IS AM ARE April 2561_2

Page 1

IS AM ARE

ความรักช่ วยขัดเกลาทุกอย่างได้

ครู ปัทมา ภูมิน้�ำเงิน โรงเรียนวัดราชาธิวาส

กองทุนการออมแห่งชาติ ภูมิคุ้มกันของคนไทย

น.ส.จารุ ลักษณ์ เรืองสุวรรณ เลขาธิการฯ กอช.

ฉบับที่ 123 เมษายน 2561 www.fosef.org


2 IS AM ARE www.fosef.org


“การใช้ จ ่ า ยอย่ า งประหยั ด นั้ น จะเป็ น หลั ก ประกั น ความสมบู ร ณ์ พู น สุ ข ของผู ้ ป ระหยั ด เอง และครอบครั ว ช่ ว ยป้ อ งกั น ความขาดแคลนในวั น ข้ า งหน้ า การประหยั ด ดั ง กล่ า วนี้ จ ะมี ผ ลดี ไ ม่ เ ฉพาะแก่ ผู ้ ที่ ป ระหยั ด เท่ า นั้ น ยั ง เป็ น ประโยชน์ แ ก่ ป ระเทศชาติ ด ้ ว ย”

พระราชด� ำ รั ส ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ ๙ เนื่ อ งในวั น ขึ้ น ปี ใ หม่ ๓๑ ธั น วาคม ๒๕๐๒

3 issue 123 APRIL 2018


Editorial

ฉบับนี้มาอินเทรนด์กันหน่อย แต่ไม่ได้น�ำมาทั้งเรื่องนะค่ะ ขอยกบางตอนที่ดูแล้วกินใจ จน บก. ต้องดูย้อนหลังแล้วบันทึก ค�ำพูดเลยทีเดียว ก็อยากจะบอกอีกนิดตรงที่ถ้าใครดูละครฉากนี้อย่างวินิจวิเคราะห์ จะเห็นว่าวิวัฒนาการของ “ส่วย” ในบริบทนี้ เป็นคนละเรื่องเดียวกัน คือคนที่ไม่มีโอกาสจะไปทูลทัดทานเจ้านาย มาจ่าย “ส่วย” เพื่อให้คนที่ใกล้ชิดฐานอ�ำนาจมากกว่าไปปฏิบัติ การ หากแต่ “ส่วย” ในที่นี้ มิได้เข้ารัฐ แต่เข้ากระเป๋าผู้ใกล้ฐานอ�ำนาจ “ส่วย” จึงกลายเป็นสินบน คือให้เพื่อไปท�ำสิ่งที่คนให้ต้องการ ให้ท�ำจนส�ำเร็จ ถ้าจะใช้ค�ำว่า “สินน�้ำใจ” ให้ฟังเบาลง ก็ยังเป็นเรื่องของการรับทรัพย์หรือสิ่งตอบแทนการมี “น�ำ้ใจ” ที่ผู้รับจะไป ท�ำให้ผู้ให้ เป็นการรับเงินเข้าประเป๋าตนเพื่อการท�ำงานในหน้าที่ราชการอยู่ดี ในที่สุดฟอลคอนผู้รู้เหตุการณ์ก็ไปเพ็ดทูลสมเด็จนารายณ์ สมเด็จนารายณ์พยายามย�้ำถามเจ้าพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก) ถึง 5 ครั้ง ให้โอกาสสารภาพเพื่อทรงลดโทษให้ แต่เมื่อไม่ยอมรับสารภาพ จึงจ�ำต้องทรงก�ำหนดโทษให้โบยอย่างหนัก “เพื่อไม่ให้เป็น เยี่ยงกับผู้อื่น” ยังผลให้เจ้าพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก) ป่วยหนักจนตายในที่สุด ในละครเจ้าพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก) ซึ่งในเนื้อแท้เป็นทหารหาญผู้รักและหวังดีต่อบ้านเมือง บอกกับลูกสาวที่โศกเศร้าสงสาร พ่อว่า “พ่อผิดเอง” การยอมรับกับลูกสาวเช่นนี้ ผนวกกับการปากแข็งกับเจ้านาย แสดงให้เห็นชัดเจนว่า เจ้าพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก) รู้ดีว่า การรับ จะใช้ค�ำว่า “ส่วย” หรือ “สินน�ำ้ใจ” หรือ “สินบน” นั้นผิด ถ้าพยายามให้เห็นว่าเป็นส่วยก็ผิดอยู่ดี เพราะไม่ได้น�ำเข้า คลัง หรือเข้าคลังก็ยังถือว่าเงินผิดประเภท น่าวิเคราะห์ว่า ผู้ที่จงรักภักดีต่อบ้านเมืองระดับเจ้าพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก) กลับไม่เห็นว่า ผลประโยชน์เล็กน้อย ที่ตนได้ อย่างเคยชิน “ตามน�้ำ” นั้น เป็นยาพิษทีละหยดที่บ�ำรุงเลี้ยงความโลภของตนให้เบ่งบาน และเป็นเหมือนเชื้อราร้ายที่แพร่กระจาย ไปเกาะกร่อนท�ำลายบ้านเมืองที่เขา “รัก” และคุ้มหัวเขาอยู่นั่นแหละ นางเอกของเรื่องพูดหลายครั้งว่า คนคนหนึ่งเป็นได้ทั้งคนดีและคนไม่ดี ในคนดีมีความไม่ดี ในคนไม่ดีมีความดี จริงแล้ว แทนที่จะมองว่าคนนี้เป็นคนดี คนไม่ดี เราหันมามองที่การกระท�ำน่าจะลงตัวกว่า อย่างเจ้าพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก) ท่านนี้ ท่าน เป็นคนแกล้วกล้า เฉลียวฉลาด รักบ้านรักเมือง แต่มาตายน�้ำตื้นความเลวที่ก�ำเนิดจากความโลภ บวกความเคยชิน ที่ท่านไม่ได้ใช้ ปัญญากลั่นกรอง ส�ำหรับทัศนคติ ที่ว่าผู้น้อยควรมีอะไรติดไม้ติดมือเมื่อมาเยี่ยมผู้ใหญ่ ผู้มีเรื่องจะขอร้องควรมีอะไรติดไม้ติดมือตอบแทนให้ ผู้ที่จะช่วย ฯลฯ แฝงฝังอยู่ในวัฒนธรรมประเพณีที่กลายมาเป็นโรคร้ายของสังคม โดยเฉพาะสังคมการเมืองการปกครอง พอซะทีไหม ส�ำหรับคติที่จะต้อง “มีอะไรติดไม้ติดมือ” มาหา “ผู้ใหญ่” ที่ไม่ใช่ ญาติใกล้ชิด การให้ “ของขวัญ” มีความหมายลึกถึงใจที่ให้โดยบริสุทธิ์ “ของขวัญ” เป็นของที่ให้โดยมีไม่มี “ต้อง” หรือ “ควร” เข้ามาเจือให้มัวหมอง ไม่มีความหวังการตอบแทนไม่ว่าจะเป็นรูปธรรมหรือนามธรรมเข้าเป็นมลทิน มิฉะนั้น ค�ำว่า“ขวัญ” ที่เป็นค�ำที่งดงามที่สุดค�ำหนึ่งในภาษาไทย ก็จะหมดความ สุกใสสะอาดงามไปอย่างน่าเสียดาย ฉบับนี้จบตอนเพียงแค่นี้ก่อน ฉบับหน้าพบกันใหม่ค่ะ

4 IS AM ARE www.fosef.org


Contributors

มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง

พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี ประธานโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ นายธนพร เทียนชัยกุล นายณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ นายมนตรี เหมือนแม้น นายภูวนาถ เผ่าจินดา นายวรจักร ณ เชียงตุง นางชวนชื่น พีระพัฒน์ดิษฐ์ นายไพรัช มณฑาพันธุ์ นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา นางสาวเอื้อมพร นาวี ผศ.ดร.ปรีชาพร สุวัฒโนดม นายเอกรัตน์ คงรอด นายอภีม คู่พิทักษ์ นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ นางสาวเยาวมาลย์ จ้อยจุฬี นางสุมาลี โฆษิตนิธิกุล นางสาวกันยาวีร์ พ้องพงษ์ศรี นายธงชัย วรไพจิตร นายภูริวิทย์ จงนิรักษ์ นายชวลิต ใจภักดี นางสาวหนึ่งฤทัย คมข�ำ นายภิญโญ ทองไชย นายพิชัยยุทธ ชัยไธสง นางศิรินทร์ เผ่าจินดา

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ดร.เชิดศักดิ์ ดร.กัมปนาท ดร.นฤมล ดร.อ�ำนาจ ดร.ชลพร ดร.กาญจนา ดร.ปิยฉัตร ดร.คุณานันท์

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ and Enjoy! กรรมการ กรรมการ กรรมการ บรรณาธิการ : กรรมการ กองบรรณาธิการ : ผู้จัดการมูลนิธิ ศิลปกรรม :

Let’s

Start

ส�ำนักงาน :

ศุภโสภณ บริบูรณ์ พระใหญ่ วัดจินดา กองค�ำ สุทธิเนียม กลิ่นสุวรรณ ทยายุทธ

โทรศัพท์ : โทรสาร : เว็ปไซต์ : 5 issue 123 APRIL 2018

กรวิก อุนะพ�ำนัก ภูวรุต บุนนาค ชนกเนตร แจ่มจ�ำรัส ศตวรรษ เจือหนองแวง นิตยสารครอบครัวพอเพียง 663 ซอยพหลโยธิน 35 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 0-2939-5995 0-2939-5996 www.fosef.org


Hot Topic

8

ตามรอยยุ วกษัตริย์

28

ความรักช่ วยขัดเกลา ทุกอย่างได้ ครู ปัทมา ภูมิน้�ำเงิน โรงเรียนวัดราชาธิวาส

12

กองทุนการออมแห่งชาติ ภูมิคุ้มกัน ของคนไทย น.ส.จารุ ลักษณ์ เรืองสุวรรณ เลขาธิการฯ กอช.

Don’t miss

60 36 66

54 76

6 IS AM ARE www.fosef.org


Table Of Contents

น.ส.จารุลักษณ์ เรืองสุวรรณ เลขาธิการฯ กอช.

7 issue 123 APRIL 2018

ตามรอยยุวกษัตริย์ สัมภาษณ์พิเศษ กองทุนการออมแห่งชาติ ภูมิคุ้มกันของคนไทย น.ส.จารุลักษณ์ เรืองสุวรรณ Cartoon ความเป็นคนความเป็นครู ความรักช่วยขัดเกลาทุกอย่างได้ ครูปัทมา ภูมิน�้ำเงิน โรงเรียนวัดราชาธิวาส ข่าวสารครอบครัวพอเพียง มูลนิธิชัยพัฒนา การน�ำความรู้ไปใช้ของผู้เข้ารับการอบรม จากอุทยานการอาชีพพัฒนา จังหวัดนครปฐม สารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชน สิ่งที่จัดว่าเป็นศาสนสถานและที่เกี่ยวข้องกับ ศาสนสถาน (2) สัจธรรมแห่งแนวพระราชด�ำริ พระมหากษัตริย์นักพัฒนาทรงน�ำสัจธรรม พัฒนาไทยอย่างยั่งยืน (2) หลักธรรมแห่งความพอเพียง ความดีเราท�ำเรื่อยไป อย่าได้รู้จักพอ พ่อแม่ยุคใหม่ พัฒนาความทรงจ�ำด้วยการเล่านิทาน อ่านหนังสือ สอนพูด (2) เยาวชนของแผ่นดิน สร้างสติ๊กเกอร์ไลน์ ขายได้ตลอดชีวิต ณัชชา เจริญชนะกิจ 70 เส้นทางตามรอยพระบาท โดย ททท. พิพิธพัณฑ์สิรินธร จังหวัดกาฬสินธุ์ Round About

8

14 24

28 36 40 50 54 64 66 70 76 78


เบิร์น (Bern) เมืองหลวงของสวิตเซอร์แลนด์

เบิ ร ์ น เป็ น เมื อ งหลวงของพั น ธรั ฐ และเมื อ งหลวงของประเทศด้ ว ย จึ ง เป็ น เมื อ งศู น ย์ ก ลางทางการเมื อ งการ ปกครอง และเป็ น เมื อ งโบราณเก่ า แก่ อั น แสนโรแมนติ ก แต่ ค รั้ ง ยุ ค กลาง ที่ ไ ด้ รั บ อนุ รั ก ษ์ ไ ว้ อ ย่ า งดี จนได้ รั บ เลื อ กเป็ น มรดกทางวั ฒ นธรรมของโลกโดยยู เ นสโก (UNESCO) เมื อ งนี้ ก ่ อ ตั้ ง มาตั้ ง แต่ ป ี ค.ศ.1191 (พ.ศ.1734) โดย Berchtold ที่ 5 แห่ ง Zahringen ต� ำ นานเก่ า แก่ เ ล่ า ว่ า Berchtold ได้ เ สี่ ย งทาย ว่ า ในวั น อากาศดี เ ขาจะออกไปล่ า สั ต ว์ และจะตั้ ง ชื่ อ เมื อ งตามสั ต ว์ ตั ว แรกที่ เ ขาล่ า ได้ จาก Rose Garden ผ่านมาทางบ่อเลี้ยงหมี เมื่อข้ามสะพาน มาก็จะเข้าเขตเมืองเก่าที่มีหลังคาคลุมยาวถึง 6 กิโลเมตร มี อาคารร้านค้าตลอดแนวด้วยรูปทรงสถาปัตยกรรมอันงดงาม กล่ า วกั น ว่ า เมื อ งเบิ ร ์ น เปรี ย บเหมื อ นเหมื อ งทองของนั ก ถ่ า ย ภาพเลยทีเดียว คณะของเราได้มีโอกาสเข้าไปทัศนศึกษา ณ ศาลาว่าการ เมือง ซึ่งเป็นอาคารสถาปัตยกรรมแบบกอธิค ก่อสร้างมาตั้งแต่ ค.ศ. 1406-1417 (พ.ศ.1949-1960) ได้รับฟังค�ำอธิบายเกี่ยวกับ การปกครองของ พันธรัฐเบิร์น และสมาพันธรัฐสวิส สวิตเซอร์แลนด์เป็นประเทศขนาดเล็ก มีประชากรราว

เขาได้ต่อสู้และฆ่าหมีดุตัวหนึ่งอย่างกล้าหาญ จึงตั้งชื่อ เมืองเพื่อเป็นเกียรติแก่หมีโชคร้ายที่ต้องพลีชีพ ชื่อเมืองมาจาก ค�ำว่า Bar แปลว่าหมีในภาษาเยอรมัน และมีหมีเป็นสัญลักษณ์ บ่อหมีได้รับการก่อสร้างมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 (ราวพุทธ ศตวรรษที่ 20) แต่ถูกย้ายไปอยู่ในที่ต่างๆ จนมาอยู่ที่บ่อใกล้ สะพาน Kirchenfeldbrucke ในปัจจุบัน ตัวเมืองเบิร์นมีแม่น�้ำ Aare ล้อมรอบ เพิ่มเสน่ห์ให้เมือง นี้อย่างมาก ในอดีตแม่น�้ำนี้เปรียบเสมือนปราการธรรมชาติที่ ป้อนกันเมืองไว้ทั้งสามด้าน ส่วนด้านที่สี่ชาวเมืองได้สร้างก�ำแพง และสะพานข้ามที่สามารถชักขึ้นลงได้ การเดินชมเมืองควรเริ่ม 8

IS AM ARE www.fosef.org


ตามรอยยุ ว กษั ต ริ ย ์ อีกสภาหนึ่งคือ สภาแห่งรัฐ (Council of State) มี สมาชิก 46 คนโดยแต่ละ Canton มีตัวแทนได้ 2 คน การบริหารส่วนกลางอยู่ที่คณะมนตรีแห่งสมาพันธรัฐ (Federal Council) มีสมาชิก 7 คน อยู่ในต�ำแหน่งคราวละ 4 ปี ใน 7 คนนี้จะผลัดกันเป็นประธานาธิบดีคนละ 1 ปี เพื่อ ด�ำรงต�ำแหน่งประธานาธิบดี มีสถานะเป็น “The first among equals” ดังนั้นประธานาธิบดีสวิส จึงไม่มีการเยือนต่างประเทศ ในฐานะ State Visit คนสวิสมีสิทธิเลือกตั้ง เมื่ออายุ 18 ปีขึ้นไป น่าสนใจ ในกรณีสิทธิสตรี เพราะเพิ่งได้รับสิทธิในการออกเสียงระดับ Canton ครั้งแรก ในปี 1959 (พ.ศ.2502) และเพิ่งมีสิทธิออก เสียงในระดับชาติเมื่อปี 1971 (พ.ศ.2514) นี่เอง สาวไทยต้อง แอบดีใจเล็กๆ เพราะเธอทั้งหลายมีสิทธิในการออกเสียงพร้อม กับคุณผู้ชาย มาตั้งแต่หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 หรือปี 1932 โน่นแล้ว เมื่อดูตัวเลขจ�ำนวนสมาชิกสภาแห่งชาติ ปัจจุบันเป็นผู้ หญิง 53 คน และ 11 คนในสภาแห่งรัฐ และในคณะมนตรีแห่ง สมาพันธ์ มีผู้หญิง 2 จากทั้งหมด 7 คน ก็นับว่าไม่มาก ในประวั ติ ศ าสตร์ เราจะได้ ยิ น ค� ำ ว่ า ประชาธิ ป ไตย โดยตรงของกรี ก สมั ย อริ ส โตเติ ล แต่ ใ นโลกปั จ จุ บั น สวิ ต ฯ นี่ แ หละที่ มี ก ารปกครองลั ก ษณะพิ เ ศษ ที่ แ ม้ ว ่ า จะต่ า งกั บ ประชาธิปไตยโดยตรงของกรีก แต่เจ้าของประเทศสามารถ เรียกการปกครองของเขาว่าเป็นประชาธิปไตยโดยตรง (Direct Democracy) เพราะตามรั ฐ ธรรมนู ญ อ� ำ นาจสู ง สุ ด ในทาง นิติบัญญัติมิได้อยู่ที่สภา แต่อยู่ที่ประชาชนโดยตรง

ล้านคนเศษ ส่วนใหญ่เป็นชาวสวิสเยอรมันร้อยละ 65 สวิสฝรั่ง เศษร้อยละ 18 สวิสอิตาเลี่ยนร้อยละ 10 โรมานช์ร้อยละ 1 และอื่นๆ ร้อยละ 6 ระบบการปกครองแบบประชาธิ ป ไตยของสวิ ต เซอร์ แลนด์ อยู่ในรูปของสมาพันธรัฐ (Confederation) ประกอบด้วย มณฑลหรือ Canton ๒๖ มณฑล แต่ละ Canton มีรัฐธรรมนูญ และอ�ำนาจบริหารภายใน โดยมีอิสระจากการบริหารราชการ ของส่วนกลาง เปรียบเหมือนประเทศเล็กๆ ที่มีอ�ำนาจอธิปไตย มีรัฐบาล รัฐสภา กฎหมาย และศาลเป็นของตนเอง ชื่ อ ทางการของสมาพั น ธรั ฐ เรี ย กเป็ น ภาษาละติ น ว่า Confoederatio Helvetica เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้ภาษา ทางการภาษาใดภาษาหนึ่ ง ในสี่ ภ าษา เหตุ นี้ ตั ว อั ก ษรที่ ติ ด ทะเบียนรถยนต์ในสวิตฯ จึงใช้ CH ซึ่งคือ ตัวย่อของค�ำว่าสมา พันธรัฐสวิสนั่นเอง อ� ำ นาจนิ ติ บั ญ ญั ติ ข องสมาพั น ธรั ฐ อยู ่ ที่ รั ฐ สภาแห่ ง สมาพันธรัฐ (Federal Assembly) ซึ่งประกอบด้วยสองสภา อยู่ ในวาระสี่ปี คือสภาแห่งชาติ (National Council) ที่ได้รับเลือก จากประชาชนโดยตรงมีจ�ำนวน 200 คน แต่ละ Canton จะมีผู้ แทนจ�ำนวนมากน้อยตามจ�ำนวนประชากร (1:34,000 คน) แต่ อย่างน้อยแต่ละ Canton จะต้องมีผู้แทนหนึ่งคน 9

issue 123 APRIL 2018


ประชาชนมีสิทธิในการออกเสียงประชามติที่เรียก Referendom และการริเริ่ม (Initiative) กล่าวคือ กฎหมายทุกฉบับ ที่ผ่านสภาแห่งสมาพันธ์แล้ว จะยังไม่มีผลบังคับใช้กฎหมายต้อง รอให้ครบ 90 วันเสียก่อน ในระหว่างนั้นประชาชนมีสิทธิคัดค้าน โดยต้องเข้าชื่อไม่น้อยกว่า 50,000 คน เพื่อจัดให้มีการออก เสียงประชามติ ส่วนอ�ำนาจการริเริ่มประชาชนสามารถเข้าชื่อ กันไม่น้อยกว่า 100,000 คน เพื่อขอแก้ไขรัฐธรรมนูญได้ แล้ว ให้ประชาชนทั้งประเทศลงประชามติ ในทางเศรษฐกิจ สวิตเซอร์แลนด์เป็นประเทศที่มั่งคั่ง ที่สุดประเทศหนึ่ง ปี ค.ศ.2000 (พ.ศ.2543) มี GDP ต่อหัวสูงเป็น อันดับสามของโลก รองจากญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา มีแรงงานที่ มีคุณภาพสูงและอัตราค่าจ้างแรงงานสูงเป็นอันดับสาม ในกลุ่ม ประเทศอุตสาหกรรมรองจากเดนมาร์กและนอร์เวย์ ประชากรร้อยละ 6 ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม ร้อยละ 34 อยู่ในภาคอุตสาหกรรมและร้อยละ 60 ท�ำงานใน ภาคธุรกิจบริการ มีอัตราคนว่างงานเพียงร้อยละ 1.7 และอัตรา เงินเฟ้อเพียงร้อยละ 1 (ปี 2001) โชแฟอร์ที่ท�ำหน้าที่ขับรถให้คณะของเรา มีรายได้เดือน ละราวเก้าหมื่นบาท ฟังแล้วน่าอิจฉาชีวิตคนสวิตเสียจริงๆ หลังจบการบรรยาย พวกเรามีโอกาสชมศาลาว่าการ

เมื อ งเบิ ร ์ น ซึ่ ง เป็ น อาคารที่ ตั้ ง อยู ่ บ นมุ ม สวย ด้ า นหลั ง มอง เห็นแม่น�้ำใสสะอาดไหลรินอยู่เบื้องล่าง ต้องบอกว่าน�้ำทั้งใน ทะเลสาบ และในแม่ น�้ ำ ของประเทศสวิ ต เซอร์ แลนด์ ใ สแจ๋ว จริงๆ จุดสนใจของผู้คนและนักท่องเที่ยว เห็นจะเป็นตุ๊กตา โบราณบนยอดหอคอย ทุกๆ ชั่วโมงเจ้าตุ๊กตาโบราณทั้งหมด จะเคลื่ อ นไหวออกมาตี ร ะฆั ง และเริ ง ระบ� ำ ผู ้ ค นจึ ง มั ก มายื น แหงนคอตั้งบ่าคอยเวลาครบชั่วโมงอย่างจดจ่อ บนถนนที่เรา เดินจากศาลาว่าการเมืองเพื่อจะไปชมรัฐสภาเราผ่านหอนาฬิกา สัญลักษณ์ของเมืองนี้ ใครมาเยือนเบิร์นก็ต้องมาขอถ่ายรูปกับ นาฬิกา Zeitglockenturm ที่เป็นนาฬิกาดาราศาสตร์ ตัวเข็ม เป็นเดือนและดาว บอกเวลาในหนึ่งวันจากพระอาทิตย์ขึ้นและ ตก ส่วนนาฬิกาเรือนเล็กสีแดงที่อยู่ต�่ำลงมาจะบอกจักรราศี วันที่ และสัปดาห์ นับว่าเราโชคดีเพราะบังเอิญเดินมาถึงหอ นาฬิกาก่อนเวลาสักสองสามนาที ทันได้ยินเสียงระฆังและได้ แหงนมองตุ๊กตาแต่งกายแบบยุคกลางออกมาเริงระบ�ำ ซึ่งก็ เต้นประเดี๋ยวเดียวเท่านั้นอาจจะรู้สึกว่า แค่นี้เองหรือไม่เห็น น่าตื่นเต้นเลย แท้ที่จริงแล้วนอกจากตุ๊กตาเริงระบ�ำที่สัมผัสด้วยตาและ หูแล้ว เบื้องหลังนาฬิกาเรือนนี้ยังสะท้อนภูมิปัญญาความรู้เรื่อง โลกและจักรวาล เป็นนาฬิกาปฏิทินดาราศาสตร์ที่มีชื่อเสียง บวกกับความสามารถทางเทคโนโลยีและศิลปะของคนสวิสด้วย นอกจากนี้ ว่ากันว่าบนยอดหอคอยนาฬิกาแห่งนี้ถือเป็นจุดชม วิวที่สวยมาก แต่เราไม่มีเวลาพอจะได้ขึ้นไปพิสูจน์ ใกล้หอนาฬิกา ทางขวามือรินถนนใหญ่ยังมีบ้านของ นักวิทยาศาสตร์เอกของโลก คือบ้านไอน์สไตน์ ที่พักของเขาใน ปี 1905 (พ.ศ.2448) และปีนี้เป็นปีครบรอบ 100 ปี ของไอน์ส ไตน์ มีการจัดงานและนิทรรศการครั้งใหญ่ ภาพสีแดงมีใบหน้า ไอน์สไตน์หนวดขาวเฟิ้มปิดหราอยู่ตามข้างรถรางที่วิ่งไปมาให้ เห็นอยู่ในเมือง นอกจากนิทรรศการเรื่องไอน์สไตน์แล้ว ส�ำหรับผู้สนใจ 10

IS AM ARE www.fosef.org


จุ ด สนใจของผู ้ ค นและนั ก ท่ อ งเที่ ย ว เห็ น จะเป็ น ตุ ๊ ก ตา โบราณบนยอดหอคอย ทุ ก ๆ ชั่ ว โมงเจ้ า ตุ ๊ ก ตา โบราณทั้ ง หมด จะเคลื่ อ นไหวออกมาตี ร ะฆั ง และ เริ ง ระบ� ำ ผู ้ ค นจึ ง มั ก มายื น แหงนคอตั้ ง บ่ า คอยเวลา ครบชั่ ว โมงอย่ า งจดจ่ อ บนถนนที่ เ ราเดิ น จากศาลา ว่ า การเมื อ งเพื่ อ จะไปชมรั ฐ สภาเราผ่ า นหอนาฬิ ก า สั ญ ลั ก ษณ์ ข องเมื อ งนี้

11 issue 123 APRIL 2018


งานศิลปะ ช่วงนี้ที่เมืองเบิร์นมีโปสเตอร์ ประชาสัมพันธ์การ แสดงผลงานของ Rembrandt ศิลปินชาวดัตช์ที่มีชื่อเสียง ภาพ ชื่อ Self-Portrait in a cap ของเขาติดอยู่ทั่วเมือง เขาเป็น เจ้าของผลงานจิตรกรรมที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นอัจฉริยภาพ ด้านแสงและเงา และยังมีผลงานภาพพิมพ์ด้วยเทคนิค Etching และ Drypoint ทราบว่าสถานทูตเนเธอร์แลนด์ประจ�ำประเทศไทย ได้ น�ำผลงานของศิลปินผู้นี้จัดการแสดงที่กรุงเทพฯ ในวโรกาส ฉลองการครองสิริราชสมบัติครบรอบ 60 ปีของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เมื่อเดือนมิถุนายน 2549 อันเป็นช่วง เดียวกับการจัดแสดงที่เมืองเบิร์น เท่ากับว่าปีนี้คนไทยมีโอกาส ชมนิทรรศการที่ว่านี้พร้อมกับคนในสวิตฯ

ภายในห้องที่ประชุมสภา เก้าอี้ส�ำหรับสมาชิกสภาโค้ง เป็นรูปครึ่งวงกลมดูเรียบง่าย และระบุต�ำแหน่งผู้นั่งชัดเจน เห็น ได้ชัดว่าอาคารรัฐสภาและการตกแต่งภายในเลือกใช้ไม้เป็นส่วน สวิ ต เซอร์ แ ลนด์ เ ป็ น ประเทศที่ มั่ ง คั่ ง ที่ สุ ด ประเทศ ประกอบส�ำคัญ เพื่อสะท้อนวัฒนธรรมและทรัพยากรมีค่าที่น่า หนึ่ ง ปี ค.ศ.2000 (พ.ศ.2543) มี GDP ต่ อ ภาคภูมิใจจากอดีต คิดถึงเมืองไทยที่รักของเรา ไม้สักซึ่งเป็นไม้ หั ว สู ง เป็ น อั น ดั บ สามของโลก มี แ รงงานที่ มี คุ ณ ภาพ มีค่าคุณสมบัติเยี่ยมและสวยงามยิ่ง แทบจะไม่ได้รับการเลือกน�ำ สู ง และอั ต ราค่ า จ้ า งแรงงานสู ง เป็ น อั น ดั บ สาม ใน เข้ามาใช้ในอาคารและการตกแต่งสถานที่ส�ำคัญๆ ของชาติ เพื่อ กลุ ่ ม ประเทศอุ ต สาหกรรมรองจากเดนมาร์ ก และ สะท้อนฉายจิตวิญญาณวัฒนธรรมไทยเรียกว่าป่าไม้สักก็หมด นอร์ เ วย์ ส�ำนึกก็หมด เหลือแต่ความกลวงโบ๋ทางจิตวิญญาณ วันที่เราไปเยือนรัฐสภา ตอนสายๆ มีขบวนคนมายืน เราเดินจากหอนาฬิกามาสักพักก็มาถึงอาคารรัฐสภา ชุ มนุ มประท้ ว งแจกใบปลิ ว สี ช มพู แจ๊ ด ข้ อ ความหน้ า หนึ่ ง เป็น เป็นอาคารใหม่เพิ่งก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์เมื่อ ค.ศ. 1902(พ.ศ. ภาษาฝรั่งเศส อีกด้านหนึ่งเป็นภาษาเยอรมันเพราะเป็นภาษา 2445) ก่อนจะผ่านประตูทางเข้า ทุกคนต้องผ่านการตรวจเพื่อ ราชการทั้งคู่ ค่าที่ผู้คนมีทั้งที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส (ราว 19%) และ รักษาความปลอดภัย ด้วยการถอดเสื้อนอกออก และต้องใช้ ส่วนใหญ่ใช้ภาษาเยอรมัน (ราว 64%) พวกเราขอแจมด้วยหน่อย พาสปอร์ตแลกบัตรส�ำหรับผู้มาเยือน ด้วยการเข้าไปยืนถ่ายรูปกับผู้มาชุมนุมไว้เป็นที่ระลึก เพราะรู้สึก บันไดทางขึ้นตรงกลางอาคารมีรูปปั้นขนาดใหญ่ของ ได้ถึงบรรยากาศสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นดูเป็น สามผู้ก่อตั้งสมาพันธรัฐ ได้แก่ Werner Stauffacher, Wakter Furst และ Arnold von Melchtal อยู่ในท่าวางมือสาบานตน เพื่อร่วมกันสร้างสมาพันธรัฐ ต�่ำลงมามีรูปปั้นในชุดทหารโบราณ ยืนอยู่สี่มุม เป็นทหารสี่ชาติสื่อสัญลักษณ์แทนกลุ่มประชากรที่ พูดภาษาหลักในสวิตเซอร์แลนด์ทั้งสี่ภาษา ได้แก่ คนที่พูดภาษา ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาเลียน และโรมานช์ ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่ใช้ ภาษาดั้งเดิมที่สืบทอดมาจากจักรวรรดิโรมัน ด้านตรงข้ามเป็นภาพแสดงต�ำนานก�ำเนิดชาติสวิตเรื่อง Wilhelm Tell เป็นสัญลักษณ์แห่งการเสียสละเพือ่ หลอมรวมกัน เป็นสวิส จิตรกรรมใต้โดมใหญ่ตรงกลาง บอกเล่าประวัติศาสตร์ การรวมตัวเป็นสมาพันธรัฐของ ๒๓ Canton ประดับด้วยกระจก สีและสลักค�ำขวัญ “One for all, and all for one” ซึ่งเป็น ค�ำขวัญประจ�ำชาติที่ใช้มาจนถึงปัจจุบัน 12 IS AM ARE www.fosef.org


มักจะเป็นอาคารที่อยู่ริมถนน ไม่มีรั้วรอบสูงใหญ่ หรือมีป้อม ยามเฝ้าตรวจแข็งขันอย่างบ้านเรา ท�ำให้เกิดบรรยากาศใกล้ ชิดระหว่างที่ท�ำการของรัฐกับประชาชน ขณะที่ในบ้านเราจะ มีก�ำแพงหนาทึบกั้นเอาไว้สถานที่ท�ำการของรัฐช่างถูกท�ำให้ เหินห่างกางกั้นกันเหลือเกิน เบิ ร ์ น ในเขตเมื อ งเก่ า เป็ น เมื อ งที่ เ ต็ มไปด้วยบ่อน�้ำพุ เก่าแก่ถึง 11 บ่อ สร้างขึ้นตั้งแต่ยุคกลาง ประมาณ ค.ศ. 1545 (พ.ศ.2088) บ่อน�้ำพุช่วยเสริมค่าทางวัฒนธรรม วิถีชีวิต และ สร้างบรรยากาศได้ไม่น้อยเลย ในฤดูร้อนบ้านเมืองนี้จะได้รับการตกแต่งด้วยไม้ดอกไม้ ประดั บ จนกลายเป็ น เมื อ งดอกไม้ ที่ มี ชื่ อ เสี ย งเมื อ งหนึ่ ง ของ ยุโรปทีเดียว และหากมีเวลามากพอเบิร์นยังมีพิพิธภัณฑ์ที่น่า สนใจหลายแห่งให้เข้าไปเยี่ยมชม เช่น พิพิธภัณฑ์ศิลปะ และ พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ เป็นต้น พู ด ถึ ง เมื อ งเบิ ร ์ น มากโขแล้ ว ...เห็ น ที จ ะต้ อ งลา แล้วนะเบิร์นจ๋าเบิร์น...

เรื่องปกติธรรมดาในการเมืองของประเทศประชาธิปไตยแบบ ตะวันตก อีกทั้งที่ลานกว้างด้านหน้ารัฐสภา ยังมีตลาดวางขาย ดอกไม้สวยๆ สีสดใสราวกับไม่มีอะไรเกิดขึ้นเลย อืมมม...การประท้วงกับการค้าขาย ประชาธิปไตยของ ของชาวสวิสนี่ ผสมกลมกลืนเข้ากันได้โดยไม่มีอะไรขัดหูขัดตา เลยนะนี่...น่าทึ่งจริงๆ เราเก็บใบปลิวสีชมพูกลับมานั่งแกะ และขอความรู้จาก อาจารย์ที่เชี่ยวชาญภาษาฝรั่งเศสได้ความว่า เนื้อหาในใบปลิว ที่แจกเป็นข้อเรียกร้องของสหพันธ์แรงงานที่ยื่นต่อการประชุม คณะกรรมการสหพันธ์แรงงานแห่งชาติในการประชุมสมัยฤดู ร้อน เพื่อพิจารณานโยบายประกันสังคมเรื่องการปรับปรุงเงิน บ�ำนาญเลี้ยงชีพของลูกจ้างที่เกษียณก่อนอายุ 62 ปี ให้ได้รับ รายได้เต็มเท่ากับผู้ที่เกษียณเมื่ออายุ 62 ผู้ใช้แรงงานของเขาได้ รับรายได้สูง ยามแก่เฒ่าเขายังมีเงินเลี้ยงชีพสูงใช้ชีวิตบั้นปลาย อย่างมีความสุข ผิดกับคนชราในบ้านเรา ลิบลับ ลานกว้างด้านหน้ารัฐสภา ยังมีผู้คนมานั่งพักผ่อนอาบ ไอแดดอุ่นๆ บ้างก็นั่งอ่านหนังสืออย่างสบายอารมณ์ น่าทึ่งที่ อาคารรั ฐ สภาหรื อ ที่ ท� ำ การของรั ฐ บาลในประเทศแถบยุ โรป 13

issue 123 APRIL 2018


กองทุนการออมแห่งชาติ ภูมิคุ้มกันของคนไทย

น.ส.จารุลักษณ์ เรืองสุวรรณ เลขาธิการฯ กอช.

“กอช.คื อ กองทุ น การออมแห่ ง ชาติ เ พื่ อ คนไทย ท� ำ ไมคนไทยไม่ รู ้ จั ก ” เป็ น ค� ำ ถามจากความเป็ น คน ช่ า งสั ง เกตของ นางสาวจารุ ลั ก ษณ์ เรื อ งสุ ว รรณ ก่ อ นหน้ า ที่ จ ะเข้ า มารั บ ต� ำ แหน่ ง เลขาธิ ก ารฯ กอช.คนใหม่ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 3 มกราคม 2561 คุ ณ จารุ ลั ก ษณ์ มี ป ระสบการณ์ ใ นตลาดเงิ น และ ตลาดทุ น มานานกว่ า 20 ปี ปั จ จุ บั น ตั้ ง เป้ า พั ฒ นา กอช.ส่ ง เสริ ม การออมเพื่ อ วั ย เกษี ย ณให้ กั บ ประชาชนคนไทย คุ ณ จารุ ลั ก ษณ์ กล่ า วว่ า การออมคื อ การสร้ า งภู มิ คุ ้ ม กั น ให้ ชี วิ ต อย่ า งหนึ่ ง การสร้ า งภู มิ คุ ้ ม กั น ก็ คื อ หนึ่ ง ใน 5 ค� ำ 5 ข้ อ ที่ พ ่ อ สอนตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง นั่ น เอง

14 IS AM ARE www.fosef.org


cover story

15 issue 123 APRIL 2018


เลขาธิการฯ กอช.ยอมรับว่าการท�ำให้คนไทยเข้าใจเรื่อง การออมระยะยาวนั้นไม่ง่าย “แม้แต่ข้าราชการเองจะมีโอกาส พบนักวางแผนด้านการเงินก็ต่อเมื่อใกล้จะเกษียณ ซึ่งที่จริง ต้องพูดตอนเข้ารับราชการครั้งแรก” ยังมีคนไม่น้อยที่ยังไม่รู้จัก ‘การวางแผนทางการเงิน’ อย่างไรก็ตาม แนวทางในการด�ำเนิน งานและด�ำเนินชีวิตจากประสบการณ์ของท่านเลขาธิการฯ กอช. จะเป็นอย่างไร ติดตามได้จากบทสัมภาษณ์นี้ค่ะ เป็ น เด็ ก ที่ ช อบความท้ า ทาย อยากรู ้ อ ยากเห็ น โลก กว้ า ง : ดิฉันเกิดที่จังหวัดขอนแก่นค่ะ เริ่มเรียนชั้นประถม ศึกษาที่โรงเรียนเทศบาลสวนสนุก และเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษา ที่โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน สายวิทย์-คณิต ในสมัยนั้นเป็น โรงเรียนประจ�ำจังหวัดที่คนอีสานต้องส่งลูกมาเรียนที่นี่เพื่อจะ เข้ามหาวิทยาลัยขอนแก่น พอดิฉันจบ ม.6 ก็สอบได้ทุนไปเรียน ต่อที่ประเทศรัสเซีย เป็นทุนของสหภาพโซเวียต (เดิม) ซึ่งทาง สถานเอกอัครราชทูตรัสเซีย ประจ�ำประเทศไทย ให้ทุนนักศึกษา ทั้ง ป.ตรี และ ป.โท ดิฉันก็เป็นหนึ่งคนที่เรียนจบที่นั่นค่ะ ดิฉันมีพี่น้อง 4 คน ตัวเองเป็นคนโตค่ะ ที่บ้านเป็น ห่วงมากเรื่องไปเรียนต่อที่รัสเซีย แต่ด้วยความที่เราอยากไป

อยากรู้อยากเห็น เมื่อสอบคัดเลือกรับทุนผ่านแล้ว ผู้สัมภาษณ์ จะถามลั ก ษณะว่ า ท� ำ ไมถึ ง อยากไป ท� ำ ไมถึ ง อยากเรี ย น ประเทศฉัน ทุนนี้เป็นทุนให้เปล่าไม่ต้องใช้คืนก็จริง แต่เราเป็น เด็กผู้หญิงคุณพ่อห่วงมาก ท่านถามว่าท�ำไมถึงอยากไป เราบอก ว่าเราสอบได้ มันท้าทาย ไม่ใช่ใครจะสอบได้ง่ายๆ เป็นทุนให้ เปล่าแต่มีข้อแม้ว่าเราต้องไปเรียนภาษารัสเซียก่อน 1 ปี ถ้าไม่ สามารถฟังเลคเชอร์เขาได้ต้องถูกส่งกลับ นั่นคือเงื่อนไข สมัย เด็กเราคิดว่าถ้าฟังเลคเชอร์ไม่รู้เรื่องอย่างน้อยก็มีโอกาสได้ไป เที่ยวตั้งหนึ่งปี ด้วยความที่ตัวเองเป็นคนชอบความท้าทาย เป็น นักกิจกรรมโรงเรียนมาตั้งแต่เด็กๆ ก็ตัดสินใจไปค่ะ สิ่ ง ที่ ค รอบครั ว หล่ อ หลอมและปลู ก ฝั ง : คุณพ่อท่านเป็นนักกฎหมายค่ะ ต้องว่าความ ท่านจะ แอบสอนเราเวลาลูกความมาหา ท่านจะให้เรานั่งฟังเวลาเขา เจรจากัน เรามีประสบการณ์ตรงนั้นจากคุณพ่อ เรานั่งฟังจึงได้ รู้ว่าท�ำไมคนนั้นท�ำผิดเพราะอะไร ส่วนคุณแม่เป็นแม่บ้านค่ะ ดิฉันจะสนิทกับคุณพ่อมากกว่า ท่านชอบให้นั่งฟัง เด็กคนอื่นเขา อาจจะไปวิ่งเล่นกันอยู่ข้างนอก แต่เราต้องมานั่งฟังคุณพ่อเจรจา กับลูกความ หรือให้กางแผนที่โลกแล้วชี้ว่าประเทศนี้อยู่ตรงไหน เราอยู่ ป.3-ป.4 คุณพ่อให้ลูกๆ ทุกคนมานั่งชี้ลูกโลก ดิฉันมอง ย้อนกลับไปก็คิดว่า นี่คือลักษณะของครอบครัวที่อบอุ่น 16

IS AM ARE www.fosef.org


คุยกัน เพราะถ้ามองเรื่องวิทยาศาสตร์มันสามารถส�ำลักข้าว ได้ ข้อที่สองคือความสามัคคีรวมกันกินข้าวพร้อมหน้าพร้อม ตากัน สมัยนี้ถ้าในกรุงเทพฯ แทบจะไม่มี ใช้เวลาอยู่ตามร้าน อาหารเป็นส่วนใหญ่

แต่ ถ ้ า เริ่ ม ออมวั น นี้ ยั ง ไงก็ มี เ งิ น ให้ จั บ ต้ อ งได้ วั น นี้ และมั่ น ใจว่ า มี เ งิ น ไว้ ใ ช้ ใ นอนาคตแน่ น อน ไม่ ว่ า อนาคตจะเป็ น อย่ า งไร ที่ ส� ำ คั ญ ถ้ า ออมกั บ กอช. ไม่ ต ้ อ งออมแบบเดี ย วดายได้ แ ค่ ด อกเบี้ ย เพราะยั ง มี รั ฐ ให้ เ งิ น สมทบช่ ว ยออมด้ ว ย

ประสบการณ์ จ ากประเทศรั ส เซี ย ท� ำ ให้ ม องเห็ น เมื อ ง ไทยชั ด ขึ้ น สั ง คมเดี๋ ย วนี้ ห ายากนะคะ แทบไม่ มี เ ลย ในชี วิ ต ใน : พอสอบได้ทุนเรียนที่รัสเซียจริงๆ คุณพ่อก็ให้ไปค่ะ ไป กรุงเทพ ดิฉันจึงนึกถึงคุณพ่อตลอด ตัวเองยังไม่ค่อยมีเวลา ลองดูใช้เวลาหนึ่งปีถ้าไม่ผ่านก็กลับฟรี พอไปถึงรัสเซียก็มีคนไทย ให้ลูกตัวเองเลย ดิฉันอยู่ต่างจังหวัดเวลาไปโรงเรียนสามารถ ประมาณ 30-40 คน ด้วยความที่เราเป็นเด็กก็รู้สึกสนุกสนาน เดินไปได้ใกล้ๆ ไม่อันตราย ตกเย็นกินข้าวพร้อมหน้า คนสมัย เราไปอยู่หอพักนักเรียนต่างชาติทั้งหมด จะมีเพื่อนร่วมห้อง รุ่นพ่อเป็นครอบครัวอบอุ่นจริงๆ เราเห็นแล้วว่าท�ำไมสังคม พักเป็นคนกรีก บังกลาเทศ และคนรัสเซียนอนกันสามคน เป็น สมัยนี้ถึงได้ท้องก่อนแต่งเป็นเพราะอย่างนี้เอง ความอบอุ่นใน นักเรียนทุนจากที่ต่างๆ มารวมกัน โดยมีคนรัสเซียหนึ่งคนต่อ ครอบครัวส�ำคัญมาก หนึ่งห้อง พอปิด เทอมคุณพ่อจะส่งไปอยู่บ ้านคุณ ยายค่ะ ท่า น สมัยนั้นมีโทรศัพท์บ้านแล้วนะคะ ถ้าโทรจากรัสเซีย มี ที่ น าเยอะ ให้ เราไปฝึ ก ท� ำ นา ให้ รู ้ ว ่ า การท� ำ นามั น ยาก ไม่แพง แต่ที่เมืองไทยโทรไปแพงค่ะ เราต้องนัดคุณพ่อว่าเดี๋ยว ขนาดไหน ที่คุณพ่อห้ามกินข้าวเหลือ ห้ามคุยกันเพราะกลัว วันอาทิตย์บ่าย 3 จะโทรไปนะ ดิฉันอยู่ที่เมืองเคียฟในยูเครน จะส�ำลักข้าว คือคนสมัยก่อนเขาสอนกันแบบนี้ ตอนที่ดิฉันไป ก็จะมีนักเรียนไทยกลุ่มหนึ่งที่บินกลับมานะคะ เพราะไม่ผ่าน ปฏิบัติธรรมนั่งสมาธิเขาก็ห้ามคุยกันเวลากินข้าว เราก็รู้เลยถึง ภาษา ตอนไปประมาณ 80 คน จะเหลือประมาณครึ่งหนึ่งที่ วิธีที่คุณพ่อสอนการท�ำสมาธิในการกินข้าว เป็นประสบการณ์ อยู่ต่อ คนที่ไม่ผ่านก็ต้องกลับ ไม่งั้นก็ต้องเรียนซ�้ำภาษาจนกว่า ชีวิต เราก็เข้าใจในสิ่งที่คุณพ่อสอน ครูสมาธิสอนว่ากินข้าวห้าม จะสามารถฟังค�ำบรรยายมาสรุปให้เข้าใจได้ด้วยตัวเอง 17 issue 123 APRIL 2018


18 IS AM ARE www.fosef.org


อาจารย์ได้แล้วก็มาตอบให้เขาฟัง เขาให้ผ่าน ภายในระยะ เวลา 6 เดือนต้องรู้หมดแล้ว พอ 1 ปี นักศึกษาต้องฟังเลคเชอร์ เขี ย นเปเปอร์ ไ ด้ แ ล้ ว ภาษารั ส เซี ย เหมื อ นเยอรมั น ฝรั่ ง เศส เปรียบเทียบกับภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษง่ายกว่าเยอะ เทียบ กับภาษาจีนก็คนละอย่างกัน ศัพท์ของจีนเขาเยอะกว่า ค�ำเขา เยอะกว่า ถามว่าภาษารัสเซียยากไหม ก็ยากพอสมควร พอเรียนจบ ท่านกษิต ภิรมย์ ซึ่งเป็นเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงมอสโกในสมัยนั้น เห็นความส�ำคัญต้องการหาคนไทย พูดภาษารัสเซียได้ ที่ผ่านมาใช้แต่ล่ามของชาวรัสเซีย แต่ท่าน ต้องการคนไทยพูดภาษารัสเซียได้ เลยชวนเราไปท�ำงานที่สถาน เอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงมอสโก กลั บ มาเริ่ ม งานอะไรที่ เ มื อ งไทยคะ ? : ดิฉันอยู่รัสเซียมาเกือบ 10 ปีแล้ว เลยมาสมัครงาน บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จ�ำกัด (มหาชน) ในปั จ จุ บั น ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น รวมแห่ ง แรกในประเทศไทย ได้มีโอกาสร่วมงานที่นั่นเป็นเวลา 10 ปี โดยผ่านการเรียนรู้เรื่องกองทุนประเภทต่างๆ เช่น กองทุน ส่วนบุคคล กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวมในประเทศ และ กองทุนรวมในต่างประเทศ อีกทั้งกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ประเภทต่างๆ ดิ ฉั น ยั ง มี โ อกาสได้ ท� ำ กองทุ น รวมวายุ ภั ก ษ์ ของ กระทรวงการคลั ง จากนั้ น ก็ ม าอยู ่ บ ริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การ กองทุน แอสเซท พลัส จ�ำกัด เป็นเวลา 10 ปี แล้วมาอยู่บริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุนเอเชียเวลท์ ประมาณ 3 ปี ก่อนจะ มาอยู่ที่ กอช. ค่ะ

การออมที่ ถู ก ต้ อ งจะต้ อ งเก็ บ ออมก่ อ น แล้ ว ค่ อ ย น� ำ ที่ เ หลื อ ไปใช้ จ ่ า ย ไม่ เ ช่ น นั้ น เยาวชนทั้ ง หลาย อาจจะเก็ บ ออมไม่ ไ ด้ เ ลยท่ า มกลางยุ ค สมั ย นี้ ที่ ก าร จ่ า ยเงิ น ซื้ อ ของท� ำ ได้ เ พี ย งแค่ ค ลิ ก แล้ ว ถ้ า ฝึ ก เก็ บ ออมตั้ ง แต่ เ ป็ น เยาวชนจะท� ำ ให้ เ กิ ด ความเคยชิ น จน เป็ น นิ สั ย ไปตลอดจนเราโตเป็ น ผู ้ ใ หญ่

วิธีการสอนเขาต่างจากบ้านเรามากนะคะ ดิฉันไม่เคย เห็นเขาสอนตัวอักษรเลย เรียนไป 6 เดือนถึงได้เห็น เขาสอนให้ พูดก่อน ถ้ามองย้อนกลับไปดิฉันคิดว่ามันเหมือนการสอนเด็ก พูด ไม่ต้องมานั่งเขียน ก ข ฝึกพูดจากธรรมชาติทุกวัน คลาส เขาจะมีนักศึกษาประมาณ 10 คน อาจารย์ 1 คน ที่พูดภาษา รัสเซียอย่างเดียว สามารถถามได้ตลอดเวลา พูดจนเรารู้ศัพท์ สามารถใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้ ถึงค่อยมาสอน A B C คนรัสเซีย ที่อยู่ในห้องเราเขาก็พยายามที่จะสอนเรา ให้เราเรียกชื่อสิ่งนั้น ท� ำ ไมถึ ง เลื อ กมาอยู ่ ที่ ก องทุ น การออมแห่ ง ชาติ (กอช.) คะ ? สิ่งนี้ ให้เราพูด สอนเราไปในตัว : ด้ ว ยความที่ ดิ ฉั น เป็ น นั ก วางแผนทางการเงิ น พอลงวิ ช าเรี ย นก็ จ ะมี ก ารติ ว เข้ ม มี ก ารท� ำ การบ้ า น ใช้การอ่านและความเข้าใจในเนื้อเรื่องต่างๆ มีหลักการและ ต้องติดตามข้อมูลกองทุนต่างๆ เพื่อแนะน�ำผู้ลงทุนให้ได้รับ เหตุผลของสิ่งที่เกิดขึ้นในการเรียนตลอดเวลา เสร็จแล้วจะมีการ สอบฟังเลคเชอร์แล้วให้จด เรียนเสร็จก็ต้องกลับมาอาศัยอยู่ห้อง เดียวกับเพื่อนรัสเซียก็ต้องคุยกันทุกวัน เขาก็เรียนคณะของเขา เสร็จแล้วเขาก็กลับมา เราก็แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกันนอกเวลา จะมีเพื่อนๆ ต่างชาติเยอะ ท�ำกับข้าวสนุกมากเลย อินเดียท�ำ อะไร มาดากัสก้าร์ท�ำอะไร บางทีขอชิมกันสนุกสนาน เพราะ ว่าเพื่อนต่างชาติเยอะ ได้รู้จักเพื่อนทั่วโลกเลยค่ะ เวลาสอบเขาสอบพูดนะคะ สอบตามความเข้าใจ การ โต้ ต อบ ไม่ ไ ด้ ส อบเขี ย น พอเราพู ด รู ้ เรื่ อ ง แล้ ว ฟั ง เลคเชอร์ 19 issue 123 APRIL 2018


ผลประโยชน์สูงสุด ซึ่งดิฉันได้ติดตามข่าวสารของ กอช.ตั้งแต่ ตั้ง พรบ. เมื่อ 2554 แล้วมาบูมมากในปี 2558-2559 จากนั้น ก็ค่อยๆ เงียบไป จนกระทั่งมาประกาศหาเลขาธิการคนใหม่ ดิฉันเลยต้องการปั้น กอช. ให้กลับมา เพราะ กอช. เป็นกอง ทุนรวมขั้นพื้นฐานที่คนไทยควรจะต้องเข้าร่วม เป็นกองทุนที่ เน้นสร้างวินัยการออมและมีเงินสมทบจากรัฐด้วย เลยอยากจะ ช่วยให้คนไทยรู้จักกองทุนนี้ จึงขออาสามาท�ำหน้าที่เลขาธิการ เพื่อเป็นนักวางแผนทางการเงินให้ชาวบ้าน นักเรียน นักศึกษา ได้ตระหนักรู้ถึงการออมโดยเฉพาะการออมเพื่อมีไว้ใช้อยู่ใช้กิน ในวัยเกษียณ เงื่ อ นไขของ กอช.มี ข ้ อ ดี ที่ น ่ า สนใจอย่ า งไรบ้ า งคะ ? : สมาชิ ก กอช. จะได้ป ระโยชน์ในทุก ช่ว งอายุ โดย เฉพาะเงินสมทบจากรัฐที่สมาชิกจะได้รับตาม กอช. ก�ำหนดเมื่อ สมาชิกส่งเงินออมเข้ามา ถ้าเป็นวัยเรียน นักเรียน นักศึกษา ถ้าฝากด้วยตัวเองหรือผู้ปกครองฝากให้เดือนละ 1,000 บาท ตั้งแต่อายุ 15-24 ปี หรือออมเป็นเวลา 9 ปี แล้วไม่สะดวกส่ง ต่อ ก็ปล่อยให้เงินท�ำงานอยู่ในบัญชีกองทุน กอช. พอเด็กคนนี้ อายุ 60 ปี จะได้เงินคืนเป็นบ�ำนาญตลอดชีพกว่า 2,000 บาท ทุกเดือน จากอายุ 24 ปี เมื่อเข้าสู่วันท�ำงาน ถ้าสมาชิกท�ำงาน เป็นแรงงานนอกระบบ อาชีพอิสระ ค้าขาย ท�ำธุรกิจ ขายของ

ออนไลน์ รับจ้างต่างๆ แล้วส่งเงินออมต่อก็ยังสามารถน�ำเงิน ออมที่ ส ่ ง มาทั้ ง ปี ไ ปใช้ ล ดหย่ อ นภาษี ข องปี นั้ น ได้ ต ามจ� ำ นวน ที่ส่งออมเข้ามาในปีนั้น แล้วก็ยังได้เงินสมทบจากรัฐตามช่วง อายุที่ก�ำหนด และได้ผลตอบแทนการลงทุนรายปีด้วย แต่ถ้า สมาชิกท�ำงานในระบบเป็นข้าราชการ พนักงานประจ�ำภาค เอกชน พนักงานรัฐวิสาหกิจ ก็ยังสามารถออมต่อกับ กอช. ได้ น�ำเงินออมที่ส่งในปีน้ันไปใช้ลดหย่อนภาษีประจ�ำปีได้และ ได้ผลตอบแทนการลงทุนรายปีด้วย แต่รัฐจะไม่จ่ายเงินสมทบ ในช่วงที่ท�ำงานในระบบเท่านั้นเอง เมื่อสมาชิกออกจากงาน ในระบบ มาท� ำ งานนอกระบบ รั ฐ ก็ จ ะกลั บ มาให้ ส มทบต่ อ พอสมาชิกเข้าสู่วัยเกษียณอายุถึง 60 ปีเป็นต้นไป ก็จะได้ รับเงินคืนเป็นบ�ำนาญตลอดชีพ ถ้าเงินในบัญชีสมาชิกมียอด สะสมจากเงินทุกส่วนรวมมากกว่า 144,000 บาท แต่ถ้าน้อย กว่านั้นก็จะได้คืนเป็นเงินด�ำรงชีพเดือนละ 600 บาท จนกว่า จะครบตามยอดเงินในบัญชีของสมาชิก ถ้าระหว่างทางสมาชิก ขอลาออก ก็ ไ ด้ คื น เป็ น เงิ น ที่ ส มาชิ ก ส่ ง ออมเข้ า มาพร้ อ มกั บ ผลตอบแทนการลงทุนในส่วนของเงินที่สมาชิกส่งเข้ามา ส่วน เงินสมทบจากรัฐและผลตอบแทนการลงทุนในส่วนเงินสมทบ ทางรัฐจะขอคืนเพราะถือว่าไม่ถูกต้องตามเงื่อนไขที่รัฐต้องการ ให้ออมเพื่อเป็นบ�ำนาญ 20

IS AM ARE www.fosef.org


ของเขา แต่โดยส่วนใหญ่แล้วคนไทยจะวางแผนการเงินแบบ รวยตอนเสียชีวิต เช่น ท�ำประกันชีวิต ส่งเงินฌาปนกิจ เพราะ เป็นห่วงลูกหลานที่อาจยังมีชีวิตอยู่ จนลืมคิดว่าแล้วตอนวัย เกษียณที่ยังไม่เสียชีวิตจะเอาเงินที่ไหนใช้ ซึ่งความพอเพียงยัง ต้องอาศัยการวางแผนอย่างมีภูมิรู้ด้วย ทั้งการวางแผนระยะสั้น ที่ทุกคนต้องวางแผนอยู่ในทุกวัน เช่น ตื่นเช้ามาต้องท�ำอะไร อาบน�้ำแปรงฟัน แต่งตัว วันนี้จะไปท�ำงานจะขึ้นรถสายไหน จะออกจากบ้านกี่โมง หรือมีนัดกินข้าว จะไปกินร้านไหน จะ เจอกั น กี่ โ มง จะเอารถไปคนละคั น หรื อ ขั บ ไปรั บ แล้ ว ไปด้ ว ย กัน จะต้องออกเงินกี่บาทหรือใครจะเป็นเจ้าภาพเลี้ยง เราทุก คนต่างต้องวางแผนกันอยู่ตลอดในชีวิตประจ�ำวัน แต่หลาย คนยั ง ขาดการวางแผนระยะยาวโดยเฉพาะการวางแผน ทางการเงินอย่างพอเพียงไว้ส�ำหรับใช้ในยามที่ไม่มีเรี่ยวแรง ในการท�ำงาน ซึ่งการวางแผนนั้นไม่ใช่เรื่องยาก ภาษาชาวบ้าน นอกจากจะให้ ป ระโยชน์ เ มื่ อ ยั ง มี ชี วิ ต อยู ่ แ ล้ ว คือ อยากมีชีวิตอยู่ถึงเมื่อไหร่หลังเกษียณ อยากอยู่ถึง 80 ปี มี เมื่ อ สมาชิ ก เสี ย ชี วิ ต ไม่ ว ่ า จะก่ อ นอายุ 60 ปี หรื อ หลั ง เวลา 20 ปี ต้องการใช้วันละเท่าไหร่ วันละ 100 บาท ก็คูณ 60 ปี เงินที่อยู่ในบัญชีทั้งหมดที่มีอยู่ก็จะตกเป็นมรดกให้ผู้รับ เข้าไป 100 x 30 วัน ก็ 3,000 บาทต่อเดือน แล้ว 3,000 x 12 ผลประโยชน์ ที่ ส มาชิ ก ได้ ร ะบุ ใ นใบสมั ค ร และข้ อ ดี ที่ ส� ำ คั ญ เดือน ก็ 36,000 บาทต่อปี 36,000 x 20 ปี นั่นแหละคือเงิน ของการออมกับ กอช.ชนิดที่ว่าตอนนี้ไม่มีกองทุนไหนท�ำได้คือ เก็บที่เราต้องวางแผนออมเพื่อไว้ใช้ตามความต้องการของเรา รัฐค�้ำประกันผลตอบแทนการลงทุนในวันที่สมาชิกออมถึงอายุ ซึ่งความพอเพียงของแต่ละคนไม่เหมือนกัน เช่น คนนี้บอกใช้ 60 ปี แต่ถ้าสมาชิกลาออกก่อนอายุ 60 ปี ผลตอบแทนที่ได้จะ วันละ 100 บาท แต่อีกคนบอกวันละ 50 บาทก็อยู่ได้แล้ว นั่น เป็นไปตามมูลค่าตลาดในขณะนั้น ถือเป็นการวางแผนขั้นพื้นฐาน จากนั้นก็ศึกษาหาแหล่งที่จะ ออม ถ้าเอาเงินไปฝากแบงค์ก็ได้ดอกเบี้ย แต่ออมกับ กอช. ท่ า นมองเรื่ อ งความพอเพี ย งไว้ อ ย่ า งไรคะ ? ดอกเบี้ยก็ได้แถมเงินสมทบจากรัฐก็ได้ แค่ต้องออมเท่านั้น เหตุ ผ ลหนึ่ ง ที่ ดิ ฉั น เข้ า มาท� ำ กองทุ น กอช.ก็ เ พราะ เอง ซึ่งเราจะเลือกออมแบบไหนให้เหนื่อยน้อยที่สุด แต่ได้มาก อยากช่วยให้คนไทยมีกินมีใช้หลังเกษียณ ให้เขามีพอกินพอใช้ ที่สุดก็อยู่ที่เราวางแผนของเราเอง เพราะฉะนั้น การวางแผน 21 issue 123 APRIL 2018


ตั้งแต่เนิ่นๆ จะได้มีชีวิตหลังเกษียณที่สะดวกสบายขึ้น ซึ่งดิฉัน มองว่าการวางแผนทางการเงินส�ำคัญมากส�ำหรับประเทศไทย โดยเฉพาะความรู้เรื่อง กอช.ส�ำคัญมากส�ำหรับคนไทย เพราะ ยิ่งรู้เร็วยิ่งดี รู้ช้าก็ยังดีกว่าไม่รู้เลย อย่างน้อยผู้ใหญ่บ้านหรือ ผู ้ น� ำ ชุ ม ชนควรรู ้ จั ก การวางแผนทางการเงิ น เพื่ อ จะไปบอก ลูกบ้าน อย่างน้อยก็บอกรุ่นลูก รุ่นหลาน ให้เกิดความตระหนักรู้ และสร้างวินัยการออมอย่างต่อเนื่อง ให้เงินท�ำงานตามสโลแกน ที่ว่า “ออมก่อนรวยกว่า” ท่ า นสอนลู ก อย่ า งไรบ้ า งคะเรื่ อ งการออม ? : ดิฉันมีลูก 2 คนค่ะ อยู่โรงเรียนจิตรลดา ป.4 กับ ป.6 ซึ่งสอนให้ลูกจัดการเงินด้วยตนเอง ดิฉันให้ลูกเก็บเงิน ทุกวันนี้ ให้เงินลูกไปเรียน ก็จะให้เขาจัดการเงินของเขาเอง ให้อาทิตย์ ละ 100 บาท แล้วต้องมีการหยอดกระปุก สิ้นปีมีเงินเท่าไหร่ แม่สมทบให้ 100 เปอร์เซ็นต์ คนเล็กจะเก็บเก่ง คือจะให้เงิน สมทบให้ โ บนั ส ทุ ก สิ้ น ปี เอากระปุ ก มาดู ได้ เ ท่ า ไหร่ แ ม่ ก็ จ ะ สมทบให้ กอช. เป็ น ทางเลื อ กหนึ่ ง ที่ เ ป็ น พื้ น ฐานของการออม ที่ ไ ม่ มี ค วามเสี่ ย งเลย คุ ้ ม ครองเงิ น ต้ น ที่ ส� ำ คั ญ เยาวชนอายุ 15 ปี ขึ้ น ไป รวมทั้ ง นั ก ศึ ก ษา มี สิ ท ธิ์ ที่ จ ะสมั ค รเป็ น สมาชิ ก กอช. รั บ เงิ น สมทบการออม จากรั ฐ ของแต่ละคนไม่เหมือนกัน อย่าเอาตัวเลข เอาหลักการดีกว่า อย่างการออมกับ กอช. ถ้าคิดว่าอยากมีเงินบ�ำนาญไว้ใช้หลัง อายุ 60 ปี ไปตลอดชีวิต แต่ตอนนี้อายุ 50 ปีแล้ว มีเวลาออม แค่ 10 ปี ก็ต้องออมให้เต็มจ�ำนวน 13,200 บาท พอถึงอายุ 60 ปี จะได้รับเงินบ�ำนาญเดือนละไม่ต�่ำกว่า 600 บาทไปตลอดชีพ แต่ถ้าตอนนี้อายุ 15 ปี ถ้าออมเต็มจ�ำนวน 13,200 บาท จนถึง อายุ 60 ปี จะได้รับเงินบ�ำนาญไม่ต�่ำกว่า 7,000 บาททุกเดือน จนกว่าจะเสียชีวิต ปั ญ หาของการวางแผนทางการเงิ น ในภาคหน่ ว ย งานหรื อ ระดั บ บุ ค คลที่ ท ่ า นมองเห็ น คื อ อะไรคะ ? : ปั ญ หาปั จ จุ บั น ที่ เ จอคื อ นั ก วางแผนทางการเงิ น ไม่มีโอกาสเข้าไปพูดกับข้าราชการในหน่วยงานภาครัฐ เช่น ข้าราชการจะให้นักวางแผนทางการเงินไปพูดคุยตอนช่วงใกล้จะ เกษียณ จึงอยากให้ภาครัฐส่งเสริมให้ข้าราชการมีการวางแผน ทางการเงินตั้งแต่เข้ารับราชการ เพื่อไม่ให้สายเกินแก้ แม้จะมี สวัสดิการดี ก็อาจจะยังไม่เพียงพอ จึงต้องวางแผนทางการเงิน 22 IS AM ARE www.fosef.org


60 ปี จะได้มีเงินเก็บถึง 2 ส่วน ทั้งของ กอช. และ ส่วนของ สิทธิ์ผู้ที่ท�ำงานในระบบ แต่ถ้าใครที่อาจค้นพบตัวเองไม่อยาก ท�ำงานในระบบ เมื่อออกมาท�ำอาชีพอิสระ ก็จะมีสิทธิ์ได้รับ เงินสมทบการออมกับรัฐตามเดิม เรียกได้ว่าออมกับ กอช. นั้น มีแต่ได้กับได้ เยาวชนหลายคนอาจคิดว่าจะออมไปท�ำไม ไม่รู้จะมี ชีวิตอยู่ถึงอายุ 60 ปีหรือเปล่า แล้วถ้าอยู่ถึง จะเอาเงินที่ไหน ใช้ หรือบางคนคิดว่ายังมีเวลาอีกตั้งนานเดี๋ยวค่อยออม แล้วพอ ถึงเวลา...จะออมได้จริงไหม ถ้าออมได้ก็ดี แล้วถ้าออมไม่ได้ นั่น แสดงว่าเงินที่คิดไว้ว่าจะเก็บก็เป็นเพียงแค่เงินเก็บในความคิดที่ จับต้องไม่ได้ ถึงเวลาก็ไม่มีให้หยิบมาใช้ แต่ถ้าเริ่มออมวันนี้ ยังไงก็มีเงินให้จับต้องได้วันนี้ และ มั่ น ใจว่ า มี เ งิ น ไว้ ใช้ ใ นอนาคตแน่ น อน ไม่ ว ่ า อนาคตจะเป็ น อย่างไร ที่ส�ำคัญถ้าออมกับ กอช. ไม่ต้องออมแบบเดียวดาย ได้แค่ดอกเบี้ย เพราะยังมีรัฐให้เงินสมทบช่วยออมด้วย แล้วถ้า เสียชีวิตก่อนอายุ 60 ปีจริงๆ อย่างน้อยเงินที่เราส่งออมไว้พร้อม กับเงินที่รัฐสมทบให้และผลประโยชน์ทั้งหมด ก็จะเป็นเงินก้อน หนึ่งที่เราได้เก็บไว้ให้คนที่เรารัก ปรึกษาการออมกับกองทุนการออมแห่งชาติ กอช. สายด่ ว นเงิ น ออมโทร 02-049-9000 , www.nsf.or.th , แอปฯ กอช. , FB: กองทุ น การออมแห่ ง ชาติ , line: @nsf.th

ฝากถึ ง เยาวชน ? : การออมที่ถูกต้องจะต้องเก็บออมก่อน แล้วค่อยน�ำ ที่เหลือไปใช้จ่าย ไม่เช่นนั้นเยาวชนทั้งหลายอาจจะเก็บออมไม่ ได้เลยท่ามกลางยุคสมัยนี้ที่การจ่ายเงินซื้อของท�ำได้เพียงแค่ คลิก แล้วถ้าฝึกเก็บออมตั้งแต่เป็นเยาวชนจะท�ำให้เกิดความ เคยชินจนเป็นนิสัยไปตลอดจนเราโตเป็นผู้ใหญ่ เราเคยเห็น ฝรั่ ง มาเที่ ย วบ้ า นเราไหม เขามาเที่ ย วกั น สองคนสามี ภ รรยา แบบสบายๆ นั่ น แหละคื อ ผลของการที่ เขาออมตั้ ง แต่ ต อนที่ ท�ำงาน อยากอยู่สบายๆ หลังเกษียณต้องออม ออมก่อนรวย กว่า แล้วพอรู้ว่ามีเงินก็ต้องรู้ต�ำแหน่งที่วางเงินด้วยนะ ต้อง ฉลาดรู้ว่าพอมีเงินแล้วคุณต้องหาแหล่งที่สามารถวางเงิน ให้มันงอกเงยได้มากที่สุดพร้อมกับความเสี่ยงที่ตนเองรับได้ เพราะทุกองค์กรด้านการฝากออมล้วนมีความเสี่ยงทั้งนั้น ฉะนั้น ต้องเป็นความเสี่ยงที่ตนเองรับได้และต้องออมหรือลงทุนให้ถูก ที่ถูกทาง กอช. เป็นทางเลือกหนึ่งที่เป็นพื้นฐานของการออมที่ไม่มี ความเสี่ยงเลย คุ้มครองเงินต้น ที่ส�ำคัญเยาวชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป รวมทั้งนักศึกษา มีสิทธิ์ที่จะสมัครเป็นสมาชิก กอช. รับเงินสมทบ การออมจากรัฐ ซึ่งการเป็นสมาชิก กอช. ตั้งแต่เป็นวัยเรียน ยัง ไม่ท�ำงาน ถ้าเรียนจบได้ท�ำงานในระบบเป็นข้าราชการหรือ พนักงานประจ�ำในภาคเอกชน จะต้องเข้าสู่ระบบการออมภาค บังคับ แต่ก็ยังส่งเงินออมได้ต่อเนื่องกับ กอช. ท�ำให้เมื่อถึงอายุ 23

issue 123 APRIL 2018


24 IS AM ARE www.fosef.org


Cartoon

25 issue 123 APRIL 2018


26 IS AM ARE www.fosef.org


27 issue 123 APRIL 2018


ความเป็ น คนความเป็ น ครู

ความรักช่ วยขัดเกลาทุกอย่างได้ ครูปัทมา ภูมิน�้ำเงิน โรงเรียนวัดราชาธิวาส “ความเป็ น คน ความเป็ น ครู ” ฉบั บ นี้ น� ำ เสนอคุ ณ ครู ป ั ท มา ภู มิ น�้ ำ เงิ น ผู ้ ท� ำ หน้ า ที่ ส อนทั ก ษะวิ ช าชี พ ด้ า นการเกษตรและด้ า นธุ ร กิ จ ระดั บ มั ธ ยม 3 และ มั ธ ยม 6 หรื อ ที่ เ ด็ ก ๆ รู ้ จั ก ในนามครู วิ ช าเกษตร แต่ ที่ จ ริ ง แล้ ว ความเป็ น ครู ไ ม่ ว ่ า จะสอนวิ ช าอะไรก็ อ ดไม่ ไ ด้ ที่ จ ะเป็ น ห่ ว งนั ก เรี ย นของตน พร้ อ มสอด แทรกความรู ้ ค วบคู ่ ไ ปกั บ การอบรมสั่ ง สอน ครู ป ั ท มายอมรั บ ว่ า เด็ ก ที่ เ ข้ า มาในเรื อ นเกษตรส่ ว นมาก มั ก จะเป็ น เด็ ก หลั ง ห้ อ งที่ เ บื่ อ วิ ช าต่ า งๆ จึ ง เป็ น โอกาสดี ที่ พ วกเขาจะได้ รั บ การอบรมสั่ ง สอนอย่ า งเต็ ม ใจ เพราะเขาเลื อ กที่ จ ะมาหาครู เ กษตรด้ ว ยความไว้ ใ จ อย่ า งไรก็ ต าม ประสบการณ์ ต ่ า งๆ ที่ ผ ่ า นมาของ ครู ป ั ท มาจะช่ ว ยแนะน� ำ เด็ ก เกเรได้ อ ย่ า งไร ติ ด ตามในบทสั ม ภาษณ์ ชิ้ น นี้ ค ่ ะ

28 IS AM ARE www.fosef.org


29 issue 123 APRIL 2018


อีกเหตุผลหนึ่งที่อยากเป็นครูเพราะเราอยู่ใกล้ชิดกับ ครูตลอดตั้งแต่ชั้นประถมฯ ท�ำการบ้านเสร็จเราจะไปอยู่ใกล้ๆ คุ ณ ครู ไปช่ ว ยกวาดห้ อ งกวาดพื้ น ตรวจเอกสารตรวจสมุ ด เป็ น ความเคยชิ น ที่ เราอยู ่ ใ กล้ ค รู ม าตลอดตั้ ง แต่ ชั้ น ประถมฯ ถึงมัธยมฯ ครูให้ท�ำอะไรเราก็จะท�ำ เราติดภาพว่าเราอยาก เป็นครู แล้วก็ได้บรรจุเป็นครูสมใจที่โรงเรียนวัดราชาธิวาส ปี 2525-2526 เป็นที่แรกแล้วก็อยู่ที่นี่ตลอดไม่เคยย้ายเลยค่ะ สอนงานด้านการเกษตรโดยเฉพาะนะคะ แล้วก็งานเกี่ยวกับ ธุรกิจด้านโครงงานอาชีพ ม.3 และ ม.6 เพราะจบปริญญาโท ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ด้านเศรษฐศาสตร์สหกรณ์โดย เฉพาะ เราต้ อ งหาเหตุ ผ ลว่ า ที่ เ ขาเป็ น แบบนั้ น เพราะอะไร เราจะปรั บ แก้ ตั ว เราและตั ว เขาให้ อ ยู ่ ต รงกลาง ค� ำ ว่ า พอดี อ ยู ่ ต รงไหน เราจะเอาตั ว เราเป็ น ตั ว ยึ ด ไม่ ได้ เราจะเอาเขายึ ด ก็ ไ ม่ ไ ด้ เขาก็ ต ้ อ งคิ ด ในการที่ จ ะ ปรั บ ตั ว ให้ เ ข้ า กั บ สิ่ ง แวดล้ อ มที่ เ ปลี่ ย นไป

อะไรที่ ท� ำ ให้ อ ยากเป็ น ครู ? เริ่มเป็นครูตั้งแต่ พ.ศ.2526 ค่ะ ปัจจุบัน 35 ปีแล้ว มี ความรู้สึกอยากเป็นตั้งแต่เด็กเลย พอจบ มศ.5 ที่โรงเรียนสตรีวัด อัปสรสวรรค์ก็ไปเรียนต่อที่วิทยาลัยครูสวนดุสิต(เดิม) เอกเกษตร จากนั้นไปเรียนต่อปริญญาตรีอีก 2 ปีที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หลั ก สู ต รศึ ก ษาศาสตร์ แล้ ว กลั บ มาเรี ย นปริ ญ ญาโทด้ า น เศรษฐศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร ความรู้สึกในวัยเด็กอยากจะไปต่างจังหวัด เพราะอยู่ บ้านที่กรุงเทพฯ ถูกบังคับโดยตลอด คือเป็นลูกคนจีน เป็นลูก ผู้หญิงก็ต้องเข้าบ้านอยู่แต่บ้านท�ำงานบ้าน เรื่องช่วยงานบ้าน เป็นเรื่องใหญ่ เรื่องเรียนเป็นเรื่องที่รองลงมา แต่ความรู้สึกของ เราคือ เราต้องเปลี่ยนแปลงชีวิตตัวเองให้ดีขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ เรา จะไม่ยอมอยู่แต่บ้านที่ค้าขายทั้งวัน ความรู้สึกของเราคือจะต้อง พัฒนาตัวเอง เราจึงไปต่างจังหวัด ครูมีพี่น้องทั้งหมด 10 คน ครูเป็นคนที่ 7 ความที่เป็น ลูกผู้หญิง พอจบ ป.4 คุณพ่อไม่ให้เรียนแล้ว บอกว่าลูกผู้หญิง จะเรียนไปท�ำไมเดี๋ยวก็มีครอบครัว เราบอกว่าเราจะเรียน ถ้า เชื่อพ่อไม่เรียนหนังสือป่านนี้คงได้ไปค้าขายอยู่ที่ตลาด แต่เรา คิดว่าชีวิตมันต้องพัฒนา

งานที่ ค รู รั บ ผิ ด ชอบอยู ่ เ น้ น ไปทางการสร้ า งทั ก ษะ ชี วิ ต ให้ กั บ เด็ ก ? ใช่ค่ะ เน้นไปทางด้านทักษะชีวิต สมัยก่อนจะถูกมอง ว่าเด็กเรียนอะไรไม่ได้ก็จะมาเรียนการงานอาชีพเรียนเกษตร สมัยก่อนเป็นเด็กผู้ชายล้วน ชั่วโมงไหนเขาไม่อยากเรียนเขา ก็จะลงมาเรือนเกษตร ขอมาช่วยงานอาจารย์ สมัยก่อนการ วัดผลไม่ได้ซีเรียสขนาดนี้ เด็กจะมีความสุข คือท�ำอะไรไม่ได้ ก็ลงมา ท�ำเลขไม่ได้ก็ลงมาท�ำงานรดน�้ำต้นไม้ ตอนเย็นก็มา ท�ำการบ้านนอนท�ำงานกัน ครูก็หุงข้าวท�ำกับข้าวให้กิน เด็ก สมัยก่อนจะผูกพันกันมากกว่านี้ สมัยที่ยังไม่มีโลกโซเชียลและ ห้างสรรพสินค้ามากมายอย่างนี้ ใครเกเรมาจากไหนก็มานอน กลิ้งกันอยู่ที่เรือนเกษตร หุงข้าวปลูกผักกัน ท�ำกับข้าว มีอะไร ก็กินอันนั้น จึงเป็นโอกาสให้เราได้อบรมเขา สอนเขา แล้วเด็ก ก็จะมีทักษะการท�ำงานติดตัวเยอะ เพราะการเรียนเกษตรเรา เรียนทั้งช่างไม้ ช่างปูน ช่างไฟ ก่อสร้าง ซ่อมหลังคา ประปา เดินน�้ำ บ่อปูน ท�ำกันเองหมด แต่เดี๋ยวนี้ปลูกต้นไม้ในถุงพลาสติกก็ไม่เป็นนะเด็กๆ ถึง ขั้นนั้นแล้ว วิกฤต ไม่ท�ำงาน ท�ำอะไรนิดหน่อยก็เหนื่อย ติดสบาย ค่ะ ถ้วยจานชามล้างไม่เป็น เขาเข้าห้างสรรพสินค้า เขาก็ไม่เคย เก็บจาน ไม่ได้ถูกฝึกเก็บ ไม่เก็บอะไรเลยแม้กระทั่งทานข้าว 30

IS AM ARE www.fosef.org


หงุดหงิดและจะอยู่ล�ำบาก เราจะทุกข์ร้อนด้วยตัวของเราเอง ว่าท�ำไมเขาเป็นแบบนั้น จริงๆ เราต้องหาเหตุผลว่าที่เขาเป็น แบบนั้นเพราะอะไร เราจะปรับแก้ตัวเราและตัวเขาให้อยู่ตรง กลาง ค�ำว่าพอดีอยู่ตรงไหน เราจะเอาตัวเราเป็นตัวยึดไม่ได้ เรา จะเอาเขายึดก็ไม่ได้ เขาก็ต้องคิดในการที่จะปรับตัวให้เข้ากับสิ่ง แวดล้อมที่เปลี่ยนไป เราเองก็ต้องยอมรับในสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยน ไป เหตุการณ์สังคม สื่อโซเชียล ห้ามเขาใช้โดยเด็ดขาดไม่ได้ เรา จะพาให้เขาใช้ยังไงแบบถูกต้องหรือพอดี เราเล่นเกมไหม เรา ก็เล่น เราแชทไลน์ดูเฟซบุ๊กไหมเราก็ท�ำ แล้วเราจะไปห้ามเขา เด็ดขาดไม่ได้ แต่แค่ไหนคือพอ แค่ไหนคือดี เราจะห้ามไม่ให้ เด็กพกโทรศัพท์มาโรงเรียนเลยไม่ได้ เพราะบางทีการค้นคว้า เราก็ต้องท�ำ ใช้เสร็จก็เก็บ ถ้าดื้อจริงๆ ก็ฝากครูไว้ก่อน เรียน เสร็จก็เอาคืนไป

ในโรงเรียนเสร็จแล้ว เราก็ฝึกยากขึ้น ความผูกพันกับโรงเรียนก็ มีไม่มาก เพราะตอนเย็นเขาก็จะออกไปตามห้างฯ อยู่โรงเรียน ก็เจอครู ครูก็สอนสารพัดอย่างแต่ก็ไม่ถูกใจกันเพราะทางเลือก เขามี เราเคยดื้อยังไงเราก็รู้สึกว่าเด็กเขาก็อยากมีอิสระแบบนั้น บ้าง เขาก็จะมาเล่าให้ฟังว่าไปไหนมาบ้าง ไปท�ำอะไร กลางคืน เขาไปเที่ยวผับเที่ยวบาร์ เช้าบางทีเขามาเรียนไม่ไหวเขาก็บอก ว่าไม่ไหวครับอาจารย์เมื่อคืนหนัก ถ้าเช้าเธอไม่ไหว ตอนเย็น ครูอยู่ท�ำการบ้านกันไหม แล้วจะไปไหนก็แล้วแต่ แต่ ถ ้ า ถึ ง วั น สอบวั ด ผลจะไม่ ใ ห้ โ อกาสเด็ ก นะคะ ไม่ สมควรให้โอกาสเพราะเขาไม่มีระเบียบวินัย เขาไม่มีความพอ ประมาณของตัวเขา เขาไปที่ยวแล้วเขามาไม่ทัน ไม่ใช่ความผิด ของโรงเรียนหรือของคนในสังคม มันเป็นที่ตัวเขา เราก็สอนเขา ว่าเขาขาดเหตุผลอยู่ แต่ถ้าเขาจะแก้ตัวก็ให้โอกาสไปสอบซ่อม เท่านั้น อันไหนครูช่วยได้ก็ช่วย เพราะเขายังคิดไม่ได้ ถ้าวันไหน ที่เธอต้องรับผิดชอบมากกว่านี้จะไม่มีคนช่วย หรือครูไม่อยู่ไม่มี คนช่วยต้องคิดเองนะ

ปั ญ หาที่ ค รู เ จอในเด็ ก รุ ่ น ใหม่ คื อ อะไร ? เขาค้ น คว้ า ความรู ้ ไ ด้ เร็ ว แล้ ว เขาจะฟั ง เราน้ อ ยลง ฉะนั้นถ้าเราพูดมากเขาจะไม่ฟัง แต่ข้อเสียของเขาก็คือเวลาที่ เขาไปหาความรู้เขาไม่รอบครบไม่ระมัดระวัง เขาไม่ท�ำความ รอบรู้ให้เกิดขึ้นกับตัวเขา แต่ถ้าเขารอบรู้แล้วมาถกเถียงด้วย เหตุผลกับเราก็ดี เพราะเราก็อยากรู้เหมือนกัน เราจะได้ค้นคว้า

โ ล ก ภ า ย น อ ก เ ป ลี่ ย น ไ ป เ ร็ ว ม า ก ค รู มี ก า ร ป รั บ ตั ว อย่ า งไร ? ถ้ า เราไม่ ป รั บ ตั ว ยอมรั บ ในสิ่ ง ที่ เ ด็ ก เขาคิ ด เราก็ จ ะ 31

issue 123 APRIL 2018


เด็ ก ๆ เยาวชนต้ อ งมี ค วามรั ก มี ค วาม กตั ญ ญู รั ก ตั ว เองรั ก ผู ้ ป กครองพ่ อ แม่ รั ก ชุ ม ชนของตั ว เอง รั ก ประเทศชาติ ต้ อ ง มี ค วามรั ก ความรั ก จะเป็ น เครื่ อ งหล่ อ เลี้ ย งทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งในชี วิ ต ของตั ว เอง

32 IS AM ARE www.fosef.org


ในขณะเดี ย วกั น เขาก็ ค วรจะค้ น คว้ า แล้ ว เรามาคุ ย กั น การ เปลี่ยนแปลงในทางที่ดีถึงจะเกิดขึ้น บางทีข้อมูลที่เขารับมามัน ตื้นเกินไป เขาไม่ฟังเราว่า แต่เวลาหาข้อมูลความรู้ต้องลงลึก ไม่ใช่ฉาบฉวย เขาเปิดเจอเว็บไซต์แรกแล้วเขาก็เชื่อเลย มันยัง ไม่ใช่ ไม่เหมือนที่เราบอกให้เปิดหนังสือดู 5 เล่มขึ้นไป แต่เดี๋ยว นี้หนังสือเขาก็ไม่อ่านแล้ว เขาจะดูจากเว็บไซต์อย่างเดียว พอรู้ ตื้นก็ท�ำอะไรไม่ถึงฝั่งสักที เด็ ก เกเรครู แ นะน� ำ สอนเขาอย่ า งไร ? ต้องรู้ว่าเกเรเรื่องอะไรมา ถ้าเหตุเพราะว่าขาดความ อบอุ่นในครอบครัว จุดเริ่มต้นของการไม่รักพ่อไม่รักแม่จะดู ยาก เราก็ต้องชี้แจงให้เขาเห็นว่ากว่าตัวเองจะเป็นตัวตนขึ้น มา ไม่ว่าด้วยวิธีการใดก็ตาม มีชีวิตอยู่วันนี้นั่นคือบุญคุณ ข้าว ปลาที่กินทุกวันคือบุญคุณที่พ่อแม่ท�ำให้ เขาจะให้มากน้อยแค่ ไหนก็ ต าม แต่ ใ นวั น นี้ ที่ คุ ณ ยั ง มี ล มหายใจมั น คื อ บุ ญ คุ ณ ต้ อ ง ตอบแทน วิธีตอบแทนที่ง่ายที่สุดคือ อย่าท�ำให้ท่านเดือดร้อน โดยที่ตัวเองต้องไม่เดือดร้อนด้วย ง่ายมาก แค่นี้ ถ้ามีแค่นี้เด็ก จะเอาตัวรอด “อย่าท�ำให้พ่อแม่เดือดร้อน อย่าท�ำให้ตัวเอง เดือดร้อน สังคมต้องไม่เดือดร้อนจากตัวเรา” ตัดสินใจท�ำอะไร ไปแล้วต้องรับผิดชอบ

ถ้าเราจะให้ค�ำปรึกษาเด็กนักเรียนที่ครอบครัวแตกแยก ได้ เราต้องค้นนะคะ เพราะเป็นปมเขา เราจะสังเกตว่าท�ำไมซึม เศร้า ท�ำไมนั่งเหม่อลอย ท�ำไมวันนี้หน้าตาไม่สดใสเลย เราก็ ในความหมายของเราเอง ครู คื อ คนเสี ย สละนะ ต้องเข้าไปถามว่าท�ำไม เราถึงจะพบปมเหตุ ส่วนใหญ่เขาจะไม่ เพราะตอนเด็ ก ๆ เราอยู ่ ใ กล้ ค รู ต ลอด ตั้ ง แต่ ป ระ เข้ามาบอกเอง เราต้องค้น ฉะนั้นเวลาเป็นครูสายตาต้องส�ำรวจ ถมฯ มั ธ ยมฯ มหาวิ ท ยาลั ย ทุ ก ระดั บ ชั้ น ก็ จ ะมี ค รู อ ยู ่ บางทีเด็กเขาไม่ชอบว่าเรามองท�ำไม จริงๆ ครูมองเพราะครู ในใจเสมอ ครู ทุ ก คนที่ เ ราเจอท่ า นเสี ย สละ บางที เ สี ย สงสาร ท�ำไมวันนี้ไม่สดใสเลย บางทีท่านั่งของผู้หญิงมันบ่งบอก ได้ ฉะนั้นเราก็จะรู้และดูแลให้ค�ำปรึกษาเขาได้ตรงมากขึ้น เรา สละเวลาในครอบครั ว ต้ อ งแบ่ ง เวลามาให้ เ ด็ ก ก็จะเข้าไปถาม ซึ่งบางทีเราก็จะพบว่าท้อง 7-8 เดือนไม่กล้า บอกผู้ปกครอง เราก็ต้องช่วยเหลือกัน ครูก็แอบช่วยเหลือกัน ปั ญ หาครอบครั ว ที่ แ ตกแยกมั น ส่ ง ผลต่ อ การเรี ย น เรื่อยๆ ค่ะ พ่อแม่มีส่วนนะคะ บางคนก็ให้อยู่ด้วยกันเลย ระดับ การสอน ? ถ้าแตกแยกแล้วพ่อแม่ทิ้งไปเลย อยู่กับย่ากับยายมีเยอะ ม.ต้น ก็มี เราพยายามจะอ้อมค้อมว่าลูกมีเพื่อนชายมีเพื่อนหญิง เลยค่ะ พ่อไปทางแม่ไปทาง เดี๋ยวนี้เด็กที่มีครอบครัวอายุน้อยลง ทราบกันไหมอะไรประมาณนี้ แม่บอกให้อยู่ด้วยกันแล้ว คือถ้า โดยภาพรวมนะคะ มัธยมต้นก็มีลูกมีครอบครัวแล้ว จบ ม.6 จูง ไม่ให้อยู่ด้วยกันไม่ยอมมาโรงเรียนไงคะ มีการต่อรอง แล้วก็ ลูก 3 ขวบมาสวัสดีครู ครูมองว่าการศึกษาของพ่อแม่ส่วนหนึ่ง บางคนถูกหลอก ครูเคยไปประกันลูกศิษย์กรณีผู้หญิงชวนขึ้น พ่อแม่ขาดความอบอุ่น มันเหมือนวัฏจักร พ่อแม่มีลูกตอนอายุ ข้างบน พ่อแม่ผู้หญิงก็แจ้งความจะขอเงิน ซึ่งผู้ชายก็บอกว่า น้อย มีลูกเพราะพลาดพลั้ง ความรู้ในการอบรมเลี้ยงดูก็ไม่มาก ผมก็ ขึ้ น ไปเป็ น ประจ� ำ รู ้ จั ก พ่ อ แม่ กั น มี อ ยู ่ วั น หนึ่ งเขาไปแจ้ง ฉะนั้นลูกก็ซึมซับสิ่งเหล่านี้ไว้ในตัวเองอยู่แล้ว เด็กที่เสียหาย ความจับ แบบนี้ก็มี จ�ำนวนมาก พอเห็นพ่อแม่เขาแล้วเราก็เข้าใจเขา เพราะเขาเกิด มาในสภาวะอย่างนั้น 33 issue 123 APRIL 2018


จิตส�ำนึกข้างในของแต่ละคนด้วยเหมือนกัน เขาไม่มีพ่อแม่แต่ เขารักของเขา เขาก็จะประคองตัวได้ดี ความรักนี่แหละค่ะช่วย ขัดเกลาได้ทุกอย่าง ถ้าเขาไม่มีพ่อแม่ให้รัก เขาก็ต้องหันมารัก ปู่ย่าหันมารักครู ครู มี มุ ม มองในความหมายของค� ำ ว่ า “ครู ” อย่ า งไร ? ในความหมายของเราเอง ครูคือคนเสียสละนะ เพราะ ตอนเด็ ก ๆ เราอยู ่ ใ กล้ ค รู ต ลอด ตั้ ง แต่ ป ระถมฯ มั ธ ยมฯ มหาวิทยาลัย ทุกระดับชั้นก็จะมีครูอยู่ในใจเสมอ ครูทุกคนที่ เราเจอท่านเสียสละ บางทีเสียสละเวลาในครอบครัว ต้องแบ่ง เวลามาให้เด็ก เขาก็มีครอบครัวเขานะคะ มีลูกต้องดูแล มีพ่อ แม่ที่ต้องคอยเอาใจ แต่เขาก็ยังเสียสละให้เด็ก ถ้าครูที่แท้จริง ทุกๆ ค�ำที่พูดกับเด็กก็จะให้ข้อมูลความรู้คุณธรรมแก่เด็ก ถ้าเด็ก จับใจความได้เด็กก็จะเอาไปใช้ได้ อย่าเบื่อเสียก่อน ฝากถึ ง เด็ ก และเยาวชน ? เด็กๆ เยาวชนต้องมีความรักมีความกตัญญู รักตัวเอง รักผู้ปกครองพ่อแม่ รักชุมชนของตัวเอง รักประเทศชาติ ต้อง มีความรัก ความรักจะเป็นเครื่องหล่อเลี้ยงทุกสิ่งทุกอย่างใน สื่ อ โซเชี ย ลเรื่ อ งเพศสั ม พั น ธ์ มั น ก็ มี ใ ห้ เ ห็ น เป็ น เรื่ อ ง ชีวิตของตัวเอง ถ้าตัวเองปราศจากความรัก ไม่รักตัวเอง ท�ำให้ ธรรมดา เด็ ก เห็ น ก็ อ ยากรู ้ อ ยากลอง มั น ก็ เ กิ ด เรื่ อ งอย่ า งนี้ ตัวเองเดือดร้อน ไปหาสิ่งที่เป็นอบายมุขทั้งหลาย ต้องรักที่จะ ทางครูแนะแนวก็พูดเรื่องการป้องกันเป็นเรื่องปกติ ต้องป้องกัน พัฒนาตัวเองให้มีความรู้ รักตัวเองให้มีอาชีพที่ตัวเองชอบ และ นะสมมุติว่ามันเป็นเหตุจ�ำเป็นของเธอ เราก็รู้ว่าเราห้ามไม่ได้ เรา รักที่จะท�ำตัวเองให้เข้มแข็งที่จะเลี้ยงดูคนอื่นได้ ต้องมีประโยชน์ ก็สอนวิธีป้องกัน วิธีการปลีกตัวออกจากภาวะตรงนั้น ไปสอง ต่อคนอื่นด้วย อย่าเห็นแก่ตัว อย่ารักแต่ตัวเอง ต้องรักทั่วๆ ไป คนดีไหม ชวนเพื่อนไปไหม ชวนไปท�ำกิจกรรมข้างนอกดีไหม มีความรักแจกจ่ายไปทุกวัน แล้วทุกคนก็จะมีความสุข แล้วมัน แล้วโครงการของมูลนิธิครอบครัวพอเพียงที่ให้ไปท�ำจิตอาสา ก็จะกลับมาหาเราเอง ทั้งหลายครูให้เด็กไปหมดเลย เพราะมันคือการใช้เวลาของเขา ที่จะป้องกันเรื่องพวกนี้ได้บางส่วน เด็ ก สมั ย ก่ อ นจะผู ก พั น กั น มากกว่ า นี้ สมั ย ที่ ยั ง ไม่ มี โลกโซเชี ย ลและห้ า งสรรพสิ น ค้ า มากมายอย่ า งนี้ ใคร สื่ อ โซเชี ย ลฯ มี ผ ลต่ อ การเรี ย น ? เกเรมาจากไหนก็ ม านอนกลิ้ ง กั น อยู ่ ที่ เ รื อ นเกษตร แล้วแต่เด็กจะคิด แล้วแต่เขามีเหตุผลที่เขาจะคิดไหม แต่ หุ ง ข้ า วปลู ก ผั ก กั น ท� ำ กั บ ข้ า ว มี อ ะไรก็ กิ น อั น นั้ น จึ ง ข้อส�ำคัญคือตัวเขาเองที่จะเป็นคนบอกว่ามันเหมาะมันควรอยู่ เป็ น โอกาสให้ เ ราได้ อ บรมเขา สอนเขา แค่ไหน ซึ่งการที่เขาจะคิดได้รึเปล่าส่วนหนึ่งก็มาจากครอบครัว และครู อย่างตัวครูเองเป็นเด็กที่พ่อแม่ไม่มีเวลา แต่เรากลับ อยากไปอยู่ใกล้ๆ คุณครู อยากอยู่ใกล้หนังสือ มันเป็นสิ่งที่อยู่ ข้างในตัวเราเอง เราเปรียบกับตัวเราเองนะ เพราะเราก็อยู่ใน ครอบครัวที่ไม่มีเวลาเหมือนกัน มัวแต่ท�ำมาหากิน แต่เพราะ เรารักพ่อแม่ไงคะ ต้องกตัญญู เราไม่ท�ำให้เขาเสียใจ เราคิด ของเราเอง ครูก็พบเด็กหลายคนที่มาจากครอบครัวที่ไม่อบอุ่น อยู่กับย่าอยู่กับยายอยู่กับตา แต่เขาก็ไม่เสียคน มันขึ้นอยู่กับ 34 IS AM ARE www.fosef.org


ประโยชน์ จ ากน�้ ำ มั น เมล็ ด ชา • มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง และมีกรดไขมันอิ่มตัวต�่ำ • ช่วยลดระดับ LDL (คอเรสเตอรอลชนิดไม่ดี) และเพิ่ม ระดับ HDL (คอเรสเตอรอลชนิดดี) • ลดความเสี่ยงในการเกิดหลอดเลือดตีบตัน ความดัน เบาหวาน และโรคหัวใจ • ดีต่อผู้รักสุขภาพ ผู้สูงอายุ และผู้มีภาวะน�้ำหนักเกิน

ร่ า งกายของเราจ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้ ไขมั น เพื่ อ เป็ น แหล่ ง พลังงานของร่ายกาย ดังนั้นการเลือกบริโภคไขมันจึงเป็นการ เลือกแหล่งพลังงานของร่างกาย ไขมันมีทั้งไขมันชนิดดี และ ไขมันชนิดร้าย น�้ำมันพืชที่มีไขมันไม่อิ่มตัวแบบเดี่ยวสูง จัดเป็นน�้ำมัน ชนิด “ดีพิเศษ” น�้ำมันเหล่านี้ช่วยลดคอเลสเตอรอลชนิดร้าย (LDL) และเพิ่มคอเลสเตอรอลชนิดดี (HDL) ซึ่งช่วยท�ำความ สะอาด หรือเก็บขยะ (คราบไขมัน) จากผนังเส้นเลือด

35 issue 123 APRIL 2018


ค่ า ยสื บ สานพระราชปณิ ธ าน Friend’s Camp 2018 มูลนิธิครอบครัวพอเพียง จัดกิจกรรม “ค่ายสืบสานพระราชปณิธาน Friend’s Camp at Bangkok 2018” โดยมีนักเรียน ตัวแทนจากโรงเรียนต่างๆ ทั้ง 76 จังหวัด เข้าร่วมจ�ำนวน 92 โรงเรียน กว่า 300 คน เพื่อร่วมเรียนรู้ สืบสานพระราชปณิธานศาสตร์ พระราชา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และศึกษาดูงาน โครงการส่วนพระองค์ ณ สวนจิตลดา และเที่ยวชมสถานที่ ส�ำคัญรอบเกาะรัตนโกสินทร์ ในวันที่ 9-11 เมษายน 2561 ณ โรงเรียนสตรีวิทยา

36 IS AM ARE www.fosef.org


37 issue 123 APRIL 2018


กิ จ กรรม “Walk Rally เราท� ำ ความดี ด ้ ว ยหั ว ใจ” มูลนิธิครอบครัวพอเพียง จัดกิจกรรม “Walk Rally เราท�ำความดีด้วยหัวใจ” โดยมีนักเรียนตัวแทนจากโรงเรียนต่างๆ ทั่ว ประเทศเข้าร่วมกิจกรรมจ�ำนวนกว่า 300 คน เพื่อเรียนรู้ สืบสานพระราชปณิธานศาสตร์พระราชา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงผ่านกิจกรรม Walk Rally ณ สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2561

38 IS AM ARE www.fosef.org


39 issue 123 APRIL 2018


การนำ�ความรู้ ไปใช้ ของผู้เข้ารับการอบรม

จากอุทยานการอาชีพชัยพัฒนา จังหวัดนครปฐม การติดตามและประเมินผล เรื่อง รศ.ดร.อุมา สุคนธมาน ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษา มูลนิธิชัยพัฒนา ภาพ ทีมช่างภาพสำ�นักงานมูลนิธิชัยพัฒนา

40 IS AM ARE www.fosef.org


ความเป็นมาของอุทยานฯ : เปิดโครงการสูช่ มุ ชน

จากการทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากท่านเลขาธิการมูลนิธชิ ยั พัฒนา ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ให้เข้ามาเป็นหนึ่งในคณะท�ำงานด�ำเนิน โครงการสู่ชุมชนที่ยังไม่ได้ขอพระราชทานชื่อ ต่อมาสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทาน ชื่อว่า “อุทยานการอาชีพชัยพัฒนา จังหวัดนครปฐม” โดยในระยะแรกได้เน้นไปทีง่ านวิชาการเป็นหลัก นับตัง้ แต่กรกฎาคม ปี 2548 ซึ่งเป็นเวลานานทีเดียว เพราะแต่ละขั้นตอนนับแต่การน�ำเสนอโครงการฯ การมี

พระราชานุมัติโครงการฯ และงบประมาณ การก่อสร้างอาคารหลายหลัง และการออกแบบ ภูมิทัศน์ในบริเวณเนื้อที่ประมาณ 35 ไร่ ซึ่งอาจารย์คมคาย นิลประภัสสร เป็นผู้น้อมเกล้าฯ ถวายที่ดิน และการด�ำเนินกิจกรรมวิชาการตามวัตถุประสงค์ที่ก�ำหนดไว้ รวมทั้งการที่จะท�ำให้ ชุมชนนครปฐมรับทราบ และเข้าใจโครงการฯ มีส่วนร่วมกับอุทยานการอาชีพชัยพัฒนาฯ ล้วน แล้วแต่ตอ้ งใช้เวลาทัง้ สิน้ ทุกอย่างได้ดำ� เนินการอย่างเป็นขัน้ เป็นตอน มีระบบการบริหารจัดการ ทีด่ ดี ว้ ยความรอบคอบ ความพอเพียงและความมุง่ มัน่ ของคณะท�ำงานทีจ่ ะให้โครงการฯ ประสบ ผลส�ำเร็จตามเจตนารมณ์ที่วางไว้ ต่อไปจะขอเล่าถึงเฉพาะในส่วนงานวิชาการที่รับผิดชอบ เมื่อได้คิดกรอบงานของ โครงการฯ และขณะนั้นอยู่ในระหว่างการด�ำเนินการก่อสร้างซึ่งใช้เวลานานถึงเกือบ 5 ปี ท�ำให้ นึกถึงค�ำที่ท่านเลขาฯ กล่าวไว้ว่า “ถึงการก่อสร้างยังไม่เสร็จ แต่อาจารย์ก็สามารถท�ำการ อบรมไปก่อนได้ เป็นการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการฯ และให้ชาวนครปฐมได้ความรู้ ตามความต้องการของเขาไปด้วย” นี่จึงเป็นที่มาของการอบรมหลักสูตรระยะสั้นซึ่งเป็นหนึ่ง ในกิจกรรมวิชาการ ซึ่งได้รับความสนในเป็นอย่างมากในเวลาต่อมา การอบรมหลักสูตรระยะสั้นจัดให้มีขึ้นครั้งแรกเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2549 จนถึงปี พุทธศักราช 2554 โดยได้รับความช่วยเหลือจาก ดร.โชคชัย เดชอมรธัญ ซึ่งเป็นนายอ�ำเภอเมือง ขณะนั้น ได้เอื้อเฟื้อสถานที่ อ�ำนวยความสะดวกทุกอย่าง ช่วยประชาสัมพันธ์โครงการฯ และได้ ช่วยให้ข้อมูลแนะน�ำจังหวัดนครปฐมเป็นอย่างดีเยี่ยม เป็นเช่นนี้ตลอดการด�ำเนินกิจกรรมอย่าง ต่อเนื่องเป็นเวลา 5 ปี ฝ่ายวิชาการได้จัดการอบรมในระยะเวลาดังกล่าว มีผู้อบรม 874 คน ผู้ศึกษาดูงานโครงการพระราชด�ำริ 129 คน และการฟังบรรยายวิชาการ 1,743 คน รวมผู้ เข้าร่วมกิจกรรมวิชาการ จ�ำนวนทั้งสิ้น 2,746 คน

กิจกรรมวิชาการเต็มรูปแบบ : เดินหน้าสู่ความเป็นเลิศ นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 จนถึงปัจจุบันในปี พ.ศ. 2559 เป็นช่วงเวลาที่โครงการฯ ได้ เปิดตัวแล้ว ข้าพเจ้าต้องชื่นชมเจ้าหน้าที่ฝ่ายวิชาการ และผู้บริหารโครงการฯ ที่ได้มุ่งมั่นท�ำงาน อย่างเต็มความสามารถให้กิจกรรมวิชาการส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี เป็นที่น่าพอใจยิ่ง 41 issue 123 APRIL 2018


โดยสรุปงานวิชาการทั้งหมดนับตั้งแต่เริ่มเปิดอบรมปี 2549 ถึงปัจจุบัน มีผู้เข้าอบรมซึ่งถือว่าเป็นศิษย์โครง การฯ จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 19,761 คน อบรมหลักสูตรระยะสั้น 486 ครั้ง บรรยายวิชาการ 37 ครั้ง และการศึกษาดูงาน 44 ครั้ง โดยมีสถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่มีชื่อเสียงจ�ำนวน 36 แห่ง ให้ความอนุเคราะห์วิทยากรในการอบรม ซึ่งในการ ประเมินผลได้รับการจัดล�ำดับความพึงพอใจสูงที่สุด และแน่นอนที่สุด สิ่งที่จะขาดไม่ได้หลังจบการอบรมก็คือ การติดตามและประเมินผลการน�ำความรู้ไปใช้ ค�ำถาม คือ ได้ประโยชน์อะไร? ตัวอย่างและข้อคิดที่จะตอบค�ำถามได้ในระดับหนึ่งคือ จากผลการศึกษาโดย รศ.นท.ดร.สุมิตร สุวรรณ คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน เรื่อง “การติดตามและ ประเมินผลการน�ำความรู้ไปใช้ของผู้เข้ารับการอบรมจากอุทยานการอาชีพชัยพัฒนา จ.นครปฐม (พ.ศ.2557)”

ผลจากการติดตามและประเมินผล : ประเด็นขบคิด ประการแรก จากการอบรม 90 ครั้ง ผู้อบรม 1,381 คน ตอบแบบประเมินผลว่ามีความพึงพอใจการให้บริการ โดยรวมทั้งหมดอยู่ในระดับมากที่สุด ถ้าแยกรายการตามล�ำดับจะพบว่า วิทยากร สภาพแวดล้อมอุทยานฯ การต้อนรับ ด�ำเนินการของเจ้าหน้าที่ ห้องอบรม และความสะอาดของห้องน�้ำ อยู่ในระดับมากที่สุดเช่นกัน นอกจากนั้นได้ให้ข้อเสนอ

การน�ำความรู้ไปใช้

รายได้ต่อเดือน

การประกอบอาชีพหลัก เช่น

การท�ำวุน้ สายรุง้ ซูชิ ลูกชุบ เค้กนมสด เค้กส้ม ชีส พาย ช็อคโกแลต ขนมเทียน ขนมเข่ง ทองเอก ขนมจีบ ช่อ ม่วง น�ำ้ พริกน�ำ้ ยา ขาหมูพะโล้ ห่อหมก หมีก่ ะทิ เกษตร ปลอดสารพิษ เกษตรผสมผสาน เป็นต้น

6,000 – 30,000 บาท

การประกอบอาชีพเสริม เช่น

การท�ำโบว์ตดิ ผมหรือติดห่อของขวัญ ขนมเปีย๊ ะ ขนมกุหลาบ เค้กส้ม เค้กช็อคโกแลตหน้านิม่ ชิฟฟ่อน มะพร้าวอ่อน ขนมกล้วย ขนมฟักทอง ขนมชัน้ วุน้ กะทิ ไส้กรอกปลาแนม น�ำ้ สมุนไพร สลัด ออกแบบโลโก้สนิ ค้า ก๋วยเตีย๋ วลุยสวน เกษตรปลอดสารพิษ เกษตรผสมผสาน ปุย๋ หมักชีวภาพ เป็นต้น

การด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน

การถ่ายทอดความรูใ้ ห้แก่นกั เรียน นักศึกษา ญาติพี่ น้อง และเพือ่ นบ้าน การประกอบอาหารรับประทานใน ครอบครัวและมิตรสหาย 42 IS AM ARE www.fosef.org

3,000 – 10,000 บาท

ไม่มีรายได้ ลดรายจ่าย ถือเป็นการออมอีกทางหนึ่ง


แนะที่เป็นประโยชน์ต่อการอบรมซึ่งจะได้น�ำไปปรับปรุง หลักสูตรต่อไป ประการทีส่ อง จากการสัมภาษณ์ผทู้ นี่ ำ� ความรูไ้ ป ใช้จ�ำนวน 30 คน พบว่ามีรายได้ต่อเดือนโดยการประกอบ อาชีพหลัก อาชีพเสริม และการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน (ดัง ตาราง) จากข้อสงสัยของหลายท่านที่ถามว่า หากลงทุน อบรมไปมากมายแล้ว ผู้อบรมได้น�ำไปประกอบอาชีพหลัก หรือต่อยอดอาชีพหลัก ประกอบอาชีพเสริมจ�ำนวนไม่มาก และไม่เป็นไปตามเป้าหมายเท่าที่ควร ส่วนมากจะเป็นการ ด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน แล้วจะได้อะไรเล่า? จากค�ำถามดังกล่าว บางทีข้อสังเกตและข้อเสนอ แนะจากงานวิจัย อาจเป็นแนวทางให้ผู้ข้องใจได้คิดในอีกแง่ มุมหนึง่ และเกิดความกระจ่างแจ้งในประโยชน์ทพี่ งึ จะได้รบั

ด้วยเหตุนี้ จึงเสนอแนะว่า ควรจะได้จดั การอบรม โดยลงพื้นที่ชุมชนที่มีความต้องการความรู้ไปต่อยอดอาชีพ หลักและประกอบอาชีพเสริมให้มากยิ่งขึ้น” ประการทีส่ าม จากผลการสัมภาษณ์ที่ข้าพเจ้า มองว่าเป็นสุดยอดของประโยชน์ที่ผู้อบรมและโครงการ อุทยานฯได้รับคือ ความรู้สึกที่มีต่อโครงการอุทยานฯ สิ่งนี้ เป็นนามธรรมไม่สามารถจับต้องและนับได้ เฉกเช่นการน�ำ ความรูไ้ ปประกอบอาชีพทีม่ ผี ลตอบแทนเป็นเม็ดเงิน แต่เป็น สิ่งที่จะจรรโลงจิตผูกพันที่ผู้อบรมมีต่อโครงการฯ เป็นมิติที่ จะน�ำพาการมีส่วนร่วมและจิตสาธารณะของประชาชนไปสู่ การพัฒนาระยะยาวที่ยั่งยืนต่อไป ความรู้สึกของผู้อบรมที่มีต่อโครงการอุทยานการ อาชีพชัยพัฒนาฯ • ชืน่ ชม ชอบ และประทับใจมากในแนวพระราชด�ำริ ของพระองค์ทา่ น เป็นแนวพระราชด�ำริทเี่ มตตาต่อประชาชน ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมาก รู้สึกซาบซึ้งในพระมหากรุณา ธิคณ ุ ของพระองค์ทา่ นทีไ่ ด้จดั ให้มโี ครงการนีข้ นึ้ มา สร้างคน ให้ช่วยตัวเองได้จริง เป็นการแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ

“จากข้อมูลงานวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่ผู้อบรมได้ น� ำ ความรู ้ ไ ปใช้ ใ นการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ประจ� ำ วั น และการใช้ ประกอบงานประจ�ำที่ไม่ใช่เพื่อการค้าขาย เช่น การท�ำ อาหารรับประทานในครอบครัว การถ่ายทอดความรูใ้ นฐานะ วิทยากรให้แก่นักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป การให้ ความรู้แก่ญาติพี่น้องและเพื่อนบ้าน เป็นต้น รวมทั้งการใช้ เวลาให้เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ทั้งนี้กิจกรรมดัง กล่าวล้วนแล้วแต่เป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินชีวิตประจ�ำ วัน สอดคล้องกับเป้าหมายหนึง่ ของการอบรมหลักสูตรระยะ สั้นที่เน้น “คุ้มค่ามากกว่าคุ้มทุน” 43

issue 123 APRIL 2018


• เป็นโครงการที่ดีมาก สามารถน�ำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ประโยชน์ได้จริงในการ ประกอบอาชีพหลักหรืออาชีพเสริม ท�ำให้มีรายได้เพิ่มขึ้น • เปิดโอกาส ให้คนที่ไม่มีอาชีพทั้งแม่บ้าน ผู้สูงอายุ ผู้เกษียณอายุราชการและประชาชนทุก ระดับชั้น ได้มาเรียนรู้ ท�ำให้มีทางเลือกในชีวิตมากขึ้น • มีโอกาสได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ น่าสนใจในราคาค่าอบรมที่ไม่แพง เมื่อเทียบกับค่าอบรมที่อื่น โดย เฉพาะกลุ่มผู้สูงวัยที่ไม่ได้น�ำไปประกอบอาชีพใดๆ แต่ได้เรียนรู้การท�ำประโยชน์เพิ่มเติม ใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์ ตลอดจนสามารถน�ำไปท�ำอาหารรับประทานกันเองในครอบครัวและสามารถน�ำมาถ่ายทอดให้ แก่เพื่อนและญาติพี่น้อง เป็นการลดรายจ่ายไปในตัว ท�ำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอีกมาก • ได้น�ำความรู้ไปสอนคนอื่นๆ ญาติพี่น้องและเด็กนักเรียนให้สามารถน�ำความรู้ไปต่อยอดท�ำ เองได้จริง มาเรียนรู้เพื่อประกอบอาชีพและคงเอกลักษณ์การท�ำอาหารไทย ได้อนุรักษ์อาหารคาวหวาน แบบโบราณ • โครงการฯ นี้ ได้ให้โอกาสแก่ผู้ที่ล�ำบาก เปิดกว้างให้แก่ทุกคนได้มีโอกาสเท่ากันหมด จัดอบรม ได้ครอบคลุมทุกอาชีพ จึงก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมากในระยะสั้นและระยะยาว อยากให้มีการอบรมอีก ได้ความรู้เป็นอย่างดี อยากให้มีโครงการดีๆ แบบนี้ตลอดไป และอยากให้จัดอบรมหลักสูตรต่างๆ นอก สถานที่เพื่อเป็นความรู้ในการต่อยอดอาชีพหลักและประกอบอาชีพเสริมให้กับชุมชนทั่วไป • มีความภาคภูมิใจเป็นอย่างมาก ที่มีส่วนร่วมในโครงการอุทยานการอาชีพฯ มีความรู้สึกที่ดี มากต่อวิทยากร สถานที่ การต้อนรับของเจ้าหน้าที่ และหลักสูตรการอบรมโดยได้คัดสรรและจัดการความ รู้ที่มีประโยชน์และสามารถน�ำไปใช้ในการประกอบอาชีพ และการด�ำเนินชีวิตให้แก่ผู้อบรมได้

นับเป็นพระกรุณาธิคุณอย่างล้นพ้นแก่ชาวนครปฐมและประชาชนทั่วไป อย่างหาที่สุดมิได้

ขอจงทรงพระเจริญ 44 IS AM ARE www.fosef.org


Trainees’ Knowledge Application from Chaipattana Vocational Park Project A Monitoring and Evaluation Report Assoc. Prof. Dr. Uma Sukonthaman ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษา มูลนิธิชัยพัฒนา

45 issue 123 APRIL 2018


Background: A Project for the Community

In the beginning, I was delegated by Dr. Sumet Tantivejkul, Secretary-General of the Chaipattana Foundation, as member of a working group of a community project that did not yet have a title. Later, Her Royal Highness, Princess Maha Chakri Sirindhorn graciously named the project “Chaipattana Vocational Park Project, Nakhon Pathom.” Since 2005, we mainly emphasized planning and due process because there were many steps and protocols to follow, all of which re-

quired time to execute. First, the project’s terms of reference and budget needed to be prepared and submitted to HRH for approval. Then, it was time for construction of various buildings and facilities as well as landscaping on a 35 rai (13 acre or 5.6 hectare) of land donated by Assistant Professor Komkai Nilprapatsorn. Afterwards, we commenced training programs according to set objectives and promoted the project with the locals to gain their understanding and support. With the working group’s strong determination along with well-organized and prudent project management and adherence to the Sufficiency Economy philosophy, great results were achieved as aspired. Let me share with you about my personal responsibilities. After formulation of the project framework and subsequent construction which took almost 5 years, I could not help but recall the Secretary-General’s words, “Even if construction is incomplete, you can begin some classes. This way, you will also be promoting the project for the locals and receiving their feedback on training needs.” Short-term courses were thus initiated as part of the curriculum, receiving wide interests thereafter. Short-term courses were first held in November 2006 until 2011, with the support of Dr. Chokchai Detamorntan, the then district chief officer who, throughout the 5 years, graciously offered facilities, help and promotional support as well as provided us with excellent introduction to the province. As a result, we were able to provide short-term courses to 874 participants, gave study tours to 129 royal project enthusiasts, and lectured for 1,743 persons – resulting in a total of 2,746 beneficiaries.

Full Academic Training: Moving Towards Excellence

Finally, the project officially launched in 2012. I must congratulate all the academic officers and project managers and officers for their full efforts and spirits that led to this satisfactory achievement. 46 IS AM ARE www.fosef.org


From 2006 – today, there were a total of 19,761 project trainees, 486 short-term courses, 37 lectures and 44 study visits. Up to 36 academic and non-academic institutions kindly contributed resources for the trainings, receiving the highest possible rating in our evaluation survey. An important element that cannot be overlooked when conducting trainings is the monitoring and evaluation process. How did the trainees apply the training? What benefits did they receive? A study by Assoc. Professor Commander Dr. Sumit Suwan, Faculty of Education and Development Sciences, Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus, on “Monitoring and Evaluating Knowledge Application of Trainees from Chaipattana Vocational Park Project”, 2014, may shed

some light on these questions.

Monitoring and Evaluation: Key Lessons

Lesson 1: From a total of 90 classes and 1,381 trainees, the survey indicates that the highest proportion of respondents was highly satisfied (top rating) with the project. Disaggregated data also shows that trainees were highly satisfied with trainers, facilities, reception and training staff and restroom cleanliness. Other useful feedback received would be acted upon to further improve training courses. Lesson 2: From an interview of 30 trainees on application of knowledge, the followings can be observed.

Knowledge Application

Income/Month

Main occupation such as

Rainbow jelly, sushi, loog choop (mung bean pastry), milk cake, orange cake, cheese pie, chocolate, kanom tian (stuffed dough pyramid), kanom keng (Chinese sweet steamed dough), tong ek (wheat flour dumpling with egg yolk), cho muang (flower-shaped savory dumpling), Thai rice noodle sauces, stewed pork leg, hor mok (steamed fish with curry paste), coconut rice noodles, chemical-free farming and integrated farming.

6,000 – 30,000 baht

Part-time occupation such as

Hair ribbon and gift box ribbon making, kanom pia (Chinese mung bean cake), kanom kularb (rose-shaped sweet pastry), orange cake, moist chocolate cake, young coconut chiffon cake, steamed banana pudding, steamed pumpkin pudding, layer cake, coconut jelly, fermented fish sausages, herbal drinks, salad, logo design, spicy nice noodles with fresh herbs, chemical-free farming, integrating farming and bio-fertilizer making.

Daily lives

Knowledge sharing with school students, university students, relatives, neighbours and home cooking. 47 issue 123 APRIL 2018

3,000 – 10,000 baht

Reduction in expenses (a form of savings)


Many people may be wondering that if we make large investment on training but trainees mainly apply the skills in their daily lives instead of generating income, what good will it make? Research findings and recommendations may help answer this question. “The research found that most trainees apply the skills in their daily lives that are not related to sales and trade, for example, home cooking, on-training to others such as students and the general public, knowledge sharing with families and neighbours, and contributing to the communities. All these activities are beneficial to daily lives and in line with a short-term training goal ‘focus on the value of knowledge rather than the cost’. Thus, it is recommended that the project be expanded to include off-site training for communities with strong need for knowledge and skills for income generation.” Lesson 3: An interview finding that I believe is most valuable for both the trainees and the project is the positive feeling towards the project. This is an intangible benefit and cannot be turned into monetary value in the same manner that skills and knowledge can, but it encourages bond and engagement between the locals and the project which will, in turn, inspire a shared responsibility and commitment among people to contribute towards sustainable development in the long run. 48 IS AM ARE www.fosef.org


Trainees’ feedback on the project

• Highly impressed with His Majesty’s development concepts which was founded on his compassion for the people’s wellbeing. We are so grateful and indebted to His Majesty for this project. These useful trainings will help people make their living, solving the problem of development at the root cause. • Excellent project. We can practically apply the knowledge and skills in our main or part-time occupation, thereby earning more income. • Helps people with no jobs – housewives, elderlies, retirees and others – to gain knowledge and skills that will lead them to greater opportunities in life. • A chance to learn new and interesting skills while the fees are less expensive compared to other institutions. In particular, elderlies may not be able to apply these skills for income generation purposes but they can certainly put them to good use in their spare time, for instance, cooking for the family and knowledge sharing with family and friends. These activities will also help cut expenditure and improve quality of life. • On-training for relatives and students, allowing them to leverage the knowledge in making a living and preserving the unique wisdom in traditional Thai cooking. • Offers opportunities to those with hardship, allowing everyone equal opportunities for education and training in various disciplines, thereby generating benefits in both the 49 issue 123 APRIL 2018

short and long terms. The courses are very useful and further offers are highly encouraged especially off-site training courses for local communities in need of knowledge and skills for income generation. • Very proud to participate in the project’s activities. Very impressed with the trainers, facilities, reception staff and the courses which are very useful and applicable to both the trainees’ careers and daily lives.

Nakhon Pathom residents and the general public are truly blessed.

Long Live His Majesty.


สิ่งที่จัดว่าเป็ นศาสนสถาน

และที่เกี่ยวข้องกับศาสนสถาน (2) ด้ า นจิ ต รกรรม มี ป รากฏอยู ่ ใ นหลายวั ด ตั้ ง แต่ โ บราณมา ส่ ว นใหญ่ จ ะเขี ย นไว้ ฝ าผนั ง เพดานโบสถ์ แ ละวิ ห าร จึ ง นิ ย มเรี ย กว่ า จิ ต รกรรมฝาผนั ง ที่ เ ขี ย นไว้ ท่ี แ ผ่ น ผ้ า ที่ เ รี ย กภาพพระบฏก็ มี ที่ เ ขี ย นไว้ ที่ บ านกระจกใส่ กรอบแล้ ว ประดั บ ไว้ ต ามศาลาหรื อ บนช่ อ งหน้ า ต่ า งโบสถ์ ก็ มี จิ ต รกรรมเหล่ า นี้ มี ค วามวิ จิ ต รสวยงามแตก ต่ า งกั น ไปตามฝี มื อ ช่ า งแต่ ล ะคนแต่ ล ะถิ่ น ภาพจิ ต รกรรมเหล่ า นี้ บ ่ ง บอกถึ ง จิ ต ที่ ง ดงาม ภาพออกมาจึ ง งาม วิ จิ ต ร เพราะเกิ ด จากจิ ต ที่ วิ จิ ต รงดงามนอกจากนั้ น ยั ง ทรงคุ ณ ค่ า ทางวรรณคดี ด้ า นประวั ติ ศ าสตร์ ด้ า น คติ ธ รรมตลอดจนถึ ง ด้ า นวิ ถี ชี วิ ต ของผู ้ ค นในยุ ค นั้ น ๆ เพราะภาพที่ เ ขี ย นไว้ นั้ น ได้ บ ่ ง บอกหรื อ เล่ า เรื่ อ งราว ต่ า งๆ ไว้ อ ย่ า งแยบยล เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู ้ ที่ น ่ า สนใจเพราะสามารถสั ม ผั ส ได้ ด ้ ว ยตา บางวั ด เขี ย นเป็ น เรื่ อ ง พุ ท ธประวั ติ บางวั ด เขี ย นเป็ น เรื่ อ งในวรรณคดี เ ช่ น รามเกี ย รติ์ บางวั ด เขี ย นเป็ น ชาดก บางวั ด เขี ย นเป็ น วิ ถี ชี วิ ต องผู ้ ค น บางวั ด เขี ย นเล่ า เรื่ อ งราวที่ เ กิ ด ขึ้ น ในยุ ค นั้ น เช่ น สมั ย สงครามโลก 50 IS AM ARE www.fosef.org


สารานุ ก รมไทยส� ำ หรั บ เยาวชน ศิลปกรรมที่มีอยู่ตามวัดต่างๆ นั้นสะท้องถึงภูมิปัญญา ความละเอียดประณีตแห่งจิตใจและฝีมือ ความเสียสละ ความ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ตลอดถึงความศรัทธามั่นคงในพระพุทธ ศาสนาของผู้คนในถิ่นนั้นได้เป็นอย่างดี ประเภทของวั ด วัดในประเทศไทยมีสภาวะไม่แตกต่างไปจากคนและ สรรพสิ่งทั้งหลายในโลก คือ มีความเป็นอยู่อย่างปกติธรรมดา บ้างได้รับการยกย่องเชิดชูให้มีฐานะมีศักดิ์ศรีสูงกว่ากันบ้าง ยังด�ำรงความเป็นวัดอยู่คือยังเคลื่อนไหวท�ำกิจกรรมต่างๆ ได้ บ้าง หยุดการเคลื่อนไหว รกร้างว่างเปล่า หมดสภาพความ เป็นวัดไปบ้าง ดังนั้นจึงมีการแบ่งประเภทของวัดไว้หลายอย่าง ตามลักษณะที่เป็นไปของวัดนั้นๆ เช่น แบ่งตามฐานะ แบ่งตาม สภาวะ แบ่งตามกฎหมาย แบ่งตามฐานะ คือ แบ่งตามล�ำดับชั้นแห่งการยกย่อง หรือตามฐานานุศักดิ์ของผู้สร้างเป็นหลัก ด้วยการแบ่งแบบนี้ วัดมี ๒ ประเภท คือ (๑) วัดราษฎร์ คือ วัดที่ประชาชนทั่วไปช่วยกันสร้างขึ้น ไว้เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา เพื่อเป็นที่พ�ำนักอาศัยของพระสงฆ์ เพื่อท�ำพิธีกรรมประจ�ำหมู่บ้าน เป็นต้น ซึ่งก็คือวัดที่มีอยู่ทั่วไป วั ด หลวงหรื อ พระอารามหลวงเป็ น ได้ ด ้ ว ยการได้ รั บ ทั้งในเมืองและชนบท ส่วนใหญ่จะเป็นวัดขนาดเล็กหรือเป็นวัด สถาปนาโดยมีเกณฑ์ก�ำหนดเป็นพิเศษต่างหาก ซึ่งต้องประกอบ ที่ยังขาดความพร้อมสมบูรณ์พอที่จะยกฐานะให้สูงขึ้นได้ (๒) วัดหลวง คือ วัดที่เกี่ยวข้องกับพระเจ้าแผ่นดินใน ด้วยลักษณะอย่างน้อย ๓ ประการ คือ ๑. เป็นวัดที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง หรือพระราชวงศ์ ทางใดทางหนึ่ง จัดเป็นวัดพิเศษจากวัดราษฎร์ทั่วไป เรียกชื่อ ชั้นสูงสร้าง เต็มว่า พระอารามหลวง ๒. เป็ น วั ด ที่ พ ระเจ้ า แผ่ น ดิ น ทรงสนั บ สนุ น หรื อ ทรง อุปถัมภ์ให้พระราชวงศ์หรือข้าราชบริพารสร้าง ๓. เป็นวัดราษฎร์ที่ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นพระอาราม หลวงโดยได้ลักษณะตามกฎเกณฑ์การยกวัดราษฎร์ขึ้นเป็นพระ อารามหลวง ลักษณะวัดราษฎร์ที่สมควรยกเป็นพระอารามหลวงนั้น คือ จะต้องเป็นวัดที่มีเสนาสนะ ถาวรวัตถุ หรือมีปูชนียวัตถุ ที่เป็นโบราณสถานหรือโบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุ เป็นวัดที่มี การปกครองเป็นระเบียบเรียบร้อย มีการศึกษาและการเผยแผ่ พระพุ ท ธศาสนาเป็ น หลั ก ฐาน เป็ น วั ด ที่ มี ก ารพั ฒ นาและมี กิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชน มีพระสงฆ์จ�ำพรรษา ตั้งแต่ ๒๐ รูปขึ้นไปติดต่อกันเป็นเวลา ๕ ปี เป็นวัดส�ำคัญใน ท้องถิ่น หรือเป็นสถานที่ประกอบพิธีทางศาสนาของทางราชการ 51 issue 123 APRIL 2018


ศิ ล ป ก ร ร ม ที่ มี อ ยู ่ ต า ม วั ด ต ่ า ง ๆ นั้ น ส ะ ท ้ อ ง ถึ ง ภู มิ ป ั ญ ญาความละเอี ย ดประณี ต แห่ ง จิ ต ใจและฝี มื อ ความเสี ย สละ ความเป็ น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น ตลอด ถึ ง ความศรั ท ธามั่ น คงในพระพุ ท ธศาสนาของผู ้ ค นใน ถิ่ น นั้ น ได้ เ ป็ น อย่ า งดี

เป็นประจ�ำ หรือเป็นวัดส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ และต้องมีอายุ ๕๐ ปีขึ้นไป วัดหลวงมิใช่เพียงได้ชื่อเรียกพิเศษว่า “พระอาราม” เท่านั้นแม้ถาวรวัตถุภายในวัดที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้าโดยตรง เช่น เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป พระพุทธบาท พระบรม สารีริกธาตุ ไม่ว่าจะเป็น อุโบสถ วิหาร ระเบียง เจดีย์ เป็นต้น ก็ให้เติมค�ำว่า “พระ” น�ำหน้า เป็น พระอุโบสถ พระวิหาร พระ ระเบียง พระเจดีย์ เพื่อเป็นการยกย่องว่าเป็นถาวรวัตถุของพระ อารามหลวง แบ่ ง ตามสภาวะ คื อ แบ่ ง ตามสภาพความเป็ น จริ ง ของวัดนั้นเอง กล่าวคือ วัดนั้นมีพระภิกษุจ�ำพรรษาหรืออยู่ ประจ�ำหรือไม่ยังมีการท�ำกิจกรรมทางศาสนาเหมือนวัดทั่วไป หรือไม่ ด้วยการแบ่งแบบนี้ วัดมี ๒ ประเภท คือ (๑) วัดมีพระสงฆ์ หมายถึงวัดที่มีพระภิกษุจ�ำพรรษา หรือมีพระภิกษุอยู่อาศัยประจ�ำไม่ขาด แม้จะมีเพียงรูปเดียวก็ ยังเป็นวัดมีพระสงฆ์อยู่ หรือไม่มีพระสงฆ์อยู่ แต่ยังไม่มีประกาศ ให้เป็นวัดร้างก็ถือเป็นวัดมีพระสงฆ์อยู่เช่นกัน (๒) วัดร้าง หมายถึงวัดที่ไม่มีพระภิกษุอยู่จ�ำพรรษา หรือไม่มีพระภิกษุอยู่อาศัย และได้มีการประกาศให้เป็นวัดร้าง ตามกฎกระทรวงที่เกี่ยวด้วยเรื่องการยุบเลิกวัด ซึ่งได้รับความ

เห็นชอบจากมหาเถรสมาคมแล้ว หากยังไม่มีประกาศให้เป็น วัดร้าง แม้จะไม่มีพระภิกษุอาศัยอยู่เป็นเวลาหลายปี ก็ยังไม่มี ชื่อว่าเป็นวัดร้าง วัดที่มีประกาศให้เป็นวัดร้างแล้ว แต่ยังไม่มีประกาศ ให้ยุบเลิก หากมีพระภิกษุมาอยู่จ�ำพรรษาในวัดนั้นติดต่อกัน ก็ สามารถท�ำเรื่องขอยกวัดร้างขึ้นเป็นวัดมีพระสงฆ์ได้ไหม่ โดยมี ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการนี้โดยเฉพาะ ส่วนวัดร้างที่มีประกาศให้ยุบเลิกวัดแล้วก็เป็นอันสิ้นสุด ความเป็นวัด ทรัพย์สินของวัดร้างนั้นให้ตกเป็นศาสนสมบัติกลาง และไม่สามารถขอยกเป็นวัดมีพระสงฆ์ได้อีก แบ่งตามกฎหมาย คือ แบ่งตามพระราชบัญญัติ ซึ่ง แต่เดิมพระราชบัญญัติลักษณะปกครองสงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑ (พ.ศ. ๒๔๔๕) ก�ำหนดไว้ว่า “มาตรา ๕ วัด ก�ำหนดตามพระราชบัญญัตินี้เป็น ๓ 52

IS AM ARE www.fosef.org


อย่าง คือ พระอารามหลวงอย่าง ๑ อารามราษฎร์อย่าง ๑ ที่ ส�ำนักสงฆ์อย่าง ๑ พระอารามหลวง คือ วัดที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง หรือทรงพระกรุณาโปรดให้เข้าจ�ำนวนในบัญชีนับว่าเป็นพระ อารามหลวง อารามราษฎร์ คือวัดซึ่งได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา แต่มิได้เข้าบัญชีนับว่าเป็นวัดหลวง ที่ ส� ำ นั ก สงฆ์ คื อ วั ด ซึ่ ง ยั ง มิ ไ ด้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมา” ในสมัยปัจจุบัน ถือตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ซึ่งก�ำหนดไว้ว่า“มาตรา ๓๑ วัดมีสองอย่าง คือ (๑) วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา (๒) ส�ำนักสงฆ์ ให้วัดมีฐานะเป็นนิติบุคคล เจ้าอาวาสเป็นผู้แทนของวัดในกิจการทั่วไป” วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา หมายถึง วัดที่ได้ รับพระราชทานที่ดินที่แยกต่างหากจากที่ดินของบ้านเมือง ซึ่ง เป็นเขตที่พระเจ้าแผ่นดินพระราชทานแก่สงฆ์เป็นการเฉพาะ โดยเป็นประกาศพระบรมราชโองการ ที่ดินที่พระราชทานในลักษณะนี้เรียกว่า วิสุงคามสีมา ซึ่งจะมีเครื่องหมายเป็นเครื่องบอกเขต เครื่องหมายนี้เรียกว่า นิมิต และภายในเขตนี้นิยมสร้างโรงอุโบสถหรือโบสถ์ไว้ส�ำหรับ ท�ำสังฆกรรมของพระสงฆ์ เมื่อวัดได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาและผ่านวิธีการ ตามพระวินัยที่เรียกว่า ผูกสีมา หรือที่นิยมเรียกกันว่า ผูกพันธ สีมา หรือ ฝังลูกนิมิต แล้วเป็นวัดที่สมบูรณ์ท�ำสังฆกรรมทุก อย่างได้ โดยทั่วไปวัดประเภทนี้มีอุโบสถ ส�ำนักสงฆ์ คือ วัดที่ยังมิได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา แต่ได้รับอนุญาตตั้งเป็นวัดถูกต้องตามกฎหมายเป็นนิติบุคคล เช่นเดียวกับวัดที่ได้รับวิสุงคามสีมาแล้ว ได้รับการขึ้นทะเบียน ว่าเป็นวัดในพระพุทธศาสนาของทางการ และมีพระภิกษุอยู่ อาศัยประจ�ำเหมือนวัดทั่วไป แต่ยังท�ำสังฆกรรมบางอย่าง เช่น ให้การอุปสมบทไม่ได้ ค�ำว่าส�ำนักสงฆ์คนทั่วไปมักเข้าใจว่าเป็นที่พ�ำนักอาศัย ของภิกษ์สามเณร ซึ่งยังมิได้รับอนุญาตตั้งเป็นวัดตามกฎหมาย โดยดูจากการที่ไม่มีโบสถ์ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง ความจริงสถานที่ที่พ�ำนักอาศัยของพระภิกษ์สามเณร ซึ่งยังมิได้รับอนุญาตตั้งเป็นวัดนั้น มีชื่อเสียงเฉพาะต่างหากว่า ที่พักสงฆ์ มิใช่ ส�ำนักสงฆ์ ที่พักสงฆ์ยังมิได้เป็นวัดจึงไม่มีสิทธิใช้ ค�ำว่าวัดหรือค�ำว่าส�ำนักสงฆ์น�ำหน้าชื่อเหมือนวัด ๒ ประเภท ข้างต้น ที่ได้รับอนุญาตถูกต้องแล้ว 53 issue 123 APRIL 2018


พระมหากษัตริยนักพัฒนา

่ น (2) ทรงน�ำสัจธรรมพัฒนาไทยอย่างยังยื 1.1 ภู มิ สั ง คม : ดิ น น�้ ำ ลม ไฟ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงยึดว่า จะพัฒนา อะไร หรือท�ำการสิ่งใด ให้ยึดหลักส�ำคัญคือความสอดคล้องกับภูมิ สังคม คือค�ำนึกถึงสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม หมาย ถึงรวมถึงคนซึ่งย่อมมีขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเชื่อ และ วิถีชีวิตที่แตกต่างกันตลอดจนควรตระหนักถึงอัตลักษณ์และ ภูมิปัญญาในท้องถิ่นนั้นๆ ด้วย ดังแนวพระราชด�ำริดังนี้

• ภู มิ คื อ สภาพแวดล้ อ ม ที่ อ ยู ่ ร อบๆ อั น ได้ แ ก่ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือ ดิน น�้ำ ลม ไฟ และ สังคม คือมนุษย์ที่อยู่ในสภาพแวดล้อม เนื่องจากสภาพภูมิประเทศย่อมแตกต่างกัน เช่น ทาง เหนือเป็นภูเขา ทางใต้เป็นพรุ ภาคกลางเป็นที่ราบลุ่ม ส่วนอีสาน เป็นที่ราบสูง เป็นต้น และที่ส�ำคัญคือ “คน” ที่อยู่ในพื้นที่ต่าง กันย่อมคิดตัดสินใจต่างกันไปตามวัฒนธรรม ค่านิยม สิ่งแวดล้อม 54

IS AM ARE www.fosef.org


สั จ ธรรมแห่ ง แนวพระราชด� ำ ริ ประเพณี และการอบรม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงทรง ยึดหลักว่า จะพัฒนาอะไรหรือท�ำการสิ่งใด ให้ยึดหลักความ สอดคล้องกับภูมิสังคมเป็นส�ำคัญ เกี่ยวกับหลักการภูมิสังคมดังกล่าว ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา ได้ให้สัมภาษณ์อธิบายความหมาย อย่ างชั ด เจนไว้ในเรื่อง “พระบาทสมเด็จพระเจ้ า อยู ่ หั ว กั บ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ” ในหนังสือ “การทรง งานพัฒนาประเทศของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” ความ ตอนหนึ่งว่า “พระองค์ทรงสรุปให้ฟังในวันหนึ่งว่า ต้องเคารพภูมิ สังคม ภูมิ คือ ดิน น�้ำ ลม ไฟ ส่วนสังคม คือ คน ซึ่งเป็นคนใน มิติที่มีขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ และค่านิยมของเขา ด้วย พระองค์ทรงสอนให้เรารอบรู้หมดทุกอย่างในการท�ำงาน เช่น เวลาท�ำโครงการเราคิดแต่จะวางโครงการบนแผ่นกระดาษ เท่านั้น แต่เมื่อได้ถวายงานจึงได้เรียนรู้ว่า กิจกรรมหรือโครงการ นี้จะต้องมีครบทุกมิติแต่ก่อนเราดูแต่มิติกายภาพ ดูเป็นถนน เป็นสะพาน เป็นตึกอาคาร เราดูเพียงแค่นั้น แต่พระองค์ทรง สอนให้เห็นถึงมิติของคน หรือความจริงที่ว่า “คน” คือผู้ใช้ ถนน เป็นสิ่งมีชีวิต คนใช้เขาพร้อมจะใช้หรือเปล่าการไปลาด ยางถนนในขณะที่เขาใช้เกวียนเป็นพาหนะอยู่ ถ้าลาดยางแล้ว เขาจะใช้หรือเปล่า เหมาะสมหรือไม่ เพราะฉะนั้น ทรงสอนให้ มิติต่างๆ อย่างครบถ้วน เวลาท�ำงานพัฒนาจึงพัฒนาต้องมอง ทุกมิติทุกอย่างต้องวางให้สอดคล้องกับภูมิประเทศและสังคม ที่แตกต่างกันไป” • ศึกษาและพัฒนาโดยยึดปัญหาและสภาพแวดล้อม ของแต่ ล ะพื้ น ที่ เ ป็ น หลั ก แก้ ไขปั ญ หาให้ ส อดคล้ อ งสั ม พั น ธ์ กับลักษณะภูมิประเทศ สภาพเศรษฐกิจ และสังคม ค�ำนึงถึง “คน” ซึ่งย่อมมีขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ และวิถี ชีวิตที่ต่างกัน ทรงยึ ด ถื อ สภาพความเป็ น จริ ง ของภู มิ ป ระเทศและ สั ง คมวิ ท ยาเกี่ ย วกั บ ประชาชนในพื้ น ที่ พั ฒ นาเป็ น หลั ก ด้ ว ย ทรงมีหลักว่า การด�ำเนินงานใดก็ตาม ต้องค�ำนึงถึงประชาชน ในท้องถิ่นก่อนเพราะประชาชนเหล่านี้เป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบ จากการด�ำเนินงาน ทั้งในแง่การเป็นผู้ใช้และการด�ำเนินชีวิต ดังนั้น จึงต้องเรียนรู้ศึกษาสภาพของธรรมชาติในแต่ละพื้นที่ที่ แตกต่างกัน เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้และลึกซึ้ง ซึ่ง จะช่วยเป็นหนทางน�ำไปสู่การวางแผนด�ำเนินงานที่สอดคล้อง และตอบสนองความต้องการของราษฎรในชุมชนและประสบ ผลส�ำเร็จ กล่าวคือ ก่อนที่ลงมือพัฒนาจะต้องสามารถตอบ

ค�ำถามที่เกี่ยวข้องกับสภาพภูมิประเทศ และวิถีชีวิตของผู้คน ในสังคมในแต่ละท้องที่ให้ได้เสียก่อน นับเป็นตัวก�ำหนดหลัก ที่จะต้องน�ำมาพิจารณาและน�ำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการ พัฒนา ค�ำตอบของค�ำถามเหล่านี้จะเป็นหลักการส�ำคัญของ การพัฒนาพื้นที่ตามแนว พระราชด�ำริได้อย่างเหมาะสมกับ สภาพภูมิประเทศ และด้วยความร่วมมืออันดีของประชาชน ซึ่ ง ก็ จ ะบรรลุ เ ป้ า หมายที่ ว างไว้ ไ ด้ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ ใ นที่ สุ ด ดั ง พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ความตอนหนึ่งว่า “…ในการที่ จ ะน� ำ หลั ก วิ ช าที่ ไ ด้ เ ล่ า เรี ย นไปใช้ เ พื่ อ ประกอบกิจการงานต่อไปนั้น ควรจะค�ำนึงถึงสภาพความเป็น อยู่ของท้องที่ และถึงผลสะท้อนอันอาจเกิดมีขึ้นโดยเฉพาะใน ประการต่างๆ จะได้เป็นหลักประกันว่า กิจการงานที่จะท�ำขึ้น นั้นได้พิจารณาศึกษาโดยรอบคอบในทุกๆ ด้านแล้ว ชอบด้วย หลักปฏิบัติที่เหมาะสมกับสภาพและความต้องการของประเทศ เรา...” • ตระหนักและเคารพในอัตลักษณ์ ของแต่ละสังคมและ ภูมิภาค รวมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีคุณค่า 55

issue 123 APRIL 2018


เป็นการระเบิดจากข้างในหรือประสงค์ที่จะร่วมด�ำเนินการนั้น เอง จึงจะเป็นการสร้างความเข็มแข็งให้ชุมชนได้อย่างแท้จริง โดยหากได้ผลดีแล้วจึงขยายผลออกไปในวงกว้างต่อไป ดังแนว พระราชด�ำริ ดังนี้ • สร้างความเข็มแข็งให้คนในชุมชนที่เข้าไปพัฒนา ให้ มีสภาพพร้อมที่จะรับการพัฒนา เมื่อคนในชุมชนพร้อมแล้ว จะระเบิดความพร้อมภายในที่มีอยู่ข้างในตนเอง ทั้งความคิด ความร่วมมือ ความสามัคคี ออกมาพัฒนา สร้างความเข้มแข็ง ของชุมชนได้เอง นอกจากนี้ หากประชาชนไม่ต้องการอย่าไป ยัดเยียดอะไรให้ ดังเช่นการด�ำเนินงานโครงการต่างๆ ให้แก่ ประชาชนนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทาน พระราชด�ำริแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอยู่เสมอๆ ดังพระราชด�ำรัส จาก “เทิดไท้องค์ราชันปราชญ์แห่งน�้ำ 104 ปี กรมชลประทาน” ความหนึ่งว่า “...การเข้าใจถึงสถานการณ์และสภาพการณ์ของผู้ที่ เราจะช่วยเหลือนั้นเป็นสิ่งส�ำคัญที่สุด การช่วยเหลือให้เขาได้ รับในสิ่งที่ควรจะได้รับความจ�ำเป็นอย่างเหมาะสม จะเป็นการ ช่วยเหลือที่ได้ผลดีที่สุด เพราะฉะนั้น ในการช่วยเหลือแต่ละ ครั้ง แต่ละกรณีจ�ำเป็นที่เราจะพิจารณาถึงความต้องการและ

“ภูมิปัญญาท้องถิ่น” หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน เป็นสิ่งที่ เกิดขึ้นจากการสังเกตความคิดตลอดจนการประดิษฐ์คิดค้นของ ชาวบ้าน ทั้งในรูปของวัตถุสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ และในรูปแบบของ นามธรรม เช่น ความเชื่อ วัฒนธรรม ประเพณี นิทานพื้นบ้าน เป็นต้น และน�ำมาประพฤติปฏิบัติจนเป็นที่ยอมรับในท้องถิ่น พระองค์ทรงเห็นว่าสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งส�ำคัญที่ต้องน�ำมาศึกษา ให้เข้าใจและน�ำไปปรับใช้ให้สอดคล้องและกลมกลืนกับวิชาการ แผนใหม่อย่างเป็นระบบและต่อเนื่องเป็นกระบวนการเดียวกัน เป็ น การผสมผสานเทคโนโลยีเก่าใหม่ให้ก ลมกลืน ชาวบ้ า น สามารถรับไปและน�ำไปใช้ได้จริงอย่างเหมาะสมลงตัว และ เกิดประโยชน์อย่างสูงสุดแก่ชาวบ้านด้วย และที่ส�ำคัญคือจะ ต้องตระหนักอยู่เสมอว่าประชาชนในท้องถิ่นเป็นผู้ใช้ เป็นผู้ที่ ได้รับผลกระทบจากสิ่งที่เกิด และเป็นผู้ที่ต้องด�ำเนินชีวิตอยู่ ในท้องถิ่นนั้น 1.2 ระเบิ ด จากข้ า งใน การจะเข้ า ไปพั ฒ นาชุ ม ชนใดๆ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวทรงยึดหลักว่า คนในชุมชนนั้นต้องมีความพร้อม และยิ น ดี ที่ จ ะร่ ว มด� ำ เนิ น การพั ฒ นานั้ น ๆ ประหนึ่ ง ว่ า ต้ อ ง 56

IS AM ARE www.fosef.org


ความจ�ำเป็นก่อน และต้องท�ำความเข้าใจกับผู้ที่เราจะช่วย ให้ เราเข้าใจด้วยว่า เขาอยู่ในฐานะอย่างไร สมควรที่จะได้รับความ ช่วยเหลืออย่างไร เพียงใด อีกประการหนึ่ง ในการช่วยเหลือ นั้น ควรยึดหลักส�ำคัญว่าเราจะช่วยเขาเพื่อให้เขาสามารถช่วย ตนเองได้ต่อไป...” • เมื่อคนในชุมชนเข้มแข็งแล้ว จึงด�ำเนินงานพัฒนาและ ขยายออกไปสู่สังคมภายนอก ไม่ใช่เอาความเจริญจากสังคม ภายนอกเข้าไปสู่ชุมชนหรือหมู่บ้าน ซึ่งมักจะเกิดปัญหา เพราะ ประชาชนไม่สามารถปรับตัว ได้ทันกับกระแสการเปลี่ยนแปลง ที่มาจากภายนอกและก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา

นอกจากนี้ พระองค์ได้พระราชทานพระราชด�ำริหลัก การ “บวร” ให้น�ำบ้าน วัด โรงเรียน/ราชการซึ่งเป็นสถาบัน หลักของสังคมไทยที่เป็นสายใยยึดเหนี่ยมชุมชนมาแต่อดีต ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด การเกื้ อ กู ล สนั บ สนุ น ซึ่ ง กั น และกั น ช่ ว ยให้ สั ง คม ไทยด�ำรงอยู่อย่างสันติสุขมาช้านาน มาใช้ในการพัฒนาและแก้ ปัญหาในระดับชุมชน ในลักษณะ 3 ประสาน เพื่อร่วมมือบ�ำเพ็ญ ประโยชน์แก่ชุมชนอย่างเกื้อกูลกัน สถานบันครอบครัว (บ้าน) ซึ่งประกอบด้วยชาวบ้านและ กลุ่มบุคคลต่างๆ ในชุมชน สถาบันศาสนา (วัด) ประกอบด้วยเจ้าอาวาส พระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา และกลุ่มหรือชมรมทางศาสนา ซึ่งใน ในการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนเพื่อให้เกิดการพึ่ง ความหมายในเชิงกว้าง อาจจะหมายรวมถึงองค์กร หรือสถาน ตนเอง พระองค์ทรงเน้นแนวทางด�ำเนินงานให้เกิดการรวมตัว บันทางศาสนาต่างๆ ในชุมชนนั้นๆ ด้วย สถาบันการศึกษา/ราชการ (โรงเรียน/ราชการ) ประกอบ ของคนในหมู่บ้านในลักษณะต่างๆ เช่น กลุ่มชนรม สหกรณ์ บริษัทเครือข่าย หรือองค์กรชาวบ้าน พร้อมทั้งให้มีการเรียนรู้ ด้วย ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ คณะครู นักวิชาการ และบุคคลากร การจัดการ และการแก้ไขปัญหาร่วมกันของคนในชุมชน เพื่อ ทางการศึกษาอื่นๆ ทั้งในโรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัยและ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือการพัฒนาด้านต่างๆ พร้อม องค์กร ทางการศึกษาอื่นๆ รวมถึงหน่วยงานภาครัฐในชุมชน อาทิ ก�ำนันผู้ใหญ่บ้านคณะกรรมการหมู่บ้าน อบต. สาธารณสุข ทั้งเสริมสร้างให้คนในชุมชนมีความเอื้ออาทรต่อกัน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรง เล่าถึงการทรงงานพัฒนาราษฎรในพื้นที่ของพระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ในหนั ง สื อ “พระมหากษั ต ริ ย ์ นั ก พั ฒ นา เพื่ อ ประโยชน์สุขสู่ปวงประชาดังความตอนหนึ่งว่า” “...ทรงมีวิธีการของพระองค์ คือ การเสด็จฯ ไปในป่า บนเขา ตอนแรกจะเสด็จฯ แบบยังไม่ได้มีการตัดถนนเข้าไป พระองค์ต้องเสร็จฯ เข้าไปอย่างล�ำบาก เพราะว่าพระองค์ไม่ ต้องการจะให้คนอื่นมาเอาเปรียบคนช้างใน ในขณะที่เขายังไม่ เข้มแข็งพอ พอพัฒนาให้เขาเข้มแข็งแล้ว เขาจะออกมาเอง คือ ระเบิดจากข้างใน...”

57 issue 123 APRIL 2018


ต�ำบล เกษตรต�ำบล เป็นต้น รวมทั้งระบบกลไกในการบริหาร ที่มาจากรัฐในรูปอื่นๆ หลัก “บวร” จึงหมายถึงการน�ำสถาบันหลักในชุมชนมา เป็นกลไกในการพัฒนาและสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง ท�ำหน้าที่เป็น แกนกลางในการพัฒนา ตัดสินใจ แก้ปัญหาตนเอง และชุมชน ก�ำหนดแผนแม่บทชุมชนด้วยการร่วมกันคิด สร้าง และบริหาร จัดการชุมชนของคนในท้องถิ่นที่ร่วมกันเป็นเจ้าของ 1.3 การมี ส ่ ว นร่ ว ม ก่ อ นจะพระราชทานแนวพระราชด� ำ ริ โ ครงการใดๆ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว จะทรงให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การ สอบถามประชาชนโดยการท� ำ “ประชาพิ จ ารณ์ ” เน้ น การ อธิ บ ายถึ ง ความจ� ำ เป็ น และผลที่ จ ะเกิ ด จากโครงการด้ ว ย วิ ธี ป ระนี ป ระนอม เพื่ อ หลี ก เลี่ ย งความขั ด แย้ ง โดยยึ ด หลั ก ประโยชน์ สู ง สุ ด ของส่ ว นร่ ว มและประเทศชาติ ดั ง แนวพระ ราชด�ำริดังนี้ • เน้นการท�ำประชาพิจารณาตั้งแต่ก่อนเริ่มโครงการ โดย ศึกษาข้อมูลพื้นที่และน�ำมาวางแผนให้ความช่วยเหลือ โดยทรง ให้ความส�ำคัญกับการระดมสติปัญญา การให้ประชาชนและเจ้า หน้าที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาตั้งแต่เริ่มโครงการ ดังพระบรมราโชวาทพระราชทานแก่ข้าราชการพลเรือน เนื่องในวันข้าราชการพลเรือน เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2536 ความตอนหนึ่งว่า

“...ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด จะต้ อ งหั ด ท� ำ ใจให้ ก ว้ า งขวางหนั ก แน่น รู้จักรับฟังความคิดเห็น แม้กระทั่งค�ำวิพากษ์วิจารณ์จาก ผู้อื่นอย่างฉลาด เพราะการรู้จักรับฟังอย่างฉลาดนั้นแท้จริง คือการระดมสติปัญญาและประสบการณ์อันหลากหลาย มา อ�ำนวยการปฏิบัติบริหารงานให้ประสบความส�ำเร็จที่สมบูรณ์ นั่นเอง.” สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ได้ พ ระราชทานสั ม ภาษณ์ ใ นหนั ง สื อ “พระมหากษั ต ริ ย ์ นักพัฒนา เพื่อประโยชน์สุขสู่ปวงประชา” ว่า พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นต้นแบบ “ประชาพิจารณ์” ความตอน หนึ่งว่า “ก่ อ นจะเสด็ จ ฯ ไปทรงงานตามที่ ต ่ า งๆ จะทอด พระเนตรจากแผนที่ทางอากาศ ก่อนว่าควรจะเสด็จฯ ที่ไหน หรือจะทรงแก้ปัญหาในพื้นที่อย่างไร เช่น สามารถน�ำน�้ำ จาก ตรงนี้ไปเลี้ยงนาตรงโน้น ได้ประโยชน์และจะต้องมีรายจ่าย จากการก่อสร้างหรือด�ำเนินงานเท่าไหร่ จะได้ผลจ่ายกลับคืน ภายในกี่ปี และที่ส�ำคัญต้องไปคุยกับชาวบ้านก่อนว่าเขาต้องการ ไหม ถ้าเขายังไม่ต้องการ ยังไม่สบายใจที่จะท�ำเราก็ไปท�ำที่อื่น ก่อน นั่นคือ ทรงท�ำประชาพิจารณ์ด้วยพระองค์เองทรงท�ำตรง นั้นเลย” • เน้นการรอมชอมในการเจรจา หลีกเลี่ยงการจะสร้าง ปัญหาความเดือดร้อนให้คนกลุ่มหนึ่งโดยสร้างความสะดวก

การด� ำ เนิ น งานใดก็ ต าม ต้ อ งค� ำ นึ ง ถึ ง ประชาชนใน ท้ อ งถิ่ น ก่ อ นเพราะประชาชนเหล่ า นี้ เ ป็ น ผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากการด� ำ เนิ น งาน ทั้ ง ในแง่ ก ารเป็ น ผู ้ ใช้ แ ละการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ดั ง นั้ น จึ ง ต้ อ งเรี ย นรู ้ ศึ ก ษา สภาพของธรรมชาติ ใ นแต่ ล ะพื้ น ที่ ที่ แ ตกต่ า งกั น เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความเข้ า ใจอย่ า งถ่ อ งแท้ แ ละลึ ก ซึ้ ง

58 IS AM ARE www.fosef.org


สบายและผลประโยชน์ ใ ห้ ค นอี ก กลุ ่ ม หนึ่ ง ไม่ ว ่ า พื้ น ที่ ห รื อ โครงการนั้นๆ จะมีความเหมาะสมทางด้านเทคนิคและวิชาการ ตลอดจนก่อประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจและสังคมประการใด ก็ตาม พระองค์ ท รงถื อ หลั ก ให้ ป ระชาชนที่ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ใน ชุมชนนั้นเองได้เข้ามาร่วมมีส่วนในการตัดสินใจด้วยตนเอง การ ด�ำเนินโครงการหรือการแก้ไขปัญหาของส่วนรวม ควรเป็นมติ ของชุมชนนั้น ประโยชน์ที่ได้จากโครงการหรือการแก้ไขปัญหา จะตกเป็นของทุกคนโดยส่วนรวม ไม่ใช่ของคนใดคนหนึ่งหรือ กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ดังนั้น ประชาชนผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียเป็น ผู้ก�ำหนดวิถีทางพัฒนาของตนเองซึ่งเป็นวิธีการที่รู้จักกันดีใน หมู่นักพัฒนา

พระองค์จะประทับพับเพียบกลางวงชาวบ้าน ซักถามถึงสภาพ พื้นที่ ของชุมชนนั้นๆ เป็นชั่วโมงๆ ทุกครั้งจะมีแผนที่กางไว้ที่ พระเพลาเมื่อทรงซักถามและอธิบายกันจนเข้าใจในฉบับชาว บ้านแล้ว จึงทรงน�ำไปปรึกษาหารือกับเจ้าหน้าที่อีกชั้นหนึ่งเป็น วงจรประชาพิจารณ์อย่างครบถ้วน” • ยึดหลักประชาชนทุกคนต้องใด้ประโยชน์จากโครงการ สาธารณะ และคนส่วนใหญ่ต้องดูแลช่วยเหลือคนส่วนน้อย วิธีการท�ำประชาพิจารณ์ของพระองค์ เป็นวิธีที่เรียบง่าย และตรงไปตรงมา โดยพระองค์จะทรงอธิบายถึงวัตถุประสงค์ และผลที่จะได้รับจากโครงการพัฒนากับพสกนิกรที่มาเฝ้าฯ แหนล้อมรอบอยู่หลังจากนั้นจะทรงถามถึงความสมัครใจและ ให้ตกลงกันเองในกลุ่มที่จะได้รับประโยชน์และกลุ่มที่จะต้อง เสียสละในขณะนั้นเลย หลักจากได้มีการตกลงใจโดยเสียงเป็น เอกฉันท์แล้ว ก็ทรงเรียกผู้น�ำท้องถิ่น เช่น ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน จนกระทั่ ง ถึ ง นายอ� ำ เภอ และผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ให้ ม ารั บ ทราบและด�ำเนินการในขั้นต้น เช่น การจัดการในปัญหาเรื่อง

พระองค์ ท รงเน้ น แนวทางด� ำ เนิ น งานให้ เ กิ ด การรวม ตั ว ของคนในหมู ่ บ ้ า นในลั ก ษณะต่ า งๆ เช่ น กลุ ่ ม ชน รม สหกรณ์ บริ ษั ท เครื อ ข่ า ย หรื อ องค์ ก รชาวบ้ า น พร้ อ มทั้ ง ให้ มี ก ารเรี ย นรู ้ การจั ด การ และการแก้ ไ ข ปั ญ หาร่ ว มกั น ของคนในชุ ม ชน เพื่ อ ส่ ง ผลให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงหรื อ การพั ฒ นาด้ า นต่ า งๆ พร้ อ ม ทั้ ง เสริ ม สร้ า งให้ ค นในชุ ม ชนมี ค วามเอื้ อ อาทรต่ อ กั น • อธิบายถึงความจ�ำเป็นและผลกระทบที่จะเกิดขึ้น หาก จะท�ำโครงการใดจะทรงชี้แจงถึงเหตุผลความจ�ำเป็นและผลที่จะ เกิดขึ้นแก่ทุกฝ่าย รวมทั้งผู้น�ำชุมชนในท้องถิ่น เมื่อประชาชน ในพื้ น ที่ เ ห็ น ด้ ว ยแล้ ว หน่ ว ยราชการต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งและ ร่วมด�ำเนินการมีความพร้อม จึงจะพระราชทานพระราชด�ำริ ให้ด�ำเนินโครงการนั้นๆ ต่อไป โดยมีหลักปฏิบัติในการมีส่วน ร่วม ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ได้กล่าวถึงวิธีที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงท� ำ ประชาพิ จ ารณ์ ไว้ ใ นการบรรยายเรื่ อ ง “ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งกั บ ความเป็ น ประชาธิ ป ไตยที่ ยั่งยืน” ในการอบรมหลักสูตรพัฒนาการเมืองและการเลือกตั้ง ระดับสูง รุ่นที่ 4 เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2556 จัดโดยสถาบัน พัฒนาการเมืองและการเลือกตั้ง ส�ำนักงานคณะกรรมการการ เลือกตั้ง ว่า “เราทุ ก คนคงคุ ้ น เคยและไม่ เ ห็ น ว่ า แปลกกั บ ภาพที่ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ลงจาก รถ พร้อมกล้อง วิทยุสื่อสาร และสิ่งที่ขาดไม่ได้คือแผนที่ โดย 59

issue 123 APRIL 2018


กรรมสิทธิ์ในที่ดิน ก่อนที่จะพระราชทานให้หน่วยงานปฏิบัติ ที่เกี่ยวข้องด�ำเนินการในเชิงบริหารและวิชาการต่อไปจนเสร็จ สิ้นโครงการ การเข้ามามีส่วนร่วมในทุกระดับของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง นั้น จะมีทั้งในส่วนของประชาชนและในภาครัฐ การที่ประชาชน รู้จักการช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ประกอบ กับการช่วยเหลือของรัฐจะช่วยสร้างประโยชน์แก่ประชาชน และประเทศชาติในที่สุด ดังพระราชด�ำรัสที่ได้พระราชทานแก่ ผู้น�ำสหกรณ์ทั่วประเทศ เมื่อครั้งเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2536 ความตอนหนึ่งว่า “...การท�ำงานร่วมกัน การท�ำงานร่วมกันนี้ลึกซึ้งมาก เพราะว่าจะต้องร่วมมือกันในทุกด้าน ทั้งในด้านงานการที่ท�ำ ด้วยร่างกาย ทั้งในด้านการที่ท�ำด้วยสมอง และงานการที่ท�ำ ด้วยใจ ทุกอย่างนี้ขาดไม่ได้ ต้องพร้อม งานที่ท�ำด้วยร่างกาย ถ้าแต่ละคนท�ำก็เกิดผลขึ้นมาได้ เช่น การเพาะปลูกก็มีผลขึ้นมา สามารถที่จะใช้ผลนั้นในด้านการบริโภคคือเอาไปรับประทาน หรือเอาไปไว้ใช้ หรือเอาไปจ�ำหน่าย เพื่อให้มีรายได้มาเลี้ยงชีพ ได้ถ้าแต่ละคนท�ำไปโดยล�ำพังแต่ละคน งานที่ท�ำนั้นผลอาจไม่ ประโยชน์ต่อส่วนรวมอย่างแท้จริง ดังแนวพระราชด�ำริดังนี้ ได้เต็มเม็ดเต็มหน่วย และอาจจะไม่พอเพียงในการเลี้ยงตัวเอง • ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องตนเองอย่ า งเต็ ม ความสามารถ ท�ำให้มีความเดือดร้อน ฉะนั้นจะต้องช่วยกัน แม้ในขั้นที่ท�ำใน ขยั น ขั น แข็ ง บริ สุ ท ธิ์ ใจ อย่ า งระมั ด ระวั ง ดั ง พระราชด� ำ รั ส ครอบครัวก็จะต้องช่วยกัน ทุกคนในครอบครัวก็ช่วยกันท�ำงาน พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทยเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2527 เนื่องในโอกาสขึ้นปีใหม่ 2528 ความตอนหนึ่งว่า “...แต่ละคนนั้นเป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งๆ ที่จะรวม การที่ จ ะกระท� ำ ให้ ไ ด้ ผ ลเป็ น ประโยชน์ ส ่ ว นรวมนั้ น กันขึ้นเป็นชาติบ้านเมือง... จ� ำ เป็ น ที่ จ ะต้ อ งรู ้ ซึ่ ง ถึ ง ประโยชน์ ที่ แ ท้ เ ป็ น เบื้ อ งต้ น ผู้ใดมีภาระหน้าที่อันใดอยู่ ก็ต้องขวนขวายปฏิบัติให้ ก่ อ น ซึ่ ง มี อ ยู ่ ๒ ประการ คื อ ประโยชน์ ส ่ ว นตั ว ที่ ส� ำ เร็ จ ลุ ล ่ ว งไปโดยพลั น ด้ ว ยความรู ้ แ ละความสามารถ ด้ ว ย ทุ ก คนมี สิ ท ธิ จ ะแสวงหาและได้ รั บ แต่ ต ้ อ งด้ ว ยวิ ถี ท าง ความสะอาดกายสะอาดใจ ด้วยไมตรีจิตมิตรภาพและด้วยความ ที่ สุ จ ริ ต และเป็ น ธรรม กั บ ประโยชน์ ส ่ ว นรวม เมตตาปรารถนาดีต่อกัน ผลการปฏิบัติตนปฏิบัติงานของแต่ละ คนแต่ละฝ่าย จักได้ประกอบส่งเสริมให้ประเทศชาติมีความ ท�ำการเพื่อที่จะเลี้ยงครอบครัวให้มีชีวิตอยู่ได้ แต่ว่าถ้าร่วมกัน สมบูรณ์มั่นคงขึ้นตามที่มุ่งหมาย...” หลายๆ คนเป็นกลุ่มเป็นก้อน ก็สามารถที่จะปฏิบัติงานได้อย่าง • เร่ ง กระท� ำ ให้ ส� ำ เร็ จ ลุ ล ่ ว งโดยเร็ ว โดยเฉพาะการ มีประสิทธิภาพ มีความสามารถ มีผลได้มากขึ้น” แก้ไขปัญหาต้องลงมือท�ำเลยจะไม่เสียเวลาและเกิดผลทันที ดั ง พระราชด� ำ รั ส ในพิ ธี เ ปิ ด การสั ม มนาการเกษตรภาคเหนื อ 1.4 ประโยชน์ ส ่ ว นรวม จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2524 ความตอน ในการด�ำเนินการใดๆ เพื่อให้เกิด “ประโยชน์ส่วนรวม” หนึ่งว่า นั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเน้นให้ปฏิบัติหน้าที่ของ “...ทสก. ย่อจากค�ำว่า ท�ำเสียก่อน คือถ้าเห็นที่ไหน ตนอย่างเต็มความสามารถและรวดเร็ว มีความยุติธรรม และ ควรท�ำก็ลงมือท�ำเลย หากท�ำช้าไปปีหนึ่งเท่ากับขาดรายได้ ไม่มีอคติต่อการด�ำเนินงาน รวมถึงลดการคิดถึงประโยชน์ส่วน เท่ า ที่ ค วรได้ และเมื่ อ รวมกั บ โครงการที่ แ พงขึ้ น ก็ เ ท่ า กั บ ตน กิ จ กรรมที่ ด� ำ เนิ น การนั้ น ก็ จ ะสามารถบรรลุ ผ ลและเป็ น ขาดทุน...” 60 IS AM ARE www.fosef.org


•เพลาการคิดถึงประโยชน์เฉพาะตัว และไม่น�ำประโยชน์ ส่วนน้อยเข้ามาเกี่ยวข้องรวมถึงต้องไม่ขัดแย้งกัน ดังพระราช ด�ำรัสพระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2534 ในโอกาสขึ้นปีใหม่ 2535 ความตอนหนึ่งว่า “...การท�ำนุบ�ำรุงบ้านเมืองนั้น เป็นงานส่วนรวมของ คนทั้งชาติจึงเป็นธรรมดาอยู่เองที่จะต้องมีความขัดแย้งเกิดขึ้น บ้าง จะให้ทุกคนทุกฝ่ายมีความคิดเห็นสอดคล้องต้องกันตล อดทุกๆ เรื่องไป ย่อมเป็นการผิดวิสัย เพราะฉะนั้น แต่ละฝ่าย แต่ละคนจึงควรจะค�ำนึงถึงจุดประสงค์ร่วมกัน คือความเจริญ ไพบูลย์ของชาติเป็นข้อใหญ่ ทุกฝ่ายชอบที่จะท�ำใจให้เที่ยงตรง เป็นกลาง ท�ำความคิดเห็นให้กระจ่างแจ่มใส่ท�ำความเข้าใจอัน ดีในกันและกันให้เกิดขึ้น แล้วน�ำความคิดเห็นของกันและกัน นั้น มาพิจารณาเทียบเคียงกัน โดยหลักวิชาเหตุผล ความชอบ ธรรม และความเมตตาสามัคคีให้เห็นแจ้งจริง ทุกฝ่ายจะสามารถ ปรับเปลี่ยนความคิดและวิธีปฏิบัติให้สอดคล้องเข้ารูปเข้ารอย กันได้ทุกเรื่อง...”

• ให้ความยุติธรรมเที่ยงตรงและไม่มีอคติต่อการด�ำเนิน งาน โดยให้ ถื อ เรื่ อ งวิ ธี ก ารและข้ อ ปฏิ บั ติ ซึ่ ง อาจแตกต่ า งกั น เป็นสิ่งปลีกย่อยที่ส�ำคัญรองลงมา และให้ถือผลส�ำเร็จของงาน เป็ น ส� ำ คั ญมากกว่ า ว่ า งานนั้ น เป็ น ของใคร ดั ง พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2532 ในโอกาสขึ้นปีใหม่ 2533 ความตอนหนึ่งว่า “...การแก้ปัญหานั้น ถ้าไม่ท�ำให้ถูกเหตุถูกทาง ด้วย ความรอบคอบระมัดระวังมักจะกลายเป็นการเพิ่มปัญหาให้มาก และยุ่งยากขึ้น แต่ละฝ่ายจึงควรจะตั้งใจพยายามท�ำความคิด เห็นให้กระจ่างและเที่ยงตรง เพื่อจักได้สามารถเข้าใจปัญหาและ เข้าใจกันและกันอย่างถูกต้อง ความเข้าใจที่ถูกต้องแน่ชัดนี้ จะ ช่วยให้เล็งเห็นแนวทางปฏิบัติแก้ไขอันเหมาะสม ซึ่งจะน�ำไปใช้ อย่างมีประสิทธิภาพ อีกประการหนึ่งอันเป็นข้อส�ำคัญทุกฝ่ายจะ ต้องตระหนักในใจเสมอ ว่าประโยชน์ส่วนรวมนั้นเป็นประโยชน์ ที่แต่ละคนพึงยึดถือเป็นเป้าหมายหลัก ในการปฏิบัติตนและ ปฏิบัติงาน เพราะเป็นประโยชน์ที่ยั่งยืนแท้จริง ซึ่งทุกคนมีส่วน ได้รับทั่วถึงกัน...” 61

issue 123 APRIL 2018


และพระบรมราโชวาทเนื่องในพระราชพิธีพระราชทาน ปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2514 ความตอนหนึ่งว่า “...การท�ำงานใหญ่ๆ ทุกอย่างต้องการเวลามากกว่าจะ ท�ำส�ำเร็จ ผู้ที่เริ่มโครงการอาจไม่ทันท�ำให้ส�ำเร็จโดยตลอดด้วย ตนเองก็ได้ ต้องมีผู้อื่นรับท�ำต่อไป ดังนั้นไม่ควรยกเอาเรื่องใคร เป็นผู้เริ่มงาน ใครเป็นผู้รับช่วงงาน ขึ้นเป็นข้อส�ำคัญนัก จะต้อง ถือผลส�ำเร็จที่จะเกิดจากงานเป็นใหญ่...” • ค�ำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็นส�ำคัญ การปฏิบัติ พระราชกรณียกิจ และการพระราชทานพระราชด�ำริในการ พัฒนาและช่วยเหลือพสกนิกรในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีแนวพระราชด�ำริว่าคนที่ให้เพื่อส่วนรวมนั้นมิได้ให้ส่วนรวม เพียงอย่างเดียว แต่เป็นการให้เพื่อตัวเองสามารถที่จะมีส่วนรวม ที่จะอาศัยได้ ยิ่งท�ำยิ่งมีความสุข และเป็นประโยชน์ที่ยั่งยืนอย่าง แท้จริง ดังพระราชด�ำรัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 4 ธันวาคม 2519 ความตอนหนึ่งว่า

หลั ก “บวร” จึ ง หมายถึ ง การน� ำ สถาบั น หลั ก ในชุ ม ชน มาเป็ น กลไกในการพั ฒ นาและสร้ า งชุ ม ชนให้ เ ข้ ม แข็ ง ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น แกนกลางในการพั ฒ นา ตั ด สิ น ใจ แก้ ปั ญ หาตนเอง “...ต้ อ งท� ำ เพื่ อ ประโยชน์ ส ่ ว นรวม ก็ เ พราะเหตุ ว ่ า ประโยชน์ส่วนรวมนี้เป็นประโยชน์ส่วนตัว แต่ละคนต้องการ ให้ ประโยชน์ส่วนตัวส�ำเร็จคือมีความพอใจนี้เองแต่ว่าถ้าไม่ คิดถึงประโยชน์ส่วนรวม ก็ไม่ได้ประโยชน์ส่วนตัว เพราะว่า ถ้าส่วนรวมไม่ได้รับประโยชน์ส่วนตัวพังแน่... นี่เป็นข้อส�ำคัญ ฉะนั้นความรู้สึกหรือข้อสังเกตอันนี้เป็นจุดส�ำคัญมาก ที่จะต้อง ท�ำความเข้าใจกับตัวเอง ว่าประโยชน์ส่วนตัวนั้นคือประโยชน์ ส่วนรวม หรือจะว่าประโยชน์ส่วนรวมนั้น คือประโยชน์ส่วน ตั ว พู ด กลั บ กั น ได้ ค� ำ พู ด บางค� ำ กลั บ ไม่ ไ ด้ แต่ ค� ำ พู ด นี้ ก ลั บ ได้ ประโยชน์ส่วนรวมคือประโยชน์ส่วนตัวประโยชน์ส่วนตัวคือ ประโยชน์ส่วนรวม ข้อนี้ก็เป็นข้อสังเกตอย่างหนึ่ง” แ ล ะ พ ร ะ ร า ช ด� ำ รั ส พ ร ะ ร า ช ท า น แ ก ่ นั ก ศึ ก ษ า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2523 ความหนึ่ง ว่า “...การท� ำ เพื่ อ ประโยชน์ ส ่ ว นรวมนั้ น ได้ ป ระโยชน์ มากกว่าท�ำเฉพาะประโยชน์ส่วนตัวและสามารถบอกได้ว่า คน ไหนท�ำเพื่อประโยชน์ส่วนตัวแท้ๆ ล้วนๆ เชื่อว่าประโยชน์นั้น จะไม่ได้เท่ากับรวบรวมของหนักมาวางบนหัวแล้วแบกเอาไว้ ตลอดเวลา ซึ่งก็ไม่สบายก็หนัก ก็เหนื่อย แต่ถ้าผู้ใดท�ำเพื่อ ส่วนรวม ยิ่งมาก ยิ่งดี ยิ่งเบา ยิ่งคล่องแคล่วว่างไวและยิ่งมี ความสุข...” และพระราชด� ำ รั ส เมื่ อ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2552 พระราชทานพรเนื่องในวันขึ้นปีใหม่ปี 2553 ความตอนหนึ่ง ว่า 62

IS AM ARE www.fosef.org


“...จะคิดจะท�ำสิ่งใดต้องคิดหน้าคิดหลังให้ดีให้รอบคอบ ท� ำ ให้ ดี ใ ห้ ถู ก ต้ อ งข้ อ ส� ำ คั ญ จะต้ อ งระลึ ก รู ้ โ ดยตระหนั ก ว่ า ประโยชน์ส่วนรวมนั้น เป็นประโยชน์ที่แต่ละคนพึงยึดถือเป็น เป้าหมายหลักในการประพฤติตัวและปฏิบัติงาน เพราะเป็น ประโยชน์ที่ยั่งยืนแท้จริง ซึ่งทุกคนมีส่วนได้รับทั่วถึงกัน ความ สุขความสวัสดีจักได้เกิดมีขึ้น ทั้งแก่บุคคล ทั้งแก่ชาติบ้านเมือง ไทย ดังที่ทุกคนทุกฝ่ายได้ตั้งใจปรารถนา...” ทั้งนี้ การที่จะกระท�ำให้ได้ผลเป็นประโยชน์ส่วนรวมนั้น จ�ำเป็นที่จะต้องรู้ซึ่งถึงประโยชน์ที่แท้เป็นเบื้องต้นก่อน ซึ่งมีอยู่ 2 ประการ คือ ประโยชน์ส่วนตัว ที่ทุกคนมีสิทธิจะแสวงหาและ ได้รับแต่ต้องด้วยวิถีทางที่สุจริต และเป็นธรรม กับประโยชน์ ส่วนรวม ซึ่งเป็นประโยชน์ของชาติที่แต่ละคนมีส่วนร่วมอยู่ การ ท�ำงานทุกอย่างจะต้องให้ได้ประโยชน์แท้ทั้งส่วนตัวและส่วน รวม ประโยชน์นั้นจึงจะสมบูรณ์และมั่นคงถาวร โดยทุกฝ่ายจะ

ต้องตระหนักในใจเสมอว่าประโยชน์ส่วนรวมนั้นเป็นประโยชน์ที่ แต่ละคนพึงยึดถือเป็นเป้าหมายหลักในการปฏิบัติตนและปฏิบัติ งาน เพราะเป็นประโยชน์ที่ยั่งยืนแท้จริงซึ่งทุกคนมีส่วนได้รับ ทั่วถึงกัน ดังพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร และอนุปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2518 ความตอนหนึ่งว่า “...การกระท�ำที่สร้างสรรค์นั้น คือการกระท�ำที่ได้ผล เป็นประโยชน์แก่ทุกๆ ฝ่ายได้เต็มเปี่ยมตรงตามจุดประสงค์ ไม่มีการสูญเสียเปล่า หรือหากจะเสีย ก็เสียน้อยที่สุดการที่จะ กระท�ำให้ได้เช่นนั้น บุคคลจ�ำเป็นต้องอาศัยความมีสติพิจารณา ให้เห็นถึงเหตุผลที่แท้ คือแก่นแท้หรือหลักการของเรื่องต่างๆ จับเหตุจับผลอันต่อเนื่องกันทั้งหมดให้ถูกต้อง คือจัดระเบียบ การของเรื่องให้ดี...” 63

issue 123 APRIL 2018


ความดีเราท�ำเรื่อยไป อย่าได้รู้จักพอ ผู้ที่ปรารถนาจะเป็นคนสะอาด หมดจด สวยงาม มี หนทางเดียวที่จะช่วยให้เป็นไปได้ คือ ต้องพยายามไกลความ โลภ ความโกรธ ความหลง ไกลให้เป็นล�ำดับจนถึงไกลได้จริงใน วันหนึ่ง เช่นพระพุทธเจ้าทรงท�ำได้แล้วและพระอรหันตสาวกทั้ง หลายท่านท�ำได้แล้ว

อะไรๆ ก็ขอให้รู้จักพอเพียงกันบ้าง แต่มีอยู่อย่างหนึ่งที่ไม่จ�ำเป็นต้องพอเพียง หากควรท�ำได้ ท�ำให้ได้มากที่สุด บุญหรือความดี... เป็นสิ่งที่ได้ยากอยู่แล้ว เมื่อได้ท�ำ แลท�ำได้ ก็ควรท�ำให้มากเข้าไว้ เราควรท�ำความดีจนเกิดความเคยชิน ชินกับความดีมีน�้ำใจ สนิทแนบเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับความดี เจ้าประคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงสอนไว้ว่า...

บั ณ ฑิ ต ย่ อ มฝึ ก ตน บัณฑิต ตามพจนานุกรมแปลว่า ผู้มีปัญญา นักปราชญ์ แต่ความหมายแท้จริงที่ท่านใช้กันนั้น บัณฑิต หมายถึง คนดี คน ที่ไม่ใช่พาล และเมื่อพิจารณาแล้ว คนดีหรือผู้มีปัญญาเป็นคน เดียวกันนั่นเอง คนมีปัญญาจะเป็นคนไม่ดีไปไม่ได้ ถ้าจะเป็น คนไม่ดีก็เพราะไม่มีปัญญา 64

IS AM ARE www.fosef.org


หลั ก ธรรมแห่ ง ความพอเพี ย ง “บั ณ ฑิ ต ย่ อ มฝึ ก ตน” หมายความว่ า คนดี ห รื อ คนมี ปัญญาย่อมฝึกตน คืออบรมตนให้เป็นคนดี คนเรามี ส องพวกคื อ พวกผู ้ ฝ ึ ก ตนและพวกผู ้ ไ ม่ ฝึ ก ตน พวกฝึ ก ตน คื อ ผู ้ ที่ พ ยายามศึ ก ษาให้ รู ้ ว ่ า ความดี เ ป็ น อย่างไร ท�ำอย่างไร จึงจะเป็นผู้มีความดี จึงจะเป็นคนดี บัณฑิต ไม่ประมาทว่าตนมีความดีเพียงพอแล้ว บัณฑิตไม่หลงคิดว่า ความไม่ดีเป็นความดีแล้วก็ท�ำความไม่ดีอย่างไม่สะดุ้งสะเทือน แต่บัณฑิตย่อมรู้ถูกรู้ผิดว่าความดีคืออะไร ความชั่วคืออะไร แล้ว ก็ไม่ประมาทตั้งใจท�ำความดีตั้งใจที่จะหลีกเลี่ยงความไม่ดีเต็มสติ ปัญญาความสามารถ การเพ่ ง โทษตนเอง เป็ น การฝึ ก ตนอย่ า งหนึ่ ง บัณฑิตไม่มีความเพ่งโทษผู้อื่น บัณฑิตจะเพ่งโทษตนเอง การเพ่งโทษตนเองนั้น เป็นการฝึกตนเองอย่างหนึ่ง ที่ จักเกิดผลจริง การเพ่งโทษผู้อื่นเป็นวิสัยของผู้ไม่ใช่บัณฑิต ผู้ที่เพ่งแต่โทษผู้อื่น ไม่เพ่งโทษตนเอง ย่อมไม่เห็นโทษของตนเอง ย่อมไม่เห็นความบกพร่องที่จะต้องแก้ไขให้ดีขึ้น ย่อมไม่รู้ว่า... ตนมีโทษเพียงไรในแง่ใด ซึ่งจะไม่เป็นประโยชน์แก่ตนเองอย่างใด ผู้อื่นนั้นไม่ใช่จะยอมให้แก้ เพราะคุ้มเคยกับความไม่ดี เหมือนผู้ติดต่อไปมาหาสู่กับบ้านใดมาก ก็จักคุ้นเคยกับบ้าน นั้น และผู้คนในบ้านนั้นมาก ติดต่อไปมาหาสู่บ้านใดน้อย ก็จัก คุ้นเคยกับบ้านนั้น และผู้คนในบ้านนั้นน้อย

ผู ้ ป ระพฤติ ดี ย ่ อ มฝึ ก ตน ผู้อบรมสมาธิท�ำใจให้สงบมาก ก็เท่ากับฝึกใจให้คุ้นเคย กับความสงบมาก มีความสงบมาก ผู้ที่ปล่อยใจให้ฟุ้งซ่านวุ่นวาย ไปกับเรื่องกับอารมณ์ต่างๆ มาก ก็เท่ากับฝึกใจให้วุ่นวายฟุ้งซ่าน มาก เพราะคุ้นเคยกับความวุ่นวายฟุ้งซ่านมาก ความสงบก็มี น้อย ผู้ที่อบรมปัญญามาก พยายามฝึกให้เกิดเหตุผลมาก ผู้ที่มีเหตุผลก็คือผู้ที่มีปัญญา ส่วนผู้ที่ขาดเหตุผลก็คือผู้ที่ขาดปัญญา เหตุผลหรือปัญญาก็ฝึกได้ เป็นตรงตามพระพุทธศาสนสุภาษิตที่ว่า “บัณฑิตย่อมฝึกตน” และที่ว่า “ผู้ประพฤติดีย่อมฝึกตน” นั่นเอง ปรารถนาเป็ น คนเช่ น ไร พึ ง ประพฤติ เ ช่ น นั้ น ทุกคนควรพิจารณาดูใจตนเอง ให้เห็นถึงความปรารถนา ต้องการที่แท้จริงว่าต้องการอย่างไร ต้องการเป็นคนฉลาด มีปัญญา มีเหตุผลก็ต้องประพฤติ คือ คิด พูด ท�ำ แต่สิ่งที่เป็นไปตามเหตุผล ถูกต้องด้วยเหตุผล ต้องการเป็นคนดีก็ต้องประพฤติดีให้พร้อม ทั้งกาย วาจา ใจให้สม�่ำเสมอ การคิดดี พูดดี ท�ำดี เพียงครั้งคราว อาจท�ำให้ตนเป็นคนดีได้ไม่ และหาอาจเป็นการประพฤติดีที่เป็นการฝึกตนไม่

65 issue 123 APRIL 2018


พัฒนาความทรงจ�ำ

ด้วยการเล่านิทาน อ่านหนังสือ สอนพู ด (2) พญ.จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ 66 IS AM ARE www.fosef.org


พ่ อ แม่ ยุ ค ใหม่ เราพูดถึงพัฒนาการภาษา การพูด ในเบื้องต้น จะขอ ทบทวนประเด็นส�ำคัญอีกนิดคือ การพูดแต่ละค�ำของลูก ไม่ ได้เป็นเพียงการเปล่งเสียงตามเท่านั้น แต่เป็นผลรวมของการ ที่สมองเด็กท�ำความเข้าใจ “ความหมาย” ของค�ำพูดนั้นด้วย เพราะฉะนั้น พัฒนาการภาษาเกาะเกี่ยวเนื่องกับ “สติปัญญา” ของลูก คุณพ่อคุณแม่ที่อยากให้ลูกฉลาด ต้องใส่ใจฝึกฝนลูกด้าน ภาษาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่การฝึกให้ลูกฟัง พูด อ่าน ตอบสนอง ถามค�ำถาม วาดภาพ โดยเฉพาะให้ลูกเข้าใจ “ความหมาย” ของ ค�ำต่าง ๆ ที่เราใช้ เพื่อให้ลูกสะสมความเข้าใจ ขอย�้ำว่า “ความ เข้าใจ” ไม่ใช่การท่องจ�ำอย่างเดียว ถ้าลูกท่องจ�ำค�ำได้ แต่ไม่รู้ ความหมายที่แท้ เพราะไม่เคยเห็น ไม่เคยแตะต้อง ไม่เคยได้ กลิ่น ฯ เช่น คุณอาจสอนลูกให้ท่องจ�ำค�ำว่า “ส้ม” ด้วยการ ให้ดูรูปภาพ “ส้ม” สิ่งที่เกิดขึ้นในสมองของลูกก็จะเป็น ภาพ ส้มแบน ๆ บนกระดาษ เห็นรู้ว่าส้มมีสีเขียวหรือสีส้ม รูปกลมๆ และเมื่อมองเห็นภาพส้ม ก็บอกคุณได้ว่า ส้ม แต่เด็กที่ไม่เคย แตะต้องส้ม ไม่เคยเล่นกับส้ม ไม่เคยได้กลิ่น ลิ้มรส เลียส้ม ไม่ เคยจับ ไม่รู้ว่าผิวส้มเป็นอย่างไร เวลาปอกเปลือกแล้ว ข้างใน เป็นอย่างไร เพราะคุณแม่ให้ดื่มน�้ำส้มตอนที่คั้นเรียบร้อยแล้ว ความทรงจ�ำและความเข้าใจของลูก เกี่ยวกับส้ม จะไม่เป็นจริง ต่อไปนี้เป็นข้อแนะน�ำในทางปฏิบัติที่คุณพ่อ คุณแม่จะ ช่วยลูกกระตุ้นพัฒนาการทางภาษา และสะสมความรู้ ความ เข้าใจต่าง ๆ ผ่านภาษา • คุยกับลูก เป็นสิ่งที่ง่าย และคุณพ่อคุณแม่ชอบอยู่แล้ว คุยกันอย่างสนุก มีชีวิตชีวา ส�ำคัญอย่างยิ่งที่ลูกจะต้องคุ้นเคย และได้ยินเสียงของคุณบ่อยที่สุดเท่าที่คุณจะท�ำได้ บอกเขาว่า คุณคือใคร เราอยู่ที่ไหน ก�ำลังท�ำอะไรอยู่ และสิ่งรอบตัวลูกที่ เขาเห็น ได้ยินเสียง แตะต้องได้ จากสิ่งเล็ก ๆ ใกล้ตัว ไปสู่สิ่ง ที่ไกลตัวออกไป • รับฟังลูกอย่างอดทน ตั้งใจ แม้ในช่วงแรก ๆ คุณจะ ยังไม่เข้าใจภาษาหรือค�ำพูดที่ลูกใช้ เมื่อลูกรับรู้ว่ามีคนตั้งใจฟัง เขา จะเป็นแรงกระตุ้นให้เขาอยากฝึกออกเสียง หรือเปล่งค�ำ พูดใหม่ ๆ มากขึ้น • ให้เวลากับลูกที่จะตอบสนองหรือตอบค�ำถามของคุณ อย่าลืมว่า เด็กเล็ก ๆ ต้องการเวลาส�ำหรับเรียบเรียงท�ำความ เข้าใจความรู้สึก ความคิดของตัวเอง ก่อนที่จะสามารถสื่อสาร กับคุณได้ คุณพ่อคุณแม่อย่าใจร้อนที่จะเร่งรัด หรือพูดแทน หรือ พยายามเติมค�ำในช่องว่างเวลาที่ลูกพูดกับเรา อย่าขัดจังหวะลูก เร็วเกินไป ให้เวลากับลูก

การตั้ ง ใจฟั ง เพื่ อ รวบรวมเสี ย ง/ค� ำ พู ด ที่ ไ ด้ ยิ น และ ท� ำ ความเข้ า ใจความหมายเหล่ า นั้ น หากเด็ ก มี ป ั ญ หา เรื่ อ งการฟั ง เสี ย งจะมี ผ ลโดยตรงต่ อ พั ฒ นาการ ภาษา ฉะนั้ น เป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ ที่ ผู ้ เ ลี้ ย งดู ต ้ อ งให้ ค วาม ใส่ ใ จมากเป็ น พิ เ ศษ เพราะฉะนั้น ในช่วง 3 ขวบแรก จึงเป็นสิ่งส�ำคัญอย่างยิ่งที่คุณ พ่อคุณแม่จะต้องกระตุ้น จัดประสบการณ์ตรง นั่นหมายถึงให้ลูก ได้ใช้ประสาทสัมผัสทุกส่วน (ตา หู จมูก ลิ้น สัมผัส และความ รู้สึก) กับสิ่งของที่เป็นจริงรอบตัวให้มากที่สุด ก็เพื่อให้ลูกมีข้อมูล วงจรความทรงจ�ำ และความเข้าใจที่เป็นจริงในสิ่งที่อยู่รอบตัวให้ มากที่สุด อันจะเป็นฐานส�ำคัญของการเข้าใจเรื่องที่ซับซ้อนมาก ขึ้นเมื่อเข้าสู่วัยเรียน ยิ่งคุณปลูกประสบการณ์ ความเข้าใจต่อ สิ่งต่าง ๆรอบตัวได้มากเท่าไร นั่นคือต้นทุนการคิดของลูกที่เข้า สู่วัยรุ่นและเป็นผู้ใหญ่ที่รู้คิด มีวิจารณญาณ และมีข้อมูลเพียง พอที่จะตัดสินใจได้อย่างมีเหตุผล รู้จักทางเลือก และเลือกทาง ที่เหมาะสมต่อสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้มากกว่าคนอื่น ๆ 67

issue 123 APRIL 2018


• พูดค�ำง่าย ๆ สั้น ๆ ช้า ๆ อย่าลืมว่า ค�ำในสมองลูก ยังมีจ�ำกัด อายุเขาต่างจากเรามาก ความเข้าใจค�ำต่าง ๆ มี จ�ำกัด หากต้องการอธิบายอะไรให้ลูกเข้าใจ ต้องปรับประโยค ของเราให้ง่าย สั้น พูดให้ชัดเจน ทีละเรื่อง ผู้ใหญ่มักพูดหลาย เรื่องในประโยคเดียวกัน โดยเฉพาะเวลาที่เรามีอารมณ์โกรธ ไม่ สบายใจ เครียด หรือสนุกตื่นเต้นเกินไป เรามักไม่ระมัดระวังที่ จะใช้ค�ำศัพท์แบบผู้ใหญ่ ซึ่งจะท�ำให้ลูกสับสน หากคุณอดทน และพยายามใช้ค�ำพูดง่าย ๆ สั้น ๆ ช้า ๆ กับลูกบ่อย ๆ ลูกจะ เรียนรู้ค�ำต่าง ๆ ได้เร็ว • สื่อสารกับลูกด้วยภาษาท่าทาง ใช้ใบหน้า และมือ ในการช่วยท�ำให้ลูกเข้าใจความหมายของค�ำต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้น เช่น ถ้าเราพูดค�ำว่ากิน แสดงท่าทางให้ลูกดูประกอบค�ำ ลูกจะ สามารถเชื่อมโยงท่าทางที่ลูกคุ้นเคย (เพราะลูกกินทุกวัน) กับ ค�ำที่เราใช้ได้เร็วและง่ายกว่าการที่เราจะพูดให้ฟังเฉย ๆ • พูดซ�้ำ ๆ เพื่อให้ลูกท�ำความเข้าใจ และจดจ�ำได้ง่ายและ เร็ว แม้เราจะรู้สึกว่า พูดไปแล้วเมื่อสักครู่ หรือเมื่อชั่วโมงที่แล้ว หรือเมื่อวานนี้ ก็ต้องไม่เบื่อหน่ายที่จะพูดกับลูกซ�้ำ ๆ จนกว่า แน่ใจว่า ลูกเข้าใจค�ำที่เราสื่อสารด้วย

• ตอบสนองและชื่นชมกับความพยายามของลูกที่จะ สื่อสารกับเรา ไม่มีความจ�ำเป็นที่เราจะต้องคอยแก้ไขค�ำที่ลูกพูด ผิด หรือ ประโยคที่ไม่ถูกต้องตลอดเวลา ที่ควรท�ำก็คือ ทบทวน ค�ำหรือประโยคที่ลูกพูดด้วย ค�ำหรือประโยคที่ถูกต้อง เช่น ลูก พูดว่า “แม่ไปหลาด” แทนที่จะต�ำหนิว่า ไม่ใช่ ๆ สิ่งที่ควรท�ำ คือ ทวนประโยคของลูกด้วยประโยคที่ถูกต้องคือ “จ๊ะ แม่ไป ตลาดจ๊ะ” • ให้ลูกร่วมท�ำกิจวัตรประจ�ำวันกับเรา เช่น ร้องเพลง กับลูก ตบมือ เล่นเกมง่าย ๆ ขณะที่เปลี่ยนผ้าอ้อม ท�ำหน้าตลก เล่นจ๊ะเอ๋เวลากวาดบ้าน ถูบ้าน ซักผ้า ซึ่งลูกจะเข้ามาช่วยอยู่ ใกล้ ๆ เล่นส่องกระจกกันเวลาแต่งตัวให้ลูก ฯ ที่ส�ำคัญ ฝึกให้ ลูกช่วยงานง่าย ๆ เช่นถ้าลูกจับช้อน จานได้ดีพอควรแล้ว ก็ฝึก ให้หัดล้างผัก ตักข้าว ล้างจาน เด็ก ๆ ชอบมากที่จะมีส่วนร่วม กิจกรรมกับคุณพ่อคุณแม่ ถ้าที่บ้านมีคนช่วยท�ำงานบ้าน ก็ให้ลูก ช่วยเขาในกิจกรรมของเขาเอง เช่น ทานข้าว แต่งตัว ขณะที่ลูก ร่วมกิจกรรม คุณก็อธิบายขั้นตอนต่าง ๆ ให้ลูกฟังว่าเริ่มต้นท�ำ อย่างไร ต่อด้วยอะไร และสุดท้ายเป็นอย่างไร • อ่านหนังสือกับลูกทุกวัน อย่าได้ขาด ไม่ว่าลูกจะนั่ง นิ่ง ๆ อยู่กับคุณได้จนจบเรื่องหรือไม่ คุยกับเขา อธิบายรูปภาพ สี รูปทรง จ�ำนวน และค�ำต่าง ๆ ที่ปรากฏเชื่อมโยงภาพเข้ากับ ค�ำ พาไปร้านหนังสือ หรือห้องสมุดใกล้ ๆ เพื่อช่วยกันเลือก หนังสือที่ลูกชอบ • เล่านิทานให้ลูกฟัง คิดเรื่องขึ้นเอง เด็กเล็กชอบฟัง เรื่องที่มีตัวเขาเป็นผู้แสดง หรือ เกี่ยวกับเรื่องที่เขาคุ้นเคยใน กิจวัตรประจ�ำวัน • ร้องเพลงกล่อม เลือกเพลงง่าย ๆ จังหวะพอดี ๆ หรือ เปิดเทปเสียงให้ฟัง ไม่แนะน�ำให้ใช้วิดีโอที่มีภาพ ลูกอยากฟัง เสียงของคุณพ่อ คุณแม่มากกว่า ลูกไม่ได้สนใจว่าเสียงเพราะ หรือไม่เพราะ จะร้องเพลงถูกจังหวะ ท�ำนองหรือไม่

คุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ คงไม่ อ ยากให้ ลู ก ของเรามี บุ ค ลิ ก ภาพ ไม่ ดี กลายเป็ น ที่ ข บขั น ของคนอื่ น ๆ นอกจาก นี้ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญทั่ ว โลกต่ า งมี ค วามเห็ น ตรงกั น ว่ า “พั ฒ นาการทางภาษา” มี ส ่ ว นส� ำ คั ญ ต่ อ พั ฒ นาการ ด้ า นสติ ป ั ญ ญาอย่ า งชั ด เจน ดั ง นั้ น หลายประเทศ จึ ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การส่ ง เสริ ม พั ฒ นาการภาษา

68 IS AM ARE www.fosef.org


ท� ำ ไมบางคนพู ด เร็ ว บางคนพู ด ช้ า ยังคงเป็นข้อสงสัยว่า ท�ำไมเด็กบางคนพูดช้า บางคน พูดเร็วกว่าคนอื่น หลายคนคิดว่าเป็นเรื่องพันธุกรรม อายุที่เด็ก แต่ละคนจะพูด “ค�ำแรก” ที่มีความหมาย อาจอยู่ระหว่าง 9-18 เดือน ในช่วงแรกเด็กจะพูดได้เพียงไม่กี่ค�ำ แต่ในช่วงขวบปีที่ 2 จ�ำนวนค�ำจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่วนความเข้าใจความหมาย ของ “ค�ำ” นั้น จะเริ่มราว ๆ อายุ 9 เดือน บางครั้งเราเรียกว่า “ภาษาใจหรือ ภาษาคิด” และจะพัฒนามากขึ้นเป็นล�ำดับ บาง ครั้งแม้ว่าเด็กจะไม่เปล่งค�ำพูดออกมา แต่สามารถชี้ภาพได้ถูก ต้องเมื่อเราถามค�ำถาม เป็นสัญญาณบอกถึงภาษาใจหรือภาษา คิดของเด็กเอง ส�ำหรับเด็กที่อยู่ในครอบครัวที่ใช้ 2 ภาษา เช่น ภาษา ไทยกับภาษาจีน หรือไทยกับอังกฤษ อาจเรียนภาษาได้ช้ากว่า แต่ถือเป็นโอกาสดีส�ำหรับเด็กที่จะคุ้นเคยกับทั้งสองภาษา แต่ ไม่ควรเป็นข้อละเลยหากคุณแม่คุณพ่อสังเกตว่าลูกพูดช้ากว่า คนอื่น แล้วเมื่อไรที่คุณพ่อคุณแม่ควรเอะใจ ข้อแนะน�ำ • ใช้สามัญส�ำนึกในความเป็นพ่อแม่ มีบางอย่างผิดปกติ ไม่ว่าจะสังเกตว่าลูกพูดช้า เดินช้า กว่าเด็กคนอื่น แม้ว่าอาจ ไม่แน่ใจว่า วิตกมากไปหรือเปล่า แต่ก็ไม่เสียหายที่จะขอรับ ค�ำปรึกษาจากผู้รู้ เช่น แพทย์ใกล้บ้าน หรือ หมอประจ�ำตัว เด็ก • จะพูดได้หรือไม่ เด็กจะต้องสามารถ “มองเห็น” และ “ฟัง” ได้ตามปกติ เพราะฉะนั้น เราเคยสังเกตหรือให้ความ สนใจหรือไม่ บางทีเราสังเกตว่า ลูกเดินเซชนนั่นชนนี่ เป็นเพราะ เดินยังไม่แข็ง หรือว่า มีปัญหาเรื่องการมองเห็น เด็กพูดช้า เป็น เพราะมีปัญหาเรื่องการได้ยินหรือไม่ • หากลูกยังไม่พูดเมื่ออายุใกล้ขวบครึ่ง ควรเดือดร้อน ที่จะหาที่ปรึกษาเพื่อให้แน่ใจว่า ควรช่วยเหลือลูกอย่างไร เป็น เพราะเราไม่สอน เพราะเราไม่รู้หรือว่าลูกมีความผิดปกติของ พัฒนาการด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง • ถ้าเด็กยังพูดวลีหรือประโยคสั้น ๆ ไม่ได้ก่อนอายุ 2 ขวบครึ่ง ไม่ควรนิ่งนอนใจ หรือพยายามพูดแต่ติดขัดพูดออก มาไม่ได้ พูด ๆ แล้วก็หยุดไปไม่สามารถพูดต่อเนื่องได้

เกิดขึ้นเร็วและมากเกินกว่าที่ลิ้นจะขยับค�ำพูดออกมาทัน ซึ่งเป็น อาการที่เกิดขึ้นได้บ่อย ๆ แต่ส่วนมากเป็นภาวะปกติในช่วงอายุ 2 ขวบถึง 2 ขวบครึ่ง ทั้งเป็นอาการที่อาจติดเป็นนิสัยหรือเป็น เพียงภาวะที่เด็กทดลอง รวมทั้งเป็นอาการที่เกิดขึ้นเมื่อเด็กเกิด ความเครียด ต้องการความใส่ใจมากขึ้นในช่วงการเปลี่ยนแปลง ของครอบครัว เช่น คุณแม่มีน้องใหม่ พ่อแม่แยกกัน เด็กถูกส่งตัว ไปฝากเลี้ยงในศูนย์เด็กเล็ก ฯ ก่อนที่จะวิตกกังวลมากเกินไป ขอให้คุณแม่คุณพ่อเฝ้าสังเกตลูกสัก 3-6 เดือน ท่านอาจพบว่า อาการติดอ่างเพิ่มมากขึ้นแล้วค่อยหายไปเอง หากไม่แน่ใจลอง จดบันทึกไว้โดยสังเกตท�ำเครื่องหมายไว้บนปฏิทินแต่ละครั้ง ที่พบว่าลูกติดอ่าง เป็นการเฝ้าระวังว่าลูกติดอ่างมากขึ้นหรือ น้อยลง ค่อย ๆ หัดลูกให้พูดช้าลง เพื่อให้ลิ้นไม่พันกัน หากพบ อาการต่อไปนี้ ควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านการฝึกพูด เด็กพูดค�ำ วลีหรือประโยคซ�้ำ ๆ ออกเสียงซ�้ำ ๆ หรือพูดออกมาไม่ได้ติดขัด ทั้งที่พยายามจะท�ำ นอกเหนือจากการพูด พัฒนาการที่ส�ำคัญก็คือ การฟัง ซึ่งมีระดับการฟังเสียงเฉย ๆ กับการตั้งใจฟังเพื่อรวบรวมเสียง/ ค�ำพูดที่ได้ยิน และท�ำความเข้าใจความหมายเหล่านั้น หากเด็ก มีปัญหาเรื่องการฟังเสียงจะมีผลโดยตรงต่อพัฒนาการภาษา ฉะนั้นเป็นสิ่งส�ำคัญที่ผู้เลี้ยงดูต้องให้ความใส่ใจมากเป็นพิเศษ เพื่อค้นพบความผิดปกติได้เร็วที่สุด สาเหตุมีหลายอย่าง เช่น ความผิดปกติของอวัยวะรับเสียงตั้งแต่แรกเกิด การติดเชื้อ โดย เฉพาะที่พบบ่อยมากคือ หูน�้ำหนวก ซึ่งมักเกิดขึ้นร่วมกับการ เป็นหวัดเรื้อรัง ซึ่งควรได้รับการตรวจอย่างละเอียดเพื่อแก้ไข ให้ตรงสาเหตุ ฉบับหน้าเราจะคุยกันเรื่อง “การมองเห็น” ซึ่งส�ำคัญมาก และมีเวลาจ�ำกัดส�ำหรับเด็กเล็ก

อาการพู ด ติ ด อ่ า ง อันที่จริงอาการติดอ่างเกิดขึ้นได้ในหลายลักษณะ บาง ประเภทไม่ถือว่าผิดปกติ เช่นในช่วงที่เด็กหัดพูดใหม่ ๆ แต่เป็น ที่ยอมรับทั่วกันว่า ยิ่งช่วยเหลือเร็วเท่าไรก็ยิ่งดี หากท่านสังเกต พบ อาการพูดติดอ่างเกิดขึ้น ควรตรวจสอบและท�ำความเข้าใจ กับอาการของลูก ก่อนอื่นสภาวะติดอ่างเกิดขึ้นเพราะความคิด 69 issue 123 APRIL 2018


เยาวชนของแผ่ น ดิ น

สร้างสติ๊กเกอร์ไลน์ ขายตลอดชี วิต

ณัชชา เจริญชนะกิจ

ไลน์ เป็ น แอพพลิ เ คชั่ น ที่ นิ ย มใช้ กั น ทั่ ว โลก แถมยั ง เปิ ด โอกาสให้ บุ ค คลทั่ ว ไปสามารถ “ท� ำ สติ๊ ก เกอร์ ข าย” ผ่ า นไอเดี ย ของตนเองตามข้ อ ก� ำ หนดของไลน์ สร้ า งรายได้ พิ เ ศษให้ กั บ หลายคนในโลกออนไลน์ ไ ม่ น ้ อ ย

70 IS AM ARE www.fosef.org


71 issue 123 APRIL 2018


น้องณัชชา เจริญชนะกิจ ศิษย์เก่าจากโรงเรียนศึกษานารี ในโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษา ปัจจุบันเรียนอยู่ชั้น ปีที่ 3 คณะคุรุศาสตร์ สาขาศิลปะ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยว่า ตนเป็นอีกคนหนึ่งที่ท�ำสติ๊กเกอร์ขายตั้งแต่เรียนอยู่ ชั้นปีที่ 2 เมื่อมีโอกาสได้ลงเรียนวิชา Advance Computer Graphic “อาจารย์ให้ท�ำสติ๊กเกอร์คนละเซ็ท แต่ไม่ได้บังคับส่ง ไปขายทางไลน์ ใครอยากจะส่งก็ส่ง เป็นงานเดี่ยว มันจะมีช่อง ทางเปิดให้คนส่งได้อยู่แล้ว มีคู่มือค�ำแนะน�ำอยู่ในเว็บไซต์ไลน์ ข้อก�ำหนดทั้งหมดอยู่ในนั้น เขาก�ำหนดราคาให้เรา ถ้าเป็น สติ๊กเกอร์ที่ส่งไปขายทุกคนได้ 30 บาท ถ้าเป็นสติ๊กเกอร์ที่ท�ำ เองแบบออฟฟิเชียลราคา 50 บาท แต่อันนี้เราท�ำในนามของเรา เอง(บุคคล) ขายได้ตลอดไม่มีก�ำหนด เราต้องโฆษณาเอง คนส่ง ไปเยอะถ้าเราไม่โฆษณาคนก็จะไม่รู้ ขายได้ตลอดชีวิต” น้องณัชชาเล่าว่า เธอเป็นคนชื่นชอบงานศิลปะ และได้ อาศัยทักษะเหล่านั้นมาวาดเป็นตัวการ์ตูน ร่างแบบด้วยมือใน กระดาษจนพอใจ เพื่อจะผลิตสติ๊กเกอร์ไลน์ในแบบของตนเอง จากนั้นน�ำภาพที่ร่างไว้ ไปวาดในโปรแกรมอิลาสเตเตอร์เพื่อ บรรจุเป็นภาพออนไลน์ “ตั้งแต่เริ่มต้นคือคิดก่อนว่าอยากจะได้แบบไหน แล้ว วาดร่างด้วยมือก่อน เมื่อพอใจแล้วว่าอยากได้ประมาณนี้ แล้ว ก็เอาลงคอมฯ ใช้โปรแกรมอิลาสเตเตอร์วาดลงคอมฯ แล้วก็ลง สี ทั้งหมดต้องดูรายละเอียดของทางไลน์ก่อนว่า เขาก�ำหนดให้ มีไฟล์ขนาดไหน เช่น ต้องมีจ�ำนวนตัวสติ๊กเกอร์ 8,16,32,40 ตัว เราก็วาดตามที่เขาก�ำหนด จัดไซต์ตามที่เขาก�ำหนด พอเรา มีรูปแล้วก็เข้าไปในเว็บไลน์เพื่ออัพโหลดยื่นขอพิจารณา ใส่ราย ละเอียด เขาจะมีให้ใส่คีร์เวิร์ด ใส่ชื่อ ค�ำอธิบายสติ๊กเกอร์ของ เรา รอเวลาพิจารณาประมาณ 1-2 เดือน ถ้ามีข้อแก้ไขทางไลน์ จะแจ้งให้ทราบเราก็แก้ไปตามนั้น แล้วก็รอเวลาตอบกลับ แต่ ของเราคือผ่านเลยครั้งเดียว ไม่ต้องแก้ไขตรงไหน” น้องณัชชาได้ไอเดียสติ๊กเกอร์จากสุนัขที่ตนชอบวาด น�ำ มาดัดแปลงให้เป็นตัวกลมๆ เหมือนลูกฟุตบอลและลูกบาส ผ่าน การออกแบบให้น่ารัก ดูตลกข�ำขัน เพื่อดึงดูดคนรุ่นใหม่ที่ชอบ สื่อสารความรู้สึกกันผ่านสติ๊กเกอร์ โดยใช้ชื่อว่า “Bounce” (เด้งๆ) “ตั ว การ์ ตู น ตั ว นี้ เ ป็ น คาแรคเตอร์ ที่ เราวาดไว้ อ ยู ่ แ ล้ ว ตั้งแต่เรียนอยู่ปี 1 ก็เลยยึดคาแรคเตอร์ตัวนี้เป็นคาแรคเตอร์ตัว เองมาตลอด สติ๊กเกอร์ตัวแรกที่ท�ำจึงเป็นรูปหมา จากแนวคิด 72 IS AM ARE www.fosef.org


73 issue 123 APRIL 2018


น้ อ งณั ช ชาเล่ า ว่ า เธอเป็ น คนชื่ น ชอบ งานศิ ล ปะ และได้ อ าศั ย ทั ก ษะเหล่ า นั้ น มา วาดเป็ น ตั ว การ์ ตู น ร่ า งแบบด้ ว ยมื อ ใน กระดาษจนพอใจ เพื่ อ จะผลิ ต สติ๊ ก เกอร์ ไลน์ ใ นแบบของตนเอง จากนั้ น น� ำ ภาพที่ ร่ า งไว้ ไปวาดในโปรแกรมอิ ล าสเตเตอร์ เพื่ อ บรรจุ เ ป็ น ภาพออนไลน์

74 IS AM ARE www.fosef.org


ปั จ จุ บั น น้ อ งณั ช ชายั ง คงใช้ เ วลาว่ า งผลิ ต สติ๊ ก เกอร์ ไลน์ ค อลเลคชั่ น ใหม่ ๆ ต่ อ ไปเรื่ อ ยๆ เธอกล่ า วว่ า สิ่ ง ที่ ภ าคภู มิ ใ จคื อ คุ ณ แม่ ช อบมากและดี ใ จที่ ไ ด้ ใ ช้ สติ๊ ก เกอร์ ไ ลน์ ข องลู ก สาวตั ว เอง ทั้ ง ยั ง แนะน� ำ ให้ คนรอบข้ า งใช้ อ ย่ า งแพร่ ห ลาย “ของเราเป็ น สติ๊ ก เกอร์ ที่ ไ ม่ มี ค� ำ พู ด อาจจะผ่ า นการ พิจารณาง่ายกว่า อย่างบางคนโดนเรื่องพิมพ์ผิด ใช้ค�ำไม่สุภาพ ภาษาวิบัติ เขาก็ไม่ให้ผ่าน ของเราก็มีค�ำพูดเหมือนกันแต่เป็นค�ำ ง่ายๆ อย่างโอเค แต๊งส์กิ้ว เลยไม่ผิดอยู่แล้ว ก็ผ่านการพิจารณา ง่ายขึ้น” ปัจจุบันน้องณัชชายังคงใช้เวลาว่างผลิตสติ๊กเกอร์ไลน์ คอลเลคชั่นใหม่ๆ ต่อไปเรื่อยๆ เธอกล่าวว่าสิ่งที่ภาคภูมิใจคือ คุณแม่ชอบมากและดีใจที่ได้ใช้สติ๊กเกอร์ไลน์ของลูกสาวตัวเอง ทั้งยังแนะน�ำให้คนรอบข้างใช้อย่างแพร่หลาย สร้างรายได้จาก การท�ำสติ๊กเกอร์ของตัวเอง และยังรับจ้างท�ำสติ๊กเกอร์ให้กับ ผู้ที่สนใจอีกด้วย “นับเป็นการลงทุนที่คุ้มค่านะ นอกจากจะไม่เสียค่า ใช้จ่ายแล้ว ยังสามารถสะสมเงินใช้ได้ตลอดชีวิตด้วย” น้อง ณัชชากล่าว

ความชอบของเราคือ เป็นลูกบอลและเป็นลูกบาส แล้วก็เป็น หมาด้วย ท�ำออกมาสองอย่างคือหมาที่มีลักษณะที่เป็นลูกกลมๆ เป็นลูกบอล อยากเน้นให้ตลกๆ คนจะได้ชอบ แล้วก็จะมีอีกตัว หนึ่งที่มาคู่กันคือเป็นนกที่เหมือนลูกบอล สองตัวนี้จะตั้งชื่อให้ สอดคล้องเหมือนการกระโดด คล้ายๆ ลูกบอล คือตัวหมาชื่อ Bounce แปลว่ากระโดด แล้วก็นกชื่อ spring แปลว่ากระโดด ได้เหมือนกัน” ข้อสังเกตก็คือ สติ๊กเกอร์จะต้องไม่หยาบคาย ทั้งภาพ และข้อความตัวอักษร หลายคนวาดภาพเก่งมาก ออกแบบได้ ดี แต่ไลน์ก็ตีกลับไม่ยอมให้ขายก็เพราะไม่ตรงกับข้อก�ำหนด ของไลน์ น้องณัชชากล่าวว่า การท�ำสติ๊กเกอร์ไลน์ขายไม่เสีย ค่าใช้จ่ายใด แถมรายได้จากการดาวน์โหลดทั้งหมดจะถูกแบ่ง ให้ผู้ออกแบบ 30-50 เปอร์เซ็นต์ ผ่านบัญชีซึ่งคิดหน่วยเป็น เงินเยนของญี่ปุ่น เมื่อครบ 1,000 เยน ถึงจะสามารถเบิกเงิน ออกไปใช้ได้ 75

issue 123 APRIL 2018


พิพิธภัณฑ์สิรินธร จ.กาฬสินธุ์ หลั ง จากได้ รั บ พระราชทานพระนามจากสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ไ ดโนเสาร์ ภู กุ ้ ม ข้ า ว จึ ง มี ชื่ อ อย่ า งเป็ น ทางการว่ า พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ สิ ริ น ธร พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ที่ มี ชี วิ ต ชี ว า ด้ ว ยการให้ ค วาม รู ้ ที่ ส นุ ก สนานเกี่ ย วกั บ โลกดึ ก ด� ำ บรรพ์ การก� ำ เนิ ด ของสิ่ ง มี ชี วิ ต และการ สู ญ สิ้ น เผ่ า พั น ธุ ์ ไ ดโนเสาร์ 76 IS AM ARE www.fosef.org


70 เส้ น ทางตามรอยพระบาท โดย ททท. ใครที่ ไ ด้ ม าเยี่ ย มเยื อ นพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ แ ห่ ง นี้ จะได้ เ ห็ น การท�ำงานของกลุ่มเจ้าหน้าที่กรมทรัพยากรธรณีทุกคนอย่าง ใกล้ ชิ ด ไม่ ว ่าจะเป็น นัก ธรณีวิทยาที่ก�ำลังขุด แซะ ซากโครง กระดู ก ไดโนเสาร์ ข องจริ ง ขนาดใหญ่ เ กื อ บเต็ ม ตั ว ส่ ง ต่ อ ไปสู ่ ผู้เชี่ยวชาญ ในห้องปฏิบัติการ ที่ก�ำลังวิจัย หาเผ่าพันธุ์ที่แท้จริงของ โครงกระดูกเหล่านั้น นอกจากความรู ้ แ ละสาระประโยชน์ ด ้ า นธรณี วิ ท ยา ทุกคนยังได้รับความสนุกสนานจากนิทรรศการถาวร ที่น�ำเสนอ ได้อย่างมีลูกเล่น มีอินโฟกราฟิกที่สวยงาม เข้าใจง่าย มีรูปภาพ ประกอบที่ดูทันสมัย ไม่ว่าจะเป็นทฤษฎีการเกิดระเบิดครั้งใหญ่ (Big Bang Theory) หรือการพุ่งชนของอุกกาบาต รับรองได้ ว่าทั้งเด็กและผู้ใหญ่ จะจับมือกันร่วมศึกษาเรียนรู้เคียงข้างกัน ไปได้ตลอดทั้งวัน “ถิ่นแดนอีสาน ที่มีการขุดค้นพบ กระดูกไดโนเสาร์ จ�ำนวนมาก ท�ำให้เกิดศูนย์ศึกษาวิจัยและ เก็บข้อมูล จนกลาย เป็นพิพิธภัณฑ์ในที่สุด”

ทริปตัวอย่าง

2 วั น 1 คื น เส้ น ทางท่ อ งเที่ ย ว จ.ขอนแก่ น -กาฬสิ น ธุ ์ - ร้ อ ยเอ็ ด วั น แรก : ขอนแก่ น -กาฬสิ น ธุ ์ ช่วงเช้า • เยี่ยมชมพระธาตุขามแก่นพระธาตุศักดิ์สิทธิ์คู่เมือง ช่วงกลางวัน • ตื่ น ตากั บ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ไ ดโนเสาร์ ที่ ส มบู ร ณ์ ที่ สุ ด ใน อาเซียน ที่พิพิธภัณฑ์สิรินธร • เยี่ยมชมพระบรมสารีริกธาตุและกราบพระพุทธนิมิตร เหล็กไหลที่วัดพุทธนิมิตร หรือวัดภูค่าว ช่วงบ่าย • เดินทางสู่บ้านโพน เยี่ยมชมพระบรมธาตุเจดีย์ ฐิตสีลม หาเถรานุสรณ์ ณ วัดรังสีปาลิวัน หรือวัดหลวงปู่เขียน • เยี่ยมชมศูนย์วัฒนธรรมผู้ไทยผ้าไหมแพรวา บ้านโพน สถานที่จัดแสดงผ้าไหมแพรวาลวดลายต่างๆ ที่งดงาม จนได้ชื่อ ว่าเป็นราชินีแห่งไหม พร้อมเลือกซื้อเป็นของที่ระลึก 77 issue 123 APRIL 2018


78 IS AM ARE www.fosef.org


วั น ที่ ส อง : กาฬสิ น ธุ ์ - ร้ อ ยเอ็ ด ช่วงเช้า • เยี่ยมชมพระธาตุยาคู เจดีย์ที่ใหญ่ที่ สุ ด ในเมื อ งฟ้ า แดดสงยาง เชื่ อ ว่ า เป็ น ที่ บ รรจุ อั ฐิ ข องพระเถระผู ้ ใ หญ่ ที่ ช าว เมืองนับถือ • เรียนรู้ศิลปะการเขียนบาติกบนผ้าไหมอีสาน ที่เมือง ไม้บาติก OTOP 5 ดาว ของร้อยเอ็ด ช่วงบ่าย • เดินทางสู่วัดป่ากุง ชมความงดงามของเจดีย์หินทรายที่ จ�ำลองมาจากเจดีย์บรมพุทโธที่อินโดนีเซีย พร้อมเยี่ยมชมเจดีย์ มหาวีราจริยา นุสรณ์ เจดีย์กลางน�้ำที่ใช้ประกอบพิธีพระราช เพลิงสรีระสังขารของหลวงปู่ศรี มหาวีโร

ห้ามพลาด

ที่ เ ที่ ย วห้ า มพลาด • อาคารหลุมขุดค้นกระดูกไดโนเสาร์ เสมือนหลุดเข้าไป ในโลกจูราสสิคห้องแสดงฟอสซิลแบบจ�ำลองฟอสซิลที่ค้นพบ จากประเทศต่างๆ ทั่วโลกโถงรวมกระดูกไดโนเสาร์ไทยกระดูก จ�ำลองที่สร้างขึ้นให้เรา เห็นภาพไดโนเสาร์จริงทั้งตัว

กิจกรรมห้ามพลาด

• ศึกษาก�ำเนิดสึนามิ • ดูการเกิดหินงอกหินย้อย

พิพิธภัณฑ์สิรินธร

200 ม.11 ต.โนนบุรี อ.สหัสขันธ์ จ.กาฬสินธุ์ โทร. 0-4387-1014 , 0-4387-1613 www.sdm.dmr.go.th เปิดให้ชม : วันอังคาร-วันอาทิตย์ เวลา 09.00-17.00 น. ฤดูท่องเที่ยว : ตลอดทั้งปี

การเดินทาง

จากตัวเมือง วิ่งไปทางหลวงหมายเลข227 กาฬสินธุ์สหัสขันธ์-ค�ำม่วง- วังสามหมอ-พังโคน ก่อนถึงตัวอ.สหัสขันธ์ ประมาณ 1 กม. เมื่อเจอ ซุ้มประตูวัดสักกะวัน ให้เลี้ยวขวา เพื่อเข้าพิพิธภัณฑ์ 79 issue 123 APRIL 2018


ลู ก ไม้ ใ นสวน เมื่อเร็ว ๆ นี้ เยาวชนจิตอาสาครอบครัวพอเพียงได้ร่วมกันจัดกิจกรรม “ลูกไม้ในสวน” เพื่อให้ความรู้เด็กๆ เกี่ยวกับหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5 ค�ำ 5 ข้อที่พ่อสอน ผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น ท�ำกระปุกออมสิน ระบายสีตัวการ์ตูนครอบครัว พอเพียง ต่อโมเดล ต่อจิ๊กซอเกมส์บันไดงู ณ บริเวณสนามเด็กเล่น สวนสันติภาพ โดยมีเยาวชนจิตอาสาจากโรงเรียนต่างๆ ใน กรุงเทพมหานครมาร่วมท�ำกิจกรรมเพื่อใช้เวลาว่างที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์

กิ จ กรรมสอนหนั ง สื อ น้ อ งในชุ ม ชน ร่ ว มกั บ กลุ ่ ม ซ.อาสา เยาวชนครอบครัวพอเพียง เข้าร่วมกิจกรรมสอนหนังสือน้องในชุมชน ร่วมกับ กลุ่ม ซ.โซ่อาสา ณ ชุมชนหัวรถจักรตึกแดง บางซื่อ กรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เวลาว่างในการแบ่งปันประสบการณ์ ความรู้ และร่วมกิจกรรมนันทนาการกับน้องๆในชุมชนอย่าง สนุกสนาน

80 IS AM ARE www.fosef.org


Round About จิ ต อาสาช่ ว ยงานพยาบาล เมื่อวันที่ 2 มี.ค.มูลนิธิครอบครัวพอเพียงจัดกิจกรรม “จิตอาสาช่วยงานพยาบาล” ณ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ (โรงพยาบาลเด็ก) เพื่อให้เยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และรู้จักช่วยเหลือผู้อื่นโดยไม่หวังผลตอบแทน โดยมีโรงเรียนส่ง นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมครั้งละ 1 โรงเรียนทั้งหมด 9 ครั้ง ได้แก่ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนวัดราชาธิวาส โรงเรียน ราชวินิต มัธยม และโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เป็นต้น

ครอบครั ว พอเพี ย งชวนเที่ ย วงานอุ ่ น ไอรั ก คลายความหนาว วอล์คแรลลี่ - เมื่อวันที่ 11 มี.ค.มูลนิธิครอบครัวพอเพียงจัดกิจกรรม “วอล์คแรลลี่ อุ่นไอรักคลายความหนาว” ณ พระลาน พระราชวังดุสิต และสนามเสือป่า โดยให้เยาวชนค้นหาความรู้ความเป็นไทยต่างๆ ภายในงานผ่านการวอล์คแรลลี่ ซึ่งมีโรงเรียนใน กรุงเทพฯและปริมณฑณเข้าร่วมแข่งขันทั้งหมด 21 ทีม โดยทีมชนะเลิศได้แก่ โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี

81 issue 123 APRIL 2018


เว็ปไซต์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดี ๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี

www.fosef.org 82

IS AM ARE www.fosef.org


เผยผิ ว ใสไร้ ริ้ ว รอย ด้ ว ย สบู ่ ว ่ า นหางจระเข้ ภั ท รพั ฒ น์ คุ ณ ค่ า จากว่ า นหางจระเข้ ที่ ช ่ ว ยลดรอยแดงจากการอั ก เสบของผิ ว ที่ โ ดนแดด ลดเลื อ นริ้ ว รอย ฝ้ า กระ จุ ด ด่ า งด� ำ เพิ่ ม ความชุ ่ ม ชื่ น ให้ ผิ ว ไม่ แ ห้ ง กร้ า น เมื่ อ ใช้ เ ป็ น ประจ� ำ ผิ ว หน้ า กระจ่ า งใสขึ้ น อย่ า งเป็ น ธรรมชาติ สามารถหาซื้อได้ที่ร้านภัทรพัฒน์ทุกสาขาหรือสั่งซื้อออนไลน์ได้ทาง Facebook/Patpat9 ภัทรพัฒน์สินค้าจากมูลนิธิชัยพัฒนา และ www.patpat9.com 83 issue 123 APRIL 2018


นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง พร้อมเสริพ์ให้ทุกท่านได้อ่านแล้ว!! เพี ย งแค่ ค ลิ ก เข้ า ไปที่ www.fosef.org ท่ า นก็ ส ามารถอ่ า นนิ ต ยสาร IS AM ARE ครอบครั ว พอเพี ย ง ได้ โ ดยไม่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ย เรื่ อ งราว สาระดี ๆ มากมายรอท่ า นอยู ่ หากอ่ า นแล้ ว ถู ก ใจอย่ า ลื ม บอกต่ อ นะครั บ 84 IS AM ARE www.fosef.org


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.