รายงานผลดำเนินงานโครงการ Do for D ผู้นำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด

Page 1

รายงานผลการด�ำเนินงาน โครงการ ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด


โครงการ ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด”


ค�ำน�ำ โครงการ Do for D. เป็นโครงการขยายผลจากการด�ำเนินโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและ ชุมชน ที่ได้ ด�ำเนินการมาแล้วกว่า ๑๐ ปี และได้สร้างเครือข่ายการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับ โรงเรียนในระดับมัธยม ปลาย ทั้ง ๗๖ จังหวัด จังหวัด ละ ๒ โรงเรียน เป็นโรงเรียนประจ�ำจังหวัด และ โรงเรียนในเขต กรุงเทพฯ จ�ำนวน ๙๔ แห่ง ซึ่ง เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ และขนาดใหญ่พิเศษ ทั้งที่สังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและสังกัดคณะกรรมการการศึกษา เอกชน จนเกิดผลสัมฤทธิ์เป็นรูปธรรม คือ ทุกโรงเรียนได้จัดตั้งศูนย์ครอบครัวพอเพียงเป็นปีที่ ๕ โดยมีผู้อ�ำนวยการโรงเรียน เป็นผู้อ�ำนวยการศูนย์ฯ และครูทุกคนในโรงเรียนเป็นกรรมการศูนย์ฯ ผู้ปกครองเป็นประธานที่ปรึกษา และ ที่ปรึกษานักเรียน เป็นอนุกรรมการการขับเคลื่อนผ่านต�ำแหน่ง ประธานรุ่น ๑ คน ประธานกลุ่ม ๕ ด้าน ๕ คน รองประธานกลุ่ม ๕ ด้านและ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ กลุ่ม ๕ ด้าน ตามจ�ำนวนห้องเรียน ที่มีอยู่ในระดับชั้นมัธยม ๔ ความยั่งยืนของโครงการก่อให้เกิดสถิติ และ ดัชนีชี้วัดที่ส�ำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านสุขภาวะอนามัยของเด็กและ เยาวชนกับยาเสพติด บุหรี่ และ เครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์ ซึ่งในปัจจุบันมีความหลากหลายและมีการเผยแพร่ผ่านระบบ อินเทอร์เน็ตอย่างแพร่หลาย ความจ�ำเป็นเร่งด่วนในการจัดการฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด พิษภัยและบทลงโทษใน ระดับต่าง ๆ หรือการที่จะได้รับการเยียวยาในฐานะผู้เสพ ด้วยความร่วมมือจากเครือข่ายผู้ปกครอง เครือข่ายชุมชนจิตอาสา และเครือข่ายเฝ้าระวังภัยยาเสพติดและ คณะกรรมการมูลนิธิครอบครัวพอเพียงมีความเห็นพ้องในความร่วมมือกันเพื่อสร้าง เครือข่ายเยาวชน “จิตอาสา ครอบครัวพอเพียง” ดั่งพระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ที่ ว่า “...ใช้น�้ำดี ไล่น�้ำเสีย เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน..” วัตถุประสงค์หลักจากมติที่ประชุมมีใจความตรงกันว่า เพื่อการปลุกจิตส�ำนึกดีของเด็กและเยาวชนลงสู่การปฏิบัติ คือ มุ่งท�ำความดี มีความคิดบวก รู้เท่าทันยาเสพติด รักอนาคตและปรารถนาที่จะช่วยเหลือสังคมและสิ่งแวดล้อม ความเข้มแข็ง ของเครือข่ายจักน�ำพาเด็กและเยาวชนให้มีพลังจิตใจที่เข้มแข็ง และ เครือข่ายที่เข้มแข็งจะเป็นเครือข่ายที่ช่วยให้เด็กและ เยาวชนพ้นจากปัญหายาเสพติด กิจกรรมค่ายเพื่อฝึกการเป็นผู้น�ำ สร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ได้อย่างแท้จริง จากการ ด�ำเนินโครงการที่ผ่านมา จากรุ่นสู่รุ่น ผลสัมฤทธิ์เชิงประจักษ์ที่จับต้องได้ผ่านแบบสอบถามของผู้บริหารสถานศึกษาและคุณครู ที่ปรึกษาโครงการ รวมถึงต้นแบบของนิสิตที่จบการศึกษาไปแล้วกว่า ๙๙ % ที่ยืนยันในการด�ำเนินโครงการอย่างเป็นระบบ มี ความเข้มแข็งและยั่งยืนจะช่วยเหลือเด็กและเยาวชนให้พ้นภัยยาเสพติดได้อย่างแท้จริง การปฏิรูปประเทศให้มีการพัฒนาไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่งอย่างยั่งยืนต้องเริ่มต้นปฏิรูปจากจิตส�ำนึกของ พลเมืองเป็น ส�ำคัญ และสังคมจะดีได้นั้นต้องเริ่มต้นที่ ครอบครัว


สารจากประธานมูลนิธิ ที่ผ่านมาประเทศไทยมีการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ อย่างรวดเร็ว จนได้รับการขนานนามว่าเป็นเสือตัวที่ห้าของ เอเชีย แต่การพัฒนานี้ก็ไม่ต่างจากการสร้างตึกสูงโดยไม่ได้ ตอกเสาเข็ม ความเจริญในชั่วพริบตาต้องแลกมาด้วยความ เหลื่อมล�้ำในสังคมที่เพิ่มมากขึ้น วิกฤตทางเศรษฐกิจและอีก มากมาย ซึ่ ง ทั้ ง หมดนี้ล้ว นเกิด จากความไม่รู้จัก พอ ความ ฟุ้งเฟ้อ คนที่มีมากแล้วก็อยากมีอีก และบางครั้งในความ อยากนี้ได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศในวง กว้าง การจะแก้ไขปัญหาแต่ละเรื่องได้อย่างยั่งยืนต้องเริ่มจาก ฐานราก นั่นคือการปรับ ๔ พฤติกรรมการใช้ชีวิตของแต่ละ คนก่อน โดยเริ่มต้นจากเด็ก/เยาวชน ซึ่งการจะปรับเปลี่ยน พฤติกรรมได้นั้นก็ต้องเริ่มจากการปลูกฝังจิตส�ำนึก ให้คนมี หลักคิดที่ถูกต้องเป็นอันดับแรก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียง จึงถือเป็น ปรัชญาที่ตอบโจทย์ในเรื่องการพัฒนาคน ให้มีพื้นฐานหลักคิดที่แข็งแรง เปรียบเทียบได้กับสัมมาทิฐิ ท�ำให้สามารถตัดสินใจเรื่องต่าง ๆ ได้บนพื้นฐานของความรู้คู่ คุณธรรม โดยยึดหลักความพอประมาณ ความมีเหตุผล และ มีภูมิคุ้มกัน น�ำไปสู่การแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างครอบคลุม ทุกเรื่องและมีความยั่งยืน ไม่แค่เพียงในมิติ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงมิติวัฒนธรรม ที่ค�ำนึง ถึงเรื่องการปรับใช้ทฤษฎีหรือภูมิ ปัญญาให้เหมาะสมกับบริบท ของแต่ละท้องถิ่นอีกด้วย ทว่า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นั้นก็เหมือนกับปรัชญาอื่น ๆ นั่นคือ เป็นสิ่งนามธรรม ซึ่งสิ่ง นามธรรมนี้จะถูกแสดงออกมาให้เห็นเป็นรูปธรรมได้จากการ

ปฏิบัติจริง ซึ่งหากเราลองพิจารณาอย่างลึกซึ้งแล้วจะเห็น ได้ว่าสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการทรงงานของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ไม่ว่าจะ เป็นหลักการทรงงาน ๒๓ ข้อ หลักการเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา หรือโครงการในพระราชด�ำริกว่า ๔,๐๐๐ โครงการ ล้วน มาจากแก่นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทั้งสิ้น และ หากมองไปถึงปัญหาใหญ่ในปัจจุบัน เช่น ปัญหายาเสพติดที่ ก�ำลังแพร่หลาย มากขึ้น และผู้ที่ได้รับผลกระทบมีอายุที่น้อย ลงและขยายวงกว้าง เกิดจากปัญหาครอบครัวที่ขาดการศึกษา ขาดความรู้ ใช้แรงงานในการหารายได้ จนขาดการดูแลเอาใจ ใส่บุตรหลาน หรือแม้แต่ผู้ที่มีความรู้ มีฐานะที่ดี ครอบครัวดี การเลี้ยงดูบุตรหลานก็จะเลี้ยงดูด้วยเงินทอง ทรัพย์บริวาร และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก จนไม่มีช่วงเวลาเพื่อการอบรม สั่งสอนที่ดี โอกาสของเด็กและเยาวชนของทั้งสองครอบครัว ที่ ต ่ า งกั น แต่ จ ะประสบปั ญ หาเหมื อ นกั น คื อ ลู ก หลาน ติดยาเสพติด เพราะขาดการชี้น�ำที่ดี ขาดการดูแลเอาใจใส่ที่ดี ความเร่งด่วนของการแก้ไขปัญหายาเสพติดในปัจจุบันถือเป็น ความส�ำคัญอย่างยิ่งและจักต้องได้รับการ ส่งเสริม สร้างสรรค์ ต้นแบบที่ดีผ่านกระบวนการ “จิตอาสา” มาเป็นเครื่องมือใน การพัฒนา ผลลัพธ์ที่ได้คือ สังคม ได้พลเมืองรุ่นใหม่ที่รู้คุณค่า ในตนเองและมีจิตอาสาปรารถนาที่จะท�ำประโยชน์ต่อผู้อื่น เพราะความสุขที่ได้รับจากการให้แบบซ�้ำแล้วซ�้ำอีกจนเป็น ความเคยชิน และไม่อายที่จะท�ำดีเพื่อผู้อื่นอีกต่อไป

คุณหญิง

( พวงรัตน วิเวกานนท์ ) ประธานคณะกรรมการ



วั ต ถุ ป ระสงค์

๑. เพื่อมุ่งเน้นปลูกจิตส�ำนึกให้เด็ก เยาวชนและประชาชนในชุมชนเห็นคุณค่าอย่างยิ่งในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมุ่งประสงค์ในการต่อยอดทางความคิด เพื่อให้เกิดการขยายผลและน�ำไปสู่การปฏิบัติและพัฒนาอย่างยั่งยืนจากรุ่น สู่รุ่น และสืบสานศาสตร์ของพระราชาอย่างยั่งยืน ตลอดจนส่งเสริมด้านคุณธรรมจริยธรรม มองประโยชน์ส่วนตนให้น้อยลงและ ถือประโยชน์ของส่วนรวมเป็นส�ำคัญ ๒. เพื่อมุ่งเน้นด�ำเนินการรณรงค์ปลุกกระแสให้เยาวชนและประชาชนในชุมชนรู้รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และการ ตอบแทนบุญคุณของแผ่นดิน รู้รักสามัคคี รู้สิทธิและหน้าที่พลเมืองดี ร่วมปกป้องผลประโยชน์ของบ้านเมืองและตื่นตัวที่จะ คิดดีท�ำดีร่วมมือร่วมใจกัน รวมพลัง ‘จิตอาสาครอบครัวพอเพียง’ เพื่อเป็นการขยายแนวร่วมในการส่งเสริมการปลุกจิตส�ำนึก การเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและให้เกิดทัศนคติที่ดี ๓. เพื่อมุ่งเน้นสร้างความสมดุล อย่างยั่งยืนและเกิดการสร้างผู้น�ำเป็นต้นแบบจากรุ่นสู่รุ่น จากพี่ สู่ น้อง จากโรงเรียน สู่ ประชาชนในชุมชน โดยเน้นในสถานศึกษาเดิมจนเกิดความเข้มแข็ง เช่น เริ่มต้นการสร้าง ๕ ต้นแบบในระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๔ เมื่อเวลาผ่านไป ๓ ปี สถานศึกษาแห่งนี้จะมีผู้น�ำครบทุกระดับ และผลสัมฤทธิ์จากการด�ำเนินพันธกิจสร้างขบวนการ การเรียนรู้ส่งต่อผู้เรียนระดับมัธยมต้น ทั้ง ๓ ระดับได้อย่างเป็นรูปธรรม ๔. เพื่อการสร้างเครือข่ายที่เข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจให้ห่างไกลยาเสพติด ขยายโครงการจากบนลงล่าง คือ จาก ระดับมัธยมศึกษาสู่ประถมศึกษา และจากล่างขึ้นบน คือ จากระดับมัธยมศึกษาสู่ระดับอุดมศึกษา ตลอดจนจากเพื่อนสู่เพื่อน คือการขยายเครือข่ายในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาภายในจังหวัด จะน�ำมาซึ่งมิตรภาพ ความร่วมมือกันดูแลและพัฒนาสังคม ตลอดจนสิ่งแวดล้อมในชุมชนโดยรวมอย่างเป็นขบวนทัศน์และมีเป้าหมายของความส�ำเร็จ ผลผลิตที่น�ำมาเป็นตัวชี้วัดตาม เกณฑ์ ก่อให้เกิดความสามัคคีของประชาชนในจังหวัด ๕. เพื่อส่งเสริมความรู้ในมิติเศรษฐกิจและสังคม เพื่อการเลือกเรียนที่ตรงกับสภาพและบริบทที่แท้จริงของครอบครัว และความต้องการบุคคลากร/แรงงาน ส่งผลให้นักเรียนที่ก�ำลังเรียนในชั้นมัธยมต้นได้รับประโยชน์ ๑๐๐ % และสามารถ พึ่งพาตนเองได้ ๖. เพื่อการประชาสัมพันธ์เครือข่ายครอบครัวพอเพียง “Do for D.” เครือข่ายที่น้อมน�ำหลักคิดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในมิติต่าง ๆ ให้เข้าถึงประชาชนทุกเพศ ทุกวัย ด้วยความสดใหม่ ทันสมัย ย�้ำอยู่เสมอและทันต่อเหตุการณ์ เพื่อการจดจ�ำ เช่น ผ่านสื่อรายการทีวี , ออนไลน์, เคเบิ้ลทีวี , ยูทูป , เฟสบุ๊คและสื่อทีวีสาธารณะ

เป้ า หมาย

๑. เชิงปริมาณ : เด็กและเยาวชน จากทุกภาคและกรุงเทพมหานครในค่ายส่งเสริมศักยภาพความเป็นผู้น�ำ Leader Camp 2018 จ�ำนวน ๖ ครั้ง ๆ ละ ๓๐๐ คน ๒. เชิงคุณภาพ : การสร้างภาวะผู้น�ำเรียนรู้ พิษภัยยาเสพติด ชนิดและประเภทของยาเสพติด เรียนรู้ และรู้เท่าทัน กฎหมายและการระวางโทษหรือการยกเว้นโทษผู้เสพ ผ่านหลักสูตรการเรียนรู้เฉพาะด้านโดยวิทยากรช�ำนาญการ

ระยะเวลาการอบรม

๑. ด�ำเนินการกิจกรรมค่าย Do for D. “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” วันเริ่มต้น เดือนกันยายน–พฤศจิกายน ๒๕๖๑ (โครงการต่อเนื่อง) ๒. ติดตามประเมินผล การขยายผลสู่โรงเรียนและชุมชนผ่านแฟนเพจ Face book ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียน

6 โครงการ


ตารางการด� ำ เนิ น การ

๑. ครั้งที่ ๑ วันที่ ๓๐ กันยายน – ๒ ตุลาคม ๒๕๖๑ โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี และ ศูนย์ศึกษาการพัฒนา ห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดเพชรบุรี ๒. ครั้งที่ ๒ วันที่ ๕ - ๗ ตุลาคม ๒๕๖๑ โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา และ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดนราธิวาส ๓. ครั้งที่ ๓ วันที่ ๑๐ - ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๑ โรงเรียนดัดดรุณี และ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน อันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ จังหวัดฉะเชิงเทรา ๔. ครั้ ง ที่ ๔ วั น ที่ ๑๓ - ๑๕ ตุ ล าคม ๒๕๖๑ โรงเรี ย นสกลราชวิ ท ยานุ กู ล และ ศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นาภู พ าน อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดสกลนคร ๕. ครั้งที่ ๕ วันที่ ๑๗ - ๑๙ ตุลาคม ๒๕๖๑ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย และ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดเชียงใหม่ ๖. ครั้งที่ ๖ วันที่ ๒๕ - ๒๗ ตุลาคม ๒๕๖๑ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี และ ศูนย์ศึกษาการพัฒนา อ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดจันทบุรี

แนวทางการบ่ ม เพาะ

๑. ส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องชาติ ศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริย์ ๒. ส่งเสริมการบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการเรียนและการท�ำกิจกรรม ๓. ส่งเสริมฝึกอบรมทักษะการเป็นวิทยากรและเทคนิคการน�ำเสนอ ๔. ส่งเสริมฝึกอบรมทักษะชีวิตพิชิตยาเสพติด ๕. ส่งเสริมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ทักษะชีวิต เกมพิชิตยาเสพติด ๖. ส่งเสริมอบรมแนวทางการจัดกิจกรรมละคร ๓ ฉาก (Begin – Middle - Last) ๗. ศึกษาดูงาน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ๘. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้น�ำและการสอบสอน เพื่อการพัฒนาติดตามประเมินผล ๙. พิธีมอบเกียรติบัตร

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 7


คู ่ มื อ ที่ ใ ช้ เ ป็ น ดั ช นี ชี้ วั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ก ารขยายผล

8 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 9


10 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 11


12 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 13


14 โครงการ


ผลการด� ำ เนิ น งาน

ด�ำเนินการจัดกิจกรรมค่าย Do for D. “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” จ�ำนวน ๖ ค่าย ครบถ้วนตามเป้าหมายที่ ก�ำหนดมีผู้เข้ารับการอบรม จ�ำนวนนักเรียนเข้ารับการอบรม ๑,๘๐๐ คน ครู ๒๐๕ คน พี่เลี้ยงค่าย ๘๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ของเป้าหมาย

รายนามวิ ท ยากร

มู ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพี ย ง • นาง อริยสิริ พิพัฒน์นรา กรรมการและเลขาธิการมูลนิธิ • นาย ณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ รองประธานกรรมการมูลนิธิ • นางสาว เอื้อมพร นาวี กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการมูลนิธิ • นาย อภีม คู่พิทักษ์ กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิกมูลนิธิ • นาย ชวลิต ใจภักดี เจ้าหน้าที่มูลนิธิ • นาย นพคุณ แสวงกิจ เจ้าหน้าที่มูลนิธิ • นาย นนทนันท์ แก้วทองค�ำ เจ้าหน้าที่มูลนิธิ ส� ำ นั ก งานป้ อ งกั น และปราบปรามยาเสพติ ด • นางสาว เกศสุดา หอมสุวรรณ นักสืบสวนสอบสวนชํานาญการ • นาย วีรพัชร พุดทอง นักสืบสวนสอบสวนชํานาญการ • นายดวงจันทร์ สืบเชื้อ นักสืบสวนสอบสวนชํานาญการ • นาย ธนาพล ทวีโชคบินมา นักสืบสวนสอบสวนปฏิบัติการ • นาย อรรคพล สารพล นักสืบสวนสอบสวนชํานาญการ • นางสาว สุกันยา ใหญ่วงศ์ ผู้อํานวยการส่วนประสานพื้นที่ สมาพั น ธ์ เ ครื อ ข่ า ยแห่ ง ชาติ เ พื่ อ สั ง คมไทยปลอดบุ ห รี่ • นายแพทย์ วันชาติ ศุภจัตุรัส กรรมการสมาพันธ์เครือข่ายแห่งชาติเพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่ • นาย สมชาย โต๊ะอีสอ ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาคุณภาพ เครือข่ายวิชาชีพสุขภาพเพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่ • ว่าที่ร้อยตรี ทวีศักดิ์ จินต์จิระนันท์ นักวิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการ ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ • นาง นิภา ทองประทีป นักวิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานสุขศึกษา และทีมกลุ่มงานสุขศึกษา ที่รับผิดชอบ คลินิกเลิกบุหรี่ โรงพยาบาลพระปกเกล้า จ.จันทบุรี • นาง สุ ภ าพร พกแดง หั ว หน้ า กลุ ่ ม งานสุ ข ศึ ก ษา และที ม กลุ ่ ม งานสุ ข ศึ ก ษา ที่ รั บ ผิ ด ชอบ คลิ นิ ก เลิ ก บุ ห รี่ โรงพยาบาลสงขลา

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 15


ผลที่ ไ ด้ รั บ

๑. เด็ก และเยาวชนผู้เข้าอบรมกิจกรรม มีภาวะผู้น�ำและสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตผ่านหลักสูตรการเรียนรู้พิษภัย ยาเสพติด ของชนิดและประเภทของยาเสพติด เรียนรู้เท่าทันกฎหมายและการระวางโทษหรือการยกเว้นโทษผู้เสพ ๒. การประเมินแบบทดสอบ ก่อนและหลัง (pretest- posttest) ได้เข้าอบรมกิจกรรม ๓. การติดตามผลงานจาก Fan page ศูนย์ครอบครัวพอเพียงแต่ละโรงเรียน ๔. เด็ก เยาวชน ผู้เข้าร่วมอบรมกิจกรรม ขยายผลสู่ชุมชนและสังคม เพื่อการพึ่งพาตนเองและร่วมดูแลสังคมด้วยการ แบ่งปันอย่างเป็นระบบ ๕. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ส�ำนักคณะกรรมการและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) ให้เป็นที่รู้จักในกลุ่มเด็ก เยาวชน และเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยพัฒนา สร้างความเข้มแข็ง ๖. ได้น้อมน�ำหลักค�ำสอนของพระราชา และเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลและแก้ปัญหายาเสพ ติดในสถานศึกษาและชุมชน

สรุ ป ภาพรวม

จากผลการประเมินความพึงพอใจ ผู้เข้ารับการอบรมกิจกรรมค่าย Do for D. “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” ปรากฏว่าในการจัดอบรม ๖ ครั้ง มีผู้เข้าอบรม จ�ำนวน ๒,๐๙๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ของเป้าหมายส่วนใหญ่ มีความพึง พอใจในระดับมาก ในหัวข้อทักษะชีวิตพิชิตยาเสพติด โดยสามารถเรียนรู้ เข้าใจ เข้าถึง สามารถพัฒนาต่อยอดในการขยายผล สู่ โรงเรียน และ ชุมชน ได้เป็นอย่างดี และมีความเห็นว่าเป็นสิ่งที่สามารถน�ำไปสู่การปฏิบัติได้จริง ขณะเดียวกันก็มีความพึง พอใจในวิชาทักษะการเป็นวิทยากรและเทคนิคการน�ำเสนอ เพื่อการพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เข้าอบรม ให้เป็นคนซื่อสัตย์ รับ ผิดชอบ จิตอาสา อันเป็นคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ที่สังคมก�ำลังแสวงหา ผลการทดสอบความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดและการรับรู้เกี่ยวกับส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพ ติด แบบทดสอบ Pretest – Posttest ส�ำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมค่าย Do for D. “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” ทั้งหมด ๖ ครั้ง ระดับความรู้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้มาก คะแนน ๘ – ๑๐ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ปานกลาง คะแนน ๕ – ๗ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้น้อย คะแนน ๑ – ๔

16 โครงการ

ก่อนเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)

หลังเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)

๘๗๕

๔๘.๖๑

๑,๖๔๙

๙๑.๖๑

๘๔๓

๔๖.๘๓

๑๔๕

๘.๐๕

๘๒

๔.๕๖

๐.๓๓


ผลการประเมิ น

ผู้ประเมินผลผ่านเล่มคู่มือ หน้า The Way of Life The Way of Feeling ดังนี้ ๑. ค่าย Do for D. “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” เป็นค่ายแรกที่ผมได้เข้าร่วมกับครอบครัวพอเพียง ในการเข้าค่าย นี้ท�ำให้ผมได้เรียนรู้ถึงผลเสียของยาเสพติดต่างๆ ที่ส่งผลต่อสังคมอย่างไร กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่เราสามารถน�ำมาใช้ได้ในชีวิตประจ�ำวัน และการได้รู้ถึงการเป็นผู้น�ำที่ดี ว่าเราเป็นอย่างไรค่ายนี้ท�ำให้ ผมได้เพื่อนพ้องมากมายมีทั้งรุ่นพี่และรุ่นเดียวกันจากหลายโรงเรียน : นาย อดิศร บุณย์ประเสริฐ ศูนย์ครอบครัวพอเพียง โรงเรียนทวีธาภิเศก (กรุงเทพมหานคร) ๒. ค่ายนี้เป็นค่ายแรกที่หนูได้เข้าร่วม เป็นค่ายที่ฝึกให้หนูพัฒนาตนเอง ให้มีความเป็นผู้น�ำที่ดีทั้งด้านความคิด การปฏิบัติ การแก้ไขสถานการณ์ ท�ำให้หนูเป็นคนกล้าแสดงออกมากขึ้น และเป็นค่ายที่ท�ำให้รู้จักและสนิทกับเพื่อนต่างโรงเรียนมากขึ้น อีกทั้งยังได้รับความรู้เรื่องยาเสพติดจากวิทยากร ป.ป.ส. หนูจะน�ำเอาเรื่องที่ได้เรียนรู้จากค่ายนี้ ไปเป็นแนวทางในการใช้ชีวิต ประจ�ำวันและน�ำไปสอนเพื่อนๆ พี่ๆ น้องๆ ที่โรงเรียนต่อได้ค่ะ : นางสาว สุนิสา ธิเขียว ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียน พระหฤทัยนนทบุรี (นนทบุรี) ๓. ได้มีเพื่อนใหม่ที่ไม่เคยรู้จักกันมาก่อน ได้มารู้จักกัน ได้รับความสนุกสนานในกิจกรรมครั้งนี้ได้เรียนรู้การท�ำงาน เป็นหมู่คณะรู้จักการแบ่งปัน สามัคคี ได้เรียนรู้ในการเป็นผู้น�ำจากที่เป็นคนไม่ค่อยกล้าแสดงออกแต่ได้มาค่ายนี้นั้นคือมีความ กล้าแสดงออกมากขึ้น และได้เรียนรู้เรื่องศาสตร์พระราชา ได้น�ำมาปรับใช้ในชีวิตประจ�ำวัน การเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแต่ละ ประเภทมีโทษอย่างไรบ้าง ทั้งหมดที่ได้เรียนมาจะน�ำมาบอกต่อรุ่นพี่และรุ่นน้องให้ได้เรียนรู้ต่อไป : นางสาว ใบบัว บัวเนตร ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนวิสุทธรังสี (กาญจนบุรี) ๔. ผมมีความประทับใจในค่ายนี้หลายอย่างทั้งมิตรภาพจากเพื่อนๆ พี่ๆ และน้อง รวมทั้งจากวิทยากร ค่ายนี้สอน อะไรผมหลายอย่าง เช่น เรื่องยาเสพติด และบุหรี่ สอนให้ผมมีความเป็นผู้น�ำ ผมสัญญาว่าผมจะน�ำความรู้ที่ได้ทั้งหมดไป ถ่ายทอดให้เพื่อนๆ ให้ได้รับความรู้มากที่สุด : นาย จักรภัทร มัชฌิมา ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนสุราษฎร์พิทยา (สุราษฎร์ธานี) ๕. ค่ายนี้เป็นค่ายแรกที่หนูได้เข้าร่วม รู้สึกตื่นเต้นและดีใจมาก เพราะค่ายนี้เป็นค่ายที่ฝึกให้เราเป็นผู้น�ำ ได้รู้จัก การกล้าแสดงออก ได้รู้จักเพื่อนใหม่ๆ ต่างโรงเรียน ค่ายนี้ท�ำให้หนูรู้สึกว่าเราเป็นครอบครัวเดียวกัน ท�ำให้เกิดมิตรภาพและ เรื่องดีๆ ได้รับการต้อนรับการดูแลที่ดีจากพี่ๆ เมนเทอร์ และยังให้ความรู้อีกมากมายทั้งเรื่องของยาเสพติด บุหรี่ สุดท้ายนี้ อยากจะขอขอบคุณทุกๆ อย่างที่ท�ำให้ได้ไปค่ายนี้ ได้เจอแต่สิ่งดีๆ จากค่าย ถ้าไม่ได้มาค่ายในครั้งนี้คงจะไม่มีที่ไหนอีกแล้ว : นางสาว ปิยธิดา กองเกิด ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนดัดดรุณี (ฉะเชิงเทรา) ๖. ความรู้สึกของฉันมีมากมาย แต่ที่มีมากที่สุดคือความสนุก สนุกที่เคยท�ำในสิ่งที่ไม่เคยท�ำ สนุกที่ได้เพื่อนใหม่ๆ ทั้ง กิจกรรมที่มีความสนุก และสอดแทรกความรู้และความเป็นผู้น�ำ ค่ายนี้ฝึกอะไรเรามากมายกว่าที่คิดทั้งความเป็นผู้น�ำ ความรู้ เกี่ยวกับยาเสพติด หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นันทนาการ การมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม มีความสามัคคี และเสริมสร้าง มิตรภาพที่ดี และจะน�ำความรู้นี้ไปขยายผลต่อไป : นางสาว วิสุณา เชียงหว่อง ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนกัลยาณวัตร (ขอนแก่น) ๗. นี่คือค่ายที่ดึงความเป็นผู้น�ำออกมาได้มาก กิจกรรมที่ได้ท�ำและกิจกรรมนันทนาการ ได้ให้ความรู้ความสนุกสนาน มาก การบรรยายในแต่ละเรื่องก็สามารถน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้ ค่าย Leader Camp 2018 มีเรื่องการรักษาผู้คนที่อยาก จะหายขาดจากอาการติดบุหรี่ มีเนื้อหาเรื่องสารพิษในบุหรี่ และมีการให้ความรู้ในเรื่องของยาเสพติด ทั้งโทษ และมีคลิปวีดีโอ ให้ก�ำลังใจในการเลิกยุ่งกับยาเสพติด มีเนื้อหาที่น่าสนใจ และมีการสอนให้เป็นผู้น�ำ การนันทนาการและก็ต้องขอบคุณคณะ กรรมการที่ได้จัดค่ายดีๆแบบนี้ขึ้นมา และขอขอบคุณคุณครูที่ได้พากระผมมาค่ายที่ดีแบบนี้ ขอขอบคุณผู้อ�ำนวยการและ ผู้ขับเคลื่อนยานพาหนะ และขอขอบคุณพี่ๆ เมนเทอร์ที่คอยดูแลตลอดครับ : นายอนุสรณ์ มีบุญ ศูนย์ครอบครัวพอเพียง โรงเรียนปัว (น่าน)

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 17


โครงการ ค่ายผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด จังหวัดเพชรบุรี

18 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 19


20 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 21


22 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 23


24 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 25


26 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 27


ผลการทดสอบความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดและการรับรู้เกี่ยวกับส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด แบบทดสอบ Pretest – Posttest ส�ำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมค่าย Do for D. “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” ครั้งที่ ๑ ณ โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี และ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดเพชรบุรี ระดับความรู้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้มาก คะแนน ๘ – ๑๐ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ปานกลาง คะแนน ๕ – ๗ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้น้อย คะแนน ๑ – ๔

ก่อนเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)

หลังเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)

๑๔๒

๔๗.๓๓

๒๗๓

๙๑.๐๐

๑๔๕

๔๘.๓๓

๒๖

๘.๖๖

๑๓

๔.๓๓

๐.๓๓

ผลการประเมิ น ผู้ประเมินผลผ่านเล่มคู่มือ หน้า The Way of Life The Way of Feeling ดังนี้

28 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 29


30 โครงการ


โครงการ ค่ายผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด จังหวัดสงขลา

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 31


32 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 33


34 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 35


36 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 37


38 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 39


40 โครงการ


ผลการทดสอบความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดและการรับรู้เกี่ยวกับส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด แบบทดสอบ Pretest – Posttest ส�ำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมค่าย Do for D. “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” ครั้งที่ ๒ ณ โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา และ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดนราธิวาส ระดับความรู้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้มาก คะแนน ๘ – ๑๐ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ปานกลาง คะแนน ๕ – ๗ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้น้อย คะแนน ๑ – ๔

ก่อนเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)

หลังเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)

๑๗๑

๕๗.๐๐

๒๖๘

๘๙.๓๓

๑๒๐

๔๐.๐๐

๓๒

๑๑.๖๗

๓.๐๐

-

-

ผลการประเมิ น ผู้ประเมินผลผ่านเล่มคู่มือ หน้า The Way of Life The Way of Feeling ดังนี้

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 41


42 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 43


โครงการ ค่ายผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด จังหวัดฉะเชิงเทรา

44 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 45


46 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 47


48 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 49


50 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 51


52 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 53


ผลการทดสอบความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดและการรับรู้เกี่ยวกับส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด แบบทดสอบ Pretest – Posttest ส�ำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมค่าย Do for D. “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” ครั้งที่ ๓ ณ โรงเรียนดัดดรุณี และ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดฉะเชิงเทรา ระดับความรู้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้มาก คะแนน ๘ – ๑๐ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ปานกลาง คะแนน ๕ – ๗ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้น้อย คะแนน ๑ – ๔

ก่อนเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)

หลังเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)

๑๖๖

๕๕.๓๓

๒๘๗

๙๕.๖๗

๑๒๒

๔๐.๖๗

๑๓

๔.๓๓

๑๒

๔.๐๐

-

-

ผลการประเมิ น ผู้ประเมินผลผ่านเล่มคู่มือ หน้า The Way of Life The Way of Feeling ดังนี้

54 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 55


56 โครงการ


โครงการ ค่ายผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด จังหวัดสกลนคร

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 57


58 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 59


60 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 61


62 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 63


64 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 65


66 โครงการ


ผลการทดสอบความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดและการรับรู้เกี่ยวกับส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด แบบทดสอบ Pretest – Posttest ส�ำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมค่าย Do for D. “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” ครั้งที่ ๔ ณ โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล และ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพาน อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดสกลนคร ระดับความรู้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้มาก คะแนน ๘ – ๑๐ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ปานกลาง คะแนน ๕ – ๗ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้น้อย คะแนน ๑ – ๔

ก่อนเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)

หลังเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)

๑๓๑

๔๓.๖๗

๒๖๓

๘๗.๖๗

๑๖๑

๕๓.๖๗

๓๓

๑๑.๐๐

๒.๖๗

๑.๓๓

ผลการประเมิ น ผู้ประเมินผลผ่านเล่มคู่มือ หน้า The Way of Life The Way of Feeling ดังนี้

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 67


68 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 69


โครงการ ค่ายผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด จังหวัดเชียงใหม่

70 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 71


72 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 73


74 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 75


76 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 77


78 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 79


ผลการทดสอบความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดและการรับรู้เกี่ยวกับส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด แบบทดสอบ Pretest – Posttest ส�ำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมค่าย Do for D. “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” ครั้งที่ ๕ ณ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย และ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดเชียงใหม่ ระดับความรู้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้มาก คะแนน ๘ – ๑๐ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ปานกลาง คะแนน ๕ – ๗ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้น้อย คะแนน ๑ – ๔

ก่อนเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)

หลังเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)

๑๔๑

๔๗.๐๐

๒๗๕

๙๑.๖๗

๑๔๙

๔๙.๖๗

๒๕

๘.๓๓

๑๐

๓.๓๓

-

-

ผลการประเมิ น ผู้ประเมินผลผ่านเล่มคู่มือ หน้า The Way of Life The Way of Feeling ดังนี้

80 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 81


82 โครงการ


โครงการ ค่ายผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด จังหวัดจันทบุรี

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 83


84 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 85


86 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 87


88 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 89


90 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 91


92 โครงการ


ผลการทดสอบความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดและการรับรู้เกี่ยวกับส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด แบบทดสอบ Pretest – Posttest ส�ำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมค่าย Do for D. “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” ครั้งที่ ๖ ณ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี และ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัด จันทบุรี ระดับความรู้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้มาก คะแนน ๘ – ๑๐ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ปานกลาง คะแนน ๕ – ๗ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้น้อย คะแนน ๑ – ๔

ก่อนเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)

หลังเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)

๑๒๔

๔๑.๓๓

๒๘๓

๙๔.๓๓

๑๔๖

๔๘.๖๗

๑๓

๔.๓๓

๓๐

๑๐.๐๐

๑.๓๓

ผลการประเมิ น ผู้ประเมินผลผ่านเล่มคู่มือ หน้า The Way of Life The Way of Feeling ดังนี้

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 93


94 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 95


ต่อยอดขยายผล สู่สถานศึกษาและชุมชน

96 โครงการ


โรงเรียนอุทัยวิทยาคม

โรงเรียนวิมุตยารามพิทยากร

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 97


โรงเรียนก�ำแพงเพชรพิทยาคม

โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย

98 โครงการ


โรงเรียนศรัทธาสมุทร

โรงเรียนอินทร์บุรี

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 99


โรงเรียนพระนารายณ์

โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม

100 โครงการ


โรงเรียนล�ำปางกัลยาณี

โรงเรียนตะพานหิน

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 101


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ มัชชิม

โรงเรียนสตรีศรีน่าน

102 โครงการ


โรงเรียนด�ำรงราษฎร์สงเคราะห์

โรงเรียนอุตรดิตถ์ดรุณี

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 103


โรงเรียนอุตรดิตถ์

โรงเรียนวิทยานุกูลนารี

104 โครงการ


โรงเรียนสตรีนครสวรรค์

โรงเรียนมุกดาหาร

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 105


โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล

โรงเรียนสตรีศึกษา

106 โครงการ


โรงเรียนค�ำแสนวิทยาสรรค์

โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 107


โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์

โรงเรียนปิยะมหาราชาลัย

108 โครงการ


โรงเรียนสตรีชัยภูมิ

โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 109


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

110 โครงการ


มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 111


มหาวิทยาลัยทักษิณ

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

112 โครงการ


การขับเคลื่อนโครงการ ผ่านศูนย์ครอบครัวพอเพียง

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 113


โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช

โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม

114 โครงการ


โรงเรียนดัดดรุณี

โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 115


โรงเรียนมุกดาหาร

116 โครงการ


โรงเรียนปราจีนกัลยาณี

โรงเรียนสตรีศรีน่าน

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 117


แบบประเมินผลการด�ำเนินงาน โครงการ

118 โครงการ


โรงเรียนมุกดาหาร

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 119


120 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 121


122 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 123


124 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 125


โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย

126 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 127


128 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 129


130 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 131


132 โครงการ


โรงเรียนดัดดรุณี

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 133


134 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 135


136 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 137


138 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 139


โรงเรียนอุตรดิตถ์ดรุณี

140 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 141


142 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 143


144 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 145


146 โครงการ


โรงเรียนสตูลวิทยา

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 147


148 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 149


150 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 151


152 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 153


โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา

154 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 155


156 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 157


158 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 159


160 โครงการ


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี

ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 161


162 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 163


164 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 165


166 โครงการ


ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 167


งบประมาณสนับสนุนโครงการ ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด

จ�ำนวน ๓,๖๒๓,๔๐๐ บาท

168 โครงการ



ไม่ มี ส ่ ว นไหนส� ำ คั ญ เท่ า ส่ ว นรวม เมื่ อ ส่ ว นรวมพ้ น ทุ ก ข์ เราจะสุ ข ร่ ว มกั น

มู ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพี ย ง

Foundation Of Sufficiency Economy Family (FOSEF)

๖๖๓ พหลโยธิ น ๓๕ แขวงลาดยาว เขตจตุ จั ก ร กรุ ง เทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศั พ ท์ ๐๒ ๙๓๙ ๕๙๙๕, โทรสาร ๐๒ ๙๓๙ ๕๙๙๖, www.fosef.org, email : fosefpr2014@gmail.com facebook/ครอบครั ว พอเพี ย ง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.