IS AM ARE
จิตอาสาเปิ ดโอกาสเข้า มหาวิทยาลัย
ธนดล คงศรี
“ถ้ารักประชาชน และอยากท�ำเพื่อผู ้อ่ืน ขอเชิ ญที่ธรรมศาสตร์”
รศ.เกศินี วิฑูรชาติ
อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1
issue 127 August 2018
ฉบับที่ 127 สิงหาคม 2561 www.fosef.org
2 IS AM ARE www.fosef.org
“ถ้ า ท� ำ งานด้ ว ยความตั้ ง ใจที่ จ ะให้ เ กิ ด ผลอั น ยิ่ ง ใหญ่ คื อ ความเป็ น ปึ ก แผ่ น ของประเทศชาติ ด้ ว ยความสุ จ ริ ต และด้ ว ยความรู ้ ค วามสามารถด้ ว ยจริ ง ใจ ไม่ นึ ก ถึ ง เงิ น ทองหรื อ นึ ก ถึ ง ผลประโยชน์ ใ ดๆ ก็ เ ป็ น การท� ำ หน้ า ที่ โ ดยตรงและได้ ท� ำ หน้ า ที่ โ ดยเต็ ม ที่ ”
พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 9 พระราชทานแก่ ศึ ก ษาธิ ก ารจั ง หวั ด ทั่ ว ประเทศ 13 ธั น วาคม 2511
3 issue 127 August 2018
Editorial
ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ บนรถไฟพระที่นั่ง ขณะเสด็จพระราชด�ำเนินกลับกรุงเทพมหานคร พร้อมพระราชโอรสและพระราชธิดา เมื่อวันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๐๔
แสงสว่างของแสงไฟที่สาดแสงไปทั่วท้องถนนราชด�ำเนินจนถึงบริเวณท้องสนามหลวง ในยามเย็น เหมือนทุกปีที่ผ่านมาตั้งแต่จ�ำความได้ จวบจนวันนี้ของอายุ ๕๕ ปี และวันนี้ในเดือนสิงหาคม “วันแม่แห่งชาติ” ก็คงเป็นอีกวันที่ บก.ได้ตั้งจิตอธิษฐานต่อพระคู่บ้าน พระคู่เมือง ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือที่เรียกกัน ทั่วไปว่า วัดพระแก้ว ขอพระราชทานพระราชวโรกาส น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระพรชัยมงคล ขอ อาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย เดชานุภาพแห่งสรรพสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั่วสากล ตลอดจนพระบรมกฤษดาภินิหาร แห่งพระสยามเทวาธิราช และสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าทุกพระองค์ที่ปกปักรักษาชาติบ้านเมือง ให้ได้รับความร่มเย็นมาแต่บรรพกาล โปรดอภิบาลบันดาลดล ให้สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระเกษมส�ำราญ มีพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง พระชนมพรรษายิ่งยืนนาน พระเกียรติคุณแผ่ไพศาล มีพระราชปรารถนาใดจงสัมฤทธิ์ และเป็นพระมิ่งขวัญร่มเกล้าของปวงข้าพระพุทธเจ้าและประชาชนชาวไทย ไปตลอดกาลนาน เทอญ ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิครอบครัวพอพียง 4 IS AM ARE www.fosef.org
Contributors
มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง
พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี ประธานโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ นายธนพร เทียนชัยกุล นายณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ นายมนตรี เหมือนแม้น นายภูวนาถ เผ่าจินดา นายวรจักร ณ เชียงตุง นางชวนชื่น พีระพัฒน์ดิษฐ์ นายไพรัช มณฑาพันธุ์ นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา นางสาวเอื้อมพร นาวี ผศ.ดร.ปรีชาพร สุวัฒโนดม นายเอกรัตน์ คงรอด นายอภีม คู่พิทักษ์ นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ นางสาวเยาวมาลย์ จ้อยจุฬี นางสุมาลี โฆษิตนิธิกุล นางสาวกันยาวีร์ พ้องพงษ์ศรี นายธงชัย วรไพจิตร นายภูริวิทย์ จงนิรักษ์ นายชวลิต ใจภักดี นางสาวหนึ่งฤทัย คมข�ำ นายภิญโญ ทองไชย นายพิชัยยุทธ ชัยไธสง นางศิรินทร์ เผ่าจินดา
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ผู้จัดการมูลนิธิ
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ดร.เชิดศักดิ์ ดร.กัมปนาท ดร.นฤมล ดร.อ�ำนาจ ดร.ชลพร ดร.กาญจนา ดร.ปิยฉัตร ดร.คุณานันท์
Let’s
Start and Enjoy!
บรรณาธิการ : กองบรรณาธิการ :
ศิลปกรรม :
ส�ำนักงาน :
ศุภโสภณ บริบูรณ์ พระใหญ่ วัดจินดา กองค�ำ สุทธิเนียม กลิ่นสุวรรณ ทยายุทธ
โทรศัพท์ : โทรสาร : เว็ปไซต์ : 5 issue 127 August 2018
กรวิก อุนะพ�ำนัก ภูวรุต บุนนาค ชนกเนตร แจ่มจ�ำรัส ศตวรรษ เจือหนองแวง นิตยสารครอบครัวพอเพียง 663 ซอยพหลโยธิน 35 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 0-2939-5995 0-2939-5996 www.fosef.org
Hot Topic
8
เกร็ดการทรงงาน
70
เพราะธรรมศาสตร์ ปลูกฝั ง ผมเลยเป็ น
แบบนี้. ผศ.ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล
16
“ถ้ารักประชาชน และอยากท�ำเพื่อ ผู ้อ่ืนขอเชิ ญที่ธรรมศาสตร์” รศ.เกศินี วิฑูรชาติ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Don’t miss
30 64
34 66
76 6 IS AM ARE www.fosef.org
Table Of Contents
เกร็ดการทรงงาน แรงบันดาลพระราชหฤทัย บทความพิเศษ ร.10 กษัตริย์ไทยพระองค์แรกที่ขับเครื่องบิน ทั้งเครื่องบินรบและเครื่องบินโดยสาร!! cover story “ถ้ารักประชาชน และอยากท�ำเพื่อผู้อื่น ขอเชิญที่ธรรมศาสตร์” รศ.เกศินี วิฑูรชาติ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ cartoon บนเส้นทางธรรมพุทธฉือจี้ ณ บ้านไม้หลังเล็ก สู่คุณธรรมอันยิ่งใหญ่ ความเป็นคนความเป็นครู อยากให้เด็กดี ครูกับผู้ปกครอง ต้องร่วมมือกันจริงจัง กันตาภา สุทธิอาจ โรงเรียนสตรีวัดระฆัง สัจธรรมแห่งแนวพระราชด�ำริ มูลนิธิชัยพัฒนา แม่ผู้สร้างป่าของแผ่นดิน พ่อแม่ยุคใหม่ ความทรงจ�ำ ความจริงของชีวิต กาลเวลามีจริงหรือเปล่า ? ข่าวสารครอบครัวพอเพียง วิ่งเพื่อเรา “Run for Dawn” Let’s Talk เพราะธรรมศาสตร์ปลูกฝัง ผมเลยเป็นแบบนี้. ผศ.ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล 70 เส้นทางตามรอยพระบาท โดย ททท. ศูนย์ภูฟ้าพัฒนา อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ เยาวชนของแผ่นดิน ผลงานจิตอาสาเปิดโอกาสเข้ามหาวิทยาลัย ธนดล คงศรี
รศ.เกศินี วิฑูรชาติ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
7 issue 127 August 2018
8 12
16 26 30
34 42 52 60 64 68 70 76 80
8 IS AM ARE www.fosef.org
เกร็ ด การทรงงาน
แรงบันดาล พระราชหฤทัย
“...ถ้าประชาชนไม่ละทิ้งข้าพเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าจะทิ้งประชาชนอย่างไรได้” นายมนูญ มุกข์ประดิษฐ์ รองเลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา และอดี ต เลขาธิ ก ารคณะกรรมการพิ เ ศษเพื่ อ ประสานงาน โครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ เขี ย นไว้ ว ่ า นี่ คื อ พระราชปณิธานอันยิ่งใหญ่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่เป็นอมตะ มั่งคง และยืนหยัดต่อการพิสูจน์ของกาลเวลา อัน เป็นเสมือนแสงดาวที่สว่างอยู่กลางฟ้ามืด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กับประโยชน์ที่ว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่ง มหาชนชาวสยาม...” ที่คนไทยทั้งปวงได้ยินได้ฟังกันมานาน ด้วยความซาบซึ้ง ในหัวใจพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชสมภพ ณ เมืองเคมบริดจ์ สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2470 ทรงประทับและรับการศึกษาเบื้องต้นในประเทศไทย ในช่วงปี 2477 – 2488 ต่อจากนั้น ได้ทรงประทับ และทรงศึกษาขั้นต้น จนถึงมหาวิทยาลัยในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ จนกระทั่งเมื่อ วันที่ 5 ธันวาคม 2488 ได้เสด็จนิวัติประเทศไทย พร้อมด้วย พระบรมเชษฐาธิราชรัชกาลที่ 8 ซึ่งในช่วงนั้น “...ถ้าประชาชนไม่ละทิ้งข้าพเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าจะทิ้ง ประชาชนอย่างไรได้” ทั้ ง สองพระองค์ ไ ด้ เ สด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ไปทรงเยี่ ย ม ราษฎรและสถานที่ต่างๆ หลายแห่ง เช่น ในวันที่ 5 มิถุนายน 2489 เสด็ จ ฯ เยี่ ย มทุ ่ ง บางเขน ณ วั ด พระศรี ม หาธาตุ แ ละ ทอดพระเนตรกิจการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บางเขน เป็นต้น พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 9 ทรงเป็ น กษัตริย์ของปวงชนชาวไทยเมื่อพระชนมพรรษา 19 พรรษา เท่านั้น หลังจากที่เกิดเหตุการณ์เลวร้ายและแสนเศร้าขึ้นใน วันที่ 9 มิถุนายน 2487 อันเป็นเหตุให้พระบาทสมเด็จพระ ปรเมนทรมหาอานันทมหิดลรัชกาลที่ 8 เสด็จสวรรคต
มากกว่ า 60 ปี ไ ด้ เ ป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ แ ล้ ว ว่ า การครอง แผ่ น ดิ น โดยธรรมของพระเจ้ า อยู ่ หั ว พระองค์ นี้ ก็ คื อ การใช้ พ ระเมตตาธรรม บารมี คอยดู แ ลทุ ก ข์ สุ ข ประชาชนผู ้ เ ป็ น พสกนิ ก รอยู ่ อ ย่ า งสม�่ ำ เสมอและ ตลอดมานั่ น เอง พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 9 ยั ง มี พระราชกิจด้านการศึกษา จึงต้องเสด็จพระราชด�ำเนินกลับ ไปยั ง ประเทศสวิ ต เซอร์ แ ลนด์ เ พื่ อ ทรงศึ ก ษาต่ อ ในวั น ที่ 19 ธันวาคม 2489 โดยประทับรถยนต์พระที่นั่งเพื่อเสด็จฯ กลับ สวิตเซอร์แลนด์ ขณะผ่านประชาชนที่มาเฝ้าฯส่งเสด็จฯ ได้มีประชาชน ตะโกนร้ อ งออกมาให้ ไ ด้ ยิ น ว่ า “..อย่ า ทิ้ ง ประชาชน..” ความข้อนี้ได้มีพระราชบันทึกไว้ว่า “...วันที่ 19 สิงหาคม 2489 วันนี้ถึงวันที่เราต้องจากไป แล้ว ตามถนนผู้คนช่างมากมายเสียจริงๆ ที่ถนนราชด�ำเนินกลาง ราษฎรเข้ามาใกล้จนชิดรถที่เรานั่ง กลัวเหลือเกินว่าล้อรถของ 9
issue 127 August 2018
เราจะไปทับแข้งขาใครเขาบ้าง รถแล่นฝ่าฝูงชนไปได้อย่างช้า ที่สุด ถึงวัดเบญจมบพิตร รถแล่นได้เร็วขึ้นบ้าง ตามทางที่ผ่านมา ได้ยินเสียงใครคนหนึ่งร้องขึ้นมาดังๆว่า “...อย่าทิ้งประชาชน..” อยากจะร้องบอกเขาไปว่า ” “...ถ้าประชาชนไม่ทิ้งข้าพเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าจะละทิ้ง ประชาชนอย่างไรได้” ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามแบบโบราณราช ประเพณี ขึ้นในวันที่ 5 พฤษภาคม 2493 ณ พระที่นั่งไพศาล ทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง เฉลิมพระบรมนามาภิไธยจารึก ในพระสุพรรณบัฏว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช มหิตลาธิเบศ รามาธิบดี จักรีนฤบดินทรสยามมิน ทราธิราช บรมนาถบพิตร ในวันมหามงคลนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการแก่ประชาชนชาวไทย ว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข แห่ง มหาชนชาวสยาม...” นายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา และ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ อธิบายว่า การที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวตรัสว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม” นั้น ให้ ลองสังเกตดูว่า พระองค์ไม่ทรงใช้ค�ำว่า “ปกครอง” แต่ทรง ใช้ค�ำว่า “ครอง” แทน “ปกครอง” เป็นเรื่องการใช้อ�ำนาจ ในการบริหารแผ่นดิน แต่การใช้ค�ำว่า “ครอง” เช่น ครอง สมณเพศ ครองชีวิตสมรส เป็นการให้ความเคารพ ดูแลด้วย ความเมตตา... มากกว่ า 60 ปี ไ ด้ เ ป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ แ ล้ ว ว่ า การครอง แผ่ น ดิ น โดยธรรมของพระเจ้ า อยู ่ หั ว พระองค์ นี้ ก็ คื อ การใช้ พระเมตตาธรรม บารมี คอยดู แ ลทุ ก ข์ สุ ข ประชาชนผู ้ เ ป็ น พสกนิกรอยู่อย่างสม�่ำเสมอและตลอดมานั่นเอง 10
IS AM ARE www.fosef.org
เว็ปไซต์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดี ๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี
www.fosef.org 11
issue 127 August 2018
ร.10 กษัตริย์ไทยพระองค์แรกที่ขับเครื่องบิน!
ทั้งเครื่องบินรบและเครื่องบินโดยสาร!!
มี บั น ทึ ก ไว้ ว ่ า พระมหากษั ต ริ ย ์ ไ ทยพระองค์ แ รกที่ ท รงอ่ า นเขี ย นภาษาอั ง กฤษได้ ค ล่ อ ง คื อ พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 4 พระมหากษั ต ริ ย ์ ไ ทยพระองค์ แ รกที่ เ สด็ จ ไปต่ า งประเทศ คื อ พระบาท สมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 5 และพระมหากษั ต ริ ย ์ ไ ทยที่ ท รงจบการศึ ก ษาจากต่ า งประเทศ คื อ พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 6 เฮลิคอปเตอร์แบบต่างๆจ�ำนวน 189,2 ชั่วโมงบิน ทรงส�ำเร็จ หลั ก สู ต รได้ รั บ พระราชทานประดั บ เครื่ อ งหมายแสดงความ สามารถการบิ น ของกองทั พ อากาศ จากพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ในระหว่ า งทรงฝึ ก บิ น ตามหลั ก สู ต รดั ง กล่ า ว ทรง มี พ ระราชกรณี ย กิ จ ติ ด ตามสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรม ราชินีนาถ เสด็จพระราชด�ำเนินเยือนสหรัฐอเมริกา ด้วยความ สนพระทั ย ในการบิ น อย่ า งจริ ง จั ง จึ ง ทรงเข้ า รั บ การฝึ ก บิ น เฮลิคอปเตอร์ของกองทัพบกสหรัฐที่ Fort Bragg จ�ำนวน 31.4 ชั่วโมงบิน และเมื่ อ ทรงท� ำ การบิ น กั บ อากาศยานแบบปี ก หมุ น แบบต่างๆแล้ว ทรงสนพระทัยที่จะทรงบินกับอากาศยานแบบ
ปั จ จุ บั น คงต้ อ งจารึ ก ไว้ อี ก ว่ า พระมหากษั ต ริ ย ์ ไ ทย ที่ ท รงมี พ ระราชกรณี ย กิ จ อย่ า งทั้ ง 3 องค์ นี้ แ ล้ ว ยั ง เป็ น พระมหากษั ต ริ ย ์ ไ ทยพระองค์ แรกที่ ท รงขั บ เครื่ อ งบิ น ก็ คื อ สมเด็ จพระเจ้ าอยู ่ หัว มหาวชิราลงกรณ บดิทรเทพยวรางกู ร รัชกาลที่ 10 สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มหาวชิ ร าลงกรณ บดิ ท รเทพย วรางกูร ทรงสนพระทัยด้านอากาศยานและการบินมาตั้งแต่ ทรงพระเยาว์ เมื่ อ ทรงจบการศึ ก ษาจากโรงเรี ย นนายร้ อ ย ดันทรูน ประเทศออสเตรเลีย เข้ารับราชการในกองพันทหาร มหาดเล็กรักษาพระองค์แล้ว ในปี พ.ศ.2522 ได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯให้กองทัพอากาศถวายการฝึกบินตามหลักสูตรของ โรงเรียนนายเรืออากาศ โดยทรงเริ่มท�ำการบินตามหลักสูตร 12
IS AM ARE www.fosef.org
บทความพิ เ ศษ ปีกตรึง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้กองทัพอากาศจัดถวาย การฝึกบินเปลี่ยนแบบให้ต่อไป โดยทรงท�ำการฝึกบินกับเครื่อง บินใบพัดแบบ Marchetti ของฝูงฝึกชั้นปลายโรงเรียนนาย เรืออากาศ และส�ำเร็จหลักสูตรมีชั่วโมงฝึกบิน 142.3 ชั่วโมง แล้วจึงทรงฝึกบินเปลี่ยนแบบกับเครื่งบินไอพ่นแบบ T-38 ฝูง ฝึกชั้นปลายโรงเรียนการบินกองทัพอากาศมีชั่วโมงบิน 206.4 ชั่วโมง หลั ง จากนั้ น ทรงฝึ ก บิ น ตามหลั ก สู ต รนั ก บิ น พร้ อ มรบ ขั้นพื้นฐานกับเครื่องไอพ่นแบบ T-33 ส�ำเร็จหลักสูตรมีชั่วโมง บิน 189.7 ชั่วโมง และทรงฝึกบินหลักสูตรนักบินขับไล่ไอพ่น สมรรถนะสูง แบบ F-5 E/F มีชั่วโมงบินในหลักสูตรนี้อีก 200 ชั่วโมง ต่ อ มาในระหว่ า งปลายปี พ.ศ.2425 ถึ ง ปลาย ปี พ.ศ.2556 สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ขณะด� ำ รงพระยศเป็ น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ได้เสด็จ พระราชด� ำ เนิ น ไปทรงฝึ ก ศึ ก ษาด้ า นการบิ น กั บ เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล่สมรรถนะสูง แบบ F-5 E/F ที่ฐานทัพอากาศ William ใน รัฐอริโซนา สหรัฐอเมริกา ในหลักสูตรการบินขับไล่พื้นฐาน มี
ของกองทัพอากาศอีกด้วย กองทัพอากาศได้ทูลเกล้าฯถวาย “กิตติบัตร” ครูการบินเครื่องบินขับไล่สมรรถนะสูง F-5 E/F ในวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ.2537 ด้วยพระวิริยะ อุตสาหะ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จ พระราชด�ำเนินทรงท�ำการบินกับเครือ่ งบินแบบนีอ้ ย่างสม�ำ่ เสมอ จนทรงมีชั่วโมงบินเฉพาะ F-5 E/F ถึง 2,000 ชั่วโมง บริษัท นอร์ธรอป สหรัฐอเมริกา ผู้ผลิตเครื่องบินรบ F-5 E/F จึงได้ ทูลเกล้าฯถวายกิตติบัตรที่ได้บินครบ 2,000 ชั่วโมง นอกจากทรงขับเครื่องบินรบจนเป็นพระอาจารย์แล้ว สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงสนพระทัยการฝึกหัดขับเครื่องบิน โบอิ้ง 737-400 ที่เป็นเครื่องบินที่ถวายการบินอยู่เป็นประจ�ำ และเป็นแบบที่บริษัทการบินไทยใช้อยู่ ทรงมีพระราชด�ำริว่า จะเป็นประโยชน์ในพระราชกรณีกิจต่อไป จึงโปรดเกล้าฯให้ บริษัทการบินไทยจัดการฝึกถวายอย่างเต็มหลักสูตรเช่นเดียวกับ การฝึกนักบินของบริษัททุกประการ บริษัทการบินไทยจึงจัดให้ กัปตันอัษฎาวุธ วัฒนางกูร ผู้อ�ำนวยการฝ่ายฝึกอบรมนักบิน และ กัปตันอภิรัตน์ อาทิตย์เที่ยง หัวหน้าครูการบินส�ำหรับเครื่องบิน โบอิ้งรุ่นนี้ เป็นผู้ถวายการฝึก โดยเริ่มภาควิชาการในต้นเดือน มิถุนายน พ.ศ.2547 และ เริ่มฝึกบินในปลายเดือนสิงหาคมนั้น ทรงจบหลักสูตรได้รับศักย์การบินในฐานะกัปตันของเครื่องบิน โบอิ้ง 737-400 ในวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ.2549 แม้จะทรงฝึกบินเครื่องบินแบบโดยสารจนจบหลักสูตร แล้ว ก็ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะท�ำการฝึกบินต่อไป เพื่อให้ ทรงมีมาตรฐานเดียวกับกัปตันของการบินไทย ด้วยเหตุนี้ ครูการ บินจึงได้จัดหลักสูตรถวายเพิ่มเติมโดยใช้เครื่องบินพระที่นั่งเป็น หลัก เริ่มจากการบินเส้นทางใกล้ๆเพื่อท�ำความคุ้นเคยกับเส้น ทางบินและการขึ้นลงทั้งสนามบินในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้ ง ทรงฝึ ก บิ น ด้ ว ยเทคนิ ค ต่ า งๆเพื่ อ สะสมประสบการณ์ ด้านการบิน
พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย ์ ข อ ง ไ ท ย ต ่ า ง ท ร ง มี พ ร ะ ป รี ช า สามารถแตกต่ า งกั น แต่ ล ะพระองค์ ส� ำ หรั บ สมเด็ จ พ ร ะ เ จ ้ า อ ยู ่ หั ว ม ห า ว ชิ ร า ล ง ก ร ณ บ ดิ ท ร เ ท พ ย วรางกู ร รั ช กาลปั จ จุ บั น พระปรี ช าสามารถที่ โ ดด เด่ น อย่ า งหนึ่ ง ก็ คื อ ทรงเป็ น กษั ต ริ ย ์ นั ก บิ น พระองค์ แรกของประวั ติ ศ าสตร์ ช าติ ไ ทย ชั่วโมงบินตามหลักสูตร 97.5 ชั่วโมง แล้วต่อด้วยหลักสูตรการ บินขับไล่ขั้นสูง มีชั่วโมงบินตามหลักสูตรอีก 41.8 ชั่วโมง เมื่อเสด็จนิวัติประเทศไทยแล้ว ยังทรงเข้ารับการฝึกบิน ในหลักสูตรการบินรบชั้นสูงกับเครื่องบิน F-5 E/F ที่กองบิน 1 อีกจนจบหลักสูตร สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงท�ำการบินทบทวนหลักสูตร ต่างๆอย่างสม�่ำเสมอ จนทรงพร้อมรบและครบ 1,000 ชั่วโมง เมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ.2532 และยังทรงเข้าร่วมการแข่งขัน ใช้อาวุธทางอากาศประจ�ำปี ทรงท�ำคะแนนได้สูงตามกติกา กองทัพอากาศได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเครื่องหมายความ สามารถในการใช้อาวุธทางอากาศชั้น 1 นอกจากนี้ ยังทรงปฏิบัติหน้าที่ครูการบิน พระราชทาน การฝึ ก สอนทั้ ง ภาควิ ช าการและการฝึ ก บิ น แก่ นั ก บิ น ขั บ ไล่ 13
issue 127 August 2018
ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 โดยเสด็จพระ ราชกุ ศ ลตามพระราชอั ธ ยาศั ย และทู ล เกล้ า ฯถวายสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว เพื่อสมทบทุนมูลนิธิทุนการศึกษาพระราชทาน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร และสมทบ กองทุ น พระเจ้ า หลานเธอพระองค์ เจ้ า ที ป ั ง กรรั ศ มี โชติ เพื่ อ ผู้ประสบภัยพิบัติ โดยมียอดบริจาคในครั้งนี้ 50.5 ล้านบาท เที่ยวบินนี้สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ทรงท�ำการบินด้วยพระองค์ เอง ในต�ำแหน่งนักบินที่ 1 โดยมีกัปตันอัษฎาวุธ วัฒนางกูร เป็นนักบินที่ 2 นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างยิ่ง ที่ทรงมีพระราช หฤทัยอันเปี่ยมด้วยพระเมตตากรุณาต่อพสกนิกรชาวไทย พระมหากษัตริย์ของไทยต่างทรงมีพระปรีชาสามารถ แตกต่ า งกั น แต่ ล ะพระองค์ ส� ำ หรั บ สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มหาวชิราลงกรณ บดิทรเทพยวรางกูร รัชกาลปัจจุบัน พระ ปรีชาสามารถที่โดดเด่นอย่างหนึ่งก็คือ ทรงเป็นกษัตริย์นักบิน พระองค์แรกของประวัติศาสตร์ชาติไทย
ส�ำหรับการบินไปยังสนามบินต่างประเทศนั้น นอกจาก จะทรงท� ำ การฝึ ก ตามหลั ก สู ต รแล้ ว ยั ง ได้ ท รงขั บ เครื่ อ งบิ น เสด็จฯไปเป็นผู้แทนพระองค์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม ราชินีนาถ ในโอกาสต่างๆด้วย รวมถึงการเสด็จฯไปพระราชทาน สิ่ ง ของช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบภั ย ธรรมชาติ ณ กรุ ง อิ ส ลามาบั ด ประเทศปากี ส ถาน และทรงฝึ ก บิ น เพิ่ ม ประสบการณ์ ไ ปยั ง กลุ่มประเทศใกล้เคียง เช่น ประเทศสิงคโปร์, บรูไน, จีน และ เวียดนาม ทรงมีชั่วโมงบินรวมด้วยเครื่องบินโบอิ้ง 737-400 ประมาณ 1,700 ชั่วโมง และจ�ำนวนเที่ยวบินขึ้นลง 2,400 เที่ยว และได้เสด็จฯไปทรงฝึกบินเครื่องบินโบอิ้ง ที่ประเทศ สวีเดนด้วย อีกเที่ยวบินหนึ่งที่พสกนิกรไทยไม่ลืมเลย ก็คือเที่ยวบิน ประวัติศาสตร์ “สายใยรักแห่งครอบครัว” ที่ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯให้บริษัทการบินไทยจัดเที่ยวบินพิเศษมหากุศล ช่วย เหลือผู้ประสบอุทกภัยภาคใต้ และจัดหาอุปกรณ์ด้านการแพทย์ ส�ำหรับโรงพยาบาลใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ น�ำรายได้จาก ผู้โดยสารที่ร่วมเดินทางในราคาที่นั่งละ 1 ล้านบาท โดยไม่มีการ หักค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น โดยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงท�ำการบิน เครื่องบินพระที่นั่งโบอิ้ง 737-400 นาม “ศรีสุราษฎร์” ด้วย พระองค์เองในต�ำแหน่งนักบินที่ 1 กัปตันอัษฎาวุธ วัฒนางกูร เป็นนักบินที่ 2 จากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ไปท่าอากาศยาน นานาชาติเชียงใหม่ ในวันที่ 5 มกราคม 2550 และกลับในวันที่ 6 มกราคม ได้รับการบริจาคเป็นเงิน 80 ล้านบาท ต่อมาในวันที่ 13 พฤศจิกายน 2553 บริษัทการบินไทย ได้จัดเที่ยวบินพิเศษมหากุศลขึ้นอีกครั้ง ในโอกาสครบรอบ 50 ปี จากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิไปท่าอากาศยานนานาชาติเมือง คยา รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย เพื่อไปกราบสักการะพระมหา เจดี ย ์ พุ ท ธคยา สถานที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้พระอนุต ตรสั มมา โพธิญาณ จ�ำหน่ายบัตรโดยสารแก่ผู้โดยสารที่ร่วมเดินทางที่นั่ง ละ 500,000 บาท โดยไม่หักค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น น�ำขึ้นทูลเกล้าฯ 14
IS AM ARE www.fosef.org
15 issue 127 August 2018
cover story
“ถ้ารักประชาชน และอยากท�ำเพื่อผู้อื่น ขอเชิญที่ธรรมศาสตร์” มุมมองจากด้านในของ รศ.เกศินี วิฑูรชาติ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
“ฉั น รั ก ธรรมศาสตร์ เพราะธรรมศาสตร์ ส อนให้ รั ก ประชาชน” เป็ น ธงอุ ด มการณ์ ข องชาวธรรมศาสตร์ ที่ ยึ ด โยงสื บ สานร่ ว มกั น มากว่ า 84 ปี ที่ น ่ า สนใจวั น นี้ คื อ อุ ด มการณ์ เ หล่ า นี้ ยั ง คงเข้ ม ข้ น ด้ ว ยแนวคิ ด ผู ้ บริ ห าร “รศ.เกศิ นี วิ ฑู ร ชาติ ” อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ซึ่ ง ครั้ ง หนึ่ ง ก็ เ คยเป็ น ศิ ษ ย์ เ ก่ า อยู ่ ที่ นี่ และใช้ ชี วิ ต เติ บ โตงอกงามที่ “ท่ า พระจั น ทร์ ” เช่ น เดี ย วกั น
16 IS AM ARE www.fosef.org
17 issue 127 August 2018
จากบัณฑิตนักบริหารการเงิน เติบโตและรักธรรมศาสตร์ เมื่ อ ถึ ง วั น ที่ ค วามรู ้ แ ละประสบการณ์ ส ะสมมาถึ ง รอง ศาสตราจารย์เกศินี ได้สร้างประวัติศาสตร์บนเวทีวิชาการโลก ให้กับเมืองไทย โดยได้รับเลือกเป็นบอร์ด Global Foundation of Management Education (GFME) องค์กรระดับโลกด้าน พัฒนามาตรฐานการศึกษาบริหารธุรกิจ ถึงวันที่ในโลกการศึกษาหมุนเร็ว Google ตอบทุกข้อ สงสัยได้เพียงชั่วพริบตา และปลายนิ้ว กลายเป็นจังหวะนาที ส�ำคัญที่ท้าทายต่อองค์กรการศึกษาต้องเร่งปรับตัวให้ทันอย่าง ก้าวกระโดด ตามแนวคิดการพลิกผันทางเทคโนโลยี ( Disruptive Technology) ที่จะต้องเร่งน�ำพาผู้คนไปสู่โลกการศึกษา ยุคใหม่อย่างเท่าทัน บรรทั ด ต่ อ จากนี้ คื อ แนวคิ ด การสร้ า งห้ อ งเรี ย น ธรรมศาสตร์ ใ นอนาคตจาก “อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ คนที่ 24” กับวิสัยทัศน์สร้างห้องเรียนรูปแบบ ใหม่ เพื่อพัฒนาบัณฑิตไทยให้เท่าเทียมอันดับโลก ซึ่งเป็นหมุด หมายส�ำคัญที่สุดในโลกการศึกษาศตวรรษนี้
เรื่ อ งภู มิ คุ ้ ม กั น คื อ ยุ ค นี้ มั น แตกต่ า ง เด็ ก ที่ อ ยู ่ ต ่ า ง จั ง หวั ด ไม่ ไ ด้ มี อ ะไรที่ ท� ำ ให้ เ ขาเสี ย คนมากนั ก เช่ น บางคนที่ ม าเรี ย น ม.ปลาย ในกรุ ง เทพฯ ครั้ ง แรก ก็ อ าจไปอยู ่ กั บ หมู ่ เ พื่ อ นที่ ช อบเที่ ย วหน่ อ ย ก็ ช วน กั น ไปประมาณนี้ ที นี้ เ ราพบว่ า มั น มี ผ ลนะ เด็ ก ต่ า ง จั ง หวั ด มาอยู ่ ก รุ ง เทพฯ มั น ตื่ น ตาตื่ น ใจ มั น ก็ อ าจ เป๋ ไ ด้ ชี วิ ต สมั ย ที่ ท ่ า นเรี ย นธรรมศาสตร์ เ ป็ น อย่ า งไรบ้ า ง ? ที่ท่าพระจันทร์ เป็นอีกช่วงชีวิตหนึ่งที่ต้องเรียนหนังสือ มีเวลาพักได้ จากปกติเราต้องเรียนหนังสือในโรงเรียนตั้งแต่ 8 โมงเช้า จนถึง 4 โมงเย็น แต่พอมาเรียนมหาวิทยาลัยเรียน แค่ 2-3 ชั่วโมงก็มีเวลาพักมาก ไม่มีเรื่องที่จะต้องควบคุมตัวเอง อะไรมากนัก ก็คบเพื่อนไปตามประสา เรียนหนังสือเสร็จ ส่วน ใหญ่จะไปกินขนมกันแถวท่าพระจันทร์ หลังจากเรียนเสร็จก็ กลับบ้าน ไม่ค่อยไปนอกลู่นอกทางมากนัก ชีวิตค่อนข้างเรียบ ง่าย สมัยก่อนไม่ได้มีอะไรมาชักจูงเรามาก เช่น มือถือก็ยังไม่มี หรือเพื่อนก็เป็นเพื่อนที่แล้วแต่เราจะเลือกคบ เพื่อนประเภท แบบไม่หวือหวา แต่ที่ส�ำคัญชีวิตเราต้องมีความแน่วแน่ในสิ่ง ที่เราต้องการอยากจะพัฒนาตัวเราเอง อยากจะเรียนหนังสือ แล้วเราก็ต้องแน่วแน่ในการท�ำสิ่งนั้น ก็จะประสบความส�ำเร็จ เส้ น ทางจากนั ก บริ ห ารการเงิ น มาสู ่ ก ารเป็ น อาจารย์ ได้ อ ย่ า งไร ? เราจบมหาวิทยาลัย แล้วก็ไปท�ำงานธนาคารกสิกรไทยอยู่ พักหนึ่ง สมัยก่อนเขามารับถึงมหาวิทยาลัยมาตั้งโต๊ะสัมภาษณ์ กัน เขาอยากได้พนักงาน เราก็ไปลองสัมภาษณ์ดู แล้วก็ได้ แต่ พอท�ำได้หนึ่งปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ประกาศรับอาจารย์ ติววิชา ในยุคนั้นก�ำลังพัฒนามหาวิทยาลัยให้มีอาจารย์ที่เพียง พอ สมัยก่อนจะมีอาจารย์อยู่ไม่กี่ท่าน ก็รู้สึกดีเหมือนกัน อาชีพ 18
IS AM ARE www.fosef.org
เราต้ อ งรั ก ดี หมายความว่ า เราอยากจะเห็ น ตั ว เรามี อนาคต มี โ อกาสในการที่ จ ะท� ำ งานให้ กั บ ส่ ว นรวม มี โอกาสที่ จ ะแสดงศั ก ยภาพความสามารถของเรา อั น นี้ ต ้ อ งเป็ น สิ่ ง ที่ มี อ ยู ่ ใ นใจ เป็ น ความมุ ่ ง มั่ น ถ้ า เรามี ความมุ ่ ง มั่ น ตรงนี้ ประกอบกั บ ครอบครั ว สนั บ สนุ น ก็ ส ามารถที่ จ ะเดิ น ทางไปสู ่ จุ ด มุ ่ ง หมายที่ ห วั ง และ วางไว้ ไ ด้ ค� ำ ว่ า ครู ที่ ดี ต้ อ งมี ป ระสบการณ์ น อกห้ อ งเรี ย นที่ มากพอ กั บ ประโยคนี้ ท ่ า นคิ ด เห็ น อย่ า งไร ? ครูต้องเป็นคนเตรียมตัว ต้องเข้าใจในสิ่งที่จะพูด เมื่อ เราเข้ า ใจชั ด เจนก็ จ ะท� ำ ให้ ล ดความตื่ น เต้ น ลง การสอนก็ สอดแทรกประสบการณ์ชีวิตให้นักศึกษาด้วย ยกตัวอย่างให้ เขาเข้าใจ อย่างในสมัยก่อนเราก็ไม่ค่อยมีประสบการณ์มากนัก ส่วนใหญ่ก็จะใช้ทฤษฎีเป็นหลัก เพราะว่าเราไม่ได้ไปท�ำงาน ที่ไหนเลย ไปท�ำงานธนาคารอยู่แค่ปีเดียวก็เป็นประสบการณ์ สั้นๆ อย่างประสบการณ์ที่เราอยู่ต่างประเทศก็เพียงช่วงเวลา หนึ่ง เราเป็นอาจารย์ก็คือสอนหนังสือไป แล้วผู้บริหารคณะใน
อาจารย์เป็นอาชีพอิสระ จากอาจารย์ติวก็มาเป็นอาจารย์สอน เต็มตัวตอนจบปริญญาโทกลับมาแล้ว ตอนจบปริญญาตรีเขา ยั ง ไม่ ใ ห้ ส อน เพราะเมื่ อ ก่ อ นการสอนมั ก จะเป็ น คลาสใหญ่ ประมาณ 100-200 คน แต่ว่าการติวจะเป็นแบบคลาสเล็ก หลายๆ คลาส เราจึงเข้ามาสอนติวได้ แต่สอนคลาสใหญ่ต้อง จบอย่างน้อยปริญญาโท เราเป็นอาจารย์สอนเต็มตัวในปี 2513 ตอนนั้นสอนด้านไฟแนนซ์ ด้านการเงิน รู้สึกว่าการสอนหนังสือ สนุกกว่า เพราะว่ามีการเปลี่ยนแปลงอยู่เรื่อยๆ จะสอนวิชาไหน ก็ต้องไปพัฒนาตัวเอง แต่ถ้าไปท�ำงานมันเหมือนกับรูทีน ก็เลย เป็นอาจารย์มาโดยตลอด 19
issue 127 August 2018
ครู ต ้ อ งเป็ น คนเตรี ย มตั ว ต้ อ งเข้ า ใจในสิ่ ง ที่ จ ะพู ด เมื่ อ เราเข้ า ใจชั ด เจนก็ จ ะท� ำ ให้ ล ดความตื่ น เต้ น ลง การสอนก็ ส อดแทรกประสบการณ์ ชี วิ ต ให้ นั ก ศึ ก ษา ด้ ว ย ยกตั ว อย่ า งให้ เ ขาเข้ า ใจ
สมัยนั้นก็เข้ามาขอให้ช่วยเป็นผู้อ�ำนวยการโครงการอบรม ที่ เรียกว่า Continuing Education Program (CEP) เราก็เป็น ให้ ช่วยคุมเรื่องเงิน โครงการเลี้ยงตัวเอง ก็จัดการให้ เราเป็นคน ขยัน ให้ท�ำอะไรก็ไม่เกี่ยง พยายามท�ำให้ดี ศึกษางานนั้นๆ สิ่งนี้ มาจากของจริงเห็นโลกจริงๆ การสอนของเราก็จะท�ำให้คนเห็น ภาพเชิงปฏิบัติได้ชัดเจนขึ้น
“ธรรมศาสตร์มีนโยบายเกี่ยวกับการเรียนการสอนให้ เป็น Active Learning มา 4-5 ปีแล้ว เราเดินหน้า เพราะเรา รู้แล้วว่าความรู้มันหาได้บางส่วนในมือถือ เราก็ต้องเทรนเขา ให้ใช้เป็น เพราะนั่นคือเรื่องของโลกยุคนี้และยุคอนาคต ตอน นี้ห้องเรียนของเราเน้นให้นักศึกษาค้นข้อมูลจากมือถือด้วย”
ปั จ จุ บั น เยาวชนมองว่ า สิ่ ง ที่ อ าจารย์ ส อน สามารถ ดู ไ ด้ ใ นมื อ ถื อ ได้ ห มด ท่ า นมองเรื่ อ งนี้ อ ย่ า งไร ? จริงๆ แล้วเขาก็ศึกษาได้ด้วยตนเอง แต่มันไม่ได้เป็น อย่างนั้นทั้งหมดหรอก เด็กยังอยากจะฟังเลคเชอร์เพราะว่าบาง อย่างมันซับซ้อน อย่างเช่นที่สอนวิชาทางด้าน การวิเคราะห์เชิง ปริมาณ (Quantitative Analysis) ถ้าเขาไม่ได้ฟังจากเรา เขาก็ ไม่รู้สเต็ปในการค�ำนวณ ที่มาที่ไป การตีความหมายของตัวเลข ที่เขาค�ำนวณออกมาได้ จะน�ำไปสู่การตัดสินใจที่ดีอย่างไร หรือ การจะวิเคราะห์ความเสี่ยงมันมีตัวแปรอะไรบ้าง มันขึ้นอยู่กับ ว่าถ้าอย่างนี้อะไรจะเกิดขึ้น ถ้าอย่างนี้อะไรจะเกิดขึ้น ก็คือการ วิเคราะห์ใช่ไหมคะ เพราะสิ่งเหล่านี้มันต้องการการชี้น�ำจาก อาจารย์ เพราะฉะนั้น ก็จะท�ำให้เขาไปอ่านเองได้ง่ายขึ้น
เด็ ก ที่ ใ ช้ โ อกาสของตั ว เองในการหาความรู ้ บ นมื อ ถื อ ท่ า นคิ ด ว่ า น้ อ ยหรื อ มากคะในปั จ จุ บั น นี้ ? เราคิดว่าเขาจะใช้หาข้อมูลกันอยู่แล้ว แต่ประเด็นอยู่ที่ ว่าอาจารย์ให้โจทย์อะไรกับเขา ถ้าเกิดแทนที่จะบรรยายแต่ให้ โจทย์เขาว่าไปค้นปัญหานี้มา เอายังไง ไปค้นมาแล้วมารายงาน อาจารย์ เราต้ อ งเทรนให้ คื อ มั น ไม่ ใช่ ข ้ อ มู ล เชิ ง วิ เ คราะห์ การวิเคราะห์เราต้องวิเคราะห์เอง แต่ว่า Google มันก็ให้ข้อมูล 20
IS AM ARE www.fosef.org
21 issue 127 August 2018
ความจริ ง เรามี ทุ น อี ก แบบหนึ่ ง ด้ ว ย คื อ เรี ย กว่ า จ้ า ง นักศึกษาท�ำงานวันละ 2 ชั่วโมง เขาอยู่ได้เลย เราท�ำตรงนี้เยอะ เพราะแทนที่จะเป็นเรื่องการได้เงินมาเฉยๆ ให้เขาเรียนรู้เรื่อง การท�ำงาน แล้วเราก็ส่งเสริมเรื่องพวกนี้ ในธรรมศาสตร์มีเยอะ ที่จ้างนักศึกษาท�ำงาน มีทั้งห้องสมุด หอพัก เขาสามารถติดต่อ ได้ที่ฝ่ายกิจการนักศึกษา หรือว่าส�ำนักงานจัดการทรัพย์สินของ มหาวิทยาลัย หรือเขาสามารถใช้ระบบออนไลน์แจ้งเราได้
พื้นฐาน ให้ความหมายในเชิงลึกเชิงกว้าง แต่การที่จะดึงอะไร มาใช้แล้วมันจะตีความกันอย่างไรจะวิเคราะห์มันอย่างไร ครู ต้องแนะน�ำเขาได้ ต้องขึ้นอยู่ที่การสอน ทั้งหมดนี้โทษเด็กไม่ได้ ต้องโทษ ผู้ใหญ่ว่าสอนเขายังไง ถ้าสอนเขาก็ท�ำได้ การใช้ Google แล้ว ไม่ต้องเรียนหนังสือจริงๆ แล้วมันไม่ใช่ มันต้องอาศัยการพูด คุยสนทนาและถกเถียงกันในห้องเรียน บางทีเพื่อนก็ให้ความ เห็นที่เป็นประโยชน์กับการที่เขาได้แง่คิดวิเคราะห์และตัดสินใจ เหมือนอย่างเรื่อง Soft Skills ซึ่งใน Google ไม่มี
โ ล ก ก� ำ ลั ง ห มุ น เ ร็ ว ม า ก วั น นี้ ห ลั ก ก า ร ส� ำ คั ญ ที่ ธรรมศาสตร์ ยึ ด ถื อ คื อ อะไร ? เราถือหลักการส�ำคัญก็คือว่าความเสมอภาคเท่าเทียม เราเชื่อมั่นว่าคนทุกคนสามารถไปสู่ความก้าวหน้าในชีวิตได้ด้วย การศึกษา ฉะนั้น ประตูสู่ธรรมศาสตร์เปิดกว้างส�ำหรับทุกคน ใครที่อยากเรียนต้องได้เรียน ถ้าเกิดว่าเขาไม่ได้เรียนเพราะว่า เขาไม่มีเงิน ให้มาเลยเราจะช่วย มีคนธรรมศาสตร์จ�ำนวนมาก ที่ทางบ้านยากจน ถ้าไม่มีกระบวนการไปช่วย เขาจะมาเรียนไม่ ได้ เราต้องการแปรเปลี่ยนให้เขาน�ำพาประโยชน์ให้กับประเทศ ชาติได้โดยศักยภาพของเขา ซึ่งปกติถ้าไม่มีทุนไม่มีอะไรไปช่วย
เราถื อ หลั ก การส� ำ คั ญ ก็ คื อ ว่ า ความเสมอภาคเท่ า เที ย ม เราเชื่ อ มั่ น ว่ า คนทุ ก คนสามารถไปสู ่ ค วาม ก้ า วหน้ า ในชี วิ ต ได้ ด ้ ว ยการศึ ก ษา ฉะนั้ น ประตู สู ่ ธรรมศาสตร์ เ ปิ ด กว้ า งส� ำ หรั บ ทุ ก คน ใครที่ อ ยาก เรี ย นต้ อ งได้ เ รี ย น ถ้ า เกิ ด ว่ า เขาไม่ ไ ด้ เ รี ย นเพราะว่ า เขาไม่ มี เ งิ น ให้ ม าเลยเราจะช่ ว ย ธรรมศาสตร์ ส ร้ า งคนและมอบโอกาสให้ ค นด้ ว ยทุ น การศึ ก ษาแต่ ล ะปี จ� ำ นวนมาก ท่ า นมี เ กณฑ์ ใ ห้ ทุ น เหล่ า นี้ อ ย่ า งไรบ้ า ง ? เรามีทุนให้เยอะจริงๆ แล้วธรรมศาสตร์มีทุนมากมาย เลย เราจะก�ำหนดว่าเงินค่าหน่วยกิตที่ มหาวิทยาลัยเก็บได้ 10 % ของเงิ น จ� ำ นวนนั้ น จะต้ อ งเอามาจั ด สรรเป็ น ทุ น การ ศึกษาให้กับเด็กที่ด้อยโอกาส เราจะประกาศ ว่าเรามีทุนส�ำหรับ เด็กช้างเผือกนะ บางกลุ่มเราไปค้นมาจากหมู่บ้านเขาเลย ไป สัมภาษณ์ ไปดูว่าเขาล�ำบากแล้วเขามีศักยภาพที่จะพัฒนาได้ คือทุนของเรามี 2 แบบ แบบแรกจะเรียกว่าทุนนักเรียน เรียนดีจากชนบท อันนี้เราจะไม่รอให้เขามาหาเรา แต่เราจะไป หาเขาเลย มีพื้นที่ทั้งหมด 44 จังหวัดทั่วประเทศไทย เราจะเรียก ว่าเด็กช้างเผือก จะมีคณะกรรมการที่เป็นอาจารย์เข้าไปหาใน พื้นที่ ไปคุยกับโรงเรียน ไปดูบ้าน ซึ่งทุนนี้เราท�ำมา 30-40 ปี แล้วนะ เรายังขยายมาถึงในเขตเมืองด้วย ชุมชนแออัดอะไรแบบ นี้ ส่วนคนที่มาเรียนแล้วไม่มีทุนขึ้นมาเราเรียกว่าทุนขาดแคลน อันนี้ก็มีให้ เช่น บ้านของเด็กที่เกิดปัญหาไฟไหม้ พ่อแม่เลิกกัน อะไรแบบนี้ เราจะขอทุนจากภาคเอกชนด้วยเพื่อมาจุนเจือให้ได้ มากขึ้น ปีหนึ่งเราจ่ายทุนประมาณ 50 ล้านบาทขึ้นไป รวมจาก ทุกอย่างที่เรามี ทั้งทุนจากเงินค่าหน่วยกิต ทั้งทุนจากเอกชน ทั้ง ทุนจากบริษัทต่างๆ มาให้ จะมีทุนจากศิษย์เก่าอีกด้วย เพราะ ว่าศิษย์เก่าเขาจะมีน�้ำใจมาให้ 22
IS AM ARE www.fosef.org
23 issue 127 August 2018
news เป็นวิชาหนึ่งเลยในโรงเรียน คือจะเท่าทันยังไงว่าข่าว ไหนลวง ข่าวไหนจริง เราคิดว่าเรื่องการอยู่กับมือถือถ้าใช้มัน ให้เป็น เราฉลาดขึ้นด้วย อันนี้เราต้องจริงจังเลย โรงเรียนอย่า มาบอกว่าเรียนกรุงเทพฯ แล้วไม่ค่อยมีภูมิคุ้มกัน ครูต้องสร้าง ภูมิคุ้มกันไว้เลย
เขาจะขึ้นมาไม่ได้ มันสมองของชาติตรงนี้จะมาไม่ถึงเลย เป็น ระบบที่เราเชื่อว่ามนุษย์นั้นเท่าเทียมกัน เราจะบอกว่าทุกคนที่ สอบเข้าธรรมศาสตร์ได้จะไม่มีค�ำว่าจน ก็คือจะไม่มีค�ำว่าไม่มี เงินเรียน เราจะดูแล ธรรมศาสตร์ มี แ นวทางสร้ า งภู มิ คุ ้ ม กั น ให้ นั ก ศึ ก ษา อย่ า งไร ให้ นั ก ศึ ก ษาเรี ย นจบตลอดรอดฝั ่ ง ? เรื่องภูมิคุ้มกัน คือ ยุคนี้มันแตกต่าง เด็กที่อยู่ต่างจังหวัด ไม่ได้มีอะไรที่ท�ำให้เขาเสียคนมากนัก เช่น บางคนที่มาเรียน ม.ปลาย ในกรุงเทพฯ ครั้งแรกก็อาจไปอยู่กับหมู่เพื่อนที่ชอบ เที่ยวหน่อย ก็ชวนกันไปประมาณนี้ ทีนี้เราพบว่ามันมีผลนะ เด็กต่างจังหวัดมาอยู่กรุงเทพฯ มันตื่นตาตื่นใจ มันก็อาจเป๋ได้ จากการเป็นเด็กเรียนก็เริ่มเกเรบ้าง แต่ว่ายุคนี้มันไม่เหมือน กัน ตอนนี้ความเหลวไหลมันเข้ามาในมือถือ ในอินเทอร์เน็ต คนจะเสียคนกลายเป็นว่าคนที่อยู่กรุงเทพฯ ไม่ค่อยมีภูมิคุ้มกัน ต้องสร้างภูมิคุ้มกันตั้งแต่เดี๋ยวนี้เลยไม่ว่าอยู่จังหวัดไหน นี่คือ เทคนิคเรื่องง่ายๆ ที่เราต้องสอนเด็กของเราให้รู้จักใช้มือถือ ให้เท่าทัน เราจะไปห้ามเขาใช้ ลับหลังเราเขาก็ใช้อยู่แล้ว เรา ต้องสอนเขา อย่างเช่น ต่างประเทศหลักสูตรเรียนรู้เรื่อง Fake
เยาวชนคนรุ ่ น ใหม่ ยั ง มี อี ก ไม่ น ้ อ ยที่ เ ลื อ กเกิ ด ไม่ ไ ด้ แต่ ส ามารถสร้ า งอนาคตให้ ตั ว เองได้ ท่ า นมี วิ ธี ค� ำ แนะน� ำ พวกเค้ า อย่ า งไร ? เราต้องรักดี หมายความว่า เราอยากจะเห็นตัวเรามี อนาคต มีโอกาสในการที่จะท�ำงานให้กับส่วนรวม มีโอกาสที่ จะแสดงศักยภาพความสามารถของเรา อันนี้ต้องเป็นสิ่งที่มีอยู่ ในใจ เป็นความมุ่งมั่น ถ้าเรามีความมุ่งมั่นตรงนี้ ประกอบกับ ครอบครัวสนับสนุนก็สามารถที่จะเดินทางไปสู่จุดมุ่งหมายที่หวัง และวางไว้ได้ ธรรมศาสตร์พร้อมรับ ประชาชนทุกคน ด้วยความ เสมอภาค และสอบเข้ามา อันนี้เป็นปรัชญาของธรรมศาสตร์อยู่ แล้ว ถ้ารักประชาชน แล้วอยากท�ำอะไรให้กับผู้อื่น ขอเชิญมาที่ ธรรมศาสตร์ เรายินดีต้อนรับและสนับสนุน
24 IS AM ARE www.fosef.org
ร่ า งกายของเราจ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้ ไขมั น เพื่ อ เป็ น แหล่ ง ประโยชน์ จ ากน�้ ำ มั น เมล็ ด ชา พลั ง งานของร่ า ยกาย ดั ง นั้ น การเลื อ กบริ โ ภคไขมั น จึ ง • มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง และมีกรดไขมันอิ่มตัวต�่ำ เป็นการเลือกแหล่งพลังงานของร่างกาย ไขมันมีทั้งไขมันชนิด • ช่วยลดระดับ LDL (คอเรสเตอรอลชนิดไม่ดี) และเพิ่ม ดี และไขมันชนิดร้าย ระดับ HDL (คอเรสเตอรอลชนิดดี) น�้ำมันพืชที่มีไขมันไม่อิ่มตัวแบบเดี่ยวสูง จัดเป็นน�้ำมัน • ลดความเสี่ยงในการเกิดหลอดเลือดตีบตัน ความดัน ชนิ ด “ดี พิ เ ศษ” น�้ ำ มั น เหล่ า นี้ ช ่ ว ยลดคอเลสเตอรอลชนิ ด เบาหวาน และโรคหัวใจ ร้ า ย (LDL) และเพิ่ ม คอเลสเตอรอลชนิ ด ดี (HDL) ซึ่ ง ช่ ว ย • ดีต่อผู้รักสุขภาพ ผู้สูงอายุ และผู้มีภาวะน�้ำหนักเกิน ท�ำความสะอาด หรือเก็บขยะ (คราบไขมัน) จากผนังเส้นเลือด
25 issue 127 August 2018
26 IS AM ARE www.fosef.org
27 issue 127 August 2018
28 IS AM ARE www.fosef.org
29 issue 127 August 2018
ณ บ้านไม้หลังเล็ก
สู่คุณธรรมอันยิ่งใหญ่ เดื อ นพฤษภาคม พ.ศ.2506 หลั ง จากท่ า นธรรมาจารย์ เ จิ้ ง เอี๋ ย นเข้ า รั บ การสมาทานศี ล แล้ ว จึ ง เดิ น ทาง กลั บ ไปยั ง เมื อ งฮวาเหลี ย นและเริ่ ม ปฏิ บั ติ ธ รรม ณ บ้ า นไม้ ห ลั ง เล็ ก ซึ่ ง มี พื้ น ที่ ป ระมาณ 120 ตารางฟุ ต บริ เ วณหลั ง หมู ่ บ ้ า นเจี ย หมิ น ต� ำ บลซิ่ ว หลิ น โดยศึ ก ษาและค้ น หาความหมายที่ แ ท้ จ ริ ง ของคั ม ภี ร ์ “สั ท ธรรม ปุ ณ ฑริ ก สู ต ร” ที่ปรึกษาของท่านธรรมาจารย์เจิ้งเอี๋ยน บ่อยครั้งจึงไม่มีแม้แต่ ดอกไม้หรือผลไม้บูชาพระ หลังจากปฏิบัติตามวิถีดังกล่าวนาน กว่าครึ่งปี ท่านจึงตั้งปณิธานปฏิบัติตาม “สัทธรรมปุณฑริกสูตร” ไปตลอดชีวิต ณ บ้านไม้หลังเล็กที่ท่านธรรมาจารย์ศึกษาและ ปฏิบัติธรรม ถือเป็นจุดก�ำเนิดโลกแห่งความรักของฉือจี้
ณ สถานที่แห่งนี้ ท่านธรรมาจารย์เจิ้งเอี๋ยนได้สวดบท สัทธรรมปุณฑริกสูตรทุกวัน และคัดออกมาเป็นคัมภีร์ทุกเดือน ทว่าเนื่องจากท่านธรรมาจารย์เจิ้งเอี๋ยนไม่บิณฑบาตและไม่รับ ประกอบพิธีกรรม ด้วยความเชื่อที่ว่า “มนุษย์ประสบทุกข์มา มากพอแล้ว”จึงหารายได้โดยการปลูกผัก ถักเสื้อกันหนาว และ เย็บรองเท้าเด็ก ร่วมกับท่านธรรมาจารย์ซิวเต้า ซึ่งภายหลังเป็น 30
IS AM ARE www.fosef.org
บนเส้ น ทางธรรมพุ ท ธฉื อ จี้ “การปฏิ บั ติ ธ รรมส่ ว นใหญ่ จ ะพั ฒ นาจิ ต ใจก่ อ น เสร็ จ แล้ ว จึ ง แสดงออกมาทางกาย จิ ต ใจอยู ่ ภ ายใน ไม่ มี ผู ้ ใ ดมองเห็ น ได้ จึ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งอาศั ย การแสดงออก เพื่ อ ให้ เ ห็ น ความสะอาดบริ สุ ท ธิ์ ภ ายในของจิ ต ใจ” ธรรมาจารย์เจิ้งเอี๋ยน
แล้ ว พุ ท ธศาสนาเล่ า ได้ อุ ทิ ศ สิ่ ง ใดเพื่ อ สั ง คมอย่ า ง เป็ น รู ป ธรรมบ้ า ง? ค�ำถามเปลี่ยนโลก ก่อก�ำเนิดมูลนิธิพุทธฉือจี้ 14 เมษายน พ.ศ. 2509 (วันที่ 24 เดือน3 ปีพ.ศ.2509 ตามปฏิทินจันทรคติ) “มูลนิธิพุทธฉือจี้ไต้หวัน” ได้ก่อตั้งขึ้น อย่างเป็นทางการ ณ วัดผู่หมิง หมู่บ้านเจียหมิน ท่านธรรมา จารย์น�ำเหล่าลูกศิษย์ปฏิบัติธรรม ณ วัดผู่หมิง โดยทุกคนต่าง ด�ำเนินชีวิตด้วยการพึ่งพาตนเอง ยึดกฎที่ว่า “วันใดไม่ท�ำงาน วันนั้นไม่ขอฉันอาหาร” มู ล เหตุ แ ห่ ง การก่ อ ตั้ ง นั้ น กล่ า วคื อ วั น หนึ่ ง มี แ ม่ ชี คาทอลิกจากโรงเรียนมัธยมไห่ซิงสามท่าน ได้เดินทางมาพบ ท่านธรรมาจารย์ เพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยนถึงศาสดา เป้าหมายและ หลักธรรมค�ำสอนของศาสนาที่ตนเองนับถือ ก่อนที่แม่ชีทั้งสาม จะเดินทางกลับ จึงได้กล่าวขึ้นว่า “ในที่สุดวันนี้ก็ได้เข้าใจแล้วว่า ความเมตตาของพระพุทธองค์นั้น ครอบคลุมไปถึงทุกสรรพชีวิต บนโลก ซึ่งถือเป็นสิ่งที่ยิ่งใหญ่มาก ทว่าความรักของพระเจ้า แม้ จะจ�ำกัดอยู่แค่หมู่มวลมนุษยชาติ แต่พวกเราได้สร้างโบสถ์ สร้าง โรงพยาบาลรวมถึงดูแลสถานสงเคราะห์คนชรา ได้ท�ำประโยชน์ เพื่อสังคมนานัปการ แล้วพุทธศาสนาเล่า ได้อุทิศสิ่งใดเพื่อสังคม อย่างเป็นรูปธรรมบ้าง”
ท่ า นธรรมาจารย์ ฟ ั ง แล้ ว รู ้ สึ ก อ�้ ำ อึ้ ง ไม่ ท ราบจะตอบ ประการใด นั่นเพราะพุทธศาสนิกชนส่วนมาก มักจะปิดทอง หลังพระ ต่างคนต่างท�ำบุญ เมื่อท�ำบุญก็ไม่ต้องการออกนาม เป็นที่น่าเสียดาย ที่ไม่มีใครรวบรวมความรักอันยิ่งใหญ่นี้ให้ เป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกัน ท่านธรรมาจารย์เจิ้งเอี๋ยนจึงตัดสินใจ จัดตั้งองค์กรการกุศลขึ้น โดยเริ่มต้นจากการสงเคราะห์ช่วย เหลือผู้ยากไร้
31 issue 127 August 2018
“ความหมายของค� ำ ว่ า เมตตา กรุ ณ า มุ ทิ ต า และ อุ เ บกขานั้ น แยกกล่ า วได้ ดั ง นี้ เ มตตาและมุ ทิ ต า คื อ การหยิ บ ยื่ น ความสุ ข ให้ ผู ้ อื่ น เป็ น การสอนให้ ค น ร�่ ำ รวยยิ น ดี แ บ่ ง ปั น สิ่ ง ของให้ ผู ้ ย ากไร้ กรุ ณ าและ อุ เ บกขา คื อ การช่ ว ยเหลื อ สงเคราะห์ ผู ้ ย ากไร้ ใ ห้ ห ลุ ด พ้ น จากความทุ ก ข์ ” ธรรมาจารย์เจิ้งเอี๋ยน ความเฉยชาของคนเมื อ ง คื อ สิ่ ง ที่ ฉื อ จี้ ต ้ อ งเยี ย วยา ด้ ว ยความรั ก ในปี พ.ศ.2509 สองเดือนหลังจากก่อตั้งมูลนิธิพุทธ ฉือจี้ขึ้น ท่านธรรมาจารย์เจิ้งเอี๋ยนน�ำเหล่าลูกศิษย์ยื่นมือเข้า ให้ความช่วยเหลือคุณยายหลินวัย 85 ปี ซึ่งก�ำลังล้มป่วยและ อาศัยอยู่เพียงล�ำพัง ท่านเป็นชาวฮกเกี้ยน ที่อพยพตามสามีมา ไต้หวันตั้งแต่อายุยังน้อย หลั ง จากสามี เ สี ย ชี วิ ต ลง จึ ง อาศั ย อยู ่ ใ นไต้ ห วั น เพี ย ง ล�ำพัง เคยรับบุตรบุญธรรมมาเลี้ยงดู แต่เขาล่วงลับไปก่อน ต่อมา จึงเลี้ยงดูหลานสาวหวังให้เป็นที่พึ่งพิง แต่หลานสาวกลับไม่เคย มาเหลียวแล เมื่อแก่ชราลง ร่างกายจึงร่วงโรยไปตามกาลเวลา 32 IS AM ARE www.fosef.org
มีโรคภัยไข้เจ็บ ต้องอดมื้อกินมื้อโดยไร้คนช่วยเหลือ เป็นภาพที่ แสดงให้เห็นถึงความเฉยชาของคนเมือง ในตอนนั้น ฉือจี้ใช้เงินสงเคราะห์ 300 หยวน ว่าจ้างคน ให้มาช่วยหุงหาอาหาร ซักเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มและดูแลความเป็น อยู่ของคุณยาย เมื่อล้มป่วยก็พาไปหาหมอรักษาตัว จนกระทั่ง คุณยายเสียชีวิตในปี พ.ศ.2513ถือเป็นเคสแรกที่ได้ช่วยเหลือ ชีวิตคน เป็นเชื้อไฟให้มุ่งมั่นมอบความรักแก่เพื่อนมนุษย์ตราบ จนปัจจุบัน
“ควรปฏิ บั ติ ต ่ อ สรรพสั ต ว์ ด ้ ว ยเมตตาจิ ต และส� ำ นึ ก อยู ่ ต ลอดเวลาว่ า ‘หากเราไม่ ช ่ ว ยพวกเขา แล้ ว ใคร เล่ า จะช่ ว ย’ ถ้ า เราปฏิ บั ติ ไ ด้ เ ช่ น นี้ โ ลกที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ย กิ เ ลสจะกลายเป็ น แดนสุ ข าวดี ทั น ที ” ธรรมาจารย์เจิ้งเอี๋ยน
33 issue 127 August 2018
34 IS AM ARE www.fosef.org
ความเป็ น คนความเป็ น ครู
อยากให้เด็กดี ครู กับผู ้ปกครองต้องร่วมมือกันจริงจัง
กันตาภา สุทธิอาจ โรงเรียนสตรีวัดระฆัง
20 กรกฎาคม 2561 ครู กั น ตาภา สุ ท ธิ อ าจ บอกกั บ ที ม งาน is am are ว่ า “วั น นี้ ม าถ่ า ยรู ป เกษี ย ณ ตั ว เอง” และบั ง เอิ ญ เป็ น วั น เดี ย วกั น กั บ นั ด หมายสั ม ภาษณ์ รวมถึ ง เป็ น วั น ที่ เ ธอส� ำ เร็ จ ปริ ญ ญาเอกศึ ก ษา ศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต (หลั ก สู ต รและการสอน) หมาด ๆ – เวลากว่ า 40 ปี ที่ รั บ ราชการครู ก� ำ ลั ง สิ้ น สุ ด อย่ า งเป็ น ทางการในวั น ที่ 30 กั น ยายน 2561 แน่ น อนว่ า ประสบการณ์ ม ากมายตลอดระยะเวลาการ เป็ น ครู เ ธอพร้ อ มจะบอกเล่ า อย่ า งตรงไปตรงมา รวมถึ ง การสะท้ อ นปั ญ หาการศึ ก ษาในปั จ จุ บั น ผ่ า นมุ ม มองของเธอที่ ห ่ ว งใยนั ก เรี ย นอยู ่ เ สมอ สามารถให้ตนเอง มีหลายสิ่งหลายอย่างที่เธอให้สัมภาษณ์ไว้ เป็นมุมมองจากครูที่ท�ำหน้าที่มาตลอด 40 ปี แน่นอนว่า เป็น เวลานานเกือบทั้งชีวิตคนๆ หนึ่งเลยก็ว่าได้ โดยเฉพาะยุคสมัย ที่ เ ปลี่ ย นไป นั ก เรี ย นเปลี่ ย นไป ผู ้ ป กครองเปลี่ ย นไป สั ง คม และทุกอย่างเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว เรื่องราวจะเป็นอย่างไร เชิญผู้อ่านร่วมค้นคว้าจากบทสัมภาษณ์นี้ค่ะ
ครู กั น ตาภา จบปริ ญ ญาตรี ค ณะบริ ห ารธุ ร กิ จ (ธุ ร กิ จ ศึกษา) ตั้งแต่อายุ 22 ปี และเริ่มสอบบรรจุได้เป็นครูครั้งแรก ในปีการศึกษา 2523 โดยเริ่มสอนที่จังหวัดสกลนคร เชียงใหม่ และที่โรงเรียนสตรีวัดระฆัง ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2536 จนถึงปัจจุบัน เป็นเวลาเกือบ 25 ปีแล้ว ในห้ อ งพั ก ครู เ ล็ ก ๆ ที่ มี นั ก เรี ย นวนเวี ย นมาช่ ว ย งานอยู ่ ต ลอด ครู กั น ตาภารั บ หน้ า ที่ เ ป็ น หั ว หน้ า 2 งาน ได้ แ ก่ งานธนาคารโรงเรี ย น เพื่ อ สนั บ สนุ น เรื่ อ งการออม และงานศูนย์ครอบครัวพอเพียง เพื่อสนับสนุนให้เด็กท�ำกิจกรรม จิตอาสาภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แม้จะเป็น งานที่ครูทุกคนทราบดีว่า เป็นงานนอกเหนือจากการสอน แต่ ต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบค่อนข้างสูง เพราะเป็น เรื่องเกี่ ย วกั บการเงิ น และการน�ำนักเรียนเรียนรู้นอกสถานที่ แต่ครูกันตาภาก็ไม่เคย ปฏิเสธงานหรือหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย กลับมองว่าไม่ว่าจะ เป็นงานกิจกรรมอื่น ๆ สิ่งส�ำคัญคือกิจกรรมนั้น “นักเรียนต้องได้ ประโยชน์” และเธอก็ท�ำหน้าที่ตรงนั้นด้วยความเต็มใจ พร้อมกับ สอนในกลุม่ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ทัง้ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จนถึงวาระ เกษียณอายุราชการในวันที่ 30 กันยายน 2561 นี้ ดร.กันตาภา สุทธิอาจ แม้ในวัยเกษียณ เธอพิสูจน์ให้ นักเรียนเห็นแล้วว่า การศึกษามีความส�ำคัญ ไม่มีใครแก่เกินเรียน และการศึกษาเท่านั้น ที่สามารถจะพัฒนาเพิ่มพูนความรู้ความ
ทุ ก ครั้ ง ที่ เ ตรี ย มการสอน ก็ คื อ เราได้ ฝ ึ ก ตั ว เองไป ด้ ว ยทุ ก ครั้ ง เราได้ ท� ำ หน้ า ที่ ตั ว เองให้ ดี ที่ สุ ด ก็ เ ลย รู ้ สึ ก ว่ า ชี วิ ต เราท� ำ งานโดยไม่ ไ ด้ รู ้ สึ ก เหนื่ อ ยมาก ท� ำ ให้ ง านส� ำ เร็ จ อั น นั้ น คื อ ความสุ ข แล้ ว เวลาที่ นั ก เรี ย นเขาท� ำ ได้ เ ราก็ มี ค วามสุ ข ด้ ว ย ท� ำ งานที่ นี่ ม า ตั้ ง แต่ ป ี 2536 จนปั จ จุ บั น
ท� ำ ไมถึ ง เลื อ กอาชี พ ครู ? พ่อกับแม่อยากให้เป็นครู เราเริ่มเรียนมัธยมที่จังหวัด สกลนคร แล้ ว มาเรี ย นปริ ญ ญาตรี ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ราชมงคล วิ ท ยาเขตจั ก รพงษภู ว นารถ คณะบริ ห ารธุ ร กิ จ (ธุรกิจศึกษา) ท�ำให้เกี่ยวข้องกับการเป็นครูได้ อาจจะเป็นเพราะ ว่าพ่อเป็นครูใหญ่ และพ่อก็อยากให้เราเป็นครู ทั้งๆ ที่เราก็ไม่ 35
issue 127 August 2018
อยากเป็นนะ แต่บางทีเราคงเกิดมาเพื่อการนี้ อาจจะมีสายเลือด ของพ่อมา คือเราชอบสอน ชอบเล่าเรื่องราวต่าง ๆ แต่เราไม่รู้ ตัวว่าเราสอนได้ นี่แหละความเป็นครูมาจากพ่อ ถ้ า ให้ นั บ ครู ค นแรกในชี วิ ต ครู กั น ตาภานึ ก ถึ ง ใคร ? คุ ณ พ่ อ ค่ ะ เพราะสมั ย ก่ อ นผู ้ ห ญิ ง จะไม่ ค ่ อ ยเรี ย น หนั ง สื อ พ่ อ เป็ น คนสอนตั้ ง แต่ เ ด็ ก ว่ า พ่ อ ไม่ มี ส มบั ติ จ ะให้ นอกจากการศึ ก ษาเท่ า นั้ น ที่ จ ะเป็ น ทรั พ ย์ ส มบั ติ ติ ด ตั ว ลู ก ตลอดไป ผู้หญิงสวยมีวันหมดสวย แต่การศึกษาจะไม่มีวันหมด ยิ่งเรียนยิ่งได้ ความรู้เราจะไม่มีวันหมด เราจึงจ�ำค�ำสอนของพ่อ ในสมัยนั้นได้ดี จึงชอบที่จะเรียนรู้ พอเรียนจบก็สอบบรรจุรับ ราชการเป็นครูได้ในปีที่เรียนจบปริญญาตรี การท�ำหน้าที่การ สอนเริ่มมากขึ้น แต่ไม่เคยย่อท้อต่ออุปสรรค ท�ำงานจนมีความ สุขกับงานที่ท�ำ งานทั้งหมดจึงส่งผลต่อผลงานทางวิชาการเลื่อน วิทยะฐานะได้ส�ำเร็จ แล้วจึงไปเรียนต่อปริญญาโท ศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต (การจัดการการศึกษา) และจบปริญญาเอก ศึกษา ศาสตรดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) ในวันนี้ เพราะพ่อ เป็นคนสอนว่าการศึกษาส�ำคัญ ก็ได้เรียนรู้จากครูคนแรก คือ คุณพ่อ
ท� ำ ไมถึ ง เลื อ กสอนที่ โ รงเรี ย นสตรี วั ด ระฆั ง ได้ น านถึ ง 25 ปี ไม่ คิ ด ย้ า ยไปไหน ? เราเริ่มสอนที่จังหวัดสกลนครก่อน และเชียงใหม่ และ กรุ ง เทพมหานคร เริ่ ม สอนที่ โรงเรี ย นสตรี วั ด ระฆั ง มาตั้ ง แต่ ปี 2536 จนปัจจุบัน อยู่แล้วรู้สึกมีความสุขดี ช่วงแรกที่มาอยู่ก็ สวดพระคาถาชินบัญชรอยู่หนึ่งปี มีความรู้สึกว่าหลวงพ่อโตท่าน คงเลือกเราให้มาท�ำงานที่นี่ ท�ำให้เราอยู่แล้วมีความสุขตั้งแต่ วันแรกจนถึงวันนี้ที่ได้ท�ำงานจนครบวาระเกษียณอายุราชการ อย่างภาคภูมิใจ ในชีวิตการรับราชการ เราเป็นคนที่อยู่ที่ไหนก็มีงานให้ ท�ำงานมากกว่าปกติ เพราะว่าไม่เคยปฏิเสธงาน การที่เราเป็น คนไม่ปฏิเสธงาน เราก็จะได้งานมาโดยไม่รู้ตัว เคยมีครูท่านเคย สอนเราว่า เวลาใครจ้างเราท�ำงานห้าร้อยเราต้องท�ำหนึ่งพัน เวลาเขาจ้างหนึ่งพันเราต้องท�ำสองพัน ท�ำให้มากกว่าที่เขาจ้าง อย่าท�ำแบบเขาจ้างห้าร้อยท�ำร้อยเดียว เราถูกสอนมาว่า เวลา ท�ำงานให้ท�ำให้มาก ท�ำหน้าที่ตัวเองให้เต็มที่ด้วยใจ ปั จ จุ บั น รั บ หน้ า ที่ ต� ำ แหน่ ง ไหนบ้ า ง ? เป็นหัวหน้างานธนาคารตั้งแต่ปี 2542 ไม่เคยลาออก จากการเป็นหัวหน้างาน และไม่เคยมีใครมาแทน เราท�ำเพราะ เรามีความสุขกับการท�ำงาน ท�ำเพราะรู้สึกว่าอยากเห็นงาน ที่เราท�ำมันพัฒนาขึ้น เด็กนักเรียนจะต้องรู้จักมีวินัยการออม 36
IS AM ARE www.fosef.org
กฎหมายที่ ป ระชาชนควรรู ้ วิ ช าอาเซี ย นศึ ก ษา ม.ต้ น และ ม.ปลาย วิ ช าพระพุ ท ธศาสนา ม.ต้ น และ ม.ปลาย โดย เฉพาะวิชาพระพุทธศาสนา สอนแล้วได้ท�ำการบ้าน การบ้าน พระพุ ท ธศาสนาเหมื อ นได้ ส อนตั ว เองด้ ว ย ว่ า ให้ ท� ำ หน้ า ที่ ของเรา แล้ ว ก็ ยั ง มี ห ลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งกั บ พระพุทธศาสนาอีก ช่างเป็นกุศลกับเรามาก ได้ฝึกตัวเอง ทุก ครั้งที่เตรียมการสอน ก็คือเราได้ฝึกตัวเองไปด้วยทุกครั้ง เราได้ ท�ำหน้าที่ตัวเองให้ดีที่สุด ก็เลยรู้สึกว่าชีวิตเราท�ำงานโดยไม่ได้ รู้สึกเหนื่อยมาก ท�ำให้งานส�ำเร็จ อันนั้นคือความสุข แล้วเวลา ที่นักเรียนเขาท�ำได้เราก็มีความสุขด้วย ท�ำงานที่นี่มาตั้งแต่ปี 2536 จนปัจจุบัน รู้สึกว่ามันผ่านไปเร็วมาก ไม่เคยคิดเลยว่า ท�ำไมมันนานจังเลย มันผ่านไปเพราะว่าเรามีงานของเราเข้า มาเรื่อย ๆ ครูไม่เคยมีวันเสาร์ - วันอาทิตย์มาเป็นสิบปีแล้วนะ ถึงแม้ไม่ได้ไปท�ำงานโรงเรียนเราก็ไปท�ำงานที่อื่นนอกโรงเรียน ก็เลยไม่เคยได้หยุด
การที่ เ ราเป็ น คนไม่ ป ฏิ เ สธงาน เราก็ จ ะได้ โ ดยไม่ รู ้ ตั ว เคยมี ค รู รุ ่ น พี่ ส อนเราว่ า เวลาใครจ้ า งเราท� ำ งาน ห้ า ร้ อ ยเราต้ อ งท� ำ หนึ่ ง พั น เวลาเขาจ้ า งหนึ่ ง พั น เรา ต้ อ งท� ำ สองพั น ท� ำ ให้ ม ากกว่ า ที่ เ ขาจ้ า ง อย่ า ท� ำ แบบ เขาจ้ า งห้ า ร้ อ ยท� ำ ร้ อ ยเดี ย ว
เด็ ก ในอดี ต กั บ เด็ ก ในวั น นี้ ครู ม องเห็ น ความเป็ น ไป อย่ า งไรบ้ า ง ? เด็กรุ่นที่ครูเข้ามาสอนใหม่ ๆ ตอนนั้นเรื่องเทคโนโลยี และสื่อออนไลน์ยังไม่มากและทันสมัยเหมือนวันนี้ เด็กจะมี สมาธิดีกว่า เพราะเด็กยุคนี้พ่อแม่ใช้เทคโนโลยีเลี้ยงลูก เด็กมี
และสามารถบันทึกบัญชีรายรับจ่ายของตัวเองได้ ทุกครั้งที่เห็น นักเรียนมีเงินออมมีการบันทึกรายรับ - รายจ่าย ท�ำให้เรามอง อย่างมีความสุขใจมาก พอรับงานหัวหน้าธนาคารโรงเรียน ท่านผู้อ�ำนวยการ ดร.ไพรวัลย์ เหล็งสุดใจ ท่านก็ถามว่ารับอีกต�ำแหน่งได้ไหม คืองาน ครอบครัวพอเพียง ของมูลนิธิครอบครัวพอเพียง ขับเคลื่อนให้ นักเรียนรู้จักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและท�ำจิตอาสา เราก็ ไม่ปฏิเสธ จึงเป็นที่มาของหัวหน้างานครอบครัวพอเพียงโรงเรียน สตรี วั ด ระฆั ง อี ก ต� ำ แหน่ ง เพราะเราอยากเห็ น การพั ฒ นา อยากเห็นว่าจะลงไปสู่เด็กได้มากน้อยแค่ไหน คือท�ำแล้วเด็ก ต้องได้ เด็กได้ออกไปเรียนรู้ข้างนอก ครูจะพยายามพาเด็ก ไป ปัจจุบัน นอกเหนือจากงานสอนวิชาสังคมทั้งระดับ ม.ต้น และ ม.ปลาย ก็รับหน้าที่เป็นหัวหน้างานธนาคารโรงเรียน และ หัวหน้างานครอบครัวพอเพียงด้วย ถึ ง วั น นี้ เราสามารถส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต ได้ ในขณะที่งานเราก็มาก 10 ปีที่ผ่านมา ครูไม่เคยใช้วันเสาร์อาทิตย์ไปเที่ยวที่ไหน นอกจากโรงเรียน ท�ำกิจกรรมกับนักเรียน และไปมหาวิทยาลัยเพื่อพบกับอาจารย์ท่ีปรึกษา ทั้งที่เรางาน ยุ่งนะ ไม่เคยว่าง มีอะไรให้ท�ำตลอดแต่ก็มีความสุขดีนะคะ ความสุ ข ของครู ส อนสั ง คมที่ ชื่ อ กั น ตาภา คื อ อะไร ? วิ ช าสั ง คม จะมี ห ลายสาระ ครู ส อนตั้ ง แต่ วิ ช า 37
issue 127 August 2018
เราจะเห็นเลยว่าเด็กคนไหนท�ำสีหน้าแบบนี้ บ่งบอกถึงตัวตน ของเด็กได้ ครูรู้สึกว่ามองเด็กไม่เคยพลาด การพูดคุย เราต้อง มีเมตตา ส�ำคัญมากเลย ถึงเราดุ แต่ถ้าในความเป็นครูของเรา เรามีเมตตาต่อเขาเด็กจะรู้ แค่สัมผัสเขาก็จะรู้ ให้เกเรยังไงนะ สิ่งที่เราพูดไป เราสัมผัสเขา อาจจะกอดบ้าง โอบบ้าง แล้วก็ด้วย ภาษาที่เราพูดไป เด็กเขาดูออกค่ะ ครูไม่ชอบพูดตวาดเด็ก ไม่ชอบเสียงดัง ชอบพูดกับเด็ก ดีๆ แต่จะดุเรื่องความไม่มีวินัย ไม่รับผิดชอบ ไม่ขยัน ครูจะ ค่อนข้างซีเรียสในเรื่องนี้ เพราะเด็กสมัยนี้ถูกตามใจมาก บาง คนติดนิสัยมาจากบ้าน เถียงพ่อเถียงแม่ ควบคุมอารมณ์ไม่อยู่ ก็ต้องสังเกตดู ถ้าเด็กคนไหนสอนได้ก็สอน ถ้าคนไหนพ่อแม่เขา ไม่เอาด้วยเราก็ต้องปล่อย เพราะว่าเด็กบางคนพ่อแม่เขาตามใจ ลูกมาก ก็มีส่วนท�ำให้ลูกเขาไม่ประสบความส�ำเร็จ พ่อแม่บาง คนไม่ให้แตะลูกเขาเลย ว่าไม่ได้ สุดท้ายภาระกลับมาตกที่ครู เพราะเขาจะโทษครู เขาลืมไปว่าสังคมจะอยู่ได้ต้องมีปฏิสัมพันธ์ กันทุกฝ่าย ไม่ใช่เรียนเก่งอย่างเดียว แล้วเก่งไม่จริง หมายความ ว่า รู้ได้แค่เฉพาะเรื่องนั้น ๆ รู้แค่เฉพาะที่ฉันจะสอบได้ หรือว่า ฉันอยากได้เกรดดี ๆ อยากเข้ามหาวิทยาลัยดี ๆ แต่ลืมไปว่า
เสรีภาพในสังคมออนไลน์มาก ไม่ได้รับการควบคุมเวลาที่ใช้ และจะเป็นเรื่องใหญ่มากการใช้โทรศัพท์ส�ำหรับเด็กปัจจุบัน ที่ ค รู อ ยากฝากเรื่ อ งนี้ ไ ปยั ง ผู ้ ใ หญ่ ท างการศึ ก ษา เราควรมี มาตรการอย่างไรที่จะปฏิบัติในทางเดียวกัน ถ้าคิดว่าต้องการ ที่จะพัฒนาเด็กให้มีคุณภาพอย่างจริงจัง ฝากให้คิดค่ะ แต่เราในฐานะครูจะเกษียณปีนี้ (2561) เรามองเห็นเด็ก ที่ผ่านมารุ่นก่อน ๆ ที่เราเคยสอนเคยดูแลเขามา รุ่นพี่ก่อน ๆ นี้จะมีความเข้มแข็งกับงานหน้าที่การเรียนเป็นอย่างดี มีความ ตั้งใจมาก จนประสบความส�ำเร็จอย่างภาคภูมิใจ เดี๋ยวนี้เหมือน เด็กจะจ�ำอะไรได้ไม่เท่าไหร่ ความใส่ใจน้อยลง แต่หันไปสนใจกับ เรื่องอื่น ๆ มากขึ้น เหมือนกับเทคโนโลยีท�ำให้เด็กสมาธิสั้นลงถ้า ใช้ไม่เป็น ถ้าใช้เป็นจะมีประโยชน์มากเช่นกัน ใช้ เ ทคนิ ค อะไรในการมองหาแววเด็ ก เพื่ อ จะสนั บ สนุ น เขานอกเหนื อ จากวิ ช าเรี ย น ? ครูเป็นคนช่างสังเกต จะดูที่แววตาเด็ก เวลาที่เขาฟังตา จะมีประกาย หน้าตาเขาจะบ่งบอก และจะชอบถามค�ำถามที่ เราบอกได้ว่าเด็กมีความสนใจจริง จากประสบการณ์การสอน 38
IS AM ARE www.fosef.org
ลูกจะอยู่สังคมยาก เกิดความเห็นแก่ตัวโดยไม่รู้ตัว สังเกตจาก การท�ำงานร่วมกันจะบอกลักษณะนิสัยได้ ทักษะชีวิตน้อย ไม่ สามารถควบคุมอารมณ์ตัวเองได้ เวลาครู ส อน ครู ม องเห็ น เด็ ก หลายคนน่ า สงสารนะ หลาย ๆ อย่างที่ครูเห็นมันท�ำให้เรามองไปถึงครอบครัวของ เด็ ก ด้ ว ย เด็ ก บางคนขึ้ น เรี ย น ม.ปลายแล้ ว แต่ นิ สั ย ก็ ยั ง ไม่ พัฒนา ยังดื้อ ยังเหมือนเดิม บางครั้งก็เรียกมาคุยมาถาม เขา ก็ ยั ง เป็ น แบบนี้ มั น เกิ ด จากที่ บ ้ า นมี ป ั ญ หาทางครอบครั ว มี มากทีเดียว การเยี่ยมบ้านก็ท�ำให้ครูได้รู้สภาพที่แท้จริงของ ครอบครัว ต้องร่วมมือกันทั้งทางบ้านและโรงเรียน คือเราต้อง ช่วยกัน โรงเรียนช่วยอย่างเดียวแต่ทางบ้านไม่ให้ความร่วมมือ มันก็ยากค่ะ ครู ห ่ ว งเรื่ อ งทั ก ษะชี วิ ต มากกว่ า วิ ช าการ ? คือเด็ก ถ้าเขาดี เดี๋ยววิชาการเขาจะอยากท�ำเอง ครู ก็ไม่ใช่คนเรียนเก่งนะ แต่พ่อจะคอยสอนเรื่องการศึกษาว่ามี ความส�ำคัญต่อชีวิตเรา แต่ว่าถ้าไม่เรียนหนังสือจะไม่มีอะไร ท�ำมาหากิน ไปขายของ ขายอาหารไหวไหม เมื่อเรามีต้นทุน น้อย สมมุติขายได้วันหนึ่งสูงสุด 500 บาท ถ้าขายไม่หมดท�ำไง
พ่อพูดให้เราเห็นภาพโดยละเอียด เพราะตอนเด็กเราช่วยแม่ ขายขนม แม่เป็นแม่บ้านและเย็บเสื้อผ้า พ่อคนเดียวเลี้ยงลูก 4 คน แม่ก็ต้องมีรายได้พิเศษ ทีนี้เราอยากเรียนหนังสือเรา ก็ต้องหาเงิน เพราะแม่บอกว่าถ้าไม่ช่วยกันหาเงินเดี๋ยวไม่มี เงินเรียน ปิดเทอมเราก็ต้องไปขายของ ตอนจบปริญญาตรีครู มาฝึกงานที่ศึกษาภัณฑ์ได้วันละ 30 บาท ยืนทั้งวันไม่ได้นั่ง ถ้าวันอาทิตย์เขาให้ 60 บาท ดีใจมากเลย จนคนในร้านเขาถาม ว่าวันหยุดไม่อยากไปเที่ยวเล่นเหมือนคนอื่นบ้างหรือ เราก็บอก อยากไป แต่เราอยากได้เงินมากกว่า เพราะต้องท�ำงานเพื่อช่วย พ่อแม่ใช้จ่ายค่าเทอม พ่ อ แม่ เราไม่ ต ามใจว่ า ต้ อ งหาเงิ น ให้ ลู ก อย่ า งเดี ย ว ลูกต้องช่วยด้วย เราต้องยอมรับว่าเราไม่ใช่ครอบครัวที่ร�่ำรวย แต่พ่อแม่สมัยนี้เขาไม่ได้สอนอย่างนั้น เขาหาให้ลูกอย่างเดียว ตัวเองก็ท�ำงานหาเงินให้ลูกอย่างเดียว ออกจากบ้านแต่เช้า กลับ บ้านมืด-ดึก พอลูกไม่ได้อย่างใจเขาก็ต�ำหนิลูกอีก พอลูกโดนพ่อ แม่ว่ากล่าวตักเตือนไม่พอใจก็หนีไปอยู่กับเพื่อน สังคมสมัยนี้ เลี้ยงกันค่อนข้างน่าเป็นห่วง
ครู เป ็ น ค น ช ่ า ง สั ง เ ก ต จ ะ ดู ที่ แ ว ว ต าเ ด็ ก เ ว ลา ที่ เ ขาฟั ง ตาจะมี ป ระกาย หน้ า ตาเขาจะบ่ ง บอก จากประสบการณ์ ส อนเราจะเห็ น เลยว่ า เด็ ก คน ไหนท� ำ สี ห น้ า ยั ง ไง มั น บอกได้ แล้ ว ก็ ไ ม่ เ คยพลาด อย่ า งเด็ ก บางคนเวลาเราเรี ย กมาคุ ย เราต้ อ งมี เมตตา ส� ำ คั ญ มากเลย
จากประสบการณ์ สื่ อ ออนไลน์ ห รื อ โซเชี ย ลมี เ ดี ย ส่ ง ผลกระทบต่ อ การเรี ย นของเด็ ก มากน้ อ ยแค่ ไ หน ? มีส่วนมากเลย ถ้าวันไหนครูพูดว่าไม่ให้ใช้โทรศัพท์ เด็ก จะหงุดหงิดมาก จะไม่พอใจชักสีหน้าใส่ถ้าครูถ้ายึดโทรศัพท์ แต่ 39 issue 127 August 2018
เราจะมีข้อก�ำหนดว่า เข้าห้องเรียนต้องเก็บโทรศัพท์ ถ้าน�ำมาใช้ ในเวลาจะถูกยึด ตอนเย็นถึงจะมารับคืนได้ ครูจะเป็นคนเก็บ รักษาให้ แต่ครูเหนื่อยกับเรื่องนี้มาก ถ้ า เลื อ กได้ ค รู ไ ม่ อ ยากให้ โ ทรศั พ ท์ ม ามี บ ทบาทใน โรงเรียนเลย เพราะครูจะเหนื่อยมาก ครูก�ำลังสอนเด็กก้มหน้า อยู่ใต้โต๊ะ ไม่ได้มองหน้าครูผู้สอนเลย เรายืนสอนเราเห็นหมด พอเราพูดเด็กจะหงุดหงิด เท่าที่ครูเห็นมาปัญหาอันดับหนึ่งใน โรงเรียนคือเรื่องโทรศัพท์ ท�ำให้เด็กก้าวร้าว สมาธิสั้น หงุดหงิด พู ด จาหยาบคาย รออะไรไม่ เ ป็ น ทุ ก อย่ า งต้ อ งได้ อ ย่ า งใจ บางครั้งครูก็ถามใครโทรมา ถึงใช้โทรศัพท์ในเวลานี้ เขาบอกว่า แม่หนูโทรมา และไม่รู้จริงหรือเปล่า หรือเป็นข้ออ้าง บางครั้งก็ ท�ำให้ครูกับศิษย์ไม่เข้าใจกันเพราะการไม่รู้จักเวลาที่เหมาะสมใน การใช้โทรศัพท์
ท�ำงานอยู่เมืองไทยจ�ำนวนมาก อีกหน่อยเราคนไทยอาจต้อง เป็นลูกจ้างเขาได้ในอนาคต เพราะเขามีความขยัน อดทนมาก เขาล�ำบากมาจากบ้านเขา ค่าแรงบ้านเขาไม่ถึงวันละ 100 บาท มาอยู่เมืองไทยวันละ 300 บาท เงินเหลือเก็บน�ำไปลงทุนเป็น เจ้าของกิจการ เมืองไทยเป็นแผ่นดินทองเลย แต่เด็กไทยไม่เอา เด็กไทยเลือกงาน ผู้หญิงไปท�ำศัลยกรรม ไปเป็นพริตตี้ ต้องสวย ต้องหาผู้ชายรวย ชีวิตล้มเหลว สุดท้ายไม่มีอะไรเพราะพึ่งตนเอง ไม่ได้ อยู่ในโลกแห่งความเพ้อฝัน ไม่อยู่กับความเป็นจริง
การยึ ด เด็ ก เป็ น ศู น ย์ ก ลางในปั จ จุ บั น ครู ม องเห็ น ข้ อ ดี ข ้ อ ด้ อ ยอย่ า งไร ? ข้อดีคือ เด็กส�ำคัญ ซึ่งมันดีต่อการเรียนรู้นะ แต่ต้องดูว่า ส�ำคัญเรื่องอะไร แต่เท่าที่สังเกตเรื่องเรียนรู้มีความเปลี่ยนแปลง ไปมาก ต้องเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน ผู้ปกครองบางคน ยังไม่เข้าใจ จะให้ลูกเรียนแต่ในต�ำรา ซึ่งวิธีการเรียนสมัยนี้มัน หลากหลาย การให้เด็กท�ำงานศึกษาค้นคว้า ผู้ปกครองก็ว่าครู ให้งานเยอะ แต่ที่จริงครูต้องการให้เด็กเรียนรู้ ค้นคว้า เหมือน งานวิจัยที่เด็กต้องไปท�ำในระดับอุดมศึกษา ในระดับมัธยมก็ ต้องมี คือการศึกษาค้นคว้าเด็กจะได้เรียนรู้จะได้จ�ำ – จ�ำแม่น กว่าการท่อง บางครั้งผู้ปกครองบางคนไม่เข้าใจ ครูสมัยนี้ต้อง อดทน และพร้อมรับจากหลายทาง ที่ครูเห็นมา สุดท้ายแล้ว ผลเสียกลับมาตกที่เด็กเอง ถ้าทั้งครูและผู้ปกครองไม่ท�ำความ เข้าใจกันให้ดีก่อน
ส� ำ หรั บ นั ก เรี ย นโรงเรี ย นสตรี วั ด ระฆั ง ซึ่ ง เป็ น หญิ ง ล้ ว น ครู เ น้ น สอนอะไรกั บ เขามากที่ สุ ด และอยากให้ เขาน� ำ ติ ด ตั ว ไป ? ครูจะสอนว่า ให้เขามีความรู้ ให้เรื่องการศึกษาเป็น เรื่องที่ส�ำคัญ และภาษาต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็นภาษาอังกฤษ ต้องสามารถสื่อสารให้ได้ รวมถึงภาษาที่ 3 ที่ 4 อย่าละทิ้ง ความรู้ เด็กยุคใหม่ครูจะให้ความส�ำคัญมากเกี่ยวกับเรื่องภาษา ที่ 2 จะเรียนรู้อะไรก็ตามภาษาอังกฤษจะต้องได้ เพราะมัน เป็นภาษากลาง ถ้ายิ่งได้หลายภาษา ก็ย่ิงเปิดโอกาสให้ตัวเอง ก้าวหน้ามากเท่านั้น จะเรียนอะไรก็ตาม ถ้าไม่ได้ภาษา จบเลย และจะต้องเป็นคนกล้าที่จะคิด กล้าที่จะท�ำ อย่าอายในการ แสดงออกเรื่องความดี เชื่อมั่นในตัวเอง สอนให้เขาเชื่อมั่นใน การท�ำความดี อย่าอาย แต่ให้อายในเรื่องไม่ดี แล้วก็ให้รู้จัก เรื่องการประหยัด การออม ครูไม่ได้มองแค่เด็กจบปริญญาตรี แต่ครูมองไปถึงอนาคตของเขาข้างหน้า ให้เขาได้เรียนรู้ และ ครูก็เชื่อว่าเขาจ�ำ มีหลายคนที่เขาไปมีครอบครัวแล้วเขากลับมาบอกว่า หนูจ�ำที่ครูสอนหนูได้ ครูตีหนูตอนนั้นหนูยังจ�ำได้ เพราะแม่หนู มาฝากครูไว้ว่าถ้าหนูกลับบ้านมืด ให้ตีได้เลย ตอนนี้เด็กคนนั้น จบปริญญาโทนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์แล้ว แต่ว่าเด็กที่ด่าครู ก็เยอะ ว่าจะพูดอะไรนักหนา (หัวเราะ) เด็กที่มาท�ำงานใกล้ ๆ ครูจะสอนการใช้ชีวิตเขาด้วย ใช้วิธีการพูดโน้นนี่ไปเรื่อย ๆ สัพเพเหระ แต่ในสัพเพเหระของ เราต้องแทรกเข้าไปด้วย ซึ่งบางทีมันก็พูดยากนะ ถ้าเราไม่มี จิตวิญญาณความเป็นครู ถ้าเราไม่มีความเมตตาอยู่ในตัวเรา เรา จะพูดยาก เราจะต้องเป็นคนปฏิบัติด้วย เราถึงจะท�ำได้ เพราะ เด็กเขาจะรับรู้ได้ มองออก
ตั ว อย่ า งพฤติ ก รรมที่ ส ่ ง ผลต่ อ นั ก เรี ย นสมั ย นี้ ม าก ที่ สุ ด ครู ม องว่ า มาจากอะไร ? ครู เ คยพู ด กั บ เด็ ก ว่ า คอยดู น ะเด็ ก อาเซี ย นจะเข้ า มา
ถึ ง วั น นี้ อี ก สองเดื อ นครู จ ะเกษี ย ณแล้ ว รู ้ สึ ก อย่ า งไร ? ครู ภู มิใจนะ ต้ อ งอยู ่ โรงเรี ย นนี้ ถึ ง วั น ที่ 30 กั น ยายน
อยากเห็ น พ่ อ แม่ ผู ้ ป กครองและครู ท� ำ งานร่ ว มกั น จริ ง จั ง โดยไม่ เ อาผลประโยชน์ เ ข้ า มาเกี่ ย วข้ อ ง ซึ่ ง ครู ส มั ย ก่ อ นไม่ ค ่ อ ยมี เ รื่ อ งธุ ร กิ จ มาเกี่ ย วข้ อ งมาก นั ก ผลลั พ ธ์ ใ นเด็ ก นั ก เรี ย นที่ อ อกมาจึ ง แตกต่ า งกั น ครู ไ ม่ อ ยากให้ ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งเป็ น เรื่ อ งธุ ร กิ จ ไปหมด โดยเฉพาะการศึ ก ษา
40 IS AM ARE www.fosef.org
2561 นี้ รู้สึกภูมิใจในเกียรติประวัติของตนเอง ไม่มีประวัติ ด่างพร้อยในการรับราชการ ตั้งใจท�ำงาน ไปอยู่ตรงไหนก็ไม่เคย ท้อ ไม่เกี่ยงงาน ผู้บริหารให้ท�ำอะไรก็ท�ำ ไม่ว่าจะเป็นงานอะไร ก็ตาม โดยเฉพาะ “งานธนาคารโรงเรียนสตรีวัดระฆัง” และ “งานครอบครัวพอเพียงโรงเรียนสตรีวัดระฆัง” นอกเหนือจาก การสอน ซึ่งมันไม่ได้มีบทบาทอะไรกับอาชีพนี้ และไม่มีความดี ความชอบในโรงเรียนเลยนะ เพราะเขาไม่ได้น�ำมาพิจารณาเป็น ผลงาน หลายคนถึงไม่อยากรับงานนี้ เพราะเราต้องใช้เวลานอก เหนือจากการสอนมาดูแลรับผิดชอบด้วย พ่ อ แม่ บ างคนยั ง ไม่ เ ข้ า ใจ จะให้ ลู ก เรี ย นแต่ ใ นต� ำ รา ซึ่ ง วิ ธี ก ารเรี ย นสมั ย นี้ มั น หลากหลายแล้ ว การให้ เด็ ก ท� ำ งานศึ ก ษาค้ น คว้ า เขาหาว่ า ครู ใ ห้ ง านเยอะ แต่ ที่ จ ริ ง ครู ต ้ อ งการให้ เ ด็ ก เรี ย นรู ้ ค้ น คว้ า อี ก ห น ่ อ ย เ ห มื อ น ง า น วิ จั ย เ ด็ ก ก็ ต ้ อ ง ไ ป ท� ำ ใ น ร ะ ดั บ อุ ด มศึ ก ษา
ชีวิตต่อจากนี้ไปก็จะท�ำในสิ่งที่อยากท�ำและมีความสุข สามารถช่วยใครได้โดยที่ตัวเองไม่เดือดร้อนก็ยินดี และค�ำว่า จิตอาสาค�ำนี้ครูรู้จักมานานแล้ว มันอยู่ในสายเลือดแล้ว ขอให้ สุ ด ท้ า ย ครู อ ยากเห็ น อะไรในวงการการศึ ก ษาใน ครูสามารถท�ำได้ครูยินดีทุกงาน ใครจะเชิญให้ไปช่วยสอนก็ยินดี อนาคต ? เพราะว่าจบปริญญาเอกแล้ว เป็นนักวิชาการมันอยู่นิ่งไม่ได้แล้ว อยากเห็นพ่อแม่ผู้ปกครองและครูท�ำงานร่วมกันจริงจัง ถ้าใครมองเห็นเราก็ยินดี โดยไม่เอาผลประโยชน์เข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งครูสมัยก่อนไม่ค่อย มีเรื่องแบบนี้เข้ามาเกี่ยวข้อง ผลลัพธ์ในเด็กนักเรียนที่ออกมาจึง เกษี ย ณอายุ ร าชการแล้ ว อายุ เ ยอะแล้ ว จะเรี ย น แตกต่างกัน ครูไม่อยากให้ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นเรื่องธุรกิจไปหมด ปริ ญ ญาเอกไปท� ำ ไม เคยเจอค� ำ ถามนี้ ไ หม ? โดยเฉพาะการศึกษา มันจะเป็นดาบสองคม เคยค่ะ มีคนถามว่าจะเรียนปริญญาเอกไปท�ำไม อายุ ถ้าจะยึดอาชีพครูต้องยอมรับว่าไม่ได้สร้างความร�่ำรวย เยอะแล้ ว ครู บ อกว่ า การเรี ย นไม่ มี ค� ำ ว่ า อายุ ม ากหรื อ น้ อ ย เงินทอง แต่สามารถด�ำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีเกียรติและความ ขึ้ น อยู ่ กั บ โอกาสที่ มี ที่ พ ร้ อ มของเราเอง เพราะอาจารย์ ก็ ภาคภูมิใจ ครูจึงอยากเห็นว่า พ่อแม่ผู้ปกครองและครู สามารถ เคยสอนเราว่าต้องท�ำตัวเป็นน�้ำที่ไม่เต็มแก้ว สามารถเติมได้ คุยกันได้อย่างกัลยาณมิตรที่ดีต่อกัน พ่อแม่ผู้ปกครองต้องให้ เรื่อย ๆ เหมือนวิชาความรู้ของเราที่สามารถเรียนได้ตลอด เด็ก ความเอาใจใส่สนใจลูกจริง ๆ อย่าใช้แต่เงินส่งลูกเรียนอย่าง นักเรียนเขาก็รู้นะว่าครูก�ำลังเรียน เพราะว่าตอนที่ครูท�ำงานวิจัย เดียว อีกเรื่องคือ ตกต้องซ่อมได้ภายในเวลาจ�ำกัด ต้องผ่านให้ ครูต้องท�ำความเข้าใจงานกับนักเรียนด้วย ครูเรียนหลักสูตรและ ได้ นี่แหละท�ำไมเด็กถึงไม่เก่ง เพราะนักเรียนตกก็ซ่อมแล้วก็ การสอน ครูก็ต้องเอามาสอนทดลองใช้ ต้องขอบคุณนักเรียนที่ ผ่าน เด็กไม่สนใจเพราะซ่อมได้ต้องผ่าน สมัยก่อนสอบตกต้อง เป็นกลุ่มทดลองให้ครู เด็กเขาก็ถามว่าครูเรียนจบรึยัง เราบอก ซ�้ำชั้น เราไม่อยากเรียนซ�้ำชั้นก็ต้องตั้งใจมาก เพราะกลัวการ จบแล้ว พวกเขาก็ดีใจ ครูจบแล้ว เพราะเขาเห็นครูมุ่งมั่นมาก เรียนซ�้ำชั้นมาก เสาร์-อาทิตย์เขาถามว่าครูไปไหน เราบอกไปเรียน ครูไปท�ำงาน ถ้าทุกคนในวงการการศึกษาช่วยกันด้วยความจริงใจ วิจัย (หัวเราะ) และจริงจัง ปัญหาต่าง ๆ ก็จะน้อยลงค่ะ 41 issue 127 August 2018
42 IS AM ARE www.fosef.org
สั จ ธรรมแห่ ง แนวพระราชด� ำ ริ หลั ก การท� ำ งานของกั ง หั น น�้ ำ ชั ย พั ฒ นาจะใช้ ใ บพั ด เคลื่ อ นน�้ ำ และช่ อ งรั บ น�้ ำ ไปสาดกระจาย เป็ น ฝอย เพื่ อ ให้ สั ม ผั ส กั บ อากาศได้ อ ย่ า งทั่ ว ถึ ง ท� ำ ให้ อ อกซิ เ จนในอากาศสามารถละลายเข้ า ไปในน�้ ำ ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว และในช่ ว งที่ น�้ ำ เสี ย ถู ก ยกขึ้ น มากระจายสั ม ผั ส กั บ อากาศตกลงไปยั ง ผิ ว น�้ ำ จะท� ำ ให้ เ กิ ด ฟองอากาศจม ตามลงไป ก่ อ ให้ เ กิ ด การถ่ า ยเทออกซิ เ จนอี ก ส่ ว นหนึ่ ง ซึ่ ง กั ง หั น น�้ ำ ชั ย พั ฒ นาจะใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ ทั้ ง การเติ ม อากาศ การกวนแบบผสมผสาน และ การท� ำ ให้ เ กิ ด การไหลตามทิ ศ ทางที่ ก� ำ หนด • การผสมผสานระหว่างพืชน�้ำกับระบบเติมอากาศ เป็น ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียอีกระบบหนึ่ง ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ได้ พ ระราชทาน พระราชด�ำริเป็นประเดิม กรณีระบบหนองสนม โดยมี แนวทางการด�ำเนินงานประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1) การบ�ำบัดน�้ำเสียด้วยกกอียิปต์ โดยการปล่อยน�้ำเสีย เข้าไปบนลานก้อนกรวดเสียก่อน เพื่อให้ก้อนกรวดท�ำหน้าที่ กรองสารแขวนลอยออกจากน�้ ำ เสี ย พร้ อ มกั บ ช่ ว ยเติ ม ก๊ า ซ ออกซิเจน ซึ่งจะ ช่วยให้เกิดจุลินทรีย์เกาะตามก้อนกรวดมากขึ้น อันจะน�ำไปสู่การย่อยสลายสารอินทรีย์ที่มีอยู่ในน�้ำเสียได้มาก ขึ้น แล้วจึงปล่อยน�้ำเสียผ่านตะแกรงดักเศษขยะที่ติดตั้งไว้ทาง ด้านท้ายของลานนั้นออกไปยังบ่อที่ปลูกกกอียิปต์ไว้ เพื่อก�ำจัด สารอินทรีย์ในน�้ำเสียอีกต่อหนึ่ง จากนั้นจึงปล่อยให้ไหลเข้าสู่บ่อ ตกตะกอนตามธรรมชาติ 2) การเร่ ง การตกตะกอนและการลดสารพิ ษ โดย ใช้ กั ง หั น น�้ ำ ชั ย พั ฒ นาเติ ม ก๊ า ซออกซิ เจนเข้ า ไปในน�้ ำ เสี ย ใน ขั้นตอนสุดท้ายของส่วนแรก เพื่อเร่งการย่อยสลายสารอินทรีย์ ที่ละลายอยู่ในน�้ำนั้นให้ กลายเป็นตะกอนจุลินทรีย์ (sludge) ที่ ตกตะกอนได้รวดเร็ว แล้วปล่อยน�้ำเสียที่ตกตะกอนดังกล่าวแล้ว นั้น เข้าสู่บ่อผักตบชวา เพื่อให้ผักตบชวาดูดซับสารพิษต่างๆ ที่ เหลืออยู่ไว้ ต่อจากนั้น จึงส่งน�้ำเสียนั้น กลับเข้าสู่บ่อตกตะกอน อีกครั้งหนึ่ง เพื่อให้ได้น�้ำที่ใสสะอาดยิ่งขึ้น 3) การปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพน�้ ำ ให้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น โดยใช้ กั ง หั น น�้ำชัยพัฒนาเติมอากาศเข้าไปเป็น ขั้นสุดท้าย พร้อมกับปลูก ผักตบชวากั้นเป็นคอกเรียงสลับกันเป็นแถวๆ ไว้ เพื่อดูดซับ สารพิษอีกครั้งหนึ่ง และเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น�้ำด้วย การ ทดลองที่หนองสนม จังหวัดสกลนคร พิสูจน์ได้ว่าคุณภาพน�้ำ ในหนองสนมใสสะอาดยิ่งขึ้น • ระบบปรับปรุงคุณภาพน�้ำด้วยรางพืชร่วมกับเครื่องกล เติมอากาศ ในการบ�ำบัดน�้ำเสีย จากเดิมที่ใช้การเติมอากาศลงไป ในน�้ำเพียงอย่างเดียว แม้จะท�ำให้น�้ำมีออกซิเจน และคุณภาพ ดีข้ึน แต่มีแหล่งน�้ำบางแห่งที่มีสาหร่ายเซลเดียวสีเขียวและ
สารปนเปื ้ อ นที่ เ ป็ น อาหารของสาหร่ า ยปะปนอยู ่ ใ นน�้ำ ด้ ว ย ท�ำให้น�้ำยังคงมีสีเขียวคล�้ำและ ดูเหมือนว่าน�้ำยังเสียเหมือน เดิม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงมี พระราชด�ำริให้พัฒนา ระบบ การปรับปรุงคุณภาพน�้ำให้ดีขึ้น ด้วยการใช้ระบบรางพืช ร่วมกับเครื่องกังหันชัยพัฒนา หรือเครื่องกลเติมอากาศแบบ อัดอากาศและดูดน�้ำ โดยน�ำต้นพืชบางชนิดที่สามารถดูดซึม สารปนเปื้อนมาเป็นอาหารในการเจริญเติบโตได้ เช่น ต้นกก ต้นเตย ต้นพุทธรักษาบัว เป็นต้น ท�ำให้สาหร่ายไม่มีอาหารใน การเจริญเติบโต น�้ำจึงใสขึ้นระบบปรับปรุงคุณภาพน�้ำด้วยราง พืชร่วมกับเครื่องกลเติมอากาศ ตามแนวพระราชด�ำริ ประกอบ ด้วยอุปกรณ์ส�ำคัญๆ ประกอบด้วย 1) กั ง หั น ชั ย พั ฒ นา หรื อ เครื่ อ งกลเติ ม อากาศแบบ อัดอากาศและดูดน�้ำ จะเลือกใช้แบบไหนนั้นขึ้นอยู่กับสภาพของ แหล่งน�้ำ หากแหล่งน�้ำมีขนาดใหญ่และลึกควรใช้เครื่องกังหัน ชัยพัฒนา แต่ถ้าแหล่งน�้ำไม่ลึกมากควรใช้เครื่องกลเติมอากาศ แบบอัดอากาศและดูดน�้ำ 2) รางพื ช จะสร้ า งไว้ บ ริ เวณขอบสระน�้ ำ ที่ ใ กล้ กั บ จุดที่น�้ำเสียมากที่สุด เป็นรางที่ ท�ำด้วยคอนกรีต หรือไม้ก็ได้ ซึ่งมีอยู่ 2 ขนาด คือ ขนาดเล็ก 0.5 x 10 x 0.5 เมตร และ ขนาดใหญ่ 1.0 x 20 x 0.5 เมตร จะวางในแนวเส้นตรง หรือ โค้ง หรือแบ่งเป็นช่วง ๆ ก็ได้เช่นกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะ และ ความเหมาะสมของพื้นที่ 43
issue 127 August 2018
5) ตู้ควบคุมไฟฟ้าและสายไฟใต้น�้ำ เนื่องจากกังหัน ชัยพัฒนา หรือเครื่องกลเติมอากาศ แบบอัดอากาศและดูดน�้ำ ตลอดจนเครื่องสูบน�้ำจะต้องใช้ ไฟฟ้าในการขับเคลื่อนระบบ ดังกล่าว สามารถลดปริมาณสาหร่ายชั้นต�่ำ ซึ่งเป็นสาเหตุของ น�้ำที่มีสีเขียว ลดจ�ำนวนการใช้เครื่องกล เติมอากาศ ลดพื้นที่ ที่ใช้ในการปรับปรุงคุณภาพน�้ำท�ำให้น�้ำใสขึ้นน�้ำสีเขียวลดลง กลิ่นเหม็น หายไป สามารถวัดสภาพน�้ำได้ง่าย และดูการเจริญ เติบโตของพืชโดยไม่ต้องใช้เครื่องมือ ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งหาก พืชหยุดเจริญเติบโตแสดงว่าแหล่งน�้ำนั้นๆ มีคุณภาพน�้ำดีขึ้น นอกจากนี้ ราคายังถูกดูแลรักษาง่ายและช่วยท�ำให้ภูมิทัศน์ ศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นาอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ ทั้ ง ของพื้ น ที่ ส วยขึ้ น อี ก ด้ ว ย เป็ น ไปตามแนวพระราชด� ำ ริ ของ 6 ศู น ย์ เป็ น สถานที่ ใ นการศึ ก ษา ทดลอง และ ด� ำ เนิ น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในปัจจุบันได้ติดตั้งในแหล่งน�้ำ การสนองพระราชด� ำ ริ เ กี่ ย วกั บ หญ้ า แฝกอย่ า ง อื่นๆ ไปแล้วกว่า 171 แห่ง อาทิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มากมาย โดยมี กิ จ กรรมเช่ น การศึ ก ษา ค้ น คว้ า โรงพยาบาลมวกเหล็ก เทศบาลต�ำบลท่าม่วงจังหวัดกาญจนบุรี ทดลอง การน� ำ หญ้ า แฝกไปใช้ ป ระโยชน์ ใ นลั ก ษณะ หนองโสน จังหวัดนครราชสีมา สระมุจลินท์ในวัดมหาโพธิมหา วิหาร ประเทศอินเดีย ซึ่งกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้ทูลเกล้าฯ ต่ า งๆ ตลอดจนการขยายผลต่ อ เกษตรกร ถวายจดทะเบียน และออกสิทธิบัตร เลขที่ 29091 ให้กับระบบ ปรับ/ปรุงคุณภาพน�้ำ ด้วยรางพืชร่วมกับเครื่องกลเติมอากาศ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2553 • น�้ำดีไล่น�้ำเสีย เป็นหลักการบ�ำบัด น�้ำเสียโดยการท�ำให้ 3) พืชแช่น�้ำ เช่น พุทธรักษา ปักษาสวรรค์ ต้นเตย เป็นต้น ปลูกไว้ในรางพืชโดยใช้ทรายหยาบเป็นวัสดุส�ำหรับ เจือจาง (Dilution) ตามแนวทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจาก ปลู ก พื ช ส่ ว นจะเลื อ กพื ช แช่ น�้ ำ ชนิ ด ไหนนั้ น ขึ้ น อยู ่ กั บ พื้ น ที่ พระราชด�ำริ “น�้ำดีไล่น�้ำเสีย” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ความเหมาะสม และภูมิทัศน์ ซึ่งเมื่อปลูกแล้วจะต้องดูสวยงาม ทรงใช้ปรากฏการณ์น�้ำขึ้นน�้ำลงตามกฎแรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity Flow) โดยการใช้น�้ำที่มีคุณภาพดีช่วยผลักดันน�้ำ กลมกลืนกับสถานที่ 4) เครื่องสูบน�้ำ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 2 นิ้ว เน่าเสียออกไป และช่วยให้น�้ำเน่าเสียมีสภาพเจือจางลง ทั้งนี้ เพื่อสูบน�้ำจากแหล่งน�้ำให้ไหลผ่าน รางพืชอย่างช้าๆ แล้วไหล โดยรั บ น�้ ำ จากแม่ น�้ ำ เจ้ า พระยา หรื อ จากแหล่ ง น�้ ำ ภายนอก กลับลงสู่แหล่งน�้ำอีกครั้ง วนเป็นวัฏจักรอย่างนี้ประมาณวันละ ส่ ง เข้ า ไปตามคลองต่ า งๆ เช่ น คลองบางเขน คลองบางซื่ อ 6-12 ชั่วโมง ขึ้นอยู่กับสภาพแหล่งน�้ำนั้นว่ามีน�้ำเสียมากน้อย คลองแสนแสบ คลองเทเวศร์ หรือคลองบางล�ำพู เป็นต้น ซึ่ง กระแสน�้ำ จะไหลแผ่กระจายขยายไปตามคลองซอยที่เชื่อมกับ แค่ไหน แม่น�้ำเจ้าพระยาอีกด้านหนึ่ง ดังนั้น เมื่อการก�ำหนดวงรอบเกี่ยว กับการไหลของน�้ำไปตามคลองต่างๆ นับแต่ปากคลองที่น�้ำไหล เข้าจนถึงปลายคลองที่น�้ำไหลออกได้อย่างเหมาะสม โดยที่น�้ำ สามารถไหลเวียนไปตามล�ำคลองได้ตลอดแล้ว ย่อมสามารถ เจือจางน�้ำเน่าเสียและชักพาสิ่งโสโครกไปได้มาก ซึ่งจะเป็น วิธีการช่วยบรรเทาน�้ำเน่าเสียในคลอง ต่างๆ ตอนช่วงฤดูแล้ง ได้อย่างดี ดังพระราชด�ำรัส เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2539 ความตอนหนึ่งว่า “...นอกจากจะใช้ คลองเป็ น ทางระบายน�้ ำ แล้ ว ก็ ใช้ น�้ ำ ผลั ก หรื อ เรี ย กว่ า ชั ก โครกเพื่ อ ช่ ว ยให้ น�้ ำ ในล� ำ คลองต่ า งๆ ดี ขึ้ น เอาเริ่ ม 3คลองก่ อ นคื อ คลองเทเวศร์ ค ลอดหลอดและ 44 IS AM ARE www.fosef.org
ขุดลอกคลองนี้พร้อมก�ำจัดวัชพืชเพื่อให้เป็นคลองสายหลักใน การผันน�้ำคุณภาพดีไปช่วยบรรเทาให้น�้ำเสียให้เจือจางลง...” จากแนวพระราชด� ำ ริ ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น นี้ จึ ง บั ง เกิ ด กรรมวิธีในการบ�ำบัดน�้ำเสีย 2 ประการตามแนว พระราชด�ำริ “น�้ำดีไล่น�้ำเสีย” คือ วิ ธี ที่ ห นึ่ ง ให้ เ ปิ ด ประตู อ าคารควบคุ ม น�้ ำ รั บ น�้ ำ จาก แม่น�้ำเจ้าพระยาในช่วงจังหวะน�้ำขึ้น และ ระบายออกสู่แม่น�้ำ เจ้าพระยาตอนระยะน�้ำลง ซึ่งมีผลท�ำให้น�้ำตามล�ำคลองมีโอกาส ไหลถ่ายเทกันไปมามากขึ้นกว่าเดิม เกิดมีการหมุนเวียนของน�้ำที่ มีสภาพเน่าเสีย กลิ่นเหม็น กลายเป็นน�้ำที่มีคุณภาพดีขึ้น วิธีที่สองให้ขุดลอกคลองเปรมประชากรพร้อมทั้งก�ำจัด วัชพืช เพื่อให้เป็นคลองสายหลักในการผันน�้ำ คุณภาพดีไป
คลองแสนแสบยังเหลือต้องท�ำต่อคือคลองลาดพร้าวที่เชื่อมจาก คลองแสนแสบไปทะลุคลองดอนเมืองจากโครงการนี้ปรากฏว่า ได้ผลน�้ำในคลองสะอาดขึ้นมากวิธีการ “ชักโครก” ก็คือใช้การ ปิดเปิดน�้ำให้ได้จังหวะเวลาน�้ำขึ้นสูงก็เปิดประตูน�้ำให้น�้ำดีเข้า มาไล่น�้ำเน่าเวลาน�้ำทะเลลงก็เปิดประตูถ่ายน�้ำออกจากคลอง ไปด้วย...” และพระราชด� ำ ริ เ มื่ อ คราวเสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ไป ทอดพระเนตรที่บริเวณปากคลองเปรมประชากร เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2531 ความตอนหนึ่งว่า “...คลองเปรมประชากรช่ ว งตอนล่ า งเป็ น คลองสาย หนึ่งที่สามารถรับน�้ำจากแม่น�้ำเจ้าพระยาไปช่วยบรรเทาน�้ำเสีย โดยส่งกระจายไปตามคลองต่างๆของกรุงเทพมหานครจึงควร 45
issue 127 August 2018
46 IS AM ARE www.fosef.org
ช่วยเหลือราษฎรในการกักเก็บ น�้ำจืด บรรเทาอุทกภัย และ ป้องกันน�้ำเค็ม โครงการพั ฒ นาพื้ น ที่ ลุ ่ ม น�้ ำ บางนราอั น เนื่ อ งมาจาก พระราชด�ำริ มีวิธีการและขั้นตอนด�ำเนินงาน ตามแนวพระ ราชด�ำริ ที่มีหลักการส�ำคัญว่า ต้องหากลวิธีแยกน�้ำ 3 รส คือ น�้ำจืด น�้ำเค็ม และน�้ำเปรี้ยวที่ผสมปนเปกันจนไม่สามารถใช้ใน การอุปโภคบริโภคและท�ำการเกษตรกรรมได้ ให้สามารถกลับ มาใช้ ประโยชน์ได้อีกครั้ง นับตั้งแต่การสร้างประตูระบายน�้ำ บางนราตอนบนและตอนล่าง จัดวางระบบชลประทาน โดยการ ใช้แรงโน้มถ่วงของโลก สูบน�้ำด้วยไฟฟ้า และสูบน�้ำด้วยเครื่อง สูบน�้ำขนาดเล็กเคลื่อนที่ จัดวาง ระบบระบายน�้ำเพื่อบรรเทา อุทกภัยและระบายน�้ำเปรี้ยว และล�ำดับสุดท้ายเป็นการบริหาร จัดการน�้ำ โดยอาศัยศาสตร์การบริหารจัดการน�้ำอย่างสมดุล คือ ควบคุมประตูระบายน�้ำให้รักษาระดับน�้ำที่ระดับ กักเก็บตามที่ ก�ำหนด พร้อมทั้งควบคุมการเปิด-ปิดบานปิดกั้นน�้ำเค็มรุกล�้ำ ได้อย่างถาวร รวมถึงมีระบบ รับส่งสัญญาณข้อมูลทางไกลช่วย น อ ก จ า ก นี้ ยั ง มี โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ห ญ ้ า แ ฝ ก ใ น ในการควบคุมการเปิด-ปิดอาคารบังคับน�้ำ มีผลท�ำให้สามารถ โครงการพั ฒ นาดอยตุ ง อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด�ำ ริ บรรเทาภาวะอุกทกภัย โดยลดจ�ำนวนวันน�้ำท่วมขัง และบรรเทา จั ง หวั ด เชี ย งราย มี ก ารปลู ก หญ้ า แฝกเป็ น เขื่ อ น ความเสียหายแก่ผลผลิตการเกษตรได้ ตลอดจนช่วยลดปัญหา ธรรมชาติ เ พื่ อ ป้ อ งกั น การชะล้ า งพั ง ทลายของดิ น น�้ำเปรี้ยวในแม่น�้ำบางนราให้มีคุณภาพดีกว่าเดิม และที่ส�ำคัญ การกั ด กร่ อ นผิ ว ดิ น การกั ด เซาะดิ น ไม่ ใ ห้ เ ลื่ อ นไหล ประชาชน ในท้องถิ่นไม่ได้รับผลกระทบจากการด�ำเนินโครงการ และเพื่ อ กรองตะกอนดิ น ที่ น�้ ำ พามา ตลอดจน ลด แต่กลับช่วยให้วิถีชีวิตดีขึ้น จากอาชีพเดิมที่เคยท�ำ คือการท�ำ ความเร็ ว ของน�้ ำ ท� ำ ให้ ดิ น ดู ด ซั บ น�้ ำ ได้ ดี ขึ้ น ประมงพื้นบ้านซึ่งมี รายได้ไม่แน่นอน เปลี่ยนเป็นการเลี้ยงปลา ในกระชัง ท�ำให้มี รายได้ที่แน่นอน และเปลี่ยนจากเลี้ยงปลา กะพงเป็นเลี้ยงปลาเก๋าแทน ซึ่งเป็นปลาที่มีราคาขายสูง การจัดการลุ่มน�้ำบางนรานับเป็นตัวอย่างของการพัฒนา • การจัดการลุ่มน�้ำบางนรา จังหวัดนราธิวาส ในอดีต มีแต่ความอุดมสมบูรณ์ ต่อมาเกิดปัญหา น�้ำเค็มรุกล�้ำเข้ามา ภู มิ สั ง คมที่ ดี ใ นการใช้ ท รั พ ยากรธรรมชาติ ที่ มี อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง ในแม่น�้ำบางนรา เมื่อฝนตกหนักจะเกิดปัญหาน�้ำท่วมในพื้นที่ เป็นการผสมผสานวิทยาการแนวใหม่กับหลักธรรมชาติ และวิถี เกษตรกรรมเป็นบริเวณกว้าง ขณะเดียวกันไม่มีแหล่งน�้ำและ ชีวิตของผู้คน อย่างกลมกลืน เกิดประโยชน์สูงสุดต่อชีวิตมนุษย์ ระบบเก็ บ กั ก น�้ ำ จึ ง ท� ำ ให้ ข าดแคลนน�้ำ จื ด อี ก ทั้ ง น�้ ำ ป่ า ไหล และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน • การทดลองปลู ก หญ้ า แฝกภายในศู น ย์ ศึ ก ษาการ ผ่านพื้นที่พรุ กลายเป็นน�้ำเปรี้ยวไม่สามารถน�ำมาใช้อุปโภค พัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ และพื้นที่ต่างๆพระบาท บริโภคได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้ หลักความเข้าใจ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานแนวทางการท�ำงานแก่กลุ่ม ในวิถีธรรมชาติ ของน�้ำ การขึ้นลงของน�้ำ ตามแรงโน้มถ่วงของ ผู้เชี่ยวชาญ และ มีรับสั่งให้ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย โลก ความแปรเปลี่ยนของสภาพแวดล้อม และการน�ำระบบ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ และศูนย์ศึกษาการพัฒนา เขา ชลประทานสมัยใหม่ เข้ามาช่วยในการจัดการน�้ำให้เกิดความ หินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ศึกษาทดลองปลูกหญ้า สมดุ ล และสอดคล้ อ งกั บ วิ ถี ก ารด� ำ เนิ น ชี วิ ต ของราษฎรโดย แฝกเพื่อป้องกันดินพังทลายในระยะแรกจนได้ผลดี จึงขยาย พระราชทานพระราชด� ำ ริ ใ ห้ ก รมชลประทานก่ อ สร้ า งประตู ไปยั ง ศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นาฯ อื่ น ๆ รวมถึ ง ขยายไปยั ง พื้ น ที่ ระบายน�้ำที่ปากแม่น�้ำบางนรา พร้อมระบบ ชลประทานและ ต่างๆ ที่มีปัญหาเรื่องดิน ในสภาพภูมิประเทศที่ต่างกัน โดย ระบบระบายน�้ ำ ในพื้ น ที่ ต ามความเหมาะสม เพื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ น�ำมาศึกษาและทดลอง ตลอดจนการศึกษาเปรียบเทียบพันธุ์ ช่วยบรรเทาให้น�้ำเสีย เจือจางลงและให้คลองเปรมประชากร ตอนล่ า งเป็ น คลองที่ ส ามารถรั บ น�้ ำ จากแม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาไป ช่ ว ยบรรเทาน�้ำเสีย โดยส่งกระจายไปตามคลองต่ า งๆ ของ กรุงเทพมหานคร ส่วนคลองเปรมประชากรตอนบนนั้นให้หาวิธี รับน�้ำเข้าคลองเป็นปริมาณมากอย่างรวดเร็ว เพื่อเป็นการเพิ่ม ระดับน�้ำให้สูงขึ้น จะได้สามารถกระจายน�้ำ เข้าสู่ทุ่งบางไทรบางปะอินเพื่อการเพาะปลูก และเพื่อให้คลองเปรมประชากร ตอนบนมี ลั ก ษณะเป็ น อ่ า งเก็ บ น�้ ำ ใช้ ผ ลั ก ดั น น�้ ำ เน่ า เสี ย ใน คลองเปรมประชากรตอนล่างต่อไปได้ แนวพระราชด� ำ ริ ส องประการนี้ แสดงถึ ง พระปรี ช า สามารถในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ว่าทรงเชี่ยวชาญใน ด้านการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง และเป็นวิธีการ บ�ำบัดน�้ำเสียอย่างง่าย ประหยัดพลังงาน และสามารถปฏิบัติได้ ตลอดเวลา ซึ่งแสดงถึงพระปรีชาสามารถอันสูงยิ่งในพระวิริยะ อุตสาหะที่ทรงทุ่มเทเพื่อความสุขของปวงชนชาวไทย
47 issue 127 August 2018
การพัฒนาที่ดีขึ้นเมื่อใบไม้ย่อยสลายส่วนหญ้าแฝกที่ปลูกใน ระหว่างไม้ยืนต้นจะไม่ตายแต่ชะงักการเติบโตระยะหนึ่งเมื่อมี การตัดไม้ออกแฝกก็เจริญได้อีกครั้งให้ปลูกหญ้าแฝกในดินดาน โดยระเบิดดินดานเป็นหลุมแล้วปลูกหญ้าแฝกลงในหลุมเพื่อ ดันชั้นดินดานให้แตกสามารถดักตะกอนตลอดจนใบไม้ท�ำให้ เกิดดินใหม่ขึ้น...” นอกจากนี้ ยังมีโครงการพัฒนาหญ้าแฝกในโครงการ พัฒนาดอยตุง อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดเชียงราย มี การปลูกหญ้าแฝกเป็นเขื่อนธรรมชาติเพื่อป้องกันการชะล้าง พังทลายของดิน การกัดกร่อนผิวดิน การกัดเซาะดินไม่ให้เลื่อน ไหล และเพื่อกรองตะกอนดินที่น�้ำพามา ตลอดจน ลดความเร็ว ของน�้ำ ท�ำให้ดินดูดซับน�้ำได้ดีขึ้น ซึ่งประสบผลส�ำเร็จอย่างมาก สามารถป้องกันการสูญเสีย หน้าดินและน�้ำที่ไหลทิ้งไปโดยเปล่า ประโยชน์ ท�ำให้สภาพธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอันสมบูรณ์ฟื้น คืนกลับมา พร้อมที่จะน�ำพื้นที่มาใช้ประโยชน์ต่อไป ดังพระราช ด�ำรัส ณ โต๊ะเสวยที่ 1 ภายในพระต�ำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2535 ความตอนหนึ่งว่า “...น� ำ หญ้ า แฝกไปปลู ก ตามฐานปฏิ บั ติ การต่ า งๆ และหมู่บ้านใกล้เคียงแล้วขยายไปปลูกทั่วประเทศเนื่องจาก
หญ้าแฝก ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ต่างๆ ทรงติดตามงานและ ทรงสนั บ สนุ น ให้ ป ลู ก หญ้ า แฝกเป็ น แนวตามริ ม ร่ อ งน�้ ำ และ ลาดเขา รอบพื้ น ที่ กั ก เก็ บ น�้ ำ หรื อ ในสวนมะม่ ว งหิ ม พานต์ เป็นต้น และทรงย�้ำถึงความส�ำคัญของ การถ่ายภาพไว้เป็น หลักฐาน เพื่อแสดงให้เห็นสภาพ “ก่อน” และ “หลัง” การปลูก อันจะยืนยันถึง ประสิทธิภาพของหญ้าแฝกได้ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริทั้ง 6 ศูนย์ เป็นสถานที่ในการศึกษา ทดลอง และ ด�ำเนินการสนอง พระราชด�ำริเกี่ยวกับหญ้าแฝกอย่างมากมาย โดยมี กิจกรรม เช่น การศึกษา ค้นคว้า ทดลอง การน�ำหญ้าแฝกไปใช้ประโยชน์ ในลักษณะต่างๆ ตลอดจนการขยายผลต่อเกษตรกร ทั้งยังได้ มีการ อบรมให้ความรู้และสาธิตวิธีการปลูกหญ้าแฝกในลักษณะ ต่างๆ ไว้ในศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ เพื่อให้ ประชาชนผู้สนใจ ทั่วไปได้ศึกษา ตลอดจนแจกจ่ายพันธุ์หญ้าแฝกให้กับผู้ที่สนใจ ดังได้พระราชทาน พระราชด�ำริ ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหิน ซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ อ�ำเภอพนมสารคาม จังหวัด ฉะเชิงเทรา เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2550 สรุปความดังนี้ “...ให้ศึกษาการปลูกหญ้าแฝกในดินดานของต�ำบลเขา หินซ้อนซึ่งได้ เคยให้ท�ำในดินดานที่เขาชะงุ้มฯและห้วยทรายฯ การปลู ก หญ้ า แฝกรอบขอบแนวป่ า เพื่ อ ป้ อ งกั น การชะล้ า ง พั ง ทลายของหน้ า ดิ น เศษใบไม้ ที่ ร ่ ว งหล่ น จะช่ ว ยท� ำ ให้ ดิ น มี 48
IS AM ARE www.fosef.org
หญ้าแฝกมีคุณลักษณะที่เหมาะสมในการจัดระบบอนุรักษ์ดิน โดยการปลู ก เป็ น แนวรั้ ว กั้ น ตามระดั บ ชั้ น และได้ มี ก ารศึ ก ษา ทดลองใช้อย่างได้ผลดีในประเทศแถบเอเชียหลายประเทศแล้ว นอกจากนี้ยังพบว่าการปลูก หญ้าแฝกยังส่งผลให้การเพาะปลูก พืชอื่นๆระหว่างแนวรั้วหญ้าแฝกนั้นให้ผลผลิตได้อย่างเต็มที่ มากขึ้น...” • การปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก เป็นแนวพระราชด�ำริ เพื่อฟื้นฟูสภาพป่าเสื่อมโทรม โดยใช้ หลักกฎธรรมชาติ อาศัย วงจรป่าไม้และการทดแทนตามธรรมชาติ คือการสร้างสมดุล ธรรมชาติด้วยวิธี ปล่อยให้ต้นไม้เติบโตอย่างอิสระ ไม่เข้าไป รบกวนอย่างน้อย 5 ปี ปล่อยให้ธรรมชาติช่วยในการฟื้นฟู ธรรมชาติ โดยในช่วงเวลา 5 ปี ต้นไม้จะงอกงามโดยอาศัยวงจร การเจริญเติบโต การทับถม ทดแทนตามธรรมชาติ เกิดเป็น สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการ เติบโตของกล้าไม้ และให้เวลา พันธุ์ ไม้ ที่ถูกท�ำลายได้มี ช่วงฟื้นตัวพืช และพรรณไม้ต่างๆ จะ ค่อยๆ เจริญเติบโต แตกหน่อ แตกกอ ช่วยให้ระบบนิเวศของ
สิ่งมีชีวิต เริ่มเกิดขึ้นและเกื้อกูลกัน ต้นไม้เล็กๆ สามารถขึ้นคลุม ดินไว้ให้เกิดความชุ่มชื้น ไม้ยืนต้นก็สามารถเติบโตให้ร่มเงาช่วย ปกป้องการระเหยของน�้ำในดิน และหากปล่อยป่าทิ้งไว้ได้ถึง 30-50 ปี ป่าเต็งรังซึ่งเป็นป่าโปร่ง มีต้นไม้ขนาดเล็กและขนาด กลาง ขึ้นกระจัดกระจาย จะกลายเป็นป่าเบญจพรรณซึ่งเป็น ผืนป่าที่มีไม้ขนาดกลางและเป็นแหล่งก�ำเนิดของ ไม้ที่มีคุณค่า ทางเศรษฐกิจ เช่น ไม้สัก ไม้แดง ไม้ประดู่ เป็นต้น พื้นที่ตัวอย่างการปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูกได้แก่ ศูนย์ ศึกษาวิธีการฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมเขาชะงุ้ม อันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ซึ่งพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว มีพระราชด�ำรัส เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2537 ความ ตอนหนึ่งว่า “...เรื่องต้นไม้ขึ้นเองมีอีกแห่งหนึ่งที่ท่านทั้งหลายก็ควร จะไปได้เพราะไปง่าย คือโครงการเขาชะงุ้ม ที่จังหวัดราชบุรีที่ ตรงนั้นอยู่ใกล้ภูเขาเป็นที่ท่ีป่าเสียไปเป็นป่าเสื่อมโทรม ที่เรียก ว่าป่าเสื่อมโทรมเพราะมันไม่มีต้นไม้ ไม่มีชิ้นดีเริ่มท�ำโครงการ นั้นมาประมาณ 7 ปีเหมือนกัน ไปดูเมื่อสัก 2 ปี หลังจากทิ้งป่า นั้นไว้ 5 ปี ตรงนั้นไม่ได้ท�ำอะไรเลย แต่ป่าเจริญเติบโตขึ้นมา เป็นป่าอุดมสมบูรณ์ไม่ต้องไปปลูกสักต้นเดียว คือว่าการปลูก ป่านี้ส�ำคัญอยู่ที่ปล่อยให้เขาขึ้นได้คืออย่าไปตอแยต้นไม้อย่าไป รังแกต้นไม้เพียงแต่ว่าคุ้มครองเขาหน่อยเขาขึ้นเอง...ถ้าพูดเรื่อง ปลูกป่านี้จะยืดยาวมากไม่มีสิ้นสุดแต่จะต้องอธิบายอย่างนี้ว่า ถ้าได้เลือกที่ที่เหมาะสมแล้วก็ทิ้งให้อยู่อย่างนั้นโดยไม่ไปรังแก ป่าต้นไม้ก็จะขึ้นเอง...”
การปลู ก ป่ า 3 อย่ า ง ประโยชน์ 4 อย่ า ง จึ ง เป็ น แนวพระราชด� ำ ริ ผ สมผสานระหว่ า ง การอนุ รั ก ษ์ และฟื ้ น ฟู ท รั พ ยากรป่ า ไม้ ป้ อ งกั น การบุ ก รุ ก ท� ำ ลาย ป่ า ควบคู ่ ไ ปกั บ การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และ สั ง คม เช่ น ศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นาภู พ านอั น เนื่ อ งมาจาก พระราชด� ำ ริ จั ง หวั ด สกลนคร จากสภาพภู เ ขา ที่ เคยถู ก บุ กรุ ก จนแห้ ง แล้ ง กลั บ ฟื ้ น คื น ความอุ ด ม สมบู ร ณ์ ตลอดปี
49 issue 127 August 2018
น�้ ำ ดี ไ ล่ น�้ ำ เสี ย เป็ น หลั ก การบ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย โดยการ ท� ำ ให้ เ จื อ จาง (Dilution) ตามแนว ทฤษฎี ก าร พั ฒ นาอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ “น�้ ำ ดี ไ ล่ น�้ ำ เสี ย ” พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงใช้ ป รากฏการณ์ น�้ ำ ขึ้ น น�้ ำ ลงตามกฎแรงโน้ ม ถ่ ว งของโลก (Gravity Flow) โดยการใช้ น�้ ำ ที่ มี คุ ณ ภาพดี ช ่ ว ยผลั ก ดั น น�้ ำ เน่ า เสี ย ออกไป และช่ ว ยให้ น�้ ำ เน่ า เสี ย มี ส ภาพเจื อ จางลง
ผลจากการด� ำ เนิ น งานตามพระราชด� ำ ริ ท� ำ ให้ เขา ชะงุ้มซึ่งเดิมมีสภาพเป็นภูเขาดินลูกรัง ดินร่วนปนลูกรังและ กรวดหิน ไม่มีแหล่งน�้ำธรรมชาติ สภาพอากาศแห้งแล้ง ซึ่งป่า เดิมเป็นป่าเต็งรัง แต่ถูกบุกรุกท�ำลายจนเป็นภูเขาหัวโล้นแห้ง แล้งมาก เมื่อด�ำเนินการควบคุมมิให้มีการบุกรุกและป้องกัน ไม่ให้เกิดไฟป่า ส่งผลให้พืชพันธุ์ไม้ ค่อยๆ ฟื้นตัวงอกงามขึ้น ทีละเล็กละน้อยจนกระทั่งมี ไม้ใหญ่ปกคลุมป่า อุดมสมบูรณ์ ยิ่งขึ้น ท�ำให้สัตว์ป่ากลับมาอาศัยเพิ่มมากขึ้น • การปลูกป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง เป็นแนว พระราชด� ำ ริ เพื่ อ โครงการปลู ก ป่ า อี ก ลั ก ษณะหนึ่ ง โดย ปลูกไม้ 3 ประเภทคือ ไม้ใช้สอย ไม้กินได้ และไม้เศรษฐกิจ นอกจากได้ประโยชน์ ตามชื่อของไม้แล้วยังช่วยรักษาความ ชุ่มชื้นให้แก่พ้ืนดินด้วย จึงเป็นการอนุรักษ์ดินและน�้ำในเวลา เดียวกัน ดังพระบรมราโชวาทในพิธีเปิดการสัมมนาการเกษตร ภาคเหนือ ณ งานเกษตรภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2524 ความตอนหนึ่งว่า “...การปลูกป่าถ้าให้ ราษฎรมีประโยชน์ให้ เขาอยู่ได้ ให้ เขาใช้ วิธีปลูกไม้ 3อย่างแต่มีประโยชน์ 4อย่างคือ ไม้ใช้ สอยไม้ กินได้ ไม้เศรษฐกิจโดยปลูกรองรับการชลประทานปลูกรับซับ น�้ำและปลูกอุดช่องไหลตามร่องห้วยโดยรับน�้ำฝนอย่างเดียว ประโยชน์ที่ 4 คือได้ระบบอนุรักษ์ดินและน�้ำ...
ป่า 3 อย่างนี้ มีไว้ ท�ำไมมีไว้ ส�ำหรับให้เป็นประโยชน์และ เมื่อเป็นประโยชน์ต่อราษฎรราษฎรก็ไม่ไปตัดและก็หวงแหน ไว้มิให้ใครมาตัดอันนี้เป็นข้อส�ำคัญที่ไหนเป็นป่าที่เรียบร้อยที่ ยังไม่โกร๋นราษฎรก็จะไม่ตัดเพราะรู้ไปหลายแห่งแล้วไปถาม ราษฎรว่าป่าตรงนั้นเป็นอย่างไรเขาบอกว่าป่ายังดีและถามว่า จะไปตัดไหมเขาบอกว่าไม่ตัด“ถ้าไปตัดเฮาแย่”เขาเข้าใจถ้าตัด ไม้แล้วจะแห้งแล้งและดินจะทลายลงมาถ้าเป็นที่ท�ำนาก็จะเสีย หายหมดเขารู้... เดี๋ ย วนี้ ทุ ก คนก็ ค งเข้ า ใจแล้ ว ว่ า “ป่ า 3อย่ า ง”นั้ น คื อ อะไรแต่ ใ ห้ เข้ า ใจว่ า “ป่ า 3อย่ า ง”นี้ มี ป ระโยชน์ 4 อย่ า ง ไม่ใช่3อย่าง“ป่า3อย่าง”ที่บอกว่าเป็นไม้ฟืนเป็นไม้ผลและไม้ 50
IS AM ARE www.fosef.org
สร้ า งบ้ า นนั้ น ความจริ ง เป็ น ไม้ ฟ ื น กั บ ไม้ ใช้ ส อยก็ อั น เดี ย วกั น แต่เราแบ่งออกไปเป็นไม้ท�ำฟืนไม้สร้างบ้านรวมทั้งไม้ท�ำศิลป หัตถกรรมแล้วก็ไม้ผล...” ดังนั้นการปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง จึงเป็น แนวพระราชด� ำ ริ ผ สมผสานระหว่ า ง การอนุ รั ก ษ์ แ ละฟื ้ น ฟู ทรั พ ยากรป่ า ไม้ ป้ อ งกั น การบุ ก รุ ก ท� ำ ลายป่ า ควบคู ่ ไ ปกั บ การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คม เช่ น ศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นา ภูพานอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดสกลนคร จากสภาพ ภูเขา ที่เคยถูกบุกรุกจนแห้งแล้งกลับฟื้นคืนความอุดมสมบูรณ์ ตลอดปี จะเห็นได้ว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเข้าใจ ธรรมชาติและมนุษย์อย่างเกื้อกูลกัน ท�ำให้คนอยู่ร่วมกับป่าได้ อย่างยั่งยืน • การสร้างฝายอนุรักษ์ต้นน�้ำ พัฒนามาจากฝายแม้ว ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทอดพระเนตร เมื่อครั้งเสด็จ พระราชด� ำ เนิ น ไปทรงเยี่ ย มราษฎรภาคเหนื อ ซึ่ ง เป็ น ระบบ ชลประทานแบบง่าย เพื่อรักษาความชุ่มชื้นให้แก่ป่าโดยเฉพาะ กล้าไม้อ่อนที่ก�ำลังเติบโต ฝายชะลอความชุ่มชื้นหรือ check dam ท� ำ จาก วั ส ดุ ที่ ห าได้ ง ่ า ยในบริ เวณนั้ น เช่ น ก้ อ นหิ น เศษไม้ ท�ำเป็นฝายกั้นน�้ำเล็กๆ ตามร่องน�้ำ โดยการยกระดับ
กั ง หั น ชั ย พั ฒ นา หรื อ เครื่ อ งกลเติ ม อากาศแบบอั ด อากาศและดู ด น�้ ำ จะเลื อ กใช้ แบบไหนนั้ น ขึ้ น อยู ่ กั บ สภาพของแหล่ ง น�้ ำ หากแหล่ ง น�้ ำ มี ข นาดใหญ่ แ ละ ลึ ก ควรใช้ เ ครื่ อ งกั ง หั น ชั ย พั ฒ นา แต่ ถ ้ า แหล่ ง น�้ ำ ไม่ ลึ ก มากควรใช้ เ ครื่ อ งกลเติ ม อากาศแบบอั ด อากาศ และดู ด น�้ ำ น�้ำให้สูงขึ้น และชะลอการไหลของน�้ำให้ช้าลงด้วยการกั้นน�้ำ ในร่องน�้ำ น�้ำส่วนที่ชะลอและเก็บไว้ ในฝายจะช่วยเพิ่มและยืด เวลาความชุ่มชื้นในดิน และชั้นบรรยากาศในบริเวณโดยรอบให้ ยาวนาน เป็นการเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับผืนป่า ท�ำให้ป่ามีสภาพ ดีขึ้นตามล�ำดับ สามารถกลับมาผลิตน�้ำหล่อเลี้ยง ประเทศได้ ดั ง เดิ ม แหล่ ง น�้ ำ บนภู เขาไม่ เ หื อ ดแห้ ง อี ก ต่ อ ไป ดั ง พระราช ด�ำรัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิ ต รลดา พระราชวั ง ดุ สิ ต เมื่ อ วั น ที่ 4 ธั น วาคม 2537 ความตอนหนึ่งว่า “...การปลูกป่าปลูกหญ้าแฝก.สองอย่างนี้ต้องท�ำเข้า คู่กันได้ท�ำตัวอย่างให้ดูที่จังหวัดนครนายก.เป็นพื้นที่เล็กๆ ได้ ท�ำเป็นเขื่อนกั้นน�้ำส�ำหรับชะลอน�้ำไม่ใช่เขื่อนกันน�้ำใหญ่ๆหรือ เขื่อนเล็กๆแต่ว่าเป็นฝายเล็กๆในบริเวณนั้นมีฝายชะลอน�้ำ 35 ตัวแต่ค่าท�ำฝาย35ตัวนี้คนอาจจะนึกว่า 35 ล้าน ไม่ใช่ 2 แสน บาทท�ำได้ 35 ตัว ยังไม่ได้เห็นแต่ว่ากล้าที่จะยืนยันได้ว่าได้ผล... ไปดูว่าป่าจะขึ้นอย่างไร เพิ่งเสร็จมาไม่กี่เดือนจะเห็นว่าป่านั้น เจริญไม่ต้องไปปลูกสักต้นเดียวมันขึ้นเอง...”
51 issue 127 August 2018
52 IS AM ARE www.fosef.org
53 issue 127 August 2018
54 IS AM ARE www.fosef.org
55 issue 127 August 2018
56 IS AM ARE www.fosef.org
57 issue 127 August 2018
58 IS AM ARE www.fosef.org
59 issue 127 August 2018
ความทรงจ�ำ โดย พญ.จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ
60 IS AM ARE www.fosef.org
พ่ อ แม่ ยุ ค ใหม่ ความทรงจ� ำ ที่ แ สดงออกเป็ น นั ย ๆ เป็นความทรงจ�ำที่เราดึงมาใช้โดยไม่รู้ตัว เราจะพบว่า บ่อยครั้งที่เราเลียนแบบค�ำพูดของคนอื่น โดยเราไม่รู้ตัว เช่น เรา ไม่รู้จักค�ำว่า “อานาปานสติ” มาก่อน แล้ววันหนึ่ง เราได้ยินผู้ ที่เราเคารพนับถือพูดถึงเรื่องนี้ เราไม่ได้ตั้งใจจะจดจ�ำค�ำ ๆ นี้ไว้ แต่เราได้ซึมซับไว้โดยไม่รู้ตัว แล้วหลายวันต่อมา เราไปถกเรื่อง ธรรมะกับเพื่อน แล้วเราก็พูดค�ำ ๆ นี้ออกมาได้ทันที ที่ง่ายกว่านี้ ก็คือ ค�ำสบถ ค�ำพูดติดปากทั้งหลาย ทั้งที่สุภาพและไม่สุภาพ โดยเฉพาะเราไม่เคยสอนลูกเราให้สบถ แต่ท�ำไมเด็กจึงสบถตาม เราได้อย่างรวดเร็ว ก็เพราะความทรงจ�ำส่วนนี้มีอิทธิพลต่อชีวิต ประจ�ำวันของเรามากทีเดียว ถ้าผู้ใหญ่เข้าใจเรื่องนี้ ก็จะต้องมีสติ ในการพูดคุยกันในบ้าน ในขณะทีล่ กู ๆ ฟังเราอยู่ หรือ พฤติกรรม อะไรที่เราไม่ชอบ แต่เราก็เผลอท�ำออกไป เช่น ด่าสุนัข แต่เรา ไม่เคยสอนและไม่อยากให้ลูกรู้จักค�ำด่าใช่ไหม แต่เราเผลอท�ำไป แล้ว สมองของลูกก็น�ำไปเก็บไว้ในความทรงจ�ำส่วนนี้แล้ว โดย เฉพาะการซึมซับจากคนใกล้ชิดแบบซ�้ำ ๆ โดยไม่ได้ตั้งใจสอน เลย และจะเป็นปัญหาที่เราต้องกลับมาฝึกสอนเด็กใหม่ ให้ลืม สิ่งที่เราไม่ตั้งใจสอน เช่น พูดไม่เพราะแม่ไม่ชอบ แต่คนในบ้าน (เช่นคนเลี้ยงเด็ก) พูดให้ฟังบ่อย ๆ โดยไม่ตั้งใจ คุณแม่ก็จะต้อง กลับมาพยายามสอนลูกให้พูดเพราะ ซึ่งจะยากขึ้นมาก
บ่อย ๆ เหมือนกันที่เราไปสถานที่บางแห่ง หรือพบใคร ส่ ว นมากเพราะอคติ ข องเรา เรามั ก จดจ� ำ เฉพาะส่ ว น บางคน แล้วตัวเราก็รู้สึกว่า “มันคุ้นๆ เหมือนเคยมาที่นี่ หรือ ที่ เ ลวร้ า ยและลื ม เลื อ นส่ ว นที่ ดี ข องผู ้ ใ หญ่ ค นนั้ น ไป พบคนนี้มาแล้ว แต่จ�ำไม่ได้” อะไรประมาณนี้ ลักษณะแบบนี้ ท� ำ ให้ เ ราฝั ง ใจว่ า คนลั ก ษณะแบบนี้ เราจะไม่ ค บหา คนฝรั่งเศสเรียกว่า เด จา วู และอีกแบบหนึ่งก็คือ “จา ไม วู” ไม่ เ ข้ า ใกล้ นี่ จ ะเป็ น การไม่ เ ปิ ด โอกาสให้ ตั ว เอง ก็เป็นภาษาฝรั่งเศสเหมือนกันค่ะ หมายถึง สถานที่ เหตุการณ์ ในการเข้ า ไปรู ้ จั ก หลากหลายมุ ม ของมนุ ษ ย์ แ ต่ ล ะ หรือ บุคคล ที่เรารู้สึกว่าไม่เคยประสบมาก่อน ไม่เคยพบมาก่อน ทั้งที่เราแน่ใจอย่างยิ่งว่า เราเคยพบหรือประสบมาแล้ว ก็เป็น ประเภท ตรงข้ามกับเด จา วู ที่กล่าวมาแล้ว สาเหตุก็คือ ภาวะแวดล้อม ที่ปรากฏในปัจจุบันไม่เข้ากับสิ่งที่เราเคยเรียนรู้หรือประสบมา ความทรงจ� ำ แบบเดจาวู แล้ว ท�ำให้เราจ�ำมันไม่ได้ ฉบับที่แล้วเข้าเรื่องความทรงจ�ำระยะยาวโดยเฉพาะสิ่ง ปรากฏการณ์อีกแบบที่เราพบบ่อยก็คือ ความทรงจ�ำ ที่เราจดจ�ำโดยไม่รู้ตัว ทั้ง ๆ ที่เราไม่เคยตั้งใจสอน แต่เราเผลอ อันเนื่องจากเหตุการณ์ที่เราประทับใจมาก ๆ ทั้งในด้านบวก ท�ำให้ลูกดู หรือ รับซึมซับจากเราบ่อย ๆ เพราะนิสัยของเรา เช่น หรือ ลบ เช่น เราคงจดจ�ำภาพยนตร์สมัยก่อนที่เราชอบมาก ๆ นิสัยพูดไม่เพราะ การชอบสบถ ฯ จากความทรงจ�ำของเราใน ดูตั้ง 5-6 ครั้ง ก็ไม่เบื่อ หรือ แม้เป็นเหตุการณ์เพียงครั้งเดียว เช่น รูปแบบต่าง ๆ ทั้งความทรงจ�ำระยะสั้น ความทรงจ�ำระยะยาว การเสียชีวิตของเจ้าหญิงไดอานา ที่เป็นขวัญใจของคนจ�ำนวน ทั้งแบบที่ชัดเจน และที่ไม่รู้ตัว นักวิจัยสนใจปรากฏการณ์ใน มาก แม้เราไม่ได้ประสบด้วยตนเอง อ่านจากข่าว หลาย ๆ คนก็ เรื่องการดึงความทรงจ�ำออกมาใช้ในรูปแบบต่าง ๆ หนึ่งในนั้น ยังมีความทรงจ�ำเสมือนเพิ่งเกิดเมื่อไม่นานนี้เอง หรือเหตุการณ์ ก็คือ เดจาวู ในอดีตอย่างเช่น นักร้องวงโปรด จอน เลนนอนถูกฆ่าตาย หรือ 61 issue 127 August 2018
บ่ อ ย ๆ เหมื อ นกั น ที่ เ ราไปสถานที่ บ างแห่ ง หรื อ พบ ใครบางคน แล้ ว ตั ว เราก็ รู ้ สึ ก ว่ า “มั น คุ ้ น ๆ เหมื อ น เคยมาที่ นี่ หรื อ พบคนนี้ ม าแล้ ว แต่ จ� ำ ไม่ ไ ด้ ” อะไร ป ร ะ ม า ณ นี้ ลั ก ษ ณ ะ แ บ บ นี้ ค น ฝ รั่ ง เ ศ ส เ รี ย ก ว ่ า เด จา วู
โอ้โฮ โล่งอกทั้ง ๆ ที่ไม่ใช่เรื่องใหญ่เลย แต่ท�ำความร�ำคาญให้ เรามาก ยิ่งอายุมากเท่าไร ก็จะพบลักษณะแบบนี้บ่อยกว่าเด็ก หรือ วัยรุ่น ค�ำอธิบายส�ำหรับเรื่องนี้มี 2 แบบ คือ ถ้าบางสิ่งที่ คล้าย ๆ กันเข้ามารบกวนความจ�ำ เช่น เราจะพยายามนึกชื่อ ขนมกล้วย แต่เพื่อนก�ำลังคุยกันเรื่องขนมใส่ไส้หรือส่งขนมมาให้ ซึ่งมันคล้ายกับขนมกล้วย เราจะพยายามนึกว่า เอ..ขนมที่ได้นี้ มันเรียกว่าอะไรนะ ค�ำอธิบายอีกอย่างคือ ความทรงจ�ำเกี่ยวกับ จรวดชาเลนเจอร์ที่ระเบิดเมื่อปี 2529 แม้เวลาผ่านไปนาน 20 เรื่องนั้นไม่สมบูรณ์ ท�ำให้เราไม่สามารถนึกชื่อได้สมบูรณ์ ปีแล้วก็ตาม หลายคนก็ยังคงจดจ�ำภาพที่เราเห็นจากทีวี เมื่อ อี ก ส่ ว นที่ ส� ำ คั ญ คื อ ความสามารถของเด็ ก ในการดึ ง จรวดเพิ่ ง ขึ้ น ไปยั ง ไม่ พ ้ น โลก แต่ เ กิ ด ระเบิ ด ขึ้ น ทั น ที นั ก บิ น ความทรงจ�ำได้อย่างถูกต้อง กับ ความทรงจ�ำที่บิดเบี้ยวไปจาก อวกาศทั้งหมดแหลกไปกับจรวดล�ำนั้น เพราะฉะนั้นความทรง สิ่งที่เราเคยประสบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มนุษย์เรามีแนวโน้มที่ จ�ำแบบนี้มีผลกระทบกับสมองของเราท�ำให้เราจ�ำได้นาน จะเชื่อว่า ความทรงจ�ำในวัยเด็กของเราเป็นสิ่งที่ถูกต้องและ อีกแบบหนึ่งที่พบบ่อยมาก ก็คือ “มันเหมือนติดอยู่ที่ น่าจดจ�ำอย่างยิ่ง ยิ่งถ้าเป็นเหตุการณ์หรือความทรงจ�ำที่มีราย ริมฝีปาก” ท�ำไมนึกไม่ออกนะ ท�ำให้เราหงุดหงิดจริง ๆ แล้ว ละเอียดมาก เช่น ความประทับใจในวัยเด็กสมัยประถมศึกษา สุ ด ท้ า ยเราก็ อ าจยอมแพ้ เ พราะนึ ก ไม่ อ อก หรื อ ลื ม ไปก่ อ น เราเป็นเด็กร�ำสวย แล้วได้รับโอกาสให้ร�ำถวายหน้าพระที่นั่งสัก สักพักเราก็กลับมาพยายามทบทวนความทรงจ�ำอีก พอนึกได้ ครั้งหนึ่ง แม้เป็นครั้งเดียวในชีวิตแต่เราพยายามจดจ�ำเหตุการณ์ 62 IS AM ARE www.fosef.org
และภาวะแวดล้อมทั้งหมด ในระหว่างที่ร�ำถวาย เราไปได้สวย จนจบเพลง เมื่อถึงเวลาที่เขาเรียกชื่อเราให้ออกไปรับรางวัลจาก พระหัตถ์ขององค์ประธาน ปรากฏว่าด้วยความตื่นเต้น เราสะดุด ผ้าถุงเซไปเกือบล้ม แต่ไม่ล้ม แล้วเราได้ยินเสียงหัวเราะ ขาย หน้าจริง ๆ เราคิดว่าเราจ�ำได้ทั้งหมด แต่ปรากฏว่า เหตุการณ์ หลังจากรับรางวัลนั้นหรือในช่วงรับรางวัลเราจ�ำไม่ได้แล้วหรือ จ�ำผิดไป ภายหลังเราได้รับรู้ก็น่าแปลกใจว่า ท�ำไมบางช่วงเรา จ�ำได้ถูกต้อง และบางช่วงเราจ�ำผิดไม่ตรงกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง นั ก วิ จั ย พยายามท� ำ ความเข้ า ใจปรากฎการณ์ นี้ ว ่ า เกิ ด ขึ้ น ได้ อย่างไร ทั้ง ๆ ที่มีแรงจูงใจให้เราจดจ�ำได้เกือบทั้งหมด เหตุผล ที่ค่อนข้างเห็นพ้องต้องกันก็คือ เพราะสมองของเราพยายามดึง ความทรงจ�ำบนฐานของอคติหรือสมมติฐานของเราเอง เพื่อให้ สามารถต่อเรื่องต่อราวให้ได้ตามเป้าหมาย ตามกระบวนคิดหรือ รูปแบบวิธีคิดของเรา เพราะฉะนั้น ส่วนที่เราควรช่วยและปลูก ฝังเด็ก ๆ ก็คือ แทนที่จะผลีผลามเชื่อความทรงจ�ำของเราทั้งหมด ควรกลับมาทบทวน และ มองหาหรือวิเคราะห์รายละเอียดเพื่อ ให้แน่ใจว่า สิ่งที่เราดึงออกมาเป็นไปได้จริง หรือ ใกล้เคียงกับ เหตุผลที่ควรจะเป็น ซึ่งตรงนี้ ต้องการการฝึกฝนเรื่องสติ ความ ระมัดระวัง ไม่ประมาท และ ไม่ใจร้อนที่จะหาข้อสรุป เพื่อ
ป้องกันการดึงความทรงจ�ำผิด ๆ ของเราออกมา เช่น เราอาจเคย มีความทรงจ�ำเกี่ยวกับผู้ใหญ่บางคนที่เราจ�ำได้ว่าเขาท�ำร้ายเรา อาจชอบดุด่าว่าเราหรือท�ำให้เราขายหน้า ส่วนมากเพราะอคติ ของเรา เรามักจดจ�ำเฉพาะส่วนที่เลวร้ายและลืมเลือนส่วนที่ดี ของผู้ใหญ่คนนั้นไป ท�ำให้เราฝังใจว่าคนลักษณะแบบนี้ เราจะ ไม่คบหา ไม่เข้าใกล้ นี่จะเป็นการไม่เปิดโอกาสให้ตัวเองในการ เข้าไปรู้จักหลากหลายมุมของมนุษย์แต่ละประเภท และ อาจ เสียโอกาสบางอย่างไป เพราะอคติในความทรงจ�ำของเรา ใน กระบวนการยุติธรรม การเป็นพยานในคดีต่าง ๆ ทั้งที่เราอาจ เป็นเจ้าทุกข์ เป็นจ�ำเลย หรือเป็นพยาน ทางระบบยุติธรรมจะ ต้องค�ำนึงถึง “ความทรงจ�ำที่ผิดเพี้ยน” โดยเฉพาะในเหตุการณ์ ที่ผ่านมานานแล้ว ด้วยเหตุของอคติในกระบวนการความทรงจ�ำ ในสมองของมนุษย์นั่นเอง 63 issue 127 August 2018
กาลเวลามีจริงหรือเปล่า ?
เรื่อง : ศ.ระพี สาคริก
64 IS AM ARE www.fosef.org
ความจริ ง ของชี วิ ต ในวิถีชีวิตประจ�ำวันของแต่ละคนมักนึกถึงเรื่องกาลเวลา เมื่อแต่ละคนรู้สึกว่าเกิดปัญหาและคิดแก้ไข หลายคนมักกล่าว อ้างว่าต้องใช้เวลา นิสัยกล่าวอ้างของคน หากมองย้อนกลับไปยังผู้กล่าว ย่อมท�ำให้เห็นความจริงว่า อาจต้องการแก้ตัวโดยคิดปฏิเสธที่ จะน�ำไปสู่ความรับผิดชอบหรือไม่อีกด้านหนึ่งอาจพูดปลอบใจ ผู้ซึ่งก�ำลังเป็นทุกข์ หากกล่าวถึงปัญหาชีวิตที่เกี่ยวข้องกับใครสักคนหนึ่ง หรือแม้มีผลต่อสังคมทั่วไป ถ้าผู้ซึ่งมีชีวิตสัมพันธ์อยู่กับปัญหา มี นิ สั ย กล่ า วอ้ า ง ย่ อ มแสดงให้ รู ้ ว ่ า บุ ค คลผู ้ นั้ น ขาดวิ ญ ญาณ การต่อสู้โดยที่รักความสบายใส่ตนและคิดว่าชีวิตตัวเองจะไป ได้ ต ลอดรอดฝั่ง ส�ำหรับ บุคคลผู้ซึ่งมีรากฐานจิ ต ใจมั่ น คงอยู ่ กับความจริง แม้วิถีชีวิตตัวเองจะเผชิญกับสิ่งซึ่งเข้ามาปิดกั้น ย่อมมีวิญญาณการต่อสู้ที่เข้มแข็ง นอกจากนั้น หากเป็นผู้มีรากฐานจิตใจมั่นคงเป็นพื้นฐาน อยู่แล้ว การต่อสู้ย่อมหวนกลับมามุ่ง ต่อสู้กับใจตนเอง สิ่ ง ที่ ก ล่ า วมาแล้ ว อาจมี บ างคนเข้ า ใจว่ า ถ้ า เช่ น นั้ น สิ่งซึ่งเข้ามาขัดขวางคงถูกปล่อยให้เป็นปัญหาต่อไปโดยไม่มี การแก้ไข
ก า ล เ ว ล า เ ป ็ น เ พี ย ง เ งื่ อ น ไ ข ที่ อ ยู ่ ใ น ก ร ะ แ ส การเปลี่ ย นแปลง ดั ง จะพบได้ ว ่ า ยุ ค ปั จ จุ บั น นี้ มี ก าร เดิ น ทางถึ ง กั น ได้ ร อบโลก แม้ ก าลเวลา ณ จุ ด หนึ่ ง หากเปลี่ ย นไป สู ่ อี ก จุ ด หนึ่ ง ย่ อ มแตกต่ า งกั น จึ ง น่ า จะเข้ า ใจได้ ว ่ า กาลเวลากั บ วิ ถี ก ารเปลี่ ย นแปลงน่ า จะ หมายถึ ง กระแสซึ่ ง มี ทั้ ง สองด้ า นร่ ว มกั น บุคคลใดมีความรู้สึกเช่นนั้น ย่อมสะท้อนให้เห็นว่ายัง ขาดการเข้ า ใจความจริ ง ของทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า ง ทั้ ง นี้ แ ละทั้ ง นั้ น เนื่องจาก สิ่งที่เข้ามาขวางกั้นจนท�ำให้เป็นปัญหานั้น แท้จริง แล้วก็ไม่ได้มีความมั่นคงตลอดไป ในที่สุดก็คงค่อยๆคลายหาย ไปอย่างเป็นธรรมชาติ ส่วนผู้ที่มุ่งข่มใจตนเอง ย่อมมีผลแก้ไขปัญหาภายใน รากฐานจิตใจตนร่วมด้วย จึงไปส่งผลสร้างปัญหาให้กับตนและ ผู้อื่น บุคคลใดเข้าใจการเปลี่ยนแปลงทั้งสองด้านซึ่งอยู่ภายใน ภาพรวมภายในรากฐานจิตใจตนเองย่อมรู้แล้วว่า กาลเวลาหาใช่ เป็นสิ่งมีตัวตน ท�ำให้น�ำมายึดติดไม่ได้ ดังนั้น ผู้ที่ยอมรับความ จริงได้แล้ว ย่อมเป็นคนใจเย็น เนื่องจากรู้เหตุและผลที่สอดคล้อง กันและกันทั้งด้านในและด้านนอก 65
issue 127 August 2018
นอกจากนั้ น ยั ง มี ผ ลท� ำ ให้ เ ชื่ อ มั่ น ในตนเองว่ า การเรียนรู้จากความหลากหลายของเพื่อนมนุษย์ ซึ่งตนมีโอกาส สัมผัสมาแล้ว ย่อมมีผลท�ำให้สามารถเรียนรู้ความจริงจากใจ ตนเอง อันหมายถึงศูนย์รวมของทุกสิ่งทุกอย่างจึงพบความจริง ได้แล้วทั้งหมด ก า ล เ ว ล า เ ป ็ น เ พี ย ง เ งื่ อ น ไข ที่ อ ยู ่ ใ น ก ร ะ แ ส การเปลี่ ย นแปลง ดั ง จะพบได้ ว ่ า ยุ ค ปั จ จุ บั น นี้ มี ก ารเดิ น ทาง ถึงกันได้รอบโลก แม้กาลเวลา ณ จุดหนึ่ง หากเปลี่ยนไป สู่อีก จุดหนึ่งย่อมแตกต่างกัน จึงน่าจะเข้าใจได้ว่า กาลเวลากับวิถี การเปลี่ยนแปลงน่าจะหมายถึงกระแสซึ่งมีทั้งสองด้านร่วมกัน นอกจากนั้น หากไม่ยึดติดอยู่กับกาลเวลา น่าจะช่วยให้มอง ทุกสิ่งทุกอย่าง โดยมีเหตุผลสานถึงกันได้หมด รากฐานจิตใจบุคคลใด ที่ก�ำหนดให้บุคคลผู้นั้นสามารถ มองทุกสิ่งทุกอย่างสานเหตุและผลเชื่อมโยงถึงกันได้หมด ย่อม อ่านความจริงซึ่งปรากฏอยู่ในรากฐานจิตใจได้ว่า มีสภาพที่ ว่างเปล่าถึงระดับหนึ่ง แล้วจึงมองเห็นค�ำตอบได้ว่า แท้จริงแล้ว กาลเวลาก็คือความว่างเปล่านั่นเอง บุ ค คลผู ้ เ ข้ า ถึ ง แล้ ว ย่ อ มหมายความว่ า สามารถ ค ว บ คุ ม จิ ต ใ จ ต น เ อ ง ใ ห ้ เ ป ็ น ผู ้ รู ้ เ ห ตุ รู ้ ผ ล แ ม ้ การบริ โ ภคอาหาร ย่ อ มไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งควบคุ ม อะไร ทั้ ง สิ้ น ทั้ ง นี้ แ ละทั้ ง นั้ น เนื่ อ งจาก ศู น ย์ บั ญ ชาการ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด อยู ่ ใ นรากฐานจิ ต ใจตนเองที่ ส ามารถ ค ว บ คุ ม ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อ ย ่ า ง ภ า ย ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร เปลี่ ย นแปลงของชี วิ ต ได้ อ ย่ า งเหมาะสมอยู ่ แ ล้ ว บางคนมักกล่าวว่า ท�ำอะไรหลายๆ อย่างร่วมกันควร รู้จักแบ่งเวลาให้ถูกต้อง หากบุคคลใดรับฟังค�ำพูดดังกล่าวแล้ว ขาดความรู้ความเข้าใจได้อย่างลึกซึ้ง น่าจะเป็นเพราะเหตุว่า ใน รากฐานจิตใจบุคคลผู้เข้าใจเช่นนั้น มีการแบ่งแยกแต่ละสิ่งออก จากกันให้เป็นเอกเทศ หรือตัวใครตัวมัน ท�ำให้อ่านความจริงได้ ว่า สภาพดังกล่าวเกิดจากความเห็นแก่ตัว แทนการมองเห็นเหตุ ร่วมกับผลซึ่งมีกระแสเชื่อมโยงถึงกันได้หมด ถ้าการด�ำเนินชีวิตของแต่ละคน เกิดจากรากฐานจิตใจ ที่ลดภาวะยึดติดลงไปถึงระดับหนึ่งได้ ย่อมท�ำให้การปฏิบัติ ตัวในชีวิตประจ�ำวัน ซึ่งมีความสัมพันธ์กับหลายสิ่งหลายอย่าง มีการกระท�ำอย่างผสมผสานกันไป จึงมีผลช่วยให้จิตใจบังเกิด ความสุขอย่างเป็นธรรมชาติ 66 IS AM ARE www.fosef.org
ดั ง นั้ น บนพื้ น ฐานทรรศนะที่ ม องเห็ น ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า ง ได้สองด้าน ย่อมท�ำให้รู้จักตัดสินใจ ซึ่งควรจะมองเหตุและ ผลระหว่างสองด้านได้อย่างเหมาะสมโดยไม่ขีดเส้นว่า ต้อง ท�ำเวลานี้เวลานั้น ซึ่งเป็นการสร้างความทุกข์ให้แก่ตัวเองเพิ่มขึ้น แม้การออกก�ำลังกาย ควรจะเห็นได้ว่าการท�ำงานให้ บังเกิดประโยชน์ทั้งสองด้าน ตัวอย่างเช่น การฟันดินปลูกผัก ซึ่งได้ประโยชน์ทั้งการออกก�ำลังกายร่วมกับการได้ผลิตผลน�ำ มาใช้เป็นอาหาร นอกจากนั้น หากท�ำอย่างผสมผสานกันจริง ย่อมช่วยให้ใจมีความสุขร่วมด้วย จึงนับได้ว่าเป็นประโยชน์ อย่างสมบูรณ์ครบถ้วน บุ ค คลผู ้ เ ข้ า ถึ ง แล้ ว ย่ อ มหมายความว่ า สามารถ ควบคุมจิตใจตนเองให้เป็นผู้รู้เหตุรู้ผล แม้การบริโภคอาหาร
ย่อมไม่จ�ำเป็นต้องควบคุมอะไรทั้งสิ้น ทั้งนี้และทั้งนั้นเนื่องจาก ศูนย์บัญชาการส�ำคัญที่สุดอยู่ในรากฐานจิตใจตนเองที่สามารถ ควบคุมทุกสิ่งทุกอย่างภายในกระบวนการเปลี่ยนแปลงของชีวิต ได้อย่างเหมาะสมอยู่แล้ว จึงท�ำให้ บุคคลผู้มีรากฐานจิตใจที่หยั่งรู้เหตุผล บังเกิด ความสุขสมบูรณ์ครบถ้วนร่วมด้วย จึ ง สรุ ป ได้ ว ่ า ถ้ า จิ ต ใจมี ค วามสุ ข ย่ อ มท� ำ ให้ ร ่ า งกาย มี ค วามมั่ น คง แม้ จ ะเปลี่ ย นแปลงย่ อ มเป็ น ไปอย่ า งรู ้ เ หตุ รู ้ ผ ล จึ ง เข้ า ใจได้ ว ่ า ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งภายในชี วิ ต ตนเอง ย่ อ ม เปลี่ยนแปลงไปอย่างเป็นธรรมชาติจึงบังเกิดความเข้าใจมากกว่า ความทุกข์
67 issue 127 August 2018
วิ่งเพื่อเรา “Run for Dawn”
เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม มูลนิธิครอบครัวพอเพียงร่วมกับส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จัดกิจกรรม วิ่งเพื่อเรา “Run for Dawn” เพื่อสมทบทุนช่วยเหลือมูลนิธิช่วยคนปัญญาอ่อนแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ซึ่งเป็น หนึ่งในหน่วยงานหลักที่ให้การดูแลและพัฒนาคนปัญญาอ่อน โดยมีจุดประสงค์ส่งเสริม ให้ความรู้ และปลูกฝังเยาวชนถึงการ ให้ และเห็นความส�ำคัญของคนปัญญาอ่อนที่ยังต้องการผู้ดูแลและความปรารถนาดี เพื่อการด�ำรงชีวิตในสังคมอย่างปลอดภัยไม่ ตกเป็นเหยื่อของการล่วงละเมิดทางเพศ รวมถึงเคารพต้นทุนชีวิตที่แตกต่าง แต่สามารถอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขได้ พร้อมทั้ง เสริมสร้างความตระหนักและความร่วมมือของพลเมืองทั่วประเทศในการพัฒนาคนปัญญาอ่อนให้มีความสามารถในการเรียนรู้และ สามารถพึ่งพาตัวเองได้ตามสมควร สร้างพลเมืองรุ่นใหม่ให้มีส่วนร่วมในการดูแลคนปัญญาอ่อนตามความถนัดและความสามารถ ของตัวเอง เชื่อมโยงเครือข่ายต้นแบบอย่างเป็นรูปธรรมในทุกจังหวัดทั่วประเทศ ผ่านสถานศึกษาต้นแบบของมูลนิธิครอบครัว พอเพียง ซึ่งน�ำไปสู่การประกาศความพร้อมก่อนมีบุตรเพื่อไม่ให้เป็นปัญหาของสังคมต่อไป
68 IS AM ARE www.fosef.org
ข่ า วสารครอบครั ว พอเพี ย ง
69 issue 127 August 2018
70 IS AM ARE www.fosef.org
Let’s Talk
“...เพราะธรรมศาสตร์ปลูกฝั ง ผมเลยเป็นแบบนี้...”
ผศ.ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล
เพราะเรี ย นรู ้ ที่ จ ะปรั บ ตั ว ให้ เ ข้ า กั บ ยุ ค สมั ย อยู ่ เ สมอ จึ ง ท� ำ ให้ ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.ปริ ญ ญา เทวานฤมิ ต รกุ ล รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยความยั่ ง ยื น และบริ ห ารศู น ย์ รั ง สิ ต มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ศู น ย์ รั ง สิ ต ในวั ย เกื อ บ 50 ปี ยั ง คงมองโลกรอบตั ว ด้ ว ยความสนใจอยู ่ เ สมอ ประกอบกั บ บทบาทหน้ า ที่ ต้ อ งดู แ ลเยาวชนคนรุ ่ น ใหม่ ใ นฐานะนั ก ศึ ก ษาธรรมศาสตร์ ม ากกว่ า 30,000 คน จึ ง ท� ำ ให้ ป รากฏการณ์ ต่ า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในสั ง คมถู ก อาจารย์ ป ริ ญ ญาหยิ บ มาขบคิ ด และวิ เ คราะห์ ถึ ง ความเป็ น ไปในเรื่ อ งที่ เ ชื่ อ มโยงกั บ ประชาชนอยู ่ เ สมอ ดั ง ที่ อ าจารย์ ก ล่ า วว่ า “เพราะธรรมศาสตร์ ป ลู ก ฝั ง ผมให้ คิ ด ถึ ง คนอื่ น ให้ รั ก ประชาชน” อาจารย์ปริญญาเกิดและเติบโตที่อ�ำเภอพนมสารคาม จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา เริ่ ม ต้ น การศึ ก ษาที่ โรงเรี ย นเซนต์ ห ลุ ย ส์ ฉะเชิ ง เทรา และจบระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาที่ โ รงเรี ย น เซนต์ ค าเบรี ย ล ในระดั บ ปริ ญ ญาตรี อ าจารย์ ป ริ ญ ญาเรี ย น จบที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ ในปี 2533 และนิติศาสตรมหาบัณฑิต ด้านกฎหมายมหาชน ในปี 2541 รวมถึงนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต ด้านกฎหมายมหาชน ในปี 2547 ที่ Georg-August-Universitaet zu Goettingen สหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมนี แม้ จ ะอยู ่ ใ นธรรมศาสตร์ ม านานตั้ ง แต่ เ ป็ น นั ก ศึ ก ษา จนกระทั่งด�ำรงต�ำแหน่งรองอธิการบดีฯ ตั้งแต่ปี 2548 จนถึง ปั จ จุ บั น อาจารย์ ป ริ ญ ญาสารภาพว่ า ในตอนเอนทรานซ์ เข้ า มหาวิ ท ยาลั ย จริ ง ๆ แล้ ว อยากจะเรี ย นที่ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย แต่ด้วยความผิดพลาดบางอย่างท�ำให้ได้มาเรียน ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งถือเป็นจุดเปลี่ยนส�ำคัญอย่าง ยิ่ง เพราะหากตอนนั้นไม่เกิดความผิดพลาดนั้น ก็อาจจะไม่ได้ เห็นบทบาทของอาจารย์ปริญญาเฉกเช่นทุกวันนี้ เรื่องราวและ มุมมองของอาจารย์ปริญญาที่มีต่อสังคมที่เปลี่ยนไปจากอดีตสู่ ปัจจุบันจะเป็นอย่างไร ติดตามจากบทสัมภาษณ์นี้ค่ะ
เงิ น เป็ น แค่ เ ครื่ อ งมื อ ไม่ ใ ช่ เ ป้ า หมาย แต่ ค นไปหลงคิ ด กั น ว่ า เงิ น เป็ น เป้ า หมายชี วิ ต ไปสะสมจนเกิ น กว่ า ที่ จ ะ ใช้ ป ระโยชน์ จ ากมั น ได้ กลายเป็ น ชี วิ ต ถู ก ขั บ เคลื่ อ น ด้ ว ยเงิ น หลงทางไปหมดเลย รั ง สิ ต พอมี ศู น ย์ รั ง สิ ต ก็ มี ค ณะวิ ท ยาศาสตร์ มี ค ณะวิ ศ วะ มี คณะแพทย์ตามมา นั่นคือธรรมศาสตร์ยุคใหม่ ซึ่งแบบเดิมไม่มี ธรรมศาสตร์แบบเดิมมีแค่สังคมศาสตร์ รุ่นผมเป็นรุ่นรอยต่อ ของการเปลี่ยนแปลง” “สมัยเรียนผมเป็นเด็กท�ำกิจกรรมมาโดยตลอด ตั้งแต่ อยู่เซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทราแล้ว เว้นแต่ตอนอยู่เซนต์คาเบรียล ผมไม่ค่อยได้ท�ำกิจกรรมมากนัก ช่วยเฉพาะงานกีฬาสี คือตอน อยู่เซนต์คาเบรียลชีวิตเป็นอีกแบบหนึ่งครับ เป็นช่วงวัยรุ่น จาก ต่างจังหวัดมาอยู่กรุงเทพฯ มันออกจะเป็นท�ำนองนั้น พอมาอยู่ ธรรมศาสตร์ก็กลับไปท�ำกิจกรรมอีกครั้ง แล้วเป็นกิจกรรมแบบ เพื่อคนอื่น เพื่อสังคมอย่างเต็มที่ และแน่นอนอยู่ธรรมศาสตร์ก็ ต้องมีกิจกรรมทางการเมือง การเรียกร้องประชาธิปไตยด้วย”
ส มั ย ที่ อ า จ า ร ย ์ เ รี ย น ธ ร ร ม ศ า ส ต ร ์ ต อ น นั้ น มี ศู น ย์ รั ง สิ ต หรื อ ยั ง คะ ? “ผมเป็นรังสิต รุ่น 1 หมายความว่า เป็นปีแรกที่มาเปิด การเรียนการสอนที่ศูนย์รังสิต แต่ที่แรกเรียนแค่ปีเดียว พอปีสอง ถึงปีสี่ก็ไปเรียนที่ท่าพระจันทร์ ผมเป็นรุ่นแรกของธรรมศาสตร์ ที่ มี ศู น ย์ รั ง สิ ต จึ ง เป็ น ช่ ว งรอยต่ อ ระหว่ า งธรรมศาสตร์ แ บบ เดิมที่มีแต่ท่าพระจันทร์ และธรรมศาสตร์ในแบบใหม่ที่มีศูนย์ 71
issue 127 August 2018
จบนิ ติ ศ าสตร์ เรี ย นด้ า นกฎหมาย ท� ำ ไมถึ ง เลื อ ก เป็ น อาจารย์ ? “เดิมทีผมก็เหมือนเด็กสมัยก่อนอยากเป็นหมอ ถ้าเด็กที่ เรียนเก่งหน่อยก็ต้องเป็นหมอ ทีนี้ตอนก่อนที่ผมจะเอ็นทรานซ์ ผู ้ อ� ำ นวยการโรงพยาบาลที่ พ นมสารคามอ� ำ เภอบ้ า นเกิ ด ผม มาบอกพ่อแม่ว่า เรียนกฎหมายแล้วไปเป็นผู้พิพากษาดีกว่า เหตุผลก็สั้นๆ เลยครับ คือสบายกว่าเป็นหมอ เพราะว่าเป็น หมอล�ำบาก เขาใช้ค�ำพูดนี้นะ ผมได้ยินกับหูเลย ตี 2 ตี 3 คนป่วย มาเคาะบ้านก็ต้องตื่นมารักษา ส่วนผู้พิพากษาไม่ต้องล�ำบาก อย่างนั้น คนก็เรียกท่านด้วย ปรากฏว่าพ่อแม่ผมก็ฟังแล้วชอบ ก็เลยบอกผมว่าไม่ต้องเรียนหมอแล้ว ไปเรียนกฎหมายดีกว่า ชีวิตก็เลยเปลี่ยนมาเป็นนักกฎหมาย”
อาจารย์ ถู ก ปลู ก ฝั ง ให้ ม องเรื่ อ งของคนอื่ น ส� ำ คั ญ ? “เราเกิดมาเพื่ออะไรครับ มนุษย์เรา Homo sapiens เป็นสัตว์สังคมนะครับ เราก็ต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เราลืม ไปว่าเงินเป็นแค่เครื่องมือในการแลกเปลี่ยน เงินมันก็เป็นแค่ ความสะดวกของเรา ก่ อ นจะมี เ งิ น เป็ น ตั ว กลางในการแลก เปลี่ยน เราอยากได้อะไรเราต้องท�ำเองใช่ไหมครับ อยากใส่ เสื้อผ้าต้องทอผ้าเอง อยากกินอะไรก็ต้องปลูกเอง ต่อมาเกิด การแลกเปลี่ยนสินค้ากัน การแลกเปลี่ยนสินค้ามันไม่สะดวก ผมปลูกข้าวผมต้องแบกกระสอบข้าวไปเข้าตลาด ไปแลกกับไข่ มันก็ล�ำบากใช่ไหมครับ ผมอยากได้เสื้อผ้าผมต้องแบกข้าวโพด ที่ผมปลูกเพื่อไปแลกกับเสื้อสักตัวในตลาดมันล�ำบาก มันก็เลย เกิดเงินขึ้นมาเป็นสื่อกลาง” “เพราะฉะนั้น เงินเป็นแค่เครื่องมือไม่ใช่เป้าหมาย แต่ คนไปหลงคิดกันว่าเงินเป็นเป้าหมายชีวิต ไปสะสมจนเกินกว่า ที่จะใช้ประโยชน์จากมันได้ กลายเป็นชีวิตถูกขับเคลื่อนด้วยเงิน หลงทางไปหมดเลย แล้วสังคมก็แย่ลง เพราะขับเคลื่อนด้วยเงิน มันจะอยากได้เงิน มันจะเห็นแก่ตัวเลยนะครับ พออยากได้เงิน มากคุณธรรมและการคิดถึงคนอื่นมันก็จะเสื่อมลง ดังนั้นอย่าไป ยึดติดเรื่องเงิน อย่าให้เงินมาครอบง�ำเราครับ”
สิ่ ง ที่ เ ขี ย น มั น วั ด ส ติ ป ั ญ ญ า มั น ไ ม ่ ไ ด ้ วั ด แ ค ่ ความเป็ น ผู ้ ใ หญ่ น ะครั บ มั น วั ด สติ ป ั ญ ญาด้ ว ยว่ า คุ ณ มี ส ติ ป ั ญ ญาหรื อ เปล่ า ผมจะรั บ คนมาท� ำ งานผม อ่ า นเฟสบุ ๊ ก เขา ผมรู ้ เ ลยว่ า คนนี้ ไ ม่ น ่ า รั บ ทั ศ นคติ ไม่ ดี คนไหนความคิ ด ดี คนนี้ ลึ ก ซึ้ ง คนนี้ ช ่ า งคิ ด คนนี้ มี ส ติ ป ั ญ ญา เราก็ อ ยากรั บ นี่ เ ป็ น เรื่ อ งธรรมดา ครั บ “ตอนนั้นผมอยากเรียนจุฬาฯ ไม่คิดจะเรียนธรรมศาสตร์ แต่ด้วยความที่ผมเป็นเด็กสายวิทยาศาสตร์ แล้วปีนั้นจุฬาฯ เขา เปิดรับสายวิทย์เป็นปีแรก เดิมทีตั้งใจจะไปเอ็นทรานซ์สายศิลป์ เข้าจุฬาฯ ส่วนธรรมศาสตร์เขาเปิดสายวิทย์มานานแล้ว แต่ จุฬาฯ เพิ่งเปิดเป็นปีแรก ทีนี้ ด้วยความที่เราไม่เข้าใจระบบ เอ็นทรานซ์ว่าการจัดล�ำดับคืออะไร นี่เป็นตัวอย่างเลยว่ามัน คือปัญหาของการแนะแนวการศึกษา แต่มันอาจจะเป็นโชค ของผมที่ไม่รู้ เพราะว่าพอเอาคะแนนเอ็นทรานซ์ปีที่แล้วมาจัด อันดับ 1 2 3 ทีนี้ พอจุฬาฯ รับนิติศาสตร์สายวิทย์เป็นปีแรก คะแนนปีที่แล้วจึงเป็น 0 คณะนิติศาสตร์ธรรมศาสตร์จึงมา ก่อนคณะนิติศาสตร์จุฬาฯ ผลลัพธ์คือผมก็เลยติดธรรมศาสตร์ ไม่ติดจุฬาฯ” “ถ้าผมเข้าใจในตอนนั้นว่าการจัดล�ำดับต้องเอาคณะที่ อยากเรียนขึ้นก่อน ก็จะเรียนที่จุฬาฯ ไม่ใช่ธรรมศาสตร์ ชีวิต ก็คงจะเป็นอีกแบบหนึ่ง ซึ่งไม่ทราบว่าจะเป็นยังไง ที่เป็นแบบ นี้เพราะมาอยู่ธรรมศาสตร์ ธรรมศาสตร์ปลูกฝังให้คิดถึงคนอื่น ให้รักประชาชน ให้คิดถึงสังคมและส่วนรวม ไม่ได้ว่าจุฬาฯ ไม่ ได้สอนนะครับ แต่ที่ธรรมศาสตร์มันชัดเจนเรื่องพวกนี้” 72
IS AM ARE www.fosef.org
ป ั จจุ บั น สั ง ค ม ไท ย เ ข ้ า สู ่ โ หม ด ข อ ง ผู ้ สู ง วั ย แ ล้ ว อาจารย์ ม องเรื่ อ งนี้ อ ย่ า งไรในบทบาทที่ อ าจารย์ ท� ำ อยู ่ ? “ผมคิด ว่าถ้าพูด ในประเด็น ของสังคมผู ้ สู ง วั ย นะครั บ สถานการณ์จะเป็นแบบนี้ คือมันเกิดสองอย่างที่มันขนานกัน เพราะประชากรเกิดน้อยลง ส่วนคนสูงอายุก็อายุยืนมากขึ้น แต่เราจะเห็นในพร้อมๆ กัน เราจะเห็นภาพข่าวของคนตาย ตั้งแต่เด็กมากขึ้นเรื่อยๆ ด้วยเช่นกัน ปรากฏการณ์ของพ่อแม่ ต้องจัดงานศพให้ลูกเกิดมากขึ้นอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน แต่ ถ ้ าใครรอดมาได้จากอุบัติเหตุ จากมะเร็ง จากเบาหวาน ความดัน ซึ่งเป็นโรคพฤติกรรมทั้งนั้น เขาก็จะอยู่ ได้อายุยืน กว่าเดิมมาก โดยยังแข็งแรงด้วยเขาดูแลตัวเองดี พูดง่ายๆ คือ มันเป็นปรากฏการณ์ที่ขนานกันครับ คนแก่จะอยู่นานขึ้น ส่วน เด็กจะเกิดน้อยลง แล้วการตายด้วยอุบัติเหตุกับมะเร็ง ซึ่งเกิด จากอาหารและพฤติกรรมมากขึ้น” “ในโครงสร้างประชากรแบบนี้ มันท�ำให้เกิดสังคมผู้สูง วัย พอสังคมคนส่วนใหญ่เป็นคนสูงวัย สิ่งที่เกิดขึ้นคือ ระยะเวลา เกษียณจะค่อยๆ เขยิบออกไปเรื่อยๆ สิ่งที่เป็นการเปลี่ยนแปลง คือ ตอนนี้ไม่เกี่ยวแล้วว่าเด็กหรือแก่ วัดกันที่ความสามารถ
พู ด ง่ า ยๆ คื อ อายุ จ ะเป็ น ตั ว ก� ำ หนดต� ำ แหน่ ง หน้ า ที่ การงานน้อยลง ยังเด็กอยู่ถ้าเก่งก็ท�ำได้ ถ้าแก่แล้วยังท�ำได้ก็ท�ำ ต่อไป ฉะนั้น เวลาเกษียณก็จะเขยิบไปนานขึ้น” “ประการที่สองคือ พอคนมีอายุยืนมากขึ้นเรื่อยๆ ต่อไป อายุถึง 100 ปี จะกลายเป็นเรื่องธรรมดา ผมคิดว่าเราคงต้องมี มหาวิทยาลัยแบบใหม่ด้วย มหาวิทยาลัยเรามีไว้เพื่ออะไรครับ ให้เด็กเรียนขึ้นมาเป็นผู้ใหญ่ท�ำงานให้สังคมใช่ไหมครับ แต่เมื่อ เด็กเกิดน้อยลงแล้ว แต่คนอายุยืนขึ้น ก็ควรต้องมีมหาวิทยาลัย คนแก่ ค รั บ แต่ ต ้ อ งเรี ย นอี ก แบบหนึ่ ง นะครั บ มหาวิ ท ยาลั ย คนแก่ไม่ได้เรียนไปเพื่อไปท�ำงาน เขาเรียนเพื่อให้รู้ว่าชีวิตที่เหลือ อยู่เขาควรใช้ยังไงให้มีความสุข โดยที่ยังท�ำประโยชน์ให้สังคมได้ ธรรมศาสตร์มีแนวคิดตรงนี้อยู่ สถาบันทรัพยากรมนุษย์ของ ธรรมศาสตร์จึงเพิ่งเปิดโรงเรียนผู้สูงวัย รุ่นที่ 1 ไปครับ” เยาวชนมากมายไม่ รู ้ จั ก ตั ว เอง เลื อ กเรี ย นตามเพื่ อ น สุ ด ท้ า ยจบมาไม่ ไ ด้ ใ ช้ อาจารย์ ม องเรื่ อ งนี้ ยั ง ไง ? “คือ ระบบการแนะแนวการศึกษาของเรามันมีจุดอ่อน อยู่ แต่ว่ายุคปัจจุบันได้เปรียบกว่าในยุคสมัยของผมหรือยุคสมัย ก่อนมาก เพราะว่ามันมีเครื่องมือให้หาข้อมูลได้มากกว่าเดิม 73
issue 127 August 2018
สืบทอดเผ่าพันธุ์ของโฮโม ซาเปี้ยนก็น่าจะมีมากพอแล้ว ลูกของ ผมคือ เด็กธรรมศาสตร์ทุกคน ต้องช่วยให้เขาเรียนรู้ ให้เขาเป็น คนที่มีคุณค่าของสังคมครับ” ปั จ จุ บั น กลายเป็ น ว่ า Facebook มี ส ่ ว นในการ คั ด เลื อ กคนเข้ า ท� ำ งานด้ ว ย อาจารย์ ม องอย่ า งไร? “จริงครับ ผมรับสมัครเจ้าหน้าที่ ผมจะไปดูเฟสบุ๊กเขา ด้วย คือเฟสบุ๊กคนอาจคิดว่าเป็นไดอารี่ส่วนตัวของฉัน ฉันจะ เขียนอะไรก็เรื่องของฉัน จะเขียนหยาบคายรุนแรงก็เป็นเฟสบุ๊ก ของฉัน แต่จริงๆ แล้วเฟสบุ๊กเราเรียกว่าโซเชียล มีเดีย ก็คือสื่อ โซเชียล แปลว่าสื่อสังคมครับ ดังนั้นอย่าไปคิดว่าเฟสบุ๊กเป็นสื่อ ส่วนตัว ไม่ใช่ครับ มันคือสื่อสังคม ฉะนั้น อย่าท�ำอะไรให้คนเขา ตัดสินเราจากสิ่งที่เราเขียนในเฟสบุ๊ก ต้องแยกแยะว่าเรื่องส่วน ตัวก็ไปเขียนในที่ส่วนตัว เฟสบุ๊กไม่ใช่ที่ส่วนตัว ถ้าตราบใดที่คน อื่นเข้าไปอ่านได้ มันคือที่สาธารณะ”
ก็ ใช้ มั น ตอนนี้ โ ลกมัน แบนลงแล้ว ครับ โลกมัน เท่าเที ย มกั น มากขึ้น เมื่อเกิดสมาร์ทโฟนที่ราคามันถูกลงจนทุกคนเข้าถึง ได้ รวยหรือจนทุกคนก็เข้าถึงข้อมูลได้หมด มันอยู่ที่สติปัญญา ในการใช้มัน อย่าไปท�ำตามแฟชั่น อย่าไปท�ำตามเพียงแค่คิด เอาเองว่าดี ลองตั้งค�ำถามกับมันว่าชีวิตนี้เราอยากเป็นอะไร อยากท�ำอะไรที่มีคุณค่าทั้งต่อตัวเองด้วย เราชอบด้วย ท�ำแล้ว มี ค วามสุ ข ด้ ว ย คื อ มั น ต้ อ งมี ทั้ ง ฉั น ทะ คื อ ท� ำ แล้ ว มี ค วามสุ ข เพราะมันคืออาชีพเราทั้งชีวิต อีกประการคือ สังคมต้องมีความ สุขกับเราด้วย ได้ประโยชน์ด้วย ไปด้วยกัน เอาอย่างใดอย่าง หนึ่งไม่ได้ จะบอกว่าสังคมได้ประโยชน์แต่เรามีความทุกข์มันก็ ไม่ได้ เราก็ต้องมีความสุขด้วย ในการท�ำการงานพระพุทธเจ้า ท่านก�ำหนดเป็นข้อแรกเลยคือ ฉันทะ เพราะว่าถ้าเกิดท�ำอะไร ที่มีความสุขแล้วจะ ยิ่งท�ำได้ดี” ท� ำ ไมอาจารย์ ถึ ง ครองโสด ไม่ คิ ด แต่ ง งาน ? “ผมไม่ได้คิดเรื่องนั้น (หัวเราะ) เพราะผมคิดว่ามีอะไร ต้ อ งท� ำ มากมาย ถ้ า ผมแต่ ง งานมี ลู ก มั น คงไม่ มี เวลาท� ำ อะไร อย่างที่ท�ำอยู่ตอนนี้ได้ แล้วผมก็มีความสุขและสนุกดีกับสิ่งที่ท�ำ อยู่ โลกมีประชากรเจ็ดพันหกร้อยล้านคนแล้ว คนที่ท�ำหน้าที่ 74 IS AM ARE www.fosef.org
“แล้วก็ควรจะรู้ว่าที่สาธารณะควรเขียนอะไร ถ้าเขียนไม่ เข้าท่า คนก็จะเข้าใจว่าเป็นคนไม่เข้าท่า คือสิ่งที่เขียนมันวัดสติ ปัญญา มันไม่ได้วัดแค่ความเป็นผู้ใหญ่นะครับ มันวัดสติปัญญา ด้วยว่าคุณมีสติปัญญาหรือเปล่า ผมจะรับคนมาท�ำงานผมอ่าน เฟสบุ๊กเขา ผมรู้เลยว่าคนนี้ไม่น่ารับ ทัศนคติไม่ดี คนไหนความ คิดดี คนนี้ลึกซึ้ง คนนี้ช่างคิด คนนี้มีสติปัญญา เราก็อยากรับ นี่ เป็นเรื่องธรรมดาครับ” “เรื่ อ งค� ำ หยาบคายต้ อ งยอมรั บ นะครั บ ว่ า สั ง คมเรา เปลี่ ย นแปลงในทางการยอมรั บ ค� ำ หยาบคายมากขึ้ น ซึ่ ง ใน ด้ า นหนึ่ ง ต้ อ งยอมรั บ ว่ า ภาษามั น มี วั ฒ นาการ คื อ ค� ำ ที่ เ คย หยาบคายมาก ถึงวันหนึ่งมันก็ดูหยาบคายน้อยลง ค�ำที่เคยดู หยาบคายน้อย ปัจจุบันมันก็รู้สึกว่าธรรมดาแล้ว มันเกิดการ เปลี่ยนแปลงแบบนี้ ซึ่งโซเชียลมีเดียมีส่วนส�ำคัญมากแต่ว่าค�ำ หยาบคายที่มันหยาบคายมากเกินไป อย่างพวกอวัยวะเพศอะไร นี่ ผมคิดว่ามันก็ควรมีขอบเขต อย่างเช่น เด็กนักเรียนผู้หญิงสมัย ก่อนไม่ค่อยมีกูมึง แต่เดี่ยวนี้เด็กผู้หญิงจ�ำนวนมากพูดมึงกูกัน แบบฟังดูหยาบคายกว่าเด็กผู้ชายสมัยผมวัยรุ่นอีก” “แต่เรื่องเด็กผู้หญิงพูดหยาบคายกว่าเดิมมากนี่ เราจะ ไปต่อว่าไม่ได้นะครับ เพราะถ้าเด็กผู้ชายพูดหยาบคายได้ เด็ก ผู้หญิงก็ควรจะเสมอภาคด้วย เพียงแต่ผมมีข้อสังเกตว่า ผู้หญิง
ลองตั้ ง ค� ำ ถามกั บ มั น ว่ า ชี วิ ต นี้ เ ราอยากเป็ น อะไร อยากท� ำ อะไรที่ มี คุ ณ ค่ า ทั้ ง ต่ อ ตั ว เองด้ ว ย เราชอบ ด้ ว ย ท� ำ แล้ ว มี ค วามสุ ข ด้ ว ย คื อ มั น ต้ อ งมี ทั้ ง ฉั น ทะ คื อ ท� ำ แล้ ว มี ค วามสุ ข เพราะมั น คื อ อาชี พ เราทั้ ง ชี วิ ต อี ก ประการคื อ สั ง คมต้ อ งมี ค วามสุ ข กั บ เราด้ ว ย ได้ ประโยชน์ ด ้ ว ย ไปด้ ว ยกั น เป็นเพศแม่ เป็นเพศที่ปกป้องคุณธรรมของสังคมจึงไม่ควรไป แข่งกับผู้ชายในเรื่องเฮงซวยของผู้ชาย ผู้หญิงควรเป็นผู้น�ำผู้ชาย เรื่องดีต่างหาก แต่ถ้าผู้หญิงจะท�ำ ห้ามว่านะ ถ้าผู้ชายยังท�ำอยู่” “ถามว่าแล้วค�ำหยาบคายมันเป็นปัญหาสังคมอย่างไร ผมคิดว่าจริงๆ ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ค�ำ แต่มันเป็นเรื่องความก้าวร้าว ครับ ค�ำหยาบคายเป็นเครื่องมือในการแสดงความก้าวร้าว การ ที่ ใช้ ค� ำ หยาบคายมากขึ้ น มั น ก็ จ ะสะท้ อ นว่ า สั ง คมเราก� ำ ลั ง มี ความก้าวร้าวมากขึ้น ปัญหาจริงๆ อยู่ตรงนี้ครับ” สุ ด ท้ า ย อาจารย์ ช ่ ว ยให้ ก� ำ ลั ง ใจเยาวชนมั ธ ยมปลาย ที่ อ ยากเข้ า มหาวิ ท ยาลั ย ? “ในยุคที่เด็กเกิดน้อยลงนะครับ การแข่งขันในการเข้า มหาวิทยาลัยมันก็จะน้อยลง ดังนั้นโอกาสของพวกเราที่จะเข้า เรียนมหาวิทยาลัยที่อยากจะเรียนก็จะมีมากขึ้น แต่ว่าเราต้อง รู้ด้วยว่าในยุคนี้เขาไม่ได้เลือกแค่คนเก่งอย่างเดียวแล้วนะครับ สังคมต้องการคนที่ท�ำเพื่อคนอื่น ฉะนั้น การที่ท�ำอะไรมาใน ช่วงมัธยมปลาย มันจะเป็นตัวตัดสินมากขึ้นนะครับในการเข้า มหาวิทยาลัยดีๆ ก็ขอให้ท�ำสิ่งที่ดีต่อไป แล้วจะท�ำอย่างไรก็ ให้ นึกถึงคนอื่นอยู่เสมอนะครับ” รองอธิการบดีฝ่ายความยั่งยืน และบริหารศูนย์รังสิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต กล่าวทิ้งท้ายด้วยรอยยิ้ม 75
issue 127 August 2018
ศูนย์ภูฟ้าพัฒนา
อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ นั บ เป็ น ความโชคดี ข องชาวบ้ า นในเขตอ� ำ เภอบ่ อ เกลื อ จั ง หวั ด น่ า น ที่ ไ ด้ รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ จาก สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ภายหลั ง เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ไปเยี่ ย มราษฎรและ ทอด พระเนตรบ่ อ เกลื อ สิ น เธาว์ ณ บ้ า นบ่ อ หลวง และ ทรงทราบถึ ง ปั ญ หาในพื้ น ที่ จึ ง มี พ ระราชด� ำ ริ ใ ห้ ด� ำ เนิ น การ ช่ ว ยเหลื อ การพั ฒ นานั บ แต่ บั ด นั้ น เป็ น ต้ น มา จนกลายมาเป็ น ศู น ย์ ภู ฟ ้ า พั ฒ นาอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ ในปี พ.ศ. 2542 76 IS AM ARE www.fosef.org
70 เส้ น ทางตามรอยพระบาท โดย ททท. ศูนย์ภูฟ้าจัดตั้งขึ้นเพื่อใช้เป็นต้นแบบการพัฒนาและถ่ายทอดความรู้การพัฒนาไปสู่ราษฎรในพื้นที่เป้าหมายท้องที่อ�ำเภอ บ่อเกลือ และอ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ ได้มีคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี พร้อมประกอบอาชีพ อย่างเหมาะสมกับศักยภาพ ตลอดจนพัฒนาพื้นที่ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ศึกษาธรรมชาติ และวัฒนธรรมท้องถิ่นแห่งส�ำคัญของจังหวัดน่าน ช่วย ลดปัญหาด้านงานเกษตรกรรม และการศึกษาพัฒนาการงาน และพื้นฐานอาชีพของชาวบ้านให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้น อีกทั้งการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ได้ผล ท�ำให้โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนาจังหวัดน่าน เป็นหนึ่งสถานที่น่าแวะเวียนมาเที่ยวชม และเรียนรู้วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบ้านพื้นถิ่นอีกหนึ่งแห่งของจังหวัดน่าน “ศูนย์ศึกษาวิจัย และถ่ายทอดความรู้ พัฒนาและจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ที่ยั่งยืนสู่จุดมุ่งหมาย คนอยู่ร่วมกับป่า”
77 issue 127 August 2018
ทริปตัวอย่าง
3 วั น 2 คื น เส้ น ทางท่ อ งเที่ ย ว จ.น่ า น วั น แรก ช่วงเช้า • ชมวิถีการเก็บชาเมี่ยงโบราณ 400 ปี และการแปรรูป ต่างๆ ที่บ้านศรีนาป่าน ช่วงบ่าย • นั่งรถรางชมเมือง สัมผัสวิถีชาวน่าน อย่างใกล้ชิด แวะ เที่ยวชมวัดวาอาราม
วั น ที่ ส อง ช่วงเช้า • เดินทางสู่บ่อเกลือ ชมการท�ำเกลือสินเธาว์บนภูเขาที่ ไม่เหมือนที่ใด ช่วงบ่าย • เยี่ ย มชมศู น ย์ ภู ฟ ้ า พั ฒ นา เรี ย นรู ้ วิ ถี เ ผ่ า ละบรี แ ละ เผ่าลัวะ ซื้อผลิตภัณฑ์จากศูนย์ วั น ที่ ส าม ช่วงเช้า • ปั่นจักรยานชมวิถีชีวิตของชาวบ่อเกลือ
ห้ามพลาด
ที่ เ ที่ ย วห้ า มพลาด • พระต�ำหนักภูฟา้ ยลโฉมทีป่ ระทับของสมเด็จพระเทพฯ ในโอกาสเสด็จมาทรงงานที่ศูนย์ภูฟ้าพัฒนา • เรือนเพาะช�ำกล้าไม้ ชมโรงเพาะกล้าไม้หายากและ กล้าไม้พื้นถิ่นอาทิ ต๋าว มะแขว่น พญาไม้ชาอูหลง • อาคารแปรรูปชาอูหลง ชมและชิมชาอูหลงแบบสดๆ 78 IS AM ARE www.fosef.org
กิ จ กรรมห้ า มพลาด • ลั ดเลาะเส้น ทางศึก ษาธรรมชาติ ซื้อ ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่ร้านค้าสวัสดิการของ โครงการ • ชมการผลิตเกลือสินเธาว์บนแหล่งผลิต บนที่ราบสูง (แหล่งท่องเที่ยวใกล้เคียง) ศู น ย ์ ภู ฟ ้ า พั ฒ น า อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พระราชด� ำ ริ ต.ภูฟ้า อ.บ่อเกลือ จ.น่าน โทร : 0-5471-0610 เปิดให้เข้าชม : ทุกวัน 08.30-16.30 น. ฤดูท่องเที่ยว : ตลอดทั้งปี การเดินทาง จากตัวเมืองน่าน วิ่งไปประมาณ 100 กม. ถึง อ.บ่อเกลือ ข้ามสะพานข้ามคลอง เลี้ยวไปทาง ศูนย์ภูฟ้า ตรงไปอีก 8 กม. จะจากสามแยกบ่อ เกลือ เลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวง 1336 ขับไปอีก13 กม. จะถึงปากทางเข้าศูนย์ฯ ขับต่อไปอีก 2.5 กม. ก็จะถึงตัวศูนย์ฯ
79 issue 127 August 2018
80 IS AM ARE www.fosef.org
เยาวชนของแผ่ น ดิ น
ผลงานจิตอาสาเปิ ดโอกาสเข้ามหาวิทยาลัย
ธนดล คงศรี
นั บ เป็ น อี ก คนหนึ่ ง ที่ ส ามารถผ่ า นเข้ า ระบบ TCAS ปี 61 รอบที่ 1 หรื อ รอบใช้ Portfolio ได้ อ ย่ า ง ฉลุ ย ตั้ ง แต่ ยื่ น ครั้ ง แรก เซฟ ธนดล คงศรี อายุ 18 ปี ศิ ษ ย์ เ ก่ า จากโรงเรี ย นทวี ธ าภิ เ ษก กล่ า วว่ า รู ้ สึ ก ดี ใ จ มากเป็ น อย่ า งยิ่ ง อาจจะสั บ สนในระบบใหม่ ใ นการคั ด เลื อ กผู ้ ส มั ค รเข้ า มหาวิ ท ยาลั ย ไปบ้ า ง แต่ ก็ ถื อ ว่ า ยั ง ดี ที่ มี โ อกาสได้ ใ ช้ ผ ลงานจิ ต อาสาต่ า งๆ ที่ ต นเองท� ำ มาตลอดระยะเวลาช่ ว งชั้ น มั ธ ยมปลายให้ เ ป็ น ประโยชน์ ต่ อ การเข้ า มหาวิ ท ยาลั ย ได้ ใ นวั น นี้ เซฟ กล่าวว่า ผลงานจิตอาสาต่างๆ ที่ใช้ในการท�ำพอร์ต ส่วนใหญ่มาจากการร่วมโครงการกับมูลนิธิครอบครัวพอเพียง ที่สนับสนุนให้เยาวชนท�ำจิตอาสาในวันหยุดต่างๆ เดิมที ตน ไม่ได้คิดจะท�ำจิตอาสาเพื่อสร้างพอร์ต เพียงแค่ต้องการออก หาประสบการณ์ ใ หม่ ๆ นอกเหนื อ จากที่ โรงเรี ย นให้ เ ท่ า นั้ น จนกระทั่ ง ขึ้ น ชั้ น มั ธ ยมฯ 6 ประจวบเหมาะกั บ การเปิ ด รั บ พิจารณาผลงานต่างๆ เพื่อเข้ามหาวิทยาลัยพอดี ตนจึงรวบรวม ผลงานที่ตนชอบมากที่สุด 10 ผลงาน และตัดสินใจลองยื่นที่ คณะสังคมสงเคราะห์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่ามกลาง ผู้สมัครกว่า 400 คน “ผมรวบรวมพอร์ตและรวบรวมข้อมูลว่า ควรใช้พอร์ต ประมาณไหน และคณะนี้ต้องเข้ายังไง สมมุติของนิติศาสตร์ ต้องใช้พอร์ตกฎหมาย ผมเคยไปค่ายกฎหมายอยู่แต่หารูปไม่ เจอ ก็เลยไม่ได้ส่งไป เพราะถ้าผลงานไม่พร้อมส่งไปก็เสียเงิน ฟรี 200-300 ร้อยบาท(ค่าสมัครส่ง) ผมเลยคิดว่าส่งแค่อย่าง เดียวที่เรามั่นใจดีกว่า คือสังคมสงเคราะห์ เพราะเราท�ำงานจิต อาสามาเยอะแล้ว งานที่โรงเรียนก็มี งานครอบครัวพอเพียงก็มี เมื่อประเมินผลงานตัวเองจนถี่ถ้วนแล้วจึงตัดสินใจสมัครส่งครับ เช่น จิตอาสาที่โรงพยาบาล เก็บขยะที่สนามหลวง แล้วก็ค่ายลง ชุมชนช่วยผู้คนต่างๆ” เซฟติดรอบสัมภาษณ์เป็น 1 ใน 15 คน จากผู้สมัคร พอร์ตทั้งหมดเกือบ 400 คน ถ้าเทียบจ�ำนวนผลงานของผู้ผ่าน เข้ารอบสัมภาษณ์ เซฟถือว่าน�ำผลงานมาแสดงน้อยที่สุดเพียง 10 แผ่น ขณะผู้เข้าสมัครน�ำผลงานมาเป็นแฟ้มหนา แต่สิ่งที่ผล งานของเซฟเข้าตากรรมการได้ เซฟมองว่า เขาเขียนความรู้สึก ลงไปใต้ภาพงานอาสาหรือกิจกรรมค่ายที่เข้าร่วมอย่างจริงใจ
เพราะได้ ล งพื้ น ที่ ท� ำ จริ ง มี ค วามสม�่ ำ เสมอตลอดระยะเวลา ม.4-ม.6 ไม่ใช่เพิ่งท�ำเมื่อรู้ว่ามีเปิดรับรอบพอร์ต “เราเขียนสิ่งที่ประทับใจในผลงานด้วยตัวเองครับ ไม่มี ใครมาบอกให้เขียน ผมคิดว่ามันน่าจะอธิบายหน่อยว่าอะไร เป็นอะไร คือพอเราไปมองรูปภาพกิจกรรมเก่าๆ ที่เคยท�ำแล้ว รู้สึกประทับใจอยากกลับไปอีกครั้ง ก็เลยอยากให้กรรมการรู้ ความรู้สึกนี้เหมือนกับว่า กรรมการได้มาอยู่ค่ายตรงนี้กับเรา ด้วย พอร์ตของผมอาจจะไม่เยอะเหมือนคนอื่น มีประมาณ 10 หน้า แต่ผมอธิบายด้วยทุกหน้า ทุกงาน ทุกแผ่น เช่น ผม ประทับใจที่สุดคือค่ายครูปู่ เป็นจิตอาสาเต็มตัวลงไปช่วยเด็ก ตอนนั้นค่ายครูปู่ไปที่หนองคายกับเพื่อนๆ จากมูลนิธิครอบครัว พอเพียง ประทับใจเพราะว่าเราได้เห็นภาพจิตอาสาจริงๆ ว่าเรา ท�ำไปเพื่ออะไร ท�ำไปท�ำไม พอวันสุดท้ายก็เห็นภาพประจักษ์ว่า น้องๆ เขามีความสุข ได้สนามเด็กเล่นใหม่ ได้แปลงเกษตรใหม่ เห็นผลงานแล้วรู้สึกมีความสุขครับ” 81
issue 127 August 2018
“ถ้าถามว่าท�ำไมคณะกรรมการถึงเลือกเรา ผมคิดว่า น่าจะแปลกตรงที่ผลงานของคนอื่น เขาจะมีรูปและเกียรติบัตร เยอะ แต่ไม่ได้เขียนบรรยายว่าได้อะไรจากกิจกรรมที่ท�ำมา แต่ ผมจะเขียนความรู้สึกไปในพอร์ตด้วยว่า ความรู้สึกค่ายนี้เป็น ยังไง คือเลือกค่ายที่ผมประทับใจจริงๆ ได้อะไรจากค่ายนั้นผม ก็จะเขียนลงด้านล่างประกอบภาพว่าค่ายนี้ได้อะไรบ้าง มีอะไร บ้างที่ผมประทับใจ น่าจะเป็นจุดที่น่าสนใจของกรรมการ สมมุติ ว่าผลงานเราแผ่นหนึ่งก็เป็นรูปค่ายๆ หนึ่งแล้วก็เขียนบรรยายว่า ได้อะไร ประทับใจตรงไหน ค่ายนี้ให้ข้อคิดอะไรกับเรา เขียนไม่ ยาวมาก เขียนให้เขาเข้าใจมากที่สุด” เ ร า เ ขี ย น สิ่ ง ที่ ป ร ะ ทั บ ใ จ ใ น ผ ล ง า น ด ้ ว ย ตั ว เ อ ง ครั บ ไม่ มี ใ ครมาบอกให้ เ ขี ย น ผมคิ ด ว่ า มั น น่ า จะ อธิ บ ายหน่ อ ยว่ า อะไรเป็ น อะไร คื อ พอเราไปมอง รู ป ภาพกิ จ กรรมเก่ า ๆ ที่ เ คยท� ำ แล้ ว รู ้ สึ ก ประทั บ ใจ อยากกลั บ ไปอี ก ครั้ ง ก็ เ ลยอยากให้ ก รรมการรู ้ ค วาม รู ้ สึ ก นี้ เ หมื อ นกั บ ว่ า กรรมการได้ ม าอยู ่ ค ่ า ยตรงนี้ กั บ เราด้ ว ย พอร์ ต ของผมอาจจะไม่ เ ยอะเหมื อ นคนอื่ น มี ป ระมาณ 10 หน้ า แต่ ผ มอธิ บ ายด้ ว ยทุ ก หน้ า ทุ ก งาน ทุ ก แผ่ น
เมื่ อ คณะกรรมการเห็ น ผลงานของเซฟก็ ถ ามในรอบ สัมภาษณ์ว่า “ผลงานแค่ 10 แผ่น จะสู้คนอื่นได้หรือ” เซฟ ตอบกลับไปว่า “ผมคัดมาแต่ที่ชอบจริงๆ และเขียนความรู้สึก ประทับใจจริงๆ ลงไป อยากให้กรรมการรู้ว่าค่ายนั้นเป็นยังไง ให้อะไรกับผมบ้าง” สุดท้าย เด็กที่ชอบท�ำกิจกรรมอย่างเซฟ ก็ได้รับเลือก ให้เป็น 1 ใน 2 นักศึกษาธรรมศาสตร์ คณะสังคมสงเคราะห์ จากจ�ำนวนทั้งหมดกว่า 400 คนที่สมัครเข้ายื่นผลงานจากรอบ Portfolio ได้สมความตั้งใจ เพราะเซฟยอมรับว่า เกรดเฉลี่ย ผลการเรียนของตนเองไม่ถึง 3.0 ถ้าจะให้ไปสอบแข่งขันก็ไม่ ทราบว่าจะสอบติดรึเปล่า โชคดีที่เขาชอบท�ำกิจกรรมจิตอาสา มาตั้งแต่ ม.4 โดยไม่เคยคิดว่ามันจะส่งผลให้เขามีที่เรียนได้ก่อน ใครเพื่อน โดยไม่ต้องสอบ ท้ า ยนี้ เซฟฝากบอกน้ อ งๆ รุ ่ น ต่ อ ไปว่ า หากคิ ด จะ สะสมพอร์ตให้เริ่มท�ำตั้งแต่ตอนนี้ ไม่ใช่ใกล้ถึงเวลาแล้วมารีบ ท� ำ รี บ สะสม เพราะระยะเวลาจะเป็ น ตั ว แปรที่ ส� ำ คั ญ ในการ พิจารณาผลงานของคณะกรรมการ ผู้ที่เริ่มสะสมมานานตลอด ระยะเวลา 3 ปี ในชั้ น มั ธ ยมปลายก็ ย ่ อ มได้ เ ปรี ย บ เพราะ มี ค วามต่ อ เนื่ อ งสม�่ ำ เสมอ ไม่ ใช่ รี บ ท� ำ เพราะหวั ง เพี ย งเข้ า มหาวิทยาลัยเท่านั้น 82
IS AM ARE www.fosef.org
83 issue 127 August 2018
นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง พร้อมเสริพ์ให้ทุกท่านได้อ่านแล้ว!! เพี ย งแค่ ค ลิ ก เข้ า ไปที่ www.fosef.org ท่ า นก็ ส ามารถอ่ า นนิ ต ยสาร IS AM ARE ครอบครั ว พอเพี ย ง ได้ โ ดยไม่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ย เรื่ อ งราว สาระดี ๆ มากมายรอท่ า นอยู ่ หากอ่ า นแล้ ว ถู ก ใจอย่ า ลื ม บอกต่ อ นะครั บ 84 IS AM ARE www.fosef.org