IS AM ARE
ความส�ำคัญของพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ค�ำเกี่ยวกับพระราชพิธีบรมราชาภิเษก “ถ้าเกิดฝนตกลงมาเป็นเพชร มนุษย์เกิดไม่มีศีลธรรม ก็ต้องฆ่ากันตาย”
สัมภาษณ์ ดร.ฉัททวุ ฒิ พีชผล อธิการบดีมหาวิทยาลัยเอเชี ยอาคเนย์
2 IS AM ARE www.fosef.org
สามั ค คี ห รื อ การปรองดองกั น ไม่ ไ ด้ ห มายความว่ า คนหนึ่ ง พู ด อย่ า งหนึ่ ง ...คนอื่ น ต้ อ งพู ด เหมื อ นกั น หมด ลงท้ า ยชี วิ ต ก็ ไ ม่ มี ค วามหมายต้ อ งมี ค วามแตกต่ า งกั น แต่ ต ้ อ งท� ำ งานให้ ส อดคล้ อ งกั น แม้ จ ะขั ด กั น บ้ า ง...ก็ ต ้ อ งสอดคล้ อ งกั น
พระราชด� ำ รั ส พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช พระราชทานแก่ ค ณะบุ ค คลต่ า งๆ ในโอกาสวั น เฉลิ ม พระชนมพรรษา ๔ ธั น วาคม ๒๕๓๖
3 issue 135 april 2019
Editorial สวัสดีปีใหม่ไทย..ตรุษไทย วันสงกรานต์ เดือนแห่งความสุข เมษายนของทุกปี นอกจากในเดือนนี้ จะเป็นวันตรุษ ไทยแล้ว เดือนนี้ยังมีวันที่ส�ำคัญอีกหนึ่งวันคือ วันคล้ายวันพระราชสมภพของ “พระองค์หญิงน้อย” หรือสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ วันที่ ๒ เมษายน ที่ผ่านมา เราจะได้พบเห็นภาพของ “พระองค์หญิงน้อย” ตามเสด็จพระราชบิดา หรือพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไปในทุกๆ ที่ทั่วประเทศ ภาพพระราชกรณียกิจ (การท�ำงาน) ที่ทรงท�ำในทุกพื้นที่ ทั่วประเทศนั้น ล้วนแล้วแต่ เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขแก่ประชาชนทั้งสิ้น “พระราชาไม่ทรงให้เงิน แต่พระราชาทรงให้ชีวิตที่สมบูรณ์และ ยั่งยืน” บนพื้นฐานของอาชีพ คือเกษตรกร ถ้าจะถามว่าคนไทยมีอาชีพได้เฉพาะการเกษตรเท่านั้นหรือ แล้วค�ำตอบ ตอบว่าใช่ คงไม่ผิด เพราะกว่า ๖๓ เปอร์เซนต์ แรงงานส่วนใหญ่ของไทยอยู่ในภาคเกษตรกรรม โดยมีข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจหลักที่ส�ำคัญที่สุดของประเทศ และส่งออกข้าว เป็นอันดับ ๑ ของโลก ประเทศไทยมีพื้นที่ซึ่งเหมาะต่อการเพาะปลูกกว่า ๒๗.๒๕% ซึ่งในจ�ำนวนนี้กว่า ๕๕% ใช้ส�ำหรับ การปลูกข้าว ส่วนพืชผลทางการเกษตรอื่นๆ ได้แก่ ยางพารา ผักและผลไม้ต่างๆ รวมไปถึงมีการเพาะเลี้ยงปศุสัตว์ เช่น วัว สุกร เป็ด ไก่ สัตว์น�้ำทั้งปลาน�้ำจืด ปลาน�้ำเค็มในกระชัง การท�ำนากุ้ง การเลี้ยงหอย รวมไปถึงการประมงทางทะเล เนื่องจาก ประเทศไทยมีความอุดมสมบูรณ์ด้านพืชพรรณธัญญาหารตลอดปี จึงได้ชื่อว่าเป็นแหล่งผลิตอาหารที่ส�ำคัญของโลก และเป็น ผู้ส่งออกอาหารรายใหญ่ของโลกเป็นอันดับที่ ๕ แผ่นดินไทยแผ่นดินที่อุดมสมบูรณ์ มีทรัพยากรที่มีค่ามากมายที่อยู่ในดิน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเพียร พยายามให้คนไทยรู้ และทรงท�ำเป็นตัวอย่าง ดังเช่น วันพืชมงคล พิธีแรกนาขวัญ พระองค์ทรงเกี่ยวข้าวด้วยพระองค์เอง ทรง ให้ความส�ำคัญแก่ประชาชนที่มีอาชีพ ท�ำนา และทรงเป็นชาวนาด้วยพระองค์เอง ที่ประทับ(ที่อยู่) พระราชวังสวนจิตรลดา มีแปลงนา มีการเกี่ยวข้าวและพระราชทานเมล็ดพันธุ์ข้าวให้ชาวนา ทุกปี
“พระองค์หญิงน้อย” หรือ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ก็ทรงมีพระราชจริยวัตร (ท�ำตามที่พ่อสอน) เช่ นนั้น และทรงมีความเป็นห่วงประชาชนคนไทย ดั่งเช่ นพระราชบิดา ทุกประการ เนื่องในวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ๒ เมษายน ขอพระองค์ทรงพระเจริญ ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ
4 IS AM ARE www.fosef.org
Contributors
มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง
พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี ประธานโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ นายธนพร เทียนชัยกุล นายณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ นายภูวนาถ เผ่าจินดา นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา นางสาวเอื้อมพร นาวี ผศ.ดร.ปรีชาพร สุวัฒโนดม นายเอกรัตน์ คงรอด นายอภีม คู่พิทักษ์ นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ นายธงชัย วรไพจิตร
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก กรรมการ กรรมการ
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ดร.เชิดศักดิ์ ดร.กัมปนาท ดร.นฤมล ดร.อ�ำนาจ ดร.ชลพร ดร.กาญจนา ดร.ปิยฉัตร ดร.คุณานันท์
ศุภโสภณ บริบูรณ์ พระใหญ่ วัดจินดา กองค�ำ สุทธิเนียม กลิ่นสุวรรณ ทยายุทธ
Let’s
Start and Enjoy!
ส�ำนักงาน :
โทรศัพท์ : โทรสาร : เว็ปไซต์ :
5 issue 135 april 2019
นิตยสารครอบครัวพอเพียง 663 ซอยพหลโยธิน 35 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 0 2939 5995 0 2939 5996 www.fosef.org
Hot Topic
8
เรื่องเล่าประทับใจของ สมเด็จพระเทพฯ
54
48
ชี วิตผกผัน หันปลูก สมุ นไพรขาย สร้างรายได้แบบยั่งยืน ยศรายุ ทธ คูณสุข
“ถ้าเกิดฝนตกลงมาเป็ นเพชร มนุษย์เกิดไม่มีศีลธรรมก็ต้อง
ฆ่ากันตาย” ดร.ฉัททวุ ฒิ พีชผล
Don’t miss
17
76 68 6 IS AM ARE www.fosef.org
64 72
Table Of Contents
ดร.ฉัททวุ ฒิ พีชผล
อธิการบดีมหาวิทยาลัยเอเชี ยอาคเนย์
7 issue 135 april 2019
เรื่องเล่าประทับใจของสมเด็จพระเทพฯ และพระสหายเมื่อครั้งเป็นนิสิตใหม่จุฬาฯ พระปฐมบรมราชโองการ พุทธศึกษา by. จ�ำรูญ ธรรมดา ปุถุชนก็คือคนบ้าดีๆ นั่นเอง ความเป็นคนความเป็นครู หลากหลายเหตุผลและความตั้งใจ เพื่อเยาวชน เพื่อชาติ Cartoon Let’s Talk ชีวิตผกผัน หันปลูกสมุนไพรขาย สร้างรายได้แบบยั่งยืน ยศรายุทธ คูณสุข cover story “ถ้าเกิดฝนตกลงมาเป็นเพชร มนุษย์เกิดไม่มีศีลธรรมก็ต้องฆ่ากันตาย” ดร.ฉัททวุฒิ พีชผล อาชีพทางเลือก การปลูกไผ่ตง 70 เส้นทางตามรอยพระบาท โดย ททท. ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เรือนจ�ำชั่วคราวเขาระก�ำ จังหวัดตราด Round About
8 12 16 17 44
48
54 68 76 80
8 IS AM ARE www.fosef.org
เรื่องเล่าประทับใจของสมเด็จพระเทพฯ และพระสหายเมื่อครั้งเป็นนิสิตใหม่จุฬาฯ
เนื่ อ งในวั น ที่ ๒ เมษายน เป็ น วั น คล้ า ยวั น พระราชสมภพสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี นิ ต ยสาร is am are ครอบครั ว พอเพี ย ง ขออนุ ญ าตน� ำ เสนอเรื่ อ งราวน่ า ประทั บ ใจ ของสมเด็ จ พระเทพ รั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี แ ละพระสหาย เมื่ อ ครั้ ง เป็ น นิ สิ ต ใหม่ จุ ฬ าฯ เหตุ ผ ลที่ พ ระองค์ ท รงเลื อ ก ที่ จ ะสอบเข้ า คณะอั ก ษรศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย เมื่ อ ปี ๒๕๑๖ โดยข้ อ มู ล และภาพเหล่ า นี้ ที่ ม าจาก เฟซบุ ๊ ก หอประวั ติ จุ ฬ าฯ และเป็ น พระราชนิ พ นธ์ ของ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี จากวารสารจามจุ รี “ร� ำ ลึ ก ถึ ง เทวาลั ย ถิ่ น อั ก ษร” มี น าคม ๒๕๔๐ “ข้ า พเจ้ า สอบเข้ า คณะอั ก ษรศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๖ เหตุผลใหญ่ที่สอบเข้าคณะนี้ก็ คงเหมือนคนอื่นๆ คือเป็นคณะที่คะแนนสูงสุด อีกประการหนึ่ง ในช่วงที่สอบเข้าข้าพเจ้าไม่ค่อยสบายจึงเลือกคณะที่ไม่ต้องสอบ หลายวิชา และไม่ต้องสอบวิชาพิเศษ ถ้าสบายดีคงต้องเลือก คณะที่มีวิชาพิเศษ เช่น โบราณคดี หรือ ครุ-พละเอาไว้ด้วย แต่ อย่างไรก็ตาม ข้าพเจ้าคงต้องติดอักษรฯ เพราะคะแนนออกมา ไม่เลวนัก จ�ำได้ว่า เมื่อประกาศผลการสอบ หนังสือพิมพ์ลงข่าว ว่า “ที่หนึ่งตกอันดับ” เนื่องจากข้าพเจ้าสอบชั้น ม.ศ. ๕ ได้ที่ ๑ แต่มาเข้าคณะอักษรศาสตร์ได้เป็นที่ ๔ การเรียนปีที่ ๑ เป็นปีที่ข้าพเจ้าคิดว่าเรียนล�ำบาก แต่ก็ ตื่นเต้น ท้าทาย และสนุกสนาน เพราะว่าจะต้องท�ำความรู้จัก อาจารย์และเพื่อนใหม่ๆ มากมาย ทั้งเพื่อนในคณะและต่าง คณะ ทั้งที่เป็นรุ่นพี่และรุ่นเดียวกัน บางทีจ�ำไม่ได้ แต่ก่อนเคยอยู่ โรงเรียนจิตรลดาซึ่งมีนักเรียนน้อย รู้จักกันหมดทุกคน นับว่าต้อง ปรับตัวอยู่มาก มานึกย้อนหลังแล้วรู้สึกว่า ครูบาอาจารย์เพื่อน
ฝูง เขาก็อดทนกับข้าพเจ้าพอใช้ ข้าพเจ้ามักพูดช้าตะกุกตะกัก เขาก็ยอมฟังดี นานๆ ก็ว่าเอาบ้างว่าพูดแบบนี้น่าร�ำคาญ ต่อ มาข้าพเจ้าพูดดีขึ้นก็ชมเชย ครั้นพูดได้ดีแล้ว ข้าพเจ้าเลยไม่ ยอมหยุดพูด กลายเป็นคนพูดมาก ทุกชั่วโมงต้องหาเรื่องพูดใน ห้อง ซักถามอาจารย์บ้าง ตอบค�ำถามบ้าง การพยายามจดจ�ำชื่อ อาจารย์และเพื่อนๆ ให้ได้ บางทีก็ยากส�ำหรับผู้มาใหม่ อาจารย์ บางท่านมีหลายชื่อ ทั้งชื่อจริงและชื่อที่นิสิตตั้ง ก็ต้องจ�ำให้ได้ทั้ง สองชื่อหรือหลายชื่อ เมื่อพี่ใช้ให้ไปส่งหนังสือตามโต๊ะจะได้ส่งถูก ส�ำหรับเพื่อน ในวันแรกๆ ก็จ�ำไม่ได้ เช่น ฝาแฝด ป้อม-อ้วน มา คนละทีก็ไม่ทราบว่าใครเป็นป้อมใครเป็นอ้วน…” จาก “ร� ำ ลึ ก ถึ ง เทวาลั ย ถิ่ น อั ก ษร” พระราชนิพนธ์ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี จาก วารสารจามจุรี มีนาคม ๒๕๔๐ และอี ก ตอนหนึ่ ง ที่ แ สดงถึ ง ความมานะในการเรี ย นรู ้ และทรงมีพระอารมณ์ขัน ทรงเรียกการเรียนผ่านเทปเสียงนี้ว่า การเรียนด้วย “เทปาจารย์” ในพระราชนิพนธ์เรื่อง “ร�ำลึกถึง เทวาลัยถิ่นอักษร” ของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี 9
issue 135 april 2019
พิเศษใดๆ ประกอบกับมีพระอารมณ์ดี มีพระอารมณ์ขันและ ทรงอนุญาตให้เพื่อนๆ ไม่ต้องใช้ราชาศัพท์ครบถ้วนตามราช ประเพณี ท�ำให้เพื่อนนิสิตกล้าเข้าไปพูดคุย และในที่สุดก็พบว่า สมเด็จเจ้าฟ้าพระองค์นี้มีน�้ำพระราชหฤทัยกว้างขวางเป็นมิตร ในพระกระเป๋ า จะมี ข องใช้ ต ่ า งๆ ให้ เ พื่ อ นๆ ขอยื ม ได้ เช่ น กาว กรรไกร หรื อ แม้ แ ต่ ย าดม ทรงชอบเล่ น สนุ ก ครึกครื้น ทรงกีฬา ดนตรีไทย ทรงร่วมกิจกรรมของคณะและ มหาวิทยาลัยอย่างแข็งขัน การเรียนก็เอาพระราชหฤทัยใส่และ ชอบช่วยเหลือเพื่อนๆ เช่น ทรงติว ทรงเก็งข้อสอบ (แม่นมาก) หรือตอบค�ำถามครูในชั้นเรียนช่วยชีวิตเพื่อนๆ ที่ตอบไม่ได้อยู่เส มอๆ ทรงเป็นนิสิตที่เรียนเก่งมาก แต่ไม่ใช่เรียนอย่างเดียว ทรง ท�ำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อส่วนรวมด้วย…” จากบทความ “ความทรงจ� ำ ที่ ไ ม่ ล บเลื อ น” ของ ผศ.ดร.สุ กั ญญา บ� ำ รุ ง สุ ข พระสหายร่ ว มชั้ น ปี ค ณะอั กษร ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในหนังสือ “ดั่งดวงแก้ว ส่องสว่าง ทางสายงาม” “…เวลาทูลกระหม่อมเสด็จฯ ไปต่างประเทศหรือต่าง จังหวัด หรือทรงมีพระราชภารกิจอย่างอื่น ท�ำให้ต้องทรงขาด “ระหว่ า งที่ เ รี ย นตั้ ง แต่ ป ี ที่ ห นึ่ ง ข้ า พเจ้ า ต้ อ งตาม เรียน พวกเราจะรู้สึกหงอยๆ ไปเหมือนกัน เวลาเรียนจะมีเจ้า สเด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ หน้าที่ เจ้าพนักงานน�ำเทปมาอัดการเรียนการสอนเก็บไว้ถวาย พระบรมราชินีนาถ ในการเสด็จพระราชด�ำเนินแปรพระราชฐาน พระองค์ท่าน รวมทั้งเก็บเอกสารประกอบการสอนต่างๆ ไว้ ไปต่างจังหวัด ไม่สามารถอยู่เรียนได้ครบถ้วน ข้าพเจ้าต้องท�ำ ด้วย และเมื่อกลับมาเรียนอีกครั้งก็ทรงสามารถต่อเรื่องได้ติด หนังสือราชการขอมหาวิทยาลัยไม่ให้นับเวลาเรียน ซึ่งเขาก็ โดยไม่มีปัญหาแต่อย่างใด การเรียนในระบบเกรดท�ำให้พวกเรา ไม่นับ ถ้าเขานับ ข้าพเจ้าก็ต้องออกไปเรียนมหาวิทยาลัยเปิด ต้องท�ำงานกันหนักมาก เพราะมีผู้ที่คอยท�ำให้เกรดสูงอยู่คือ ทูล วิธีการเรียนของข้าพเจ้าคือส่งคนมาอัดเทปไปฟังเวลาอยู่ต่าง กระหม่อมนั่นเอง นิสิตรุ่นนั้นจึงต้องขยันกันมาก เพราะไม่เช่น จังหวัด ข้าพเจ้าส่งการบ้าน รายงาน และเข้าสอบเหมือนนิสิต นั้นจะโดนตัดเกรดไป รุ่นนั้นถ้าจ�ำไม่ผิดมีคนได้รับเกียรตินิยมกัน อื่น ข้าพเจ้าเรียกอาจารย์ที่พูดในเทปทั้งหลายว่าเทปาจารย์…” มากเหลือเกิน จนเวลารับปริญญา ผู้คนในหอประชุมถึงกับร้อง นอกจากนี้ ยั ง มี เ รื่ อ งเล่ า ของพระสหายร่ ว มชั้ น ปี อื้อฮือ เพราะพนักงานอ่านรายชื่อนิสิตที่รับปริญญาเกียรตินิยม อันดับหนึ่งไม่หมดเสียที ก็ปีนั้น คณะอักษรศาสตร์ได้เกียรตินิยม คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่า “…เรื่ อ งที่ ป ระทั บ ใจมาก คื อ การวางพระองค์ เ ป็ น มากเกือบครึ่งรุ่นทีเดียวแหละ…” จากหนังสือ “เราทั้งผอง อักษรา เทวาลัย” โดย เหมือนนิสิตทั่วๆ ไป ไม่ทรงถือพระองค์ และทรงเอื้ออารีต่อ ยุวดี ต้นสกุลรุ่งเรือง ผู้อื่น เมื่อทรงเข้าศึกษาในคณะอักษรศาสตร์ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ยังทรงด�ำรงพระยศเป็น สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดาฯ ในสายตา ของนิสิตร่วมชั้นเรียน ทรงเป็นเจ้าฟ้าสูงศักดิ์ ในตอนแรก ใครๆ ก็เกร็งและเกรง ไม่กล้าเข้าไปพูดคุยกับพระองค์ กลัวว่าจะใช้ค�ำ ราชาศัพท์ไม่ถูกต้องจะถูกต�ำหนิได้ แต่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงวางพระองค์เป็นกันเอง และโปรด ให้ปฏิบัติต่อพระองค์เหมือนนิสิตนักศึกษาทั่วไป ไม่ทรงใช้สิทธิ 10 IS AM ARE www.fosef.org
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ได้รับปริญญาอักษรศาสตร์ บัณฑิต เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้คะแนนสะสมเฉลี่ย 3.98 เป็นที่หนึ่งของชั้น และได้รับพระราชทาน เหรียญทองในฐานะที่ทรงสอบได้คะแนนสูงสุดในกลุ่มบัณฑิตวิชาเอก สาขาประวัติศาสตร์ ผู้ที่จะได้รับพระราชทานเหรียญทองนั้น จะต้องได้รับทุนเรียนดีทุกปีการศึกษา สอบได้เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง และเป็นที่หนึ่งในวิชาเอกนั้นๆ ในระหว่างที่เรียนปริญญาตรี นั้นด้วย 11 issue 135 april 2019
12 IS AM ARE www.fosef.org
พระปฐมบรมราชโองการ ในการพระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษก พระมหากษั ต ริ ย ์ จ ะพระราชทาน พระปฐมบรมราชโองการ หลั ง จาก พราหมณ์ ทู ล เกล้ า ฯ ถวายเครื่ อ งเบญจราชกกุ ธ ภั ณ ฑ์ และเครื่ อ งราชู ป โภคแล้ ว พระปฐมบรมราชโองการ นั บ ตั้ ง แต่ รั ช กาลที่ ๑ จนถึ ง รั ช กาลปั จ จุ บั น มี เ นื้ อ ความเปลี่ ย นแปลงมาตามยุ ค สมั ย ซึ่ ง ล้ ว นแต่ แ สดง พระราชปณิ ธ านในฐานะทรงเป็ น ผู ้ รั บ พระราชภาระแห่ ง บ้ า นเมื อ ง
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราชพุทธศักราช
พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระราชพิธีบรมราชาภิิเษก พระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพุทธศักราช ๒๓๒๘ “...พรรณพฤกษ ชลธี แลสิ่งของในแผ่นดิน ทั่วเขตพระนคร ซึ่งหาผู้หวงแหน มิ ไ ด้ นั้ น ตามแต่ ส มณชี พ ราหมณาจารย์ ร าษฎรปรารถนา เถิด...” พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย วันที่ ๑๗ กันยายน พุทธศักราช ๒๓๕๒ “แต่บรรดาพฤกษาและแม่น�้ำ ใหญ่ น้ อ ย และสิ่ ง ของทั้ ง ปวง ซึ่ ง มี ใ นแผ่ น ดิ น ทั่ ว ขอบเขต แดนพระนคร ซึ่งหาเจ้าของหวงแหนมิได้ ให้พระราชทานแก่ สมณะ พราหมณอณาประชาราษฎร์ทั้งปวง ตามแต่ปรารถนา เถิด”
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว วั น ที่ ๑ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๓๖๗ “เจ้าพระยา และพระยา ของซึ่ง ถวายทั้งนี้ จงจัดแจงบ�ำรุงไว้ให้ดี จะได้รักษาแผ่นดิน” ในการ พระราชพิธีพระบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยู่หัว ไม่พบหลักฐานพระปฐมบรมราชโองการหลังจาก พิธีถวายสิริราชสมบัติและเครื่องสิริราชกกุธภัณฑ์ที่พระที่นั่ง ภัทรบิฐ พบแต่ “พระราชโองการปฏิสันถาร” ในการเสด็จมหา สมาคม ซึ่งโปรดให้พระบรมวงศานุวงศ์ และขุนนางทั้งฝ่าย ทหารและพลเรือนเข้าเฝ้าเพื่อรับการถวายราชสมบัติ จากนั้น จึงมีพระราชโองการตรัสปฏิสันถารกับเจ้าพระยา และพระยา ทั้งปวง ซึ่งมีข้อความเดียวกันทุกรัชกาล ต่อมาภายหลังพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ยกเลิกพิธีส่วนนี้ มีแต่ เพียงการถวายพระพรชัยมงคลจากขุนนางฝ่ายหน้าและข้าทูล ละอองธุลีพระบาทฝ่ายในเท่านั้น 13
issue 135 april 2019
จารยอาณาประชาราษฎรจะมาแต่จตุระทิศต่างๆ ตามแต่จะ ปรารถนา” พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๑๖ ค�ำภาษามคธ “อิทานหํ สพฺเพสํ อนุมติยา ราชา มุทฺธาว สิตฺโต สฺยาเมสุ อิสฺสราธิปจฺจํ รชฺชํ กาเรมิธ ธฺมมิกราชปเวณิยา อนุชานามิ ยนฺติ สฺยามวิชิเต อปรปริคฺคหิตํ ติณกฏฺโจทกํ สมณพฺ ราหฺมณาทโย สพฺเพสฺยามรฏฺฐิกา ยถาสุขํ ปริภุญฺชนุตุฯ ” ค�ำแปล “ครั้งนี้ท่านทั้งปวงพร้อมใจกัน ยอมให้เราเปน เจ้าครองราชสมบัติได้รับมุรธาภิเษกเปนใหญ่ในสยามราษฎร์ว ราณาจักรนี้แล้ว เราขออนุญาตยอมให้ โดยธรรมิกราชประเพณี พรรณพฤกษชลธีในสยามราษฎร์วราณาจักรนี้ ซึ่งไม่มีเจ้าของ หวงแหนนั้น ตามแต่สมณพราหมณาจารย์ ประชาราษฎรทั้ง ปวงจะปรารถนาใช้สอยเทอญ ฯ ”
พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว วั น ที่ ๑๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๓๙๔ “พรรณพฤกษ ชลธี แลสิ่งของ ในแผ่นดิน ทั่วเขตพระนคร ซึ่งหาผู้หวงแหนมิได้นั้น ตามแต่สมณ ชีพราหมณาจารย์ราษฎรจะปรารถนาเถิด”
พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๕๓ ค�ำภาษามคธ “อิทานาหํ พฺราหฺมณา ราชภารํ วหนฺโต พหุ โน ชนสฺส อตฺถาย หิตาย สุขาย ธมฺเมน สเมน รชฺชํ กาเรมิ ตุมฺหากํ สปริคฺคหิตานํ อุปริ ราชกํ อาณํ ปสาเรตฺวา นาโถ หุตฺวา ธมฺมิกํ รกฺ ขาวรณคุตฺตี สํวิทหามิ วิสฺสฏฺฐา หุตฺวา ยถาสุขํ วิหรถ ฯ” ค�ำแปล “ดูกรพราหมณ์ บัดนี้เราทรงราชภาระครองแผ่น ดินโดยธรรมสม�่ำเสมอ เพื่อประโยชน์เกื้อกูลและสุขแห่งมหาชน เราแผ่ ร าชอาณาเหนื อ ท่ า นทั้ ง หลายกั บ โภคสมบั ติ เปนที่ พึ่ ง
พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๑๑ “แต่บรรดาที่ไม่มีเจ้าของ ผลไม้ ทั้ ง น�้ ำ ในห้ ว ยละหารตรท่าก็ดี ตามแต่สมณพราหมณา 14
IS AM ARE www.fosef.org
จัดการปกครองรักษาป้องกัน อันเปนธรรมสืบไป ท่านทั้งหลาย จงวางใจอยู่ตามสบาย เทอญ ฯ ”
พระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระบาทสมเด็ จ พระปรเมนทรมหาอานั น ทมหิ ด ล พระอัฐมรามาธิบดินทร เสด็จสวรรคตก่อนทรงรับพระราชพิธี บรมราชภิเษก
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว วั น ที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๔๖๘ ค�ำภาษามคธ “อิทานาหํ พฺราหฺมณา ราชภารํ วหนฺโต พหุ โน ชนสฺส อตฺถาย หิตาย สุขาย ธมฺเมน สเมน รชฺชํ กาเรมิ ตุมฺหากํ สปริคฺคหิตานํ อุปริ ราชกํ อาณํ ปสาเรตฺวา นาโถ หุตฺวา ธมฺมิกํ รกฺ ขาวรณคุตฺตี สํวิทหามิ วิสฺสฏฺฐา หุตฺวา ยถาสุขํ วิหรถ ฯ” ค�ำแปล “ดูกรพราหมณ์ บัดนี้เราทรงราชภาระครองแผ่น ดินโดยธรรมสม�่ำเสมอ เพื่อประโยชน์เกื้อกูลและสุขแห่งมหาชน เราแผ่ ร าชอาณาเหนื อ ท่ า นทั้ ง หลายกั บ โภคสมบั ติ เปนที่ พึ่ ง จัดการปกครองรักษาป้องกัน อันเปนธรรมสืบไป ท่านทั้งหลาย จงวางใจอยู่ตามสบาย เทอญฯ”
พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิ ต ร วั น ที่ ๕ พฤษภาคม พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๙๓ “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชน ชาวสยาม ” 15 issue 135 april 2019
อุ มฺมตฺตกสทิโส ปุ ถุชฺชโน. ปุ ถุชนก็คือคนบ้าดีๆ นั่นเอง สาสเน โภนฺโต กุลปุตฺตา ถิรจิตฺตา ภเวยฺยุํ. กุลบุตรในพระพุทธศาสนา พึงเป็นผู้มีจิตมั่นคง ครับ นิจฺจกาลํ อญฺญมญฺญานํ เมตฺตจิตฺเตน ปสฺสิตพฺพํ. ควรมีเมตตาจิตต่อกันและกันเสมอ นตฺถิ โลเก ปริปุณฺโณ. ในโลกนี้ ไม่มีใครสมบูรณ์แบบ อุมฺมตฺตกสทิโส ปุถุชฺชโน. ปุถุชนก็คือคนบ้าดีๆ นั่นเอง เนว ตว น จ มยฺหํ โทโส, อถ โข วฏฺฏสฺเสวโหติ. มิใช่ความผิดของท่านและก็ไม่ใช่ความผิดของผม แต่มันเป็นความผิดของการเวียนว่ายตายเกิดในวัฏฏะนั่นแหละครับ ตสฺมา อมฺเหหิ อญฺญมญฺญานํ อภยํ ทาตพฺพํ. ดังนั้น เราทั้งหลายจึงควรให้อภัยซึ่งกันและกันครับ โยนิโส โภนฺโต นานาทสฺสนํ มนสิ กเรยฺยาถ. ท่านทั้งหลายจงมองความแตกต่างในแง่ดีครับ
จ� ำ รู ญ ธรรมดา 16 IS AM ARE www.fosef.org
พุ ท ธศึ ก ษา by. จ� ำ รู ญ ธรรมดา
17 issue 135 april 2019
หลากหลายเหตุผลและความตั้งใจ
เพื่อเยาวชน เพื่อชาติ
ค�ำถามก็คือ หากเรามีภาระหน้าที่มากพออยู่แล้ว ยัง จะยอมเสียสละรับหน้าที่เพิ่มเพื่อขับเคลื่อนหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงลงสู่นักเรียนหรือไม่ ไม่ได้ค่าตอบแทนเพิ่มนะ ได้เพียงความพอใจในการส่งเสริมนักเรียนให้ท�ำความดี เมื่อเจอค�ำถามนี้คุณครูหลายท่านอาจจะ “ถอย” แต่ ก็ยังมีครูอีกหลายท่านเช่นกันที่ “สู้” แต่อย่างไรก็ตาม ต่างคน ต่างมีเหตุผลและความจ�ำเป็นตามภาระหน้าที่ทั้งนั้น ฉบับนี้ ลอง มาฟังนานาทัศนะ หลากหลายเหตุผลของ “ครูที่สู้” เสียสละ ร่วมโครงการ “ศูนย์ครอบครัวพอเพียง” แม้จะมีภาระประจ�ำ ที่ต้องท�ำอยู่แล้วมากมาย หากยังไม่ลืมที่จะปลูกฝังจิตอาสา ให้แก่นักเรียน สร้างประสบการณ์ท่ีไม่มีในต�ำราให้กับลูกศิษย์ ผ่านหลักคิด 5 ค�ำ 5 ข้อ ที่พ่อสอน ได้แก่ มีความรู้ มีคุณธรรม มีเหตุผล มีความพอประมาณ มีภูมิคุ้มกัน หรือที่รู้จักกันในนาม ของ “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
“ศูนย์ครอบครัวพอเพียง” จัดตั้งขึ้นแล้วภายในโรงเรียน ประจ�ำจังหวัดทั่วประเทศ อีกทั้งในมหาวิทยาลัยต่างๆ นาม “ชมรมศูนย์ครอบครัวพอเพียง” สนับสนุนนักเรียน นักศึกษา ให้รู้จักหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผ่านการท�ำจิตอาสา และพันธกิจ 5 ด้าน ได้แก่ ด้านศาสนา วัฒนธรรม ด้านสถาบัน พระมหากษั ต ริ ย ์ ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม ด้ า นประชาธิ ป ไตยอั น มี พระมหากษัตริย์เป็นประมุข ด้านสังคม และด้านเศรษฐกิจ หากไม่ มี ค รู ผู ้ เ สี ย สละมาช่ ว ยด� ำ เนิ น การ ก็ อ าจ ปราศจากคนขั บ เคลื่ อ นหลั ก ในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต เหล่ า นี้ ใ นรั้ ว สถานศึกษา อาจไม่มีศูนย์ครอบครัวพอเพียงประจ�ำโรงเรียน และมหาวิทยาลัย อันเป็นเสมือนแหล่งรวมคนดี ที่พร้อมจะให้ สังคมโดยไม่หวังผลตอบแทน เหมือนกับครูหลายท่านซึ่งยอมรับ หน้าที่เพิ่มจากเดิมที่มีมากอยู่แล้ว เพื่อให้นักเรียนได้ก้าวไปเป็น คนดีควบคู่กับการศึกษาหาความรู้ในระดับต่อไป
18 IS AM ARE www.fosef.org
ความเป็ น คนความเป็ น ครู
19 issue 135 april 2019
คุณครูประหยัด ทองภูธรณ์
เลขาธิการศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์ เฉพาะเพียงแค่ปฏิบัติหน้าที่การสอน เราอาจจะเป็นครูที่ไม่ สมบูรณ์และเราจะไม่สามารถใช้ค�ำว่า ครู ได้อย่างภาคภูมิใจ แต่เมื่อไหร่ที่เราใช้ค�ำว่า ครู แต่เป็นครู ที่ให้ส�ำหรับทุกอย่าง ให้ความเป็นเพื่อนเมื่อลูกศิษย์มีปัญหา เป็นพ่อแม่เมื่อลูกศิษย์ นั้นทุกข์ใจ เป็นครูเมื่อลูกศิษย์นั้นท�ำผิด และเป็นพี่เมื่อลูกศิษย์ ต้องการก�ำลังใจ สิ่งเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงความเป็นคนที่เป็นครู อย่างแท้จริง นับเป็นความภาคภูมิใจและสามารถใช้ค�ำว่า ครู คือผู้ให้ ได้อย่างแท้จริง สิ่งเหล่านี้แม้จะมีเงินมากเท่าไหร่ก็ไม่ สามารถซื้อสิ่งต่างๆ ที่กล่าวมาได้ นอกจากจะเป็นคนที่มีหัวใจ ในการเป็นครูอย่างแท้จริง “สาเหตุที่ต้องการขับเคลื่อนเครือข่ายศูนย์ครอบครัวพอ เพียงในจังหวัดของตัวเองก็เพราะ จังหวัดกาฬสินธุ์เป็นจังหวัดที่ พ่อหลวงของเรามีโครงการพระราชด�ำริหลายโครงการที่จะช่วย เหลือชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งเหตุผลนี้เป็นเหตุผลที่ต้องการให้ ลูกๆ ในจังหวัดกาฬสินธุ์ได้เรียนรู้แนวคิดและหลักการของพ่อ หลวง เพื่อพัฒนาจังหวัดของตัวเองให้เจริญก้าวหน้าเหมือนกับ ที่พ่อต้องการให้พวกเราท�ำ”
หากหยาดฝนช่วยเติมเต็มความบกพร่องของห้วยหนอง ให้สมบูรณ์ไปด้วยน�ำฉันใด ความเป็นครูก็สามารถแต่งแต้ม ต่อ เติม ความสมบูรณ์ของกลุ่มคนที่ชื่อว่า “ลูกศิษย์” ได้ฉันนั้น ความเป็นคน คือ การด�ำรงตนให้เป็นประโยชน์ ยึด มั่นในการท�ำความดี และประพฤติตนอยู่ในศีลธรรม และเชื่อ มั่นแห่งความถูกต้อง พร้อมที่จะแบ่งปันความดีสู่ผู้อื่นโดยไม่ หวังสิ่งตอบแทน หากประพฤติตนดังความหมายของความเป็น คนได้ผู้นั้นถึงจะเป็นคน ที่สมบูรณ์ได้ ความเป็นครู คือ บุคคลที่สามารถให้ทุกอย่างแก่ลูก ศิษย์ อบรมบ่มเพาะ ประสิทธิ์ประสาทวิชา เพื่อให้กลุ่มคนที่ขึ้น ชื่อว่า “ลูกศิษย์” สามารถน�ำเอาความรู้ น�ำวิชาคน วิชาการและ งาน ไปใช้ในอนาคตและชีวิตประจ�ำวันได้อย่างมีความสุขและ สันติสุขในสังคม หากจะกล่าวถึงความเป็นคน กับ ความเป็นครู หรือ เราอาจจะกล่าวดังค�ำหนึ่งค�ำที่ว่า “คนสอนคน” การเป็นครูที่ สอนคนนั้นนับว่าเป็นสิ่งที่ยากแต่เราจะเปลี่ยนสิ่งที่ยากให้เป็น สิ่งที่มีความสุขได้อย่างไร หากเราคิดว่าเราเป็นครูแต่ท�ำหน้าที่
20 IS AM ARE www.fosef.org
21 issue 135 april 2019
22 IS AM ARE www.fosef.org
คุณครูยุพิน ขุนทอง
ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนขอนแก่นวิทยายน “การน�ำนักเรียนมาร่วมกิจกรรมกับศูนย์ครอบครัวพอเพียงแต่ละโรงเรียนทั่วประเทศ แต่ละครั้งจะมีความรู้สึกภูมิใจและ ดีใจ รู้สึกว่าได้น�ำศาสตร์พระราชามาต่อเติมให้เด็กได้มีความรู้เพิ่มขึ้น แล้วก็น�ำไปใช้ในเรื่องจิตอาสาอย่างแท้จริง ครูคิดว่าลูกๆ ทุก คนมีความพร้อมในเรื่องฐานะครอบครัวอยู่แล้ว เขาจะได้เปรียบในการต่อสู้เพื่อเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัย เพราะเด็กกลุ่มนี้มี ระเบียนความดี มีพอร์ตโฟลิโอ สามารถเอาไปประกอบร่วมกับ GPA ที่เด็กเขาจะได้รับ “เรารู้สึกว่า การสานต่อพระราชปณิธานของพ่อหลวงรัชกาลที่ 9 พระองค์ท่านได้วางแนวทางเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงและ เรื่องจิตอาสาไว้ให้เห็นเป็นตัวอย่างแล้ว ท�ำให้เราเชื่อว่าเด็กในวันนี้จะเป็นเยาวชน เป็นผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคตได้ เพื่อจะร่วมกันสานฝัน ประเทศชาติ ถ้าเด็กทุกคนมีจิตอาสาในการท�ำงาน ในการด�ำเนินชีวิต คิดถึงผลประโยชน์ของสังคมมากกว่าประโยชน์ของส่วนตัว ก็จะท�ำให้ประเทศชาติเราพัฒนาขึ้น”
23 issue 135 april 2019
24 IS AM ARE www.fosef.org
คุณครู พิมพ์ ค้าก�ำยาน
ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนด�ำรงราษฎร์สงเคราะห์ จังหวัดเชียงราย “โรงเรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมกับมูลนิธิครอบครัวพอเพียง เป็นปีที่ 3 แล้วครับ สาเหตุที่เข้าร่วมเพราะกิจกรรมของมูลนิธิ ครอบครัวพอเพียงเป็นกิจกรรมที่เริ่มต้นจากตัวเด็ก ไม่ได้เริ่มจากครู เด็กจึงเป็นเหมือนศูนย์กลางในการพัฒนา ผมเห็นว่ากิจกรรม ที่ท�ำกับมูลนิธิครอบครัวพอเพียง สร้างแกนน�ำที่เข้มแข็ง มีทั้งวิทยากร และนักเรียนแกนน�ำที่ปูพื้นฐาน แกนน�ำในโรงเรียนสร้าง โดยนักเรียน ด�ำเนินงานโดยนักเรียนแกนน�ำ ซึ่งเป็นสิ่งที่ผมเชื่อว่ามันยั่งยืน แทนที่คุณครูจะเป็นผู้ขับเคลื่อนกิจกรรม แต่กลับ เป็นเด็กนักเรียนเป็นผู้ด�ำเนินงาน สิ่งเหล่านี้จะเป็นสิ่งที่เราจะน�ำมาสานต่อปณิธานของในหลวงรัชกาลที่ 9 ได้อย่างยั่งยืนมากขึ้น ครับ”
25 issue 135 april 2019
คุณครู อมรรัตน์ ศิริมิตรตระกูล
ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ ขับเคลื่อนศูนย์ครอบครัวพอเพียง ว่าขอให้มีจิตใจที่เข้มแข็ง และ ตั้งมั่นในการท�ำงาน ท่านจะสามารถก้าวข้ามทุกอุปสรรคได้ ด้วย ความตั้งใจที่เข้มแข็งและเด็ดเดี่ยวของเรา เพราะว่าการท�ำงาน เราจะต้องศึกษา ‘รู้เขารู้เรา’ เหมือนที่พระราชด�ำรัสของในหลวง รัชกาลที่ 9 ‘เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา’ เมื่อไหร่เราเข้าถึง เราก็จะรู้ ว่าสิ่งที่เราท�ำคืออะไร และเราเข้าใจว่าเราจะต้องท�ำอย่างไรให้ เกิดผลส�ำเร็จ เมื่อนั้นเราจะเข้าไปสู่การพัฒนา เพื่อให้สิ่งที่เรา ท�ำนั้นเกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน “เราในฐานะของแกนน�ำครอบครัวพอเพียง เราจะต้อง ช่วยกันน�ำศาสตร์พระราชาของเราลงสู่ลูกหลาน ที่เรียกว่าอยู่ ในหัวใจ อยู่ในแก่น อยู่ในความเป็นตัวเองของเรา แล้ววันนั้น ประเทศชาติของเราจะรอดพ้น จะมีความสุข”
“ตั ว ดิ ฉั น เองถื อ ว่ า เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของสมาชิ ก ศู น ย์ ครอบครัวพอเพียงมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2550 ในปี พ.ศ.2562 ดิฉัน ก็จะเกษียณอายุราชการ ในฐานะของคนท�ำงานร่วมกับมูลนิธิ ครอบครัวพอเพียงมาตลอด อยากจะบอกกับน้องๆ ว่า ในการ ท�ำงานทั้งหมด มันมีทั้งสิ่งที่เราประสบความส�ำเร็จและสิ่งที่เป็น ปัญหา เพราะฉะนั้น เวลาเราท�ำงาน สิ่งส�ำคัญก็คือ เราจะต้องมี สติ ตัวดิฉันเองใช้รูปแบบ ‘การศึกษาและถอดบทเรียน’ ในการ ท�ำงานทุกๆ งาน ว่าเมื่อเราท�ำงานผ่านไปหนึ่งงาน งานแต่ละ งานมีข้อดีอะไรบ้าง มีข้อเสียอะไรบ้าง แล้วเราจะหาวิธีการแก้ไข ข้อเสียได้อย่างไร เพราะฉะนั้น ในตลอดการท�ำงานอายุราชการ 38 ปี ดิฉันใช้หลักการนี้ในการแก้ปัญหาในการท�ำงาน “มาถึงวันนี้อยากจะให้ก�ำลังใจกับน้องๆ ทุกคนที่ท�ำงาน
26 IS AM ARE www.fosef.org
27 issue 135 april 2019
คุณครู ภัทรภร ว่องไว
ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนพรหมานุสรณ์ จังหวัดเพชรบุรี “ถามว่าท�ำไมถึงยังอยากสืบสานงานเกี่ยวกับศูนย์ครอบครัวพอเพียง ปัจจัยส�ำคัญอย่างแรกเลย ศูนย์ครอบครัวพอเพียง เรามีเป้าหมายส�ำคัญว่าเราคือรากแก้วของแผ่นดิน แล้วก็การท�ำความดีนี้คือ ให้เราท�ำความดีด้วยหัวใจ เพราะฉะนั้น ถึงแม้ว่าครู ทุกคนทั่วประเทศไทยอาจจะมีภาระที่เยอะมากน้อยแค่ไหน แต่สิ่งส�ำคัญที่สุดที่เราจะไม่มีวันลืมเลยคือ เรามีกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่ เป็นต้นแบบที่ดีที่สุดในโลกให้เราได้สืบสานแนวพระราชปณิธานของพระองค์ เพราะฉะนั้น ไม่ว่างานจะเหนื่อยหรือจะหนัก แต่ สิ่งส�ำคัญที่สุดกว่านั้นคือ การที่เราจะท�ำให้เยาวชนของเราได้เติบโตได้อย่างมั่นคง มีความสุขอย่างยั่งยืน แล้วแผ่นดินนี้จะยังเป็น แผ่นดินประเทศไทยที่มีความสุขเหมือนที่เคยเป็นมา”
28 IS AM ARE www.fosef.org
29 issue 135 april 2019
30 IS AM ARE www.fosef.org
คุณครู อัมรินทร์ ฟุ้งเฟื่อง
ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี “เหตุผลที่ต้องการขับเคลื่อนศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรีให้กับเด็กทุกคนเพราะว่า ในการที่เยาวชน ทุกคนด�ำรงชีวิตปัจจุบันนี้มันจะค่อนข้างยาก ในการด�ำเนินชีวิตให้ไปสู่สังคมโลกภายนอกอย่างปลอดภัยหรือได้อย่างมีคุณภาพ ครูต้องการให้ลูกๆ ทุกคนได้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งกายและใจ เพื่อที่เขาจะได้รู้ว่าการด�ำรงชีวิตในปัจจุบันนี้ สิ่งที่เขาจะต้องได้ หรือจะต้องติดตัวไปอย่างแรกก็คือ ความรับผิดชอบ รับผิดชอบในตนเอง รับผิดชอบในหน้าที่ แล้วก็รับผิดชอบในครอบครัว การ มีเหตุผลหรือว่าการด�ำรงตนอย่างมีคุณธรรม จริยธรรม เพื่อที่จะส่งต่อให้กับคนรุ่นต่อๆ ไป ที่ส�ำคัญก็คือ เขาจะได้เป็นเยาวชนที่ดี ของประเทศชาติ เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่สมบูรณ์ของโลกต่อไป”
31 issue 135 april 2019
ท่ามกลางความไม่คาดหวัง : ครูปรีดา จันทจิตต์ ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนมหาวชิราวุธสงขลา “เรื่องการท�ำงานเราจะต้องมีหลักคิด โดยเฉพาะงานที่ เกี่ยวข้องกับความดีงาม มันเป็นงานที่เราสามารถท�ำได้ตลอด เวลา แต่เราต้องท�ำงานท่ามกลางความไม่คาดหวัง เราจะไม่ เครียด เพราะการคาดหวังท�ำให้ยึดมั่น มันท�ำให้เราอยากได้นั่น อยากได้นี่ พอเกิดอุปสรรคเราจึงรู้สึกว่าไม่สบายใจ คับข้องใจ แต่ ถ้าท�ำบนความไม่คาดหวังเราก็ท�ำตามที่เรามี “อย่างในบางปี ศูนย์ครอบครัวพอเพียงเข้าไปคัดเลือก เด็ก พอคัดออกมาแล้วเด็กเหล่านี้เป็นที่ยอมรับของเพื่อน แต่ เขาอาจจะไม่มีเวลาพอที่จะเสียสละท�ำงานตรงนี้ เราก็ต้องเข้าใจ ในบริบทเขา เขาอาจจะมีภารกิจเรื่องการเรียนมาก เขาก็ต้อง ได้อย่างเสียอย่าง ในบางปีที่เด็กเขาพร้อมเขาก็จะเสียสละเต็ม ที่ ท�ำให้โรงเรียนเราเกิดกิจกรรมดีๆ มากมาย ในฐานะที่ครูเป็น หัวหน้าศูนย์ครอบครัวพอเพียง ครูจะไม่คาดหวัง ยอมรับตาม เหตุปัจจัยที่มันมีในแต่ละปี “เราถือว่าเราสานงานของพ่อ เป็นงานของการพัฒนา คนอย่างยั่งยืน ฝึกด้านนามธรรมให้กับมนุษย์ในเรื่องความดี ฉะนั้น เราท�ำงานโดยไม่หวังผลตอบแทน แต่ท�ำไปตามงานที่ มี ตามศักยภาพที่เราท�ำได้ ครูจึงไม่เครียด เพราะไม่คาดหวัง “อย่างเรื่องระเบียนความดี ครูก็ไม่รู้ว่าโรงเรียนอื่นเขา
ให้เด็กท�ำทั้งโรงเรียน? แต่ครูเห็นว่ามันมีประโยชน์ต่อเด็กครูจึง ให้เด็กท�ำทั้งโรงเรียน เพราะการบันทึกความดีควรท�ำต่อเนื่อง ทุกปี จดจ�ำความดีของตัวเองไว้ สิ่งเหล่านี้จากนามธรรมก็จะ เป็นรูปธรรมขึ้นมา ถ้าเราไม่บันทึกคนก็ไม่รู้ มูลนิธิครอบครัวพอ เพียงต้องการให้เด็กฝึกบันทึกความดี แล้วก็มีรายละเอียดของ เอกสารที่น่าบันทึกมาก ต้องอาศัยความคิด ความเข้าใจ ความ มุ่งมั่น ใครอ่านก็จะรู้ว่าเรามีแนวทางในการด�ำเนินชีวิตอย่างไร ครูจึงคิดว่ามันมีประโยชน์ จึงเสนอต่อผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้อง ในโรงเรียน เพราะเป็นเครื่องประเมินจิตพิสัยของเด็กๆ และส่ง เสริมคุณธรรมจริยธรรมได้เป็นอย่างดี “นอกจากนักเรียนจะได้รับประโยชน์แล้ว ครูผู้สอนยัง มีผลงาน ที่ส�ำคัญกว่านั้นคือบุญกุศล เพราะเราส่งเสริมให้เด็ก คิดดีท�ำดี มีจิตสาธารณะ แล้วเขาก็ได้บันทึกความดีของตัวเอง เอาไว้ ผ่านการประเมินรับรองจากครูเป็นลายลักษณ์อักษร สามารถไปยื่นแสดงตนว่าเคยเสียสละอะไรมาบ้างในแต่ละปีที่ เราเรียนหนังสือที่นี่ “เหล่ า นี้ แ หละเป็ น สาเหตุ ใ ห้ ค รู ท� ำ งานขั บ เคลื่ อ น กิจกรรมของมูลนิธิครอบครัวพอเพียง เพราะเราได้สร้างบุญกุศล ร่วมกัน โดยไม่มีความคาดหวัง เราท�ำตามศักยภาพที่เราท�ำได้”
32 IS AM ARE www.fosef.org
33 issue 135 april 2019
คุณครู มาริสา อินลี
ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนมุกดาหาร “เหตุผลที่อยากท�ำงานสืบสานศาสตร์กษัตริย์ให้ไปสู่ เยาวชนทุกคนเนื่องมาจาก ‘รักพ่อ’ แล้วรู้ว่าถ้าเราไม่ท�ำใครจะ ท�ำ การคืนคนดีให้สังคมสร้างสังคมให้น่าอยู่ไม่ใช่หน้าที่ของคน อื่นแต่เป็นหน้าที่ของเราทุกคน ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียน มุกดาหารจึงมีความมุ่งมั่นตั้งใจที่จะสืบสานศาสตร์พระราชาเข้า สู่โรงเรียนอย่างเต็มรูปแบบ ร่วมกับมูลนิธิครอบครัวพอเพียง โดยเราบูรณาการท�ำงานร่วมกันระหว่างงานพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม งานระบบดูแล งานแนะแนว งานป้องกันยาเสพติด
งานคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทุกงานอยู่ในงานเดียวกัน โดยกา รบูรณาการการท�ำงานร่วมกัน วิธีการเราผ่านขบวนการคุณธรรม จริยธรรมให้ ‘แอคชั่น’ คิด พูด ท�ำ เพื่อประโยชน์ส่วนรวมก่อน ประโยชน์ส่วนตน จนเกิดเป็นคุณลักษณะอันพึ่งประสงค์หรือ เกิดคุณธรรม ความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ ส่งผลให้เกิดจิตอาสา แล้วจะเกิดการรู้รักสามัคคี สามารถแก้ปัญหาตนเอง ครอบครัว องค์กร ชุมชน สังคม และประเทศชาติได้ แล้วก็จะกลายเป็นคน ที่องค์กร ชุมชน สังคม ประเทศชาติต้องการ”
34 IS AM ARE www.fosef.org
35 issue 135 april 2019
คุณครู ชมนภัส อุดมเจริญ
ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบางเขน ว่าถ้าเราส่งเขาไปประสบความส�ำเร็จ ถ้าเขาไม่มีคุณธรรม คิดไม่ เป็น แล้วก็ไม่มีในหลวงอยู่ในหัวใจ ในอนาคตชาติบ้านเมืองของ เราก็คงจะวุ่นวายอย่างที่เราเห็น “เพราะฉะนั้น มันเป็นแรงบันดาลใจ อยากจะสร้างเด็กที่ มีคุณธรรม แล้วเป็นคนเก่ง แล้วก็ให้โอกาสกับคนที่ไม่มีให้เขาได้ รับโอกาสอันดี แล้วก็หวังไว้ว่า การท�ำงานให้กับศูนย์ครอบครัว พอเพียงโรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบางเขน และก็ท�ำให้กับ มูลนิธิครอบครัวพอเพียง จะน�ำเขาไปสู่เส้นชัยได้ และที่ส�ำคัญ คือ เราได้สร้างคนดีให้กับประเทศชาติ และก็ถือว่าได้มีโอกาส อันดีที่เราจะตอบแทนคุณแผ่นดิน ในฐานะข้าของแผ่นดิน”
“ถ้าถามว่า มาเป็นแกนน�ำของศูนย์ครอบครัวพอเพียง โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบางเขนเพราะอะไร ก็ต้องบอก ด้วยใจที่เราจะท�ำตรงนี้ เพื่อในหลวงรัชกาลที่ 9 ต้องบอกก่อน ว่าตัวดิฉันเองผูกพันกับการท�ำงานให้กับในหลวงมาตั้งแต่สมัย มหาวิทยาลัย แล้วมาท�ำงานกับวชิราวุธวิทยาลัย แล้วก็ได้รับทุน จากในหลวงรัชกาลที่ 6 เราต้องตอบแทนคุณแผ่นดิน “พอเรามาอยู ่ ศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพี ย งโรงเรี ย น รัตนโกสินทร์สมโภชบางเขน เรามองว่าบริบทเด็กนักเรียนเรา ถ้า จะไปแข่งวิชาการกับคนอื่น เราสู้เขาไม่ได้ เราก็มองโอกาสว่าเรา จะให้อะไรได้กับเด็ก คงต้องเป็นเรื่องของการหยิบยื่นโอกาสอื่นๆ ที่สามารถจะน�ำเขาไปสู่เส้นทางที่ประสบความส�ำเร็จได้ แน่นอน
36 IS AM ARE www.fosef.org
37 issue 135 april 2019
ครูสุกัญญา นิ่มมะโน
ศูนย์ครอบครัวพอเพียง โรงเรียนสตรีภูเก็ต “เหตุผลที่มาเข้าร่วมโครงการครอบครัวพอเพียงเพราะว่า หนึ่งเราต้องมีใจก่อน ถ้าเรามีใจทุกอย่างก็จะขับเคลื่อนได้ เราก็ จะประสบความส�ำเร็จ อีกอันหนึ่งก็คือ โครงการครอบครัวพอเพียงได้เปิดโอกาสให้นักเรียนที่โรงเรียนสตรีภูเก็ตได้มาเข้าค่าย ได้มา เข้าร่วมกิจกรรม เมื่อเด็กได้มาเข้าค่ายท�ำกิจกรรมแล้วได้ความรู้ ก็จะสามารถไปสานต่อและร่วมกันที่จะไปขับเคลื่อนศูนย์ครอบครัว พอเพียงโรงเรียนสตรีภูเก็ตได้ ดังนั้น สิ่งส�ำคัญที่สุดคือ เมื่อเราได้รับความรู้ ได้รับกิจกรรม เราได้ฟังในเรื่องการถอดบทเรียน ซึ่งเป็น เรื่องเกี่ยวกับศาสตร์พระราชา เราก็สามารถที่จะน�ำไปขับเคลื่อนโรงเรียนของเราให้แข็งแกร่ง ต้องระเบิดจากข้างใน จะสามารถไป ต่อยอดหรือไปสร้างเครือข่ายให้กับโรงเรียนต่างๆ ในจังหวัดหรือภูมิภาคของเราต่อๆ ไปได้”
38 IS AM ARE www.fosef.org
39 issue 135 april 2019
คุณครู พรพิมล คํานวณศิลป์ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนสตรีระนอง
“เหตุผลที่อยากน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป สอนเด็กนักเรียนและคนในชุมชนได้น�ำไปใช้ ทั้งในด้านของการ เรียนการสอน แล้วก็ในเรื่องของการใช้ในชีวิตประจ�ำวันก็เพราะ ว่า ปัจจุบันเรามองเห็นปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับเด็กของเรามาก โดยเฉพาะเรื่องการขาดการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงมาใช้ ก็คือ 5 ค�ำ 5 ข้อที่พ่อสอน ตามที่มูลนิธิครอบครัวพอ เพียงให้หลักกับเราไว้ เพราะว่าปัจจุบันในการที่นักเรียนของเรา จะท�ำอะไรก็แล้วแต่ จะขาดเรื่องการใช้ความรู้ การใช้คุณธรรม แล้วก็ไม่มีเหตุผลในการท�ำเรื่องต่างๆ ทั้งด้านการเรียน การด�ำรง ชีวิต โดยเฉพาะในเรื่องการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง
“เพราะปัจจุบันเราเห็นได้ว่าสังคมไทยเรายังขาดความ คิดความรอบคอบในการท�ำงานต่างๆ เด็กของเรายังไม่มีการ วางแผนในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ซึ่ ง เป็ น ปั ญ หาที่ จ ะต้ อ งรี บ หาทาง แก้ไข เพราะฉะนั้น เราน�ำหลักปรัชญาฯ มาใช้ในโรงเรียนอยาก ให้เด็กของเราได้มีหลัก 5 ค�ำ 5 ข้อที่พ่อสอน เวลาจะท�ำอะไร เด็กจะได้น�ำความรู้ คุณธรรม แล้วก็สามารถที่จะมีหลักความ พอประมาณ มีเหตุมีผล มีภูมิคุ้มกันในตัว สามารถเติบโตอยู่ใน สังคมได้อย่างมีความสุข”
40 IS AM ARE www.fosef.org
41 issue 135 april 2019
คุณครู จริยา สวัสดิ์พร้อม
ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนอิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย “สิ่งแรกที่ท�ำให้เราเข้ามารับงานศูนย์ครอบครัวพอเพียง คือ เราได้เห็นภาพของในหลวงรัชกาลที่ 9 ขณะพระองค์ทรง งาน ถึงแม้ว่างานของพระองค์ท่านจะมากมาย แต่พระองค์ท่าน ก็ท�ำเพื่อประชาชน ท�ำเพื่อลูกๆ ของท่าน ในเมื่อพระองค์ท่าน เป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องการท�ำงาน ซึ่งตัวเราเองได้เห็นมา ได้ดู พระราชประวัติ ตั้งแต่พระองค์ท่านได้ขึ้นครองราชย์ มีพระชนม์ 19 พรรษา พระองค์ท่านทรงงานตลอด ถึงแม้บางครั้งเสด็จถิ่น ทุรกันดาร พระองค์ท่านก็เสด็จพระราชด�ำเนินด้วยพระบาท ของพระองค์ท่านเอง น�้ำท่วมพระองค์ท่านก็ยังลงไปวัดความ ลึกของน�้ำว่าลึกแค่ไหน พอเราเห็ น แล้ ว ถึ ง แม้ ว ่ า โรงเรี ย นของเราจะมี เ ด็ ก ๆ จากหลายภาคเข้ามา แต่เราก็บอกกับเด็กว่า นักเรียนเห็นไหม พระองค์ท่านทรงงานมาก ซึ่งเรายังไม่ได้เศษเสี้ยวของพระองค์ ท่านเลย ฉะนั้น บางครั้งถามว่าท้อไหม ท้อ เพราะเป็นเรื่อง ยากที่จะหาเด็กที่มีความรับผิดชอบมาท�ำงานด้านจิตอาสา แต่ ก็ได้ก�ำลังใจจากอาจารย์ชลดา*** ที่ท่านรับงานขับเคลื่อนศูนย์ ครอบครัวพอเพียงของโรงเรียนอยู่ก่อนแล้ว ว่าให้มาช่วยกัน
ขับเคลื่อนศูนย์ฯ นี้ให้เป็นที่รู้จักของหลายๆ โรงเรียน บางคนคิดว่าโรงเรียนอิสลามฯ มาจากทางใต้ แต่จริงๆ แล้วก็อยู่เขตทุ่งครุ เรามีเด็กๆ จากทั่วประเทศ สมัยก่อนจะเป็น เด็กทางใต้อย่างเดียว เป็นเด็กผู้ชายที่มาอยู่หอพักในโรงเรียน เราก็ต้องดูแลเด็กจากหลายครอบครัว หลายการเลี้ยงดู หลาย วัฒนธรรม ต้องให้ความรักให้ความจริงใจกับเขา เด็กหลายคน ต้องท�ำงานหลายด้าน ทั้งช่วยครอบครัว ช่วยโรงเรียน ช่วยเหลือ ตนเอง บางครั้งเขาจะเข้ามาหลับในห้องเรียน ถ้าเรารู้เบื้องหลัง เราจะเข้าใจเขา เราจะหาเวลาให้เขามาเรียนนอกเวลา และโครงการต่างๆ ของพระองค์ท่านที่เราได้ไปร่วม กับมูลนิธิครอบครัวพอเพียง ก็เป็นเนื้อหาหนึ่งที่เรากลับมาเล่า ให้เด็กๆ ฟัง เด็กๆ ก็จะมีความกระตือรือร้นอยากไปดูงานที่ พระองค์ท�ำไว้ เมื่อมีโอกาสเราจะพาเขาไปเป็นรุ่นๆ เพื่อร่วม กิจกรรมต่างๆ กับมูลนิธิครอบครัวพอเพียง เพราะถือว่าเป็นเรื่อง ดีที่เด็กๆ ให้ความสนใจในงานที่พระองค์ท่านท�ำ เราก็มีหน้าที่ชี้ ให้เห็นตัวอย่างดีๆ ที่พวกเขาควรเดินตาม”
42 IS AM ARE www.fosef.org
43 issue 135 april 2019
44 IS AM ARE www.fosef.org
45 issue 135 april 2019
46 IS AM ARE www.fosef.org
47 issue 135 april 2019
ยศรายุ ทธ คูณสุข
ชีวิตผกผัน หันปลูกสมุนไพรขาย สร้างรายได้แบบยั่งยืน เรื่อง/ภาพโดย: ณัฏฐ์ ค�ำวิชัย ทีมงานรักบ้านเกิด 48 IS AM ARE www.fosef.org
Let’s Talk
“ท�ำทุกวันให้ดีท่ีสุด ท�ำทุกอย่างที่ท�ำให้คุณพ่อพอใจ ตัง้ ใจท�ำงานเพื่อสร้างหลักที่ม่ันคง ให้ลูกและครอบครัว” ชีวิตคนๆ หนึ่งผ่านร้อนผ่านหนาวมามากมาย กว่าจะ ได้บทสรุป หรือกว่าจะเห็นเส้นทางที่ชัดเจนที่เขาเลือกเดิน ชีวิต วัย 24 ของคนอื่นๆ อาจก�ำลังเพิ่งเริ่มต้น เพิ่งเริ่มลองผิดลองถูก แต่ส�ำหรับคุณศรายุทธเขามีทางชัดเจนที่เลือกเดิน ได้ท�ำงานที่ บ้าน ได้ดูแลพ่อแม่ ดูแลครอบครัว ใช้ชีวิตอย่างพอเพียงและมี ความสุข เท่านี้ก็พอเพียงแล้วส�ำหรับคนๆ หนึ่ง นอกจากนั้น ครอบครัวของเขารู้สึกมีความสุขที่ได้ท�ำ เกษตรอินทรีย์ ถือเป็นการช่วยดูแลสุขภาพให้คนอื่นด้วย คน ที่ซื้อสมุนไพรจากบ้านดงบังไปก็ได้กินของดี ถือว่านั่นเป็นส่วน หนึ่งของกุศลของพวกเขา ที่คนที่ซื้อไปกินแล้วหาย สิ่งที่เขาภาค ภูมิใจมากคือได้เป็นส่วนหนึ่งของยาจากโรงพยาบาลอภัยภูเบศร คือพวกเราเป็นผู้ปลูก อีกส่วนหนึ่งลูกหลานเราได้เป็นผู้สืบทอด เจตนารมณ์ของบรรพบุรุษ นี่เป็นความภูมิใจของครอบครัว คิ ด อย่ า งไรกั บ การท� ำ สมุ น ไพร... การใช้ชีวิตของคุณศรายุทธ คูณสุขในช่วงวัยรุ่นนั้น ถือว่า ใช้ชีวิตคุ้มมาก เมื่อเทียบกับเพื่อนรุ่นเดียวกัน ขณะที่เพื่อนๆ เรียนหนังสือในห้องเรียน คุณศรายุทธเที่ยว เล่น ดื่ม อยู่กับ เพื่อน ๆ จนเรียกว่าเมื่อถึงวันนี้เขาไม่ไปไหนแล้ว หากจะสังสรรค์ กับเพื่อนๆ ก็ท�ำเพียงนั่งดื่มเบาๆ อยู่ที่บ้าน การใช้ชีวิตอย่างสุดเหวี่ยงในช่วงวัยรุ่น ท�ำให้วัย 24 ปี ของคุณศรายุทธในวันนี้ตั้งอกตั้งใจท�ำงานอย่างจริงจัง เพราะ ถือว่าใช้ชีวิตอย่างสนุกสนานมาเต็มที่แล้ว กอปรกับมีลูกน้อยอีก 2 คนที่เขาต้องเลี้ยงดู เขาจึงต้องท�ำงานเป็นหลักให้ครอบครัว ให้ได้
นอกจากการตั้งใจช่วยงานคุณพ่อปลูกพืชสมุนไพรอย่าง เต็มที่ คุณศรายุทธยังท�ำอาชีพเสริม ด้วยการปลูกพืชสมุนไพร ที่ น อกเหนื อ จากใบสั่ ง ของโรงพยาบาลอภั ย ภู เ บศรมาไว้ ข าย เพราะที่สวนสมุนไพรกลุ่มบ้านดงบังจะมีทั้งนักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไป เข้ามาศึกษาดูงานอยู่เป็นประจ�ำ รายได้ตรงนี้ ถือเป็นรายได้เสริมของเขาเอง นอกเหนือจากการช่วยคุณพ่อ ดูแลงานสวนสมุนไพรที่ท�ำให้โรงพยาบาลอภัยภูเบศร นอกจากนั้น เขายังเตรียมไว้ว่า วันข้างหน้าเขาจะท�ำ โฮมสเตย์ที่นี่ เนื่องจากที่นี่มีคนมาศึกษาดูงานมาก แต่ยังไม่มี การจัดสถานที่ให้พักค้างคืนได้ เขาจึงเตรียมการไว้ และคงได้ สร้างในไม่กี่ปีข้างหน้า และที่ส�ำคัญ หลักคิดที่ได้จากการท�ำงานให้โรงพยาบาล อภัยภูเบศร คือ แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ตอนนี้ครอบครัวเขา เน้นว่าทุกอย่างที่ปลูกแล้วต้องกินใช้เอง เมื่อเหลือกินก็น�ำไปขาย แล้วค่อยเก็บซึ่งมันตรงกันข้ามกับเกษตรสมัยใหม่ซึ่งไม่ได้ยึดตาม 49
issue 135 april 2019
สิ่งที่คุณศรายุทธบอกตัวเองทุกวัน คือ “ท�ำทุกวันให้ ดีที่สุด” ท�ำทุกอย่างที่ท�ำให้คุณพ่อพอใจ เพราะชีวิตที่ผ่านมา เขาเกเร และท�ำให้พ่อแม่เสียใจมาเยอะ เมื่อถึงวันที่มีลูกเป็น ของตัวเอง เขาจึงตั้งใจท�ำงานเพื่อสร้างหลักที่มั่นคงให้ลูกและ ครอบครัว กว่ า จะมาเป็ น สวนสมุ น ไพร... คุ ณ ศรายุ ท ธ คู ณ สุ ข จบการศึ ก ษาเพี ย งแค่ ม. ๓ เหตุ ที่ เ ป็ น เช่ น นั้ น เพราะสมั ย วั ย รุ ่ น เขาเกเร ไม่ ค ่ อ ยเข้ า เรียน และติดเพื่อน จึงเรียนแทบจะไม่จบมัธยมต้น เมื่อจบ ม.ต้น จึงตัดสินใจไม่เรียนต่อชั้น ม.ปลาย เพราะยังติดพันกับการเที่ยว เล่นกับเพื่อนๆ อยู่ จนอายุถึงเกณฑ์บวช เขาจึงตัดสินใจบวชเพื่อ ทดแทนให้คุณปู่ วันที่บวชเขาเห็นพ่อแม่ปลื้มใจ ก็เริ่มรู้สึกดีใจ กับการที่ตนเองท�ำแล้วพ่อแม่ภาคภูมิใจ มีความคิดที่อยากจะตั้ง หลักชีวิตใหม่หลังจากเกเรมานานซะที เมื่อบวชเสร็จก็สมัครเป็น แนวเศรษฐกิจพอเพียง เขาบอกว่าท�ำขาย ขายได้แล้วซื้อกิน ตรง ทหารเกณฑ์ เริ่มพอใจที่ตัวเองมีเงินเดือน มีระบบ ระเบียบมาก ขึ้น และเริ่มอยากท�ำงานอะไรจริงจัง เมื่อออกจากทหารเกณฑ์ นี้มันจะเป็นหนี้สินอมตะถึงลูกถึงหลาน ส�ำหรับใครก็ตามที่อยากกลับมาท�ำงานที่บ้าน ก็อยากให้ จึงตัดสินใจมาช่วยพ่อท�ำงาน เพราะอยากอยู่บ้านดูแลพ่อแม่ หันกลับมาแล้วก็ยึดตามหลักแนวเศรษฐกิจพอเพียง พื้นที่หนึ่งไร่ ด้วย และที่บ้านก็ท�ำการเกษตรอยู่แล้ว จึงตัดสินใจไม่ไปที่ไหน สองไร่นี้สามารถสร้างรายได้ให้คุณได้ต่อเดือนละ 10,000 บาท ต�่ำกว่า 10,000 บาทถ้ารู้จักคิดรู้จักท�ำอันดับแรกคือคิดว่าท�ำ ถ้ า ไม่ ท� ำ ตั้ ง แต่ วั น นั้ น ถื อ ว่ า เป็ น การเสี ย โอกาส เพื่อกิน เหลือจึงน�ำไปขาย อย่าอายเงินน้อย ผัก สมุนไพร ข่า อย่ า งมหาศาล ซึ่ ง จากครั้ ง แรกที่ เ ป็ น รายได้ เ สริ ม ตะไคร้ ใบมะกรูด สร้างรายได้ให้คุณเดือนละ 10,000, 20,000 ของบ้ า นดงบั ง วั น นี้ ส มุ น ไพรกลายเป็ น รายได้ ห ลั ก บาทได้ในพื้นที่แค่สองสามไร่ ปลูกตะไคร้ด้านล่าง ปลูกมะนาว ของทางกลุ ่ ม แล้ ว สิ่ ง ที่ เ ขาได้ ม ากมายมหาศาล ด้านบน ปลูกยางนาไว้สูงเสียดฟ้า สร้างตรงนี้ 10 ปี 20 ปีข้าง คื อ ได้ ค รอบครั ว ได้ อ ยู ่ ด ้ ว ยกั น ทุ ก เช้ า ได้ เ จอกั น หน้ามันจะมีรากฐานชีวิตที่มั่นคงอยากฝากไว้กับเกษตรกรรุ่น ไม่ เ หมื อ นกั บ ครอบครั ว อื่ น ที่ ตื่ น เช้ า คนนี้ ไ ปทาง ใหม่ คือ ไม้บ�ำนาญ พวกประดู่ พยุง ยางนา เลี้ยงปลูกไว้สัก 40 คนนั้ น ไปทาง - 50 ปีวันนี้คุณ 20 คุณเรียนจบคุณกลับมาบ้านคุณเริ่มปลูกได้ เลยอีก 40 ปีข้างหน้า ราคาจะต้นละ 60,000 ถึง 100,000 บาท ถ้าปลูกสามไร่คุณมี 60 ต้นคุณเอาเงิน 100,000 คูณเข้าไปคุณ ก็จะมีเงิน 1,000,000 คุณก็จะมีบ�ำนาญ ไม้กลางให้ปลูกพวก ทุเรียน มังคุด มะนาว ปีสองปีให้ผลผลิต ล่างติดดินพ่อสอนไว้ ให้ปลูกพืชผักสวนครัวสมุนไพรพวกนี้เดือนสองเดือนสามเดือน ให้ผลผลิต ล่างให้ปลูกไม้หัว ใต้ดินก็มีแล้วคุณจะมีรากฐานชีวิต ที่มั่นคง มีไม้บ�ำนาญ มีไม้รายปี มีไม้รายเดือน มีไม้รายสัปดาห์ มีไม้รายวัน ครบวงจรคุณจะอยู่ได้ในพื้นที่สามไร่ มีรายได้ไม่ต�่ำ กว่า 20,000 ถึง 30,000 บาทต่อเดือน ขอแค่มีใจ เกษตรกรมี แค่ใจอย่างเดียว ขยัน อดทนนิดหนึ่ง เพราะอย่างท�ำสมุนไพร ก็ต้องอดทน งานมันจุกจิกนิดหนึ่ง งานไม่หนักแต่มันละเอียด จุกจิก มันต้องใช้ความอดทน 50 IS AM ARE www.fosef.org
51 issue 135 april 2019
ส� ำ หรั บ ใครก็ ต ามที่ อ ยากกลั บ มาท� ำ งานที่ บ ้ า น ก็ อยากให้ หั น กลั บ มาแล้ ว ก็ ยึ ด ตามหลั ก แนวเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง พื้ น ที่ ห นึ่ ง ไร่ ส องไร่ นี้ ส ามารถสร้ า งราย ได้ ใ ห้ คุ ณ ได้ ต ่ อ เดื อ นละ 10,000 บาทต�่ ำ กว่ า 10,000 บาทถ้ า รู ้ จั ก คิ ด รู ้ จั ก ท� ำ อั น ดั บ แรกคื อ คิ ด ว่ า ท� ำ เพื่ อ กิ น เหลื อ จึ ง น� ำ ไปขาย อย่ า อายเงิ น น้ อ ย
ก่อนหน้า คุณพ่อของเขา คุณลุงสมัย คูณสุข ท�ำนา แต่ เห็นคนท�ำไผ่ตงแล้วรายได้ดี จึงไถแปลงนาออก และปลูกไผ่ตง ทั้งหมด แต่โชคร้าย ท�ำไปสักพักจนกระทั่งกอไผ่ออกดอก พอ มันออกดอกมันก็จะตาย รถคันแรกที่ได้ก็จากไผ่ตง เกือบจะรวย แล้วแต่ไผ่ตงมาตายเสียก่อน ปกติแล้วต้นไผ่ตงเมื่อออกดอกมัน ก็ตาย ตอนนั้นพ่อท�ำไผ่ตงนอกฤดู ปรกติจะออกตอนหน้าฝนก็ ตัดที่นี่ก็ 2 ตันถึง 3 ตัน แล้วรู้สึกว่าน่าจะสร้างรายได้ที่ดีกว่า ให้ครอบครัวได้ หลังจากนั้นจึงเปลี่ยนอาชีพใหม่ มาขายต้นไม้ ประดับ เป็นพวกไม้ประดับ ไม้กอ พวกต้นเบิร์ด ต้นดาหลา พ่อ จะไปขายแถวมีนบุรี แถวจตุจักร พอไม้ประดับ รายได้ก็ยังไม่ ได้ดีเท่าไรนัก ยังมีหนี้สินกับ ธกส. จนกระทั่ง ธกส. เข้ามาช่วย จัดการ และให้ไปฟังข้อมูลจากโรงพยาบาลอภัยภูเบศร์ เพื่อผลิต พืชสมุนไพรให้โรงพยาบาล เมื่อไปฟังข้อมูล สิ่งที่โรงพยาบาลอภัยภูเบศรเสนอคือ ให้ปลูกพืชสมุนไพรส่งโรงพยาบาล แต่มีข้อแม้ว่าต้องเป็นเกษตร อินทรีย์เท่านั้น ห้ามใช้ปุ๋ยอินทรีย์เด็ดขาด จากเกษตรกรผู้เข้า ฟังข้อมูลในวันนั้น 300 กว่าราย เหลือลงมือท�ำจริงเพียง 12 ราย เท่านั้น เพราะคนอื่นๆ ไม่เชื่อว่าการปลูกพืชโดยไม่ใช้สาร
เคมีจะได้ผล เกษตรกร 12 รายที่เหลือ จึงรวมตัวกันในชื่อว่า กลุ่มสมุนไพรบ้านดงบัง โดยคุณสมัยและคุณศรายุทธ ก็อยู่ใน กลุ่มนี้ด้วย โดยมีคุณสมัยเป็นแกนน�ำกลุ่ม รับใบออเดอร์จาก โรงพยาบาล ว่าเดือนไหนต้องการพืชสมุนไพรชนิดใด จ�ำนวน เท่าไหร่ โดยทุกครัวเรือนจะได้รับออเดอร์จ�ำนวนเท่าๆ กัน ซึ่ง ท�ำให้กลุ่มสมุนไพรบ้านดงบังมีรายรับหมุนเวียนตลอดทั้งปีจาก โรงพยาบาลฯ ตั้งแต่ปี 2540 เป็นต้นมา เมื่อเริ่มเข้าไปรับฟังความต้องการของโรงพยาบาลอภัย ภูเบศร ทางโรงพยาบาลสอนว่าให้ปลูกสมุนไพร ไม่ใช่ให้ปลูก ฟ้าทะลายโจรอย่างเดียว ให้เราปลูกเสริมปลูกแซมของที่เรา 52
IS AM ARE www.fosef.org
ปลูกกลางแจ้ง พอถึงหนึ่งเดือนสองเดือน ก็มาสรุปกันว่าตรง ไหนงาม ตรงไหนให้ผลผลิตดีกว่า ตอนเริ่มต้นถามว่ายากไหม ก็ยาก ถามว่าง่ายไหมมันก็ไม่ง่าย แต่ก็สู้ทุกรูปแบบ จากวัน นั้นถึงวันนี้เขาคิดว่า ถ้าไม่ท�ำตั้งแต่วันนั้น ถือว่าเป็นการเสีย โอกาสอย่างมหาศาล ซึ่งจากครั้งแรกที่เป็นรายได้เสริมของบ้าน ดงบัง วันนี้สมุนไพรกลายเป็นรายได้หลักของทางกลุ่ม แล้วสิ่ง ที่เขาได้มากมายมหาศาล คือได้ครอบครัว ได้อยู่ด้วยกันทุก เช้า ได้เจอกัน ไม่เหมือนกับครอบครัวอื่นที่ตื่นเช้า คนนี้ไปทาง คนนั้นไปทาง
มีอยู่ แซมเข้าไปเพื่อสร้างรายได้เสริมแทนที่ เราจะได้ไม่ต้อง ขายไม้ประดับอย่างเดียว ปลูกสมุนไพรเป็นรายได้เสริมเท่านั้น คุณศรายุทธและพ่อจึงมาคิดว่า ถ้ามาปลูกสมุนไพร จะได้เลิก ซื้อยาปฏิชีวนะกิน ก็เหลือเงินเก็บจากตรงนั้น ท�ำให้คิดว่างั้นมา ปลูกเกษตรอินทรีย์ มาปลูกผักกินเอง รู้จักสมุนไพรที่รักษาโรค เรา ก็จะลดค่าใช้จ่ายลงไปได้มหาศาล ช่วงแรกๆ ที่ยังไม่เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการปลูก ไม่เข้าใจ ว่าจะเก็บช่วงไหนอย่างไร โรงพยาบาลจะส่งเจ้าหน้าที่กลุ่ม งานเภสัชกรรมมาให้ความรู้ แล้วก็ปลูกส่งตัวอย่างไปให้ทาง โรงพยาบาลว่าช่วงหนึ่งเดือน สองเดือน สามเดือน แล้วก็ส่งมา ให้เดือนละตัวอย่างเพื่อไปตรวจสอบสารส�ำคัญออกฤทธิ์ส�ำหรับ ตัวยาช่วงไหนดีที่สุด แล้วเขาจะกลับมาบอกเรา ส�ำหรับทีนี้การปลูกของทางกลุ่ม ก็เปลี่ยนแปลงอย่าง ที่บอกคือ 12 ครัวเรือน และแบ่งเป็นสามกลุ่ม กลุ่มที่ปลูกใน โรงเรือน ปลูกในร่ม อีกกลุ่มปลูกแดดร�ำไร และอีกกลุ่มหนึ่ง
แหล่งอ้างอิงข้อมู ล นายศรายุ ทธ คูณสุข เลขที่ 34 หมู่ 6 บ้านดงบัง ต.ดงขี้เหล็ก อ.เมืองปราจีนบุ รี จ.ปราจีนบุ รี 25000
53 issue 135 april 2019
54 IS AM ARE www.fosef.org
cover story
“ถ้าเกิดฝนตกลงมาเป็นเพชร มนุษย์เกิดไม่มีศีลธรรม ก็ต้องฆ่ากันตาย”
สัมภาษณ์ ดร.ฉัททวุ ฒิ พีชผล อธิการบดีมหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์
โลกเปลี่ ย น แล้ ว เราจะไม่ เ ปลี่ ย นอยู ่ ไ ด้ อ ย่ า งไร ราวกั บ ว่ า ความเชื่ อ เดิ ม ๆ ก� ำ ลั ง ถู ก ต้ อ นให้ จ นมุ ม ด้ ว ย เทคโนโลยี ความรู ้ ข้ อ พิ สู จ น์ จ ากวั น เวลา รวมถึ ง พลั ง ของผู ้ ค นที่ เ ห็ น ว่ า “โลกต้ อ งเปลี่ ย น” และมั น ก็ มี ส่ ว นอย่ า งยิ่ ง ที่ ท� ำ ให้ “โลกเปลี่ ย น”
55 issue 135 april 2019
เป็นต้นว่า ยุคสมัยหนึ่งเด็กๆ ต้องแข่งขันกันสอบเข้า มหาวิทยาลัยชื่อดังเพียงแค่หยิบมือเดียว เพื่อเรียนในสาขาวิชา ที่ไม่มีสอนที่อื่น ถึงกับฆ่าตัวตายเพราะผิดหวังในผลการสอบ แต่ ปัจจุบันบอกเราว่า การเรียนนั้นเปิดกว้างแล้ว คุณอยากเรียน แพทย์คุณจะได้เรียน อยากเป็นหมอคุณจะได้เป็น อยากเป็น นักบินคุณก็จะได้บิน และถ้าคุณไม่มีเงินเรียนคุณก็มีสิทธิ์กู้เพื่อ ไปให้ถึงฝันที่คุณต้องการ โดยไม่ต้องไปสอบแข่งกับใครถึงขนาด เอาเป็นเอาตาย - จริงไหม ? ดร.ฉั ท ทวุ ฒิ พี ช ผล ในฐานะผู ้ ที่ ผ ่ า นการเรี ย นใน มหาวิทยาลัยชั้นน�ำของเมืองไทย และของโลกมาแล้ว ก�ำลัง บอกเราว่าโลกมันเปลี่ยนอย่างไร การศึกษาเปลี่ยนอย่างไร วันนี้ มหาวิทยาลัยยังเป็นผู้เลือกนักศึกษาอยู่รึเปล่า หรือนักศึกษานั่น แหละคือผู้เลือกและชี้ชะตาของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ค่านิยมเก่าๆ ก�ำลังถูกสั่นคลอน โลกเปิดกว้างเกินกว่าจะยึดติดอยู่กับสิ่งใดสิ่ง เดียว เพราะมันไม่ได้มีเพียงหกหรือแปดด้านอีกต่อไป หากมีเป็น ร้อยๆ ด้านให้เข้าถึงโดยง่าย นี่ จึ ง เ ป ็ น ที่ ม า ข อ ง ก า ร เ น ้ น เรื่ อ ง คุ ณ ธ ร ร ม ซึ่ ง ดร.ฉัททวุฒิ พีชผล ให้ความส�ำคัญ โดยเฉพาะเรื่องการควบคุม จิตใจ ภายใต้การปฏิบัติตามหลักพุทธศาสนา อาจกล่าวได้ว่า โลกเราก้าวมาถึงการเปลี่ยนแปลงที่เปราะบาง นักศึกษาจาก MIT มหาวิทยาลัยที่แกร่งกล้าเรื่องเทคโนโลยีระดับโลก ยัง มองเห็นว่า วิทยาการความรู้ต่างๆ นั้นจะเปล่าประโยชน์หาก ไร้คุณธรรมในการน�ำมาใช้ ดาบสองคมเล่มโตนี้ ผู้ถือจะต้อง ควบคุมจิตใจให้ดี
ไปเรียนต่อที่ MIT (สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ : Massachusetts Institute of Technology) แล้วกลับมาเริ่มท�ำงาน ที่ธนาคารแห่งหนึ่ง ขณะนั้นเรื่องไอทีก�ำลังได้รับความนิยม ผม จบปริญญาตรีวิศวะคอมพิวเตอร์ และปริญญาโทบริหารไอที ก็ เลยมาท�ำงานด้านไอที ด้านการศึกษา ช่วงนั้นท่านนายกสภา ของมหาวิทยาลัย เล็งเห็นว่าท�ำงานเกี่ยวกับไอทีและการศึกษา มา ก็เลยให้มาบริหารงานที่มหาวิทยาลัยแห่งนี้
เกิ ด และเติ บ โตที่ ไ หน ? เป็ น คนกรุ ง เทพโดยก� ำ เนิ ด เริ่ ม เรี ย นที่ โ รงเรี ย น ศรีวิกรม์จากนั้นไปที่โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) แล้ว เอนทรานซ์วิศวะคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทุน
ในช่ ว งเรี ย นชั้ น มั ธ ยมฯ ให้ น�้ ำ หนั ก กั บ การเรี ย นและ กิ จ กรรมอย่ า งไรบ้ า ง ? ส่วนใหญ่เน้นเล่นครับ จ�ำได้ว่าชีวิตที่ส�ำคัญที่สุดคือชีวิต ช่วงเด็ก มีเพื่อน สนุกมาก แต่สมัยก่อนไม่เหมือนทุกวันนี้ มัน ไม่มีออนไลน์ ฉะนั้น การเล่นก็ถนัดไปทางกีฬา สมัยก่อนแถว โรงเรียนยังเป็นป่า มีคลองนั่งเรือ ส่วนใหญ่จะเน้นเล่นมากกว่า การเรี ย น แต่ เ ป็ น คนชอบประดิ ษ ฐ์ สิ่ ง ของ ท� ำ โปรเจ็ ค หลาย อย่างตั้งแต่มัธยม เคยท�ำเครื่องลดควันบุหรี่ ส่งอีออนลบออก มา ไปประกวดได้รับรางวัล ท�ำกับเพื่อนอีกคน คือ คุณกรพรหม แสงอร่าม ตอนนี้เป็นนักบินไปแล้ว เป็นหมอผ่าตัด เป็นเพื่อน สนิทกันตอนเด็ก แต่ก่อนชอบวิทยาศาสตร์ สมัยนั้นไม่มีของ เล่นเหมือนทุกวันนี้ 56
IS AM ARE www.fosef.org
จากสิ่ ง ที่ ช อบท� ำ ให้ เ กิ ด แรงบั ล ดาลใจไปสู ่ เ ป้ า หมาย ยั ง ไง ? สิ่งที่เราคิดคือ ชอบแล้วเก่ง หรือ เก่งแล้วชอบ ผลวิจัย ออกมาแล้วว่า ไม่ได้ชอบแล้วเก่ง ส่วนใหญ่เก่งก่อนแล้วชอบ มี ความถนัดแล้วได้รับการยอมรับจากคนอื่น ว่าเราเก่งเรื่องนี้ นี่ คือจุดเริ่มท�ำให้เราท�ำมันดีขึ้นๆ ก็มีกฎอันหนึ่ง เช่น คนที่เป็น เชฟมือหนึ่งต้องฝึกฝน คนที่เก่งด้านใดด้านหนึ่งพอเราไปดูเขา จริงๆ แล้ว เราเห็นแต่ผลของเขา แต่ที่จริงมันเริ่มจากการฝึกฝน วันแล้ววันเล่า จนกลายเป็นจีเนียส มีนักไวโอลินคนหนึ่ง เขาอายุประมาณ 50 กว่าปี มีสื่อมา ถามเขาว่าท�ำไมยูเป็นจีเนียส เขาตอบว่า ผมไม่ได้เริ่มจากจีเนียส ผมเล่นไวโอลินตั้งแต่ 3 ขวบ วันละ 6 ชั่วโมง วันนี้ผมอายุ 50 แล้ว เขาถึงเรียกผมว่าจีเนียส เพราะฉะนั้น ความเป็นจีเนียสมัน ไม่ได้สร้างกันวันเดียว มันคือการสะสมอย่างต่อเนื่อง ถ้ามอง กลับมาที่พระพุทธเจ้า ก็คือการบ�ำเพ็ญเพียรอย่างหนัก 10 ทศ 10 เวกเตอร์ อสงไขแสนมหากาพย์ ของเราแค่คนธรรมดาเอง ถ้าอยากจะส�ำเร็จขอแค่ 10 ปี รุ่นผมอาจจะยาก แต่รุ่นน้องๆ ไม่ยากแล้ว เพราะอินเตอร์เน็ต แต่ยากตรงต้องได้ภาษาอังกฤษ ถ้าภาษาอังกฤษได้ก็สามารถเปิดโลกได้ รุ่นผมต้องไปหาหนังสือ มือสองมาอ่าน แต่รุ่นนี้หาความรู้ได้ง่ายขึ้น อยากเห็นโลกด้าน ไหนก็สามารถท�ำได้ ยิ่งด้านไอทีสบายเลย เพราะว่าต้นทุน อยู่ ที่สมองอย่างเดียว
เรี ย นเกี่ ย วกั บ คอมพิ ว เตอร์ ชอบคอมพิ ว เตอร์ มี ความทรงจ� ำ เกี่ ย วกั บ คอมพิ ว เตอร์ อ ย่ า งไรบ้ า ง ? สมัยก่อนจ�ำได้ ได้คอมพิวเตอร์เครื่องแรกมา ซินแคลร์ ZX SPECTRUM(ยุค’80) ความจ�ำ 1K คือ 1,024 ตัวอักษร เครื่องแรกที่ได้มาคือ 16K ดีใจมากเลย ต่อกับทีวีที่บ้าน แล้วก็ เล่นเกมได้ ตอนนั้นประมาณ ม.1 เริ่มสนใจ แล้วก็มีร้านซอฟแวร์ เล็ ก ๆ แถวลาดพร้ า ว แต่ ก ่ อ นต้ อ งเป็ น เทปคลาสเซ็ ท แล้ ว ซอฟแวร์ต้องดาวน์โหลดใช้โมเด็ม สมัยก่อนความเร็ว 16,000 มิต แต่เดี๋ยวนี้ความเร็ว 15 ล้านมิตแล้ว รุ่นผม 1,200 มิต เราก็ เริ่มพัฒนามาตั้งแต่ ป.6 จากซินแคลร์ แล้วก็มาได้คอมพิวเตอร์ แอปเปิ้ล 2 สามารถเขียนโปรแกรมให้พูดภาษาคนได้ ศึกษา เองเลย สมัยก่อนต้องไปอ่านหนังสือภาษาอังกฤษ เราก็ต้องไป ค้นคว้าหาหนังสือที่จตุจักร สนามหลวง แล้วก็รู้จักกับ BBS คือ ตัวออนไลน์เน็ตเวิร์ค มันมีก่อนหน้าเว็บไซต์อีก ก็เป็นที่มาพื้น ฐาน ค่อยๆ หาความรู้มาเรื่อยๆ
การค้ น หาตั ว เอง ต้ อ งตอบด้ ว ยตั ว เอง ไม่ มี ใ คร ตอบให้ ไ ด้ ? สมมุ ติ พ่ อ แม่ เ ห็ น ว่ า ลู ก เรี ย นคณิ ต ศาสตร์ ไ ม่ เ ก่ ง เลย ปรากฏว่า มีครั้งหนึ่งเขาสอบได้คะแนนดี แล้วมีคนชื่นชมเขา อันนี้เป็นจุดเปลี่ยนนิดเดียวเอง กลายเป็นว่าเขาดันเก่งขึ้นมาเลย คือคนรอบข้างส่งเสริมเขา แล้วบอกว่านี่แหละคือสิ่งที่คุณเป็น ฉะนั้น บางทีต้องค้นหาตัวเราเองซึ่งไม่มีใครตอบให้ได้ 57 issue 135 april 2019
ส�ำคัญที่สุดต้องมีสติ ต้องฝึก อย่าง ปีเตอร์ ดรักเกอร์ นัก คิดที่บุกเบิกแนวคิดด้านการบริหารจัดการองค์กรธุรกิจสมัยใหม่ เขาบอกว่า เวลาที่เขาท�ำอะไรก็ตาม เขาจะเขียนง่ายๆ ว่าวันนี้ท�ำ อะไร และผลที่คาดว่าจะได้รับ จดไว้ทุกวัน เช่น วันนี้เราจะท�ำ อะไรจดไว้ สมมุติเรื่องส่วนตัว วันนี้ชอบน้องคนนั้นมากเลย วัน นี้เป็นแฟนกับน้องคนนี้ดีกว่า ชีวิตเราง่ายดี ก็บันทึกไว้ หรือวัน นี้ไม่ชอบอันนี้เลย เดี๋ยวไปท�ำแบบนี้ดีกว่า เขียนออกมา พร้อม สิ่งที่เราคาดหวัง ว่าเราคาดหวังอะไร จดไว้ครบ 3 เดือน กลับ มาเทียบกับความเป็นจริงในปัจจุบันดู ว่าสิ่งที่เราจดกับความ เป็นจริงมันเป็นอย่างนั้นไหม เข้ากันไหม เราจะได้รู้ว่าเราเก่ง เรื่องไหน ไม่เก่งเรื่องไหน จริงหรือเปล่า ใช้ได้ตั้งแต่เด็กจนโต เช่น ซื้อหุ้น คิดว่าจะซื้อตัวนี้ดี พอถึง 3 เดือนไม่ได้เรื่อง เลย หรือเราเลือกคนท�ำงานคิดว่าคนนี้ต้องดีแน่เลย พอเข้ามา ไม่ได้เรื่องเลย แสดงว่าเรารู้แล้วว่าการเลือกคนในการท�ำงาน ของเรามีปัญหา สิ่งส�ำคัญคือ สติ ปัจจุบันมีเครื่องมือที่ท�ำให้จิต เราส่งออกจนหมดพลังเยอะเหลือเกิน ตามช่องทางสื่อต่างๆ ทุกอย่างคือจิตส่งพลังออกไปหมดเลย ท�ำให้อ่อนแอ ฉะนั้น ต้อง ดึงกลับมา ให้ชีวิตดีขึ้น มีความสุขขึ้น ที่นี่ถึงเป็นศูนย์สมาธิของ หลวงพ่อวิริยังค์ที่ใหญ่ที่สุดรองจากศูนย์วัดธรรมมงคล เพราะ เราเชื่อว่าเรื่องสมาธิเป็นเรื่องส�ำคัญ
ปั จ จุ บั น การเลื อ กมหาวิ ท ยาลั ย ของเด็ ก ในปั จ จุ บั น ควรค� ำ นึ ง ถึ ง อะไร ? จริงๆ แล้วโลกของการศึกษาไม่เหมือนเดิมแล้ว สมัย ก่ อ นรุ ่ น ผมเอนทรานซ์ ไ ม่ ติ ด ร้ อ งไห้ เพราะนั ก เรี ย นเยอะ มหาวิ ท ยาลั ย มี น ้ อ ย วั น นี้ มัน ไม่ ใช่ แล้ ว มหาวิ ท ยาลั ย มี เ ยอะ โปรแกรมเยอะ แต่ ผู ้ เรี ย นมี น ้ อ ย เด็ ก มี ท างเลื อ กมากขึ้ น มี มหาวิ ท ยาลั ย ใหม่ ๆ ที่ ท� ำ โปรแกรมได้ น ่ า สนใจมากแม้ เ ด็ ก ที่ ท็อปๆ ยังสู้ไม่ได้ เรียน 2 ปี 4 ที่ ไปเรียนที่ประเทศจีนก่อนที่หนึ่ง 3 เดือน อีกวิชาไปเรียนที่มิลาน อีกวิชาไปนิวยอร์ก อีกวิชาหนึ่ง ไปฝรั่งเศส 4 ปี เรียน 4 ประเทศ ได้ดีกรีรวมกัน เช่น ไฟแนนซ์ ไปเรียนนิวยอร์ก กลยุทธทางการตลาดไปเรียนแอลเอ มาเก็ตติ้ง ไปเรียนจีน นี่คือโปรแกรมที่มันเกิดขึ้น วันนี้เด็กที่สอบ standard test อันดับท็อปของโลก ปรากฏเรียนออนไลน์ที่บ้าน แต่สิ่งส�ำคัญคือ ถ้าภาษาอังกฤษ ได้ โลกเปิด ถ้ า เด็ ก ต่ า งจั ง หวั ด คนหนึ่ ง ฐานะธรรมดาอยากไป เรี ย น Mit อาจารย์ จ ะบอกเขายั ง ไง? คือทุกอย่างอยู่ที่จิต ถ้าจิตมีความปรารถนาอย่างแรง กล้ามากพอ ผมเชื่อว่าเป็นไปได้ ทุกอย่างมาจากจิตทั้งนั้น นัก วิทยาศาสตร์ระดับไหน มันก็คิดจากสมองมนุษย์ จากจิตใจที่ มุ่งมั่น คุณก็ต้องมุ่งมั่นมีเป้าหมายที่มุ่งมั่น ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค แล้วก็ค่อยๆ เดิน ค่อยเป็นค่อยไป อย่างน้อยต้องเซ็ทเป้าหมาย ก่อน ว่าอยากท�ำอะไร แล้วเป้าหมายนั้นต้องคิดให้ดีว่ามันอยาก จริงไหม อยากแค่ไหน เหมือนที่บอกว่าอยากผอม อยากหุ่นดี อยากแข็งแรง แต่ก่อนไม่รู้จะไปยังไง แต่ตอนนี้รู้ แต่ยอมหรือ เปล่า ทานไม่เหมือนคนอื่นยอมหรือเปล่า ยอมออกก�ำลังกาย 58
IS AM ARE www.fosef.org
อีก จะเอา 2 ดีกรีหรือ เขาบอกไอต้องกลับไปพัฒนาหมู่บ้าน เพราะเงินที่ได้มาเรียน ชาวบ้านร่วมกันส่งไอมา นี่คือเป้าหมาย ที่มีประโยชน์ต่อผู้อื่น
ทุ ก อย่ า งอยู ่ ที่ จิ ต ถ้ า จิ ต มี ค วามปรารถนาอย่ า งแรง กล้ า มากพอ ผมเชื่ อ ว่ า เป็ น ไปได้ ทุ ก อย่ า งมาจาก จิ ต ทั้ ง นั้ น นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ร ะดั บ ไหน มั น ก็ คิ ด จาก สมองมนุ ษ ย์ จากจิ ต ใจที่ มุ ่ ง มั่ น คุ ณ ก็ ต ้ อ งมุ ่ ง มั่ น มี เ ป้ า หมายที่ มุ ่ ง มั่ น ไม่ ย ่ อ ท้ อ ต่ อ อุ ป สรรค แล้ ว ก็ ค่ อ ยๆ เดิ น ค่ อ ยเป็ น ค่ อ ยไป
ก่ อ นที่ จ ะมารั บ งานบริ ห ารการศึ ก ษา ท่ า นมี ค วาม คาดหวั ง อะไรบ้ า ง ? จริงๆ ที่มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ จะไม่เหมือนที่อื่น เพราะเราเป็นมูลนิธิฯ ที่นี่จะให้โอกาสทางการศึกษา อย่างค่า เทอมของเราคิดไม่แพง ไม่ได้เป็นมหาวิทยาลัยที่แสวงผลก�ำไร ได้ไหม แต่ก่อนไม่มีวิธี แต่เดี๋ยวนี้มีแล้ว อยู่ที่เราอยากหรือเปล่า แต่ที่จริงแล้วมันก็ต้องมีก�ำไรนะ เราเองถึงจะอยู่ได้ แต่เราก็ไม่ แล้วก็มีคนท�ำได้ เช่น ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ ไปเรียนฮาเวิร์ด ได้มองไปที่ก�ำไรอยากให้โอกาสทางการศึกษามากกว่า ตาม นั่นก็เด็กต่างจังหวัด หลวงวิจิตร วาทการ และอีกหลายท่าน เจตนารมณ์ของมูลนิธิมหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ แต่ตอนนี้ทุกอย่างส�ำเร็จได้ด้วยจิต แต่ว่าถ้าเป้าหมายอันนั้น มีประโยชน์ต่อคนอื่นจะยิ่งมีพลัง เสริมมากกว่าเป้าหมายที่จะ มู ล นิ ธิ ฯ อาคเนย์ ตั้ ง ก่ อ นถึ ง เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ? ใช่ครับ มูลนิธิฯ ตั้งก่อน ท่านประเสริฐ เสาวภา เป็น ไปคนเดียว ผมไปเรี ย น MIT มี เ พื่ อ นจากเมื อ งจี น สุ ด ยอดจริ ง ๆ หนึ่งในผู้ก่อตั้ง เป็นหลานคุณย่าแปลก เหมือนปิ๋ว ให้ที่ดินมา 1.คนจีนมีเยอะ 2.ฉลาดกว่า 3.ขยันกว่าเราอีก 4.อดทนกว่า นี่ เป็นจุดเริ่มต้น ท่านก็บริหารจัดการ โดยมีท่านประเสริฐเป็น คือชาวจีน พอถามว่าท�ำไมถึงตั้งใจเรียน เรียนเพิ่มหนักกว่าเดิม ผู้ช่วย 59 issue 135 april 2019
60 IS AM ARE www.fosef.org
เมื่ อ ท่ า นได้ ม าท� ำ งานด้ า นการศึ ก ษา มี ค วามยาก ไหม ? ผมว่ายาก เพราะมันมีหลายปัจจัย ทั้งทางด้านอาจารย์ ทั้งเด็กนักศึกษา อย่างผมมีโอกาสไปที่ประเทศจีน ถ้าเราจะเข้า ห้องสมุดต้องจองเข้า ขนาดแค่ห้องสมุดเพื่อจะไปเอาหนังสือ ยัง ต้องจองกันเข้า จะเรียนกันอย่างจริงจัง แต่การเรียนในบ้านเรา ไม่ใช่แบบนั้น ต้องเรียนอย่าง happy มีความสุข ต้องคอยป้อน วิชาต่างๆ ต้องท�ำให้เด็กเห็นความส�ำคัญ สร้างการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง “จะบอกนักศึกษาว่าไม่เรียนไม่รอด” เพราะถ้าคุณ ไม่เรียนก็จะไม่รู้ ต้องเรียนรู้ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเรียนด้านไหน
มหาวิ ท ยาลั ย เอเชี ย อาคเนย์ เ ราจะเน้ น ปฏิ บั ติ จ ริ ง สามารถท�ำงานได้จริง ตอบโจทย์รู้อนาคตได้ คิดเป็น เรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง ภาษาอังกฤษต้องท�ำให้ได้ เราต้องยอมรับ เด็ก ที่มาเรียนที่นี่ ไม่ใช่เด็กที่เป็นตัวท๊อป เพราะอย่างเด็กท๊อปๆ เขาก็จะมีทางเลือกของเขาอย่าง จุฬาลงกรณ์ หรือ ธรรมศาสตร์ ของเราเน้นท�ำได้จริง ท�ำให้ได้
กลยุ ท ธ์ ที่ ท� ำ ให้ เ ด็ ก ไปสู ่ เ ป้ า หมาย ? กลยุ ท ธ์ ข องเรา ข้ อ แรกเลยคื อ ให้ เ ด็ ก ปรั บ เปลี่ ย น attitude เพราะทุ ก อย่ า ง action มาจากความเชื่ อ และ ความเชื่อก็มาจาก attitude เช่น คนเชื่อว่าถ้าตายแล้วทุกอย่าง ท่ า นวาง position ของมหาวิ ท ยาลั ย เอเชี ย จบ กับที่ไม่เชื่อว่าตายแล้วทุกอย่างจะจบ คิดว่า action จะต่าง กันมั้ย มันคนละเรื่องเลย แต่ถ้าเราเปลี่ยนความเชื่อว่าตายแล้ว อาคเนย์ ไว้ อ ย่ า งไร ? ที่มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ ต้องการเป็นสถาบันที่ ไม่จบ โลกมันมีอะไรหลายอย่าง เพราะฉะนั้นเราก็จะบอกเด็ก สร้างนักศึกษาที่ออกไปท�ำงานได้จริงและมีคุณธรรม ถามว่า ว่าเข้ามาแล้วต้องเปลี่ยนทัศนคติ ก็จะมีกิจกรรมหลายอย่างที่ท�ำ ท�ำไมต้องเน้นตรงคุณธรรม ถ้าคนเราไม่มีศีล ไม่มีธรรม เรามอง ทั้งอาจารย์ นักศึกษา เช่น กิจกรรมจิตอาสา ตักบาตร พยายาม โลกวันนี้ที่มันวุ่นวายเพราะคนขาดศีลธรรม ถ้าทุกคนมีศีล 5 ใน ปลูกฝังด้วยสั่งเหล่านี้ ตัวเอง โลกก็จะสงบสุขมากขึ้น แต่ปัญหาจริงๆ มันไม่ใช่ คนไป มองว่าด้านเศรษฐกิจ เพราะต่อให้เศรษฐกิจดี แต่คนไม่มีศีล แสดงว่ า ท่ า นไม่ ไ ด้ ม องแค่ ด ้ า นวิ ช าการ แต่ ว าง ธรรม ถ้าเกิดฝนตกลงมาเป็นเพชร มนุษย์เกิดไม่มีศีลธรรมก็ต้อง หลั ก สู ต รการพั ฒ นาด้ า นคุ ณ ธรรมด้ ว ย ? ก็ท�ำคู่กันไป อย่างงานด้านจิตอาสา เราก็เอาส่วนของ ฆ่ากันตาย ผมไม่ได้มองว่าเป็นเรื่องของเศรษฐกิจแต่เราว่ามัน คะแนนมาเป็นตัวเรียกให้นักศึกษามาท�ำกิจกรรม เป็นกุศโลบาย เป็นเรื่องของศีลธรรม ถ้ามีศีลธรรมเราก็จะมีความสุขได้
61 issue 135 april 2019
มุ ม มองการการคั ด เลื อ กนั ก เรี ย นในปั จ จุ บั น เปลี่ ย น ไหม ? โลกสมั ย นี้ มั น เปลี่ ย นไปเยอะแล้ ว เมื่ อ ก่ อ นเราเป็ น ฝ่ า ยที่ ต ้ อ งเลื อ กนั ก ศึ ก ษา แต่ วั น นี้ ก ลั บ เป็ น ตั ว นั ก ศึ ก ษาต้ อ ง เลือกมหาวิทยาลัย เพราะว่ามหาลัยเด็กน้อยลง และจ�ำนวน มหาวิทยาลัยที่เพิ่มมากขึ้น เพราะฉะนั้นเด็กจะมีทางเลือกเยอะ มาก อย่างมีเด็กมาสมัครเรียน เราก็จะมองเขามีความถนัดด้าน ไหน มหาวิทยาลัยของเราเป็นเอกชน เด็กคนไหนเดินมาสมัคร เรียนเราก็รับหมด เด็กน้อยลง อาจจะมาจากประชากรที่น้อย ลง พ่อแม่สมัยนี้มีลูกคนเดียว สังคมไทยเริ่มเข้าสู่กลุ่มคนสูง อายุ เด็กน้อยลง เด็กที่มีโอกาสก็ไปเรียนต่างประเทศ หรือเรียน ออนไลน์ก็ได้
ให้เขามาท�ำอย่างท�ำบุญตักบาตร ตัวนักศึกษาเองก็มีส่วนได้ ไปด้วย มี ค� ำ กล่ า วว่ า เด็ ก ยุ ค นี้ ไม่ ท นต่ อ งาน ? จริงๆ ปัญหานี้มันเกิดกันทุกประเทศ ผมมองว่ามันเกิด จากการที่มีโทรศัพท์มือถือ มันท�ำให้เราเข้าถึงกันได้ทั้งหมดทุก สิ่งทุกอย่าง อยากรู้อะไร search หา บางคนกดปุ๊บรอแค่ 3-4 วินาที ก็หงุดหงิดละ มันเลยท�ำให้คน late spon time คราวนี้ เขาเกิดมาด้วยสิ่งต่างๆ เหล่านี้ service การแข่งขันกันด้วยเวลา ท�ำให้ความอดทนมันเลยลดน้อยลง เหมือนกับเวลาอะไรที่ไม่ได้ ดั่งใจเราก็จะรู้สึกไม่ดี ต้องสอนให้เขารู้จักฝึกสติ ถ้าโกรธแล้วจะ เป็นยังไง ได้อะไร ฉะนั้นจิตใจเลยเป็นพื้นฐาน สิ่ ง ที่ ท ่ า นอยากท� ำ ที่ สุ ด ในฐานะผู ้ บ ริ ห ารการศึ ก ษา ? ตอนนี้ ก็ เ ริ่ ม ท� ำ การพั ฒ นาในเรื่ อ งของความสุ ข สมั ย ก่ อ นวิ ช าด้ านความรู้คู่กับ ความสุขก็จะมาใช้ในด้ า นการ แพทย์ เหมือนจิตบ�ำบัด ลดความทุกข์ แต่สมัยนี้จะใช้วิธีนั้นไม่ ได้แล้วที่จะมาลดความทุกข์ ก็เปลี่ยนเป็นวิธีการเพิ่มความสุข แทน ก็มี model อารมณ์เชิงบวก
แ ล ้ ว ท ่ า น มี แ ล ้ ว คิ ด ที่ จ ะ พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ข อ ง มหาวิ ท ยาลั ย มาเป็ น ในรู ป แบบออนไลน์ มั้ ย ? ออนไลน์ ผ มก็ พ ยายามท� ำ อยู ่ ที่ ท� ำ อยู ่ ต อนนี้ ก็ เ ป็ น ออนไลน์แบบ hybrid หลักสูตรผสมผสานกับการเข้า class ดี กว่าเป็นแบบออนไลน์เพียวๆ เพราะเด็กจะเรียนไม่จบ ควบคุม ตัวเองไม่ได้ ลงเรียนเอง ค่าเรียนถูก ขาดความใส่ใจก็ท�ำให้ เรียนไม่จบได้ การเรียนแบบออนไลน์แบบ hybrid เราก็ยังได้ 62
IS AM ARE www.fosef.org
เข้าห้องเรียน ได้พบอาจารย์บ้าง ท�ำให้มีโอกาสเรียนจบ ที่นี่ก็มี หลายคอร์สที่เราเริ่มท�ำแล้ว ที่มหาวิทยาลัยอาคเนย์ก็มีหลายคณะที่ดังและน่าสนใจ อย่างเช่น คณะบริหารธุรกิจ สาขาบัญชี สาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ, คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมความปลอดภัย สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
ที่สุดของประเทศไทยเลยก็คือ บ้านเราในน�้ำมีปลา ในนามีข้าว เมื่อเทียบกับประเทศอื่น แต่เราก็ประมาทไม่ได้ เพราะโลกมัน เปลี่ยนไปเรื่อยๆ เดี๋ยวฝนไม่ตกตามฤดูกาล เดี๋ยวน�้ำไม่ไหล เดี๋ยว ร้อนเดี๋ยวหนาว ก็ส่งผลต่อธรรมชาติ มันคือการย้อนกลับมาที่ ศีลธรรมของคน เรื่องวิชาการก็ส�ำคัญ แต่ก็ต้องมีพื้นฐานของ เรื่องศีลธรรมด้วย
คิ ด ยั ง ไงกั บ การพั ฒ นาสั ง คมในปั จ จุ บั น ? ในประเทศไทย ผมว่าเราโชคดีนะ ที่เรายังมีครู อาจารย์ ที่ดี ยังมีคนดี เพราะฉะนั้นเราจะมองว่ามันไม่พัฒนาก็คงไม่ ได้ เรายังมีพระที่ดี ถือศีล ที่เป็นแบบอย่าง เพียงแต่ว่ากระแส โลกส่วนใหญ่ ความจริงต่างๆ ขึ้นอยู่กับจิต ถ้าเราควบคุม กาย วาจา สมาธิ เรื่องจิตใจจึงเป็นเรื่องส�ำคัญที่ต้องฝืนกิเลส ถ้าเรา ท�ำตามใจกิเลสตลอด ก็จะไม่มีความสงบ ต่อให้เรารวย สวย หล่อ เก่ง ก็ไม่มีความสุข แต่เราก็โชคดีที่พื้นฐานของคนไทย เป็นจิตใจดี มีเรื่องของความเชื่อ เรื่องของการให้ และที่โชคดี
ท่ า นมองยั ง ไงเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ? สิ่งที่ส�ำคัญคือความ “พอ” และไม่ให้เกิดข้อเปรียบเทียบ ไม่ให้เกิดความอยากได้ เปลี่ยนเป็นการแข่งกันเป็นผู้ให้ การ ท�ำความดี ที่ต้องท�ำและปฏิบัติ เพราะถ้าเราไม่รู้จักพอ กิเลสใน ตัวเองเยอะ อยากได้โน่นอยากได้นี่ อยากไปเรื่อย ถ้าไม่ควบคุม กิเลสยังไงเราก็ยังรู้สึกว่าไม่พออยู่ดี แต่ถ้าเราอยู่แบบพอ สรรหา อะไรที่พอส�ำหรับตัวเราแล้ว แล้วมาให้คนอื่นให้กับลูกหลาน สิ่งนี้มันจะสร้างความสุขที่ยั่งยืนกว่า
63 issue 135 april 2019
เยาวชนครอบครัวพอเพียงขึ้นกล่าวสุนทรพจน์บนเวที น�ำเสนอการขับเคลื่อนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าระดับโลก
วันนี้ (9 เม.ย. 62) เวลา 10.00 น. นางสาวชวัลรัตน์ เพชรดี ประธานรุ่นศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนสตรีราชินูทิศ จั งหวั ด อุ ด รธานี ตั วแทนมูลนิธิครอบครัว พอเพียง ขึ้ น กล่ า ว สุนทรพจน์บนเวทีการประชุมรับฟังความเห็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เรื่ อ ง ‘หลั ก ประกั น สุ ข ภาพถ้ ว นหน้ า ’ เพื่ อ การจั ด ท� ำ ท่ า ที ระดับประเทศส�ำหรับเตรียมการการประชุมระดับสูง ว่าด้วย หลั ก ประกั น สุ ข ภาพถ้ ว นหน้ า และการฉลองวั น อนามั ย โลก ณ โรงแรมอโนมา แกรนด์ กรุงเทพมหานคร ในการนี้ นางสาวชวัลรัตน์ เพชรดี เป็นนักเรียนไทย คนเดียวที่ขึ้นกล่าวสุนทรพจน์ต่อหน้า Dr Renu Madan Lal GARG.,Acting WHO Representative to Thailand และ นพ.ศักดิ์ชัย กาญจนวัฒนา เลขาธิการ สปสช. และ นายพิชิต บุญสุด รองอธิบดีกรมองค์การระหว่างประเทศ กระทรวงการ ต่างประเทศ รวมถึงผู้เกี่ยวข้องระดับสูงในเรื่องหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า สร้างความประทับใจและเสียงปรบมือต่อผู้เข้า ร่วมประชุมเป็นอย่างยิ่ง โดยมีความตอนหนึ่งดังนี้ 64 IS AM ARE www.fosef.org
“...ดิฉันเป็นเยาวชนไทยคนหนึ่งที่ได้มีโอกาสเข้าร่วม กิจกรรม แกนน�ำพลเมืองใหม่ หลักประกันสุขภาพ Senior UHC 2018 ซึ่งเกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างส�ำนักงานหลัก ประกันสุขภาพแห่งชาติและมูลนิธิครอบครัวพอพียงที่มีส่วน ส�ำคัญที่สุดที่ท�ำให้ดิฉันได้มายืนอยู่ ณ จุดนี้ จุดที่ดิฉันกล้ายืนยัน ว่าดิฉันภูมิใจที่ได้เกิดมาบนผืนแผ่นดินไทย ได้มีสิทธิหลักประกัน สุขภาพที่เป็นของคนไทย กิจกรรมนี้ท�ำให้ดิฉันได้เรียนรู้ในสิทธิที่ ตนมี ได้เข้าใจในหลักการท�ำงานเพื่อผู้อื่น และยินดีที่จะน�ำความ รู้ทั้งหมดที่ได้รับไปเผยแพร่สู่ชุมชนและสังคมต่อไป “...ดิ ฉั น เชื่ อ ว่ า เยาวชนไทยจะเป็ น กระบอกเสี ย งที่ ดี ในการกระจายความรู้เกี่ยวกับหลักประกันสุขภาพ เพราะเรา ต่างมีสิทธิใช้บริการทางสาธารณสุขเหล่านี้ อีกทั้งโลกของเรา พัฒนากลายเป็นโลกไร้พรมแดน การสื่อสารที่รวดเร็วจะท�ำให้ เยาวชนเข้าถึงและน�ำไปใช้ได้ถูกต้องมากขึ้น รวมไปถึงหลัก
ประกันสุขภาพ เป็นการมองถึงนโยบายองค์รวมของประเทศ ที่มีการขับเคลื่อนด้วยบุคลากรที่มีสุขภาพดี ก็จะส่งผลให้สังคม เกิดการพัฒนา และเกิดความก้าวหน้าในระดับประเทศได้ง่าย ขึ้น เป็นการเชื่อมโยงสอดประสานกันระหว่างผู้คนและสภาพ สังคมภายในประเทศนั้นๆ ได้เป็นอย่างดี “ชีวิตของมนุษย์เราล้วนแล้วแต่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อท�ำ บางสิ่งบางอย่างแต่อยู่ที่ว่าบุคคลผู้นั้นจะสรรสร้างสิ่งใด หาก เรารักในชีวิตและเห็นคุณค่าของตนเองก็จงใช้หนึ่งชีวิตที่มีสร้าง สิ่งดีๆ ให้แก่ผู้อื่นและไม่ลืมที่จะดูแลชีวิตของตนเองให้ดีที่สุด ที่ส�ำคัญอย่าลืมที่จะขอบคุณบุคคล องค์กรและทุกๆ หน่วย งานที่ท�ำงานอย่างหนักเพื่อเราทุกคน ขอบคุณมากๆ นะคะ ขอบคุณที่เสียสละเพื่อคนไทยทุกคน” นางสาวชวัลรัตน์ เพชรดี กล่าวทิ้งท้าย
65 issue 135 april 2019
พระแสงฝั กทองเกลี้ยง
พระแสงองค์ นี้ เ ป็ น ดาบไทยทรงญี่ ปุ ่ น ฝั ก และด้ า มท� ำ ด้ ว ยทองค� ำ ประดั บ เพชร เป็ น ฝี พ ระหั ต ถ์ ที่ พ ระบาท สมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลกมหาราชทรงตี ขึ้ น ที่ ช านชาลาพระที่ นั่ ง อมริ น ทรวิ นิ จ ฉั ย ฯฟากตะวั น ออก เมื่ อ แรกสร้ า งทรงใช้ เ ป็ น พระแสงคู ่ พ ระหั ต ถ์ อ ยู ่ ร ะยะหนึ่ ง ครั้ น เมื่ อ สมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก ยาเธอกรมหลวงอิ ศ เรศ สุ น ทรเสด็ จ ขึ้ น อุ ป ราชาภิ เ ษกเป็ น พระมหาอุ ป ราช กรมพระราชวั ง บวรสถานมงคล นอกจากจะได้ พ ระราชทาน เครื่ อ งอิ ส ริ ย ยศอย่ า งอื่ น ตามโบราณราชประเพณี แ ล้ ว ยั ง ได้ พ ระราชทานพระแสงองค์ นี้ ด ้ ว ย ในรั ช กาลต่ อ มา ได้ ท รงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ พระราชทานพระแสงองค์นี้แด่สมเด็จพระบรมราชโอรสสืบทอด กันต่อๆ มา ดังนี้ - พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระราชทาน สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามงกุฎสมมติเทวาวงศ์เมื่อคราวที่ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้เป็นผู้แทนพระองค์เสด็จออกไปรับ ครัวมอญซึ่งเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร ณ เมืองกาญจนบุรี - พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทาน สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ เมื่อทรงพระกรุณา โปรดเกล้ า ฯให้ ส ถาปนาพระอิ ส ริ ย ยศขึ้ น เป็ น สมเด็ จ พระเจ้ า ลูกยาเธอเจ้าฟ้าฯกรมขุนพินิตประชานาถ พระแสงองค์นี้เมื่อแรกสร้างในรัชกาลที่ 1 เป็นฝักไม้ทา รักด�ำครั้นเมื่อจะพระราชทานสมเด็จพระบรมราชโอรส ก็จะขูด รักด�ำทารักแดง แล้วจะกลับขูดรักแดงทารักด�ำอีก เมื่อสมเด็จ พระบรมราชโอรสพระองค์นั้นขึ้น เถลิงถวัลยราชสมบัติแล้ว พระแสงองค์นี้จึงเปลี่ยนสีรักที่ฝักกลับไปกลับมาหลาย หน จนกระทั่งเมื่อสมเด็จเจ้าฟ้า กรมขุนพินิตประชานาถได้ เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว จึงทรงพระราชด�ำริว่าพระแสงองค์นี้เป็นพระแสงฝี พระหัตถ์สมเด็จพระปฐมบรมราชวงศ์ ได้มีการพระราชทาน
แด่สมเด็จพระบรมราชโอรสสืบเนื่องต่อกันมาหลายชั่ว จัดว่า เป็นพระแสงส�ำคัญส�ำหรับพระบรมราชจักรีวงศ์ ที่จะให้คงเป็น พระแสงฝักไม้ทารักด�ำรักแดงอยู่ต่อไปย่อมไม่สมควร จึงทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯให้หุ้มฝักด้วยทองค�ำ แล้วพระราชทาน นามพระแสงองค์นี้ว่า “พระแสงฝักทองเกลี้ยง” และโปรด เกล้ า ฯให้ เ ป็ น พระแสงส� ำ หรั บ แผ่ น ดิ น และเป็ น พระแสงองค์ ส�ำคัญเนื่องในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกอีกองค์หนึ่ง พระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้า อยู่หัวทรงเครื่องราชภูษิตาภรณ์และฉลองพระองค์ครุย ประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ ทรงถือพระแสงฝักทองเกลี้ยง ฉายคราวประกอบพระราชพิธี บรมราชาภิเษกเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2468 อ้างอิง คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี. พระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรวงศ์กับประชาชน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์รุ่งเรืองรัตน์, 2525. คณะกรรมการอ�ำนวยการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 50 ปี. พระแสงราชศัสตราประจ�ำเมือง. กรุงเทพฯ: บริษัท เกรท โปร กราฟฟิค จ�ำกัด, 2539. ลงสีโดย เซบัสเตียน พีท 66
IS AM ARE www.fosef.org
67 issue 135 april 2019
การปลูกไผ่ตง การปลู ก ไผ่ ต ง เป็ น อี ก หนึ่ ง ช่ อ งทางที่ ส ามารถสร้ า งรายได้ ม ากมาย ไผ่ ต ง เรี ย กอี ก อย่ า งหนึ่ ง ว่ า ไผ่ ต ง ลื ม แล้ ง การปลู ก ไผ่ ต ง ควรปลู ก ในช่ ว งฤดู ฝ น ซึ่ ง จะอยู ่ ใ นช่ ว งเดื อ นพฤษภาคม-ตุ ล าคม เป็ น ช่ ว งหน้ า ฝน ช่ ว งปลายฝนต้ น หนาว ซึ่ ง จะน�้ ำ เยอะ เพราะต้ น ไผ่ ต งชอบน�้ ำ เป็ น อย่ า งมาก ผลผลิ ต ที่ จ ะได้ จ ากไผ่ ต ง ก็ คื อ หน่ อ ไม้ ไ ผ่ ต งรสชาติ ห วาน ที่ ไ ม่ ว ่ า จะเมนู ไ หน หน่ อ ไม้ ไ ผ่ ต งก็ ช นะเลิ ศ แน่ น อน ไผ่ ต งเป็ น พื ช ที่ ป ลู ก ง่ า ย ตายยาก ถ้ า ดู แ ลเป็ น อย่ า งดี จ ะมี ผ ลผลิ ต ดี ที่ ส ามารถสร้ า งรายได้ ม หาศาล ส� ำ หรั บ ใครที่ ว ่ า งงานอยู ่ สนใจ ในเรื่ อ งราวของการปลู ก ไผ่ ต ง มาท� ำ ความรู ้ จั ก กั บ ไผ่ ต งและวิ ธี ก ารปลู ก ไผ่ ต งให้ ม ากยิ่ ง ขึ้ น
68 IS AM ARE www.fosef.org
อาชี พ ทางเลื อ ก การเตรี ย มดิ น เริ่มต้นที่การเตรียมดินก่อนเป็นอันดับแรก ต้องขุดหลุม ซึ่งขนาดของหลุมส�ำหรับการปลูกไผ่ตงนั้น จะขึ้นอยู่กับสภาพ ของดินด้วยเช่นเดียวกัน ถ้าเป็นดินร่วนก็ไม่จ�ำเป็นต้องขุดหลุม ใหญ่มากนัก การขุดหลุมให้ขุดที่ขนาดประมาณ 40x40x40 เซนติเมตร ระยะห่างของหลุม ก็คือระยะห่างของต้นไผ่นั้นก็ให้ ห่างประมาณ 3 เมตร และการเตรียมดินขั้นตอนที่ส�ำคัญมาก ที่สุดก็คือ การเตรียมดินผสมกับปุ๋ยคอกคลุกเคล้าให้เข้ากัน เพื่อ รองก้นหลุมเอาไว้ ส�ำหรับบางท่านที่กังวลในเรื่องของแมลงและ ศัตรูพืช ก็เพียงแค่ผสมฟูราดานลงไปเพื่อเป็นการป้องกัน วิ ธี ก ารปลู ก ไผ่ ต ง ขั้นตอนการน�ำกิ่งไผ่ลงปลูก เพียงแค่ท�ำการวางกิ่งไผ่ลง หลุมและมีดินกับปุ๋ยคอกผสมอยู่ก้นหลุม วางกิ่งไผ่ประมาณ 50 องศา เพื่อเปิดโอกาสให้มีการแตกหน่อเกิดขึ้นได้ง่ายๆ หลังจาก วางกิ่งไผ่ลงแล้ว ก็กลบหน้าดิน อัดดินให้แน่น ให้นูนเล็กน้อย และรดน�้ำให้ชุ่ม เมื่อจบขั้นตอนนี้แล้ว ให้ท�ำการน�ำไม้แข็งแรง ปักเอาไว้เป็นที่ยึดส�ำหรับกิ่งไผ่ เพราะมันอาจจะยังแข็งแรงไม่ มากพอ แต่เมื่อผ่านไปประมาณ 6 เดือนแล้วมันจะแข็งแรง มากยิ่งขึ้น และทนต่อสภาพแวดล้อมได้มากยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเจอ กับสภาพใดก็ตาม การให้ น�้ ำ ให้ ปุ ๋ ย และก� ำ จั ด วั ช พื ช การดูแลรักษา ถ้าเป็นเรื่องของศัตรูพืช วางใจได้เลยว่า ต้นไผ่นั้นอาจจะไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับศัตรูพืชมากนัก จะเป็นการ ดูแลในเรื่องของการให้น�้ำและการใส่ปุ๋ยมากกว่า ในช่วง 1-3 เดือนแรกของการปลูก จะให้ความส�ำคัญกับการให้น�้ำมากๆ เพราะต้นไผ่ตงนั้นชอบน�้ำ และนี่เป็นเหตุผลที่ว่าท�ำไมต้องปลูก ต้นไผ่ตงในช่วงฤดูฝน ส่วนการใส่ปุ๋ย ก็ใช้ปุ๋ยคอกเพื่อที่จะเป็น ตัวช่วย หรือถ้าผู้ปลูกคนไหนอยากเร่งการแตกหน่อก็สามารถ ใช้ปุ๋ยเคมีร่วมด้วยได้
ต้ น ไผ่ นั้ น อาจจะไม่ ต ้ อ งกั ง วลเกี่ ย วกั บ ศั ต รู พื ช มาก นั ก จะเป็ น การดู แ ลในเรื่ อ งของการให้ น�้ ำ และการใส่ ปุ ๋ ย มากกว่ า ในช่ ว ง 1-3 เดื อ นแรกของการปลู ก จะให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การให้ น�้ ำ มากๆ เพราะต้ น ไผ่ ตงนั้ น ชอบน�้ ำ
การเก็ บ เกี่ ย ว การเก็บเกี่ยวหน่อไม้ไผ่ตง เมื่อปลูกไปได้ประมาณ 3 เดือน จะเริ่มมีการแตกหน่อ แต่ยังไม่สามารถเก็บเกี่ยวได้ จน ผ่านไปประมาณ 6 เดือนจึงจะสามารถเก็บเกี่ยวได้ ซึ่งวิธีการ เก็บเกี่ยวก็คือต้องดูที่ตัวหน่อไม้ก่อนเป็นอันดับแรก หน่อที่แตก ออกมาต้องเติบโต อาบใหญ่ มีความยาวประมาณ 1 ไม้บรรทัด หรือว่า 1 ฟุต ตัดแล้วส่งขายเลยแบบสดๆจะได้คุณภาพมากๆ 69 issue 135 april 2019
ไม่ควรตัดทิ้งไว้นานจนเกินไป และในปัจจุบันนี้เจ้าของสวนไผ่ ตงหลายรายมีรายได้จากการขายและส่งออกหน่อไม้ไผ่ตงแบบ มหาศาล เพราะน�ำไปท�ำได้หลายอย่าง ผลตอบแทนจากการปลู ก ไผ่ ต ง เมนูอาหารที่ท�ำขึ้นจากหน่อไม้ไผ่ตง เป็นเมนูอาหาร เลิศรส ความหวานกรอบแบบธรรมชาติของหน่อไม้ไผ่ตงเป็น เสน่ห์อย่างหนึ่ง ซึ่งหลังจากเก็บเกี่ยวแล้ว ก็มักจะมีการแตก หน่อเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ใครที่ชอบกินหน่อไม้อยู่แล้วจะรู้ได้ทันที เลยว่า หน่อไม้ไผ่ตงนั้นคือที่สุดแล้วถ้าเทียบกับสายพันธุ์ไผ่อื่นๆ จะตัดหน่อไว้กินเอง หรือจะออกขายก็เพิ่มรายได้ หันมาปลูกไผ่ ตงกันเยอะๆ นอกจากจะสร้างรายได้แล้วยังช่วยรักษาป่าและ ธรรมชาติดีเอาไว้อีกด้วย 70 IS AM ARE www.fosef.org
71 issue 135 april 2019
กระทรวงแรงงาน ร่วมกับ แอพพลิเคชั่น JS100
เปิ ดฟั งก์ชั่นรับเรื่องช่ วยเหลือแรงงานไทย
เมื่ อ วั น ที่ 30 เมษายน 2562 พลต� ำ รวจเอกอดุ ล ย์ แสงสิ ง แก้ ว รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงแรงงาน พร้ อ ม ด้ ว ยคุ ณ ปี ย ์ มาลากุ ล ณ อยุ ธ ยา ประธานกรรมการบริ ห าร เครื อ แปซิ ฟ ิ ค กรุ ๊ ป ผู ้ ด� ำ เนิ น รายการสถานี วิ ท ยุ จส.100 ในเครื อ กองทั พ บก เป็ น ประธานในพิ ธี แ ถลงข่ า วความร่ ว มมื อ ระหว่ า งกระทรวงแรงงานและสถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งกองทั พ บก จส.100 ในการเปิ ด ใช้ ง าน ฟั ง ก์ ชั่ น SOS ช่ ว ยแรงงาน ในแอพพลิ เ คชั่ น JS100 ณ ห้ อ งจอมพล ป.พิ บู ล สงคราม ชั้ น 5 อาคารกระทรวงแรงงาน 72 IS AM ARE www.fosef.org
ความพิ เ ศษส� ำ หรั บ แรงงาน ฟังก์ชั่นส�ำหรับแรงงาน หรือ SOS ช่วยแรงงาน ใน แอพฯ JS100 มีความพิเศษคือ สามารถเป็นที่พึ่งให้กับแรงงาน ได้ อาทิ ท�ำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการประสานข้อมูลส่งข่าว การฝึกอาชีพเพื่อการมีงานท�ำจากภูมิภาคต่างๆ, กรณีการจ้าง งานไม่เป็นธรรม, นายจ้างท�ำร้ายร่างกาย, การถูกหลอกไป ท�ำงานต่างประเทศ และการขอความช่วยเหลือหรือรับข้อร้อง เรียนด้านต่างๆ โดยสามารถเริ่มใช้ได้ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2562 เป็นต้นไป ประสบการณ์ จ ากการใช้ ร ะบบ SOS ในแอพพลิเคชั่น JS100 มีปุ่ม “sos24hours” ส�ำหรับ แจ้ ง เหตุ ด ่ ว นเหตุ ร ้ า ยเมื่ อ ต้ อ งการความช่ ว ยเหลื อ สามารถ ดาวน์โหลดฟรีทั้งระบบ ios และ android ยกระดับการช่วย เหลือทั้งผู้ประกันตนและแรงงาน คุณปีย์ มาลากุล ณ อยุธยา กล่าวว่า ปุ่มช่วยเหลือดัง กล่าวเหมาะกับกระทรวงแรงงานเป็นอย่างยิ่งในการขยายผล เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันและคุณภาพชีวิตต่อผู้ใช้ รวมถึงให้ความ คุ้มครองในชีวิตประจ�ำวัน เพราะปุ่มนี้ได้ช่วยเหลือคนมาแล้ว มากมาย ไม่ว่าจะเกิดภัยพิบัติ หรือเหตุร้าย จึงเห็นด้วยที่จะให้ ปุ่ม sos มาช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของแรงงาน ด้านพลต�ำรวจเอกอดุลย์ แสงสิงแก้ว กล่าวว่า ส่วน ตัวมีความคุ้นเคยกับ จส.100 มานาน จากการท�ำงานเป็นผู้ บังคับหมู่จราจร เมื่อปีพ.ศ 2541 ซึ่งถือว่าเป็นเครือข่ายที่มี ประสิทธิภาพ จึงเล็งเห็นความส�ำคัญและประโยชน์ที่แรงงาน จะได้รับ ตามนโยบายของรัฐบาล คือ “คุ้มครอง ให้ความเป็น ธรรมต่อแรงงาน”
ประโยชน์ แ อพพลิ เ คชั่ น JS100 1. ฟังก์ชั่นวิทยุ - เลือกฟังได้ตั้งแต่ช่อง จส.100 และ การฟังเพลง 3 station ได้แก่ เพลงบรรเลง เพลงลูกทุ่ง เพลง ไทยสากล 2. ฟังก์ชั่น SOS 24 hours(ปุ่มช่วยเหลือ) - เริ่มจาก กดปุ่ม “ยืนยัน” การขอความช่วยเหลือ - รับรหัส OTP จาก หน้าจอโทรศัพท์ - กดยืนยันและโทรออก - แจ้งรหัส OTP ที่ ได้รับต่อ Call Center เพื่อยืนยันต�ำแหน่งที่ตั้ง - แจ้งขอความ ช่วยเหลือได้ทันที 3. ฟังก์ช่ัน Incidents - รับและแจ้งข่าวสารตามภูมิภาค ที่เราอยู่ หรือการจัดหางาน และสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 4. ฟั ง ก์ ชั่ น Map แผนที่ ก ารจราจร - แจ้ ง จุ ด เสี่ ย ง จุดอันตรายทั่วประเทศ ให้ระวังหรือเตรียมตัว 5. ฟังก์ชั่น Pnc new - แจ้งข่าวสารสภาพอากาศ เช่น สามารถรู้ได้ว่าพายุฝนเดินทางถึงจุดไหนแล้ว ก่อนวางแผน รับมือ 73
issue 135 april 2019
74 IS AM ARE www.fosef.org
งานอยู่ที่ 0.9% หรือ 3.3 แสนคน(อันดับ 4 ของโลก) มีแรงงาน ต่างประเทศอยู่ที่ 4 แสนคน สามารถส่งเงินกลับประเทศไทย ถึงปีละ 1.4 แสนล้านบาท ทั้งนี้ มีแรงงานในระบบอยู่ 16 ล้าน คน แรงงานอิสระนอกระบบ 20 ล้านคน และแรงงานต่างด้าว จ�ำนวน 3.2 ล้านคน “เมื่อท�ำงานก็จะมีปัญหาเรื่องค่าจ้าง เรื่องสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย หรือเหตุอื่นๆ ระบบนี้จะเข้ามาช่วยเพิ่มช่อง ทางในการแจ้งเหตุได้เร็วขึ้นนอกเหนือจากสายด่วน 1506 ช่อง ทางจากแอพพลิเคชั่น JS100 สามารถแจ้งเหตุได้ตั้งแต่ เข้าโรง พยาบาล รวมถึงการถูกกระท�ำต่างๆ เป็นหลักประกันความ มั่นคงของแรงงาน” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานกล่าว
6. ฟังก์ชั่น Twitter - รับข่าวสารอัพเดทแจ้งข่าวเตือน ภัยขอความช่วยเหลือต่างๆ จากทั่วประเทศ 7. ฟังก์ชั่น Lost and found - ของหายได้คืน แจ้งของ หาย/หรือเก็บของได้/สอบถามข้อมูลการท่องเที่ยว 8. ฟังก์ชั่น JS100plus - การสะสมคะแนนจากการใช้ แอพพลิเคชั่น JS100 เพื่อรับสิทธิประโยชน์หรือแลกของรางวัล จาก จส.100 สถานการณ์ แ รงงานในปั จ จุ บั น ส�ำหรับประเทศไทย มีประชาชนวัยแรงงาน(15-59ปี) ทั้งหมด 38 ล้านคน สามารถท�ำงานได้ 37 ล้านคน อัตราการว่าง 75
issue 135 april 2019
ศูนย์การเรียนรู ้เศรษฐกิจพอเพียง
เรือนจ�ำชั่ วคราวเขาระก�ำ จังหวัดตราด 76 IS AM ARE www.fosef.org
70 เส้ น ทางตามรอยพระบาท โดย ททท. โครงการก�ำลังใจในพระด�ำริ พระเจ้าหลานเธอพระองค์ เจ้าพัชรกิติยาภา ในการน้อมน�ำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาปรับใช้ในเรือนจ�ำ แม้จะขึ้นชื่อว่าเป็นเรือนจ�ำแต่ที่เรือนจ�ำชั่วคราวเขา ระก�ำแห่งนี้ ได้รับการสร้างสรรค์ให้เป็นศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจ พอเพียง เป้าหมายหลักคือการให้ผู้ต้องขังชั้นดี ที่ใกล้จะพ้นโทษ แล้ว ได้มาศึกษาวิถีชีวิตพอเพียงตามรอยพ่อ และสามารถเริ่มต้น ใหม่ในชีวิตได้ด้วยตนเอง หลังจากพ้นโทษออกไป ความน่าสนใจของศูนย์ฯ ที่อัดแน่นไปด้วยความรู้ต่างๆ เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง นักท่องเที่ยวและผู้คนทั่วไปจึงต่างให้ ความสนใจแวะเวียนมาเยี่ยมชมการสาธิตต่างๆ ภายในเรือนจ�ำ ชั่วคราว ซึ่งเป็นพื้นที่เปิดโล่ง ไม่ว่าจะเป็น การเลี้ยงสัตว์ การ ปลูกพืชผักปลอดสารพิษแบบอินทรีย์ แปลงผลไม้ รวมไปถึงการ แปรรูปผลผลิตทางการเกษตรต่างๆ เก็บเกี่ยวสารพันประสบการณ์และความรู้มากมาย ที่ สามารถท�ำให้เรายังชีพแบบพึ่งพาตนเองได้ ตั้งแต่การสร้างบ้าน ดิน การใช้พลังงานเก่ามาทดแทน และการจัดการน�้ำพืชและสัตว์ ผ่านบ้านตัวอย่างที่สามารถอยู่อาศัยได้จริง ท�ำให้เราสามารถ มองเห็นอนาคตที่แตกต่างออกไป • ผักที่ด�ำเนินการปลูกในเรือนจ�ำชั่วคราวได้รับมาตรฐาน ทริปตัวอย่าง 3 วัน 2 คืน GAP ด้านพืชจากกรมวิชาการเกษตรถึง 14 ชนิด ด้วยกัน • การเรียนรู้สัตว์นั้น มีทั้ง ปลาดุก ไก่งวง กบบูลฟร็อก เส้ น ทางท่ อ งเที่ ย ว จั ง หวั ด ตราด โค ไก่ และหมูพื้นเมืองผสมหมูป่า
วันแรก
ช่วงเช้า • ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เรือนจ�ำชั่วคราวเขา ระก�ำเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เช่น การเลี้ยงหมู เลี้ยง ไส้เดือน การท�ำน�้ำหมัก ปลูกพืชผักสวนครัว เลี้ยงปลา เลี้ยง กบ เพื่อการเลี้ยงชีพ
แม้ จ ะขึ้ น ชื่ อ ว่ า เป็ น เรื อ นจ� ำ แต่ ที่ เ รื อ นจ� ำ ชั่ ว คราวเขา ระก� ำ แห่ ง นี้ ได้ รั บ การสร้ า งสรรค์ ใ ห้ เ ป็ น ศู น ย์ ก าร เรี ย นรู ้ เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เป้ า หมายหลั ก คื อ การให้ ผู ้ ต ้ อ งขั ง ชั้ น ดี ที่ ใ กล้ จ ะพ้ น โทษแล้ ว ได้ ม าศึ ก ษาวิ ถี ชี วิ ต พอเพี ย งตามรอยพ่ อ และสามารถเริ่ ม ต้ น ใหม่ ในชี วิ ต ได้ ด ้ ว ยตนเอง
ช่วงบ่าย • เดินทางไปเกาะช้าง ที่ท่าเรืออ่าวธรรมชาติ
วันที่สอง
ช่วงเช้า • กิจกรรมที่เกาะช้าง ไปปางช้างไก่แบ้มีชัย ท�ำกิจกรรม เช่น นั่งช้างเข้าป่า หรือนั่งช้างเล่นน�้ำทะเล หรือท�ำกิจกรรมที่ Tree Top Adventure 77 issue 135 april 2019
78 IS AM ARE www.fosef.org
ช่วงบ่าย • เที่ยวน�้ำตกคลองพลู ที่สวยงาม มีน�้ำไหลตลอดปี ถ้า อากาศเหมาะสม สามารถด�ำน�้ำที่หมู่เกาะรัง
เพื่ อ ลดค่ า ใช้ จ ่ า ยฐานน�้ ำ หมั ก ชี ว ภาพเรี ย นรู ้ ก ารท� ำ น�้ ำ หมั ก ที่ ดี ต ่ อ สุ ข ภาพฐานน�้ ำ ส้ ม ควั น ไม้ เ พื่ อ ใช้ ใ นการเกษตรเป็ น สาร ปรับปรุงดิน
วันที่สาม
กิ จ กรรมห้ า มพลาด • ศึกษากลวิธีการประหยัดพลังงานด้วยโซลาร์เซลล์ • เข้าชมการท�ำเตากลั่นสมุนไพรไล่แมลง
ช่วงเช้า • เดินทางกลับตราด แวะอนุสาวรีย์กรมหลวงชุมพร ชมภาพประวัติศาสตร์ของเหล่าผู้กล้าที่อนุสรณ์สถานยุทธนาวี ที่เกาะช้าง
ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เรื อ นจ� ำ ชั่ ว คราว เขาระก� ำ ม.5 ถ.สุขุมวิท ต.เขาสมิง อ.เขาสมิง จ.ตราด โทร. 08 7135 8787 เปิดให้เข้าชม : 09.00-15.00 น.
ช่วงบ่าย • ซื้อของฝาก รับประทานอาหารกลางวันที่แหลมงอบ • ถ่ า ยรู ป กั บ ประภาคาร และแลนด์ ม าร์ ก ป้ า ยสุ ด แผ่นดินตะวันออกของตราด ที่ลานอเนกประสงค์ใกล้ท่าเรือ แหลมงอบ
การเดิ น ทาง จากตั ว เมื อ งตราด วิ่ ง เข้ า ถนนเทศบาล จากนั้ น วิ่ ง ทางหลวงหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท) ประมาณ 8 กม. เลี้ยว ซ้ายเข้าถนนทางไปวัดสวนใน ตรงไปประมาณ 2 กม. ศูนย์ฯ ตั้งอยู่ทางซ้ายมือ
ที่ เ ที่ ย วห้ า มพลาด ฐานสาธิตการท�ำบ้านดิน ศึกษาเทคนิคการสร้างบ้าน 79
issue 135 april 2019
ค่าย President Number One
โครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน จัดกิจกรรมค่ายพัฒนาศักยภาพประธานรุ่นแกนน�ำเยาวชนครอบครัว พอเพียง President Number One Camp โดยมี ท่านพลเอก จรัล กุลละวณิชย์ ที่ปรึกษาโครงการมูลนิธิครอบครัวพอเพียง เป็นประธานมอบเข็มที่ระลึกให้กับประธานแกนน�ำเยาวชนจากทั่วประเทศกว่า 150 คน โดยภายในกิจกรรมมุ่งเน้นการสร้างทีม และภาวะผู้น�ำอย่างเข้มข้น รวมไปถึงการน�ำเสนอการขับเคลื่อนพันธกิจศูนย์ครอบครัวพอเพียงของโรงเรียนในปีการศึกษาที่ผ่าน มา เรียกได้ว่าเข้มข้นทั้งกิจกรรมและวิชาการ ทั้งยังได้มิตรภาพดีๆ จากเครือข่ายครอบครัวพอเพียงทั่วประเทศ ระหว่างวันที่ 6-8 เมษายน ณ ค่ายพักแรม Siam Park City
80 IS AM ARE www.fosef.org
Round About
Friend’ s Camp ครัง้ ที่ 14
โครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน จัดกิจกรรมค่ายการเรียนรู้สืบสานศาสตร์พระราชาสู่เป้าหมายการ พัฒนาอย่างยั่งยืน (Friend’s Camp ครั้งที่ 14 ) โดยมีนายธีร์ ภวังคนันท์ ที่ปรึกษาด้านพัฒนาระบบเครือข่ายและการมีส่วน ร่วม ส�ำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้เป็นประธานเปิดค่าย Friend’s Camp ครั้งที่ 14 โดยภายในกิจกรรมมุ่งเน้น กระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบกิจกรรมฐานเรียนรู้ รวมไปถึงการศึกษาดูงาน ณ ป้อมพระจุลจอมเกล้าและพิพิธภัณฑ์ต้านโกง ซึ่ง ได้รับความสนใจจากศูนย์ครอบครัวพอเพียงเข้าร่วมกิจกรรมกว่า 70 โรงเรียน โดยกิจกรรมจัดขึ้นระหว่างวันที่ 31 มีนาคม ถึง 2 เมษายน ณ อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย
81 issue 135 april 2019
82 IS AM ARE www.fosef.org
เว็ปไซต์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดีๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี
www.fosef.org 83
issue 135 april 2019
นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง พร้อมเสริพ์ให้ทุกท่านได้อ่านแล้ว!! เพี ย งแค่ ค ลิ ก เข้ า ไปที่ www.fosef.org ท่ า นก็ ส ามารถอ่ า นนิ ต ยสาร IS AM ARE ครอบครั ว พอเพี ย ง ได้ โ ดยไม่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ย เรื่ อ งราว สาระดี ๆ มากมายรอท่ า นอยู ่ หากอ่ า นแล้ ว ถู ก ใจอย่ า ลื ม บอกต่ อ นะครั บ 84 IS AM ARE www.fosef.org