ ปีเต็มที่เธอต้องใช้ชีวิตบนรถวีลแชร์ เพราะขาทั้ง ๒ ข้างหมดความรู้สึกไปตั้งแต่ฟื้น ตัวจากการผ่าตัดที่กระดูกสันหลังเธอไม่แน่ใจว่าอุปสรรคในการเดินทางคืออะไรกันแน่ ระหว่างความพิการของเธอกับน�้ำใจ ของคนขับแท็กซี่ที่เธอเคยพบ โดยมากแล้วพวกเขาจะปฏิเสธด้วยสายตาทันทีเมื่อเห็นว่าเธอนั่งอยู่บนวีลแชร์ “คงไม่มีแท็กซี่คนไหนอยากจะออกแรงช่วยยกรถวีลแชร์ขึ้นและลง เพื่อแลกกับค่าโดยสารเท่าๆ กับคนปกติ” นั่น คือสิ่งที่เธอคิดมาตลอด“ทุกวันนี้อยู่กันสองคนแม่ลูก แม่ก็อายุ ๗๘ แล้ว เป็นกระดูกสันหลังเคลื่อนเพราะคอยมาช่วยยก รถเข็นขึ้นลงแท็กซี่ เพราะคนขับก็ไม่ค่อยมาช่วย ไม่มาสนใจ อาการของแม่ก็จะทรงๆ ทรุดๆ เพราะเราก็ต้องไปหาหมอ ตลอด แม่ก็ล�ำบากไปด้วย” เธอบอกว่าความช่วยเหลือของสุวรรณฉัตร ท�ำให้คนพิการอย่างเธอมีก�ำลังใจอยากสู้ต่อ เพราะที่ผ่านมามักจะถูกปฏิเสธ อย่างไม่ใยดี เพราะถ้าเลือกได้ เธอก็ไม่อยากสร้างภาระให้กับใคร และไม่อยากให้ใครเห็นว่าคนพิการเป็นขยะอย่างน้อยที่สุด น�้ำใจจากแท็กซี่ดีๆ ก็ท�ำให้เธอรู้สึกว่าตัวเองยังมีคุณค่าในสายตาคนอื่นในฐานะผู้ให้ เขากลับรู้สึกขอบคุณผู้พิการทุกคนที่ติดต่อ ขอความช่วยเหลือจากเขา เพราะเป็นการเปิดโอกาสให้เขาได้ท�ำความดี “เวลาท�ำแล้วเกิดความอิ่มใจ ไม่ได้กินข้าวก็ยังอิ่ม” ค�ำตอบของเขาเรียบง่ายแต่ลึกซึ้ง ในวันที่เงินคือตัวกลางในการแลกเปลี่ยนอันทรงพลัง หลายคนยอมรับว่ามันไม่ใช่แก่นแท้ของชีวิต แต่ก็ไม่มีใครกล้า ปฏิเสธอ�ำนาจของมัน เพราะเรื่องยากล�ำบากทั้งหลายล้วนแก้ปัญหาได้ด้วยเงิน แต่ค�ำตอบของสุวรรณฉัตร กลับตรงกันข้าม กับที่ว่ามา “ถ้ารอให้รวยก่อน บางอาชีพไม่รวย ถ้ารอให้เกษียณก่อน พอคุณเกษียณแล้วท�ำบุญได้แค่ ๓ ครั้ง คุณอาจจะเป็น มะเร็งตาย บางครั้งรวยแล้วก็อาจจะขี้เหนียวไม่แบ่งใครก็ได้ ก็ท�ำเท่าที่มีลมหายใจ คิดว่าวันนี้เป็นวันสุดท้าย ท�ำสะสมบุญ ไป ถ้าเราจะตายพรุ่งนี้เราก็ไม่เสียดายชีวิต” นั่นอาจจะเป็นวิธีการใช้เงินซื้อความสุขในแบบของเขา ยิ่งเสียสละให้กับผู้อื่นมากเท่าไร เขาก็ยิ่งอิ่มเอิบใจมากขึ้นเท่านั้น มูลค่าของความสุขไม่ได้มาจากการเป็นผู้รับเสมอไป หากแต่การมีโอกาสได้เป็นผู้ให้ก็น�ำมาซึ่งความสุขได้เช่นกัน “ส�ำคัญที่สุดคืออย่าให้จิตวิญญาณต�่ำกว่าเงินทอง อย่าให้เงินทองมาครอบง�ำจนท�ำให้เราท�ำผิด ต้องดูแลผู้โดยสาร ดุจลูกหลานเรา ญาติผู้ใหญ่เรา ให้บริการคนแก่วันนี้ ให้อย่างดี วันหน้าเราก็ต้องแก่เหมือนกัน ถ้าใครดีกับเรา เราก็คงจะ ยิ้มและมีความสุข” แนวคิดของเขาเรียบง่าย หากแต่ท�ำได้ยาก โดยเฉพาะในยุคที่เงินเป็นใหญ่ดังเช่นทุกวันนี้ “แท็กซี่หัวใจหล่อ” ในโซเชียลมีเดียอาจจะเป็นกระแสที่เกิดขึ้นและดับลงไปตามธรรมชาติ ได้แต่หวังว่าเส้นทางชีวิต และถ้อยค�ำของเขาจะเป็นแสงเล็กๆ ช่วยจุดประกายให้เกิดวงจรแห่งการแบ่งปันสิ่งดีๆ ที่หล่อเลี้ยงทุกหัวใจต่อไปอย่างไม่รู้จบ ที่มา http://men.sanook.com/6157/ อ.นภาวรรณ จินตชิน ผู้เรียบเรียง
60
บทที่ ๓ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ
ใบงาน แบบบันทึกบุคคลที่เป็นต้นแบบด้านจิตสาธารณะ บุคคลที่นักเรียนชื่นชอบคือ................................................................................................................................................... สิ่งที่นักเรียนประทับใจคือ..................................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………..........................................………………………………………………. ………………………………………………………………………………………..........................................………………………………………………. ………………………………………………………………………………………..........................................………………………………………………. ………………………………………………………………………………………..........................................………………………………………………. ………………………………………………………………………………………..........................................………………………………………………. นักเรียนคิดว่าบุคคลที่นักเรียนประทับใจมีคุณสมบัติข้อใดบ้าง ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ โอบอ้อมอารี ประหยัด
เสียสละ มีระเบียบวินัย
ตรงต่อเวลา ยึดมั่นในหลักธรรม
อื่นๆ..................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................ นักเรียนคิดว่าอะไรเป็นสิ่งที่นักเรียนอยากจะกระท�ำตามอย่างบุคคลต้นแบบ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ บุ ค คลดั ง กล่ า วมี ค วามเชื่ อ มโยงหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๕ ค� ำ ๕ ข้ อ ที่ พ ่ อ สอนใดบ้ า ง มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ คุณธรรม พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ระมัดระวัง)
มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม
สมดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น พร้ อ มรั บ การ เปลี่ ย นแปลง
มิติด้านวัฒนธรรม
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
61
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of the Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้อง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนัก ธุรกิจในทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้าง ขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ค� ำ นิ ย าม ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการ ผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำนั้นๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดย ค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่ อ นไข • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะน�ำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�ำเนินชีวิต แนวทางในการปฏิบัติผลที่คาดว่าจะได้รับจากการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้และ เทคโนโลยี “ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น เสมื อ นรากฐานของชี วิ ต รากฐานความมั่ น คงของแผ่ น ดิ น เปรี ย บเสมื อ นเสาเข็ ม ที่ ต อกรองรั บ บ้ า นเรื อ น ตั ว อาคารไว้ นั่ น เอง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งจะมั่ น คงได้ ก็ อ ยู ่ ที่ เ สาเข็ ม แต่ ค นส่ ว นมากมองไม่ เ ห็ น เสาเข็ ม และลื ม เสาเข็ ม เสี ย ด้ ว ยซ�้ ำ ไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากวารสารชัยพัฒนา เดือนสิงหาคม ๒๕๔๒
62
บทที่ ๓ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
63
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง จิตสาธารณะ คาบที่ ๒
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ สร้างภาระงาน ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม (ใช้ เ วลา ๑๐-๒๐นาที ) ๑.๑ ร้องเพลงสรรเสริญเพลงที่เกี่ยวข้องกับในหลวงรัชกาลที่ ๙ และ ชมคลิป โฆษณา ไทยประกันชีวิต เรารักในหลวง Follow the Fatherhttps://www.youtube.com/watch?v=lJglKv98yU0Thai Life Insurance - Melody of Life https://www.youtube.com/watch?v=xGwBiMiJoqg โฆษณาซึ้ง สุดประทับใจ my angel “ย่ายิ้ม”https://www. youtube.com/watch?v=ocSOkDK2pj4 (สามารถเลือกคลิปใดก็ได้จากสื่อที่ปรากฏในหน้า ๑-๒) ๑.๒ ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นต่อเหตุการณ์นั้นๆ และให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน ขั้ น ที่ ๒ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม (เวลา ๓๐ นาที ) ๒.๑ นักเรียนแบ่งกลุ่มระดมความคิดในการเขียนกรอบความคิด/แผนที่ความคิด เกี่ยวกับกิจกรรมต่างๆที่นักเรียน สามารถท�ำได้และต้องการมีส่วนร่วมในการท�ำกิจกรรมจิตอาสา(ครูกระตุ้นนักเรียนไปถึงเป้าหมายที่วางไว้) อุปกรณ์ กระ ดาษฟลิปชาร์ท ปากกาเคมีสีต่างๆ ๒.๒ เมื่อระดมความคิดเสร็จแล้ว แต่ละกลุ่มน�ำเสนอผลงาน ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด (เวลา ๘-๑๐ นาที ) ๓.๑ นักเรียนเลือกมา ๑ ผลงาน เพื่อน�ำไปท�ำกิจกรรมจิตสาธารณะ ( ๑ Class : ๑ Project) ๓.๒ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ ( ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน) ๑) มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒) มีคุณธรรม ๓) มีความพอประมาณ ๔) มีเหตุผล ๕) มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๓ ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอนกับกิจกรรมเรื่อง จิตสาธารณะ ที่นักเรียนได้น�ำเสนอ ว่ามีความสัมพันธ์เชื่อมโยงในข้อใดบ้าง และให้นักเรียนเขียนโครงการน�ำเสนอ ในแบบ การเขียนโครงการ ในครั้งต่อไป ขั้ น ที่ ๔ สรุ ป ประเมิ น ผล ๔.๑ การน�ำเสนอหน้าชั้นเรียน ๔.๒ ตอบค�ำถามเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ๔.๓ แบบการเขียนโครงการจิตสาธารณะ
64
บทที่ ๓ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ
แบบการเขียนโครงการ/กิจกรรมจิตสาธารณะ ชื่อโครงการ/กิจกรรม............................................................. ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ คำ� ๕ ข้อ ที่พ่อสอน
๑.โครงการ/กิจกรรมจิตสาธารณะ ๒. ผู้รับผิดชอบ ๓. หลักการและเหตุผล
๔.จุดประสงค์ ๕. เป้าหมาย ๖. ระยะเวลา ๗. สถานที่
๘. งบประมาณ
๙. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
.............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. ............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. ............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. ............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. ............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. ............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
65
ใดบ้าง
๑๐. จากโครงการ/กิจกรรม มีความเชื่อมโยงกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ในด้าน
มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
คุณธรรม
พอประมาณ
มิติด้านเศรษฐกิจ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
สมดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น พร้ อ มรั บ การ เปลี่ ย นแปลง
มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม มิติด้านวัฒนธรรม
66
บทที่ ๓ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ
ลงชื่อ........................................................... ( ) ผู้รับผิดชอบกิจกรรม …………/…………………/………………
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of the Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้องมี ระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความ รอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ค� ำ นิ ย าม ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการ ผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำนั้นๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดย ค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่ อ นไข • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะน�ำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�ำเนินชีวิต แนวทางในการปฏิบัติผลที่คาดว่าจะได้รับจากการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนาที่ สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมความรู้และเทคโนโลยี “ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น เสมื อ นรากฐานของชี วิ ต รากฐานความมั่ น คงของแผ่ น ดิ น เปรี ย บเสมื อ นเสาเข็ ม ที่ ต อกรองรั บ บ้ า นเรื อ น ตั ว อาคารไว้ นั่ น เอง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งจะมั่ น คงได้ ก็ อ ยู ่ ที่ เ สาเข็ ม แต่ ค นส่ ว นมากมองไม่ เ ห็ น เสาเข็ ม และลื ม เสาเข็ ม เสี ย ด้ ว ยซ�้ ำ ไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากวารสารชัยพัฒนา เดือนสิงหาคม ๒๕๔๒
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
67
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
68
บทที่ ๓ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง จิตสาธารณะ คาบที่ ๓
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ขั้นปฏิบัติงาน (อาจใช้เวลา ๔-๕ ครั้ง) ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม (ใช้ เ วลา ๕-๑๐ นาที ) ๑.๑ ร้องเพลงสรรเสริญ/เพลงที่เกี่ยวข้องกับในหลวงรัชกาลที่ ๙ ๑.๒ ครูทบทวนเนื้อหาและสอบถามนักเรียนถึงความคืบหน้าในการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงาน โดยให้นักเรียน น�ำแผนปฏิบัติงานมาน�ำเสนอ ขั้ น ที่ ๒ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม (เวลา......... นาที ) ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ของแต่ละโรงเรียน ๒.๑ นักเรียนลงมือปฏิบัติงานตามกิจกรรมที่ก�ำหนด (เป็นกิจกรรมที่ลงมือปฏิบัติได้ภายในโรงเรียนก่อน อาจจะเริ่ม จากระดับชั้น ม.๑-๓ และในครั้งต่อไปให้นักเรียนเขียนแผนปฏิบัติงานเพื่อลงพื้นที่ในชุมชน ระดับชั้น ม.๔-๖ ) ๒.๒ ครูติดตามผลงานในการปฏิบัติงานของนักเรียนและให้ค�ำแนะน�ำ ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด ๓.๑ นักเรียนส่งตัวแทนมาน�ำเสนอผลงานที่ปฏิบัติกิจกรรมไปแล้ว ( ๑ Class : ๑ Project) ๓.๒ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ (ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน) ๑ มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒ มีคุณธรรม ๓ มีความพอประมาณ ๔ มีเหตุผล ๕ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๓ ให้นักเรียนตอบค�ำถามเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอนกับขั้นตอนการปฏิบัติ งาน พร้อมทั้งน�ำมาส่งในคาบต่อไปทั้งนี้ให้ครูผู้สอนเน้นย�้ำเรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขั้ น ที่ ๔ สรุ ป ประเมิ น ผล ๔.๑ การน�ำเสนอผลงานโครงการของนักเรียน ๔.๒ ตอบค�ำถามเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
69
แบบประเมินผลงานด้านจิตสาธารณะ ชื่อโครงการ/กิจกรรม............................................... วันที่.......... ถึงวันที่.....................เดือน..............................พ.ศ.......................... สถานภาพผู้ประเมิน สมาชิก ครูที่ปรึกษา วิทยากร/ตัวแทนชุมชน รายการประเมิน ๔ = ดีมาก ๓= ดี ๒= พอใช้ ๑=ปรับปรุง
ที่
๑ ๒ ๓
๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙
๑๐ ๑๑ ๑๒
ประเด็นการประเมิน
ดีมาก ๔
ดี ๓
พอใช้ ๒
ปรับปรุง ๑
ด้านการคิดวิเคราะห์ นักเรียนสามารถคิดกิจกรรมที่มีความเหมาะสมกับ สภาพแวดล้อมหรือบริบทของพื้นที่ นักเรียนสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ได้อย่างเหมาะสม นักเรียนสามารถวางแผนในการด�ำเนินงาน ได้อย่างมีขั้นตอน ด้านความร่วมมือ นักเรียนท�ำกิจกรรมร่วมกันได้อย่างมีความสุข นักเรียนให้ความส�ำคัญกับเพื่อนร่วมทีม อย่างเท่าเทียม นักเรียนให้ความร่วมมือในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ด้านทักษะชีวิต นักเรียนเกิดการเรียนรู้ทักษะในการท�ำงานร่วมกัน นักเรียนเกิดการเรียนรู้ทักษะในการท�ำงาน ร่วมกับชุมชน นักเรียนสามารถปรับตัวในการอยู่ร่วมกับชุมชน หรือชาวบ้านได้ ด้านการประสานงาน นักเรียนสามารถจัดล�ำดับการท�ำงานได้ นักเรียนสามารถถ่ายทอดวิธีการท�ำงานและการแก้ ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ นักเรียนสามารถประสานงานกับผู้อื่นได้อย่างราบ รื่นและเหมาะสม รวม
ข้อเสนอแนะ…………………………………………………………………………………………………………..…….………...........…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................….……… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 70
บทที่ ๓ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ
บันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๑. ผลการจัดกิจกรรม ๑.๑ จุดเด่นของกิจกรรม…………………….................................…………………………………………………………………… ……………………….............................................................…................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๑.๒ ปัญหาอุปสรรค…………………….................................………………………………………………………………………… ………………….............................................................…........................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๒. แนวทางในการแก้ไขปัญหาและพัฒนากิจกรรม…………………….................................……………………………………… …………………………………………………….............................................................…................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๓. ข้อเสนอแนะอื่นๆ…………………….................................…………………………………………………………..…………………… …………….............................................................….............................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ลงชื่อ………………...………………………………ผู้จัดกิจกรรม (……………………………………………………) วันที่……………เดือน……………….พ.ศ......................
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
71
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of the Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้อง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนัก ธุรกิจในทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้าง ขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ค� ำ นิ ย าม ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการ ผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำนั้นๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดย ค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่ อ นไข • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะน�ำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�ำเนินชีวิต แนวทางในการปฏิบัติผลที่คาดว่าจะได้รับจากการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้และ เทคโนโลยี “ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น เสมื อ นรากฐานของชี วิ ต รากฐานความมั่ น คงของแผ่ น ดิ น เปรี ย บเสมื อ นเสาเข็ ม ที่ ต อกรองรั บ บ้ า นเรื อ น ตั ว อาคารไว้ นั่ น เอง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งจะมั่ น คงได้ ก็ อ ยู ่ ที่ เ สาเข็ ม แต่ ค นส่ ว นมากมองไม่ เ ห็ น เสาเข็ ม และลื ม เสาเข็ ม เสี ย ด้ ว ยซ�้ ำ ไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากวารสารชัยพัฒนา เดือนสิงหาคม ๒๕๔๒
72
บทที่ ๓ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
73
ใบความรู้ เอกสารประกอบส�ำหรับคุณครู
การจั ด กิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คมและสาธารณประโยชน์ ๑. จัดกิจกรรมภายในโรงเรียน เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนและครูที่ปรึกษากิจกรรม ร่วมกันวางแผนปฏิบัติกิจกรรมจิตอาสา ในชั้นเรียนและโรงเรียนจนเกิดเป็นนิสัยในการอาสาสมัครที่จะทํางานต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ของส่วนรวม ๒. จัดกิจกรรมภายนอกโรงเรียน (กิจกรรมอาสาสมัครเพื่อสังคม) เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนทํากิจกรรมด้วยความสมัครใจ ที่เป็นประโยชน์แก่ชุมชนและสังคมโดยรวม แนวการจั ด กิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คมและสาธารณประโยชน์ มี แ นวการจั ด ดั ง นี้ ๑. จัดกิจกรรมในลักษณะบูรณาการใน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมบูรณาการระหว่างรายวิชา (การจัดกิจกรรมตลาดนัดเศรษฐกิจพอเพียง) หรือกิจกรรมตามความสนใจและความถนัดของตน ๒. จัดกิจกรรมลักษณะโครงการ โครงงาน หรือ กิจกรรม หมายถึง กิจกรรมที่ผู้เรียนนําเสนอการจัดกิจกรรมต่อครูที่ ปรึกษา ครูประจําชั้น และครูหัวหน้ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามลําดับ เพื่อขอความเห็นชอบในการทําโครงการ โครงงาน หรือ กิจกรรม ซึ่งมีระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดที่ชัดเจน โดยสามารถจัด ๒.๑ จัดกิจกรรมภายในโรงเรียน (การนับเวลาปฏิบัติกิจกรรมฯ ตามข้อก�ำหนดของครู ที่ปรึกษา ) ๒.๒ จัดกิจกรรมภายนอกโรงเรียน(การนับเวลาปฏิบัติกิจกรรมฯ เริ่มจัดกิจกรรม ) ๓. จัดกิจกรรมร่วมกับองค์กรต่างๆ หมายถึง กิจกรรมที่ผู้เรียนอาสาสมัครเข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยงาน หรือองค์กร อื่นๆ ที่จัดกิจกรรมในลักษณะเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ โดยผู้เรียนสามารถเข้าร่วมกับหน่วยงานอื่นที่เข้ามาจัดกิจกรรม ในโรงเรียนหรือกิจกรรมนอกโรงเรียน ๔. ผู้เรียนจะจัดกิจกรรมหรือแสดงพฤติกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ในเวลา สถานที่หรือรูปแบบของกิจกรรม ใดก็ได้โดยคํานึงถึงความเหมาะสมตามบริบทของแต่ละสถานศึกษาและขึ้นอยู่กับการบริหารจัดการของสถานศึกษา แนวทางการวั ด และประเมิ น จิ ต อาสา แนวทางการประเมินจิตอาสาต้องใช้การประเมินตามสภาพจริง ที่เป็นการประเมินพฤติกรรมการแสดงออกของผู้ เรียน จากกระบวนการท�ำงาน และจากผลงาน โดยใช้แหล่งข้อมูลและวิธีการอย่างหลากหลาย และมีความสอดคล้องกับ บริบทของการเรียนการสอน หลักการวัดและประเมินผลที่เสริมพลังตามสภาพจริง ๆคือ ๑) ใช้ผู้ประเมินหลายฝ่าย เช่น ผู้เรียน เพื่อน ผู้สอน ผู้ เกี่ยวข้อง ๒) ใช้วิธีการและเครื่องมือวัดหลายๆ ชนิด เช่น การสังเกต การปฏิบัติ การทดสอบ การรายงานตนเอง ๓) ประ เมินหลายๆ ครั้งในแต่ละช่วงเวลาของการเรียนรู้ ได้แก่ ก่อนเรียน ระหว่างเรียน สิ้นสุด ติดตามผล และ ๔) สะท้อนผลการ ประเมินสู่การพัฒนาผู้เรียน การวัดและประเมินผลจิตอาสาผู้สอนควรให้ความส�ำคัญกับการสะท้อนผลการประเมินให้มาก เพราะหัวใจของการ ประเมินไม่ได้อยู่ที่การตัดสินว่าผู้เรียนคนใดมีจิตอาสาหรือไม่มีจิตอาสาหากแต่อยู่ที่การให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในผลการประเมิน นั้นแล้วก�ำหนดทิศทางการพัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลที่มีจิตอาสา โดยอาศัยกระบวนการสะท้อนผลการประเมินที่เป็นระบบ จนท�ำให้เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภายในตัวผู้เรียน สรุ ป
จิตอาสาเป็นจิตที่กว้างใหญ่ไม่คับแคบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รับฟังข่าวสารใหม่ๆ จากที่เคยรู้มา แสวงหาความรู้ ใหม่อยู่เสมอ ท�ำให้ทุกคนในสังคมสามารถอยู่ร่วมกันได้ เป็นสังคมที่มีการให้และแบ่งปัน ค�ำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ ตั้งเคารพสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่น การพัฒนาต้องเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก โดยมีผู้สอนเป็นกลไกส�ำคัญของการพัฒนา โดยเริ่มจากตัวผู้ สอนเองก่อนแล้วบูรณาการให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้เรียน สอดแทรกไปในทุกกิจกรรมการเรียนรู้กระบวนการพัฒนามีความ สมดุลระหว่างการคิดและการปฏิบัติ ส่วนการประเมินผลมุ่งเน้นการประเมินตามสภาพจริงและสะท้อนผลการประเมินสู่ผู้เรียน 74
บทที่ ๓ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ
สอดคล้องกับหลักทรงงานทั้ง ๒๓ ข้อ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ๑. จะท�ำอะไรต้องศึกษาข้อมูลให้เป็นระบบ ๒. ระเบิดจากภายใน ๓. แก้ปัญหาจากจุดเล็ก ๔. ท�ำตามล�ำดับขั้น ๕. ภูมิสังคม ภูมิศาสตร์ สังคมศาสตร์ ๖. ท�ำงานแบบองค์รวม ๗. ไม่ติดต�ำรา ๘. รู้จักประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด ๙. ท�ำให้ง่าย ๑๐. การมีส่วนร่วม ๑๑. ต้องยึดประโยชน์ส่วนรวม ๑๒. บริการที่จุดเดียว One Stop Service ๑๓. ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ ๑๔. ใช้อธรรมปราบอธรรม ๑๕. ปลูกป่าในใจคน ๑๖. ขาดทุนคือก�ำไร ๑๗. การพึ่งพาตนเอง ๑๘. พออยู่พอกิน ๑๙. เศรษฐกิจพอเพียง ๒๐. ความซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกัน ๒๑. ท�ำงานอย่างมีความสุข ๒๒. ความเพียร ๒๓. รู้ รัก สามัคคี ๙ พระราชกรณียกิจ
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
75
แบบติดตามและสรุปผลการปฏิบัติงานจิตสาธารณะ
76
บทที่ ๓ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
77
78
บทที่ ๓ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ
ใบความรู้
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
79
80
บทที่ ๓ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
81
82
บทที่ ๓ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง จิ ต สาธารณะ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง ซื่อสัตย์ สุจริต
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
83
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง ซื่อสัตย์ สุจริต หลั ก สู ต ร
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
จ� ำ นวน ๒ คาบ
วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ อบรมให้ นั ก เรี ย น ๑. มีความรู้ความเข้าใจเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ๒. ตระหนักถึงประโยชน์ของความซื่อสัตย์สุจริตและน�ำไปประพฤติปฏิบัติยึดมั่นในตนเอง ๓. เรียนรู้ความเป็นมาของสถาบันพระมหากษัตริย์ไทย เกิดความเคารพรัก เทิดทูน และจงรักภักดี ๔. ฝึกทักษะคิดวิเคราะห์เชื่อมโยงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่องความซื่อสัตย์ สุจริตกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน กลุ ่ ม ผู ้ เ ข้ า รั บ การอบรม นักเรียน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ วิ ท ยากร ครูในโรงเรียน แกนน�ำครอบครัวพอเพียง หรือวิทยากรในชุมชน เนื้ อ หาสาระ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้นักเรียนเกิดความคิดและจิตส�ำนึกในการมีความซื่อสัตย์อยู่ในจิตใจ และสอดแทรก ว่า หากทุกคนมีความซื่อสัตย์ จะเกิดผลดี และท�ำให้สังคมมีความสุข ผลการเรี ย นรู ้ ที่ ค าดหวั ง ๑. นักเรียนสามารถวิเคราะห์และระบุพฤติกรรมความซื่อสัตย์สุจริตได้ ๒. นักเรียนวิเคราะห์ผลกระทบของความไม่ซื่อสัตย์ สุจริตได้ ๓. นักเรียนตั้งปณิธานเป็นคนซื่อสัตย์สุจริต สื่ อ และอุ ป กรณ์ ใ นการเรี ย นการสอน ๑. วีดีทัศน์ เรื่องโตไปไม่โกง https://www.youtube.com/watch?v=z-tv3IttoAU เกี่ยวกับความซื่อสัตย์ในการใช้ ชีวิตประจ�ำวัน (คุณครูสามารถเลือกใช้วีดีทัศน์ได้) ตามความเหมาะสม ๒. วี ดี ทั ศ น์ เรื่ อ งคุ ณ โกงตามน�้ ำ หรื อ ไม่ https://www.youtube.com/watch?v=J3-albmQ0hs เกี่ ย วกั บ ความซื่อสัตย์ในการใช้ชีวิตประจ�ำวัน (คุณครูสามารถเลือกใช้วีดีทัศน์ได้) ตามความเหมาะสม ๓. สื่อ power point เรื่อง พระบรมราโชวาทเกี่ยวกับความซื่อสัตย์ (ให้ครูเลือกตามความเหมาะสม) ๔. ใบงานเรื่อง “สร้างความตระหนัก ป้องกันการทุจริต ปลูกจิตส�ำนึกให้นักเรียน” ๕. เนื้อร้อง ของขวัญจากก้อนดิน เกี่ยวกับพลังความดี พลังความซื่อสัตย์ในการใช้ชีวิตประจ�ำวัน ๖. วีดีทัศน์ ผู้ปิดทองหลังพระ (คาราบาว) https://www.youtube.com/watch?v=sZ4iuUJWe5A ความยาว 6.40 นาที ๗. เปิดเพลงคาราโอเกะ ของขวัญจากก้อนดิน https://www.youtube.com/watch?v=PrGqQys_pRc หรือ https://www.youtube.com/watch?v=or2gjEvsJyY ความยาว ๓.๕๐ นาที ๘. กระดาษรูปหัวใจ เท่าจ�ำนวนนักเรียน ๙. วีดีทัศน์ เรื่องความซื่อสัตย์ สิ่งดีดีที่พระองค์ทรงท�ำให้เราเห็น เกี่ยวกับการแข่งขันกีฬาเรือใบซุปเปอร์มดเกี่ยวกับ ความซื่อสัตย์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ ความยาว ๑ นาที
84
บทที่ ๔ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง ซื่อสัตย์ สุจริต คาบที่ ๑
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ นักเรียนสามารถวิเคราะห์และระบุพฤติกรรมความซื่อสัตย์ สุจริตได้ ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม ๑.๑ ให้นักเรียนและครูที่เข้าร่วมกิจกรรมยืนเพื่อแสดงความเคารพและน้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณด้วยเพลง สรรเสริญพระบารมี จากสื่อ youtube https://m.youtube./watch?v=u0ivHKBVf9Q# (ใช้เวลา ๕ นาที) ๑.๒ ครูสนทนาสร้างปฏิสัมพันธ์กับนักเรียนเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับนักเรียน (ใช้เวลา ๕ นาที) ขั้ น ที่ ๒ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม ๒.๑ นักเรียนชมคลิปวีดีทัศน์ เรื่องความซื่อสัตย์ สิ่งดีดีที่พระองค์ทรงท�ำให้เราเห็น เกี่ยวกับการแข่งขันกีฬาเรือใบ ซุปเปอร์มด ด้านความซื่อสัตย์ สุจริตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ ๙ ความยาวประมาณ ๑ นาที ๒.๒ ครู แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละประมาณ ๖ - ๑๐ คน แจกกระดาษคลิปชาร์ทและปากกาเมจิกให้นักเรียนแต่ละ กลุ่มเพื่อร่วมกันคิดวิเคราะห์คุณธรรมที่ได้จากเรื่องดังกล่าวลงกระดาษ ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด ๓.๑ ครูให้ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาน�ำเสนอความคิดที่ได้จากข้อ ๒.๒ หน้าชั้นเรียน กลุ่มละ ๕ นาที (ครูอาจ จะสุ่มนักเรียนบางกลุ่มออกมาน�ำเสนอ โดยพิจารณาจากความเหมาะสมของเวลา) ๓.๒ ครูแจกกระดาษรูปหัวใจให้นักเรียนแต่ละคน เขียนพฤติกรรมที่แสดงความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่นน�ำไปติดไว้ ที่บอร์ด ๓.๓ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ (ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน) ๑ มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒ มีคุณธรรม ๓ มีความพอประมาณ ๔ มีเหตุผล ๕ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๔ ให้นักเรียนท�ำใบงาน วิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน หลังจากด�ำเนิน การตามข้อ ๓.๓ เรียบร้อย พร้อมทั้งน�ำมาส่งในคาบต่อไปทั้งนี้ให้ครูผู้สอนเน้นย�้ำเรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
85
ใบงาน
เรื่อง การเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน จากเรื่องที่ก�ำหนดให้ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๕ ค� ำ ๕ ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
คุณธรรม
พอประมาณ
มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสิ่งแวดล้อม มิติด้านวัฒนธรรม ขั้ น ที่ ๔ การวั ด และประเมิ น ผล ๔.๑ ตรวจชิ้นงาน จากข้อ ๓.๔ ๔.๒ สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม
86
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
สมดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น พร้ อ มรั บ การ เปลี่ ย นแปลง
มิติด้านสังคม
เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม�่ำเสมอ • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง • พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง • พฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติ
มีเหตุผล
ให้ ๓ คะแนน ให้ ๒ คะแนน ให้ ๑ คะแนน ให้ ๐ คะแนน
บทที่ ๔ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง ซื่อสัตย์ สุจริต คาบที่ ๒
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ นักเรียนวิเคราะห์ผลกระทบของความไม่ซื่อสัตย์ สุจริตได้ นักเรียนตั้งปณิธานเป็นคนซื่อสัตย์ สุจริต ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม ๑.๑ ให้นักเรียนและครูที่เข้าร่วมกิจกรรมยืนเพื่อแสดงความเคารพและน้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณด้วยเพลง สรรเสริญพระบารมี https://m.youtube./watch?v=u0ivHKBVf9Q# (ใช้เวลา ๕ นาที) ๑.๒ ครูทบทวนกิจกรรมเมื่อคาบที่ผ่านมา พร้อมติดตามภาระชิ้นงาน เรื่องการเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ขั้ น ที่ ๒ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม นั ก เรี ย นวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบของความไม่ ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ได้ ๒.๑ ครูให้นักเรียนชมวีดีทัศน์ โตไปไม่โกง/คุณโกงตามน�้ำหรือไม่ เกี่ยวกับความซื่อสัตย์ในการใช้ชีวิตประจ�ำวัน ใช้ เวลา ๑ นาที วีดีทัศน์ เรื่องโตไปไม่โกง https://www.youtube.com/watch?v=z-tv3IttoAU เกี่ยวกับความซื่อสัตย์ในการ ใช้ชีวิตประจ�ำวัน (คุณครูสามารถเลือกใช้วีดีทัศน์ได้) หรือวีดีทัศน์เรื่องคุณโกงตามน�้ำหรือไม่ https://www.youtube.com/ watch?v=J3-albmQ0hs (ใช้เวลา ๑ นาที ) ๒.๒ ครูแจกใบงาน“สร้างความตระหนัก ป้องกันการทุจริต ปลูกจิตส�ำนึกให้นักเรียน” ให้นักเรียนหลังจากได้ชม วีดีทัศน์ในข้อ ๒.๑ แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม (เดิม) ร่วมกันวิเคราะห์ตามประเด็นที่ก�ำหนดตามใบงาน ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด ๓.๑ ครูจับฉลากกลุ่มเพื่อให้ส่งตัวแทนออกมาน�ำเสนอสะท้อนความคิด ๓.๒ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป ผลกระทบของตนเองและส่วนรวมที่เกิดจากความไม่ซื่อสัตย์สุจริต ๓.๓ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ (ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน) ๑ มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒ มีคุณธรรม ๓ มีความพอประมาณ ๔ มีเหตุผล ๕ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๔ แจกใบงานให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน หลังจากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของการเชื่อมโยง ขั้ น ที่ ๔ สรุ ป ประเมิ น ผล ๔.๑ ครูน�ำเสนอ power point เรื่อง พระบรมราโชวาทเกี่ยวกับความซื่อสัตย์ สุจริตและเน้นย�้ำเรื่องการท�ำตนเป็น คนดีมีประโยชน์ต่อแผ่นดิน เพื่อเป็นของขวัญให้พ่อหลวงของปวงชนและเปิดเพลงของขวัญจากก้อนดินให้นักเรียนร่วมร้อง เพลงไปพร้อมกัน ๔.๒ นักเรียนนั่งสงบนิ่ง ตั้งจิตอธิษฐาน และตั้งปณิธานประพฤติตนเป็นคนซื่อสัตย์ สุจริต ประเมิ น ผล ๔.๓ ตรวจใบงาน ที่มอบหมาย ในข้อ ๒.๒ และ ๓.๔ ๔.๔ สังเกตและติดตามพฤติกรรมนักเรียน ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
87
ใบงาน
เรื่อง การเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน จากเรื่องที่ก�ำหนดให้ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๕ ค� ำ ๕ ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
คุณธรรม
พอประมาณ
มีเหตุผล
มิติด้านเศรษฐกิจ
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
สมดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น พร้ อ มรั บ การ เปลี่ ย นแปลง
มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม มิติด้านวัฒนธรรม ขั้ น ที่ ๔ การวั ด และประเมิ น ผล รายการที่วัด/ประเมินผล
วิธีการ ประเมิน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง ความซื่อสัตย์ สุจริต
แบบวัด พฤติกรรม
ตรวจใบงาน ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ฯ เรื่อง ซื่อสัตย์ สุจริต กับหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม�่ำเสมอ • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง • พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง • พฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติ 88
เครื่องมือประเมิน
แบบวัดพฤติกรรม ระดับ ๒ ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์ บ่งชี้คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ความซื่อสัตย์ สุจริต แบบตรวจ
ให้ ๓ คะแนน ให้ ๒ คะแนน ให้ ๑ คะแนน ให้ ๐ คะแนน
บทที่ ๔ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต
เกณฑ์การ ประเมิน
ตอบ ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน ถูกทุกข้อ
ผู้ประเมิน ผู้จัดกิจกรรม
ผู้จัดกิจกรรม
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of the Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้อง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการ ทุก ขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจใน ทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้าน วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ค� ำ นิ ย าม ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการ ผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำนั้นๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดย ค�ำนึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่ อ นไข • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะน�ำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�ำเนินชีวิต แนวทางในการปฏิบัติผลที่คาดว่าจะได้รับจากการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้และ เทคโนโลยี “ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น เสมื อ นรากฐานของชี วิ ต รากฐานความมั่ น คงของแผ่ น ดิ น เปรี ย บเสมื อ นเสาเข็ ม ที่ ต อกรองรั บ บ้ า นเรื อ น ตั ว อาคารไว้ นั่ น เอง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งจะมั่ น คงได้ ก็ อ ยู ่ ที่ เ สาเข็ ม แต่ ค นส่ ว นมากมองไม่ เ ห็ น เสาเข็ ม และลื ม เสาเข็ ม เสี ย ด้ ว ยซ�้ ำ ไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากวารสารชัยพัฒนา เดือนสิงหาคม ๒๕๔๒
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
89
90
บทที่ ๔ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต
ขั้ น ที่ ๔ การวั ด และประเมิ น ผล รายการที่วัด/ประเมินผล
วิธีการประเมิน เครื่องมือประเมิน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง ความซื่อสัตย์ สุจริต
แบบวัด พฤติกรรม
ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ฯ เรื่อง ซื่อสัตย์ สุจริต กับหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน
ตรวจใบงาน
เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม�่ำเสมอ • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง • พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง • พฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติ
เกณฑ์การ ประเมิน
แบบวัดพฤติกรรม ระดับ ๒ ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์ บ่งชี้คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ความซื่อสัตย์ สุจริต แบบตรวจ
ตอบ ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน ถูกทุกข้อ
ผู้ประเมิน ผู้จัดกิจกรรม
ผู้จัดกิจกรรม
ให้ ๓ คะแนน ให้ ๒ คะแนน ให้ ๑ คะแนน ให้ ๐ คะแนน
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
91
ใบงานกิจกรรม
“สร้างความตระหนัก ป้องกันทารทุจริต ปลุกจิตส�ำนึกให้นักเรียน” ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ชมวีดีทัศน์ (ภาพข่าวเหตุการณ์) อย่างตั้งใจ น�ำเหตุการณ์ดังกล่าวไป วิเคราะห์ตามประเด็นที่ก�ำหนดให้ในใบงาน พฤติกรรม
ผลดี
ผลเสีย
พฤติกรรมที่ดีที่พบในเหตุการณ์ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ...........................................
มีผลดีเกิดกับใครบ้าง ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ...........................................
มีผลเสียเกิดกับใครบ้าง ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ...........................................
สรุป กลุ่มจะตัดสินใจ ปฏิบัติอย่างไร ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................
92
บทที่ ๔ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต
ใบความรู้ พระบรมราโชวาท
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร “...ความซื่อสัตย์ สุจริตเป็นพื้นฐานของความดีทุกอย่าง เด็กๆจึงต้องฝึกฝนอบรมให้เกิดมีขึ้นในตนเอง เพื่อจักได้ เติบโตขึ้นเป็นคนดีมีประโยชน์ และมีชีวิตที่สะอาดที่เจริญมั่นคง...” ความตอนหนึ่ง ในพระบรมราโชวาทพระราชทานเนื่องในวันเด็กแห่งชาติ ปี ๒๕๓๑ “...คนที่ไม่มีความสุจริต คนที่ไม่มีความ มั่นคงชอบแต่มักง่ายไม่มีวันจะ สร้างสรรค์ประโยชน์ส่วนรวมที่ส�ำคัญอัน ใดได้ ผู้ที่มีความสุจริตและความมุ่งมั่นเท่านั้น จึงจะท�ำงานส�ำคัญยิ่งใหญ่ที่เป็นคุณ เป็นประโยชน์แท้จริงได้ส�ำเร็จ...” ความตอนหนึ่ง ในพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ หอประชุม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๒๒ “...ความซื่อสัตย์ สุจริตเป็นพื้นฐานขอความ ดีทุกอย่าง เด็กๆจึงต้องฝึกฝนอบรมให้ เกิดมีขึ้นในตนเอง เพื่อจักได้ เติบโตขึ้นเป็นคนดีมีประโยชน์ และมีชีวิตที่สะอาดที่เจริญมั่นคง...” ความตอนหนึ่ง ในพระบรมราโชวาทพระราชทานเนื่องในวันเด็กแห่งชาติ ปี ๒๕๓๑ “...ผู้ที่มีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แม้จะมีความรู้น้อยก็ย่อมท�ำประโยชน์ให้ แก่ส่วนรวมได้มากกว่าผู้มีความรู้มาก แต่ไม่มีความสุจริตไม่มีความบริสุทธิ์ใจ...” ความตอนหนึ่ง ในพระราชด�ำรัสพระราชทานแก่คณะคณาจารย์โรงเรียนต่างๆ ณ พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐานวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๒๓ “...ความเจริญนั้นจะเกิดขึ้นได้ ย่อมต้องอาศัยเหตุปัจจัยประกอบกันหลายอย่าง นอก จากวิทยาการที่ดีแล้วจะต้อง อาศัยความยุติธรรมเที่ยงตรง และความสะอาดสุจริต ซึ่งต้องเป็นไปพร้อมทั้งในความคิดและการกระท�ำ...” ความตอนหนึ่ง ในพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยขอนแก่น วันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๒๘ “...การที่จะท�ำงานให้สัมฤทธิ์ผลที่พึงปรารถนาคือที่เป็นประโยชน์และเป็นธรรมด้วยนั้นจะอาศัยความรู้แต่เพียง อย่างเดียวมิได้ จ�ำเป็นต้องอาศัยความสุจริตความบริสุทธิ์ใจ และความถูกต้องเป็นธรรม ประกอบด้วย...” ความตอนหนึ่ง ในพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ณ อาคารใหม่ สวนอัมพรวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๒๐ “...เมื่อคิดเรื่องใดสิ่งใดต้องท�ำใจ ให้มั่นคงเป็นกลาง มีเหตุมีผลความจริงใจและสุจริตเที่ยงธรรม เพื่อความคิด จักได้กระจ่างแน่วแน่เห็นถึงจุดหมายและประโยชน์ที่แท้ ของภารกิจของตน อย่างถูกต้องครบถ้วนมีอิสรภาพ” ความตอนหนึ่ง ในพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๓๓
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
93
บรรณานุ ก รม วีดีทัศน์ โตไปไม่โกง จากเว็บไซต์ https://www.youtube.com/watch?v=DV4vqVsHvT4 ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๐ วีดีทัศน์ คุณโกงตามน�้ำหรือไม่ จากเว็บไซต์ https://www.youtube.com/watch?v=NJe9i52-PHoO0 ๑๘ เมษายน ๒๕๖๐ เว็บไซต์ พระบรมราโชวาท ความซื่อสัตย์ สุจริต http://www.thaihealth.or.th/Content/21640 ๕ มีนาคม ๒๕๖๐
94
บทที่ ๔ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต
บันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๑. ผลการจัดกิจกรรม ๑.๑ จุดเด่นของกิจกรรม…………………….................................…………………………………………………………………… ……………………….............................................................…................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๑.๒ ปัญหาอุปสรรค…………………….................................………………………………………………………………………… ………………….............................................................…........................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๒. แนวทางในการแก้ไขปัญหาและพัฒนากิจกรรม…………………….................................……………………………………… …………………………………………………….............................................................…................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๓. ข้อเสนอแนะอื่นๆ…………………….................................…………………………………………………………..…………………… …………….............................................................….............................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ลงชื่อ………………...………………………………ผู้จัดกิจกรรม (……………………………………………………) วันที่……………เดือน……………….พ.ศ.................
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
95
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง มีวินัย
96
บทที่ ๔ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง มีวินัย หลั ก สู ต ร
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
จ� ำ นวน ๓ คาบ
วั ต ถุ ป ระสงค์ ๑. เพื่ออบรมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องความมีวินัย ๒. เพื่อฝึกให้นักเรียนมีระเบียบวินัยในตนเองและน�ำไปประพฤติปฏิบัติ ๓. เพื่อฝึกนักเรียนให้เชื่อมโยงคุณลักษณะอันพึงประสงค์เรื่อง มีวินัยกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงกับ ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน กลุ ่ ม ผู ้ เ ข้ า รั บ การอบรม นักเรียน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ วิ ท ยากร ครูในโรงเรียน แกนน�ำครอบครัวพอเพียง หรือวิทยากรในชุมชน เนื้ อ หาสาระ วินัย หมายถึง การจัดสรรโอกาสที่ท�ำให้ชีวิตและสังคมมีระบบระเบียบ สามารถท�ำกิจกรรมและ ด�ำเนินชีวิตได้สะดวก ถ้าชีวิตและสังคมไม่มีระเบียบ ไม่เป็นระบบ ก็จะสูญเสียโอกาส ในการที่จะด�ำเนินชีวิตและท�ำกิจการของสังคมให้เป็นไปด้วย ดี ผู้มีวินัยในตนเองท�ำให้การพัฒนาตน พัฒนางานได้ผลดี วิ นั ย ในการควบคุ ม พฤติ ก รรมสามารถแบ่ ง ออกเป็ น ๒ ประเภท ดั ง นี้ ๑. วินัยภายนอก หรือส่วนรวม หรือวินัยส�ำหรับหมู่คณะ ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้ว วินัยประเภทนี้จะตั้งกฎเกณฑ์ แนวทาง ปฏิบัติไว้เป็นกลางๆ ที่ทุกคนสามารถปฏิบัติตามได้ ๒. วินัยในตนเอง หมายถึง แนวทางที่บุคคลเลือกปฏิบัติเพื่อบังคับตนเองให้ปฏิบัติตาม ทั้งนี้เกิดจากความสมัครใจ และข้อปฏิบัติดังกล่าวจะต้องไม่ขัดต่อกฎระเบียบของสังคม เพื่อเป้าหมายหลัก คือ การเกิดความสงบสุขภายในสังคม กล่าว โดยสรุป วินัยทั้งสองประเภทดังกล่าวมีความเกี่ยวข้องกัน กล่าวคือ วินัยในตนเองเป็นความสามารถของบุคคลในการควบคุม อารมณ์และพฤติกรรมให้เป็นไปตามความต้องการของตนโดยเกิดจากแรงกระตุ้นภายในของตัวบุคคลนั้นอันเป็นผลสืบเนื่อง มาจากการเรียนรู้ว่าเป็นค่านิยมที่ดี ซึ่งสอดคล้องตามกฎเกณฑ์ ระเบียบแบบแผนของสังคม และไม่ก่อให้เกิดความยุ่งยาก ดื้อรั้นแก่ตนเองและละเมิดสิทธิของผู้อื่น เช่น การแต่งกาย การพูดจา เป็นต้น ซึ่งโรงเรียนจ�ำเป็นจะต้องรักษาและเสริมสร้าง ระเบียบวินัยทั้งสองด้านให้เกิดขึ้นกับนักเรียน ผลการเรี ย นรู ้ ที่ ค าดหวั ง ๑. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวินัย ๒. นักเรียนตระหนักถึงความส�ำคัญของการมีวินัยในตนเอง ๓. นักเรียนปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ๔. นักเรียนเชื่อมโยงคุณลักษณะอันพึงประสงค์เรื่อง มีวินัยกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงกับ ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่ พ่อสอน
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
97
สื่ อ และอุ ป กรณ์ ก ารเรี ย นการสอน ๑. ใบความรู้เรื่องความส�ำคัญของการมีวินัย ๒. แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนวัดพฤติกรรมการมีระเบียบวินัยในตนเอง ๓. แบบบันทึก good B. book ๔. วีดีทัศน์ เรื่อง วินัยในการเรียนและการเข้าเรียน สื่อจาก you tube https://www.youtube.com/ watch?v=๔mW๒uedqIms ๕. วีดีทัศน์ เรื่อง ไม่มีระเบียบวินัย .แซงคิว ๒ สื่อจาก you tube https://www.youtube.com/watch?v=CLae๒๑mw๒ew ๖. พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๑๙ กันยายน ๒๕๑๖ สื่อจาก you tube https://www.youtube.com/watch?v=caJQjSslskU ๗. วีดีทัศน์เรื่อง เด็กไทยดูดี มีระเบียบวินัย จากสื่อ youtube https://www.youtube.com/watch?v=jwZird๒I_๑k ๘. วีดีทัศน์เรื่อง การรักษาระเบียบวินัย:ความสะอาด จากสื่อ youtube https://www.youtube.com/ watch?v=J๙๘Cj๖vbvpQ ๙. วีดีทัศน์เรื่อง ระเบียบวินัย จากสื่อ you tube https://www.youtube.com/watch?v=OWDOLlGiSpM ๑๐. พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๑๙ กันยายน ๒๕๑๖ Youtube https://www.youtube.com/watch?v=caJQjSslskU ๑๑. เกม “จับถูก” ๑๒. เกม “แจกทาน”
98
บทที่ ๕ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มี วิ นั ย
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง มีวินัย คาบที่ ๑
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่อง วินัย ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม (ใช้ เ วลา ๑๐ นาที ) แจกเอกสารทดสอบก่อนเรียน แล้วให้นักเรียนลงมือท�ำแบบทดสอบก่อนเรียน (ใช้เวลา ๑๐ นาที) เก็บกระดาษ ค�ำตอบ ขั้ น ที่ ๒ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม (ใช้ เ วลา ๒๐ นาที ) ๒.๑ สนทนากับนักเรียนเรื่องระเบียบวินัยของโรงเรียนที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วย (๑๐ นาที ) ๒.๒ นักเรียนดู youtube เรื่องวินัยในการเรียนและการเข้าเรียน (ใช้เวลา ๑๐ นาที) https://www.youtube. com/watch?v=๔mW๒uedqIms ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด (๑๐ นาที ) ๓.๑ ให้นักเรียนเล่นเกม ชื่อ “เกมจับถูก” ตามกติกา เกม “จั บ ถู ก ”
วัตถุประสงค์ เกมนี้มีฝึกให้นักเรียนรู้จักการคิดวิเคราะห์พฤติกรรมความมีระเบียบวินัยที่ดี อุ ป กรณ์ กระดาษ ปากกา กติ ก า
๑. นักเรียนแต่ละคนจะได้รับกระดาษส�ำหรับเขียนข้อความคนละ ๑ แผ่น พร้อมปากกา ๒. ให้นักเรียนพิจารณาเลือกเพื่อนนักเรียนในห้อง จ�ำนวน ๑ คน ที่คิดว่าเป็นผู้มีพฤติกรรมการมีระเบียบวินัยใน ตนเองในระดับที่เป็นแบบอย่างได้ ๓. ให้นักเรียนเขียนลักษณะเด่นของเพื่อนนักเรียนคนนั้นลงในกระดาษที่ครูแจกให้ในข้อ ๑ โดยไม่ต้องระบุชื่อ ลักษณะเด่นของเพื่อน...........(ไม่ต้องระบุชื่อเพื่อน) .......................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... พฤติกรรมที่แสดงว่าเป็นคนมีระเบียบวินัยที่ดี (ท�ำเครื่องหมาย / หน้าข้อที่คิดว่าเพื่อนมีพฤติกรรมนั้น ด้านความรับผิดชอบ ด้านความซื่อสัตย์ ด้านความเชื่อมั่นในตนเอง ด้านความเป็นผู้น�ำ ด้านความอดทน ด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคม ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
99
๔. เมื่อเขียนเสร็จให้นักเรียนคว�่ำกระดาษไว้ ครูสุ่มตัวอย่างเลือกนักเรียนมาอ่านข้อความในกระดาษหน้าชั้นเรียน เพื่อให้เพื่อนทายว่า นักเรียนคนนั้นคือใคร ให้นักเรียนที่อ่านเฉลยว่าเขาเขียนพฤติกรรมของใคร และที่นักเรียนคิดว่าเพื่อนมี พฤติกรรมแสดงความมีระเบียบวินัยที่ดีเป็นอย่างไร สรุ ป การเรี ย นรู ้ ๓.๑ นักเรียนฝึกพฤติกรรมการสังเกตและมีความรู้ความเข้าใจเรื่องพฤติกรรมการแสดงออกเรื่องการมีระเบียบวินัยที่ ดี ๓.๒ สุ่มตัวอย่างนักเรียนหนึ่งคนออกมาอ่านข้อความบนกระดาษให้เพื่อนฟังแล้วทายว่าพฤติกรรมที่อ่านนั้นตรงกับ พฤติกรรม ของใคร (เขาคือใคร) และสนทนากันว่าพฤติกรรมที่เขียนมานั้นเป็นพฤติกรรมที่ดีเพราะอะไร ดีอย่างไร ซึ่งอาจจะ ท�ำการสุ่ม ตัวอย่าง ๒ – ๓ คนเพื่อสร้างความเข้าใจวิธีสังเกตพฤติกรรมที่ดี ๓.๓ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ ( ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน) ๑ มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒ มีคุณธรรม ๓ มีความพอประมาณ ๔ มีเหตุผล ๕ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๔ ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงพฤติกรรมความมีวินัยตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อ สอนตามใบงาน
100
บทที่ ๕ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มี วิ นั ย
ใบงานกิจกรรม
การเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอนจากกิจกรรมที่ก�ำหนดให้ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๕ ค� ำ ๕ ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
คุณธรรม
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสังคม
สมดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น พร้ อ มรั บ การเปลี่ ย นแปลง
มิติด้านสิ่งแวดล้อม มิติด้านวัฒนธรรม
ขั้ น ที่ ๔ สรุ ป ประเมิ น ผล (ใช้ เ วลา ๕ นาที ) ๔.๑ แจ้งให้นักเรียนทราบว่ากระดาษที่นักเรียนเขียนพฤติกรรมที่ดีของเพื่อนในวันนี้จะติดไว้ที่บอร์ดในห้องและสามารถ ติดเพิ่มได้ในวันต่อไป ๔.๒ สั ง เกตพฤติ ก รรมแสดงความสนใจของนั ก เรี ย นจากการติ ด แผ่ น กระดาษ “เขาคื อ ใคร” เพิ่ ม เติ ม พร้ อ ม ทั้งตรวจสอบข้อความแสดงพฤติกรรมของเพื่อนที่กล่าวถึงว่าเป็นพฤติกรรมแสดงความมีระเบียบวินัยที่ดีหรือไม่ รายการที่วัด/ประเมินผล
วิธีการประเมิน
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องความหมายและความ ส�ำคัญของการมีระเบียบวินัย
ตรวจผลการวิเคราะห์ พฤติกรรมความมี ระเบียบวินัยที่ดี
นักเรียนสามารถเชื่อมโยง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่องการมีวินัยกับ ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน
เครื่องมือประเมิน
เกณฑ์การ ประเมิน
ผู้ประเมิน
แบบวัดพฤติกรรม ระดับ ๒ ขึ้นไป แสดงความมีวินัยที่ดี
ผู้จัดกิจกรรม
ระดับ ๒ ขึ้นไป แบบเชื่อมโยง ตรวจแบบเชื่อมโยง พฤติกรรมแสดง พฤติกรรมแสดงความ มีระเบียบวินัยตามหลัก ความมีระเบียบวินัย ปรัชญาของเศรษฐกิจ ตามหลักปรัชญาของ พอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่ เศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน พ่อสอน
ผู้จัดกิจกรรม
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
101
เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม�่ำเสมอ • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง • พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง • พฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติ
102
บทที่ ๕ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มี วิ นั ย
ให้ ๓ คะแนน ให้ ๒ คะแนน ให้ ๑ คะแนน ให้ ๐ คะแนน
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of the Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้อง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนัก ธุรกิจในทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้าง ขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ค� ำ นิ ย าม ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการ ผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำนั้นๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดย ค�ำนึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่ อ นไข • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะน�ำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�ำเนินชีวิต แนวทางในการปฏิบัติผลที่คาดว่าจะได้รับจากการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้และ เทคโนโลยี “ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น เสมื อ นรากฐานของชี วิ ต รากฐานความมั่ น คงของแผ่ น ดิ น เปรี ย บเสมื อ นเสาเข็ ม ที่ ต อกรองรั บ บ้ า นเรื อ น ตั ว อาคารไว้ นั่ น เอง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งจะมั่ น คงได้ ก็ อ ยู ่ ที่ เ สาเข็ ม แต่ ค นส่ ว นมากมองไม่ เ ห็ น เสาเข็ ม และลื ม เสาเข็ ม เสี ย ด้ ว ยซ�้ ำ ไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากวารสารชัยพัฒนา เดือนสิงหาคม ๒๕๔๒
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
103
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
104
บทที่ ๕ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มี วิ นั ย
ใบความรู ้ เ รื่ อ งความส� ำ คั ญ ของการมี วิ นั ย เรื่องความส�ำคัญของการมีระเบียบวินัย . . .คนที่มีระเบียบมีวินัยนั้นเป็นผู้ที่เข้มแข็ง เป็นผู้ที่หวังดีต่อตัวเอง เป็นผู้ที่จะมีความส�ำเร็จในอนาคต อันนี้เป็นระเบียบ อย่างหนึ่ง เป็นวินัยอย่างหนึ่ง คือว่าถ้าคนใดมีระเบียบมีวินัยในร่างกาย คือหมายถึงการปฏิบัติของตัวในกิริยามารยาท ท�ำให้ ไม่มีอุปสรรคต่อการขวนขวายหา จะหาความรู้ก็ได้ หาอะไรก็มีความส�ำเร็จ คือหาสิ่งที่ตัวก�ำลังมุ่งที่จะปฏิบัติ การปฏิบัติด้วย ความมีระเบียบ มีวินัย การปฏิบัตินั้นส�ำเร็จ อันนี้เป็นระเบียบวินัยชนิดหนึ่ง ระเบียบวินัยอีกชนิดที่กล่าวเมื่อตะกี้ ก็คือระเบียบ ในใจ ในใจนั้นก็คือการกระท�ำอะไร เราต้องคิด เมื่อมีระเบียบในความคิด คือมีเหตุผล สิ่งใดที่คิดก็คิดออก สมมุติว่าเราคิดเรื่อง หนึ่ง แล้วก็ไปคิดถึงอีกเรื่องหนึ่งที่ไม่เกี่ยวข้อง แล้วไปคิดถึงเรื่องที่สาม เรื่องที่สี่ เรื่องทั้งสามสี่เรื่องนี้ก็ไม่มีความส�ำเร็จแน่นอน เพราะว่ามันฟุ้งซ่าน ฉะนั้นต้องมีระเบียบในความคิด ที่เรียกว่าระเบียบในใจหรือวินัยในความคิด. พระราชด�ำรัสพระราชทานแก่นักศึกษามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตภาคใต้ จังหวัดสงขลา ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จังหวัดสงขลา วันพฤหัสบดีที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๒๔
คนเราจะมี ร ะเบี ย บวิ นั ย ได้ เ กิ ด จากเหตุ ๔ ประการคื อ ๑. ฝึกจนเคยชินเป็นธรรมชาติ ๒. มีกัลยาณมิตรที่เราเคารพศรัทธาเชื่อฟัง ๓. ตั้งอุดมคติในใจ ๔. ถูกบังคับ พระบรมราโชวาทส� ำ หรั บ เตื อ นใจเมื่ อ ต้ อ งท� ำ ตามระเบี ย บที่ ถู ก บั ง คั บ
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
105
แบบวั ด พฤติ ก รรมก่ อ นและหลั ง เรี ย นเรื่ อ งความมี ร ะเบี ย บวิ นั ย ในตนเอง ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วท�ำเครื่องหมาย / ในช่องที่คิดว่าตรงกับระดับเป็นจริงตามการ ปฏิบัติ/ความรู้สึกของนักเรียนที่มากที่สุดเพียงข้อเดียว ที่
ข้อความ
๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐.
ข้าพเจ้ารู้สึกไม่สบายใจเมื่อส่งงานไม่ตรงเวลา ข้าพเจ้ามาทันโรงเรียนเวลาเข้าแถวเคารพธงชาติเสมอ ข้าพเจ้าปฏิบัติตามระเบียบข้อตกลงของโรงเรียนในการเข้าแถวเสมอ ข้าพเจ้าไม่เคยถูกตักเตือนเรื่องการแต่งกายผิดระเบียบ ข้าพเจ้าเข้าห้องเรียนตรงเวลาเสมอ ข้าพเจ้าเข้าแถวรอคิวเพื่อรับบริการตามล�ำดับเสมอ ข้าพเจ้าเตรียมอุปกรณ์การเรียนมาเรียนอย่างครบถ้วน ข้าพเจ้ารับผิดชอบท�ำหน้าที่เวรท�ำความสะอาดห้องเรียนอย่างสม�่ำเสมอ ข้าพเจ้ารักษาความสะอาดและจัดห้องเรียนให้เป็นระเบียบอยู่เสมอ ข้าพเจ้ารักษาสาธารณสมบัติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนอยู่เสมอ
เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน นักเรียนปฏิบัติทุกครั้งด้วยตนเอง นักเรียนปฏิบัติบางครั้งด้วยตนเอง นักเรียนปฏิบัติบางครั้งและต้องได้รับการตักเตือน
๓
ได้คะแนน ได้คะแนน ได้คะแนน
ระดับการปฏิบัติ ๒
= ๓ = ๒ = ๑
การแปลความหมายของผลรวมของคะแนน คะแนน ๒๔ - ๓๐ คะแนนแสดงว่ามีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เรื่องมีวินัย ในระดับ ๓ ดีเยี่ยม คะแนน ๑๘ - ๒๓ คะแนนแสดงว่ามีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เรื่องมีวินัย ในระดับ ๒ ดี คะแนนต�่ำกว่า ๑๘ คะแนนแสดงว่ามีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เรื่องมีวินัย ในระดับ ๑ ปรับปรุง
106
บทที่ ๕ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มี วิ นั ย
๑
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง มีวินัย คาบที่ ๒
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ นักเรียนตระหนักถึงความส�ำคัญของการมีวินัยในตนเอง (๕๐ นาที ) ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม (ใช้ เ วลา ๑๐ นาที ) ๑.๑ ให้นักเรียนฟังเพลงและร้องตามเพลง “เด็กดีมีวินัย “โดยดูจากสื่อ youtube (เวลา ๑๐ นาที) https://www.youtube.com/watch?v=jwZird๒I_๑k ขั้ น ที่ ๒ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม (ใช้ เ วลา ๓๐ นาที ) ๒.๑ ให้นักเรียนศึกษาผลกระทบที่เกิดการขาดระเบียบวินัย โดยดูจากโดยดูวีดีทัศน์เรื่อง ขาดระเบียบวินัย แซง คิว ๒ จากสื่อใน youtube (ใช้เวลา ๕ นาที ) https://www.youtube.com/watch?v=CLae๒๑mw๒ew ๒.๒ ให้นักเรียนจัดกลุ่มประมาณ ๕-๑๐ คน แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกกับพฤติกรรมของ คนในสื่อ youtube โดยครูแจกกระดาษ A4 ให้นักเรียนตอบค�ำถามตามหัวข้อต่อไปนี้ ๑. นักเรียนเห็นใคร ท�ำอะไร รู้สึกอย่างไร ๒. พฤติกรรมดังกล่าวส่งผลกระทบต่อคนท�ำอย่างไร ๓. พฤติกรรมดังกล่าวส่งผลกระทบต่อคนอื่นอย่างไร นักเรียนและครูช่วยกันสรุป (ใช้เวลา ๑๕ นาที) ๒.๓ ครูให้นักเรียนเล่นเกม แจกทาน ( ใช้เวลา ๑๐ นาที ) ชื่ อ เกม วั ต ถุ ป ระสงค์ อุ ป กรณ์
แจกทาน เรียนรู้ความมีระเบียบวินัย ขนมหรือลูกอมเท่าจ�ำนวนเด็ก ถาดใส่ขนม
กติ ก า
๑. ครูน�ำขนมใส่ถาดเท่าจ�ำนวนนักเรียน วางไว้บนโต๊ะด้านหน้า ๒. แล้วบอกนักเรียนในรอบแรกว่า ครูเอามาฝากพวกเธอใครต้องการให้รีบมาหยิบ ช้าหมด นักเรียนอาจจะรีบวิ่งไป หยิบกัน บางคนเอาไปมากกว่า ๑ ชิ้นท�ำให้นักเรียนบางคนไม่ได้) ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน ๓. ให้ครูเตรียมของจะให้นักเรียนเท่าจ�ำนวนนักเรียนอีกชุดหนึ่ง ๔. ในรอบที่สองครูบอกนักเรียนว่าครูเอาของมาฝากพวกเธออีกคนละ ๑ ชิ้นให้ทุกคนเดินมารับไป ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด (๑๐ นาที ) ๓.๑ สุ่มตัวอย่างให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นต่อเห็นการณ์ที่เกิดขึ้นทั่ง ๒ ครั้ง การแจกทานวิธีไหนดีกว่ากัน พร้อม ระบุเหตุผล ๓.๒ ให้นักเรียนวิเคราะห์ผลดีและผลเสียของการมีระเบียบ โดยแบ่งนักเรียนเป็น ๒ กลุ่มเท่าๆ กันเขียนบนกระดาษ ฟลิปชาร์ท สรุปการเรียนรู้และน�ำมาติดบอร์ด
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
107
๓.๓ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ ( ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน ๑ มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒ มีคุณธรรม ๓ มีความพอประมาณ ๔ มีเหตุผล ๕ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๔ ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงพฤติกรรมแสดงความมีระเบียบวินัยตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน ตามใบงาน สรุ ป การเรี ย นรู ้ การมีวินัยท�ำให้สังคมมีระเบียบเรียบร้อย การไม่มีระเบียบวินัยก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อื่นในสังคม
108
บทที่ ๕ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มี วิ นั ย
ใบงานกิจกรรม
การเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอนจากกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๕ ค� ำ ๕ ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
คุณธรรม
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสังคม
สมดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น พร้ อ มรั บ การเปลี่ ย นแปลง
มิติด้านสิ่งแวดล้อม มิติด้านวัฒนธรรม
ขั้ น ที่ ๔ สรุ ป ประเมิ น ผล (ใช้ เ วลา ๕ นาที ) ๔.๑ สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในกิจกรรมและการน�ำเสนอผลการวิเคราะห์จากสื่อ ที่ศึกษาและการเล่นเกม ๔.๒ แจ้งให้นักเรียนทราบว่ากระดาษที่นักเรียนเขียนพฤติกรรมของเพื่อน “เขาคือใคร”ติดไว้ในห้องให้ศึกษาเพิ่ม เติมได้นอกเวลาเรียน และจ�ำนวนกระดาษมีเพิ่มอีกเท่าไหร่ ๔.๓ สังเกตความสนใจของนักเรียนจากการจ�ำนวนนักเรียนที่อ่านข้อความบนบอร์ดที่ติดไว้ และเขียนผลการทายว่า พฤติกรรมที่อ่านเป็นพฤติกรรมของใคร รายการที่วัด/ประเมินผล
วิธีการประเมิน
นักเรียนตระหนักถึงความ ส�ำคัญของการมีวินัยใน ตนเอง
ตรวจผลการวิเคราะห์ พฤติกรรมความมี ระเบียบวินัยที่ดี
นักเรียนสามารถเชื่อมโยง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่องการมีวินัยกับ ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน
เครื่องมือประเมิน
เกณฑ์การ ประเมิน
ผู้ประเมิน
แบบวัดพฤติกรรม ระดับ ๒ ขึ้นไป แสดงความมีระเบียบ วินัยในตนเอง
ผู้จัดกิจกรรม
ระดับ ๒ ขึ้นไป แบบเชื่อมโยง ตรวจแบบเชื่อมโยง พฤติกรรมแสดง พฤติกรรมแสดงความ มีระเบียบวินัยตามหลัก ความมีระเบียบวินัย ปรัชญาของเศรษฐกิจ ตามหลักปรัชญาของ พอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ เศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน ที่พ่อสอน
ผู้จัดกิจกรรม
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
109
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of the Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้อง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนัก ธุรกิจในทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้าง ขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ค� ำ นิ ย าม ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการ ผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำนั้นๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดย ค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่ อ นไข • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะน�ำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�ำเนินชีวิต แนวทางในการปฏิบัติผลที่คาดว่าจะได้รับจากการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้และ เทคโนโลยี “ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น เสมื อ นรากฐานของชี วิ ต รากฐานความมั่ น คงของแผ่ น ดิ น เปรี ย บเสมื อ นเสาเข็ ม ที่ ต อกรองรั บ บ้ า นเรื อ น ตั ว อาคารไว้ นั่ น เอง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งจะมั่ น คงได้ ก็ อ ยู ่ ที่ เ สาเข็ ม แต่ ค นส่ ว นมากมองไม่ เ ห็ น เสาเข็ ม และลื ม เสาเข็ ม เสี ย ด้ ว ยซ�้ ำ ไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากวารสารชัยพัฒนา เดือนสิงหาคม ๒๕๔๒
110
บทที่ ๕ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มี วิ นั ย
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
111
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง มีวินัย คาบที่ ๓
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ นักเรียนเป็นผู้มีระเบียบวินัย (ใช้เวลา ๕๐ นาที) ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม (ใช้ เ วลา ๑๐ นาที ) ๑.๑ ให้นักเรียนศึกษาเรื่อง “ระเบียบวินัย ” จากสื่อ youtube https://www.youtube.com/watch?v=OWDOLlGiSpM หรือเรื่อง “การปลูกฝังนิสัยความมีระเบียบวินัย เรื่องความสะอาด” จากสื่อ youtube https://www. youtube.com/watch?v=J๙๘Cj๖vbvpQ ๑.๒ สนทนากับนักเรียนเรื่องแนวทางการสร้างระเบียบวินัย โดยให้นักเรียนเสนอเป็นแนวทางที่จะน�ำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตของตนเอง ขั้ น ที่ ๒ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม (ใช้ เ วลา ๑๐ นาที ) ๒.๑ ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่องความส�ำคัญของการมีระเบียบวินัย สนทนาถึงประโยชน์ความจ�ำเป็น รวมทั้ง แนวทางในการสร้างระเบียบวินัย และให้นักเรียนศึกษาพระบรมราโชวาทส�ำหรับเตือนใจเมื่อต้องท�ำตามระเบียบที่ถูกบังคับ (ใช้เวลา ๑๐ นาที) ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด ( ใช้ เ วลา ๒๐ นาที ) ๓.๑ ให้นักเรียนวิเคราะห์และน�ำเสนอประโยชน์และความจ�ำเป็นในการมีระเบียบวินัยจากพระบรมราโชวาท พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช วันที่ ๒๖ มี.ค. ๒๕๒๗ จากสื่อ Youtube https://www.youtube.com/watch?v=caJQjSslskU ๓.๒ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ (ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน) ๑) มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒) มีคุณธรรม ๓) มีความพอประมาณ ๔) มีเหตุผล ๕) มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๓ ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงพฤติกรรมแสดงความมุ่งมั่นในการท�ำงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน
112
บทที่ ๕ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มี วิ นั ย
ใบงานกิจกรรม
การเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอนจากกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๕ ค� ำ ๕ ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
คุณธรรม
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม
สมดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น พร้ อ มรั บ การเปลี่ ย นแปลง
มิติด้านวัฒนธรรม ขั้ น ที่ ๔ สรุ ป ประเมิ น ผล ๔.๑ ทดสอบหลังเรียน โดยใช้ข้อสอบฉบับเดิม ( ๕ นาที ) เพื่อดูผลการพัฒนาคาวมรู้ความเข้าใจเรื่องวินัย ๔.๒ ให้นักเรียนบันทึกพฤติกรรมของตนเองด้วยแบบบันทึก good B. book (พฤติกรรมที่ดี ) ใช้เวลา ๑ สัปดาห์ เมื่อ ครบก�ำหนดให้น�ำส่งครู (วัดผลเรื่องความยั่งยืน ) ( ใช้เวลา ๕ นาที )
การแต่ง กาย ว/ด/ป
แบบบั น ทึ ก good B. book พฤติกรรมแสดงความมีระเบียบวินัยในโรงเรียน มาโรงเรียน กิจกรรม เข้าชั้น ส่งงานตาม มารยาท การรักษา Good ความ เข้าแถว เรียนตรง ก�ำหนด ทางสังคม behavior สะอาดและ เวลา สิ่งแวดล้อม
รวมจ�ำนวน ๕ วัน มีพฤติกรรม Good behavior จ�ำนวน.......... วัน คิดเป็นร้อยละ....................
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
113
ค� ำ อธิ บ ายเรื่ อ งการใช้ แ บบบั น ทึ ก good B. book ๑. ให้นักเรียนบันทึกพฤติกรรมของตนเองว่ามีระเบียบวินัยตามข้อบังคับของโรงเรียนหรือตามระเบียบของสังคมหรือ ไม่ ถ้านักเรียนมีพฤติกรรมดีครบทุกช่อง ให้ท�ำเครื่องหมาย / ลงในช่อง Good behavior ( พฤติกรรมที่ดี ) ๒. นับจ�ำนวนวันที่ได้ Good behavior และคิดเป็นร้อยละ ๓. การแปลความหมายของคะแนน เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ได้คะแนนร้อยละ ได้คะแนนร้อยละ ได้คะแนนร้อยละ ได้คะแนนต�่ำกว่าร้อยละ
114
๘๐ - ๑๐๐ ๖๐ - ๗๙ ๕๐ - ๕๙ ๕๐
ได้คะแนนระดับ ได้คะแนนระดับ ได้คะแนนระดับ ได้คะแนนระดับ
บทที่ ๕ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มี วิ นั ย
๓ แปลว่า ดีเยี่ยม ๒ แปลว่า ดี ๑ แปลว่า พอใช้ ๐ แปลว่า ปรับปรุง หมายเหตุ อาจจะน�ำผลลงบันทึกในระเบียบความดีก็ได้
บันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๑. ผลการจัดกิจกรรม ๑.๑ จุดเด่นของกิจกรรม…………………….................................…………………………………………………………………… ……………………….............................................................…................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๑.๒ ปัญหาอุปสรรค…………………….................................………………………………………………………………………… ………………….............................................................…........................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๒. แนวทางในการแก้ไขปัญหาและพัฒนากิจกรรม…………………….................................……………………………………… …………………………………………………….............................................................…................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๓. ข้อเสนอแนะอื่นๆ…………………….................................…………………………………………………………..…………………… …………….............................................................….............................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ลงชื่อ………………...………………………………ผู้จัดกิจกรรม (……………………………………………………) วันที่……………เดือน……………….พ.ศ......................
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
115
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of the Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้อง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนัก ธุรกิจในทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้าง ขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ค� ำ นิ ย าม ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการ ผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำนั้นๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดย ค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่ อ นไข • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะน�ำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�ำเนินชีวิต แนวทางในการปฏิบัติผลที่คาดว่าจะได้รับจากการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมวัฒนธรรม ความรู้และ เทคโนโลยี “ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น เสมื อ นรากฐานของชี วิ ต รากฐานความมั่ น คงของแผ่ น ดิ น เปรี ย บเสมื อ นเสาเข็ ม ที่ ต อกรองรั บ บ้ า นเรื อ น ตั ว อาคารไว้ นั่ น เอง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งจะมั่ น คงได้ ก็ อ ยู ่ ที่ เ สาเข็ ม แต่ ค นส่ ว นมากมองไม่ เ ห็ น เสาเข็ ม และลื ม เสาเข็ ม เสี ย ด้ ว ยซ�้ ำ ไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากวารสารชัยพัฒนา เดือนสิงหาคม ๒๕๔๒
116
บทที่ ๕ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มี วิ นั ย
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
117
เอกสารประกอบการสอน ส�ำหรับครูผู้สอน ส�ำนักงานคณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาติ (๒๕๔๖ : ๖) ให้ความหมายไว้ว่า วินัยในตนเอง หมายถึง คุณลักษณะ ทางจิตใจและพฤติกรรม ที่ช่วยให้สามารถควบคุมตนเองและปฏิบัติตามระบบระเบียบเพื่อประโยชน์สุขของส่วนรวม ปรีชา ธรรมา (๒๕๔๖ : ๕๙) ให้ความหมายของความมีวินัยในตนเองว่า หมายถึง การควบคุม พฤติกรรมของบุคคล ด้วยความสามารถของตนเองได้เป็นผลส�ำเร็จ ตามเป้าหมายอันเป็นที่ยอมรับ โดยงดเว้น หรือระงับยับยั้งการกระท�ำอันไม่ เหมาะสมและน�ำตนไปสู่การกระท�ำอันเหมาะสมยิ่งขึ้น สรุปว่า วินัยในตนเอง เป็นความสามารถของบุคคลในการควบคุมพฤติกรรมของตนให้ประพฤติ ปฏิบัติในทางที่พึง ปรารถนา ตามความต้องการของตนเองตามระเบียบและกฎเกณฑ์ที่ก�ำหนด เช่น ระเบียบของ โรงเรียน ของชุมชน ตามหลัก ศีลธรรม เป็นต้น โดยที่ไม่ได้ปฏิบัติเพราะได้รับค�ำสั่งจากคนอื่น ซึ่งนอกเหนือจาก จะกระท�ำ ในสิ่งที่เหมาะสมแล้วยังยับยั้งการ กระท�ำ ที่ไม่เหมาะสมด้วย ตัวอย่างที่แสดงถึงการมีวินัยในตนเอง เช่น • ตื่นนอนตี ๕ ทุกวันแล้วแต่งชุดวอร์มไปออกก�ำลังกาย โดยการก�ำกับของตนเอง • อ่านหนังสือตั้งแต่ ๒ ทุ่ม ถึง ๔ ทุ่มอย่างสม�่ำเสมอโดยไม่ต้องให้คนอื่นสั่งหรือบอกหรือคอยก�ำกับ • ท�ำการล้างจาน ภาชนะหลังจากรับประทานอาหารเสร็จเสมอ • เข้าคิวเพื่อชมรายการแสดงในโรงละครตามล�ำดับก่อนหลัง • เข้าห้องเรียนก่อนเวลาสอนเล็กน้อยทุกครั้งจนเป็นนิสัย ลักษณะของบุคคลที่มีวินัยในตนเอง นักวิชาการหลายท่าน ได้กล่าว ถึงองค์ประกอบของวินัยในตนเอง พฤติกรรม ลักษณะของบุคคลที่มีวินัย ในตนเอง วิ ธี ฝ ึ ก วิ นั ย ๑. อาศัยธรรมชาติของมนุษย์ คือใช้ธรรมชาติของมนุษย์มาเป็นเครื่องช่วย คือท�ำให้เป็นไปตามธรรมชาติ หรือสอดคล้อง กับธรรมชาติของมนุษย์นั้นเอง เพราะมนุษย์โดยทั่วไปด�ำเนินชีวิตด้วยความเคยชิน เมื่อพบเห็นอะไรแล้วจะปฏิบัติตามกัน ถ้า เราใช้ความเคยชินเป็นการฝึกขั้นแรก คือฝึกให้เป็นพฤติกรรมเคยชิน ถ้าต้องการสร้างวินัยก็ต้องฝึกให้เป็นพฤติกรรมเคยชิน คนไทยมีวัฒนธรรมที่ดี ซึ่งเป็นปัจจัยอย่างหนึ่งที่สร้างวินัยแบบพฤติกรรมเคยชิน เช่นพ่อแม่พาเด็กไปในสถานที่ที่ต้องให้บริการ แก่คนจ�ำนวนมาก พ่อแม่ไปเข้าแถวรอคิว เด็กก็ไปเข้าแถวด้วย ครั้งต่อไปเด็กเข้าแถวรอคิวเองโดยไม่ต้องตั้งใจฝึก ไม่ต้องไป สอนให้ปากเปียกปากแฉะ วัฒนธรรมเข้าแถวก็มีมาเองจากการถ่ายทอดตามความเคยชิน นี่คือวินัยที่กลายเป็นวิถีชีวิต การ ฝึกวินัย(ฝึกใช้ศีลคือเป็นปกติ)นั้น จะได้ผลดีต้องอาศัยระบบความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ แบบบูรณาการกันด้วย คือ เป็นระบบองค์รวมที่จะต้องประสานกัน ทั้ง ๓ ส่วน คือด้านพฤติกรรม ด้านจิตใจ และด้านปัญญาจึงจะเกิดองค์รวมที่สมบูรณ์ จนสิ่งที่ฝึกนั้นก็จะกลายเป็นชีวิตจริงของเขา ฉะนั้นเวลาเราฝึกท�ำอะไรอย่างหนึ่งจึงต้องดูทั้งสามด้าน คือ - ด้านพฤติกรรม ถ้าเขามีพฤติกรรมที่ดีด้วยความเคยชิน การท�ำความดีก็เกิดเป็นปกติ - ด้านจิตใจ ถ้าเขามีความพึงพอใจ หรือมีความสุขในการท�ำพฤติกรรมนั้น พฤติกรรมนั้นจะมั่นคงยิ่งขึ้น ผู้ฝึกต้องคอย สังเกตพฤติกรรมว่าท�ำอย่างไรให้เขาเกิดวินัยด้วยความสุข มีความพึงพอใจ - ด้านปัญญา ถ้าเขามีความรู้เข้าใจเหตุผล เห็นคุณค่า เห็นประโยชน์ของการกระท�ำหรือพฤติกรรมนั้น ความรู้ความ เข้าใจนั้น ก็จะส่งเสริมด้านจิตใจ เมื่อเขาพึงพอใจ และมีความสุข ก็จะปฏิบัติตามพฤติกรรมนั้นยิ่งขึ้นไปอีก องค์ประกอบสามส่วนนี้ส่งเสริมซึ่งกันและกัน ต้องพัฒนาด้วยกัน ถ้าท�ำไปในลักษณะบังคับ จิตใจของคนไม่มีความ สุข พอจิตใจของคนไม่มีความสุข เขาจะท�ำด้วยความจ�ำใจ และพร้อมที่จะละเมิดแล้วต่อไปก็อาจจะเกิดปัญหา ทีนี้ถ้าไม่ท�ำ ด้วยปัญญา ต่อไปเขาเรียนรู้ไปทางอื่น เขาไม่เห็นเหตุผลในเรื่องนี้ เขาก็สงสัยท�ำให้เขาเกิดความลังเลที่จะท�ำ ฉะนั้นต้องให้ได้ ทั้ง ๓ ส่วน นี่คือต้องมีทั้ง ศีล สมาธิ ปัญญา จะต้องฝึกวินัยให้ได้องค์ประกอบสัมพันธ์กันพร้อมทั้ง ๓ ด้านนี้ ที่น่าสนใจคือการ สร้างวินัยโดยใช้ปัจจัยอื่นช่วยเสริม ๒. กัลยาณมิตร ด้วยศรัทธา และความรัก ถ้าครูอาจารย์น่ารัก ท�ำให้เด็กมีความอบอุ่นสบายใจ เด็กก็อยากจะเชื่อ ฟัง ครูอาจารย์ที่เขารักเคารพและศรัทธานั้น พอพูดอะไรลูกศิษย์ก็อยากท�ำอยู่แล้ว และเขาก็มีความสุขที่จะท�ำตามด้วย วินัย ก็เกิดได้ง่าย เพราะฉะนั้นศรัทธาและความรัก จึงเป็นปัจจัยส�ำคัญ ความเป็นกัลยาณมิตร เป็นตัวเสริมในการสร้างวินัยจาก พฤติกรรมที่เคยชิน เช่น 118
บทที่ ๕ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มี วิ นั ย
- เป็นต้นแบบที่ดีของพฤติกรรม (ศีล) - มีความรัก ท�ำให้เกิดความอบอุ่น มีความเป็นกันเองพร้อมศรัทธาและความสุข (จิตใจ) - กัลยาณมิตร รู้เหตุรู้ผล สามารถบอกได้ว่าท�ำอย่างนั้นแล้วมีผลอย่างไร ท�ำให้เด็กเข้าใจเหตุผลและเห็นคุณค่าในสิ่ง ที่ท�ำ (ปัญญา) - สร้างวินัยด้วยแรงหนุนของสภาพจิตใจ อีกวิธีหนึ่งซึ่งเอาปัจจัยด้านจิตใจมาน�ำ คือการตั้งเป็น ๓. ตั้งอุดมคติในจิตใจ ท�ำให้ใจมีความฝักใฝ่มุ่งมั่นอย่างแรง เช่น ชนชาติหนึ่งตั้งเป้าหมายใฝ่ฝันว่า ชาติเราจะต้องยิ่ง ใหญ่มีชื่อเสียงปรากฏไปทั่วโลกว่าเป็นชาติที่มีวินัย เพื่อให้ชาติของเรายิ่งใหญ่ ขอให้คนของเราปฏิบัติอย่างนี้ๆ ด้วยความที่มี เป้าหมายอย่างแรง เป็นอุดมคติ ใฝ่ตั้งใจจริงอย่างนี้ ก็ท�ำให้คนปฏิบัติตามวินัยได้ แต่วินัยแบบนี้อาจจะท�ำให้เลยเถิด เช่น ใช้ กิเลสรุนแรง ท�ำให้คนมีความภูมิใจว่า แหม หมู่คณะของเรานี่ยอดเลย การใช้วิธีการนี้ มักท�ำให้เกิดความคิดเปรียบเทียบ และ มักจะน�ำมาปลุกใจกันว่า หมู่คณะของเรารักษาวินัย มีวินัยดี ยิ่งถ้าเปรียบเทียบกับโรงเรียนโน้น โรงเรียนนี้กับโรงเรียนของเรา ถ้ามีชื่อเสียง ใครๆ ก็นิยม ไปไหนก็มีเกียรติ เราก็ภาคภูมิใจตัวเองว่า โรงเรียนของเราเป็นโรงเรียนที่มีชื่อเสียง มีเกียรติ มีวินัย ถ้าใช้วิธีเร้าอย่างนี้ ท่านเรียกว่าเร้ามานะ มานะในระดับต้นๆ นี้เป็นความภูมิใจ แต่ถ้าแรงไปจะกลายเป็นดูถูกดูหมิ่นคนอื่น ตลอดจนเป็นการแข่งขันแย่งชิงความ เป็นใหญ่ มุ่งความเด่นความดัง ซึ่งมีภัยอันตรายอยู่ด้วยเพราะฉะนั้น ถ้าจะใช้ก็ ใช้ได้แต่ในขั้นต้น แล้วต้องรีบเปลี่ยนไปใช้ปัจจัย ตัวอื่นที่เป็นฝ่ายดี ถ้าใช้มานะตลอดไป จะก่อให้เกิดปัญหาในระหว่างมนุษย์ คือรักษากลุ่มของตัวได้ แต่ท�ำให้เกิดปัญหาความ ขัดแย้งกับกลุ่มอื่น แล้วท�ำให้เกิดสภาพจิตไม่ดี คือการดูถูกดูแคลน ความทะนงตัวหยิ่งล�ำพองตลอดจนการคิดก�ำจัดคนอื่นต่อ ไปอีก ไม่ประกอบด้วยปัญญาที่แท้จริง บางสังคม บางประเทศ บางกลุ่มก็รักษาวินัยด้วยมานะนี้ แม้แต่ท�ำคุณความดีอื่นๆ ก็ ด้วยมานะนี้เป็นการท�ำตนให้อยู่ในระบบการแข่งขันไปในตัว อย่างน้อยก็ต้องอาศัยความรู้สึกภูมิใจเข้าช่วย และเมื่อภูมิใจ ในกรณีอย่างนี้แล้วก็มักจะต้องพอง วิธีนี้ทางธรรมจึงไม่สนับสนุน ถ้าจะใช้ก็ต้องระวัง โดยรีบสร้างปัจจัยที่ดีมาสืบทอดต่อไป อย่างที่กล่าวแล้ว ๔. สร้างวินัยโดยใช้กฎเกณฑ์บังคับ คือการสร้างวินัยโดยใช้กฎหมายหรือกฎเกณฑ์บังคับควบคุม โดยมีการลงโทษ วิธี นี้ก็สร้างวินัยได้แต่เป็นวิธีที่ไม่ดีและไม่ถูกต้อง ไม่เข้ากับหลักการของธรรม เป็นวิธีการที่ไม่ถูกธรรม คือไม่สอดคล้องกับความ เป็นจริงของกฎธรรมชาติ มนุษย์จะมายัดเยียดเอาศีลใส่ให้แก่กันไม่ได้ ศีลเกิดจากการฝึกให้มีขึ้นในตัวคน ฉะนั้น การกดหรือ บีบบังคับนี้ ถ้าอ�ำนาจยังอยู่ก็อยู่ได้ แต่พออ�ำนาจที่กดบีบหมดไปเมื่อไร คนก็จะละเมิดวินัย คราวนี้ยิ่งปั่นป่วนเสียหายหมด ฉะนั้น ในสังคมที่อยู่ได้ด้วยกฎข้อบังคับ แล้วใช้อ�ำนาจบีบบังคับกัน ถึงแม้จะมีวินัยอยู่ได้ แต่เมื่อไรอ�ำนาจที่กดบีบนั้นหายไป สังคมนั้นก็ปั่นป่วนอีก ไม่ได้ผลอย่างแท้จริง
เอกสารอ้ า งอิ ง อรวรรณ พาณิชปฐมพงศ์ (๒๕๔๒) “ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบางประการกับพฤติกรรมด้านความมี วินัย ในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒” ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต (การวัดผลการศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สายัณห์ วงศ์สุรินทร์ คณะ (๒๕๕๓ ) การศึกษาองค์ประกอบความมีวินัยของนักเรียนมัธยมศึกษา ในโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์. ๒๕๕๓. สามเณรสิกขา. พิมพ์ครั้งที่ ๑๗. กรุงเทพฯ : มหามกุฎราช วิทยาลัย.
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
119
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง ใฝ่เรียนรู้
120
บทที่ ๖ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง ใฝ่ เ รี ย นรู ้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง ใฝ่เรียนรู้ หลั ก สู ต ร
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
จ� ำ นวน ๓ คาบ
วั ต ถุ ป ระสงค์ ๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไปฝึกตนให้เป็นคนใฝ่เรียนรู้ ๒. เพื่อให้นักเรียนศึกษาโครงการพระราชด�ำริ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ๓. เพื่อฝึกนักเรียนให้เชื่อมโยงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ฯ กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน กลุ ่ ม ผู ้ เ ข้ า รั บ การอบรม นักเรียนระดับมัธยมศึกษา ปีที่ ๑ – ๖ วิ ท ยากร ครูในโรงเรียน แกนน�ำครอบครัวพอเพียง หรือวิทยากรในโครงการพระราชด�ำริ เนื้ อ หาสาระ ใฝ่เรียนรู้หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ ความเพียรพยายามในการเรียน แสวงหาความรู้จากแหล่ง เรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ผู้ที่ใฝ่เรียนรู้ คือ ผู้ที่มีคุณลักษณะถึงความตั้งใจเพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ แสวงหาความ รู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนอย่างเสม�่ำเสมอ ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่และน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช พระองค์เป็นต้นแบบของผู้ที่ใฝ่เรียนรู้ ด้วยการจัดท�ำโครงการพัฒนาประเทศมากมาย เพื่อให้ประชาชนของ พระองค์มีความสุข ดังนั้นนักเรียนควรใฝ่เรียนรู้ในการศึกษาและประพฤติปฏิบัติตามรอยของพระองค์ ผลการเรี ย นรู ้ ที่ ค าดหวั ง ๑. นักเรียนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงฝึกตนให้เป็นคนใฝ่เรียนรู้ ๒. นักเรียนมีความรู้โครงการพระราชด�ำริของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและส�ำนึกในพระ มหากรุณาธิคุณ สื่ อ และอุ ป กรณ์ ก ารเรี ย นการสอน ๑ สื่อวีดีทัศน์ที่ประชาชนในภูมิภาคต่างๆ กล่าวแสดงความรู้สึกถึงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ๒ ใบงานตามรอยเท้าพ่อ ศาสตร์ของพระราชา ๓. เพลงสรรเสริญพระบารมี www.youtube.com/watch?v=3uoyRI-Vy4W ๔. เศรษฐกิจพอเพียง www.youtube.com/watch?v=kb23vqu2IZs ๕. ทฤษฎีใหม่ www.youtube.com/watch?v=rJedTtbt4Uo ๖. โครงการแก้มลิง www.youtube.com/watch?v=6GOdm4UF1YM ๗. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน https://www.youtube.com/watch?v=_VEd8cUXKtY ๘. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนhttps://www.youtube.com/watch?v=sW49TXl-Y40&spfreload=10 ๙. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง https://www.youtube.com/watch?v=mB7t8Mfd5I4 ๑๐. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพาน https://www.youtube.com/watch?v=pIvZz4HlLjI ๑๑ .ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ https://www.youtube.com/watch?v=ve9pCqTieas ๑๒.ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายhttps://www.youtube.com/watch?v=sFCTLPirfek\ ๑๓ .โครงการสวนจิตรลดา ๑๔ เพลงพระราชาในนิทาน ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
121
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง ใฝ่เรียนรู้ คาบที่ ๑
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ นักเรียนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงฝึกตนให้เป็นคนใฝ่เรียนรู้ ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม ๑. ให้นักเรียนและครูที่เข้าร่วมกิจกรรมยืนเพื่อแสดงความเคารพและน้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณด้วยเพลง สรรเสริญพระบารมี (https://m.youtube./watch?v=uoivHKBVf90#) ๒. นักเรียนฟังเพลงพระราชาในนิทานและร้องตาม หลังจากนั้นให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายพระอัจฉริยภาพของพระองค์ จากเพลงดังกล่าว ขั้ น ที่ ๒ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม ๒.๑ สื่อวีดีทัศน์ที่ประชาชนในภูมิภาคต่างๆ กล่าวแสดงความรู้สึกถึงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช การจัดการโครงการพระราชด�ำริ (ควรเลือกโครงการที่ใกล้โรงเรียนและอยู่ในเขตพื้นที่) ๒.๒ นักเรียนชมวีดีทัศน์ ตัวอย่างโครงการพระราชด�ำริ “ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน” https://www.youtube.com/watch?v=_VEd8cUXKtY และร่วมกันแสดงความคิดเห็นถึงพระอัจฉริยภาพของพระองค์ ๒.๓ ครูแบ่งกลุ่มให้นักเรียนตามความเหมาะสม เพื่อจับฉลากศึกษาโครงการพระราชด�ำริ จ�ำนวน ๖ โครงการ ดังนี้ ๑. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน https://www.youtube.com/watch?v=sW49TXl-Y40&spfreload=10 ๒. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง https://www.youtube.com/watch?v=mB7t8Mfd5I4 ๓. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพาน https://www.youtube.com/watch?v=pIvZz4HlLjI ๔. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ https://www.youtube.com/watch?v=ve9pCqTieas ๕. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายhttps://www.youtube.com/watch?v=sFCTLPirfek ๖. โครงการสวนจิตรลดา ๒.๔ ครูให้นักเรียนกลับไปศึกษาค้นคว้าโครงการพระราชด�ำริ ๑ กลุ่ม ๑ โครงการ น�ำมาเสนอในคาบเรียนครั้งต่อไป (วิธีการน�ำเสนอค้นคว้าเป็น VTR / ภาพนิ่ง / โปสเตอร์) ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด ๓.๑ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ (ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน) ๑) มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒) มีคุณธรรม ๓) มีความพอประมาณ ๔) มีเหตุผล ๕) มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๒ ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงพฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน ตาม
122
บทที่ ๖ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง ใฝ่ เ รี ย นรู ้
ใบงานกิจกรรม
การเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอนจากกิจกรรมที่ก�ำหนดให้ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๕ ค� ำ ๕ ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
คุณธรรม
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม
สมดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น พร้ อ มรั บ การเปลี่ ย นแปลง
มิติด้านวัฒนธรรม ขั้ น ที่ ๔ ขั้ น สรุ ป ประเมิ น ผล ๔.๑ สังเกตพฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ ๔.๒ ตรวจใบงานวิเคราะห์เชื่อมโยง
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
123
ใบประเมินกิจกรรม เรื่อง ใฝ่การเรียนรู้ตามรอยพระราชา ค�ำสั่ง ให้นักเรียนตอบค�ำถามต่อไปนี้ ๑.นักเรียนได้รับแนวคิดอะไรบ้างจากการรับชมสื่อวีดีทัศน์ โครงการพระราชด�ำริ “ศูนย์ศึกษการพัฒนาเขาหิน ซ้อน” จงอธิบาย ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. ๒.นักเรียนเข้าใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อย่างไรบ้าง จงอธิบาย ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. ๓. นักเรียนสามารถน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาวางแผนเรื่องการใฝ่เรียนรู้ได้อย่างไร จงอธิบาย ...................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................
124
บทที่ ๖ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง ใฝ่ เ รี ย นรู ้
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of the Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้อง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนัก ธุรกิจในทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้าง ขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ค� ำ นิ ย าม ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการ ผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำนั้นๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดย ค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่ อ นไข • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะน�ำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�ำเนินชีวิต แนวทางในการปฏิบัติผลที่คาดว่าจะได้รับจากการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้และ เทคโนโลยี “ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น เสมื อ นรากฐานของชี วิ ต รากฐานความมั่ น คงของแผ่ น ดิ น เปรี ย บเสมื อ นเสาเข็ ม ที่ ต อกรองรั บ บ้ า นเรื อ น ตั ว อาคารไว้ นั่ น เอง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งจะมั่ น คงได้ ก็ อ ยู ่ ที่ เ สาเข็ ม แต่ ค นส่ ว นมากมองไม่ เ ห็ น เสาเข็ ม และลื ม เสาเข็ ม เสี ย ด้ ว ยซ�้ ำ ไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากวารสารชัยพัฒนา เดือนสิงหาคม ๒๕๔๒
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
125
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
126
บทที่ ๖ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง ใฝ่ เ รี ย นรู ้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง ใฝ่เรียนรู้ คาบที่ ๒
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ นั ก เรี ย นมี ค วามรู ้ โ ครงการพระราชด� ำ ริ ข อง พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชและส� ำ นึ ก ใน พระมหากรุณาธิคุณ ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม ๑.๑ ให้นักเรียนและครูที่เข้าร่วมกิจกรรมยืนเพื่อแสดงความเคารพและน้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณด้วยเพลง สรรเสริญพระบารมี (https://m.youtube./watch?v=uoivHKBVf90#) ๑.๒ ครูทบทวนโครงการพระราชด�ำริ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน โดยถาม-ตอบ ที่นักเรียนได้เรียนรู้ในสัปดาห์ ที่ผ่านมา พร้อมเกริ่นน�ำการน�ำเสนอโครงการพระราชด�ำริ อื่นๆ ขั้ น ที่ ๒ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม ๒.๑ ครูสุ่มกลุ่มนักเรียน โดยจับฉลาก เพื่อออกมาน�ำเสนอผลงานที่ได้ไปศึกษาค้นคว้า กลุ่มละ ๑๐ นาที (น�ำเสนอ ประมาณ ๓ กลุ่ม ) ๒.๒ หลังจากการน�ำเสนอหน้าชั้นแล้ว ให้นักเรียนกลุ่มที่นั่งร่วมกันฟังสรุปประเด็นส�ำคัญ ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด ๓.๑ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ (ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน) ๑) มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒) มีคุณธรรม ๓) มีความพอประมาณ ๔) มีเหตุผล ๕) มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๒ ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงโครงการในพระราชด�ำริในการท�ำงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอนตามข้อ ๓.๑
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
127
ใบงานกิจกรรม
การเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอนจากกิจกรรมที่ก�ำหนดให้ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๕ ค� ำ ๕ ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
คุณธรรม
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม มิติด้านวัฒนธรรม ขั้ น ที่ ๔ ขั้ น สรุ ป ประเมิ น ผล ๔.๑ สังเกตพฤติกรรมจากการอภิปรายกลุ่ม ๔.๒ ตรวจใบงานการวิเคราะห์เชื่อมโยง
128
บทที่ ๖ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง ใฝ่ เ รี ย นรู ้
สมดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น พร้ อ มรั บ การเปลี่ ย นแปลง
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of the Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้อง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนัก ธุรกิจในทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้าง ขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ค� ำ นิ ย าม ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการ ผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำนั้นๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดย ค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่ อ นไข • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะน�ำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�ำเนินชีวิต แนวทางในการปฏิบัติผลที่คาดว่าจะได้รับจากการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้และ เทคโนโลยี “ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น เสมื อ นรากฐานของชี วิ ต รากฐานความมั่ น คงของแผ่ น ดิ น เปรี ย บเสมื อ นเสาเข็ ม ที่ ต อกรองรั บ บ้ า นเรื อ น ตั ว อาคารไว้ นั่ น เอง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งจะมั่ น คงได้ ก็ อ ยู ่ ที่ เ สาเข็ ม แต่ ค นส่ ว นมากมองไม่ เ ห็ น เสาเข็ ม และลื ม เสาเข็ ม เสี ย ด้ ว ยซ�้ ำ ไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากวารสารชัยพัฒนา เดือนสิงหาคม ๒๕๔๒
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
129
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
130
บทที่ ๖ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง ใฝ่ เ รี ย นรู ้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง ใฝ่เรียนรู้ คาบที่ ๓
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ นั ก เรี ย นมี ค วามรู ้ โ ครงการพระราชด� ำ ริ ข อง พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชและส� ำ นึ ก ใน พระมหากรุณาธิคุณ ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม ๑.๑ ให้นักเรียนและครูที่เข้าร่วมกิจกรรมยืนเพื่อแสดงความเคารพและน้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณด้วยเพลง สรรเสริญพระบารมี (https://m.youtube./watch?v=uoivHKBVf90#) ๑.๒ ครูทบทวนโครงการพระราชด�ำริ ๓ โครงการ ที่ผ่านมา ขั้ น ที่ ๒ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม ๒.๑ ครูสุ่มกลุ่มนักเรียน โดยจับฉลาก เพื่อออกมาน�ำเสนอผลงานที่ได้ไปศึกษาค้นคว้า กลุ่มละ ๑๐ นาที (น�ำเสนอ ประมาณ ๓ กลุ่ม) ๒.๒ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปการเรียนรู้ลงในกระดาษบรูฟ (Mind Map) ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด ๓.๑ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ (ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน) ๑) มีความรู้ ( รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒) มีคุณธรรม ๓) มีความพอประมาณ ๔) มีเหตุผล ๕) มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๒ ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงโครงการในพระราชด�ำริที่เรียนรู้มากับตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอนตามข้อ ๓.๑
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
131
ใบงานกิจกรรม
การเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอนจากกิจกรรมที่ก�ำหนดให้ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๕ ค� ำ ๕ ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
คุณธรรม
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม มิติด้านวัฒนธรรม ขั้ น ที่ ๔ ขั้ น สรุ ป ประเมิ น ผล ๔.๑ สรุปผลการอภิปรายของนักเรียนจาก Mind Map ๔.๒ ตรวจใบงานสรุปวิเคราะห์เชื่อมโยง
132
บทที่ ๖ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง ใฝ่ เ รี ย นรู ้
สมดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น พร้ อ มรั บ การเปลี่ ย นแปลง
บันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๑. ผลการจัดกิจกรรม ๑.๑ จุดเด่นของกิจกรรม…………………….................................…………………………………………………………………… ……………………….............................................................…................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๑.๒ ปัญหาอุปสรรค…………………….................................………………………………………………………………………… ………………….............................................................…........................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๒. แนวทางในการแก้ไขปัญหาและพัฒนากิจกรรม…………………….................................……………………………………… …………………………………………………….............................................................…................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๓. ข้อเสนอแนะอื่นๆ…………………….................................…………………………………………………………..…………………… …………….............................................................….............................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ………………...………………………………ผู้จัดกิจกรรม (……………………………………………………) วันที่……………เดือน……………….พ.ศ........................
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
133
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of the Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้อง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนัก ธุรกิจในทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้าง ขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ค� ำ นิ ย าม ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำนั้นๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดย ค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่ อ นไข • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะน�ำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�ำเนินชีวิต แนวทางในการปฏิบัติผลที่คาดว่าจะได้รับจากการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้และ เทคโนโลยี “ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น เสมื อ นรากฐานของชี วิ ต รากฐานความมั่ น คงของแผ่ น ดิ น เปรี ย บเสมื อ นเสาเข็ ม ที่ ต อกรองรั บ บ้ า นเรื อ น ตั ว อาคารไว้ นั่ น เอง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งจะมั่ น คงได้ ก็ อ ยู ่ ที่ เ สาเข็ ม แต่ ค นส่ ว นมากมองไม่ เ ห็ น เสาเข็ ม และลื ม เสาเข็ ม เสี ย ด้ ว ยซ�้ ำ ไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากวารสารชัยพัฒนา เดือนสิงหาคม ๒๕๔๒
134
บทที่ ๖ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง ใฝ่ เ รี ย นรู ้
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
135
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง มุ่งมั่นในการท�ำงาน
136
บทที่ ๗ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มุ ่ ง มั่ น ในการท� ำ งาน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง มุ่งมั่นในการท�ำงาน หลั ก สู ต ร
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
จ� ำ นวน ๓ คาบ
วั ต ถุ ป ระสงค์ ๑. เพื่ออบรมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องความมุ่งมั่นในการท�ำงาน ๒. เพื่อสร้างนักเรียนให้เกิดความตระหนักถึงความส�ำคัญของความมุ่งมั่นในการท�ำงาน ๓. เพื่อฝึกให้นักเรียนน้อมน�ำหลักการทรงงานประยุกต์ใช้ในการท�ำงาน ๔. เพื่อฝึกให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงคุณลักษณะอันพึงประสงค์เรื่องความมุ่งมั่นในการท�ำงานกับหลัก ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน กลุ ่ ม ผู ้ เ ข้ า อบรม นักเรียน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ วิ ท ยากร ครูในโรงเรียน แกนน�ำครอบครัวพอเพียง หรือวิทยากรในชุมชน เนื้ อ หาสาระ ความมุ่งมั่นในการท�ำงานหมายถึงคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจและความรับผิดชอบในการท�ำหน้าที่การงาน ด้วยความเพียรพยายาม อดทนเพื่อให้งานส�ำเร็จตามเป้าหมาย ผู้ที่มุ่งมั่นในการท�ำงานคือผู้ที่แสดงออกถึงความตั้งใจปฏิบัติ หน้าที่ที่ได้รับมอบหมายด้วยความเพียรพยายาม ทุ่มเทก�ำลังกาย ก�ำลังใจในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ให้ส�ำเร็จลุล่วงตามเป้า หมายที่ก�ำหนดด้วยความรับผิดชอบและมีความภาคภูมิใจในผลงาน ผลการเรี ย นรู ้ ที่ ค าดหวั ง ๑. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องความมุ่งมั่นในการท�ำงาน ๒. นักเรียนตระหนักถึงความส�ำคัญในการฝึกฝนตนให้เป็นผู้มีความมุ่งมั่นในการท�ำงาน ๓. นักเรียนวิเคราะห์หลักการทรงงานและน้อมน�ำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน สื่ อ และอุ ป กรณ์ ก ารเรี ย นการสอน ๑. วิดีทัศน์ เรื่อง “สู่ความส�ำเร็จด้วยความมุ่งมั่น” จากสื่อ youtube https://www.youtube.com/watch?v=j๐KuworaODk ๒. วิดีทัศน์ เรื่อง แรงโน้มถ่วง จากสื่อ youtube https://www.youtube.com/watch?v=vXhnmZxm๓Co ๓. วิ ดี ทั ศ น์ เรื่ อ ง “ใครที่ ท ้ อ แท้ กั บ การท� ำ งาน” จากสื่ อ youtube https://www.youtube.com/ watch?v=aenJjAqn๘oc ๔. วิดีทัศน์ เรื่อง “ความมุ่งมั่นสู่ความส�ำเร็จ” จากสื่อ youtube https://www.youtube.com/watch?v=๓m_y_ LMqQsI ๕. วิดีทัศน์ เรื่อง “เพลงพระราชาผู้ทรงธรรม” จากสื่อ youtube https://www.youtube.com/watch?v=YqCjcMHWQi๔ ๖. กระดาษฟลิปชาร์ท ,ปากกาเมจิกสีต่างๆ , กระดาษกาว ติดบอร์ด ๗. เกมกระดาษแผ่นเดียว (กระดาษ A ๔ เท่าจ�ำนวนนักเรียน , กรรไกร , เทปกาว , กาว ) ๘. แบบวัดพฤติกรรมแสดงความมุ่งมั่นในการท�ำงาน ๙. เอกสารประกอบการสอน เรื่องหลักการทรงงานและโครงการในพระราชด�ำริ ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
137
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง มุ่งมั่นในการท�ำงาน คาบที่ ๑
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องความมุ่งมั่นในการท�ำงาน ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม (ใช้ เ วลา ๑๐ นาที ) ๑.๑ นักเรียนชมวิดีทัศน์ เรื่อง “สู่ความส�ำเร็จด้วยความมุ่งมั่น” จากสื่อ youtube https://www.youtube.com/ watch?v=j๐KuworaODk ๑.๒ สนทนากับนักเรียนว่าสิ่งที่ท�ำให้บุคคลในสื่อประสบความส�ำเร็จในการท�ำงานคืออะไร ขั้ น ที่ ๒ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม ( ใช้ เ วลา ๑๕ นาที ) ๒.๑ แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕ – ๖ คน ๒.๒ แจกกระดาษฟลิปชาร์ท กลุ่มละ ๑ แผ่น ปากกาเมจิกสีต่างๆกลุ่มละ ๑ ชุด ๒.๓ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายเรื่องพฤติกรรมที่แสดงให้เห็นว่าบุคคลนั้นเป็นผู้มีความ มุ่งมั่นในการท�ำงาน ๒.๔ สรุปผลการวิเคราะห์พฤติกรรมแสดงความมุ่งมั่นในการท�ำงานลงในกระดาษฟลิปชาร์ทของแต่ละกลุ่ม ติดไว้ที่ บอร์ดบริเวณห้อง ๒.๕ ให้นักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยการศึกษาผลงานของเพื่อนกลุ่มอื่น ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด (๑๕ นาที ) ๓.๑ ให้นักเรียนบอกลักษณะของคนที่มีความมุ่งมั่นในการท�ำงาน ๓.๒ ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นจากการศึกษาในหัวข้อเรื่อง “พฤติกรรมที่แสดงความมุ่งมั่น ในการท�ำงาน” จาก การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ๓.๓ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ (ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน) ๑) มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒) มีคุณธรรม ๓) มีความพอประมาณ ๔) มีเหตุผล ๕) มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๔ ให้นักเรียนเชื่อมโยงพฤติกรรมแสดงความมุ่งมั่นในการท�ำงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน
138
บทที่ ๗ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มุ ่ ง มั่ น ในการท� ำ งาน
ใบงานกิจกรรม
การเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอนจากกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๕ ค� ำ ๕ ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
คุณธรรม
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม
สมดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น พร้ อ มรั บ การเปลี่ ย นแปลง
มิติด้านวัฒนธรรม ขั้ น ที่ ๔ สรุ ป ประเมิ น ผล (ใช้ เ วลา ๑๐ นาที ) ๔.๑ สรุปผลการวิเคราะห์พฤติกรรมที่แสดงถึงความมุ่งมั่นในการท�ำงานที่เป็นแบบอย่างได้ ๔.๒ ให้นักเรียนประเมินตนเอง เรื่อง พฤติกรรมแสดงความมุ่งมั่นในการท�ำงาน ตามแบบวัดพฤติกรรมแสดงความ มุ่งมั่นในการท�ำงาน
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
139
เกณฑ์ ก ารวั ด และประเมิ น ผล รายการที่วัด/ประเมินผล วิธีการประเมิน เครื่องมือประเมิน เกณฑ์การประเมิน ผู้ประเมิน เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ตรวจผลการวิเคราะห์ แบบวัดพฤติกรรม ระดับ ๒ ขึ้นไป ผู้จัดกิจกรรม ในเรื่องความมุ่งมั่นในการท�ำงาน พฤติกรรมความมุ่งมั่น แสดงความมุ่งมั่น ในการท�ำงาน ในการท�ำงาน ระดับ ๒ ขึ้นไป ผู้จัดกิจกรรม แบบเชื่อมโยง ตรวจแบบเชื่อมโยง นักเรียนสามารถเชื่อมโยง คุณลักษณะอันพึงประสงค์เรื่องการ พฤติกรรมแสดงความ พฤติกรรมแสดง ความมุ่งมั่นใน มุ่งมั่นในการท�ำงาน มุ่งมั่นในการท�ำงานกับ ตามหลักปรัชญาของ การท�ำงานตาม ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน เศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน
เลข ที่
แบบวั ด พฤติ ก รรมแสดงความมุ ่ ง มั่ น ในการท� ำ งาน ๑.ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติ ๒.ท�ำงานด้วยความเพียรพยายาม หน้าที่การงาน และอดทนเพื่อให้งานส�ำเร็จตาม เป้าหมาย พยายาม ชื่นชมผล ทุ่มเท เอาใจใส่ ตั้งใจและ ปรับปรุง รับผิด และพัฒนา ท�ำงาน แก้ปัญหา งานด้วย ต่อการ ชื่อความภาค ผลคะแนน และ ชอบใน การท�ำงาน อดทน ไม่ ปฏิบัติ นามสกุล ภูมิใจ หน้าที่ที่ การท�ำงาน ด้วยตนเอง ย่อท้อต่อ อุปสรรค ปัญหาและ ในการ ได้รับมอบ ให้แล้ว อุปสรรค ท�ำงานให้ เสร็จ หมาย ในการ แล้วเสร็จ ท�ำงาน ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓
เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม�่ำเสมอ ให้ ๓ คะแนน • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ ๒ คะแนน • พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ ๑ คะแนน • พฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติ ให้ ๐ คะแนน หมายเหตุ ผลรวมคะแนนให้ใช้ค่าเฉลี่ย แบบฐานนิยม (Mode)
140
บทที่ ๗ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มุ ่ ง มั่ น ในการท� ำ งาน
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of the Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้อง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนัก ธุรกิจในทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้าง ขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ค� ำ นิ ย าม ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการ ผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำนั้นๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดย ค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่ อ นไข • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะน�ำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�ำเนินชีวิต แนวทางในการปฏิบัติผลที่คาดว่าจะได้รับจากการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมความรู้และ เทคโนโลยี “ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น เสมื อ นรากฐานของชี วิ ต รากฐานความมั่ น คงของแผ่ น ดิ น เปรี ย บเสมื อ นเสาเข็ ม ที่ ต อกรองรั บ บ้ า นเรื อ น ตั ว อาคารไว้ นั่ น เอง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งจะมั่ น คงได้ ก็ อ ยู ่ ที่ เ สาเข็ ม แต่ ค นส่ ว นมากมองไม่ เ ห็ น เสาเข็ ม และลื ม เสาเข็ ม เสี ย ด้ ว ยซ�้ ำ ไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากวารสารชัยพัฒนา เดือนสิงหาคม ๒๕๔๒
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
141
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
142
บทที่ ๗ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มุ ่ ง มั่ น ในการท� ำ งาน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง มุ่งมั่นในการท�ำงาน คาบที่ ๒
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงความส�ำคัญของการมีพฤติกรรมมุ่งมั่นในการท�ำงาน ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม( ใช้ เ วลา ๑๐ นาที ) ๑.๑ นักเรียนชมวิดีทัศน์ เรื่อง แรงโน้มถ่วง (ใช้เวลา ๑๐ นาที) จากสื่อ youtube https://www.youtube.com/ watch?v=vXhnmZxm๓Co ๑.๒ สนทนากับนักเรียนว่าบุคคลในสื่อท�ำอะไร นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องอะไร ขั้ น ที่ ๒ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม ( ใช้ เ วลา ๑๕ นาที ) ๒.๑ ให้นักเรียนชมวิดีทัศน์ เรื่อง ใครที่ท้อแท้กับการท�ำงาน (ใช้เวลา ๑๐ นาที) จากสื่อ youtube https://www. youtube.com/watch?v=aenJjAqn๘oc ๒.๒ ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความรู้สึกของตัวละครในเรื่อง “ใครที่ท้อแท้กับการท�ำงาน” ที่นักเรียน ได้รับจากการชมวิดีทัศน์ ๒.๓ สนทนาถึงพระราชกรณียกิจและโครงการในพระราชด�ำริที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงงานตลอดระยะเวลาที่ครองราชย์ ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด (๑๕ นาที ) ๓.๑ น�ำแบบประเมินพฤติกรรมแสดงความมุ่งมั่นในการท�ำงานที่นักเรียนประเมินตนเองมา วิเคราะห์ด้วยตนเองว่า ควรปรับปรุงในเรื่องใดบ้าง ๓.๒ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ (ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน) ๑) มีความรู้ ( รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒) มีคุณธรรม ๓) มีความพอประมาณ ๔) มีเหตุผล ๕) มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๓ ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงพฤติกรรมของตนเองที่ควรปรับปรุงเพื่อแสดงความมุ่งมั่นในการท�ำงาน ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
143
ใบงานกิจกรรม
การเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอนจากกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๕ ค� ำ ๕ ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
คุณธรรม
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม
สมดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น พร้ อ มรั บ การเปลี่ ย นแปลง
มิติด้านวัฒนธรรม ขั้ น ที่ ๔ สรุ ป ประเมิ น ผล (๑๐ นาที ) ๔.๑ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ ๕- ๑๐ คน ตามจ�ำนวนนักเรียน จัดท�ำ mind map แสดง ประโยชน์หรือความส�ำคัญ ของบุคคลที่มีพฤติกรรมเป็นคนที่มีความมุ่งมั่นในการท�ำงานใน กระดาษฟลิปชาร์ทที่แจกให้พร้อมปากกาเมจิกสีต่าง ๆ และ ให้แต่ละกลุ่มติดผลงานของตนเองไว้ที่บอร์ด เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ๔.๒ ครูประเมินพฤติกรรมการท�ำงานของแต่ละกลุ่ม
144
บทที่ ๗ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มุ ่ ง มั่ น ในการท� ำ งาน
เกณฑ์ ก ารวั ด และประเมิ น ผล รายการที่วัด/ประเมินผล วิธีการประเมิน วัดพฤติกรรมการ เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงความ ส�ำคัญของการมีพฤติกรรมมุ่งมั่นใน ท�ำ mind map แสดง ประโยชน์หรือความ การท�ำงาน ส�ำคัญของบุคคลที่มี พฤติกรรมมุ่งมั่นใน การท�ำงาน ตรวจแบบเชื่อมโยง นักเรียนสามารถเชื่อมโยง คุณลักษณะอันพึงประสงค์เรื่องการ พฤติกรรมแสดงความ มุ่งมั่นในการท�ำงานกับ ๕ ค�ำ ๕ มุ่งมั่นในการท�ำงาน ตามหลักปรัชญาของ ข้อที่พ่อสอน เศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน
กลุ่ม ที่
ชื่อนามสกุล
เครื่องมือประเมิน เกณฑ์การประเมิน ผู้ประเมิน แบบวัดพฤติกรรม ระดับ ๒ ขึ้นไป ผู้จัดกิจกรรม แสดงความมุ่งมั่น ในการท�ำงาน
แบบเชื่อมโยง พฤติกรรมแสดง ความมุ่งมั่นใน การท�ำงานตาม หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจ พอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน
ระดับ ๒ ขึ้นไป
ผู้จัดกิจกรรม
แบบวั ด พฤติ ก รรมแสดงความมุ ่ ง มั่ น ในการท� ำ งาน ๑.ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติ ๒.ท�ำงานด้วยความเพียรพยายาม หน้าที่การงาน และอดทนเพื่อให้งานส�ำเร็จตาม เป้าหมาย ชื่นชม พยายาม ทุ่มเท เอาใจใส่ ตั้งใจและ ปรับปรุง ต่อการ รับผิดชอบ และพัฒนา ท�ำงาน แก้ปัญหา ผลงานด้วย ความภาค และ ในการ การท�ำงาน อดทน ปฏิบัติ ผลคะแนน ภูมิใจ หน้าที่ที่ ท�ำงานให้ ด้วยตนเอง ไม่ย่อท้อ อุปสรรค ต่อปัญหา ในการ ได้รับมอบ แล้วเสร็จ ท�ำงานให้ และ หมาย อุปสรรค แล้วเสร็จ ในการ ท�ำงาน ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓
เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม�่ำเสมอ ให้ ๓ คะแนน • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ ๒ คะแนน • พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ ๑ คะแนน • พฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติ ให้ ๐ คะแนน หมายเหตุ ผลรวมคะแนนให้ใช้ค่าเฉลี่ย แบบฐานนิยม (Mode) ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
145
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of the Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้อง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนัก ธุรกิจในทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้าง ขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ค� ำ นิ ย าม ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการ ผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำนั้นๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดย ค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่ อ นไข • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะน�ำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�ำเนินชีวิต แนวทางในการปฏิบัติผลที่คาดว่าจะได้รับจากการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้และ เทคโนโลยี “ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น เสมื อ นรากฐานของชี วิ ต รากฐานความมั่ น คงของแผ่ น ดิ น เปรี ย บเสมื อ นเสาเข็ ม ที่ ต อกรองรั บ บ้ า นเรื อ น ตั ว อาคารไว้ นั่ น เอง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งจะมั่ น คงได้ ก็ อ ยู ่ ที่ เ สาเข็ ม แต่ ค นส่ ว นมากมองไม่ เ ห็ น เสาเข็ ม และลื ม เสาเข็ ม เสี ย ด้ ว ยซ�้ ำ ไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากวารสารชัยพัฒนา เดือนสิงหาคม ๒๕๔๒
146
บทที่ ๗ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มุ ่ ง มั่ น ในการท� ำ งาน
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
147
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง มุ่งมั่นในการท�ำงาน คาบที่ ๓
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ เพื่อให้นักเรียนน�ำหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมิทรมหาภูมิพลอดุลยเดชประยุกต์ใช้ในการท�ำงาน ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม (ใช้ เ วลา ๑๐ นาที ) ๑.๑ ให้นักเรียนชมวิดีทัศน์ เรื่อง “แรงมุ่งมั่นสู่ความส�ำเร็จ” จาก สื่อ youtube https://www.youtube.com/ watch?v=๓m_y_LMqQsI ๑.๒ ตั้งค�ำถามกับนักเรียนว่าใครเป็นต้นแบบการท�ำงานของเรา ขั้ น ที่ ๒ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม (ใช้ เ วลา ๑๕ นาที ) ๒.๑ เปิดเพลง https://www.youtube.com/watch?v=YqCjcMHWQi๔ ธรรมะของพระราชาและร่วมกันร้องเพลง ๒.๒ สนทนากับนักเรียนเรื่องหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด (๑๐ นาที ) ๓.๑ ให้นักเรียนเล่นเกม กระดาษแผ่นเดียว โดยแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆละเท่าๆกัน ไม่เกิน ๕ คน ก�ำหนดว่าให้ นักเรียนคิดวิธีการที่จะให้นักเรียนทุกคนเข้าไปอยู่ใน กระดาษแผ่นเดียวภายในเวลา ๑ นาที เกมกระดาษแผ่ น เดี ย ว วั ต ถุ ป ระสงค์
๑. เพื่อฝึกทักษะการคิดแก้ปัญหา ๒. เพื่อแสดงให้เห็นว่าความส�ำเร็จเป็นเรื่องของการฝึกฝน ๓. เพื่อฝึกการท�ำงานด้วยความมุ่งมั่น
อุ ป กรณ์ กระดาษ เอ ๔ กลุ่มละ ๑ แผ่น จ�ำนวนเท่านักเรียนในกลุ่ม (อุปกรณ์อื่นเช่น กรรไกร , เทปกาว, กาว ให้นักเรียน
เลือกใช้เอง )
กติ ก า แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กัน
๓.๒ เมื่อหมดเวลา ให้กลุ่มที่ท�ำส�ำเร็จวิเคราะห์ว่ากลุ่มของตนเองใช้หลักการทรงงานข้อใดใน การท�ำงานให้ส�ำเร็จ ๓.๓ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ (ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน) ๑ มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒ มีคุณธรรม ๓ มีความพอประมาณ ๔ มีเหตุผล ๕ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๔ ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมิทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเรื่องความมุ่ง มั่นในการท�ำงานกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน
148
บทที่ ๗ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มุ ่ ง มั่ น ในการท� ำ งาน
ใบงานกิจกรรม
การเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ค�ำชี้แจง การเชื่อมโยงหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมิทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเรื่องความมุ่งมั่นในการท�ำงาน กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๕ ค� ำ ๕ ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
คุณธรรม
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม
สมดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น พร้ อ มรั บ การเปลี่ ย นแปลง
มิติด้านวัฒนธรรม ขั้ น ที่ ๔ สรุ ป ประเมิ น ผล ๔.๑ สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานร่วมกัน ๔.๒ ตรวจสอบผลการวิเคราะห์เชื่อมโยงตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
149
เกณฑ์ ก ารวั ด และประเมิ น ผล รายการที่วัด/ประเมินผล วิธีการประเมิน เครื่องมือประเมิน เกณฑ์การประเมิน ผู้ประเมิน การน�ำหลักการทรงงานไปใช้ วัดพฤติกรรมการ แบบวัดพฤติกรรม ระดับ ๒ ขึ้นไป ผู้จัดกิจกรรม การน�ำหลักการ วิเคราะห์เรื่องการ ทรงงานไปใช้ น้อมน�ำหลักทรงงาน มาประยุกต์ใช้ ระดับ ๒ ขึ้นไป ผู้จัดกิจกรรม แบบเชื่อมโยง ตรวจแบบเชื่อมโยง การเชื่อมโยงคุณลักษณะอันพึง พฤติกรรมแสดง พฤติกรรมการน�ำ ประสงค์เรื่องการน�ำหลักการทรง งานไปใช้ กับ ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน หลักการทรงงานไปใช้ ความมุ่งมั่นใน ตามหลักปรัชญาของ การท�ำงานตาม หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน เศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่ พ่อสอน พฤติ ก รรมการน� ำ หลั ก การทรงงานไปใช้ ๑.ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติ ๒.ท�ำงานด้วยความเพียรพยายาม หน้าที่การงาน และอดทนเพื่อให้งานส�ำเร็จตาม เป้าหมาย ชื่นชม พยายาม ทุ่มเท เอาใจใส่ต่อ ตั้งใจและ ปรับปรุง การปฏิบัติ รับผิดชอบ และพัฒนา ท�ำงาน แก้ปัญหา ผลงาน ชื่อด้วยความ และ การท�ำงาน อดทน ในการ หน้าที่ กลุ่มที่ นามสกุล ที่ได้รับ ท�ำงาน ด้วยตนเอง ไม่ย่อท้อ อุปสรรค ภาคภูมิใจ ต่อปัญหา ในการ มอบหมาย ให้แล้เสร็จ ท�ำงานให้ และ อุปสรรค แล้วเสร็จ ในการ ท�ำงาน ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓
เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม�่ำเสมอ • พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง • พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง • พฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติ
150
ให้ ๓ คะแนน ให้ ๒ คะแนน ให้ ๑ คะแนน ให้ ๐ คะแนน
บทที่ ๗ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มุ ่ ง มั่ น ในการท� ำ งาน
ผลคะแนน
บันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๑. ผลการจัดกิจกรรม ๑.๑ จุดเด่นของกิจกรรม…………………….................................…………………………………………………………………… ……………………….............................................................…................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๑.๒ ปัญหาอุปสรรค…………………….................................………………………………………………………………………… ………………….............................................................…........................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๒. แนวทางในการแก้ไขปัญหาและพัฒนากิจกรรม…………………….................................……………………………………… …………………………………………………….............................................................…................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๓. ข้อเสนอแนะอื่นๆ…………………….................................…………………………………………………………..…………………… …………….............................................................….............................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ลงชื่อ………………...………………………………ผู้จัดกิจกรรม (……………………………………………………) วันที่……………เดือน……………….พ.ศ......................
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
151
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of the Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้อง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการ ทุก ขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจใน ทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้าน วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ค� ำ นิ ย าม ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการ ผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำนั้นๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดย ค�ำนึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่ อ นไข • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะน�ำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�ำเนินชีวิต แนวทางในการปฏิบัติผลที่คาดว่าจะได้รับจากการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี “ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น เสมื อ นรากฐานของชี วิ ต รากฐานความมั่ น คงแผ่ น ดิ น เปรี ย บเสมื อ นเสาเข็ ม ที่ ต อกรองรั บ บ้ า นเรื อ น ตั ว อาคารไว้ นั่ น เอง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งจะมั่ น คงได้ ก็ อ ยู ่ ที่ เ สาเข็ ม แต่ ค นส่ ว นมากมองไม่ เ ห็ น เสาเข็ ม และลื ม เสาเข็ ม เสี ย ด้ ว ยซ�้ ำ ไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากวารสารชัยพัฒนา เดือนสิงหาคม ๒๕๔๒
152
บทที่ ๗ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มุ ่ ง มั่ น ในการท� ำ งาน
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
153
เอกสารประกอบการสอน ค�ำแนะน�ำ
ส�ำหรับครูผู้สอนอ่านและศึกษาก่อนสอน ( http://umongcity.go.th/sub/nt/work๑.htm ) หลักการทรงงานพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช “...ทรงยึดการด�ำเนินงานในลักษณะทางสายกลางที่สอดคล้องกับสิ่งที่อยู่รอบตัวและสามารถปฏิบัติได้จริง ทรงมีความละเอียดรอบคอบ และทรงคิดค้นหาแนวทางพัฒนาเพื่อมุ่งสู่ประโยชน์ต่อประชาชนสูงสุดมีคุณค่าและควร ยึดเป็นแบบอย่างในการเจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาท น�ำมาปฏิบัติให้เกิดผลต่อตนเอง สังคม และประเทศชาติสืบไป” ข้ อ ที่ ๑ ศึ ก ษาข้ อ มู ล อย่ า งเป็ น ระบบ - ทรงศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบจากข้อมูลเบื้องต้น จากเอกสาร แผนที่ สอบถามจากเจ้าหน้าที่ นักวิชาการ และราษฎรในพื้นที่ - เพื่อให้ได้รายละเอียดที่ถูกต้อง เพื่อที่พระราชทานความช่วยเหลือได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วตรงตามที่ประชาชน ต้องการ ข้ อ ที่ ๒ ระเบิ ด จากข้ า งใน - ต้องการสร้างความเข้มแข็งให้คนภายในชุมชน ให้มีความพร้อมที่ร่วมพัฒนาเสียก่อน - มิใช่การน�ำเอาความเจริญหรือบุคคลจากสังคมภายนอกเข้าไปหาชุมชนในหมู่บ้านที่ยังไม่ทันมีโอกาสได้ตั้งตัวหรือ เตรียมพร้อม ข้ อ ที่ ๓ ท� ำ ตามล� ำ ดั บ ขั้ น ตอน - ทรงเริ่มต้นจากสิ่งที่จ�ำเป็นที่สุดของประชาชนเสียก่อน ได้แก่ สุขภาพสาธารณสุข จากนั้น จึงเป็นเรื่องสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน และสิ่งจ�ำเป็นในการประกอบอาชีพ อาทิ ถนน แหล่งน�้ำเพื่อการเกษตร การอุปโภคบริโภค - เน้นการปรับใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ราษฎรสามารถน�ำไปปฏิบัติได้ และเกิดประโยชน์สูงสุด “การพัฒนาประเทศจ�ำเป็นต้องท�ำตามล�ำดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐาน คือความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วน ใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน ใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชาเมื่อได้พื้นฐานที่มั่นคงพร้อมพอสมควร และปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างเสริมความเจริญ และฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยล�ำดับต่อไป...” หมายเหตุ : พระบรมราโชวาท ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗ ข้ อ ที่ ๔ ภู มิ สั ง คม การพัฒนาใดๆ ต้องค�ำนึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้นว่าเป็นอย่างไร และสังคมวิทยาเกี่ยวกับลักษณะนิสัยใจคอ คน ตลอกจนวัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องถิ่นที่มีความแตกต่างกัน “การพัฒนาจะต้องเป็นไปตามภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์ และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ในสังคมวิทยา คือ นิสัย ใจคอของคนเรา จะไปบังคับให้คนอื่นคิดอย่างอื่นไม่ได้ เราต้องแนะน�ำ เราเข้าไปดูว่าเขาต้องการอะไรจริงๆ แล้วก็อธิบาย ให้เขาเข้าใจหลักการของการพัฒนานี้ก็จะเกิดประโยชน์อย่างยิ่ง” ข้ อ ที่ ๕ ประหยั ด เรี ย บง่ า ย ได้ ป ระโยชน์ สู ง สุ ด - ส่วนพระองค์ก็ทรงประหยัดมาก - ในการพัฒนาและช่วยเหลือราษฎร ทรงใช้หลักในการแก้ปัญหาด้วยความเรียบง่าย และประหยัด ราษฎรสามารถ ท�ำได้เอง หาได้ในท้องถิ่น และประยุกต์ใช้สิ่งที่มีอยู่ในภูมิภาคนั้นมาแก้ไขโดยไม่ต้องลงทุนสูง หรือใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยากนัก 154
บทที่ ๗ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มุ ่ ง มั่ น ในการท� ำ งาน
ข้ อ ที่ ๖ ทรงใช้ ธ รรมชาติ ช ่ ว ยธรรมชาติ - ทรงเข้าใจธรรมชาติและต้องการให้ประชาชนใกล้ชิดกับธรรมชาติ - ทรงมองอย่างละเอียดถึงปัญหาธรรมชาติ หากเราต้องการแก้ไขธรรมชาติ จะต้องใช้ธรรมชาติเข้าช่วยเหลือ เช่น ปลูก ป่าโดยไม่ต้องปลูกท�ำให้มนุษย์และธรรมชาติเกื้อกูลกัน ข้ อ ที่ ๗ แก้ ป ั ญ หาที่ จุ ด เล็ ก ทรงแก้ปัญหาในภาพรวม (macro) ก่อนเสมอ แต่การแก้ไขปัญหา จะทรงเริ่มจากจุดเล็ก (micro) คือ การแก้ไขปัญหา เฉพาะหน้าที่ซึ่งคนมักจะมองข้าม “ ถ้าปวดหัวคิดอะไรไม่ออก ก็ต้องแก้ไขการปวดหัวนี้ก่อน มันไม่ได้แก้อาการจริงแต่ต้องแก้ปวดหัวก่อนเพื่อจะ ให้อยู่ในสภาพที่คิดได้...” ข้ อ ที่ ๘ ท� ำ ให้ ง ่ า ย - Simplicity ทรงคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุงและแก้ไขงาน การพัฒนาประเทศตามแนวพระราชด�ำริไปได้โดยง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน และที่ส�ำคัญอย่างยิ่งคือ สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนและระบบนิเวศโดยรวม “ ท�ำให้ง่าย ” ข้ อ ที่ ๙ ไม่ ติ ด ต� ำ รา มีลักษณะของการพัฒนาที่อนุโลม และลอมชอมกับสภาพธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และสภาพของสังคม จิตวิทยาของ ชุมชน คือ “ไม่ติดต�ำรา” ไม่ผูกมัดติดกับวิชาการและเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมกับชีวิตความเป็นอยู่ที่แท้จริงของคนไทย ข้ อ ที่ ๑๐ ใช้ อ ธรรมปราบอธรรม - ทรงน�ำความจริงในเรื่อง ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของธรรมชาติเป็นหลักการ แนวปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาและ ปรับปรุงสภาวะที่ไม่ปกติเข้าสู่ระบบที่ปกติ - เช่น การบ�ำบัดน�้ำเน่าเสียโดยให้ผักตบชวา ซึ่งมีตามธรรมชาติให้ดูดซึมสิ่งสกปรกปนเปื้อนในน�้ำ ข้ อ ๑๑ ปลู ก ป่ า ในใจคน “เจ้าหน้าที่ป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่านั้นก็จะพากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดินและจะ รักษาต้นไม้ด้วยตนเอง” ข้ อ ที่ ๑๒ มุ ่ ง ประโยชน์ ค นส่ ว นใหญ่ เ ป็ น หลั ก “ การปฏิบัติงานทุกอย่างของข้าราชการมีผลเกี่ยวเนื่องถึงประโยชน์ส่วนรวมของบ้านเมืองและประชาชนทุก คน เพราะฉะนั้น จึงจ�ำเป็นที่ข้าราชการทุกคนจะต้องท�ำหน้าที่ทุกๆ ประการให้บริสุทธิ์บริบูรณ์ โดยเต็มก�ำลังสติปัญญา ความรู้ความสามารถ เพื่อผลการปฏิบัติราชการทุกอย่างจักได้บรรลุความส�ำเร็จอย่างสูง และบังเกิดประโยชน์อย่างดี ที่สุดแก่ตน แก่หน้าที่ และแก่แผ่นดิน” ข้ อ ที่ ๑๓ การมี ส ่ ว นร่ ว ม ทรงเป็นนักประชาธิปไตย ทรงเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชนหรือเจ้าหน้าที่ทุกระดับได้มาร่วมแสดงความคิด เห็น “ส�ำคัญที่สุดจะต้องหัดท�ำใจให้กว้างขวาง หนักแน่น รู้จักรับฟังความคิดเห็น แม้กระทั่งความวิพากษ์วิจารณ์จาก ผู้อื่นอย่างฉลาดนั้น แท้จริงคือ การระดมสติปัญญาละประสบการณ์อันหลากหลายมาอ�ำนวยการปฏิบัติบริหารงานให้ ประสบผลส�ำเร็จที่สมบูรณ์นั่นเอง” ข้ อ ที่ ๑๔ ขาดทุ น คื อ ก� ำ ไร “ การให้ ” และ “ การเสียสละ ” เป็นการกระท�ำอันมีผลเป็นก�ำไร คือ ความอยู่ดีมีสุขของราษฎร “...ถ้าเราท�ำอะไรที่เราเสีย แต่ในที่สุดเราเสียนั้นเป็นการได้ทางอ้อม... ในไม่ช้าประชาชนจะได้รับผล ราษฎรมี ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
155
รายได้ รัฐบาลก็เก็บภาษีได้สะดวก เพื่อให้รัฐบาลได้ท�ำโครงการต่อไป... ถ้ารู้รักสามัคคี รู้เสียสละ คือการได้ ประเทศชาติ ก็จะก้าวหน้า และการที่คนอยู่ดีมีสุขนั้น เป็นการนับที่เป็นมูลค่าเงินไม่ได้...” ข้ อ ที่ ๑๕ บริ ห ารรวมที่ จุ ด เดี ย ว ทรงมีพระราชด�ำริให้บริหาร “ศูนย์ศึกษาการพัฒนาทั้ง ๖ แห่ง” ให้เป็น “การบริการรวมที่จุดเดียว” “การบริหาร แบบเบ็ดเสร็จ” โดยทรงเน้นเรื่องรู้รักสามัคคีและการร่วมมือร่วมแรงร่วมใจกันด้วยการปรับลดช่องว่างระหว่างหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ข้ อ ที่ ๑๖ รู ้ - รั ก - สามั ค คี รู้ : การที่เราจะลงมือท�ำสิ่งใดนั้น จะต้องรู้เสียก่อน รู้ถึงปัจจัยทั้งหมด รู้ถึงปัญหา และรู้ถึงวิธีแก้ปัญหา รัก : เมื่อเรารู้ครบด้วยกระบวนความแล้ว จะต้องมีความรักการพิจารณาที่จะเข้าไปลงมือปฏิบัติแก้ไขปัญหานั้นๆ สามัคคี : การที่จะลงมือปฏิบัตินั้น ควรค�ำนึงเสมอว่าเราจะท�ำงานคนเดียวไม่ได้ ต้องท�ำงานร่วมมือร่วมใจเป็นองค์กร เป็นหมู่คณะ จึงจะมีพลังเข้าไปแก้ปัญหาให้ลุล่วงไปด้วยดี ข้ อ ที่ ๑๗ การพึ่ ง ตนเอง การพัฒนาตามแนวพระราชด�ำริเพื่อการแก้ไขปัญหาในเบื้องต้นด้วยการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเพื่อให้มีความแข็งแรง พอที่จะด�ำรงชีวิตได้ต่อไป แล้วขั้นต่อไปก็คือ การพัฒนาให้ประชาชนสามารถอยู่ในสังคมได้ตามสภาพแวดล้อมและสามารถ “พึ่งตนเองได้” ในที่สุด ข้ อ ที่ ๑๘ เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชด�ำรัสชี้แนะแนวทางการด�ำเนินชีวิตแก่พสก นิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๓๐ ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงย�้ำ แนวทางการ แก้ไข เพื่อให้รอดพ้นและสามารถด�ำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ข้ อ ที่ ๑๙ ท� ำ งานอย่ า งมี ค วามสุ ข “...ท�ำงานกับฉัน ฉันไม่มีอะไรจะให้ นอกจากการมีความสุขร่วมกัน ในการท�ำประโยชน์ให้กับผู้อื่น...” ข้ อ ที่ ๒๐ พออยู ่ พ อกิ น ให้ประชาชนสามารถอยู่อย่าง “พออยู่พอกิน” เสียก่อน แล้วจึงค่อยขยับขยายให้มีขีดสมรรถนะที่ก้าวหน้าต่อไป ข้ อ ที่ ๒๑ องค์ ร วม มีวิธีคิดอย่างองค์รวมหรือมองอย่างครบวงจร มองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและแนวทางแก้ไขอย่างเชื่อมโยง ข้ อ ที่ ๒๒ ความเพี ย ร กว่า ๖๐ ปีที่ทรงงานในหลวงไม่เคยทรงท้อถอย ไม่มีการลาพักร้อนหยุดงานสักเวลาเดียว ข้ อ ที่ ๒๓ ความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต จริงใจต่อกัน เพราะผู้ที่มีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แม้จะมีความรู้น้อยก็ย่อมท�ำประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมได้มากกว่าผู้ ที่มีความรู้มากแต่ไมมีความสุจริต
156
บทที่ ๗ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มุ ่ ง มั่ น ในการท� ำ งาน
โครงการในพระราชด�ำริ
https://travel.kapook.com/view๑๕๙๗๓๗.html เที่ยวโครงการพระราชด�ำริ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่สร้างประโยชน์ให้กับราษฎร และพัฒนากลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจ โครงการพระราชด�ำริ เป็นโครงการที่เกิดขึ้นจากพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เช่น โครงการเกี่ยวกับดิน น�้ำ ป่า และวิศวกรรม โครงการเหล่านี้ได้สร้างประโยชน์ให้กับเหล่าราษฎรของพระองค์มีชีวิตความ เป็นอยู่ที่ดีขึ้น และพัฒนาสู่แหล่งท่องเที่ยวที่น่าไปเยี่ยมชม หลังจากที่เราเคยน�ำเสนอกระทู้ “๕ เส้นทางท่องเที่ยวโครงการ พระราชด�ำริ เที่ยวสุขใจตามรอยพ่อหลวง” ยังมีเส้นทางท่องเที่ยวโครงการที่น่าสนใจอีกมากมาย วันนี้เราจะตามรอยเท้า พ่อไปเที่ยวโครงการพระราชด�ำริของพระองค์กันต่อ ว่าแต่จะมีที่ไหนน่าสนใจบ้าง ตามมาดูกัน ๑. ศู น ย์ เ รี ย นรู ้ โ ครงการตามพระราชประสงค์ หุ บ กะพง จั ง หวั ด เพชรบุ รี ตั้งอยู่ในท้องที่ต�ำบลเขาใหญ่ และต�ำบลชะอ�ำ อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ส�ำหรับ ประชาชนที่สนใจศึกษาดูงาน โดยจัดท�ำเป็นศูนย์นิทรรศการในอาคารคุ้มเกล้าสหกรณ์และอาคารนิทรรศการภาพพระราช กรณียกิจที่หุบกะพง นอกจากนี้ยังสามารถเยี่ยมชมแปลงสาธิตเกษตรจากชีวิตจริงของชาวบ้านเกษตรกรตัวอย่างที่สามารถ ถ่ายทอดประสบการณ์ทางการเกษตรของพวกเขาได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ยังจัดแสดงเกี่ยวกับโครงการพระราชด�ำริต่าง ๆ ภาพถ่ายในอดีต และการจ�ำลองแบบบ้านหลังแรกของเกษตรกรที่ได้อพยพเข้ามาอยู่ที่หุบกะพง เครื่องจักรการเกษตร และ กังหันน�้ำชัยพัฒนา (สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง โทร. ๐๓๒ ๔๗๑ ๕๔๓, ๐๓๒ ๔๗๑ ๑๐๐ หรือ webhost.cpd.go.th) ๒. บริ ษั ท อุ ต สาหกรรมการเกษตรเขาค้ อ จ� ำ กั ด ในโครงการพั ฒ นาลุ ่ ม น�้ ำ เข็ ก (เขาค้ อ ) อั น เนื่ อ ง มาจากพระราชด� ำ ริ จั ง หวดเพชรบู ร ณ์ ตั้งอยู่หมู่ที่ ๑ สี่แยกรื่นฤดี ต�ำบลสะเดาะพง จังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อท�ำการวิจัยและขยายพันธุ์พืชของเกษตรกรให้ มีคุณภาพ ปัจจุบันเปิดให้ผู้สนใจเข้าเยี่ยมชมและศึกษาดูงาน ได้แก่ อาคารที่ ๑ เป็นอาคารผลิตอาหารกระป๋องส�ำเร็จรูป เพื่อน�ำผลผลิตของเกษตรกรมาแปรรูปให้เก็บไว้ได้นาน, อาคารที่ ๒ เป็นอาคารอบแห้ง สาธิตต้นแบบการใช้พลังงานแสง ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
157
อาทิตย์ในอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์เป็นสมุนไพรอบแห้ง ส่งจ�ำหน่ายในประเทศและต่างประเทศ และอาคารที่ ๓ เป็นอาคาร เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช เพื่อท�ำการวิจัยและขยายพันธุ์พืชของเกษตรกรให้มีคุณภาพ รวมถึงสถานีทดลองและวิจัยพืชที่ใช้ใน อุตสาหกรรม และไม่ลืมแวะชิมกาแฟรสชาติเยี่ยมของเขาค้อ ตลอดจนผลิตภัณฑ์สมุนไพรอบแห้ง และสินค้า OTOP ของ ชุมชนให้นักท่องเที่ยวได้เลือกซื้อตามชอบใจ (นักท่องเที่ยวหรือผู้ที่สนใจเข้าชมกิจการภายในโรงงานอุตสาหกรรมการเกษตร เป็นหมู่คณะ ควรท�ำหนังสือติดต่อขอเข้าชมล่วงหน้า ๑ สัปดาห์ ถึงผู้จัดการโรงงานอุตสาหกรรมการเกษตรเขาค้อ จ�ำกัด โทร. ๐๕๖ ๗๒๘ ๑๑๘-๙)
๓. โครงการพระราชด� ำ ริ ป างตอง ๒ (ปางอุ ๋ ง ) จั ง หวั ด แม่ ฮ ่ อ งสอน ตั้งอยู่ที่ต�ำบลหมอกจ�ำแป่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งแต่เดิมพื้นที่ดังกล่าวมีการท�ำไร่เลื่อนลอย ปลูกฝิ่น และ ตัดไม้ท�ำลายป่าเป็นบริเวณกว้าง จากนั้นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชด�ำริให้รวบรวม ราษฎรบริเวณนั้นพร้อมกับพัฒนาความเป็นอยู่ ส่งเสริมอาชีพปลูกป่า สร้างอ่างเก็บน�้ำ และฟื้นฟูอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ให้สมบูรณ์ยั่งยืน ปัจจุบันปางอุ๋งกลายเป็นแหล่งปลูกพืชที่น่าสนใจหลายชนิด และมีกิจกรรมให้นักท่องเที่ยวได้ท�ำมากมาย เช่น ตื่นมาดูหมอกยามเช้า เดินชมดอกไม้ ล่องแพชมธรรมชาติ เป็นต้น โดยนักท่องเที่ยวสามารถเลือกไปเที่ยวแบบไปเช้า-เย็น กลับ หรือจะไปพักแบบค้างแรมก็ได้ (สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ศูนย์ประสานงานโครงการพัฒนาตามพระราชด�ำริจังหวัด แม่ฮ่องสอน โทร. ๐๕๓ ๖๑๑ ๒๔๔) ๔. โครงการพั ฒ นาป่ า ไม้ ต ามแนวพระราชด� ำ ริ ภู หิ น ร่ อ งกล้ า จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก ตั้งอยู่บ้านร่องกล้า ต�ำบลเนินเพิ่ม อ�ำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ท่ามกลางภูเขาเขียวขจีและอากาศที่บริสุทธิ์ ที่นี่เป็น แหล่งเรียนรู้การพัฒนาป่าไม้และเพาะช�ำกล้าไม้หายาก อันเป็นโครงการตามแนวพระราชด�ำริ ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อการฟื้นฟูสภาพป่า เพาะช�ำกล้าไม้ และส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับราษฎร พื้นที่ในโครงการมีแนวหินผาเป็นจุดชมวิวถึง ๖ จุดส�ำคัญ ได้แก่ ผาไททานิค ผาพบรัก ผาบอกรัก ผาคู่รัก ผารักยืนยง และสลัดรัก สามารถยืนชมทิวทัศน์ผืนป่าเขียวชอุ่ม ไม่เพียงแค่ทุ่งดอก กระดาษและหน้าผาแห่งรักเท่านั้น ในช่วงฤดูหนาว ที่นี่ยังเป็นจุดชมดอกนางพญาเสือโคร่ง หรือซากุระเมืองไทยผลิบานอีก หนึ่งจุดอีกด้วย ภายในโครงการไม่มีจุดกางเต็นท์ แต่นักท่องเที่ยวสามารถพักที่อุทยานแห่งชาติ ซึ่งอยู่ห่างออกไปประมาณ ๒ กิโลเมตร (สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า ๐๕๕ ๓๕๖ ๖๕๒, ๐๘๑ ๕๙๖ ๕๙๗๗ หรือ เฟซบุ๊ก โครงการพัฒนาป่าไม้ตามแนวพระราชด�ำริภูหินร่องกล้า)
158
บทที่ ๗ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มุ ่ ง มั่ น ในการท� ำ งาน
ภาพจาก เฟซบุ๊ก โครงการพัฒนาป่าไม้ตามแนวพระราชด�ำริภูหินร่องกล้า
๕. โครงการพั ฒ นาป่ า ไม้ ป ากน�้ ำ ปราณบุ รี อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ จั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ์ ตั้งอยู่บริเวณต�ำบลปากน�้ำปราณ อ�ำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ภายในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าคลองเก่า และป่าคลองคอย เพื่อเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าไม้ และเป็นหนึ่งในโครงการพระราชด�ำริ เพื่อหวังให้ความรู้แก่ ประชาชนและคนในชุมชนเรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อให้ทุกคนได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน ภายในมีเส้นทางศึกษา ธรรมชาติป่าชายเลนที่ให้ความรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศป่า พันธุ์สัตว์น�้ำ มีท่าเรือส�ำหรับล่องเรือชมธรรมชาติป่าชายเลน และวิถี ชุมชนประมงปากน�้ำปราณบุรี นักท่องเที่ยวจะได้สัมผัสกับป่าโกงกางที่มีอายุร่วมร้อยปีที่หาชมได้ยาก รวมถึงป่าเบญจพรรณ ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุ้มครอง เช่น เลียงผา กวาง นกยูง ไก่ป่า เป็นต้น ที่ปล่อยให้เจริญเติบโตตาม ธรรมชาติ (สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ วนอุทยานปราณบุรี โทร. ๐๘๑ ๖๘๒ ๖๖๗๔, ๐๘๑ ๗๖๓ ๙๖๕๒) ๖. โครงการศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นาเขาหิ น ซ้ อ นอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา ตั้งอยู่ที่ กม.ที่ ๕๓ ฉะเชิงเทรา-กบินทร์บุรี ริมทางหลวงหมายเลข ๓๐๔ มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวม ศึกษา ทดลอง วิจัย และพัฒนาปรับปรุงพื้นที่ทางการเกษตร ซึ่งครั้งหนึ่งพื้นที่เขาหินซ้อนเป็นพื้นที่ป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ผืนหนึ่งของภาค ตะวันออก แต่ด้วยการท�ำการเกษตรที่ผิดวิธี การบุกรุกพื้นที่เพื่อใช้เป็นที่ท�ำกิน จากเดิมที่เป็นพื้นที่อุดมสมบูรณ์ ก็กลายเป็น ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
159
พื้นที่ทะเลทรายที่ไม่สามารถท�ำมาหากินได้ จนเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้พระราชทานพระ ราชด�ำริให้ท�ำการฟื้นฟูสภาพของดิน เพื่อให้เกษตรกรสามารถน�ำไปใช้ในการประกอบอาชีพได้อย่างยั่งยืน ภายในมีการท�ำ แปลงสาธิตการเกษตรในรูปแบบต่าง ๆ ตามแนวทฤษฎีใหม่ โครงการสวนป่าสมุนไพร ที่เปิดโอกาสให้กลุ่มนักเรียน นักศึกษา เข้าไปทัศนศึกษากันอย่างไม่ขาดสาย (สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน อันเนื่อง มาจากพระราชด�ำริ โทร. ๐๓๘ ๕๕๔ ๙๘๒-๓ หรือ www.khaohinsorn.com)
ภาพจาก เฟซบุ๊ก ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ๗. ศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นาห้ ว ยฮ่ อ งไคร้ อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ตั้งอยู่บริเวณอ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ครอบคลุมพื้นที่กว่า ๘,๕๐๐ ไร่ นับเป็นอีกหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยวที่ น่าสนใจส�ำหรับคนที่มาเที่ยวเชียงใหม่ ภายในศูนย์ถือได้ว่ามีความเพียบพร้อมโดยมีการวิจัยและพัฒนาป่าที่หลากหลาย ท�ำให้ นักท่องเที่ยวสามารถเห็นภาพแนวทางการพัฒนาป่าได้อย่างชัดเจน โดยมีการวิจัยทางด้านปศุสัตว์และโคนม รวมทั้งเกษตร อุตสาหกรรม ซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถชมผลงานวิจัยต่าง ๆ ได้อย่างทั่วถึง โดยมีทิวทัศน์ที่มีความงดงาม โดยนักท่องเที่ยวจะ นิยมมาถ่ายภาพเป็นที่ระลึกกันอย่างมาก นอกจากนี้ นักท่องเที่ยวยังสามารถเยี่ยมชมวิถีชีวิตของชาวบ้านแต่ละเผ่า ซึ่งตั้งอยู่ รอบศูนย์แห่งนี้อีกด้วย (สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ โทร. ๐๕๓ ๓๘๙ ๒๒๘, ๐๕๓ ๓๘๙ ๒๒๙ หรือ www.hongkhrai.com) ๘. ศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นาห้ ว ยทรายอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ จั ง หวั ด เพชรบุ รี
ภาพจาก www.huaysaicenter.org 160
บทที่ ๗ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มุ ่ ง มั่ น ในการท� ำ งาน
ตั้งอยู่บริเวณต�ำบลสามพระยา อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี ในอดีตพื้นที่แห่งนี้มีทรัพยากรธรรมชาติสมบูรณ์ มีสัตว์ป่า อาศัยอยู่มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเนื้อทราย แต่เพราะผลจากการที่ราษฎรเข้ามาท�ำกิน บุกรุกป่า โดยเฉพาะการท�ำไร่สับปะรด และการใช้สารเคมีอย่างผิดวิธี ท�ำให้ส่งผลต่อระบบนิเวศให้เสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว จนเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชด�ำริให้จัดตั้งศูนย์แห่งนี้ เพื่อศึกษา ค้นคว้า วิจัย เพาะเลี้ยงและขยายพันธุ์สัตว์ป่า และฟื้นฟูสภาพ ป่าที่เสื่อมโทรม รวมถึงยังเป็นสถานที่ศึกษาหาความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่าของนักเรียน นิสิต และ ประชาชนทั่วไปที่สนใจอีกด้วย (สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ โทร. ๐๓๒ ๕๙๓ ๒๕๒, ๐๓๒ ๕๙๓ ๒๕๓ หรือ www.huaysaicenter.org) ทั้งหมดนี้ เป็นเพียงแค่ส่วนหนึ่งของโครงการพระราชด�ำริอันแสดงให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่ทรงหวังจะช่วยยกระดับความเป็นอยู่ของราษฎรให้ดีขึ้น ทั้งยังน�ำมาซึ่งการสร้างรายได้ รวมถึงยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจ
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
161
ใบความรู้เรื่องอิทธิบาท ๔ กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การใช้ อิ ท ธิ บ าท ๔ เป็ น แนวทางการเรี ย น การท� ำ งาน ให้ ป ระสบความส� ำ เร็ จ แบบพอเพี ย ง “อิทธิบาท” เป็นแนวทางการเรียน การท�ำงาน ให้ประสบความส�ำเร็จที่พระพุทธเจ้าทรงสอนไว้ อันประกอบด้วย แนวปฏิบัติ ๔ ข้อ คือ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา จะขาดข้อใดข้อหนึ่งไม่ได้ ด้วยว่ามันเป็นกระบวนการที่เชื่อมโยงกันทั้ง ๔ ข้อ จึงจะท�ำให้เราประสบผลส�ำเร็จในชีวิตและการงานได้ตามความมุ่งหวังหมายถึง ๑) ฉันทะ คือ การมีใจรักในสิ่งที่ท�ำ (มีเหตุผล ) ใจที่รักอันเกิดจากความศรัทธาและเชื่อมั่นต่อสิ่งที่ท�ำ จึงจะเกิดผล จริงตามควร ความหมายของ “ฉันทะ” นั้น ไม่ใช่แปลว่าเป็นสัญญาภาษากระดาษหรือสัญญาที่ให้ไว้กับมวลหมู่สมาชิกเท่านั้น หากแต่เป็นสัญญาใจและเป็นใจที่ผูกพัน ใจที่ศรัทธาและเชื่อมั่นต่อสิ่งนั้นอยู่เต็มเปี่ยม จึงจะเกิดความเพียรตามมาหลายคนคง เคยได้ยินประโยคที่ว่า Where there is the will, there is the way. ที่ใดมีความปรารถนาอันแรงกล้า ที่นั่นย่อมมีหนทาง เสมอ ขอเพียงแต่ให้มีความตั้งใจแน่วแน่ ที่จะประสบความส�ำเร็จในเรื่องนั้นๆให้ได้ ด้วยความมุ่งมั่น ไม่ท้อถอย ย่อมมีหนทาง น�ำเราไปสู่ความส�ำเร็จได้เสมอ ๒) วิริยะ คือ ความมุ่งมั่นทุ่มเท เป็นความมุ่งมั่นทุ่มเททั้งกายและใจ ที่จะเรียนรู้และท�ำให้เข้าถึงแก่นแท้ของสิ่งนั้นเรื่อง นั้น ถ้าหากกระท�ำก็จะท�ำจนเชี่ยวชาญจนเป็นผู้รู้ ถ้าหากศึกษาก็จะศึกษาให้รู้จนถึงรากเหง้าของเรื่องราวนั้นๆ ดังนั้น ค�ำว่า “วิริยะ” จึงหมายถึงความเพียรพยายามอย่างสูงที่จะท�ำตามฉันฑะหรือศรัทธาของตัวเอง (พอประมาณ ) วิริยะนี้มาคู่กับความอดทนอดกลั้น เป็นความรู้สึกไม่ย่อท้อต่อปัญหาและมีความหวังที่จะเอาชนะอุปสรรคทั้งปวง โดย มีศรัทธาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ น�ำใจ และเตือนใจ ความอดทนเป็นเครื่องมือส�ำหรับคนใจเย็นและใจงามด้วย ไม่ใช่มุทะลุ ดุดันรบเร้าและรุ่มร้อน เพราะมันจะท�ำให้มีโอกาสผิดพลาดได้ง่าย หรือสูญเสียความอดทนในที่สุด ดังนั้น ความวิริยะอุสาหะ จึงเป็นวิถีทางของบุคคลที่หาญกล้าและทายท้าต่ออุปสรรคใดๆทั้งมวล ถ้าจะฝึกฝนเรื่องความวิริยะแล้วคงต้องเริ่มจากความคิดที่ว่า ต้องหมั่นฝึกฝนตนเองบ่อยๆ หมั่นท�ำ หมั่นคิด อย่าขี้เกียจ อย่ากลัวความผิดพลาดและจงกล้าแสดงออกซึ่งความรับผิดชอบต่อความล้มเหลวของตัวเอง อย่าท้อต่องานหนักและงานมาก ให้คิดว่าท�ำมากรู้มากเก่งมากขึ้น อย่าบ่นว่าไม่มีเวลาเพราะเวลามีเท่าเดิม ฯลฯ ๓) จิตตะ คือ ใจที่จดจ่อและรับผิดชอบ เมื่อมีใจที่จดจ่อแล้วก็จะเกิดความรอบคอบตาม ค�ำนี้ยิ่งใหญ่มากปัจจุบัน สังคม ซับซ้อน มีสิ่งใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมาย แต่ละคนมีภาระหน้าที่ ที่ต้องท�ำมากมาย ไม่รู้จะท�ำอะไรก่อน เวลาอ่านหนังสือก็คิดถึง งานที่รับผิดชอบ เวลาอ่านท�ำงานก็คิดว่าต้องอ่านหนังสือเพื่อเตรียมตัวสอบ ไม่สามารถมีจิตจดจ่ออยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้นาน ผลคือ ท�ำอะไรก็ไม่ดีสักอย่างท�ำผิดๆถูกๆอยู่อย่างนั้น แต่ถ้าเรามีใจที่จดจ่อต่อสิ่งที่เราคิดเราท�ำและรับผิดชอบแล้ว ไม่ว่าจะเป็นการเรียนหรือการงานก็ตาม ทุกอย่างก็จะดี ขึ้นไปเอง เราก็จะมีความรอบรู้มากขึ้นเรื่อยๆด้วยใจที่จดจ่อตั้งมั่นและใฝ่เรียนรู้ของเรา เมื่อมีความรอบรู้มากขึ้นก็จะเกิดความ รอบคอบตามมา เมื่อมีความรอบคอบแล้วการตัดสินใจท�ำอะไรก็จะเกิดความผิดพลาดน้อยตามไปด้วย เมื่อเราเข้าใกล้ความรอบรู้แล้ว ก็ไม่ใช่เรื่องยากที่จะวิเคราะห์สังเคราะห์เนื้อแท้ของเรื่องราวนั้นๆ ออกมาสู่การตัดสินใจ ของหมู่คณะหรือแม้แต่เรื่องส่วนตัวของเราเอง ดังนั้น ความรอบคอบจึงแฝงไปด้วยความรอบรู้ตามสภาพจริงของมัน อันเป็น แนวปฏิบัติที่คนรุ่นใหม่ต้องสร้างให้เกิดเป็นนิสัยแก่ตนเอง ความรอบคอบนอกจากจะด�ำรงอยู่คู่กับความรอบรู้แล้ว ยังต้องอาศัยความดีงามเป็นเครื่องเตือนสติด้วย ถึงจะสามารถ ใช้จิตของเราพินิจพิจารณาและตรึกตรองในเนื้อแท้ของสิ่งต่างๆนั้นได้อย่างเหมาะสม เพราะความดีงามตามแบบอย่างของ คุณธรรมตามหลักศาสนาและจริยธรรมของสังคมนั้นเป็นสิ่งเดียวที่จะท�ำให้มนุษย์อยู่ร่วมกันอย่างปรกติสุข ๔) วิมังสา คือ การทบทวนในสิ่งที่ได้คิดได้ท�ำมา (ระมัดระวัง ) อันเกิดจาก การมีใจรัก (ฉันทะ) แล้วท�ำด้วยความ มุ่งมั่น (วิริยะ) อย่างใจจดใจจ่อและรับผิดชอบ (จิตตะ) โดยใช้วิจารณญาณอย่างรอบรู้และรอบคอบ จึงน�ำไปสู่การทบทวนตัว เอง และทบทวนองค์กรหรือทบทวนขบวนการ ทบทวนในสิ่งที่ได้คิดสิ่งได้ท�ำผ่านมาว่าเกิดผลดีผลเสียอย่างไร ทั้งที่เป็นเรื่อง ส่วนตัวของเราเองและเป็นเรื่องที่ร่วมคิดร่วมท�ำกับคนอื่น เพื่อปรับปรุงปรับแก้ไขให้ดียิ่งขึ้น
162
บทที่ ๗ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง มุ ่ ง มั่ น ในการท� ำ งาน
การทบทวนเรื่องราวจากภายในของตัวเองเป็นสิ่งส�ำคัญมาก เรามักใช้ว่า “สรุปบทเรียน” เป็นการสรุปผลการด�ำเนิน งานที่ผ่านมาในช่วงระยะเวลาหนึ่ง เพื่อดูว่าสิ่งที่คิดและท�ำมานั้นมันด�ำเนินไปในแนวทางที่วาดหวังหรือไม่ หรือว่าคิดไว้อย่าง ท�ำอีกอย่าง หรือคิดไว้แต่ไม่ได้ท�ำเลย หรือท�ำไปแล้วแต่ไม่ได้อย่างที่มุ่งหวัง ทั้งนี้จะได้วิเคราะห์ต่อไปว่า ที่มันส�ำเร็จมันเป็น เพราะอะไร และที่มันล้มเหลวมันเกิดจากอะไร เพื่อที่จะได้หาแนวทางแก้ไขหรือหาทางหลีกเลี่ยงผลเสียที่อาจเกิดขึ้น (สร้าง ภูมิคุ้มกัน ) ดังนั้น “อิทธิบาท ๔” จึงมีความหมายกับคนรุ่นใหม่ที่ต้องการจะเดินทางไปในสู่ความส�ำเร็จในชีวิตและการงาน https://www.youtube.com/watch?v=YqCjcMHWQi๔ เพลงธรรมะของพระราชา https://www.youtube.com/watch?v=vXhnmZxm๓Co แรงโน้มถ่วง https://www.youtube.com/watch?v=iEr๖VvmQnIk ขยันแต่อย่าโง่ https://www.youtube.com/watch?v=IIsZeBonZAMตามรอยคุณธรรม https://www.youtube.com/watch?v=๓m_y_LMqQsI แรงมุ่งมั่นสู่ความส�ำเร็จ https://www.youtube.com/watch?v=๖RF๑Zz๕xcNg&index=๓&list=RDBqLhkRaze_k เพลงเรือเล็กควร ออกจากฝั่ง https://www.youtube.com/watch?v=GbwWgIrgGXQ ชัยชนะที่ยิ่งใหญ่เริ่มที่ตนเองเสียงเยาวชน https://www.youtube.com/watch?v=EjqTeIMhG๐Y ความมุ่งมั่น
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
163
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง รักความเป็นไทย
164
บทที่ ๘ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ความเป็ น ไทย
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง รักความเป็นไทย หลั ก สู ต ร
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
จ� ำ นวน ๓ คาบ
วั ต ถุ ป ระสงค์ ๑.๑ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่อง ความเป็นไทย ๑.๒ เพื่อให้นักเรียนมีความภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมไทย (ความกตัญญูกตเวที อย่างมีสติปัญญา มีมารยาทไทย มีน�้ำใจ ยิ้มแย้มแจ่มใส ไหว้งดงาม) ๑.๓ เพื่อให้นักเรียนภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าของภาษาไทย กลุ ่ ม ผู ้ รั บ การอบรม นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ -๖ วิ ท ยากร คุณครูในโรงเรียนแกนน�ำครอบครัวพอเพียง หรือวิทยากรในชุมชน เนื้ อ หาสาระ รักความเป็นไทย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึง ความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่าร่วมอนุรักษ์ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาไทยในการสื่อสารอย่างถูกต้องเหมาะสม ชื่นชม มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ สืบทอด เผยแพร่ ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมไทย ความกตัญญูกตเวทีอย่างมีสติปัญญา มีมารยาทไทย มีน�้ำใจ ยิ้มแย้มแจ่มใส ไหว้งดงาม ารใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ผลการเรี ย นรู ้ ที่ ค าดหวั ง ๑. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่อง รักความเป็นไทย ๒. นักเรียนร่วมอนุรักษ์ ความเป็นไทยและใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง ๓. นักเรียนเห็นคุณค่าและมีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย สื่ อ และอุ ป กรณ์ ก ารเรี ย นการสอน ๑. สื่อวีดีทัศน์ เรื่องพระมหากษัตริย์ ยอดกตัญญู( ๑๒ นาที ) https://www.youtube.com/watch?v=mhbyJt4ZuL0 ๒. สื่อวีดีทัศน์ เรื่องเอกลักษณ์ไทย อักษรไทย การใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง (๗ นาที) https://www.youtube.com/ watch?v=hpGpRn83bHY ๓. สื่อวีดีทัศน์ เรื่อง “ลูกชายคนกวาดขยะ Garbage Man” ( ๔ นาที ) https://www.youtube.com/watch?v=n1JDMIQY8I4 ๔. สื่อวีดีทัศน์ เรื่องTHAI BIKER NEWS การให้ที่ยิ่งใหญ่ ความกตัญญูรู้จักตอบแทนบุญคุณ ( ๔ นาที ) https://www. youtube.com/watch?v=JUZHcEWDJ7w ๕. สื่อวีดีทัศน์ เรื่อง ฉ่อยภาษาวิบัติ ( ๗ นาที) https://www.youtube.com/watch?v=Obu_8rXJv04 ๖. สื่อวีดีทัศน์เรื่อง พระอัจฉริยภาพด้านศิลปวัฒนธรรมของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช https:// www.youtube.com/watch?v=DK1wuyF9jr0 ( ๕นาที ) ๗. เพลงเอกลักษณ์ไทย( ๔ นาที) https://www.youtube.com/watch?v=_DW4zkYfmwM ๘. ข่าวฝรั่งแต่งงานแบบไทย ( ๒ นาที) https://www.youtube.com/watch?v=HSU_JsJnZSE ๙. ใบงานเรื่อง ภาษาวิบัติ ๑๐. ใบงาน เรื่อง การอนุรักษ์ความเป็นไทย ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
165
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง รักความเป็นไทย คาบที่ ๑
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ เรื่อง ความเป็นไทย (ความกตัญญูกตเวที มีมารยาทไทย มีน�้ำใจ ยิ้มแย้มแจ่มใส ไหว้งดงาม) ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม ( ใช้ เ วลา ๑๗ นาที ) ๑.๑ เปิดเพลงสรรเสริญพระบารมี ( ทุกคนร่วมกันร้องและแสดงความเคารพ ) ( เวลา ๓ นาที ) https://www. youtube.com/watch?v=JdzAVYR4lnI ๑.๒. ร้องเพลงสวัสดี พร้อมให้แสดงท่าทางประกอบเพื่อสร้างสัมพันธภาพก่อนเรียนและสรุปกิจกรรม เพลงสวัสดีว่า กิจกรรมนี้นอกจากสร้างสัมพันธภาพแล้ว ยังสอนเรื่องมารยาทไทย การไหว้ และการยิ้มแย้มแจ่มใสเมื่อแรกพบ เพลงสวั ส ดี
สวัสดี สวัสดี วันนี้เรามาพบกัน เธอกับฉันพบกัน สวัสดี
ขั้ น ที่ ๒ การด� ำ เนิ น กิ จ กรรม ๒.๑ ครูน�ำภาพในหลวงรัชกาลที่ ๙ กราบสมเด็จย่า และภาพบุคคลทั่วไปกราบแม่ให้นักเรียนดู https://www. youtube.com/watch?v=mhbyJt4ZuL0 หลังจากนั้นครูถามความรู้สึก/ความคิดเห็นของนักเรียนหลังจากการชมภาพดัง กล่าว ๒.๒ ครูเปิดวีดีทัศน์ เรื่อง พระมหากษัตริย์ ยอดกตัญญู (เวลา ๑๒ นาที ) https://www.youtube.com/ watch?v=mhbyJt4ZuL0 - เมื่อชมวีดีทัศน์เสร็จให้นักเรียนอภิปรายสิ่งที่ได้รับชมจากวีดีทัศน์ เรื่อง พระมหากษัตริย์ ยอดกตัญญู - ครูเปิดวีดีทัศน์ เรื่อง “ลูกชายคนกวาดขยะ Garbage Man” https://www.youtube.com/watch?v=n1JDMIQY8I4 - ครูเปิดวีดีทัศน์ เรื่องTHAI BIKER NEWS การให้ที่ยิ่งใหญ่ ความกตัญญูรู้จักตอบแทนบุญคุณ https://www. youtube.com/watch?v=JUZHcEWDJ7w ๒.๓ แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มตามความเหมาะสม ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายแสดงความคิดเห็นหลังจากชมวีดีทัศน์ ทั้งสองเรื่องว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร และนักเรียนมีความรู้สึกอย่างไร ๒.๔ ตัวแทนแต่ละกลุ่มน�ำเสนอผลงานหน้าชั้น ๒.๕ มอบหมายให้นักเรียนไปค้นคว้าสื่อตัวอย่างเกี่ยวกับความกตัญญูกตเวที มีมารยาทไทย มีน�้ำใจ ยิ้มแย้มแจ่มใส ไหว้งดงาม และน�ำมาส่งในคาบเรียนต่อไป ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด ๓.๑ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ (ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน) ๑ มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒ มีคุณธรรม ๓ มีความพอประมาณ ๔ มีเหตุผล ๕ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๒ ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน กับกิจกรรม (ความกตัญญู กตเวที มีมารยาทไทย มีน�้ำใจ ยิ้มแย้มแจ่มใส ไหว้งดงาม) หลังจากด�ำเนินการตามข้อ ๓.๑ 166
บทที่ ๘ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ความเป็ น ไทย
ใบงานกิจกรรม
การเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอนจากกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๕ ค� ำ ๕ ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
คุณธรรม
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม
สมดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น พร้ อ มรั บ การเปลี่ ย นแปลง
มิติด้านวัฒนธรรม ขั้ น ที่ ๔ สรุ ป ประเมิ น ผล ๔.๑ สังเกตพฤติกรรมในการท�ำงานการแสดงความคิดเห็นช่วงการอภิปราย ๔.๒ ประเมินใบงานการวเคราะห์เชื่อมโยง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน ๔.๓ ประเมินผลงานที่ไปค้นคว้ามา
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
167
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of the Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้อง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนัก ธุรกิจในทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้าง ขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ค� ำ นิ ย าม ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการ ผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำนั้นๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดย ค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่ อ นไข • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะน�ำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�ำเนินชีวิต แนวทางในการปฏิบัติผลที่คาดว่าจะได้รับจากการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้และ เทคโนโลยี “ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น เสมื อ นรากฐานของชี วิ ต รากฐานความมั่ น คงของแผ่ น ดิ น เปรี ย บเสมื อ นเสาเข็ ม ที่ ต อกรองรั บ บ้ า นเรื อ น ตั ว อาคารไว้ นั่ น เอง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งจะมั่ น คงได้ ก็ อ ยู ่ ที่ เ สาเข็ ม แต่ ค นส่ ว นมากมองไม่ เ ห็ น เสาเข็ ม และลื ม เสาเข็ ม เสี ย ด้ ว ยซ�้ ำ ไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากวารสารชัยพัฒนา เดือนสิงหาคม ๒๕๔๒
168
บทที่ ๘ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ความเป็ น ไทย
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
169
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง รักความเป็นไทย คาบที่ ๒
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ภาษาไทยส�ำคัญ ต้องหมั่นเรียนรู้และใช้ให้ถูกต้อง ขั้ น ที่ ๑ เตรี ย มความพร้ อ ม ( ใช้ เ วลา ๑๐นาที ) ๑.๑ เปิดเพลงสรรเสริญพระบารมี (ทุกคนร่วมกันร้องและแสดงความเคารพ) (เวลา ๓ นาที) https://www.youtube. com/watch?v=JdzAVYR4lnI ๑.๒. ร้องเพลงสวัสดี พร้อมให้แสดงท่าทางประกอบเพื่อสร้างสัมพันธภาพก่อนเรียนและสรุปกิจกรรม เพลงสวัสดีว่า กิจกรรมนี้นอกจากสร้างสัมพันธภาพแล้ว ยังสอนเรื่องมารยาทไทย การไหว้ และการยิ้มแย้มแจ่มใสเมื่อแรกพบ เพลงสวั ส ดี
สวัสดี สวัสดี วันนี้เรามาพบกัน เธอกับฉันพบกัน สวัสดี
๑.๓ แจ้งวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการเรียนเรื่อง “ภาษาไทยส�ำคัญ ต้องหมั่นเรียนรู้และใช้ให้ถูกต้อง” (๑ นาที) ๑.๔ แบ่งนักเรียนออกเป็น ๓ กลุ่ม (ตามความเหมาะสมเป็น ๓ ภาค) กลุ่มภาคเหนือ ภาคอีสานและภาคใต้ เพื่อให้ นักเรียนเล่นเกมภาษา ๓ ภาค โดยครูฉายภาพนิ่งเกมภาษาถิ่นที่เป็นภาษาภาคกลาง เช่น ค�ำว่า “พูด” แล้วให้แต่ละกลุ่มพูด ภาษาถิ่นประจ�ำภาคของกลุ่มตนเอง “พูด” ภาษาไทยถิ่นใต้คือ “แหลง” ภาษาไทยถิ่นอีสานคือ “เว้า” ภาษาไทยถิ่นเหนือ คือ “อู้”กลุ่มไหนตอบถูกมากก็ได้รางวัล ( ๘ นาที) ๑.๕ เมื่อนักเรียนเล่นเกมเสร็จ ครู /นักเรียนแกนน�ำ / วิทยากรพูดโยงให้นักเรียนเห็นความส�ำคัญและความสวยงาม ของภาษาถิ่นไทย ถึงแม้จะพูดส�ำเนียงต่าง เรียกแตกต่างกันแต่ความหมายเหมือนกัน พื้นฐานก็มาจากรากฐานของภาษาไทย สมัยพ่อขุนรามค�ำแหงมหาราชทั้งสิ้น ( ๒ นาที ) ขั้ น ที่ ๒ การด� ำ เนิ น กิ จ กรรม ๒.๑ เปิดวีดีทัศน์เรื่อง อักษรไทย การใช้ภาษาไทยให้ ถูกต้อง’https://www.youtube.com/watch?v=hpGpRn83bHY ( ๗ นาที ) ๒.๒ เมื่อชมวีดีทัศน์เสร็จสุ่มนักเรียนอภิปรายแสดงความคิดเห็น ( ข้อ ๒.๑ ) หลังจากนั้นครุและนักเรียนร่วมกันสรุป กิจกรรม ๒.๓ เปิดเปิดวีดีทัศน์เรื่อง ฉ่อยภาษาวิบัติ https://www.youtube.com/watch?v=Obu_8rXJv04 ( ๗ นาที ) เมื่อชมวีดีทัศน์เสร็จสุ่มนักเรียนอภิปรายแสดงความคิดเห็น ( ข้อ ๒.๓ ) แล้วให้นักเรียนเขียนภาษาวิบัติที่พบตามสื่อ ต่าง ๆ พร้อมเขียนค�ำที่ถูกต้อง ( ๕ นาที ) ๒.๔ ตัวแทนแต่ละกลุ่มน�ำเสนอผลงานหน้าชั้น ครูตรวจสอบความถูกต้องและเฉลยให้นักเรียนทราบ ( ๘ นาที ) ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด ๓.๑ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ (ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน) ๑ มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒ มีคุณธรรม ๓ มีความพอประมาณ ๔ มีเหตุผล ๕ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๒ ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน กับกิจกรรม (การใช้ภาษา ให้ถูกต้อง) หลังจากด�ำเนินการตามข้อ ๓.๑ 170
บทที่ ๘ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ความเป็ น ไทย
ใบงานกิจกรรม
การเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอนจากกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๕ ค� ำ ๕ ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
คุณธรรม
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม
สมดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น พร้ อ มรั บ การเปลี่ ย นแปลง
มิติด้านวัฒนธรรม ขั้ น ที่ ๔ สรุ ป ประเมิ น ผล ๔.๑ สังเกตพฤติกรรมในการท�ำงานการแสดงความคิดเห็นช่วงการอภิปราย ๔.๒ ประเมินความคิดเห็นก่อนการน�ำเสนอผลงานเชื่อมโยง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
171
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of the Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้อง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนัก ธุรกิจในทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้าง ขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ค� ำ นิ ย าม ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการ ผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำนั้นๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดย ค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่ อ นไข • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะน�ำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�ำเนินชีวิต แนวทางในการปฏิบัติผลที่คาดว่าจะได้รับจากการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้และ เทคโนโลยี “ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น เสมื อ นรากฐานของชี วิ ต รากฐานความมั่ น คงแผ่ น ดิ น เปรี ย บเสมื อ นเสาเข็ ม ที่ ต อกรองรั บ บ้ า นเรื อ น ตั ว อาคารไว้ นั่ น เอง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งจะมั่ น คงได้ ก็ อ ยู ่ ที่ เ สาเข็ ม แต่ ค นส่ ว นมากมองไม่ เ ห็ น เสาเข็ ม และลื ม เสาเข็ ม เสี ย ด้ ว ยซ�้ ำ ไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากวารสารชัยพัฒนา เดือนสิงหาคม ๒๕๔๒
172
บทที่ ๘ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ความเป็ น ไทย
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
173
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง รักความเป็นไทย คาบที่ ๓
ศาสตร์ พ ระราชาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
เวลา ๕๐ นาที
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ นักเรียนเห็นคุณค่าและมีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย ขั้ น ที่ ๑ น� ำ เข้ า สู ่ บ ทเรี ย น ( ใช้ เ วลา ๖ นาที ) ๑.๑. เปิดเพลงสรรเสริญพระบารมี ( ทุกคนร่วมกันร้องและแสดงความเคารพ ) ( เวลา ๓ นาที ) https://www. youtube.com/watch?v=JdzAVYR4lnI ๑.๒. ร้องเพลงสวัสดี พร้อมให้แสดงท่าทางประกอบเพื่อสร้างสัมพันธภาพก่อนเรียนและสรุปกิจกรรม เพลงสวัสดีว่า กิจกรรมนี้นอกจากสร้างสัมพันธภาพแล้ว ยังสอนเรื่องมารยาทไทย การไหว้ และการยิ้มแย้มแจ่มใสเมื่อแรกพบ เพลงสวั ส ดี
สวัสดี สวัสดี วันนี้เรามาพบกัน เธอกับฉันพบกัน สวัสดี
JnZSE
๑.๓ แจ้งวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการเรียนเรื่อง “การอนุรักษ์ความเป็นไทย” ( ๑ นาที ) ๑.๔ ให้ชมวีดีทัศน์ เรื่อง ฝรั่งแต่งงานแบบไทย ( ๒ นาที ) https://www.youtube.com/watch?v=HSU_Js-
๑.๕ เมื่อดูวีดีทัศน์เสร็จ ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น ครูสรุปให้นักเรียนเกิดความภูมิใจวัฒนธรรมที่ดีงามของไทย แม้แต่คนต่างชาติยังเห็นความส�ำคัญ ( ๒ นาที) ขั้ น ที่ ๒ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม ๒.๑. ครูเปิดวีดีทัศน์เรื่อง พระอัจฉริยภาพด้านศิลปวัฒนธรรมของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช https://www.youtube.com/watch?v=DK1wuyF9jr0 ( ๔ นาที ) ให้นักเรียนอภิปรายแสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนซึ่ง กันและกัน ๒.๒ ครูสรุปวีดีทัศน์เรื่อง พระอัจฉริยภาพด้านศิลปวัฒนธรรมของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อีกครั้งเพื่อให้นักเรียนเกิดความซาบซึ้งถึงพระจริยวัตรอันงดงามของพระองค์ท่านและน�ำไปปรับใช้ในชีวิตประจ�ำวันของตนเอง ( ๓ นาที ) ๒.๓ ครูเปิดเพลง เอกลักษณ์ไทยhttps://www.youtube.com/watch?v=_DW4zkYfmwM( ๔ นาที ) แล้วแบ่ง กลุ่มให้นักเรียนช่วยกันค้นหาค�ำตอบจากเนื้อเพลงตามหัวข้อ ดังนี้ ๒.๓.๑ มีอะไรบ้างที่เป็นเอกลักษณ์ไทย ๒.๓.๒ นักเรียนมีความภาคภูมิใจต่อเอกลักษณ์ไทยในเรื่องนั้นอย่างไร ๒.๓.๓ ปัจจุบันความเป็นไทยที่เปลี่ยนแปลงไปมีอะไรบ้าง ๒.๔ หลังจากนั้นครูให้นักเรียนเสนอแนวทางการอนุรักษ์ความเป็นไทย
174
บทที่ ๘ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ความเป็ น ไทย
ขั้ น ที่ ๓ สะท้ อ นความคิ ด ๓.๑ ครูน�ำนักเรียนแสดงสัญลักษณ์ (ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน) ๑ มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ๒ มีคุณธรรม ๓ มีความพอประมาณ ๔ มีเหตุผล ๕ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๓.๒ ให้ นั ก เรี ย นวิ เ คราะห์ เชื่ อ มโยงหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๕ ค� ำ ๕ ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน กั บ กิ จ กรรม (การอนุรักษ์ความเป็นไทย) หลังจากด�ำเนินการตามข้อ ๓.๑
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
175
ใบงานกิจกรรม
การเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอนจากกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๕ ค� ำ ๕ ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
คุณธรรม
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม
สมดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น พร้ อ มรั บ การเปลี่ ย นแปลง
มิติด้านวัฒนธรรม ขั้ น ที่ ๔ สรุ ป ประเมิ น ผล ๔.๑ สังเกตพฤติกรรมในการท�ำงานการแสดงความคิดเห็นช่วงการอภิปราย ๔.๒ ประเมินความใบงานการวิเคราะห์เชื่อมโยง ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน
176
บทที่ ๘ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ความเป็ น ไทย
บันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๑. ผลการจัดกิจกรรม ๑.๑ จุดเด่นของกิจกรรม…………………….................................…………………………………………………………………… ……………………….............................................................…................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๑.๒ ปัญหาอุปสรรค…………………….................................………………………………………………………………………… ………………….............................................................…........................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๒. แนวทางในการแก้ไขปัญหาและพัฒนากิจกรรม…………………….................................……………………………………… …………………………………………………….............................................................…................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๓. ข้อเสนอแนะอื่นๆ…………………….................................…………………………………………………………..…………………… …………….............................................................….............................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ลงชื่อ………………...………………………………ผู้จัดกิจกรรม (……………………………………………………) วันที่……………เดือน……………….พ.ศ......................
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
177
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Philosophy of the Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้อง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนัก ธุรกิจในทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้าง ขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ค� ำ นิ ย าม ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการ ผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำนั้นๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดย ค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่ อ นไข • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะน�ำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�ำเนินชีวิต แนวทางในการปฏิบัติผลที่คาดว่าจะได้รับจากการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้และ เทคโนโลยี “ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น เสมื อ นรากฐานของชี วิ ต รากฐานความมั่ น คงของแผ่ น ดิ น เปรี ย บเสมื อ นเสาเข็ ม ที่ ต อกรองรั บ บ้ า นเรื อ น ตั ว อาคารไว้ นั่ น เอง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งจะมั่ น คงได้ ก็ อ ยู ่ ที่ เ สาเข็ ม แต่ ค นส่ ว นมากมองไม่ เ ห็ น เสาเข็ ม และลื ม เสาเข็ ม เสี ย ด้ ว ยซ�้ ำ ไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากวารสารชัยพัฒนา เดือนสิงหาคม ๒๕๔๒
178
บทที่ ๘ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ความเป็ น ไทย
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
179
ใบงานกิจกรรม เรื่อง อนุรักษ์ความเป็นไทย ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์เนื้อหาเพลงเอกลักษณ์ไทย ตามหัวข้อที่ก�ำหนด ๑.สิ่งที่เป็นเอกลักษณ์ไทย ................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................... ๒.นักเรียนประทับใจและภาคภูมิใจต่อเอกลักษณ์ไทยอย่างไร ................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ..........................................................................................................................................................................................
180
บทที่ ๘ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ความเป็ น ไทย
ใบงานกิจกรรม เรื่อง ความเป็นไทย ๑.ให้นักเรียนร่วมกันค้นหาแนวทางในการอนุรักษ์ความเป็นไทยมาอย่างน้อย ๑๐ ข้อ ................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๒. ความเป็นไทยมีความส�ำคัญอย่างไร จงอธิบาย ................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ..........................................................................................................................................................................................
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
181
ใบงานกิจกรรม เรื่อง ความเป็นไทย ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนช่วยกันเขียนสรุปว่าความเป็นไทยอะไรบ้างที่เปลี่ยนไป และคิดวิธีการรักษาความเป็นไทย อย่างไรบ้างที่ มิให้วัฒนธรรมชาติอื่นมาครอบง�ำ โดยน�ำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการแก้ ปัญหาได้อย่าไร ................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ 182
บทที่ ๘ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ความเป็ น ไทย
ใบความรู้ เกมภาษาถิ่น
“พูด”
ภาษาไทยถิ่นใต้
“แหลง”
ภาษาไทยถิ่นอีสาน
“เว้า”
ภาษาไทยถิ่นเหนือ
“อู้”
“ทัพพี”
ภาษาไทยถิ่นใต้
“หวัก”
ภาษาไทยถิ่นอีสาน
“กะจอง”
ภาษาไทยถิ่นเหนือ
“ปาก”
“ฝรั่ง”
ภาษาไทยถิ่นใต้
“ชมพู่”
ภาษาไทยถิ่นอีสาน
“บักสีดา”
ภาษาไทยถิ่นเหนือ
“มะแก้ว” ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
183
ใบความรู้
184
บทที่ ๘ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ความเป็ น ไทย
ที่ พิเศษ / ๒๕๖๐ เรื่อง รายนามคณะกรรมการด�ำเนินงานจัดท�ำแนวทางการจัดกิจกรรม “ปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้วยศาสตร์พระราชา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เดินตามรอยเท้าพ่อ สานต่อที่พ่อท�ำ ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน” เพื่อให้การด�ำเนินงานจัดท�ำแนวทางการจัดกิจกรรม “ปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้วยศาสตร์พระราชา ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เดินตามรอยเท้าพ่อ สานต่อที่พ่อท�ำ ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน” ด�ำเนินงานด้วยความ เรียบร้อยบรรลุวัตถุประสงค์ทุกประการ จึงให้แต่งตั้งผู้มีรายนามต่อไปนี้ เป็นคณะกรรมการด�ำเนินงาน คือ คณะกรรมการที่ปรึกษา ๑. ดร.สุเมธ ๒. หม่อมหลวงปนัดดา ๓. คุณหญิงพวงรัตน ๔. นายสมพร ๕. ดร.เสาวนีย์ ๖. พระบวรรังสี (ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดระฆัง) ๗. ดร.สมชัย ๘. นายชาญชัย
พุทธา ช่วยโพธิ์กลาง
ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา
คณะกรรมการด�ำเนินงาน ๑. ดร.ไพวัลย์ ๒. นางอริยสิริ ๓. นายณัฐเสกข์ ๔. นางวาสนา ๕. นางรจนา ๖. นายยงยุทธ ๗. นางเบญจพร ๘. นางกันตาภา ๙. นางอมรรัตน์ ๑๐. นางสาวปัทมา ๑๑. นางสุขจิตต์ ๑๒. นางสาวนภาวรรณ ๑๓. นางสาวอัมรินทร์ ๑๔. นายเลิศศักดิ์
เหล็งสุดใจ พิพัฒน์นรา น้อยสมบูรณ์ สุทธิเดชานัย สินที ศรัทธาธรรมกุล จั่นเจริญ สุทธิอาจ ศิริมิตรตระกูล ภูมิน�้ำเงิน สินสมบูรณ์ จินตชิน ฟุ้งเฟื่อง แจ่มคล้าย
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
ตันติเวชกุล ดิศกุล วิเวกานนท์ เทพสิทธา เลวัลย์
๑๕. นางชลลดา ๑๖ นางรุวจี ๑๗. นางสาวพจนีย์ ๑๘. นางสาวทิพวรรณ ๑๙. นางสาวอุทุมพร ๒๐. นายชัยวุฒิ ๒๑. นางอรปภา ๒๒. นางสาวเอื้อมพร ๒๓. นายอภีม ๒๔. นายชวลิต ๒๕.นางสาวหนึ่งฤทัย
ซัววงษ์ บุญมาศ ทองบุญ ใจเย็น พจนวิชัย ซัววงษ์ ชาติน�้ำเพ็ชร นาวี คู่พิทักษ์ ใจภักดี คมข�ำ
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๖ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ (ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล) ประธานโครงการมูลนิธิครอบครัวพอเพียง
ที่ พิเศษ / ๒๕๖๐ เรื่อง รายนามคณะกรรมการด�ำเนินงานตรวจร่าง แนวทางการจัดกิจกรรม “ปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้วยศาสตร์พระราชา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เดินตามรอยเท้าพ่อ สานต่อที่พ่อท�ำ ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน” เพื่อให้การด�ำเนินงานตรวจร่าง แนวทางการจัดกิจกรรม “ปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้วยศาสตร์พระ ราชา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เดินตามรอยเท้าพ่อ สานต่อที่พ่อท�ำ ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน” ด�ำเนินไป ด้วยความเรียบร้อยบรรลุวัตถุประสงค์ทุกประการ จึงให้แต่งตั้งผู้มีรายนามต่อไปนี้ เป็นคณะกรรมการด�ำเนินงานตรวจร่าง ต้นฉบับฯ วันที่ ๕ เมษายน ๒๕๖๐ ณ โรงเรียนสตรีวิทยา คือ เรื่องที่ ๑ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสตร์ กษัตริย์ ๑. นางสุขจิตต์ สินสมบูรณ์ กรรมการ ๒. นางศศิธร ระดม กรรมการ ๓. นายสิทธิพร ประทีปแก้ว กรรมการ ๔. นางศรีสุข บุตรรัตนะ กรรมการ ๕. นางนิภาภรณ์ อินทสิทธิ์ กรรมการ ๖. นางปิยวรรณ ศรีจันทรวงษ์ กรรมการ ๗. นางประหยัด ทองภูธรณ์ กรรมการ ๘. นายวิทศรุต ค�ำพันธ์ กรรมการ ๙. นางอุบล อังคะรุด กรรมการ ๑๐. นางสาวจีรภัสร์ บัวสุวรรณ กรรมการ ๑๑. นางสาวสุภาวดี บัวสุวรรณ กรรมการ ๑๒. นางสาวสิริลักษณ์ สนธิ กรรมการ ๑๓. นางปุณณฎา พันธสี กรรมการ เรื่องที่ ๒ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซื่อสัตย์ สุจริต ๑๔. นางสาวประภาพร ประสมศิลป์ กรรมการ ๑๕. นางสาวจุไรรัตน์ อรุณสวัสดิ์ กรรมการ ๑๖. นางยุพิน แก้วเลื่อนมา กรรมการ ๑๗. นางรพีพร พรหมศร กรรมการ ๑๘. นางสาวสุภาวดี ทองสุข กรรมการ ๑๙. นางณัฐชา ค�ำภู กรรมการ ๒๐. นางสาวจริยา สวัสดิ์พร้อม กรรมการ ๒๑. นางอัจฉรา เดชศรี กรรมการ ๒๒. นางสาววิภาวดี เทพบุปผา กรรมการ 188
บทที่ ๘ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ความเป็ น ไทย
เรื่องที่ ๓ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีวินัย ๒๓. นางสาวปัทมา ภูมิน�้ำเงิน ๒๔. นายวุฒินันท์ โคตรทิพย์ ๒๕. นางปิยนันท์ รินทา ๒๖. นางสาวสุกัญญา นิ่มมโน ๒๗. นางสาววิภาวรรณ มิลกรรณ์ ๒๘. นางสาวมารีเยาะ แซมะแซ ๒๙. นางสาวนุสรา มาน๊ะ ๓๐. นายคิทชา สังข์แท้ ๓๑. นางอลิดา ชาวนา ๓๒. นางสุพช ตอพล ๓๓. นางสุภาวดี สุภศักดิพัฒน์ ๓๔. นางนิภาจิตร บัวรอด ๓๕. นางสาวจรรยพร บัวรอด ๓๖. นายสมชาย เจริญฤทธิ์ ๓๗. นายเจนวิทย์ อ�ำมาตย์มณี ๓๘. นางจันทิมา สุขพัฒน์ เรื่องที่ ๔ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ ๓๙. นายวารินทร์ ชุยอุ้ย ๔๐. นางมาริสา อินลี ๔๑. นางจุรีรัตน์ แก้วหล้า ๔๒. นางแสงดาว เพ็ชร์พราว ๔๓. นายเลิศศักดิ์ แจ่มคล้าย ๔๔. นายปวิณ เกษวงศ์รอต ๔๕. นายทัศนัย อยู่ไทย ๔๖. นางยุพิน ศรีมันตะ เรื่องที่ ๕ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ อยู่อย่างพอเพียง ๔๗. นางกันตาภา สุทธิอาจ ๔๘. นางสาวพจนีย์ ทองบุญ ๔๙. นางอมรรัตน์ ศิริมิตรตระกูล ๕๐. นางสุทธีรา นัยติ๊บ ๕๑. นางสาวขวัญศิริ ไทยเก่ง ๕๒. นางสาวภัทราภรณ์ รัตนวงศา ๕๓. นางอินทิรา เกตุอินทร์ ๕๔. นายฐิติพงศ์ สงเคราะห์ธรรม ๕๕. นางสาวจุฑาภรณ์ กวีพุฒพงศ์
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
189
๕๖. นางสาวแสงจันทร์ ยืนยาว ๕๗. นางสาวนิรมล ตู้จินดา ๕๘. นางสาวจงจิต รื่นภาคทรัพย์ ๕๙. นางสาววรรณธิดา เพชรทะวงศ์ ๖๐. นางสาวจุลรักษ์ จุลกะ ๖๑. นางสาวพิชญาภัค แสงแก้ว ๖๒. นางสาวสุกัญญา ตันโสภณ ๖๓. นางสาวลาวัลย์ น้อยอยู่ เรื่องที่ ๖ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มุ่งมั่นในการท�ำงาน ๖๔. นางสาวปัทมา ภูมิน�้ำเงิน ๖๕ นางสุวรรณา ธานี ๖๖ นายสุรชัย ตั้งศิริ ๖๗. นางจารุภัทร วงศ์จักร ๖๘. นางสาวสุนิสา ตายะ ๖๙. นางพานทอง ไกรทอง ๗๐. นายวันเฉลิม อุดมทวี ๗๑. นายรุจิวรรณ โต๊ะหนู ๗๒. นางสาวมาเรียม โต๊ะประดู่ ๗๓. นางสาวนิตยา ช�ำนาญคราด ๗๔. นางอทิยาภรณ์ เพชรสลับแก้ว ๗๕. นายญาณกวี แก้ววงศ์ ๗๖. นางสาวธัญญาทิพย์ แก้วสุพรรณ ๗๗. นางวริศรา ขันติประกอบ ๗๘. ว่าที่ ร.ต.ญ.สุดาทิพย์ สุระมรรคา ๗๙. นางชวนพิศ นันตาดี เรื่องที่ ๗ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักความเป็นไทย ๘๐. นางรุวจี ญมาศ ๘๑. นางสาวศิริวรรณ อาจโต ๘๒. นางสาวมณี ศรีเกษม ๘๓. นางสาวเพลินจิตร โพธิ์กระจ่าง ๘๔. นางโสภิณ ศิริค�ำน้อย ๘๕. นางพิกุล บ�ำเรอจิตต์ ๘๖. นายเพิก พงษ์ไทย ๘๗. นางนฤมล ตรัสวิมาน ๘๘. นางรุ่งนภา ขอฟุ้งกลาง ๘๙. นายสนชัย ช่างทองกรรมการ ๙๐. นายอาทิตย์ ตั้นมาเชื้อ 190
บทที่ ๘ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ เรื่ อ ง รั ก ความเป็ น ไทย
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
เรื่องที่ ๘ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ จิตสาธารณะ ๙๑. นางสาวนิพา ตรีเสถียรไพศาล ๙๒. นายชลันธร ปานอ�่ำ ๙๓. นางแฉล้ม ธรรมโกศล ๙๔. นางสาวภัทรภร ว่องไว ๙๕. นางแววดาว เลิกนุช ๙๖. นางสาวเพ็ญนภา เมฆาวรรณ์ ๙๗. นางสาวรุ่งทิพ จันทร์มุณี ๙๘. นางสาวสุชาบดี ก�ำภูพงษ์ ๙๙. นางอรชร ครุธผาสุข ๑๐๐. นางอรพิน หนูแก้ว ๑๐๑. นางสาวทิพย์รัตน์ จุลวัจนะ
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๕ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐ (ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล) ประธานโครงการมูลนิธิครอบครัวพอเพียง
ครอบครั ว พอเพี ย งคื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น
191
บันทึก
............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................
วิสัยทัศน์ “ปลุกจิตส�ำนึกความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ มีจิตอาสา”
พันธกิจ ไม่มีส่วนไหน ส�ำคัญเท่าส่วนรวม เมื่อส่วนรวมพ้นทุกข์ เราจะสุขร่วมกัน
เจ้าของลิขสิทธิ์ : มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
๖๖๓ พหลโยธิน ๓๕ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท์ ๐๒ ๙๓๙ ๕๙๙๕ โทรสาร ๐๒ ๙๓๙ ๕๙๙๖ Facebook/ครอบครัวพอเพียง www.fosef.org email : fosefpr2014@gmail.com