Isamare august58

Page 1

IS AM ARE

ฉบับที่ 91 สิงหาคม 2558 www.Baanporpeang.org


ทีฆายุกา โหตุ มหาราชินี

เนื่องในวโรกาสวันคล้ายวันเสด็จพระราชสมภพ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๘ ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า คณะผู้บริหาร และพนักงานนิตยสารครอบครัวพอเพียง 2

IS AM ARE www.ariyaplus.com


ความเจริ ญ ทางจิ ต ใจนั้ น เราจะซื้ อ ด้ ว ยเงิ น เป็ น จ� ำ นวนเท่ า ใดๆ ไม่ ไ ด้ ความเจริ ญ ทางจิ ต ใจนี้ จึ ง เป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ ยิ่ ง นั ก เพราะ เป็ น หน้ า ที่ ข องแต่ ล ะคนที่ จ ะต้ อ งท� ำ ตั ว ของตนเองให้ ดี เพื่ อ ประโยชน์ ข องส่ ว นรวม พระบรมราโชวาท ในวันพิธีสวนสนาม และพระราชทานธงชัย ประจ�ำกองโรงเรียนต�ำรวจภูธร ภาค ๔ วันอังคารที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๔๙๖

3 issue 91 August 2015


Editorial

จากปกฉบับวันแม่แห่งชาติ ๑๒ สิงหาคม ก่ อ นอื่ น ต้ อ งขอท้ า วความงาน วั น แม่ ใ ห้ ท ่ า นผู ้ อ ่ า นได้ รั บ ทราบกั น อี ก ครั้ง งานวันแม่แห่งชาติจัดขึ้นครั้งแรก เมื่ อ วั น ที่ ๑๐ มี น าคม พ.ศ. ๒๔๘๖ ณ.สวนอัมพร โดยกระทรวงสาธารณสุข แต่ ช ่ ว งนั้ น เกิ ด สงครามโลกครั้ ง ที่ ๒ งานวั น แม่ ใ นปี ต ่ อ มาจึ ง ต้ อ งงดไป เมื่ อ วิกฤติสงครามสงบลง หลายหน่วยงาน ได้ พ ยายามให้ มี วั น แม่ ขึ้ น มาอี ก แต่ ก็ ไม่ ป ระสบผลส� ำ เร็ จ เท่ า ที่ ค วร และมี การเปลี่ ย นก� ำ หนดวั น แม่ ไ ปหลายครั้ ง ต่ อ มาวั น แม่ ที่ รั ฐ บาลรั บ รอง คื อ วั น ที่ ๑๕ เมษายน โดยเริ่มจัดตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๓ แต่ ก็ ต ้ อ งหยุ ด ลงอี ก ในหลายปี ต่ อ มา เนื่ อ งจากกระทรวงวั ฒ นธรรม ถู ก ยุ บ ไป ส่ ง ผลให้ ส ภาวั ฒ นธรรมแห่ ง ชาติ ซึ่ ง รั บ หน้ า ที่ จั ด งานวั น แม่ ข าดผู ้ สนับสนุน ต่อมาสมาคมครูคาทอลิกแห่ง ประเทศไทย ได้จัดงานวันแม่ขึ้นอีกครั้ง ในวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ แต่ จั ด ได้ เ พี ย งปี เ ดี ย วเท่ า นั้ น จนกระทัง่ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ คณะกรรมการ อ� ำ นวยการสภาสั ง คมสงเคราะห์ แ ห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้ ก�ำหนดวันแม่ขึ้นใหม่ให้เป็นวันที่แน่นอน โดยถื อ เอาวั น เสด็ จ พระราชสมภพของ สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรม ราชินีนาถ วันที่ ๑๒ สิงหาคมเป็นวันแม่ แห่งชาติ และก�ำหนดให้ดอกไม้สัญลักษณ์ ของวันแม่ คือ ดอกมะลิ ดอกมะลิ ซึ่ ง มี สี ข าวบริ สุ ท ธิ์ ส่ ง กลิ่ น หอมไปไกลและหอมได้ น าน อีกทั้งยังออกดอกได้ตลอดทั้งปี เปรียบ ได้ กั บ ความรั ก อั น บริ สุ ท ธิ์ ข องแม่ ที่ มี ต่อลูกไม่มีวันเสื่อมคลาย มะลิ เป็นพืช

ดอก พบได้ในเอเชีย ดอกมีกลิ่นหอมเย็น คนไทยนิ ย มน� ำ มาลอยน�้ ำ เย็ น เพื่ อ ดื่ ม เรียกได้ว่าคุ้นชินกันมาตั้งแต่โบราณกาล เลยทีเดียว และมาถึ ง เรื่ อ งที่ อ ยากจะน� ำ มา คุ ย ก็ ค งไม่ พ ้ น ค� ำ ว่ า ‘แม่ ’ เหมื อ นกั น แต่เป็น คุณแม่วัยใส ในสื่อบางสื่อบอก ไว้ว่า คุณแม่วัยใสก็สามารถเลี้ยงดูลูกให้ เติบใหญ่เป็นเจ้าคนนายคนตั้งมากมายที่ ผ่านมา และถ้าเราถามต่อว่า คนกลุ่มนี้มี จ�ำนวนกี่เปอร์เซนต์เทียบกับปัญหาที่เกิด ขึ้นจริงในปัจจุบัน กับอีกมุมหนึ่งที่มีแสงสลัว สลัว กลิ่นอับที่ไม่มีใครปรารถนาเด็กจ�ำนวน หลายชี วิ ต ที่ ต ้ อ งถู ก ทอดทิ้ ง ให้ อ ยู ่ แ บบ ตามมีตามเกิดที่นับวันจะทวีความรุนแรง เพิ่มขึ้น เรามาตั้งค�ำถามให้ชวนคิดกับ ๒ หัวข้อใหญ่คือ ๑ เราจะช่วยกันอย่างไร เพื่อลดจ�ำนวนของคุณแม่วัยใสลงได้ และ ๒.เราจะตั้งรับแล้วโอบอุ้มทั้งคุณลูกและ คุณแม่วัยใสกันอย่างไร ร่วมกันโหวตดูนะคะ จะโหวตข้อ ๑ หรือ ข้อ ๒ ลองโหวตกันดู แต่ไม่มีของ สมนาคุณให้นะคะ แ ล ้ ว กั บ สิ่ ง ที่ พ ว ก เร า เ พี ย ร พยายามมาแล้ ว กว่ า ๘ ปี เพื่ อ สร้ า ง ครอบครัวพอเพียง ครอบครั ว พอเพี ย ง คื อ กลุ ่ ม คนที่ เ ปิ ด ใจรั บ รู ้ รั บ ฟั ง รั บ ทราบข้ อ เท็ จ จริ ง ในทุ ก ๆ สิ่ ง ที่ พ ระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงท� ำ ทรงมอบให้ แล้ ว เกิ ด ความรั ก ความศรัทธาและความเชื่อมั่น เชื่อในสิ่ง ที่พระเจ้าอยู่หัวทรงสอน เ มื่ อ มี ค ว า ม เชื่ อ มั่ น เ ย า ว ช น หญิงและชายก็จะรู้จักพอ พอเพียงพอ ประมาณในการคบหากั น ฉั น ท์ เ พื่ อ น 4 IS AM ARE www.ariyaplus.com

mookkarsa@gmail.com www.baanporpeang.org มี เ หตุ มี ผ ลในการคบหากั น มี ภู มิ คุ ้ ม กั น และภู มิ ต ้ า นทานที่ ดี อ ยู ่ เ ต็ ม เปี ่ ย มของ จิ ต ใจ รั ก ตนเองรู ้ จั ก คุ ณ ค่ า ในตั ว เอง มี ค วามรอบรู ้ ร อบคอบและระมั ด ระวั ง ตั ว เองในทุ ก ๆ เรื่ อ ง สุ ด ท้ า ยมี คุ ณ ธรรม ปกป้ อ งให้ ต นพ้ น จากความไม่ ดี ทั้ ง หลาย ทั้ ง ปวง ทุ ก อย่ า งเริ่ ม ต้ น ที่ ศ รั ท ธาและ ความรั ก ที่ บ ริ สุ ท ธิ์ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ก็ ท รง รั ก และห่ ว งใยประชาชนทุ ก คน ทุ ก เพศ ทุ ก วั ย ด้ ว ยพระหฤทั ย ที่ บริ สุ ท ธิ์ ทรงหวัง เพียงแค่สิ่งที่ทรงท�ำให้มาตลอดรัชกาล สิ่ง ที่ ท รงสอนในทุ ก เรื่ อ งประชาชนจะน� ำ ไป พิจารณา น�ำมาปรับใช้และน�ำเป็นหนทาง เพื่ อ ให้ ต นและครอบครั ว มี ค วามสุ ข พบ ความส�ำเร็จ โดยพระองค์ท่านไม่ทรงหวัง สิ่งตอบแทนใดๆ สุดท้ายนี้ก็ขอเชื้อชวนท่านผู้อ่าน ท่ า นที่ ติ ด ตาม Facebook ครอบครั ว พอเพี ย งทุ ก ท่ า นมาร่ ว มเป็ น ครอบครั ว เ ดี ย ว กั น กั บ เร า น ะ ค ะ ค ร อ บ ค รั ว พอเพียง


Contributors

มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง

ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ประธานกิตติมศักดิ์ นางสุชาณี แสงสุวรรณ ประธานกรรมการ นายณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ รองประธานกรรมการ นางสาวเอื้อมพร นาวี กรรมการและเลขาธิการ พันเอก พงษ์เทพ ทัพมาน กรรมการและเหรัญญิก ผศ.ดร.ปรีชาพร สุวัฒโนดม กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ นายอภีม คู่พิทักษ์ กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ กรรมการ นางอรประภา ชาติน�้ำเพ็ชร กรรมการ นางรจนา สินที กรรมการ นายธงชัย วรไพจิตร กรรมการ นายเมทนี บูรณศิริ กรรมการ นายเอกรัตน์ คงรอด กรรมการ นายภูริวิทย์ จงนิรักษ์ กรรมการ

นิตยสารครอบครัวพอเพียง ประธานกิตติมศักดิ์ : คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ : พล.อ.จรัล กุลละวณิชย์,

Let’s

ดร.เสรี พงศ์พิศ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล

บรรณาธิการ : กองบรรณาธิการ :

กรวิก อุนะพ�ำนัก อภีม คู่พิทักษ์ บัญชา สารโท เอกรัตน์ คงรอด กิตติ พลศักดิ์ขวา ชาวจังหวัดเลย (เทคนิค สีน�้ำมัน) นิตยสารครอบครัวพอเพียง 663 ซอย พหลโยธิน35 แยก9 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 0-2939-5995 0-2939-5996 www.ariyaplus.com www.baanporpeang.org

ประธานด�ำเนินการ :

ศิลปกรรม : ภาพปก :

ส�ำนักงาน :

โทรศัพท์ : โทรสาร : เว็ปไซต์ :

Start

5 issue 91 August 2015

and Enjoy!


Hot Topic

74

นมแม่...แน่ท่ีสุด

30

44

ครู เซฟ อรุ ณ ถนอมธรรม เราอยู ่เคียงข้างผู ้ยากไร้

ครู บ้านนอก สู่ ผอ.โรงเรียน สวนกุกลาบวิทยาลัย ผอ.ดร.เชิ ดศักดิ์ ศุภโสภณ

Don’t miss

10

18

56 14

20 6 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Table Of Contents

ผู้หนึ่งผู้ใดจะก้าวเข้ามาเป็น ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน อย่างสวนกุหลาบวิทยาลัยได้ ย่อมต้องมีประสบการณ์และผลงานอันเป็นประจักษ์ต่อวงการ ศึกษาอย่างแท้จริง ดร.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ คือผู้หนึ่งที่ได้รับความไว้วางใจอย่างสูงให้เข้ามา เป็น ผอ.โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยคนปัจจุบัน จากหนุ่มชาวราชบุรีมุ่งมั่นเรียนหนังสือ เพื่อจะเป็นครูตามความตั้งใจ ไต่เต้าสอบบรรจุรับราชการครูระดับประถมศึกษาครั้งแรก

ผอ.ดร.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ 7 issue 91 august 2015

ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เงิน 100 บาท 8 เด็กก่อนค่าย เด็กหลังค่าย ค่ายสุนทโรเมตตาประชาสรรค์ 10 เรื่องเล่า...เยาวชน ข้าวมันไก่ 14 หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน 17 Dhamma Today โรคกรรมหรือโรคกาย ตอนที่2 18 Question Of Life แม่พิมพ์ของชาติ 20 Good Life มาท�ำความรู้จักวัยทองกันเถอะ ตอนที่2 22 Cartoon 26 Cover Story ครูบ้านนอกสู่ ผอ.โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ผอ.ดร. เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ 28 พระราชประวัติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ 36 สัมภาษณ์พิเศษ ประธานกรรมการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เปิดโครงการน�ำร่องการไฟฟ้าโปร่งใส ณ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาครังสิต 40 Let’s Talk ครูเซฟ อรุณ ถนอมธรรม 44 Share Story นมแม่...แน่ที่สุด 52 Eat Am Are น�้ำลอยดอกมะลิ 56 Is Am Are ต�ำบลท่ามะขาม จังหวัดกาณจนบุรี 58 Wheel Of Life 68 มูลนิธิชัยพัฒนา พระขวัญหล้า เจ้าฟ้าสิริรธร 72 Round About 80


ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า คณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ


นพ. วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ รองเลขาธิการส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

www.nhso.go.th

เงิน 100 บาท

(3) อิทธิพลของโฆษณา ความฟุ้งเฟ้อ ฟุ่มเฟื่อยต่างๆ น�ำไปสู่วัตถุนิยมบริโภค (4) ไม่ยึดแนวเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวเป็นที่ตั้ง ไม่ใช้หลักพอประมาณ (5) อบายมุ ข ชนิ ด ต่ า งๆ บางคนเงิ น 300 บาท/ วัน ไม่พอเพราะหมดไปกับค่าเหล้า บุหรี่ และอบายมุขชนิดต่างๆ (6) อวดมั่ง อวดมี อวดรวย ท�ำตัวอยู่กินแต่งตัวเกิน ฐานะ ติดแบรนด์เนม (7) ไม่ใส่ใจต่อการออมทรัพย์ เรื่องหนี้สินเป็นปัญหา ใหญ่มากๆของประเทศไทยและคนไทยในขณะนี้ .......มนุษย์เรานั้น “หลงสมมุติ”มาก สมมุติว่าใครเป็น คนรวย หรือคนจน, ใครเรียนสูงหรือเรียนน้อย, ใครมียศต�ำแหน่ง หรือใครเป็นไพร่, ใครเป็นนักเรียนนอกหรือจบอาชีวะ, ใครเป็น ไทยหรือพม่า แบ่งแยกชนชั้นวรรณะ ...ทั้งหมดนี้เป็นตัวก�ำหนดว่าเงินร้อยหนึ่ง จะใช้ได้ กี่วัน....

“ลุ ง ....ร้ อ ยนึ ง ใช้ ไ ด้ กี่ วั น ” ผมเอ่ ย ปากถามลุ ง หงั ด เกษตรกรดีเด่นแห่งบ้านนาบัว นครไทย พิษณุโลก ลุงหงัดเงยหน้ามองฟ้าแล้วพึมพ�ำว่า “ประมาณ 5 วัน ครับ แต่ถ้าช่วงไหนซื้อปลาทูกิน ก็ได้ 3 วัน” “โอ้โฮ....ท�ำไมลุงใช้ได้ตั้งหลายวัน ผมกินข้าวมื้อเดียว บางที เ กื อ บหมดแล้ ว ” ผมซั ก ไซ้ ด ้ ว ยความสนเท่ ห ์ อยากรู ้ อยากเห็น “ข้ า วก็ ป ลู ก กิ น เอง ผั ก ก็ ป ลู ก กิ น เอง เก็ บ ตามหั ว ไร่ ชายทุ่งบ้าง ไก่ก็เลี้ยงมีไข่ให้กินตลอด ปลาในสระก็มีเยอะแยะ แถมกระทียม พริก ปลูกเองหมด” ก็เลยไม่ค่อยได้ใช้เงินซื้อ กับข้าวเท่าไหร่” “แล้วท�ำไมต้องซื้อปลาทูด้วยล่ะลุง” ผมแซว “อ้อ...บางทีก็ให้รางวัลตัวเองบ้างครับ, ปลาทูเอามาท�ำ น�้ำพริกก็อร่อยดีนะ” ลุงหงัดหัวเราะอย่างอารมณ์ดี ทุกวันนี้คนไทยมีค่าแรงขั้นต�่ำ 300 บาท/วัน แต่ท�ำไม เราไปไหน มาไหน ก็ยังได้ยินคนบ่นว่าเงินไม่พอใช้ ลองมาดู ข้อสังเกตเหล่านี้ด้วยกันดีไหมครับ (1) ชี วิ ต ในเมื อ ง มี แ ต่ ร ายจ่ า ย กั บ รายจ่ า ย ก้าวเท้าออกจากบ้านก็เสียเงินทันที ไม่สามารถพึ่งตนเองได้ ทางปัจจัย 4 (2) ค่านิยมกินเกิน ตามใจปาก กินหวาน , มัน, เค็ม, ขนม ของกินต่างๆ

บริการข้อมูล ให้ค�ำปรึกษาการใช้ สิทธิหลักประกันสุขภาพ 30 บาท ตรวจสอบสิทธิการรักษาพยาบาล รับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ ประสานงานส่งต่อผู้ป่วยเพื่อเข้ารับการรักษา 9

issue 91 August 2015


ค่ายที่โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์ ฉบั บ นี้ น� ำ เรื่ อ งราวสนุ ก ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในค่ า ยที่ โ รงเรี ย นสุ น ทโรเมตตาประชาสรรค์ จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี ม าให้ อ ่ า น กั น ค่ ะ เรื่องราวนี้เกิดขึ้นประมาณเดือน ตุลาคมปี พ.ศ ๒๕๕๗ เป็นค่ายที่สอง หลั ง จากที่ พ วกเราครอบครั ว พอเพี ย ง ได้ จั ด กิ จ กรรมกั บ โรงเรี ย นระดั บ มั ธ ยม ปลายทั่ ว ประเทศไปเรี ย บร้ อ ย และ สถานที่ ที่พวกเราจะไปจัดค่ายเพื่อการ เรี ย นรู ้ วิ ถี ก ารเกษตรใกล้ ตั ว เราก็ ช ่ ว ย กั น คิ ด ว่ า จะไปที่ ไ หนกั น ดี และเราตั้ ง เป้าไว้ว่าจะมีเยาวชนจิตอาสาครอบครัว พอเพียงไปร่วมด้วยประมาณ ๑๒๐ คน และสุ ด ท้ า ยของการประชุ ม พี่ โ อม ผู ้ จั ด การค่ า ยก็ เ สนอที่ โ รงเรี ย นสุ น ทโร เมตตาประชาสรรค์ จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี ซึ่ ง เป็ น โรงเรี ย นที่ เข้ า ร่ ว มโครงการกั บ ครอบครัวพอเพียง

วันแรกที่ป้ามุกไปที่โรงเรียนแห่ง นี้ จ�ำได้ว่าต้องขับรถผ่านโรงเรียนประจ�ำ จังหวัดขนาดใหญ่ถึง ๒ แห่ง ซึ่งทีแรก เมื่อเห็นหลังคาของตึกเรียนที่มีขนาดใหญ่ มาก ก็นึกว่าที่นี่กระมัง โรงเรียนที่เราจะ มาจัดกิจกรรมด้วยในปีนี้ แต่เปล่าเลย พี่ โอมขับรถเลยออกไปอีกไกลเป็นสิบกิโล จากตัวจังหวัดปทุมธานี ขับรถขึ้นสะพานข้ามคลองขนาด กลาง ผ่านร้านค้าขายไข่ไก่ ไข่เป็ดสดๆ มาตลอดทาง จนถึงโรงเรียน โรงเรี ย นมี ข นาดเล็ ก มาก มี อาคาร ๒ ชั้นเพียง ๒ อาคาร และได้เข้า พบท่ า นผู ้ อ� ำ นวยการโรงเรี ย น ก็ ท� ำ ให้ ทราบว่าท่านเคยเป็นรองผู้อ�ำนวยการ ผู้ 10 IS AM ARE www.ariyaplus.com

อ�ำนวยการ โรงเรียนขนาดใหญ่มาแล้วใน กรุงเทพมหานคร โรงเรี ย นแห่ ง นี้ มี นั ก เรี ย นทั้ ง โรงเรียนรวมทั้งสิ้น ๑๔๐ คน ตั้งแต่ระดับ ชั้น มัธยม ๑ ถึงมัธยม ๖ มีครูและลูกจ้าง รวม ๑๖ คน และที่แห่งนี้มีพระครูสุนทร คุณธาดา คอยช่วยเหลือดูแล แล้วท�ำไมเราถึงเลือกที่จะมาจัด กิ จ กรรมสร้ า งเครื อ ข่ า ยครอบครั ว พอ เพียงกับโรงเรียนแห่งนี้ล่ะ ค�ำตอบคือพวก เรารู้ว่านักเรียนและครู ที่นี่ไม่ธรรมดา นักเรียนที่นี่ทุกคนปลูกข้าว ปลูก พืชท�ำการเกษตรเองและท�ำเป็นแบบมือ อาชีพเลยทีเดียว ก็ครูที่นี่ไง ที่เขาสอน นักเรียนให้เป็น คน คนที่มีความสมบูรณ์


เด็ ก ..ก่ อ นค่ า ย เด็ ก ..หลั ง ค่ า ย

ทั้งกายและใจ นักเรียนที่นี่ทุกคนไม่ใช่ได้ แค่วิชาความรู้ที่ครูเหล่านี้อุทิศแรงกายใจ ให้ศิษย์เท่านั้น แต่ครูที่นี่ยังสอนวิถีชีวิต ของการเกษตรใกล้ตัวจนท�ำให้นักเรียน ทุกคนท�ำเป็นและท�ำได้ พวกเขากินทุก อย่ างที่ ป ลู ก ปลูก ทุก อย่างที่กิน อยู่ไ ด้ อย่ า งมี ค วามสุ ข สนุ ก กั บ การเรี ย น รั ก ตนเองและรู้คุณค่าในตนเอง และเมื่อวันที่พวกเราตัดสินใจจะ พาน้องๆ แกนน�ำจิตอาสาครอบครัวพอ เพียงมาเข้าค่ายที่โรงเรียนแห่งนี้ เราบอก ได้ค�ำเดียวว่าเราคิดถูก ๑๒๐ คนจาก ๕๐ โรงเรียน หลายโรงเรียนมีตัวแทนมาค่าย เพียงคนเดียวและหลายคนที่พึ่งจะมาเข้า ค่ายเป็นครั้งแรกของชีวิต และเมื่อวันนัดหมายที่จะรวมตัว กันมาถึง ที่ เ ก่ า เวลาเดิ ม ๗ โมงเช้ า ป้ า ย รถเมล์บนถนนที่กว้างขวาง วิภาวดีรังสิต ทีมงานพร้อม กลองพร้อมแล้วเสียงเพลง ก็เริ่มบรรเลง ไข่ต้มมื้อเช้าก็ถูกแจกออก ไปพร้อมกับน�้ำจิ้มแสนอร่อย เสียงของ พี่หนึ่งที่คอยเช็กชื่อว่ามากันครบรึยัง จน เกือบ ๘ โมงแล้วทุกอย่างก็พร้อมเดินทาง สู่จุดหมาย แล้วสิ่งที่ไม่คาดคิดมาก่อนก็เกิด ขึ้นเมื่อมีเด็กนักเรียนผู้หญิง ตัวเล็กเดิน มายังกลุ่มพวกเราพร้อมกับบอกว่า พี่ค่ะ หนูไปค่ายด้วยนะคะ แล้วก็ยื่นเงินให้สอง ร้อยบาท พี่หนึ่ง พี่โอม พี่ไอซ์และพี่โจ ต่าง ตกใจ ถามน้องว่ามาอย่างไร น้องชี้ไปที่รถ เก๋งคันงามที่มีคุณพ่อและคุณแม่นั่งอยู่ใน รถ โบกมือทักทาย และขับรถออกไปโดย ไม่มีการพูดจา สรุปพวกเราพาน้องประถมศึกษา ปีที่ ๖ ของโรงเรียนดังในกรุงเทพมหานคร ชื่อเล่นว่าเบลล์ ไปด้วยและเมื่อมาถึงค่าย ที่โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์ เรา

ก็ได้รับการต้อนรับจากสมาชิกครอบครัว พอเพี ย งของโรงเรี ย นแห่ ง นี้ ด ้ ว ยน�้ ำ ใบ เตยที่ แ สนสดชื่ น และการแบ่ ง กลุ ่ ม เพื่ อ รับ ผิ ด ชอบในหน้ า ที่ ข องแต่ ล ะคนก็ เ กิ ด ขึ้นและตามติดด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่น การเรียนรู้เรื่องการปลูกข้าว ด�ำนา เก็บ

หลายคนบอกว่ า นอนไม่ ห ลั บ เพราะอยากคุ ย กั บ เพื่ อ นมากกว่ า และ สิ่ ง ที่ ไ ม่ เ ห็ น เลยคื อ นั ก เรี ย นทุ ก คนไม่ มี โ ทรศั พ ท์ มื อ ถื อ อยู ่ ใ นมื อ และ เมื่ อ มองโทรศั พ ท์ ข องตั ว เองจึ ง รู ้ ว ่ า ไม่ มี สั ญ ญาน WIFI และไม่ มี ค ลื่ น โทรศั พ ท์ ท� ำ ให้ นึ ก ว่ า ก็ ดี ไ ปอย่ า ง จะได้ อ ยู ่ กั บ สิ่ ง ที่ เ ห็ น อยู ่ ต รงหน้ า อย่ า งเต็ ม ที่ ที เ ดี ย ว และเกี่ ย วข้ า วของจริ ง ก็ เ ริ่ ม ต้ น โดยผู ้ เชี่ ย วชาญก็ คื อ นั ก เรี ย นโรงเรี ย นสุ น ทโร เมตตาประชาสรรค์ เรียกว่าสอนแบบตัว ต่อตัวเลยทีเดียว อาหารมื้อเที่ยงลืมไป ได้เลยเพราะจะมีขนมไทยๆ จากหลาย เตาท�ำขึ้นมาแบบทานไม่อั้น เรียกว่าอิ่ม จนถึงมื้อค�่ำกันเลยล่ะ และในเวลา ๑๘ นาฬิ ก าเสี ย ง เพลงชาติก็ดังไปทั้งคลุ้งน�้ำ ทุกกิจกรรมก็ หยุดลง ทุกคนร้องเพลงชาติแข่งกันเสียง ดัง และต่างก็ทยอยกันไปอาบน�้ำ เปลี่ยน เสื้อผ้าและมารวมกันเพื่อท�ำกิจกรรมใน ช่วงค�่ำ และสวดมนต์เข้านอน 11 issue 91 August 2015


เสียงไก่ขันตั้งแต่ฟ้ายังมืด หันมาดูนาฬิกา ตี ๕ กว่า แล้ว แต่ก็เห็นนักเรียนบางคนลุกขึ้นไปล้างหน้าแปรงฟัน และ บางคนก็ชงไมโล โอวัลตินทานกันแล้ว หลายคนบอกว่านอน ไม่หลับ เพราะอยากคุยกับเพื่อนมากกว่า และสิ่งที่ไม่เห็นเลย คือนักเรียนทุกคนไม่มีโทรศัพท์มือถืออยู่ในมือ และเมื่อมอง โทรศั พ ท์ ข องตั ว เองจึ ง รู ้ ว ่ า ไม่ มี สั ญ ญาน WIFI และไม่ มี ค ลื่ น โทรศัพท์ ท�ำให้นึกว่าก็ดีไปอย่าง จะได้อยู่กับสิ่งที่เห็นอยู่ตรง หน้าอย่างเต็มที่ทีเดียว อาหารมื้ อ เช้ า ทานกั น ตั้ ง แต่ ๗ โมง จากฝี มื อ น้ อ งๆ แกนน�ำที่ได้รับมอบหมายหน้าที่ในการท�ำอาหารเช้า และหนึ่ง ในนั้นคือน้องเบลล์ เด็กสาวตัวเล็กที่มาค่ายโดยไม่ได้นัดหมาย และเมื่อทุกคนทานอาหารเสร็จก็จะมีอีกกลุ่มหนึ่งมาท�ำหน้าที่ ล้างจาน ส่วนที่เหลือก็ไปเข้าฐานเรียนรู้ จนเวลา บ่าย ๓ โมง พิ ธี บ ายศรี สู ่ ข วั ญ ซึ่ ง น� ำ โดยท่ า นผู ้ อ� ำ นวยการและคุ ณ ครู ข อง โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์ทุกคนมาร่วมอ�ำนวยพรให้ เด็กที่มาเข้าค่ายครั้งนี้ และแล้วกิจกรรมสุดท้ายของค่ายก็มาถึงเรียกว่าเรียก น�้ำตากันเลยทีเดียว กับความประทับใจในทุกสิ่งอย่าง ๒ วัน ๑ คืน ประสบการณ์ชีวิตครั้งหนึ่งที่มิอาจลืมได้ และความหวัง ว่าสักวันจะได้กลับมาที่แห่งนี้กันอีก

เกื อ บ ๕ โมงเย็ น พวกเราก็ ม าถึ ง จุ ด หมายเดิ ม ป้ า ย รถเมล์ริมถนนวิภาวดีที่กว้างขวาง พ่อแม่ผู้ปกครองต่างทยอย มารับบุตรหลานและหลายคนก็กลับเอง และเมื่อถึงบ้านทุกคน ก็จะไลน์เข้ามาบอกว่าถึงบ้านกันเรียบร้อยแล้วครบตามจ�ำนวน ครบตามสัญญาเรียกว่าหายห่วงเลยทีเดียว อาทิ ต ย์ ต ่ อ มาป้ า มุ ก เข้ า ที่ ท� ำ งานที่ มู ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพียง ก็ต้องตกใจเพราะมีผู้ปกครอง พ่อและแม่ ของน้อง เบลล์และน้องแกนน�ำอีกสองคนมาพบพร้อมขนมห่อใหญ่ และ บอกว่า ขอบพระคุณที่ช่วยดูแลลูกเมื่อตอนไปค่าย ตอนนี้ลูก หั่น พริกเป็น ล้างจานเป็นและช่วยเหลือเรื่องเล็กๆ น้อยๆ ในบ้าน ได้ทั้งๆ ที่ก่อนหน้านี้ไม่เคยท�ำและไม่คิดจะท�ำ ส่วนผู้ปกครอง ของน้องแกนน�ำนักเรียนชายคนหนึ่ง เรียกว่าพูดไปกอดป้ามุก ไปแล้วบอกว่า ขอขอบพระคุณที่เราช่วยให้ลูกชายพูดเป็น พูด 12

IS AM ARE www.ariyaplus.com


ได้ และกล้าแสดงออกแล้ว จากที่เมื่อก่อน จะเก็บตัว ไม่พูดไม่จา และไม่เคยเก็บหรือ ท�ำความสะอาดห้องของตนเองเลย ป้ามุกเองก็ได้แต่ตอบว่า ไม่เป็นไร ค่ะ ยินดีค่ะ แล้วก็แลกเบอร์โทรศัพท์กัน ไว้ เพื่อในโอกาสหน้าจะไปเข้าค่ายด้วย กั น กั บ ป้ า มุ ก กั บ ลู ก ๆแถมยั ง ได้ น� ำ เงิ น คืนให้กับคุณแม่น้องเบลล์ จ�ำนวน ๒๐๐ บาทที่น้องเบลล์น�ำมาให้เมื่อวันที่จะเดิน ทางไปค่ายกับเรา และบอกแม่น้องเบลล์ ว่า ถ้ามาค่ายกับเราครอบครัวพอเพียง ไม่ต้องจ่ายสตางค์ค่ะเรียกว่าไปฟรี กิน ฟรี เที่ยวฟรีกันเลยทีเดียว แต่มีสิ่งหนึ่ง ที่ทุกคนต้องรู้คือค่ายของครอบครัวพอ

เพียงทุกคนเท่าเทียมกัน ทุกคนมีหน้าที่ และสิทธิในค่ายเสมอเหมือนกัน นอนที่ เดียวกัน ทานอาหารจากหม้อเดียวกัน ไม่ว่านักเรียนจะมาจากจังหวัดไหนหรือ มาจากครอบครัวใด นี่ ก็ เ ป็ น อี ก หนึ่ ง ประสบการณ์ ที่ อยากจะบอกและมาเล่าสู่กันฟัง เด็ก.. ก่ อ นค่ า ย เด็ ก ..หลั ง ค่ า ย เขาเป็ น กั น แบบนี้จริงหรือ ค่ายมีตั้งมากมายและมี กันมานานแล้ว แต่ค่ายไหนจะสร้างคน หรือท�ำลายคนก็คงจะต้องน�ำมาศึกษามา พิจารณากัน แต่ส�ำหรับค่ายครอบครัวพอ เพียงนี้ เป็นที่แน่ชัดด้วยระยะเวลา กว่า ๘ ปีแล้วที่เราได้ด�ำเนินมา นักเรียนแกน

13 issue 91 August 2015

น�ำที่มากับค่ายครอบครัวพอเพียงทุกคน ได้ รั บ คุ ณ ค่ า ได้ รั บ ประสบการณ์ ได้ มี โอกาสในภาวะของผู้น�ำและที่ส�ำคัญได้ รู้ว่าตนเองเป็นสิ่งที่มีค่าที่สุดติดตัวกลับ ไป ในฉบับหน้าจะมีเรื่องเล่าของเด็กค่าย เด็กหลังห้อง เด็กที่ครูในโรงเรียนทุกคน ต่างส่ายหน้าด้วยความเบื่อหน่ายและไม่ ยอมรับ ไม่ใช่แค่ ๑ หรือ ๒ คนนะคะ แต่ เด็กกลุ่มนี้มีถึง ๔ คน คนที่ชีวิตคิดว่าเป็น ได้แค่ถ่าน แต่มาบัดนี้จากการผ่านค่าย ครอบครัวพอเพียงเด็กเหล่านี้ได้พิสูจน์ ตัวเองแล้วว่าพวกเขาคือ เพชร เพชรที่มี คุณค่าของสังคมโปรดติดตาม.


ข้าวมันไก่

11.30 น. เป็ น เวลาที่ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมต้ น ทุ ก คนต่ า งรอคอย มี เ สี ย งสั ญ ญาณดั ง ขึ้ น บ่ ง บอกว่ า ถึ ง เวลาพั ก รั บ ประทานอาหาร เด็ ก ๆ บางกลุ ่ ม เรี ย กสั ญ ญาณนี้ ว ่ า “เสี ย งสวรรค์ ” ทุ ก คนต่ า งดี ใ จและรี บ เก็ บ ข้ า วของใส่ กระเป๋ า แอน เด็ ก หญิ ง ตั ว เล็ ก วั ย 15 ปี ก็ เ ป็ น หนึ่ ง ในนั้ น เธอเร่ ง เพื่ อ นๆ ของเธอให้ ท� ำ ธุ ร ะส่ ว นตั ว ให้ เสร็ จ ไวๆ เพื่ อ ที่ จ ะได้ ล งไปทานข้ า ว เพราะเธอรอเวลานี้ ม า 3 ชั่ ว โมงเต็ ม เวลาที่ จ ะได้ รั บ ประทาน อาหารอร่ อ ยๆ และเวลาแห่ ง ความสุ ข เมื่อลงมาจากอาคารเรียนเรียบร้อยแล้ว เด็กหญิงและ ด้วยอารมณ์หงุดหงิด เพื่อนของเธอก็รีบเดินกึ่งวิ่งเพื่อให้ทันต่อแถว “อ้าว ท�ำไมล่ะ” แต่เมื่อมาถึงโรงอาหาร เธอก็เห็นแผ่นฟิวเจอร์บอร์ด “ก็เพราะมันเป็นข้าวมันไก่ไงล่ะ” เธอตอบ สีชมพูแปะชื่อเมนูอาหารไว้ข้างก�ำแพงว่า เมนูวันนี้ “ข้าวมันไก่” “แต่ถ้าไม่กินข้าวระวังถูกคุณครูตีนะ” แอนรู้สึกอารมณ์เสียขึ้นมาทันทีเนื่องจากเมนูวันนี้เป็น เด็กหญิงหาได้สนใจค�ำเตือนของเพื่อนไม่ เพราะว่ามัน สิ่งที่คนตัวเล็กไม่ชอบเอามากๆ เพราะว่าเธอมีความทรงจ�ำไม่ เป็นข้าวมันไก่ ให้ตายยังไงเด็กหญิงก็ไม่ยอมกินเด็ดขาด! ดีเกี่ยวกับมัน ย้อนกลับไปเมื่อ 5 ปีที่แล้วแอนได้กินข้าวมันไก่ครั้งแรก “โหย วันนี้มีข้าวมันไก่ เราไม่กินนะ” แอนพูดกับเพื่อน ที่นี่ ตอนเธออยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และคิดว่ามันจะเป็น 14 IS AM ARE www.ariyaplus.com


เรื่ อ งเล่ า ...เยาวชน

ครั้งสุดท้ายด้วย เด็กหญิงรู้สึกว่าข้าวมัน ไก่ที่นี่รสชาติไม่ถูกปากตนเองเป็นอย่าง มาก จะใช้ค�ำว่า รสชาติห่วยแตก! เลย ก็ ว ่ า ได้ เนื้ อ ไก่ เ หนี ย วๆ สี ข าวหั่ น เป็ น ชิ้นพอดีค�ำได้ประมาณ 4-5 ชิ้น น�้ำจิ้ม รสชาติแปลกๆ ข้าวมันสีหม่นๆ ที่แข็ง กระด้างเหลือเกินและน�้ำซุปที่เธอคิดว่า น�้ำเปล่ายังจะอร่อยกว่า หลังจากที่ได้ลิ้ม ลองข้าวมันไก่ในคราวนั้น เธอก็ไม่คิดจะ กินมันอีกเลยเพราะเธอคิดว่า ข้าวมันไก่ จริงๆ แล้วเป็นแบบนี้ทั้งหมด คนตัวเล็กค่อยๆ เดินออกมาจาก แถวอย่างระมัดระวัง เพราะหากเธอเดิน ดุ่มๆ ออกมาล่ะก็มีหวังถูกคุณครูจับได้ แน่ๆ ว่าเธอไม่ยอมทานข้าวแล้วก็จะถูก ท�ำโทษ แอนแอบไปซื้อขนมมากินประทัง ความหิ ว ระหว่ า งนั้ น เด็ ก หญิ ง นั่ ง มอง นักเรียนคนอื่นๆ ที่เริ่มทยอยกันเข้ามา ในโรงอาหารพร้อมกับเสียงพูดคุยอย่าง ดีอกดีใจที่ได้รู้ว่าวันนี้มีเมนูข้าวมันไก่ ยิ่ง ไปกว่ า นั่ น คื อ กลุ ่ ม เด็ ก ผู ้ ช ายต่ า งห้ อ งก็ รีบวิ่งมาต่อแถวเช่นกันแอนมองพวกเขา ด้วยความไม่เข้าใจทั้งๆ ที่นักเรียนชาย กลุ่มนี้มักจะแอบคุณครูไม่กินข้าวกลาง วันอยู่เสมอๆ แต่ ถ ้ า วั น ไหนมี ข ้ า วมั น ไก่ พวก เขาจะรีบกลับเข้ามาทันทีประหนึ่งกลัว ว่าข้าวมันไก่รสโอชาของพวกเขาจะหมด ในไม่ช้า

นะ”

“ข้ า วมั น ไก่ นี่ มั น อร่ อ ยตรงไหน

เด็กหญิงได้แต่เก็บข้อสงสัยไว้ใน ใจ เพราะถ้าถามค�ำถามนี้กับใคร แอนก็ จะได้ค�ำตอบกลับมาแบบเดิมๆ ว่า “ไม่รู้ เหมือนกัน ก็มันอร่อย”

เธอก็รู้สึกว่า …. ข้าวมันไก่แท้จริงแล้วรสชาติมัน เป็นแบบนี้เอง ข้ า วมั น ไก่ แ ท้ จ ริ ง แล้ ว ไม่ ไ ด้ เหมือนกันไปหมด ข้าวมันไก่แท้จริงแล้วมันอร่อย และตั้งแต่นั้นมาข้าวมันไก่ก็เป็น เมนู โ ปรดของแอนไปโดยปริ ย ายแต่ ถึ ง กระนั้นเธอก็ยังไม่หันกลับไปกินข้าวมัน ไก่ในโรงเรียนอยู่ดี แต่สิ่งส�ำคัญที่เธอได้รับจากเมนู ข้าวมันไก่คือ ข้าวมันไก่ในวันนั้นสอนให้ เข้าใจว่า บางสิ่ ง บางอย่ า งที่ ไ ด้ พ บและ สั ม ผั ส มาอาจจะไม่ ใช่ ค วามจริ ง เสมอ ไป

หากเราไม่ ล องค้ น หาและเปิ ด ใจรั บ สิ่ ง ใหม่ ๆ เข้ า มา เพี ย งเพราะเราคิ ด ว่ า มั น เคยเป็ น สิ่ ง ที่ เ ลวร้ า ยมาก่ อ นก็ จ ะไม่ มี วั น รู ้ เ ลยว่ า ความสุ ข ที่ แ ท้ จริ ง นั้ น เป็ น อย่ า งไร วั น หนึ่ ง เด็ ก หญิ ง มี เ หตุ ที่ จ ะต้ อ ง ออกไปท�ำธุระกับคุณครูนอกโรงเรียนใน เวลาพักเที่ยง แต่กว่าธุระของครูจะเสร็จ สิ้ น อาหารในโรงอาหารของโรงเรี ย นก็ คงจะหมดพอดี คิ ด ได้ ดั ง นั้ น คุ ณ ครู ก็ ตัดสินใจขับรถเพื่อแวะหาร้านอาหารข้าง ทาง เด็กหญิงได้แต่ภาวนาในใจว่า ร้าน ไหนก็ได้ ขออย่าให้เป็นข้าวมันไก่ แน่นอน ว่าสิ่งที่เธอคิดนั้นเธอได้ยินแค่คนเดียวใน ใจ แต่ครูไม่ได้ยิน รถยนต์ สี ข าวค่ อ ยๆ ชะลอจอด หน้ า ร้ า นข้ า วมั น ไก่ เด็ ก หญิ ง แอบเซ็ ง นิดๆ และคิดว่าจะไม่กิน แต่ก็ไม่สามารถ ปฏิเสธน�้ำใจของคุณครูได้ แอนชั่งใจอยู่ นานว่ า จะกิ น ข้ า วมั น ไก่ จ านนี้ ดี ห รื อ ไม่ แล้วเธอก็ต้องกินมันอย่างเลี่ยงไม่ได้ และ นี่ก็เป็นครั้งแรกที่เด็กหญิงได้ลิ้มลองข้าว มันไก่จานแรกนอกโรงเรียน 15 issue 91 August 2015

บางสิ่งบางอย่างที่เราเห็นว่ามัน เหมือนกันนั้นอาจไม่ได้เหมือนกันไปซะ ทุกอย่าง เพราะทุ ก สิ่ ง บนโลกใบนี้ ย ่ อ มมี ความแตกต่างในตัวของมันแม้ว่ารูปร่าง หน้าตามันจะเหมือนกันก็ตาม หากเราไม่ลองค้นหาและเปิดใจ รับสิ่งใหม่ๆ เข้ามา เพียงเพราะเราคิด ว่ามันเคยเป็นสิ่งที่เลวร้ายมาก่อน ก็ จ ะไม่ มี วั น รู ้ เ ลยว่ า ความสุ ข ที่แท้จริงนั้นเป็นอย่างไร ข้าวมันไก่ก็เช่นกัน... ความรักก็เช่นกัน.. ชีวิตก็เช่นกัน.. หนึ่งตะวัน พันดารา นางสาวสุ ช าดา พรหมมา โรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย


16 IS AM ARE www.ariyaplus.com


กว่า 8 ปีที่ผ่านมา IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง ได้น�ำบทความ บท สั ม ภาษณ์ สรรสาระที่ ม ากด้ ว ยความรู ้ และความบันเทิง ความสุขมากมายที่ได้ รับจากการอ่านนิตยสารเพื่อสังคมฉบับ นี้ เพื่อเป็นการตอบแทนท่านผู้อ่านและ สมาชิกที่น่ารักทุกท่าน ตั้งแต่ฉบับนี้เป็นต้นไป บก.จะแจกของ สมนาคุณเล็กๆแก่ผู้ที่ตอบแบบสอบถามกันเข้า ของสมนาคุณที่ว่า คือ ปากกา SHEEFER จ�ำนวน 3 รางวัล พร้อมสลักชื่อ-นามสกุล เรี ย บร้ อ ย ซึ่ ง ค� ำ ถามในฉบั บ นี้ คื อ ความรู ้ ที่ ไ ด้ จ ากบทความ “เงิน 100 บาท” หน้า 8-9 จากส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพ แห่ ง ชาติ ในฉบั บ ที่ ป รากฏ แล้วตัดส่งมากันนะค่ะ ในฉบับ หน้ า ของสมนาคุ ณ อาจมี ก าร เปลี่ยนแปลงตามค�ำเรียกร้อง ของคนขี้ เ หงา ซึ่ ง น่ า จะเป็ น Furby เพื่อนช่างคุย ของเรา เอง แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้า นะค่ะ

ร่วมตอบค�ำถามชิงปากกา SHEFFER

ส่งมาที่นิตยสารครอบครัวพอเพียง เลขที่ 663 ซอยพหลโยธิน 35 แยก 9 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 02-939-5995 www.ariyaplus.com, www.baanporpeang.org แบบประเมินความพอใจผู้อ่าน 1. เนื้อหาเรื่อง เงิน 100 บาท

1

2

3

4

5

-ให้ความรู้และมีสาระตามที่คาดหวัง -บทความมีความน่าสนใจและเป็นประโยชน์ -บทความจุดประกายความคิดสร้างสรรค์ -บทความสร้างความตระหนักในเรื่องคุณธรรม 2.รูปเล่ม -มีการออกแบบที่สวยงาม ทันสมัย -จัดจัดเนื้อหาเป็นหมวดหมู่ อ่านง่าย -ภาพประกอบและการน�ำเสนอน่าสนใจ 3.ข้อเสนอแนะ

สายตรง กรมสงเสริมการสงออก

1.ไม่เป็นที่พอใจ 2. ควรปรับปรุง 3. พอใช้ 4.ดี/น่าสนใจ 5. ดีมาก/พอใจมาก 17 issue 91 August 2015

1169


18 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Dhamma Today

โรคกรรมหรือโรคกาย ตอนที่2

(๕) ธรรมนิยาม คือ กฎธรรมชาติที่ครอบคลุมทุกสรรพ สิ่งในโลก (Cosmic Law) ในลักษณะสรรพสิ่งล้วนอิงอาศัย กัน เกี่ยวเนื่องกันในลักษณะห่วงโซ่แห่งความสัมพันธ์ ท�ำให้เรา ได้ตระหนักรู้ว่า ไม่มีสิ่งใดในโลกด�ำรงอยู่อย่างเอกเทศโดยไม่ เกี่ยวข้องเชื่อมโยมกับสิ่งใดเลย กฎธรรมชาติทั้ง ๕ นี้ หนูควรรู้เอาไว้เป็นความเข้าใจพื้น ฐานว่าชีวิตของเราใช่จะเป็นไปตามกฏแห่งกรรมเท่านั้น ยังมีกฎ อื่นๆ ร่วมอยู่ด้วย เมื่อรู้ความจริงอย่างนี้แล้ว ในทางปฏิบัติ หนูก็ จะสามารถดูแลตัวเองอย่างถูกต้องตามความเป็นจริง เช่น บางที ผลของโรคอาจเกิดจากกฏพีชนิยามซึ่งเป็นเรื่องความผิดปกติ ของร่างกายหรือพันธุกรรมก็เป็นได้ ถ้ามองในแง่นี้ หนูก็จะไม่ทิ้ง การรักษาโดยแพทย์แผนปัจจุบัน แต่ขณะเดียวกันก็อาจเป็นผล ของกรรมด้วยก็เป็นได้ ซึ่งหากมองแง่นี้หนูก็จะได้กลัวบาปกลัว กรรม ไม่เผลอท�ำผิดซ�้ำซาก แต่ ถ ้ า หนู ฟ ั น ธงลงไปว่ า โรคที่ เ กิ ด กั บ ฉั น เป็ น ผลของ กรรมแน่ๆ หนูก็จะ (เข้าใจผิดๆ เพียงแง่เดียว) แล้วมุ่งไปที่การ แก้กรรม และติดจมอยู่กับ “อดีตกรรม” ไม่รู้จบสิ้น จะแก้ก็ ไม่ได้เพราะมันเป็นความผิดในอดีต จึงต้องทนอยู่กับ “ความ รู้สึกผิด” วันแล้ววันเล่า นี่แหละที่กล่าวกันว่า “ปล่อยให้อดีต มากรีดปัจจุบัน” แต่ครั้นไม่เชื่อกรรมเลย หนูก็จะมุ่งรักษาแบบ

สมัยใหม่อย่างเดียว แต่ยิ่งรักษากลับพบว่าไม่ดีขึ้น ชีวิตก็มองไม่ เห็นทางออกอีกเช่นกัน ทางสายกลางในเรื่องนี้ก็คือ ความป่วยของหนูมีสิทธิ์เป็น ไปได้ที่ว่า อาจจะเป็นผลของทั้ง “กรรม” และ “กาย” มาบรรจบ กัน ดังนั้นในทางกายก็ควรให้หมอดูแลรักษาไปตามกรรมวิธีของ แพทย์ ส่วนใจ (ที่หมกมุ่นกับความรู้สึกผิด) หนูก็ต้องรักษาด้วย การหาธรรมะมาเยียวยาด้วยตัวเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งควรบอกตัวเองว่า ในฐานะที่เป็น ปุถุชน ทุกคนมีสิทธิ์พลาดกันได้ แต่เราต้องเรียนรู้จากความผิด พลาด ไม่ปล่อยให้เกิดซ�้ำอีก และควรฝึกการเจริญสติให้มาก เพื่อเรียนรู้ที่จะอยู่เหนือกรรม ด้วยการไม่หลุดเข้าไปในความ คิดฟุ้งซ่าน เพราะในความคิดฟุ้งซ่าน กรรมเก่าจะมีบทบาท มาก ด้ ว ยเหตุ นี้ จึ ง ควรระลึ ก รู ้ อ ยู ่ กั บ ปั จ จุ บั น ไว้ เ สมอ เมื่ อ หยุ ด ความคิ ด ฟุ ้ ง ซ่ า นได้ หนู จ ะพบความสุ ข ในปั จ จุ บั น ขณะ และไม่ท้อแท้กับการสู้ชีวิตใหม่ในวันต่อๆ ไป อนึ่ง หากยังรู้สึก ผิดอยู่บ่อยๆ ก็ควรแก้ไขด้วยการท�ำบุญอุทิศส่วนกุศลและให้ ชีวิตเป็นทานแก่สรรพสัตว์ ก็จะช่วยผ่อนหนักเป็นเบาได้พอ สมควร

19 issue 91 august 2015


“แม่พิมพ์ของชาติ”

เมื่ อ ข้ า พเจ้ า กลั บ มาเป็ น แม่ พิ ม พ์ ข องชาติ ค� ำ ว่ า “ครู ” ส� ำ หรั บ ข้ า พเจ้ า คื อ สิ่ ง ที่ ข ้ า พเจ้ า รู ้ สึ ก มี ค วามภาคภู มิ ใ จทุ ก ครั้ ง ที่ ใ ช้ แ ทนตนเอง เพราะนั่ น หมายถึ ง การที่ ข ้ า พเจ้ า ได้ อบรม สอนสั่ ง ให้ ส อนลู ก ศิ ษ ย์ ใ ห้ มี ค วามรู ้ ค วามสามารถและมี คุ ณ ธรรม และ ที่ ส� ำ คั ญ คื อ การได้ เ ป็ น แม่ พิ ม พ์ ข องชาติ ซึ่ ง ภาระความรั บ ผิ ด ชอบที่ ข ้ า พเจ้ า เต็ ม ใจ ตั้ ง ใจท� ำ ก็ จ ะเพิ่ ม ขึ้ น ด้ ว ย แม้ บ างครั้ ง อาจเกิ ด ความท้ อ แท้ แ ละเหนื่ อ ยล้ า ก็ ต าม แต่ ข ้ า พเจ้ า ก็ ไ ม่ เ คยบอกให้ ข ้ า พเจ้ า ถอยหรื อ หมดก� ำ ลั ง ใจ ยิ่ ง นานวั น ข้ า พเจ้ า ก็ ยิ่ ง รั ก ในวิ ช าชี พ ครู 20 IS AM ARE www.ariyaplus.com


question of life

ส่วนชนเผ่าม้งจะมีประเพณีอย่างหนึ่งที่มีชื่อเสียงโด่งดัง คือประเพณีปีใหม่ม้งซึ่งจะจัดในช่วงกลางเดือนธันวาคมของทุก ปี กิจกรรมที่ส�ำคัญ คือ ก่อนที่จะถึงวันปีใหม่นั้น แต่ละครอบครัว จะท�ำความสะอาดบ้านเรือนของตนเอง ในหมู่บ้าน มีการจัดการ ละเล่นต่างๆ แม่บ้านจะเตรียมชุดประจะเผ่าชุดใหม่ให้กับสามี และลูกๆ ทุกคนใส่คนละชุดซึ่งแม่บ้านจะใช้เวลาปักชุดนั้นทั้งปี การละเล่นดังกล่าว เช่น การเล่นลูกข่างซึ่งจะแข่งขันกัน ใครตี แม่นหรือลูกข่างหมุนได้นานก็จะได้เป็นฮีโร่ของงาน นอกจากนี้วันนี้จะเป็นวันที่หนุ่มสาวจะเลือกคู่กันโดย ใช้วิธีโยนลูกข่าง โดยหนุ่มๆ สาวๆ จะแต่งกายด้วยชุดสวยงาม ฝ่ายหญิงจะเป็นฝ่ายท�ำลูกข่างซึ่งท�ำจากผ้าเป็นลูกกลมๆ และ วานให้เพื่อนหญิงหรือจะเป็นหญิงที่แต่งงานแล้วเป็นผู้น�ำลูก ข่างของตนไปมอบให้กับชายหนุ่มที่ตนพึงพอใจ และหญิงสาว ที่ท�ำหน้าที่เป็นแม่สื่อนี้จะบอกกับชายหนุ่มว่าลูกช่วงนั้นเป็น ของหญิงสาวคนใดเพื่อที่ชายหนุ่มจะได้น�ำลูกข่างนี้ไปโยนหรือ ขว้างเล่นกับหญิงสาวผู้ที่เป็นเจ้าของลูกข่างต่อไป หรือหาก ผู้ชายหมายตาหญิงสาวคนใดไว้ก็จะไปขอโยนลูกข่างด้วย ถ้า ฝ่ายหญิงไม่พอใจก็จะไม่โยนด้วย ระหว่างที่ชายหนุ่มหญิงสาว โยนลูกข่างก็จะพูดจาจีบกันในเวลานี้ ในส่วนใหญ่แล้วคู่โยนลูก ข่างจะมีการสู่ขอแต่งงานกันหลังปีใหม่ ช่วงที่มีเทศกาลปีใหม่ม้งนั้น ทางโรงเรียนมีการหยุดการ เรียนการสอนเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และได้ร่วมงานอย่างเต็มที่ นับว่าเป็นประเพณีที่สร้างความตื่นตาตื่นใจส�ำหรับข้าพเจ้ายิ่ง นัก ซึ่งข้าพเจ้าพยายามสอบถามเกี่ยวกับประเพณีดังกล่าวจาก นักเรียน และคนในชุมชนที่มาร่วมงาน จึงท�ำให้ทราบขั้นตอน การจัดกิจกรรมอย่างคร่าวๆ และยังต้องท�ำการศึกษาอีกต่อไป ยิ่งนานวันยิ่งท�ำให้ข้าพเจ้าต้องศึกษาหาความรู้ด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและวิทยาการใหม่ และ ภูมิปัญญาของคนในชุมชน ทั้งนี้เพื่อการสอนลูกศิษย์ให้เป็นคน ดีมีคุณธรรมจริยธรรม เป็นคนเก่ง เป็นเมล็ดพันธุ์ที่ดีงามช่วย สร้างและพัฒนาประเทศชาติต่อไป นางสาว กรรณิการ์ ชมพนา ครูวิทยาศาสตร์คืนถิ่นทุนการศึกษา มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ จังหวัดแม่ฮ่องสอน โรงเรียนห้วยผึ้งใหม่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน

ทุกๆ วันที่ข้าพเจ้าเดินผ่านลูกศิษย์ พวกเขาจะหยุดเพื่อ ให้ข้าพเจ้าเดินผ่านไปก่อนพร้อมค�ำพูดแสดงความเคารพ “ครู กันครับ/ ค่ะ สวัสดีค่ะ/ครับ” และหากข้าพเจ้ามีสัมภาระมา ด้วยค�ำถามที่ตามมาก็คือ “ให้ผม/หนูช่วยไหม ครับ/ค่ะ” นั่น คือสิ่งที่ยืนยันว่า ข้าพเจ้ามีลูกศิษย์ที่แสนน่ารัก ข้าพเจ้าได้มาสอนที่โรงเรียนบ้านห้วยผึ้งใหม่ ที่ตั้งอยู่ที่ ต�ำบลแม่โถ แม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต ๒ ซึ่งห่างจากหมู่บ้านของข้าพเจ้า ประมาณ ๙๐ กิโลเมตร นักเรียนมีทั้งหมดจ�ำนวน ๒๙๕ คน เปิด สอนตั้งแต่ระดับอนุบาล ๑ ถึงระดับชั้น ม.๖ ร้อยละ ๕๐ ของ นักเรียนเป็นชนเผ่าม้งและอีกร้อยละ ๕๐ เป็นชนเผ่ากะเหรี่ยง ส� ำ หรั บ ข้ า พเจ้ า แล้ ว ท� ำ ให้ นึ ก ย้ อ นกลั บ ไปเมื่ อ สมั ย ที่ ข้าพเจ้าเป็นนักเรียนที่มีภาษาไทยเป็นภาษาที่สองเช่นเดียวกับ ลูกศิษย์และเคยเป็นอุปสรรคในเรียนรู้สิ่งต่างๆ ยิ่งท�ำให้ข้าพเจ้า รู้สึกเห็นใจพวกเขาเป็นอย่างมาก และพยายามสอนให้ลูกศิษย์ว่า “นักเรียนอย่าเพิ่งท้อกับ การเรียนรู้สิ่งต่างๆ แม้นักเรียนจะมีภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง ครูก็เคยรู้สึกเหมือนนักเรียนที่คิดว่ามันเป็นอุปสรรคขวางกั้นครู อยู่ แต่ ณ วันนี้ครูมายืนอยู่หน้าชั้นเรียนได้และมาสอนพวกเรา ได้นั้นก็เพราะครูไม่เคยยอมแพ้โชคชะตาของตัวเอง ลูกศิษย์ของ ครูก็ต้องไม่ยอมแพ้เช่นกัน” ข้าพเจ้าจึงพยายามสอนให้พวกเขาว่า “วิทยาศาสตร์ นั้นเป็นสิ่งที่ใกล้ตัวนักเรียนที่สุด และเป็นสิ่งที่เรียนไม่ยากจน เกินความสามารถ ขอเพียงลูกศิษย์ของครูมีความมุ่งมั่น อดทน พยายามและตั้งใจ และครูเชื่อว่าลูกศิษย์ของครูสามารถท�ำได้” นี่เป็นสิ่งที่ข้าพเจ้าพยายามบอกลูกศิษย์เสมอ ชุมชมบ้านห้วยผึ้งใหม่มีลักษณะการอยู่ร่วมกันเหมือน ญาติพี่น้อง ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทั้งชนเผ่า กะเหรี่ยงและชนเผ่าม้งนั้นจะมีวัฒนธรรมประเพณีที่แตกต่าง กันแต่อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ชนเผ่ากะเหรี่ยงนั้นมีประเพณีที่ ส�ำคัญ คือ พิธีขึ้นปีใหม่ (นี่ซอโค่) เป็นประเพณีที่จัดขึ้นในช่วง เดือนมกราคมของทุกปี เป็นวันส�ำคัญวันหนึ่งของชาวกะเหรี่ยง เพราะเหล่าญาติพี่น้องที่ได้แต่งงาน หรือจากบ้านไปท�ำงานที่อื่น จะกลับมาร่วมงานปีใหม่กันอย่างถ้วนหน้า 21

issue 91 august 2015


มาท�ำความรู้จัก

อาการวัยทองกันเถอะ ตอนที่2

22 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Good Life

ท� ำ ไมต้ อ งรู ้ จั ก ภาวะกระดู ก พรุ น กระดูกพรุน คือภาวะที่มวลกระดูกลดลง โครงสร้างของ กระดูกเสียความแข็งแรง เปราะ หักง่าย ซึ่งกระดูกที่หักบ่อย ได้แก่ กระดูกสันหลัง กระดูกสะโพก กระดูกข้อมือ พบบ่อยใน หญิงสูงอายุ และหญิงวัยหมดประจ�ำเดือนเนื่องจากมีการลดลง ของฮอร์โมนเอสโตรเจนที่ช่วยยับยั้งการสลายของกระดูก

แทรกซ้อนต่างๆ น้อยรายจะกลับมาเดินได้เหมือนเดิม บางราย อาจเสียชีวิต รู ้ ไ ด้ อ ย่ า งไรว่ า กระดู ก พรุ น ใช้ วิ ธี ต รวจมวลกระดู ก หรื อ วั ด ความหนาแน่ น ของ กระดูก ปัจจุบันสามารถตรวจได้ง่าย รวดเร็ว ไม่เจ็บ ด้วยเครื่อง มือที่เรียกว่า (เด๊กซา) “DEXA” กรณีที่มีความเสี่ยงสูง หรืออายุ เกิน 65 ปี

ผู ้ ที่ มี ภ าวะเสี่ ย งต่ อ การเกิ ด โรคกระดู ก พรุ น 1. ผู้สูงอายุ หญิงวัยหมดประจ�ำเดือน หรือตัดรังไข่ออก ทั้ง 2 ข้าง 2. เคลื่อนไหวน้อย ไม่ออกก�ำลังกาย หรือเข้าเฝือกเป็น เวลานาน โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต 3. กินอาหารที่มีแคลเซียมน้อย อาหารที่มีไขมันมากซึ่ง ขัดขวางการดูดซึมของแคลเซียม 4. สูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และคาเฟอีน (ชา กาแฟ) ปริมาณมากเป็นประจ�ำ 5. กิ น ยาบางชนิ ด ซึ่ ง ท� ำ ให้ ก ารดู ด ซึ ม แคลเซี ย มเข้ า สู ่ ร่างกายลดลง เช่น ยารักษาไทรอยด์ ยาสเตียรอยด์ ยาขับ ปัสสาวะ 6. ผู้ที่ป่วยเป็นโรคที่เกิดจากการท�ำงานของต่อมไร้ท่อ ผิดปกติ เช่น โรคไทรอยด์ เบาหวาน 7. มีรูปร่างเล็กผอม

การป้ อ งกั น อาหาร กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ โดยเฉพาะอาหารที่มีแคลเซียม สูง เช่น นม งาด�ำ เต้าหู้ ผลิตภัณฑ์จากนม กุ้งฝอย กุ้งแห้ง ปลา เล็กปลาน้อย ปลาป่น กะปิ ผักบล็อกโคลี่ ผักกาดเขียว คะน้า ใบยอ ชะพลู ดอกแค ผักกระเฉด มะกรูด โหระพา เป็นต้น งดสูบบุหรี่และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ คาเฟอีน และ ไม่ควรซื้อยากินเอง ออกก� ำ ลั ง กาย สามารถท�ำได้หลายรูปแบบที่มีน�้ำหนักลงที่ข้อเท้า เช่น การเดินเร็ว การวิ่ง กระโดดเชือก และในรายที่มีภาวะกระดูก พรุน ควรหลีกเลี่ยงกีฬาที่มีการปะทะกัน มี ย ารั ก ษาให้ ห ายได้ ห รื อ ไม่ ในปัจจุบันมียารักษาได้หลายชนิดที่สามารถเพิ่มมวล กระดูกให้มากขึ้นได้ รวมทั้งลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหัก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ควรสั่งโดยแพทย์ การป้องกันจึงเป็น ทางเลือกที่ดีกว่าการรักษา

อาการ ส่วนใหญ่เป็นภัยเงียบ คือไม่มีอาการใดๆ จนกระทั่ง ประสบอุบัติเหตุที่ไม่รุนแรงแต่ท�ำให้กระดูกหัก ปวดหลัง หรือ เตี้ยลงจากกระดูกยุบตัว ถ้ากระดูกข้อสะโพกหัก จะมีภาวะ

23 issue 91 august 2015


24 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Cartoon

25 issue 91 August 2015


26 IS AM ARE www.ariyaplus.com


27 issue 91 August 2015


Cover Story

ครู บ้านนอกสู่ ผอ.โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

ผอ.ดร.เชิ ดศักดิ์ ศุภโสภณ

ผู ้ ห นึ่ ง ผู ้ ใ ดจะก้ า วเข้ า มาเป็ น ผู ้ อ� ำ นวยการโรงเรี ย นที่ มี ป ระวั ติ ศ าสตร์ อั น ยาวนานอย่ า งสวนกุ ห ลาบวิ ท ยาลั ย ได้ ย่ อ มต้ อ งมี ป ระสบการณ์ แ ละผลงานอั น เป็ น ประจั ก ษ์ ต ่ อ วงการศึ ก ษาอย่ า งแท้ จ ริ ง ดร.เชิ ด ศั ก ดิ์ ศุ ภ โสภณ คื อ ผู ้ ห นึ่ ง ที่ ไ ด้ รั บ ความไว้ ว างใจอย่ า งสู ง ให้ เ ข้ า มาเป็ น ผอ.โรงเรี ย นสวนกุ ห ลาบวิ ท ยาลั ย คนปั จ จุ บั น จากหนุ ่ ม ชาวราชบุ รี มุ ่ ง มั่ น เรี ย นหนั ง สื อ เพื่ อ จะเป็ น ครู ต ามความตั้ ง ใจ ไต่ เ ต้ า สอบบรรจุ รั บ ราชการครู ร ะดั บ ประถมศึ ก ษาครั้ ง แรกที่ โ รงเรี ย นศรี ป ระจั น ต์ ต.ศรี ป ระจั น ต์ อ.ศรี ป ระจั น ต์ จ.สุ พ รรณบุ รี ด้ ว ยเงิ น เดื อ น แรกของชี วิ ต จ� ำ นวน 1,750 บาท 28 IS AM ARE www.ariyaplus.com


29 issue 91 august 2015


พื้ น ดิ น อั น ว่ า งเปล่ า กว่ า 51 ไร่ ล ้ อ มรอบด้ ว ยไร่ อ ้ อ ย ปรากฏอาคารเรียนชั่วคราว 6 ห้องเรียนหลังหนึ่งตั้งอยู่ท่ามกลาง อาณาบริเวณอันเวิ้งว้าง มันเปรียบได้กับทุกสิ่งทุกอย่างของ โรงเรียนแห่งนี้ โรงเรียนที่ไม่มีแม้ห้องสุขา ท้องทุ่งนานั่นแลคือ ที่ปลดทุกข์ทั้งของครูและนักเรียน ภาพที่ชาวสรวงสุทธาวิทยา เห็นกันชินตาก็คือ อาจารย์เชิดศักดิ์มาท�ำงานตั้งแต่เช้า ต้อนรับ นักเรียนอย่างเป็นกันเอง ท�ำหน้าที่ตั้งแต่ครูสอนคณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เกษตร ศิลปะ พลศึกษา โดยเฉพาะการฝึกซ้อม นักเรียนให้เล่นกีฬาเทเบิลเทนนิส จากที่เล่นไม่เป็นจนนักเรียน คว้าแชมป์ประเทศไทย ปี 2526-2527 และคว้ารางวัลกว่า 88 รางวัล ท่านใช้เวลาเป็นครูอยู่ 7 ปี ก่อนจะก้าวสู่ต�ำแหน่งผู้ช่วย อาจารย์ใหญ่อีก 6 ปี ในบทบาทของผู้ช่วยฯ ท่านอาศัยการมี ส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง กรรมการศึกษาโรงเรียน และชุมชน ร่วมน�ำพาโรงเรียนสรวงสุทธาวิทยาเจริญก้าวหน้า อย่างต่อเนื่อง จนได้รับรางวัลโรงเรียนพระราชทาน และเป็น สถานที่ศึกษาดูงานของสถาบันพัฒนาผู้บริหาร วัดไร่ขิง ตลอด จนรางวัลดีเด่นต่างๆ อีกมากมายภายในระยะเวลา 13 ปี ส่งผล ให้ในปี พ.ศ.2534 อนาคตครูหนุ่มผู้มีความมุ่งมั่นในอาชีพก้าวสู่ ต�ำแหน่ง ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบรรหาร ผอ.เชิดศักดิ์เริ่มชีวิตการเป็นครูครั้งแรกด้วยการเป็นทั้ง ครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ครูประจ�ำชั้น และช่วยงานต่างๆ ของ โรงเรียน ทุกๆ เย็นยังเป็นโค้ชฝึกซ้อมกีฬาให้กับนักเรียน สร้าง ทีมฟุตบอลของโรงเรียนศรีประจันต์เข้าร่วมแข่งขันจนได้รับ รางวัลชนะเลิศระดับอ�ำเภอเป็นครั้งแรก เป็นผลงานชิ้นแรกๆ ที่ท่านสร้างจากการเสียสละเวลาส่วนตัวเพื่อเด็กนักเรียน ท�ำให้ ชื่อของท่านเป็นที่รู้จักของคน อ.ศรีประจันต์ เพียง 1 ปี 1 เดือน กับอีก 3 วัน ท่านสอบคัดเลือกเป็น ข้าราชการครูสังกัดกรมสามัญศึกษาได้ที่โรงเรียนสรวงสุทธา วิทยา ต.ดอนปรู อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี ในปี พ.ศ. 2521 ตรงนี้เอง เป็นความล�ำบากใจในก้าวแรกๆ ซึ่งท่านไม่เคยลืม “หากจะโอนอายุราชการ 1 ปี 1 เดือน 3 วัน และ 1 ขั้นที่ผ่านมา เพื่อน�ำไปนับต่อในการบรรจุเข้ารับราชการใหม่ ในสังกัดกรมสามัญศึกษาต้องใช้เวลาถึง 3 เดือนตามระบบของ ข้าราชการ ซึ่งไม่ส่งผลดีต่อนักเรียนทั้งสองฝ่าย เพราะนักเรียน จะรอครูไม่ได้ตราบใดที่การเรียนการสอนยังด�ำเนินต่อไป ผม จึงตัดสินใจลาออกจากราชการ โดยไม่กังวลและเสียดายอายุ ราชการที่ผ่านมา แล้วบรรจุเข้ารับราชการครูเป็นครั้งที่สอง ใน ต�ำแหน่งอาจารย์ 1 ระดับ 3 เงินเดือน 1,750 บาทเท่าเดิม”

ครู อ าวุ โ สเล่ า ให้ ฟ ั ง ว่ า โรงเรี ย นนี้ เ ด็ ก ทุ ก คนเป็ น คน ดี ไม่ ต ้ อ งปั ก ชื่ อ มั น ก็ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ รู ้ สึ ก ว่ า โอ้ โ ห โรงเรี ย นนี้ ใ ครจะมาอยู ่ ต ้ อ งเป็ น คนดี น ะ โตขึ้ น ต้ อ ง เป็ น ผู ้ ใ หญ่ ที่ ดี การที่ นั ก เรี ย นทุ ก คนเข้ า มาเรี ย นที่ สวนกุ ห ลาบ ครู อ าจารย์ ก็ จ ะต้ อ งคอยอบรมบ่ ม นิ สั ย และไม่ เ คยขาดไม้ เ รี ย วมาเป็ น ร้ อ ยปี แ ล้ ว แจ่มใสวิทยา 6 จังหวัดสุพรรณบุรีเป็นเวลา 6 ปี ก่อนจะได้รับ ความไว้วางใจจาก นายบรรหาร ศิลปอาชาให้ไปด�ำรงต�ำแหน่งผู้ อ�ำนวยการโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 1 ซึ่งเป็นโรงเรียนแรก ของกลุ่มโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา เมื่อครบ 4 ปี ทางกรมสามัญศึกษามีค�ำสั่งให้ ผอ.เชิด ศักดิ์ ศุภโสภณย้ายไปด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการโรงเรียนสงวน หญิ ง ซึ่ ง เป็ น โรงเรี ย นสตรี ประจ� ำ จั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี ส่ ง ผลให้ โรงเรียนได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนแกนน�ำปฏิรูปการศึกษาดี เด่น กรมสามัญศึกษาในที่สุดภายในระยะเวลา 7 ปีที่ท่านด�ำรง ต�ำแหน่ง ก่อนจะย้ายไปเป็นผู้อ�ำนวยการที่โรงเรียนนนทรีวิทยา จังหวัดกรุงเทพมหานครเป็นระยะเวลา 3 ปี สร้างความเกรียง ไกรและประทั บ ใจให้ กั บ ผู ้ ร ่ ว มงานและโรงเรี ย นนนทรี วิ ท ยา 30

IS AM ARE www.ariyaplus.com


ทั้ ง ในด้ า นวิ ช าการ ด้ า นการขั บ เคลื่ อ น บริหารบุคลากรแบบมีส่วนร่วม เรียกว่า แทบไม่ มี ที่ เ ก็ บ รางวั ล เลยที เ ดี ย ว จาก นั้นท่านจึงได้รับคัดเลือกให้เป็นผู้อ�ำนวย การโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สังกัด ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ในปี พ.ศ.2554 สวนกุ ห ลาบไม่ เ คยขาดไม้ เ รี ย ว “ถามว่ า วั น นี้ ส วนกุ ห ลาบมี ไ ม้ เรียวตีไหม...ตี!” ดร.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ ผอ.โรงเรี ย นสวนกุ ห ลาบวิ ท ยาลั ย คน ปัจจุบันในวัย 61 ปี กล่าวด้วยน�้ำเสียง หนักแน่นแต่แฝงรอยยิ้มอันอบอุ่น ปี นี้ ก็ เข้ า ปี ที่ 134 แล้ ว ส� ำ หรั บ อายุของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ซึ่ง ผอ.เชิดศักดิ์ย�้ำว่า โรงเรียนนี้ไม่เคยห่างไม้ เรียวอันเป็นเสมือนครูอีกคนหนึ่งที่คอย ย�้ำเตือนให้เด็กๆ ทุกรุ่นได้จดจ�ำถึงความ ประพฤติอันดีงาม คงความเป็น “สุภาพ บุรุษสวนกุหลาบ” เอาไว้ให้เหนียวแน่น

หากนั บ รายชื่ อ บุ ค ลากรของประเทศที่ โรงเรี ย นสวนกุ ห ลาบฯ ปลู ก ฝั ง มา คง ต้องนับกันยาวเหยียดหลายหน้ากระดาษ ตั้งแต่นายกรัฐมนตรีจนถึงพ่อค้านักธุรกิจ แทบทุกสาขาอาชีพ ซึ่งล้วนผ่านไม้เรียว กันมาทั้งนั้นโดยไม่เคยมีการร้องเรียนจาก ผู้ปกครองแม้สักครั้งเดียว “ผมมาใหม่ ๆ ก็ ต กใจว่ า ท� ำ ไม โรงเรี ย นนี้ ไ ม่ มี ป ั ก ชื่ อ นั ก เรี ย น เพราะ ปกติเวลาไปอยู่โรงเรียนไหนจะต้องมีช่ือ นักเรียน เราจะได้จ�ำได้ว่าคนนั้นชื่ออะไร จะได้เรียกถูก จนครูอาวุโสเล่าให้ฟังว่า โรงเรี ย นนี้ เ ด็ ก ทุ ก คนเป็ น คนดี ไม่ ต ้ อ ง ปักชื่อ มันก็เป็นส่วนหนึ่งที่รู้สึกว่า โอ้โห โรงเรียนนี้ใครจะมาอยู่ต้องเป็นคนดีนะ โตขึ้นต้องเป็นผู้ใหญ่ที่ดี การที่นักเรียนทุก คนเข้ามาเรียนที่สวนกุหลาบ ครูอาจารย์ ก็จะต้องคอยอบรมบ่มนิสัย คอยชี้แนะ คอยเตือน คอยดุ และไม่เคยขาดไม้เรียว มาเป็นร้อยปีแล้ว” แน่ น อนว่ า ทุ ก โรงเรี ย นย่ อ มมี 31 issue 91 August 2015

นักเรียนดื้ออยู่บ้าง สวนกุหลาบฯ ก็เช่น กัน แต่สิ่งที่ ผอ.เชิดศักดิ์พบเจอคือเด็ก นักเรียนสวนกุหลาบไม่ว่าจะรุ่นไหนก็ตาม ทุกคนมักจะมีความอ่อนน้อมถ่อมตน เมื่อ พบครูอาจารย์นั่งอยู่ที่เก้าอี้ นักเรียนจะ นั่งคุกเข่าทันที ไม่มีการยืนค�้ำหัวผู้ใหญ่ สิ่งนี้ไม่ได้เป็นเฉพาะนักเรียนเท่านั้น ผู้ที่ เรียนจบไปแล้วก็ยังปฏิบัติอยู่ ยิ่งตอกย�้ำ ความเหนียวแน่นในวิถีของสวนกุหลาบ อย่างเด่นชัด “ผมไปร่ ว มงานช่ อ ง 5 วั น ที่ 7 มี น าคมปี ก ่ อ น มี ก ารบริ จ าคเงิ น วั น สถาปนาโรงเรียน ศิษย์เก่าที่เป็นออแก ไนซ์เขามาแนะน�ำผมว่าขั้นตอนเป็นยังไง ผมนั่งโซฟาเขานั่งข้างล่าง ผมบอกเชิญ นั่งข้างบน เขาก็ไม่ลุกขึ้นมา เขาบอกว่า ไม่เป็นไรครับอาจารย์ ผมนั่งตรงนี้ดีแล้ว ครับ เขารู้สึกว่านี่คือครู คือถูกสอนมา” ผอ.เล่าว่า ยิ่งเห็นภาพท่านพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ซึ่งเป็นศิษย์เก่าโรงเรียน สวนกุ ห ลาบฯ ไปกราบครู อ าจารย์ ใ น


คุ ณ ธรรมน� ำ คน สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ผอ.เชิ ด ศั ก ดิ์ เ น้ น มาก คือเรื่องคุณธรรม ไม่ว่าท่านจะไปอยู่ที่ โรงเรียนใดท่านจะมีนโยบายเติมคุณธรรม ให้นักเรียนและครูเสมอ ดังนั้นการเข้า ค่ายของนักเรียนในเรื่องคุณธรรม 3 วัน 2 คืน หรือประมาณ 50 ชั่วโมงในการ ปฏิบัติธรรม จึงเป็นกุศโลบายที่โรงเรียนอยาก ให้เด็กๆ ได้ใช้ธรรมะในการครองตน “ตั้ ง แต่ ผ มเป็ น ผู ้ บ ริ ห ารมา ผม ก็ได้น�ำพระบรมราโชวาทของในหลวงมา ใช้อบรมครู ผู้บริหาร แล้วก็จัดให้มีการ เข้ า ค่ า ยธรรมมะตั้ ง แต่ ป ี 2534 จนถึ ง ปัจจุบัน 24 ปีเต็ม ผมส่งเสริมเรื่องนี้มา ตลอด เพราะผมมี ค วามเชื่ อ ว่ า ทุ ก คน เป็นคนดี แต่ต้องได้รับการขัดเกลา การ เตือนสติอย่างต่อเนื่อง ทุกวันอังคารเรา มีการตักบาตรที่โรงเรียน ผมก็ไปตักบาตร

วันเกิดของท่านเอง ภาพที่เห็นคือครูนั่ง บนโต๊ะ ตัวพลเอกสุรยุทธ์นั่งข้างล่าง ยิ่ง ท� ำ ให้ ต ระหนั ก ถึ ง ความเป็ น สุ ภ าพบุ รุ ษ สวนกุหลาบรุ่นต่อรุ่นล้วนเป็นแบบอย่าง ที่ดีต่อกัน ท�ำให้ ผอ.เกิดความประทับใจ เป็นพลังในการบริหารงานต่อไปโดยมุ่ง เน้นที่ครูเป็นหลักในการสร้างแบบอย่าง ที่ดีให้เด็กนักเรียน “ครู ต ้ อ งเป็ น แบบก่ อ น ครู ต ้ อ ง เป็นครูที่ดี ผู้บริหารก็ต้องเป็นผู้บริหาร ที่ดี จึงสั่งสมสิ่งเหล่านี้ไว้ แล้วก็สอนรุ่น ต่อรุ่น ค�ำว่าแบบอย่างที่ดีมีค่ามากกว่า ค�ำสอน มันเป็นเรื่องจริง ถ้าผู้ใหญ่ทุก ระดับท�ำตัวให้ถูกต้อง ตั้งใจท�ำงาน มุ่งมั่น อุทิศเวลา ขยันหมั่นเพียร มีความซื่อสัตย์ สุจริตในการปฏิบัติหน้าที่ ข้าราชการผู้ น้อยก็ท�ำตาม เด็กก็ท�ำตาม เมื่อผู้บริหาร ดี ครูดี นักเรียนดี ผู้ปกครองดี โรงเรียน ก็ดีในที่สุด”

ให้รุ่นน้องได้ปฏิบัติตามสืบต่อกันไปไม่มี สิ้ น สุ ด พอรุ ่ น น้ อ งจบออกไปเขาก็ รู ้ ว ่ า วั น หนึ่ ง เขาต้ อ งกลั บ มาแนะน� ำ รุ ่ น น้ อ ง ต่อไป “ปฐมนิ เ ทศ ม.1 รุ ่ น พี่ ที่ เ ป็ น หมอก็ไปเข้าค่ายกับน้องๆ คืนหนึ่ง ไป ดู แ ลน้ อ งที่ ค ่ า ยวชิ ร าวุ ธ เวลาน้ อ งเจ็ บ ป่ ว ย เพื่ อ ให้ น ้ อ งได้ มี โ อกาสได้ รั บ การ รักษาจากพี่ พอรุ่นน้องเห็นพี่เป็นหมอ มารักษาพยาบาลเบื้องต้น รุ่นพี่ ม.5 ก็ จะประคองน้องที่บาดเจ็บเดินจากสนาม ฟุ ต บอลค่ า ยวชิ ร าวุ ธ มาที่ ห ้ อ งพยาบาล จะมีหมอพยาบาลดูแล แต่หมอเป็นศิษย์ เก่า ก็เป็นไอดอลให้กับรุ่นน้องด้วย นี่คือ แบบอย่าง” ผอ.เชิดศักดิ์อธิบายว่า กิจกรรม ต่างๆ ที่นักเรียนได้ท�ำ แฝงการเรียนและ การท�ำงานไปด้วย ความทุ่มเท เสียสละ เด็กๆ จะได้ซึมซับจากรุ่นพี่ ที่นี่ปลูกฝัง

กิ จ กรรมสร้ า งคน “ค�ำว่าสุภาพบุรุษสวนกุหลาบคือ ความเป็นผู้น�ำของเขานี่แหละ เป็นผู้น�ำ รักเพื่อน นับถือพี่ เคารพครู กตัญญูพ่อ แม่ ดูแลน้อง” ผอ.เชิดศักดิ์ย�้ำว่า ความ แตกต่างที่ชาวสวนกุหลาบท�ำสืบต่อกัน มาคือการดูแลกันระหว่างพี่กับน้อง หาใช่ เพียงชั่วครั้งชั่วคราวในระยะเวลาที่เรียน ด้ ว ยกั น เท่ า นั้ น มั น หมายรวมถึ ง ความ สัมพันธ์อันยาวนานจนเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ภายใต้กิจกรรมต่างๆ ที่โรงเรียนจัดขึ้น เพื่อให้พี่น้องต่างรุ่นได้มีโอกาสดูแลกัน สิ่งนี้ชาวสวนกุหลาบยึดปฏิบัติกันอย่าง จริงจังและเหนียวแน่น นี่คือความยั่งยืน ที่เกิดขึ้น เป็นอัตลักษณ์ชัดเจนต่างจาก โรงเรียนอื่นๆ กิ จ กรรม “แลน้ อ งจากผองพี่ ” คือกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้รุ่นพี่ ม.6 ที่ จบไปแล้ ว กลั บ มาแนะน� ำ น้ อ งๆ จาก ประสบการณ์ที่ไปพบเจอมา เป็นตัวอย่าง

ครู ต ้ อ งเป็ น แบบก่ อ น ครู ต ้ อ งเป็ น ครู ที่ ดี ผู ้ บ ริ ห ารก็ ต ้ อ งเป็ น ผู ้ บ ริ ห าร ที่ ดี จึ ง สั่ ง สมสิ่ ง เหล่ า นี้ ไ ว้ แล้ ว ก็ ส อนรุ ่ น ต่ อ รุ ่ น ค� ำ ว่ า แบบอย่ า งที่ ดี มี ค ่ า มากกว่ า ค� ำ สอน มั น เป็ น เรื่ อ งจริ ง ถ้ า ผู ้ ใ หญ่ ทุ ก ระดั บ ท� ำ ตั ว ให้ ถู ก ต้ อ ง ตั้ ง ใจท� ำ งาน มุ ่ ง มั่ น อุ ทิ ศ เวลา ขยั น หมั่ น เพี ย ร มี ค วามซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข้ า ราชการผู ้ น ้ อ ยก็ ท� ำ ตาม เด็ ก ก็ ท� ำ ตาม เมื่ อ ผู ้ บริ ห ารดี ครู ดี นั ก เรี ย นดี ผู ้ ป กครองดี โรงเรี ย นก็ ดี ใ นที่ สุ ด ตั้ ง แต่ ยั ง ไม่ เข้ า มหาวิ ท ยาลั ย กิ จ กรรม ต่างๆ เช่น การแปรอักษร กว่าจะผ่านขั้น เตรียมเพจ นักเรียนทุกคนต้องซ้อมร้อง เพลง รุ่นพี่ต้องต้อนน้องมานั่งซ้อมเชียร์ ร้ อ งเพลงต่ า งๆ การจั ด ระบบขั้ น ตอน ทั้งหมดกว่าจะกลายเป็นการแปรอักษร ขึ้นมาบนอัฒจันทร์ได้ รุ่นน้องและรุ่นพี่ ต้องร่วมมือกันท�ำเอง น้องๆ จะถูกสอน ให้ท�ำในรุ่นต่อๆ ไป ทุกสิ่งกลายเป็นอัต ลักษณ์ ตามคติที่ยึดถือสืบต่อกันมา “เป็น ผู้น�ำ รักเพื่อน นับถือพี่ เคารพครู กตัญญู พ่อแม่ ดูแลน้อง” 32 IS AM ARE www.ariyaplus.com

ถ้าไม่ติดราชการ ตักบาตรแล้วพระก็จะ ปาฐกถาให้เด็กฟัง ผู้ปกครองก็ร่วมด้วย ก็ ท� ำ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง วั น ส� ำ คั ญ ทางพุ ท ธ ศาสนา วั น แสดงตนพุ ท ธมามกะก็ จ ะมี กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง” ตัวคุณธรรมนี้เองที่สร้างจิตส�ำนึก ให้นักเรียน ส่งผลให้โรงเรียนน่าอยู่โดยไม่ ต้องใช้กฎระเบียบมาบังคับมากนัก เช่น การดู แ ลห้ อ งน�้ ำ ให้ ส ะอาด ผอ.อธิ บ าย ว่ า การปลู ก ฝั ง คุ ณ ธรรมจะท� ำ ให้ เ ด็ ก มี จิ ต สาธารณะ การดู แ ลห้ อ งน�้ ำ หรื อ โรง อาหารให้สะอาดแท้จริงไม่ได้ขึ้นอยู่กับ คนท�ำความสะอาดเสมอไป สิ่งส�ำคัญคือ


ค� ำ ว่ า สุ ภ าพบุ รุ ษ สวนกุ ห ลาบคื อ ความเป็ น ผู ้ น� ำ ของเขานี่ แ หละ เป็ น ผู ้ น� ำ รั ก เพื่ อ น นั บ ถื อ พี่ เคารพครู กตั ญ ญู พ ่ อ แม่ ดู แ ลน้ อ ง

33 issue 91 august 2015


มากมายที่ได้รู้จักท่าน สิ่งนี้ไม่ว่าจะผ่านไปนานแค่ไหนมันยัง ประจักษ์อยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน นางไพรัช พลเสน ครูโรงเรียนสรวงสุทธาวิทยา เล่าว่า สมัยที่ได้ร่วมงานกับ “พี่เชิด” ท่านเป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ และท�ำหน้าที่เป็นหัวหน้าฝ่ายวิชาการ ท่านเป็นครูที่มีความ มุ่งมั่น มีวิสัยทัศน์ ทุ่มเท และเสียสละในการท�ำงาน จนเป็นที่ ยอมรับของเพื่อนครูและผู้บริหาร “ดิฉันได้เรียนรู้ ได้รับประสบการณ์การท�ำงานจากท่าน มากมาย ท่านให้การแนะน�ำ รวมทั้งแนวทางในการปฏิบัติงาน จนประสบความส�ำเร็จ สิ่งเหล่านั้นยังคงอยู่ในความทรงจ�ำของ ดิฉันตลอดมา จากความตั้งใจในการท�ำงานของท่านด้วยความ วิริยะ อุตสาหะ เสียสละ ใช้ความรู้ความสามารถทุ่มเทให้กับงาน จนบังเกิดผลดีต่อการศึกษา สังคมและประเทศชาติ” ขณะที่คณะครูจากโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 6 ต่าง พูดเป็นเสียงเดียวกันว่า เมื่อสมัยได้ร่วมงานกับ ผอ.เชิดศักดิ์ ท่านมีนโยบายให้ครูเสียสละเวลา อุทิศตนให้กับการท�ำงานเพื่อ นักเรียน งานบางอย่างอาจไม่เสร็จในเวลาราชการก็สามารถใช้ วันหยุดพักผ่อนท�ำงานนั้นให้เสร็จสิ้นได้ ท่านยังเน้นให้ครูมีความ รักความสามัคคีกัน ท�ำงานร่วมกันเป็นทีม การให้ความเคารพต่อ

ทุกคนมีคุณธรรมในการใช้ของสาธารณะร่วมกัน เป็นการแก้ ปัญหาที่ต้นเหตุ ท�ำให้โรงเรียนสะอาด เด็กๆ ก็มีระเบียบส�ำนึก อยู่ในใจ “มีเด็กคนหนึ่งขณะที่ผมก�ำลังเป่านกหวีดให้นักเรียน ข้ามถนนหน้าโรงเรียน เขาได้ขนมแจกของบริษัทน�ำเสนอสินค้า ใหม่ที่ขออนุญาตแจกหน้าโรงเรียน แล้วเขาไม่เข้าโรงเรียน ผม ถามเขาก็ บ อกว่ า เข้าไปทานไม่ไ ด้ครับ โรงเรียนเราไม่ ใ ห้ เ อา อาหารเข้าไปทานในโรงเรียนครับ แต่ฝั่งตรงข้ามโรงเรียนมีถัง ขยะ ผมจะไปทานทางโน้นแล้วจะข้ามกลับมา ผมก็บอกว่าไม่ เป็นไรลูก ผอ.เข้าใจ การข้ามไปมามันอันตราย วันนี้ ผอ.อนุญาต ให้หนูเอาขนมใส่กระเป๋า แต่หนูต้องไปนั่งทานที่โต๊ะ แต่หลัง จากทานเสร็จหนูต้องเอาไปทิ้งถังขยะได้ไหมลูก แสดงว่าเขามี วินัย ผมเลยบอกคุณครูเลยว่า คุณครูดูนะเด็กคนนี้น่ารักมาก เลย เขารู้ว่าโรงเรียนห้ามเอาขนมมาทาน เขาจึงต้องทานให้หมด ฝั่งโน้นเพื่อจะได้ทิ้งถังขยะ เพราะฝั่งนี้ไม่มีถังขยะ แสดงว่าสิ่งที่ เราอบรมบ่มเพาะจากครู จากผู้ปกครองที่บ้านมาก็ดี เป็นสิ่งที่ ดี”

ตั้ ง แต่ ผ มเป็ น ผู ้ บ ริ ห ารมา ผมก็ ไ ด้ น� ำ พระบรม ราโชวาทของในหลวงมาใช้ อ บรมครู ผู ้ บ ริ ห าร แล้ ว ก็ จั ด ให้ มี ก ารเข้ า ค่ า ยธรรมมะตั้ ง แต่ ป ี 2534 จนถึ ง ปั จ จุ บั น 24 ปี เ ต็ ม

เสี ย งจากผู ้ ร ่ ว มงาน ประสบการณ์แต่ละโรงเรียนที่ ผอ.เชิดศักดิ์ ได้มีโอกาส ได้ ฝ ากผลงาน ล้ ว นฝากความประทั บ ใจเอาไว้ แ ก่ ผู ้ ร ่ ว มงาน 34 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ผู้ที่มีอาวุโส ผู้ที่มีอายุน้อยกว่าต้องไหว้ผู้ มีอายุมากกว่า ส่วนผู้ที่มีอาวุโสมากกว่า ก็ให้ความเมตตา แนะน�ำสั่งสอนสิ่งที่ถูก ต้องและช่วยเหลือน้องๆ ทั้งนี้ท่านยังมี วิสัยทัศน์ มองคนเป็น เลือกคนท�ำงาน ได้เหมาะสมกับงานที่ท�ำ จึงท�ำให้ผู้ปฏิบัติ งานท�ำงานอย่างเต็มที่และมีความสุข ส่ ว นคณะครู จ ากโรงเรี ย นสงวน หญิ ง ต่ า งสะท้ อ นว่ า ภาพของ ผอ.เชิ ด ศักดิ์ ที่ชาวสงวนหญิงจ�ำได้ดี คือภาพที่ ท่านยืนอยู่หน้าโรงเรียนทุกเช้า เพื่อดูแล ความปลอดภัยในการข้ามถนน ดูแลการ เดินเป็นแถวของนักเรียน บ่อยครั้งที่เห็น ผอ.พู ด คุ ย กั บ นั ก เรี ย นอย่ า งเป็ น กั น เอง นั่ น คื อ วิ ธี ก ารเก็ บ ข้ อ มู ล ที่ ท ่ า นจะน� ำ มา พัฒนาโรงเรียนต่อไป ด้านนายชาย จันทร์งาม รองผู้ อ� ำ นวยการกลุ่ม บริหารกิจการนัก เรียน โรงเรี ย นนนทรี วิ ท ยากล่ า วว่ า เมื่ อ นึกถึง ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ ต้องนึกถึง บุคลิกภาพที่ดีในหลายรูปแบบ เช่น มี มนุ ษ ย์ สั ม พั น ธ์ ที่ ดี ท� ำ งานเก่ ง มี ก าร

วางแผนและมี ร ะบบการท� ำ งานที่ ย อด เยี่ยม “ผมเป็ น คนหนึ่ ง ที่ ไ ด้ ร ่ ว มงาน กับท่าน เป็นความโชคดีของผมที่ได้เห็น และได้เรียนรู้การท�ำงานของท่าน ในรูป แบบต่างๆ เช่น การบริหารงาน บริหาร คน บริ ห ารองค์ ก ร การปฏิ บั ติ ง านใน รูปแบบต่างๆ ทั้งในเชิงรุกและเชิงรับ มี การวางแผนการปฏิ บั ติ ง านอย่ า งเป็ น ระบบทุกขั้นตอนในการด�ำเนินโครงการ และกิ จ กรรมต่ า งๆ ส่ ง ผลให้ โรงเรี ย น นนทรี วิ ท ยามี ค วามก้ า วหน้ า พั ฒ นาไป

อย่างรวดเร็ว” หลายเสียงจากครูโรงเรียนต่างๆ ที่ย�้ำเตือนถึงผลงานที่ท่านท�ำเอาไว้ หัวใจ หลักในการด�ำเนินงานบริหารต่างๆ ผอ.เชิดศักดิ์ ยึดหลักค�ำสอนจาก พระบรมราโชวาทของในหลวง เป็ น แนวทางในการบริ ห ารงาน บริ ห ารคน ตั้งแต่เริ่มเข้ารับราชการครูใหม่ๆ จนถึง ปัจจุบัน “ค�ำสอนของในหลวงเป็นความ จริงทุกประการ เป็นกุญแจสู่ความส�ำเร็จ ส�ำหรับทุกคน” ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนสวน กุหลาบวิทยาลัย กล่าวทิ้งท้าย

ไม้ต้นหนึ่งฉันยลเห็นโดดเด่นนัก แม้ว่าจักอยู่ที่ใดไม่เหี่ยวเฉา กลับงอกงามเติบโตให้ร่มเงา ดุจคอยเฝ้าคุ้มภัยให้ทุกคน มาวันนี้วันต้นไม้ขยายกิ่ง ปรับบางสิ่งเปลี่ยนบางอย่างสร้างล�ำต้น จากกระถางสู่แผ่นดินถิ่นควรยล แต่กมลมิเปลี่ยนแปรแม้เปลี่ยนไป ผอ.ดร. ก็เหมือนต้นไม้ในกลอนนี้ ถึงวันที่ขยายกิ่งยิ่งสดใส ขอให้ ผอ.ดร.พบสุขอ�ำนวยขออวยชัย เพื่อก้าวใหม่เปี่ยมค่าสุขถาวร นักการภารโรง โรงเรียนนนทรีวิทยา

35 issue 91 August 2015


พระราชประวัติ

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ ทรงมี พ ระเชษฐา (พี่ ช าย) 2 พระองค์ และและพระกนิ ษ ฐภคิ นี (น้ อ งสาว) 1 พระองค์ ดั ง นี้ หม่ อ มราชวงศ์ กั ล ยาณกิ ติ์ กิ ติ ย ากร (ชาตะ พ.ศ. 2472) หม่ อ มราชวงศ์ อดุ ล กิ ติ์ กิ ติ ย ากร (ชาตะ พ.ศ. 2473) และ หม่ อ มราชวงศ์ ห ญิ ง บุ ษ บา กิ ติ ย ากร (ชาตะ พ.ศ. 2477) 36 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ในระหว่ า งยั ง ทรงพระเยาว์ สถานการณ์บา้ นเมืองไม่สสู้ งบนัก เนือ่ งจาก เพิ่งพ้นจากช่วงของการเปลี่ยนแปลงการ ปกครอง 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ไม่นาน หม่อมเจ้านักขัตรมงคลต้องทรงออกจาก ราชการ รัฐบาลแต่งตั้งให้ไปรับต�ำแหน่ง เลขานุการเอกประจ�ำสถานทูตสยาม ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ส่วนหม่อมหลวงบัวซึ่ง มีครรภ์แก่ ได้เดินทางไปสมทบหลังจาก ให้ก�ำเนิดหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์แล้ว โดย มอบหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ให้อยู่ในความ ดูแลของบิดาและมารดาของหม่อมหลวง บัว ดังนั้นจึงต้องอยู่ไกลจากบิดามารดา ตั้งแต่อายุน้อย บางคราวต้องเดินทางไป ต่างจังหวัด เช่น พ.ศ. 2476 หม่อมเจ้า อัปสรสมาน กิติยากร พระมารดาของ หม่อมเจ้านักขัตรมงคล ได้ทรงรับนัดดา ตามเสด็ จพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว ไปอยู่ที่จังหวัดสงขลา ปลายปี พ.ศ. 2477 หม่อมเจ้านักขัตรมงคลทรงลา ออกจากราชการแล้วกลับมาประเทศไทย จึงท�ำให้หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ซึ่งขณะนั้น อายุได้ 2 ปี 6 เดือน ได้กลับมาอยู่รวม พร้อมหน้ากันทั้งครอบครัว ณ ต�ำหนัก บริ เวณถนนกรุ ง เกษม ปากคลองผดุ ง กรุงเกษม ริมแม่น�้ำเจ้าพระยา

วังพระบิดา ได้เรียนที่นั่นตั้งแต่ชั้นประถม ศึกษาปีที่ 2 จนจบชั้นมัธยมศึกษา หม่อม ราชวงศ์สิริกิติ์ได้เรียนเปียโน ซึ่งเรียนได้ดี และเร็วเป็นพิเศษ นอกจากนี้ยังได้ศึกษา ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสด้วย พ.ศ. 2489 ครั้นเมื่อสงครามโลก ครั้งที่สองสงบลง หม่อมเจ้านักขัตรมงคล ต้องเสด็จไปด�ำรงต�ำแหน่งรัฐทูตวิสามัญ และอั ค รราชทู ต ผู ้ มี อ� ำ นาจเต็ ม ประจ� ำ ส�ำนักเซนต์เจมส์ ประเทศอังกฤษ ทั้งนี้ โดยได้ทรงพาครอบครัวทั้งหมดไปอยู่ด้วย ในเวลานั้นหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ มีอายุได้ 13 ปีเศษ และเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 แล้ว ขณะที่ อ ยู ่ ใ นประเทศอั ง กฤษ หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ได้ศึกษาต่อทั้งวิชา ภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส และวิชาเปียโน กับครูพิเศษ หลังจากนั้นไม่นาน พระบิดา ย้ายไปเดนมาร์กและฝรั่งเศส ตามล�ำดับ ขณะที่หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ก็ยังคงเรียน เปียโน และตั้งใจจะศึกษาต่อในวิทยาลัย การดนตรีที่มีชื่อเสียงของกรุงปารีส ระหว่างที่อยู่ในประเทศฝรั่งเศส หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ได้มีโอกาสรับเสด็จ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภู มิ พ ล

การศึ ก ษา พ.ศ. 2479 เมื่อหม่อมราชวงศ์ หญิงสิริกิติ์มีอายุได้ 4 ขวบ ได้เข้ารับการ ศึ ก ษาครั้ ง แรกในชั้ น อนุ บ าลที่ โรงเรี ย น ราชินี ทว่าในขณะนั้น แม้เหตุการณ์ด้าน การเมืองภายในประเทศไทยจะสงบลง แต่สถานการณ์ระหว่างประเทศไม่สงบ กล่าวคือ สงครามมหาเอเชียบูรพาเริ่มแผ่ ขยายมาถึงประเทศไทย กรุงเทพมหานคร ถู ก โจมตี ท างอากาศหลายครั้ ง จนการ คมนาคมไม่สะดวก พระบิดาจึงให้หม่อม ราชวงศ์สิริกิติ์ย้ายไปเรียนที่โรงเรียนเซนต์ ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ เพราะอยู่ใกล้ 37 issue 91 August 2015

อดุ ล ยเดช (ขณะนั้ น ทรงศึ ก ษาต่ อ ที่ ส วิ ต เซอร์ แ ลนด์ ห ลั ง จากเสด็ จ ขึ้ น ครอง ราชย์ ) ซึ่ ง พระองค์ เ สด็ จ ประพาสกรุ ง ปารี ส โดยทางรถยนต์ จ ากสวิ ต เซอร์ แลนด์ เพราะประสงค์จะเลือกซื้อรถยนต์ พระที่นั่งแทนคันเดิม และยังได้รับชมการ แสดงดนตรีของคณะที่มีชื่อเสียงด้วย ใน ระหว่างที่เสด็จพระราชด�ำเนินมายังกรุง ปารีส ได้ประทับที่สถานทูตไทยประจ�ำ ประเทศฝรั่งเศสเช่นเดียวกันกับนักเรียน ไทยคนอื่ น ในสมั ย นั้ น ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจาก พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ฯ ทรง โปรดการดนตรีเป็นพิเศษ ขณะที่หม่อม ราชวงศ์สิริกิติ์ก็สนใจศิลปะเช่นกัน ท�ำให้ เกิดความความสัมพันธ์ขึ้น ทรงหมั้ น วั น ที่ 3 ตุ ล าคม พ.ศ. 2491 พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ฯ ทรง ประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ ณ ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ ทรงเข้ารับการรักษาใน โรงพยาบาลแห่งหนึ่งโดยมีหม่อมหลวง บั ว และหม่ อ มราชวงศ์ ห ญิ ง สิ ริ กิ ติ์ เข้ า เฝ้าฯ เยี่ยมพระอาการเป็นประจ�ำ และ ในช่วงระยะเวลาที่หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์


อภิ เ ษกสมรส พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และสมเด็ จ พระบรม ราชินีนาถทรงสายสะพายนพรัตน์ราชวราภรณ์เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2493 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสขึ้น ณ วังสระปทุม และ โปรดเกล้าฯ สถาปนาหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ขึ้นเป็น สมเด็จพระ ราชินีสิริกิติ์ หลั ง จากครองราชย์ ส มบั ติ อ ย่ า งกะทั น หั น พระบาท สมเด็จพระหัวอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้โปรดเกล้าฯ ให้มีพระ ราชพิธีบรมราชาภิเษกขึ้นในวันที่ 5 พฤษภาคม 2493 และ โปรดฯ ให้เฉลิมพระนามาภิไธย สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ เป็น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี หลังจากนั้นทั้งสองพระ องค์ได้เสด็จฯ กลับไปยังสวิตเซอร์แลนด์เพื่อทรงรักษาพระองค์ และทรงศึกษาต่อ แล้วเสด็จฯ กลับมาอีกครั้งในปี พ.ศ. 2495 พระราชโอรสธิ ด า สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระ ราชโอรส และพระราชธิดา 4 พระองค์ ดังนี้ 1. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าหญิงอุบลรัตนราช กัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ประสูติ ณ สถานพยาบาลมอง ซัวซี นครโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2494 ต่อมาได้ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์ (ปัจจุบัน ทรง พระนามว่า ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนา พรรณวดี) เพื่อสมรสกับนายปีเตอร์ แลด เจนเซน ชาวอเมริกัน ทรงมีพระโอรส 1 องค์ และพระธิดา 2 องค์

อยู่เฝ้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่สวิตเซอร์แลนด์ นั้น สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ (พระนามในเวลานั้น) ได้ทรง รับเป็นธุระจัดการให้หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์เข้าศึกษาในโรงเรียน Pensionnat Riante Rive ซึ่งเป็นโรงเรียนประจ�ำแห่งหนึ่ง ของโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ครั้นเมื่อพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวทรงหายจากอาการประชวรแล้ว ได้ทรงหมั้น หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์เป็นการภายในเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 หลังจากทรงหมั้นแล้ว หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ยังคงศึกษา ต่อ กระทั่ง พ.ศ. 2493 เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จ พระราชด� ำ เนิ น นิ วั ต พระนครเพื่ อ ร่ ว มพระราชพิ ธี ถ วายพระ เพลิ ง พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว อานั น ทมหิ ด ล พระองค์ ท่านโปรดฯ ให้หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ตามเสด็จพระราชด�ำเนิน กลับมาด้วย

38 IS AM ARE www.ariyaplus.com


2. สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ บรม จักราดิศรสันตติวงศ์ เทเวศรธ�ำรงสุรบริบาล อภิคุณูประการ มหิตลาดุลเดชภูมิพลนเรศวรางกูร กิติสิริสมบูรณ์ สวางควัฒน์ บรมขัตติยราชกุมาร ประสูติ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน เมื่อวัน ที่ 28 กรกฎาคม 2495 ต่อมา ทรงได้รับการสถาปนา ขึ้นเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฏ ราชกุมาร เมื่อ พ.ศ. 2515 3. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ ประสูติ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน เมื่อวัน ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2498 ต่อมาทรงได้รับพระราชทานโปรด เกล้าฯ ให้เฉลิมพระอิสริยยศ เป็น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราช กุมารี เมื่อ พ.ศ. 2520 4. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประสูติ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน เมื่อวันที่ 4 กรกฏาคม พ.ศ. 2500 ทรงอภิเษกสมรสกับ เรืออากาศโท (ยศ ในขณะนั้น) วีระยุทธ ดิษยะศริน ทรงมีพระธิดา 2 พระองค์

ให้ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี เป็ น ผู ้ ส� ำ เร็ จ ราชการแทนพระองค์ ในภายหลังพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงได้โปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระนามาภิไธยเป็นสมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ปีเดียวกัน บรรณานุกรม สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ผู ้ ส� ำ เร็ จ ราชการแทนพระองค์ เมื่อ พ.ศ. 2499 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯ ออกผนวชเป็นเวลา 15 วัน ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม - 5 พฤศจิกายน และระหว่างที่ผนวช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ

อุ ่ น ไอรั ก ...จากแม่ สั จ จาภรณ์ ไวจรรยา poohkan (ผู ้ แ ต่ ง กลอนวั น แม่ ) กลิ่นความรักหอมนวลอวลไออุ่น มือละมุนเนียนนุ่มอุ้มโอบขวัญ ทะนุถนอมตระกรองกอดยอดชีวัน ประครองป้องผองภยันอันตราย กี่สิบถ้อยร้อยค�ำร�ำพันพรอด ที่ถ่ายทอด “ค�ำรัก” หลากความหมาย กี่เปรียบเปรยสรรหามาบรรยาย ฤาเทียบสายใยรักจาก...มารดา ครั้งที่ลูกยังเป็นเด็ก เล็กเล็กอยู่ แม่คือ “ครู” สอนอ่านเขียนเรียนภาษา ให้ค�ำเตือน...เสมือนแสงแห่งปัญญา ให้วิชาคือ “รู้คิด” ที่ติดตน ยามลูกเหนื่อยอนาทรแสนอ่อนล้า ต้องการค�ำปรึกษาหาเหตุผล แล้วหันมองรอบกาย...คล้ายมืดมน ยังพบคนหนึ่ง...คือแม่...คอยแลมอง แม่จ๋า...แม่คือยอดสตรีที่ประเสริฐ แม่...เลอเลิศหนึ่งในใจไม่เป็นสอง แม่...สูงค่ากว่าหยาดเพชรเกร็ดสีทอง เกินยกย่องด้วยล้านค�ำ...พร�่ำพรรณนา หอมกลิ่นความรักนวลอวลไออุ่น ระลึกคุณ แม่โอบอุ้มคุ้มเกศา มือของลูกจึงเรียงร้อยถ้อยวาจา เป็นมาลาหอม “รัก” กราบจากใจ ที่มา : Sanook! Campus 39 issue 91 August 2015


การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ PEA

เดิ น หน้ า กลยุ ท ธ์ ก ารก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ต ามหลั ก ธรรมาภิ บ าล (Excellence in Governance) เปิ ด โครงการน� ำ ร่ อ งการไฟฟ้ า โปร่ ง ใส ณ การไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าครั ง สิ ต นายถวิล เปลี่ยนศรี ประธานกรรมการบริหาร การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค (กฟภ.) หรือ PEA นายพงศธร สัจจชลพันธ์ ผู้ว่า ราชการจังหวัดปทุมธานี นายเสริมสกุล คล้ายแก้ว ผู้ว่าการ PEA ร่วมเป็นประธานเปิด “โครงการน�ำร่องการไฟฟ้าโปร่งใส การไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าครั ง สิ ต ” โดยได้ รั บ เกี ย รติ จ ากคณะ กรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและความรับผิดชอบต่อสังคม PEA ประกอบด้วย ผศ.บุญชัย โสวรรณวณิชกุล นายไพบูลย์

ศิริภาณุเสถียร รศ.ดร.วิสุทธ์ สุนทรกนกพงศ์ พร้อมด้วยคณะ ผู้บริหาร หัวหน้าส่วนราชการเข้าร่วมพิธีดังกล่าว และมีนายสม ลักษณ์ กิ่งมาลา ผู้อ�ำนวยการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 1 (ภาค กลาง) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กล่าวรายงาน ณ ส�ำนักงานการ ไฟฟ้าส่วนภูมิภาครังสิต ถนนพหลโยธิน จังหวัดปทุมธานี ตามนโยบายการบริหารและพัฒนาของการไฟฟ้าส่วน ภูมิภาค (กฟภ.) หรือ PEA ยุทธศาสตร์ที่ 4 ว่าด้วยเรื่องการเติบโต

40 IS AM ARE www.ariyaplus.com


พนักงานทุกระดับให้ปฏิบัติด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ประกาศ เจตนารมณ์การเป็นหน่วยงานที่ให้บริการด้วยความโปร่งใส สร้ า งกระบวนการขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ง านไม่ ใ ห้ มี ก ารทุ จ ริ ต คอร์รัปชั่น ก�ำหนดช่องทางการสื่อสารระหว่างผู้ให้บริการกับ ผู้รับบริการให้สามารถติดต่อได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้นและสร้าง กระบวนการตรวจสอบเชิงรุกภายในหน่วยงาน โดยโครงการ ดังกล่าวได้ด�ำเนินการสุ่มตรวจสอบ 4 รายการ ได้แก่ งานแก้ไข กระแสไฟฟ้าขัดข้อง งานบริการลูกค้า งานติดตั้งมิเตอร์และงาน จัดซื้อ อีกทั้งยังมีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบเครือข่าย ไฟฟ้าโปร่งใส นอกจากนี้ โครงการดังกล่าวถือได้ว่าเป็นการตอกย�้ำ นโยบายของผู้ว่าการ PEA ที่ได้ลงนามนโยบายต่อต้านการ P E A จ ะ น� ำ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท� ำ ง า น ข อ ง ต ้ น แ บ บ การไฟฟ้ า น� ำ ร่ อ งไปสู ่ ก ารก� ำ หนดมาตรฐาน การไฟฟ้ า โปร่ ง ใสให้ เ ป็ น มาตรฐานเดี ย วกั น ทั้ ง องค์ ก ร โดยจะด� ำ เนิ น การขยายผลไปยั ง การไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าคเขต (กฟข.) ทุ ก แห่ ง ภายในปี 2559

อย่างยั่งยืน (Sustainable) กลยุทธ์มีการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล (Excellence in Governance) พัฒนาและส่งเสริมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ด�ำเนินงานด้วย ความโปร่งใส ปราศจากการทุจริตคอร์รัปชั่น มีมาตรฐานทาง จริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ สร้างต้นแบบการไฟฟ้า โปร่งใสและขยายผลไปยังการไฟฟ้าต่างๆ ซึ่งจากประเด็นข้อ สั่งการของผู้ว่าการ PEA ในการประชุมผู้บริหารระดับสูงครั้งที่ 3/2558 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2558 ก�ำหนดแผนเร่งด่วน ประจ�ำปี 2558 ข้อ 4.1 การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ 1) การสร้างความโปร่งใสน�ำร่องที่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาครังสิต (กฟฟ.รังสิต) โดยติดป้ายประกาศว่า “กฟฟ.รังสิต เป็นการ ไฟฟ้าโปร่งใส งดรับเงินใต้โต๊ะ” มีระบบการท�ำงานที่สามารถ ตรวจสอบได้ ทั้งนี้ PEA จะน�ำกระบวนการท�ำงานของต้นแบบ การไฟฟ้า น�ำร่องไปสู่การก�ำหนดมาตรฐานการไฟฟ้าโปร่งใสให้ เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งองค์กร โดยจะด�ำเนินการขยายผลไป ยังการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาคเขต (กฟข.) ทุกแห่งภายในปี 2559 และจะขยายผลไปทั่วประเทศในปีต่อๆ ไป ส� ำ หรั บ รู ป แบบการด� ำ เนิ น งานโครงการฯ มี ขั้ น ตอน การด�ำเนินการ 5 ขั้นตอน ประกอบด้วย สร้างจิตส�ำนึกให้กับ 41 issue 91 August 2015


ทุจริตและประกาศเจตนารมณ์ “ต่อต้าน การทุจริต สร้างจิตส�ำนึก กฟภ. ไม่โกง” เพื่อแสดงถึงความมุ่งมั่นร่วมกันป้องกัน และปราบปรามการทุจริตให้สัมฤทธิ์ผล ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้ ง ปฏิ บั ติ ตนเป็นแบบอย่างและปลูกจิตส�ำนึกให้ บุ ค ลากรในองค์ ก รไม่ นิ่ ง เฉยต่ อ ปั ญ หา การทุ จ ริ ต รวมทั้ ง ให้ ค วามร่ ว มมื อ ต่ อ ต้านการทุจริตอย่างยั่งยืน โดยก่อนหน้านี้ PEA ได้ด�ำเนินการเปิดศูนย์ปฏิบัติการ ต่อต้านการทุจริต กฟภ. หรือ ศปท. PEA ซึ่ ง เป็ น ศู น ย์ ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารเปิ ด รั บ ข้ อ ร้ อ ง

เรียนเรื่องราวทุจริต เพื่อพัฒนางานด้าน การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี งานป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้ ง สนอง นโยบายของรัฐบาล กระทรวงมหาดไทย และสร้ า งเครื อ ข่ า ย ในการขั บ เคลื่ อ น นโยบายมาตรการต่างๆ และศูนย์ พ.ร.บ. ข้ อ มู ล ข่ า วสารการไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าค ส� ำ นั ก งานใหญ่ ที่ ถื อ ว่ า เป็ น หนึ่ ง ใน การพัฒนาศูนย์ พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาร ของการไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าคทั่ ว ประเทศ เพื่อเป็นหน่วยงานต้นแบบในการจัดตั้ง

ศู น ย์ ข ้ อ มู ล ข่ า วสารของราชการระดั บ กระทรวง (หนึ่งกระทรวง หนึ่งหน่วยงาน ต้นแบบ) ในนามกระทรวงมหาดไทย ทั้งนี้ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) หรือ PEA ขอความร่ ว มมื อ ประชาชนผู ้ ใช้ บ ริ ก าร หากพบเห็นการให้บริการหรือการกระ ท� ำ ที่ อ าจส่ อ ไปในทางทุ จ ริ ต ประพฤติ มิ ชอบของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค กรุ ณ าแจ้ ง เบาะแสได้ ที่ ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก าร ต่อต้านการทุจริตการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โทร 1129 PEA Call Center ตลอด 24 ชั่วโมง

การไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าค Provincial Electricity Authority Information Service Center : www.pea.co.th/peainfo 1129 PEA Call Center

42 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ถ้าสามารถที่จะเปลี่ยนไปท�ำให้กลับเป็นเศรษฐกิจ แบบพอเพียงไม่ต้องทั้งหมดแม้แต่ครึ่งก็ไม่ต้อง อาจจะสักเศษหนึ่งส่วนสี่ ก็จะสามารถอยู่ได้ พระราชด�ำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทานแก่คณะบุคคลต่างๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคล ในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต วันพฤหัสบดีที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๐

43 issue 91 August 2015


ครู เซฟ อรุ ณ ถนอมธรรม 14 ปี บนเส้นทางครู ข้างถนน

“เราอยู ่เคียงข้างผู ้ยากไร้”

คื อ จุ ด ยื น ของมู ล นิ ธิ ส ่ ง เสริ ม การพั ฒ นาบุ ค คลโครงการอุ ป ถั ม ภ์ เ ด็ ก บ้ า นเมอร์ ซี่ ภายใต้ ก ารน� ำ ของ บาทหลวง โจเซฟ เอช ไมเออร์ ผู ้ เ ดิ น ทางมาจากเมื อ งลองวิ ว รั ฐ วอชิ ง ตั น ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า เก็ บ เกี่ ย วประสบการณ์ ด ้ า นงานช่ ว ยเหลื อ สั ง คมที่ ป ระเทศลาว พบเห็ น ปั ญ หาในชุ ม ชนต่ า งๆ มากมาย ก่ อ นจะ มาก่ อ ตั้ ง ศู น ย์ ฯ แห่ ง นี้ ภ ายใต้ ก ารส่ ง เสริ ม และแนะน� ำ ของคณะพระมหาไถ่

44 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Let's Talk

45 issue 91 august 2015


กว่า 42 ปีที่ศูนย์ฯ แห่งนี้เริ่มต้นขึ้นมา จากจุดเล็กๆ จน ได้รับความร่วมมือจากหลายฝ่าย ก่อเกิดเป็นมูลนิธิฯ เพื่อจุด ประสงค์เดียวคือ ช่วยเหลือและรักษาสิทธิ์ให้แก่ผู้ยากไร้ จากครู ด นตรี สู ่ ค รู ข ้ า งถนน ครูเซฟเป็นคนจังหวัดสงขลา เดินทางสู่กรุงเทพมหานคร เมื่อ 14 ปีที่แล้ว พร้อมกีต้าร์ตัวเก่าที่เคยใช้สอนนักเรียนเพื่อ เติมเต็มให้แก่ชีวิตน้อยๆ มันเป็นอาชีพตรงสายส�ำหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาจบใหม่ สร้างรายได้เลี้ยงตัวเอง สบายๆ แต่ความเป็นหนุ่มผู้มีจิตใจอยากเป็นครูอาสา ท�ำให้ เขาเริ่มใช้เวลาว่างในช่วงปิดเทอมเดินทางเข้ากรุงเทพฯ ตาม ค�ำแนะน�ำของเพื่อน มุ่งสู่งานอาสาที่ศูนย์ฯ เมอร์ซี่ในชุมชน คลองเตย “เรี ย นด้ า นดนตรี ม าจากสงขลา จบมาสอนกี ต ้ า ร์ คลาสสิกให้กับลูกคนที่มีฐานะร�่ำรวย ในยุคนั้นความมุ่งหวังคือ อยากเป็นครูที่ช่วยเหลือสังคมบ้าง เลยอุทิศชีวิตส่วนหนึ่งมาเป็น อาสาสมัครครูข้างถนน มุ่งตรงมาที่ศูนย์ฯ นี้เพราะรู้ว่าปัญหาเด็ก งานของมูลนิธิฯ เกิดขึ้นอย่างเรียบง่ายในปี พ.ศ.2516 เร่ร่อนที่แท้จริงของบ้านเราอยู่ที่คลองเตย” อรุณ ถนอมธรรม เมื่อบาทหลวงโจเซฟ เอช ไมเออร์ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง หรือครูเซฟ วัย 39 ปี เล่าถึงความเป็นมาของตัวเองในช่วงแรกๆ เจ้าอาวาส วัดแม่พระแห่งเหรียญอัศจรรย์ ตั้งอยู่บริเวณโรงฆ่า ที่เข้ามาสมัครเป็นครูข้างถนน สัตว์ (โรงหมู) ในสลัมคลองเตย เด็กที่เป็นลูกหลานชาวสลัมที่ เดิ ม ที ค รู เซฟตั้ ง ใจจะลองงานอาสาสมั ค รเป็ น ครู ข ้ า ง ยากจนจ�ำนวนมากไม่มีโอกาสไปโรงเรียน เด็กเล็กๆ ได้แต่วิ่ง ถนนเพี ย งหนึ่ ง เดื อ นต่ อ หนึ่ ง ครั้ ง ในช่ ว งปิ ด เทอม แต่ เ มื่ อ เขา เล่นไปวันๆ รอให้พ่อแม่ผู้ปกครองเลิกจากงานในท่าเรือหรือ ได้รู้ถึงปัญหาจากการลงพื้นที่ไปพบเด็กเร่ร่อนย่านหัวล�ำโพง ในสลัมกลับมาบ้าน ความยากจนท�ำให้เด็กไม่มีโอกาสเตรียม สะพานพุทธฯ อโศก สุขุมวิท คลองเตย ฯลฯ ท�ำให้ความคิด ความพร้อมเพื่อเข้าเรียนชั้น ป.1 แม้จะได้เข้าเรียน ก็ต้องออก จากโรงเรียนเพราะเรียนไม่รู้เรื่อง อีกทั้งพ่อแม่ไม่มีเงินส่งไป เด็ ก ที่ มี ฐ านะร�่ ำ รวยเขาจะมี ค วามอ่ อ นไหวง่ า ย เรา ไปสอนเขาเพิ่ ม เติ ม เรื่ อ งดนตรี ที่ ไ ม่ ใ ช่ ส ่ ว นส� ำ คั ญ เรียน คุ ณ พ่ อโจ ที่คนในชุม ชนต่างรู้จัก จึงได้ช วนซิ ส เตอร์ ของชี วิ ต เลย เป็ น การเรี ย นเสริ ม เท่ า นั้ น แต่ ม า มาลินี ฉันทวโรดม หรือ “คุณแม่มาเรีย” จากคณะพระแม่ สอนเด็ ก เร่ ร ่ อ นเป็ น การสอนชี วิ ต สอนให้ เ ขามี มารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมล สาธุประดิษฐ์ มาช่วยสอนหนังสือให้กับ ชี วิ ต อยู ่ เอาตั ว รอดให้ ไ ด้ สอนเขาให้ พ ้ น จากความ เด็กๆ คาทอลิก ต่อมาไม่นานได้เกิดความร่วมมือร่วมใจจาก ล� ำ บาก ชาวบ้าน ก่อตั้งโรงเรียนวันละบาทขึ้น ด�ำเนินการในรูปแบบ ศูนย์เด็กปฐมวัย ตอนเช้าพ่อแม่น�ำลูกมาฝากไว้ที่คุณครูและมา รับกลับเมื่อเลิกงาน หลังจากโรงเรียนวันละบาทด�ำเนินไปได้ด้วยดี จึงได้ เกิดความร่วมมือจากชาวบ้านอีกหลายชุมชน ในการร่วมก่อ ตั้งโรงเรียนขึ้น จนกระทั่งปี พ.ศ. 2552 มีศูนย์เด็กปฐมวัยของ มูลนิธิฯ ด�ำเนินงานอยู่ในชุมชนแออัดทั้งสิ้น 26 แห่ง บนพื้นที่ 16 เขตในกรุงเทพมหานคร รับเด็กปฐมวัย กว่า 4,000 คน เข้า เตรียมตัวเรียนในระดับชั้น ป. 1 46 IS AM ARE www.ariyaplus.com


เขาเริ่มเปลี่ยน หน้าที่ของครูข้างถนนคือ ดึงเด็กเร่ร่อนออกจากพื้นที่มาเข้ารับการ ศึกษาที่ศูนย์ฯ เมอร์ซี่ โดยวิธีการแตก ต่างกันไปของครูแต่ละคน สิ่งส�ำคัญคือ การสร้างความไว้วางใจให้กับเด็กเร่ร่อน พู ด คุ ย ให้ สิ่ ง ของ ท� ำ ให้ เ ด็ ก ๆ มั่ น ใจ ในความหวั ง ดี เมื่ อ เด็ ก มารู ้ จั ก ศู น ย์ ฯ เมอร์ซี่แล้ว พวกเขาจะมาอีกครั้งเมื่อไหร่ ก็ได้ ที่นี่ไม่มีการผูกมัดกักขัง เพียงแต่ ให้รู้ว่าทางศูนย์ฯ มีอาหารให้กิน มีการ ศึกษาให้ และส�ำหรับเด็กๆ ที่ป่วยไข้ ติด ยาเสพติดหรือติดโรคร้าย หรือมีปัญหา เกี่ ย วกั บ คดี ค วาม ที่ นี่ จ ะคอยประสาน ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องลงมาช่วยเหลือ เด็กต่อไป ศูนย์ฯ เมอร์ซี่ประกอบด้วยบ้าน พักส�ำหรับเด็กเร่ร่อน สถานสงเคราะห์ เด็กเมอร์ซี่ ศูนย์สขุ ภาพและอนามัยชุมชน บ้านแม่และเด็กผู้ได้รับผลกระทบจากโรค เอดส์ ศูนย์เด็กปฐมวัยล็อค 6 และสถาน ที่ประชุมของชุมชน ภายในศูนย์ฯ เป็น มุมสงบ ร่มรื่น ตั้งอยู่กลางชุมชนแออัด คลองเตย มีสวนหย่อมเขียวขจีตลอดทั้งปี

ด้วยพรรณไม้นานาชนิด มีสนามหญ้าและ หลุมทราย ให้เด็กๆ ได้ใช้ชีวิตสนุกสนาน เพลิดเพลิน สรรค์สร้างจินตนาการตาม วัยของตน เดิมทีศูนย์ฯ เมอร์ซี่เป็นอาคาร ไม้ เ ล็ ก ๆ บนที่ ดิ น ของการท่ า เรื อ แห่ ง ประเทศไทย ตลอดระยะเวลา 40 ปีที่ ผ่านมา มีการปรับปรุงอาคารให้เหมาะ สมกับปริมาณงาน จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2543 ได้มีการก่อสร้างอาคารถาวรด้วย เงิ น บริ จ าคของผู ้ มี จิ ต ศรั ท ธา เพื่ อ ให้ มี สถานที่ท�ำงานที่เหมาะสมและสามารถ รองรับปริมาณงานด้านเด็กเร่ร่อนที่เพิ่ม ขึ้นได้ “พอมาเป็ น อาสาสมั ค รแล้ ว คิ ด ว่าเราพอช่วยเหลือสังคมได้ ช่วงแรกไม่ ได้เงิน แต่พอท�ำไปหลายปีก็ได้เป็นเจ้า หน้าที่ ได้เงินเดือน เลยตัดสินใจโทรไป บอกครูที่โรงเรียนว่าผมลาออกแล้วนะ ครู เขาก็ตกใจ เพราะช่วงแรกๆ เราไม่ได้บอก ใครเลยว่าเรามาท�ำงานตรงนี้” เนื้องานที่เขาสัมผัสมันแตกต่าง โดยสิ้นเชิงกับประสบการณ์ครูสอนดนตรี 47 issue 91 August 2015

ที่ ผ ่ า นมา มั น ไม่ ใช่ ก ารเติ ม เต็ ม ความ สามารถพิเศษให้กับลูกคนมีเงินอีกต่อไป บัดนี้มันคือชีวิตจริง ชีวิตน้อยๆ ที่เขาต้อง ช่วยเหลือขึ้นมาจากหลุมด�ำแห่งโชคชะตา ครู เซฟเดิ น เข้ า ออกไปตามพื้ น ที่ ต ่ า งๆ เพื่อค้นหาเด็กเร่ร่อนและช่วยเหลือเท่า ที่ตนเองท�ำได้ งานด้านนี้อาจมีเงินเดือน ไม่มากกว่างานเก่า แต่ความภูมิใจครูเซฟ บอกว่า “เทียบกันไม่ได้” “เด็ ก ที่ มี ฐ านะร�่ ำ รวยเขาจะมี ความอ่อนไหวง่าย เราไปสอนเขาเพิ่มเติม เรื่องดนตรีที่ไม่ใช่ส่วนส�ำคัญของชีวิตเลย เป็นการเรียนเสริมเท่านั้น แต่มาสอนเด็ก เร่ร่อนเป็นการสอนชีวิต สอนให้เขามีชีวิต อยู่ เอาตัวรอดให้ได้ สอนเขาให้พ้นจาก ความล�ำบาก สอนเด็กรวยคือสอนให้เขา เหนือคนไปอีก แต่เราสอนเด็กเร่ร่อนคือ สอนให้ เขาขึ้ น มาจากความล� ำ บาก ไม่ ถึงขั้นที่จะให้เท่ากับเด็กร�่ำรวยที่เราเคย สอนหรอก เมื่อก่อนเราสอนสิ่งที่ไม่ค่อย จ�ำเป็นกับชีวิต แต่กับเด็กเร่ร่อนเราสอน เขาให้พ้นวิกฤตชีวิตสู่ความปกติให้มาก ที่สุด”


เบื้ อ งลึ ก ของปั ญ หาความยากจนจริ ง ๆ แล้ ว เป็ น เรื่ อ ง การศึ ก ษา ถ้ า ครอบครั ว เขาฐานการศึ ก ษาดี ความ ยากจนก็ ท� ำ อะไรเขาไม่ ไ ด้ การศึ ก ษาหมายถึ ง เรื่ อ ง ของวิ ถี ชี วิ ต ด้ ว ย ทั ศ นคติ มุ ม มองชี วิ ต เพราะว่ า แม่ ส่ ว นหนึ่ ง ฟุ ่ ม เฟื อ ย แล้ ว ใช้ ลู ก เป็ น เครื่ อ งมื อ ในการให้ เด็ ก ออกมาเร่ ร ่ อ น

48 IS AM ARE www.ariyaplus.com


เมอร์ ซี่ บ้ า นของเด็ ก เร่ ร ่ อ น ครูเซฟแต่งตัวด้วยเสื้อยืดกางเกง ยีนเรียบง่าย เพื่อให้การเดินเท้าลงพื้น ที่ในชุมชนต่างๆ เป็นไปอย่างคล่องตัว ที่ส�ำคัญคือไม่ท�ำให้เด็กเร่ร่อนที่เขาพบ เจอตกใจหรื อ คิ ด ว่ า เป็ น เจ้ า หน้ า ที่ บ ้ า น เมื อ ง การจะเข้ า ไปผู ก มิ ต รกั บ เด็ ก ใน ชุมชนคลองเตยจึงต้องท�ำให้เขารู้สึกเป็น มิตรที่สุด “เดินมาขนาดนี้บางทียังหลงเลย นะ” ครูเซฟหันมาพูดกับข้าพเจ้า ในย่าม ของเขาอั ด แน่ น ไปด้ ว ยของใช้ ป ระจ� ำ วันอย่าง สบู่ ยาสีฟัน แป้งเด็ก ยาสระ ผม แปรงสี ฟ ั น และไม้ ป ิ ง ปองที่ ไ ด้ รั บ บริจาค เข า เ ดิ น ลั บ เข ้ า ไ ป ใ น ชุ ม ช น คลองเตยบนเนื้อที่กว่า 70 ไร่ ทะลุซอก เล็ ก ซอยน้ อ ยผ่ า นไปตามบ้ า นต่ า งๆ ที่ ปลูกสร้างขึ้นอย่างง่ายๆ มากมายหลาย ร้อยหลังคาเรือน ในวันธรรมดาจะเป็น ที่อยู่อาศัยของ เด็ก วัยรุ่น และคนชรา มั น อาจไม่ ใ ช่ ส ถานที่ ที่ ค นนอกอยาก เข้าไปนัก ทว่าครูเซฟเดินเข้าออกที่นี่มา 14 ปีแล้ว “พี่จะเอาของใช้ประจ�ำวันไปให้ เด็กเมอร์ซี่” เด็กในที่นี้คืออดีตเด็กเร่ร่อน ที่เขาไปพบเมื่อหลายปีก่อน ในกลุ่มเพื่อน ที่พากันดมกาวและหาเลี้ยงชีพด้วยการ เช็ดกระจกรถยนต์ตามสี่แยก หลากหลาย ที่มาของเด็กเร่ร่อนที่เขาพบเจอไม่ใช่เด็ก ในกรุ ง เทพฯ หากพเนจรมาจากหลาย จังหวัดโดยฝากชีวิตมากับรถไฟชั้นสาม ปลายทางของพวกเขาส่ ว นใหญ่ ห ยุ ด ที่ “หัวล�ำโพง” เพราะพวกเขาพบว่าที่นี่มี อาหารมีหนทางเลี้ยงตัวได้มากกว่า ทั้งยัง มีเพื่อนเร่ร่อนเหมือนกันสร้างความอุ่นใจ ในระดับหนึ่ง “ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากการถูก พ่อแม่ท�ำร้าย อาจจะด้วยการใช้ยาเสพ ติด การถูกทอดทิ้ง เขามาเจอเพื่อนร่วม

ชะตาเดียวกันที่หัวล�ำโพง บางคนไม่รู้ตัว ด้ ว ยซ�้ ำ ว่ า ตั ว เองติ ด เชื้ อ เอชไอวี ม าจาก พ่อแม่ตั้งแต่เกิด ค�ำว่าครูข้างถนนคือไม่ ได้ไปสอนวิชาในต�ำราให้เขาหรอก แค่ ไปเป็นเพื่อนท�ำความรู้จักกับเขา” ประตู ด่านแรกที่เหล่าเด็กเร่ร่อนจะได้รับความ ช่วยเหลือจากสังคมหรือหน่วยงานต่างๆ พวกเขาต้องพบกับครูข้างถนน ผู้เปิดโลก ให้เขาได้พบกับความหวัง ให้รู้ว่าชีวิตเขา เองยังมีค่า มีความหมาย ไม่ใช่ขยะสังคม แต่บางคนก็ยากเกินกว่าจะให้เขาทิ้งชีวิต เร่ร่อนไป เพราะกว่าจะพบครู พวกเขาก็ พ้นชีวิตวัยเด็กไปเสียแล้ว จึงชินกับการ เร่ ร ่ อ น แต่ ห ากวั น ใดเขาต้ อ งการการ รักษา หรือไม่มีที่พึ่งพิง ศูนย์ฯ เมอร์ซี่ เปรียบเหมือนบ้านพร้อมอ้าแขนรับพวก เขาเสมอ ประสบการณ์ ที่ พ บเจอ เอ (นามสมมุติ) เดินทางมากับ รถไฟชั้นสามจากภาคใต้ ในเวลานั้นไม่มี

เธอมี เ พื่ อ นมากขึ้ น ทุ ก ปี จ ากหลายที่ ม า พม่า กัมพูชา ไทย 14 ปีที่แล้วยาเสพติด ชนิดเข็มเป็นที่นิยมในหมู่เด็กเร่ร่อน ความ หิวโซไม่อนุญาตให้เอตีตัวออกจากเพื่อน ได้ เข็มและเพศสัมพันธ์กลายเป็นสิ่งที่เข้า มาพัวพันในชีวิตของเธอจนแยกไม่ออก เธอติดเชื้อเอชไอวีโดยไม่รู้ตัว ก่อนที่ครู เซฟจะพบเข้าขณะเธอนอนซมอยู่มุมตึก สถานีรถไฟหัวล�ำโพง การใช้ชีวิตอิสระมานานหลายปี ท�ำให้เอไม่ไว้ใจครูเซฟเมื่อแรกเจอ เธอ กลัวจะเป็นเจ้าหน้าที่บ้านเมืองจับตัวไป กักขัง แต่ความเป็นครูข้างถนนของครู เซฟไม่อาจท�ำให้เขานิ่งดูดาย ต้องคอย เทียวไปหาเอเพื่อสร้างความไว้วางใจอยู่ หลายวัน พาเอไปตรวจสุขภาพและรักษา อย่างถูกวิธีให้ได้ เมื่ อ เอเข้ า รั บ การรั ก ษาที่ ศู น ย์ ฯ เมอร์ซี่จนร่างกายกลับมาแข็งแรงเธอก็ ออกไปใช้ชีวิตเร่ร่อนดังเดิม เมื่อไหร่ที่เธอ รู้สึกว่าร่างกายแย่ลงเธอจึงจะกลับมา ครู

ส่ ว นใหญ่ มี ส าเหตุ ม าจากการถู ก พ่ อ แม่ ท� ำ ร้ า ย อาจจะด้ ว ยการใช้ ย า เสพติ ด การถู ก ทอดทิ้ ง เขามาเจอเพื่ อ นร่ ว มชะตาเดี ย วกั น ที่ หั ว ล� ำ โพง บางคนไม่ รู ้ ตั ว ด้ ว ยซ�้ ำ ว่ า ตั ว เองติ ด เชื้ อ เอชไอวี ม าจากพ่ อ แม่ ตั้ ง แต่ เ กิ ด ค� ำ ว่ า ครู ข ้ า งถนนคื อ ไม่ ไ ด้ ไ ปสอนวิ ช าในต� ำ ราให้ เ ขาหรอก แค่ ไ ปเป็ น เพื่ อ นท� ำ ความรู ้ จั ก กั บ เขา ใครรู้ว่าอะไรท�ำให้เด็กหญิงกล้าหนีออก จากบ้านด้วยวัยเพียง 7 ขวบ เธอรอนแรม ไปกับรถไฟราวกับมันเป็นผู้ขีดชะตาชีวิต เอไม่สนใจจะเข้ากรุงเทพฯ หรือหัวล�ำโพง เธอเพียงต้องการออกจากบ้านเพราะรู้สึก ว่าปู่กับย่าไม่รัก แต่รถไฟไหนๆ ก็มุ่งสู่ กรุงทั้งนั้น การพเนจรไปในที่ต่างๆ ท�ำให้ เธอพบว่าหัวล�ำโพงมีอาหารเหลือให้กิน มากกว่าทุกสถานีที่เคยอยู่ มีคนไร้บ้าน นอนบนพื้นเดียวกันให้เห็น อย่างน้อยเธอ ก็อุ่นใจว่ายังพอมีเพื่อนข้างๆ บนโลกใบนี้ เอ ใช้ชีวิตเร่ร่อนมาจนอายุ 13 49 issue 91 August 2015

เซฟและเจ้าหน้าที่ท�ำได้เพียงให้ความรู้ใน การดูแลตัวเองแก่เอไป เอเข้าออกศูนย์ฯ เมอร์ซี่อยู่หลายหนจนอายุ 21 ปี ครั้ง สุดท้ายเธอกลับมาที่ศูนย์ฯ โดยไม่ได้กลับ ออกไปอีก เอนอนนิ่งที่เตียงเดิม หันหลัง ให้ชีวิตเร่ร่อน นอกจากครูข้างถนนและ เจ้าหน้าที่แล้วไม่มีใครทราบว่าเอก�ำลัง จะตาย แม้แต่เพื่อนที่เคยเคียงชีวิตเธอ มา ครูเซฟได้แต่ยืนให้ก�ำลังใจข้างเตียง เพราะรู้ว่าเอใช้ชีวิตของเธออย่างเต็มที่ โดยไม่ดูแลสุขภาพตนเอง


ครูเซฟ ชี้ถึงรากฐานที่มาแห่งการเร่ร่อนของเด็กตาม ประสบการณ์ท่ีพบเจอส่วนหนึ่งมาจากพ่อแม่ไม่มีความพอเพียง พอประมาณ และไม่มีเหตุผล ไม่พอใจในสิ่งที่ตัวเองมี กู้หนี้ยืมสิน เพื่อให้มีอย่างคนอื่นๆ สุดท้ายไม่พอกิน ผลักดันให้ลูกต้องออก ไปเร่ร่อนหากินเอง ซ�้ำร้ายยังใช้เป็นเครื่องมือในการขอทาน สิ่ง ต่างๆ เหล่านี้เพราะเขาไม่มีโอกาสได้รับการศึกษาสร้างทัศนคติ ที่ดีจึงขาดเหตุผล ขาดภูมิคุ้มกัน ไม่มีความพอประมาณในการ ด�ำเนินชีวิต “ถ้ า ถามว่ า แล้ ว อะไรมั น ท� ำ ให้ ก ารศึ ก ษาไม่ เ ต็ ม ที่ ล ่ ะ ระบบปัญหาเชิงนโยบาย เพราะว่าความฟุ่มเฟือยมาจากค่า นิ ย มในวั ต ถุ ที่ เราเจอกั น ทุ ก คน อยู ่ ที่ ว ่ า เราจะคิ ด ได้ ห รื อ ไม่ เท่านั้น” เด็ ก เร่ ร ่ อ นและโรคร้ า ย “ปัจจุบันเด็กติดเชื้อที่เมอร์ซี่มีน้อยลงแล้ว ประมาณ 20 คน ที่เหลือเป็นเด็กที่อยู่ในสภาวะยากล�ำบากอื่นๆ ทั่วไป เช่น เด็กได้รับผลกระทบส่วนหนึ่ง เด็กจากสถานพินิจฯ เด็กยากจน ในชุมชน เด็กพ่อแม่ติดคุก เด็ก 170 คนในเมอร์ซี่มาจากหลาก หลายปัญหา ส่วนหนึ่งของเด็กเร่ร่อนก็มีเด็กได้รับผลกระทบ “ขอบคุณนะครู” เป็นถ้อยค�ำสุดท้ายที่ครูเซฟสัมผัสได้ จากโรคเอดส์ด้วย” ใจกลางชุมชนคลองเตยมีโรงเรียนเด็กเล็กชื่อ ศูนย์เด็ก ว่ามันออกมาจากจิตใจของหญิงสาวคนหนึ่ง ก่อนจะสิ้นลมอย่าง สงบ เอกลายเป็นแรงใจให้ครูข้างถนนและเจ้าหน้าที่ทุกคนมุ่งมั่น ประถมวัยร่มเกล้า เพื่อรองรับเด็กๆ ในชุมชนที่พ่อแม่ไม่มีเวลา ดูแลเพราะต้องออกไปท�ำงาน อย่างน้อยที่นี่ก็ปลอดภัยส�ำหรับ ท�ำงานเพื่อเด็กเร่ร่อนต่อไป “งานศพมีแต่เจ้าหน้าที่สามสี่คน เราแจ้งญาติไปแล้ว เด็กๆ มีร้ัวรอบสูง ในหมู่เด็กๆ ที่วิ่งเล่นกันอยู่มีบางคนติดเชื้อเอช แต่ไม่มีใครมาเลย” คือความสะเทือนใจหนึ่งของครูเซฟที่เขา ไอวีมาตั้งแต่ในท้อง แต่เขาสามารถใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นได้ภาย ใต้การดูแลอย่างถูกต้องของเจ้าหน้าที่และครูที่มีประสบการณ์ ไม่เคยลืมเลือน ดูแลมา 40 ปี และยังมีเด็กโตที่อาศัยอยู่บ้านพักอื่นๆ ในความดูแล รากของปั ญ หาคื อ การศึ ก ษา และความไม่ พ อเพี ย ง “เบื้องลึกของปัญหาความยากจนจริงๆ แล้วเป็นเรื่อง ของศูนย์ฯ เมอร์ซี่ พวกเขาใช้ชีวิตไปโรงเรียนเหมือนคนปกติ การศึกษา ถ้าครอบครัวเขาฐานการศึกษาดี ความยากจนก็ท�ำ ธรรมดา ถ้าไม่บอกก็ไม่รู้ว่านี่คือเด็กติดเชื้อ ครูเซฟและเจ้าหน้าที่ อะไรเขาไม่ได้ การศึกษาหมายถึงเรื่องของวิถีชีวิตด้วย ทัศนคติ จะคอยเอายาต้านโรคและของใช้จ�ำเป็นที่ได้จากการบริจาคไป มุมมองชีวิต เพราะว่าแม่ส่วนหนึ่งฟุ่มเฟือย แล้วใช้ลูกเป็นเครื่อง ให้ไม่ขาด “เด็กเร่ร่อนเขาไม่อยากไปอยู่ที่ไหน เขาอยากอิสระของ มือในการให้เด็กออกมาเร่ร่อน แต่ถ้าพื้นฐานทัศนคติที่ดีมีการ ศึกษาจะท�ำให้เขารู้ว่า จริงๆ มีหน่วยงานมากมายที่พร้อมจะ เขา แต่เมื่อเรารู้เราต้องช่วยเหลือเขาว่า หนูควรที่จะได้รับการ ช่วยเหลือ แต่เขาไม่มีความรู้ในการเข้าถึงความช่วยเหลือนั้น พ่อ ปกป้องคุ้มครอง ก็ต้องหาวิธีช่วยเหลือโดยการดึงเขาออกจาก แม่ก็เป็นพ่อแม่ที่ดีได้ ลูกก็สามารถอยู่กับเขาได้ ไม่ต้องไปอยาก พื้นที่ แล้วมาบ�ำบัด มาให้ยา ให้เขาได้ยาต้านที่ถูกต้อง แม้กระทั่ง มีอยากได้เหมือนคนอื่นเขา แต่บางครอบครัวพ่อแม่อยากมีอยาก เด็กที่ติดยาเสพติดเองเขาไม่อยากบ�ำบัดหรอก เราต้องหาวิธีให้ ได้เหมือนคนอื่น เห็นเขามีรถอยากมีบ้างไปกู้หนี้ยืมสินมาแล้ว เขาบ�ำบัด เด็กติดเชื้อเขาไม่อยากที่จะรักษาหรอก เพราะชีวิต ท�ำให้ครอบครัวแตกแยก ท�ำให้ยากจนไม่พอกิน ฐานจริงๆ คือ มันไปวันๆ เขาไม่อยากรักษา เราต้องพยายามท�ำให้เขาเล็งเห็น ว่าชีวิตมันมีคุณค่า” เรื่องทัศนคติและการศึกษาที่เขาได้ไม่เต็มที่” 50 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ชี วิ ต เร่ ร ่ อ นของเด็ ก ๆ มี ส าเหตุ มาจากผู้ใหญ่แทบทั้งสิ้น ไม่มีใครอยาก ออกจากบ้านเพื่อมาพบความโดดเดี่ยว และหิวโซ เด็กส่วนใหญ่ที่ออกจากบ้าน มีอายุ 7 ขวบขึ้นไป พวกเขาต้องท�ำทุก วิถีทางเพื่อให้ชีวิตอยู่รอด ผู้ที่อายุน้อยก็ ไปขอทาน เช็ดกระจกรถ เมื่อเป็นหนุ่ม สาวเขาไม่ อ าจขอทานได้ อี ก ประจวบ กับปัจจุบันมีการจัดระเบียบเด็กเร่ร่อน ท�ำให้พวกเขายิ่งต้องดิ้นรน ผลที่ตามมา คือ “การขายบริการทางเพศ” เมื่ อ ไม่ มี ค วามรู ้ ไม่ มี ก ารศึ ก ษา พวกเขาก็ไม่มีการป้องกัน พูดง่ายๆ คือ แม้แต่ถุงยางพวกเขายังไม่มีโอกาสเข้าถึง ด้วยซ�้ำ โรคร้ายที่ทุกคนกลัวจึงตกอยู่กับ เด็กเร่ร่อน เพราะพวกเขาไม่มีทางเลือก การมีเพศสัมพันธ์กันเองในกลุ่มยิ่งท�ำให้ เชื้อลุกลาม กว่าจะพบว่าตัวเองติดเชื้อ บางรายก็สายไปแล้ว

“เรื่ อ งเด็ ก ติ ด เชื้ อ เป็ น เรื่ อ งสมั ย ก่อน ปัจจุบันเป็นเรื่องยาเสพติด ท้อง ก่อนวัย แม่วัยรุ่น ผู้ชายก็ไปเป็นเด็กแว้น แต่ตอนนี้เด็กติดเชื้อสามารถดูแลตัวเอง ได้ ถ้ า เด็ ก กิ น ยาก็ ส ามารถมี ชี วิ ต ที่ ดี ไ ด้ บางคนติ ด เชื้ อ ตั้ ง แต่ เ ด็ ก จนอายุ ยี่ สิ บ ปี แล้วเขายังอยู่ได้เลย แต่เมื่อก่อนยังไม่มี ยาที่ดีเท่านี้ แพงมากเป็นแสน” 14 ปี อั น ยาวนานบนเส้ น ทาง ครูข้างถนน ครูเซฟยังคงเดินเข้าออกใน ชุมชนคลองเตยดุจคนในพื้นที่ มุ่งอุทิศ ตนเพื่อเด็กเร่ร่อนไร้โอกาส เด็กที่สังคม เมินหน้าหนี ยังมีเจ้าหน้าที่อีกหลายท่าน ที่ยังคงท�ำงานอยู่เบื้องหลังปัญหาที่หลาย คนเอาแต่บ่น ทว่าพวกเขาก�ำลังช่วยกัน เยี ย วยาแก้ ไขให้ มั น ดี ขึ้ น ด้ ว ยลมหายใจ ของพวกเขาเอง “มองเข้าไปในตาเขาสิ ผ่านความ หยาบกร้านพวกนั้น มันมีความบริสุทธิ์ 51 issue 91 August 2015

นะ” ครูเซฟ สะพายย่ามเดินต่อไป ฉบั บ หน้ า มาท� ำ ความรู ้ จั ก กั บ ครูดาว แสงรวี จันทร์สุข นักจิตวิทยาและ นักสังคมสงเคราะห์แห่งศูนย์ฯ เมอร์ซี่ ผูท้ ำ� หน้าทีใ่ นการสืบพยานเด็กในศาล และ สน. ซึ่งกฎหมายใหม่ก�ำหนดให้การสอบ ปากค�ำเด็กต้องมีนกั สังคมสงเคราะห์ หรือ นักจิตวิทยาไปร่วมสอบปากค�ำทุกครั้ง ใน กรณีเยาวชนอายุไม่เกิน 18 ปี ผู ้ ส นใจแบ่ ง ปั น ช่ ว ยเหลื อ เด็ ก เร่ ร ่ อ นในศู น ย์ ฯ เมอร์ ซี่ ติ ด ต่ อ ได้ ที่ 100/11 เคหะคลองเตย 4 ถนน ด�ำรง ลัทธพิพัฒน์ คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 ประเทศไทย โทร: (662) 671-5313 โทรสาร: (662) 671-7028


นมแม่...แน่ท่ีสุด

แพทย์หญิง ศิริพร กัญชนะ

ใกล้ ถึ ง “วั น แม่ ” ที ไ ร เพลง “ค่ า น�้ ำ นม” ก็ ล อยครวญมาในความรู ้ สึ ก ทุ ก ที โดยเฉพาะท่ อ นที่ ว ่ า “เลื อ ด ในอกผสมกลั่ น เป็ น น�้ ำ นมให้ ลู ก ดื่ ม กิ น ” ความจริ ง คุ ณ ค่ า ของนมแม่ ค งไม่ ต ้ อ งอธิ บ ายกั น มาก เพราะเรารู ้ กั น ดี ถึ ง คุ ณ ค่ า ที่ ห าใดเปรี ย บมิ ไ ด้ ! แต่ ป ั จ จุ บั น คุ ณ แม่ ยุ ค ใหม่ หั น หา “นมผง” มากขึ้ น ด้ ว ยภาระหน้ า ที่ ก าร งาน น�้ ำ นมแม่ จึ ง ถู ก ลดบทบาทลงอย่ า งน่ า ใจหาย ทั้ ง สื่ อ โฆษณาที่ ท� ำ ให้ ค นเชื่ อ ว่ า “นมผง” ใช้ แ ทน “นม แม่ ” ได้ อ ย่ า งสิ้ น เชิ ง เด็ ก ที่ เ กิ ด มาหลายคนจึ ง หมดโอกาสได้ รั บ สารอาหารจากนมแม่ ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ดี ที่ สุ ด เท่ า ที่ ธ รรมชาติ จ ะให้ ไ ด้ นมแม่ มี 3 คุ ณ ประโยชน์ ห ลั ก คื อ เป็ น อาหาร สร้ า ง ภู มิ ต ้ า นทาน และกระตุ ้ น เซลล์ ส มอง คุ ณ หมอช่ ว ย ขยายความคุ ณ ประโยชน์ ต รงนี้ ห น่ อ ย ? พญ. ศิริพร : น�้ำนมแม่เป็นอาหารที่ธรรมชาติจัดสรร ไว้ ด ้ ว ยคุ ณ ค่ า ทางโภชนาการส� ำ หรั บ เด็ ก ที่ ค ลอดออกมาใหม่ คือเป็นอาหารหลักของลูก ทั้งด้านโภชนาการ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต ด้านการเจริญเติบโต จะเหมาะสมกับลูก ทั้ง ร่างกายและจิตใจ ซึ่งน�้ำนมแม่ยังมีสารสร้างภูมิคุ้มกันอย่างเช่น IGA ที่จะช่วยให้กระเพาะที่ท�ำงานไม่สมบูรณ์ ท�ำงานได้อย่าง

ฉบั บ นี้ ต ้ อ นรั บ วั น แม่ ด ้ ว ยบทสั ม ภาษณ์ จ าก แพทย์ หญิง ศิริพร กัญชนะ กุมารแพทย์ อดีตรองปลัดกระทรวง สาธารณสุข ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งประทานมูลนิธิศูนย์นมแม่ แห่งประเทศไทย และ แพทย์หญิง ยุพยง แห่งเชาวนิช หมอ สูตินรีเวช เลขาธิการมูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย มาให้ ความรู้เกี่ยวกับ “ความส�ำคัญของนมแม่” นมแม่ที่ว่าแน่ท่ีสุด ดีอย่างไร เชิญทุกท่านทัศนา

52 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Share Story สมบูรณ์ ป้องกันไม่ให้สิ่งแปลกปลอม เชื้อโรค ทั้งหลายเข้าสู่ ร่างกายเด็ก และกระตุ้นเซลล์สมองให้แตกกิ่งก้านได้มากขึ้น เป็นพื้นฐานให้เด็กมีพัฒนาการที่สมวัยเมื่อโตขึ้น การป่ ว ยในช่ ว งขวบปี แรกของเด็ ก อย่ า งท้ อ งเสี ย ปอดบวม พวกนี้จะน้อยกว่าหรือแทบไม่มีเลย ส่วนโอกาสที่จะ เป็นมะเร็งเต้านม มะเร็งรังไข่ มะเร็งมดลูก ส�ำหรับคุณแม่ที่ไม่ ได้ให้นมลูกจะมีมากกว่า ในนมแม่ มี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ ไอคิ ว เด็ ก อย่ า งไร ? พญ. ศิริพร : เด็กที่ดื่มนมแม่ไอคิวจะดีกว่าเด็กที่ไม่ได้ดื่ม สารอาหารที่อยู่ในน�้ำนมจะไปกระตุ้นเซลล์สมองให้แตกกิ่งก้าน ได้มากขึ้น สมมุติว่าไอคิวพ่อแม่ให้มา 110 ถ้าดื่มนมแม่อาจจะได้ สัก 109 หรือ 110 ไปเลย หากมีการกระตุ้นอย่างอื่นพร้อม เช่น สิ่งแวดล้อม ความเป็นอยู่ แต่ถ้าไม่ได้ดื่มนมแม่อาจจะเหลือแค่ 95 คือไอคิวเรานับเป็นคะแนน เมื่อเทียบกันแล้วเด็กที่ดื่มนมแม่ นาน 6 เดือนไอคิวจะสูงกว่า ซึ่งมีงานวิจัยออกมาแล้ว พญ. ยุพยง : แล้วแม่ที่คลอดลูกก่อนก�ำหนดให้ลูกดื่ม นมแม่ยิ่งดีใหญ่ คะแนนไอคิวตรงนี้จะเพิ่มขึ้น 7-10 และถ้าแม่ พยายามให้นมแม่อย่างต่อเนื่อง ไอคิวอาจจะขึ้นสูงกว่าปกติ หมายความว่าเขาไม่ได้เป็นเด็กด้อยละ ซึ่งเดิมเขาเป็นเด็กด้อย ใช่ไหม เพราะว่าสมองมันโตไม่เต็มที่จากการคลอดก่อนก�ำหนด สมวัยเมื่อโตขึ้น คนที่ดื่มนมแม่จึงดูแลแม่มากกว่าคนที่ไม่ค่อยได้ ซึ่งตอนนี้เด็กที่เกิดก่อนก�ำหนดเยอะ แม่ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อย ดื่ม เป็นความสัมพันธ์ระยะยาว พญ. ยุพยง :อีกส่วนหนึ่งคือพื้นฐานของอารมณ์ เรื่อง พยายามเพราะอาจยังไม่เข้าใจ ของความอดกลั้น บางครั้งแม่อาจจะไม่ให้ลูกดื่มนมทันทีก็ได้ “ ก า ร ที่ แ ม ่ อุ ้ ม ลู ก ป ร ะ ส า ท สั ม ผั ส ก า ร คุ ย กั บ ลู ก ให้ลูกรอเพราะแม่ยังไม่ว่าง อันนี้คือเด็กโตขึ้นมาหน่อย เป็น ระหว่ า งให้ น ม การได้ ยิ น เสี ย งหั ว ใจแม่ เ ต้ น อั น นี้ จังหวะที่ลูกต้องเรียนรู้ถึงวิธีการรอคอย เหล่านี้มันเป็นพื้นฐาน เป็ น การปฏิ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งแม่ กั บ ลู ก ที่ จ ะเรี ย นรู ้ ซึ่ ง ของธรรมชาติที่สร้างขึ้นมาเพื่อท�ำให้เด็กคนหนึ่งเจริญเติบโต กั น และกั น การท� ำ อย่ า งนี้ จ ะกระตุ ้ น ให้ เ กิ ด ความรั ก อย่างมีขั้นมีตอน ความเข้ า ใจ เกิ ด การดู แ ลเอาใจใส่ กั น ” พญ. ศิ ริ พ ร กั ญ ชนะ มี วิ ธี ก ารเตรี ย มตั ว อย่ า งไร ส� ำ หรั บ คุ ณ แม่ มื อ ใหม่ ที่ จะผลิ ต น�้ ำ นมคุ ณ ภาพดี สู ่ ลู ก ? พญ. ยุพยง : คนเป็นแม่ต้องเตรียมเรื่องของความรู้ นมแม่ ช ่ ว ยสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งแม่ กั บ ลู ก ได้ ต้องศึกษาว่าแม่ควรเรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องอะไรบ้าง หลักๆ จะมี อย่ า งไร ? พญ. ศิริพร : การที่แม่อุ้มลูก ประสาทสัมผัสการคุย 3 เรื่อง คือ 1. เรื่องการตั้งครรภ์ การที่จะท�ำให้ตัวเองตั้งครรภ์ที่ กับลูกระหว่างให้นม การได้ยินเสียงหัวใจแม่เต้น อันนี้เป็นการ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างแม่ลูกที่จะเรียนรู้ซึ่งกันและกัน การท�ำอย่าง มีคุณภาพดีเป็นเรื่องส�ำคัญ ให้ลูกที่อยู่ในครรภ์มีความสมบูรณ์ นี้จะกระตุ้นให้เกิดความรักความเข้าใจ เกิดการดูแลเอาใจใส่กัน ก่อน อาหารหลายตัวที่คุณแม่จะต้องทานเป็นสิ่งส�ำคัญมากที่ แม่เรียนรู้ลูก ลูกเรียนรู้แม่ ถ้าลูกท�ำท่าทางอย่างนี้หมายถึงอะไร จะเป็นฐานต่อมาส�ำหรับเด็ก รวมถึงเรื่องของนมแม่ด้วย อาหาร แม่ท�ำอย่างนี้หมายถึงอะไร มันเป็นพื้นฐานให้เด็กมีพัฒนาการที่ ที่อยากจะเน้นคือ ไอโอดีน โฟลิก ( Folic Acid ) ตอนนี้เป็น 53 issue 91 August 2015


แต่ละสารสามารถท�ำหน้าที่อย่างอื่นได้ อีกเยอะ อธิบายง่ายๆ สารในนมแม่มัน ท�ำงานเหมือนคอนเสิร์ต มันต้องท�ำงาน ร่ ว มกั น อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ แต่ น มผง มันเป็นสารเคมี มันต้องผลิตออกมาทีละ ตัวแล้วเติม พญ. ศิริพร : ขนาดเพชรรัสเซีย เขาท�ำเหมือนเพชร 90 % คนเขายังไม่ เอาเลย (หั ว เราะ) แต่ อั น นี้ ท� ำ เหมื อ น ธรรมชาติ 20 % แต่มาโฆษณาว่าใช้แทน กันได้เลย หรือบางทีดีกว่าอีก ซึ่งมันไม่ จริง มาบอกว่าเด็กฉลาด แต่นมแม่ไม่ สามารถที่ จ ะไปโฆษณาให้ ใ ครฟั ง อย่ า ง ละเอียดได้ ฉะนั้นโฆษณาท�ำให้คนเข้าใจ ผิด คิดว่าเขาท�ำได้เหมือน 100 % พญ. ยุพยง : หมอคิดว่าคุณแม่ ทุกคนรักลูก และปรารถนาให้ลูกทุกคน ได้ดื่มนมแม่ แต่สิ่งหนึ่งที่หมออยากให้ คุณแม่เรียนรู้และเข้าใจ คือข้อแตกต่าง ระหว่างนมแม่และนมผง เราจะเห็นว่า “ถ้ า เรามองธรรมชาติ จ ะเห็ น ว่ า ลู ก ช้ า ง ลู ก หมา ลู ก วั ว มั น เกิ ด มาท� ำ ไม สั ต ว์ ที่ เ ลี้ ย งลู ก ด้ ว ยนมของมั น เอง มั น มั น วิ่ ง เข้ า ไปหาเต้ า นมเลย ท� ำ ไมเกิ ด มามั น รู ้ เ ลย ว่ า เต้ า นมนี้ กิ น ได้ แล้ ว เกิดมามันหากินของมันเองได้ มันกินนม ลู ก คนล่ ะ ? อาจด้ ว ยความที่ เ ราเป็ น วิ ท ยาศาสตร์ ม ากเกิ น ไป จนกระทั่ ง เลยเห็นไหม ไม่เห็นมีใครต้องสอนเลย ลื ม สั ญ ชาตญาณของเด็ ก คนหนึ่ ง ที่ เ ขาเกิ ด มา เขาพร้ อ มที่ จ ะกิ น สิ่ ง ที่ แต่ ท� ำ ไมเด็ ก ถึ ง ถู ก นมขวดเอามายั ด ใส่ ปากล่ะ เป็ น ของแม่ นั่ น แหละ คื อ ธรรมชาติ ข องเขา” ถ้ า เรามองธรรมชาติ จ ะเห็ น ว่ า พญ. ยุ พ ยง แห่ ง เชาวนิ ช ลูกช้าง ลูกหมา ลูกวัว มันเกิดมาท�ำไม หน่อย เพราะว่าถ้าไปคลอดโรงพยาบาล มีสารประมาณ 40 ชนิดเท่านั้นเอง แต่ มันวิ่งเข้าไปหาเต้านมเลย ท�ำไมเกิดมา ที่ไม่สนับสนุนนมแม่คงจะล�ำบาก เพราะ นมแม่ มี ป ระมาณ 200 กว่ า ชนิ ด คิ ด มั น รู ้ เ ลย ท� ำ ไมมั น รู ้ ว ่ า เต้ า นมนี้ กิ น ได้ คลอดออกมาเขาแยกแม่ลูก เขาไม่ได้ให้ เป็นเปอร์เซ็นต์แค่ 1 ใน 5 อย่างเช่น แล้วลูกคนล่ะ ? อาจด้วยความที่เราเป็น ดื่มนมแม่ตั้งแต่เกิด เป็นประเด็นที่ท�ำให้ แอลฟา แล็คตัลบูมิน เท่าที่หมอดูแล้ว วิ ท ยาศาสตร์ ม ากเกิ น ไปจนกระทั่ ง ลื ม เด็ ก ติ ด จุ ก นมแล้ ว ไปกิ น นมผง แล้ ว แม่ ไม่ น ่ า จะมี แต่ พ อเราได้ ยิ น ชื่ อ ตั ว นี้ ขึ้ น สั ญ ชาตญาณของเด็ ก คนหนึ่ ง ที่ เขาเกิ ด จะล� ำ บากต้ อ งวิ่ ง มาขอความช่ ว ยเหลื อ มา มันเป็นเหมือนนวัตกรรมใหม่ ที่คน มา เขาพร้อมที่จะกินสิ่งที่เป็นของแม่ นั่น ที่ ค ลิ นิ ก นมแม่ ที ห ลั ง ซึ่ ง หมอไม่ อ ยาก มองแล้ ว เหมื อ นเป็ น สิ่ ง วิ เ ศษในนมผง แหละ คือธรรมชาติของเขา ให้มีเลย ถ้าแม่ท�ำได้อย่างนี้จะเป็นสิ่งที่ แต่ ส� ำ หรั บ แอลฟา แล็ ค ตั ล บู มิ น ใน ดีมาก นมแม่มันเป็นของที่สร้างภูมิคุ้มกัน มัน ปั จ จุ บั น ระหว่ า งคนที่ เ ลี้ ย งลู ก ด้ ว ย ไม่ใช่โปรตีนธรรมดา มันเป็นโปรตีนของ นมแม่ กั บ นมผงมี จ� ำ นวนแตก นมผงที่ ใ ช้ อ ยู ่ ใ นปั จ จุ บั น เหมาะ ภูมิคุ้มกันเลย จะบอกว่าสารที่อยู่ในนม ต่ า งกั น มากไหม ? พญ. ศิริพร : ตอนนี้ดีขึ้น สมัย ส� ำ หรั บ เด็ ก จริ ง หรื อ ไม่ อย่ า งไร ? แม่ไม่ว่าจะเป็น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต พญ. ยุพยง : เราต้องเข้าใจก่อน หรืออะไรต่ออะไรมันไม่ใช่แค่อาหาร ใน ก่อนลูกที่ได้ดื่มนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ประเด็ น ที่ ส� ำ คั ญ ของประเทศไทย เรา อยากจะให้แม่ไทยได้เข้าใจว่าเขาควรจะ ได้อาหารพวกนี้ในช่วงระยะตั้งครรภ์ เพื่อ จะท�ำให้เด็กที่เกิดมาคนหนึ่งเขาได้สาร อาหารที่เกี่ยวกับการเจริญเติบโตทั้งด้าน ร่างกายและสมองของเขา 2. ต้ อ งเตรี ย มพร้ อ มเรื่ อ งของ ญาติ ถ้าหากเขาตั้งใจจะเลี้ยงลูกด้วยนม แม่เขาควรจะคุยกับญาติหรือครอบครัว ว่าเขามีความตั้งใจอยากจะให้ลูกดื่มนม แม่ เพราะว่ายุคสมัยนี้ย่ายายหันไปหา นมผงแล้ ว ฉะนั้ น ยากมากที่ เราจะไป ห้ า มเขา ถ้ า แม่ ส มั ย ใหม่ มี ค วามรู ้ เ ยอะ จะโน้ ม น้ า วย่ า ยายได้ บางที ย ่ า ยายไม่ ยอมเชื่อ จะให้กินน�้ำ ต้องคุยกันแต่แรก เพราะถ้าคนในบ้านไม่ยอมเชื่อทะเลาะ กันแย่เลย 3. ต้ อ งไปหาโรงพยาบาลที่ สนั บ สนุ น นมแม่ อั น นี้ ต ้ อ งไปศึ ก ษา

ว่านมผงเป็นธุรกิจ เมื่อเป็นธุรกิจจึงต้อง สร้างความเจริญเติบโตเพื่อให้ได้ผลก�ำไร และการสร้ า งผลก� ำ ไรต้ อ งท� ำ ให้ ค นหั น มาสนใจผลิตภัณฑ์มากขึ้น ถ้าคนสนใจ และเชื่อถือในผลิตภัณฑ์ยอดขายจะมาก ขึ้ น แล้ ว มั น จะกระทบกั บ การเลี้ ย งลู ก ใช่ไหม แน่นอน เขาต้องสร้างอย่างไรให้ เกิดความเชื่อถือ เป็นไปได้ไหมที่เราจะ ท�ำสินค้าของเราให้มันไม่มีคุณค่า ฉะนั้น สินค้าที่ออกมาใหม่จึงต้องท�ำให้ดูมีคุณค่า เหมาะกับการเอาไปใช้ อันนี้เป็นวิธีการ ของการตลาดที่แน่นอน พญ. ศิริพร : เอาง่ายๆ นมผงคือ การเอานมวัวมาผ่านกระบวนการเพื่อที่ จะให้เหมือนนมแม่มากที่สุด เขาสร้างได้ แค่ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน ที่เอามา ท�ำคล้ายๆ นมแม่เท่านั้น สรุปแล้วอาจจะ ท�ำเหมือนประมาณ 20% พญ. ยุพยง : ในกระป๋องนมผง

54 IS AM ARE www.ariyaplus.com


แพทย์หญิง ยุพยง แห่งเชาวนิช

ที่ก�ำลังตั้งครรภ์ไม่ต้องท�ำงานหนัก พอคลอดลูกแล้วมีเวลาพัก ไปบีบน�้ำนมที่มุมนมแม่ ในห้องที่สะอาด มีอ่างล้างมือ มีตู้เย็น เอาไว้เก็บน�้ำนมให้ลูก แล้วแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ความจริง จะลางานน้อยกว่าแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมผสม ซึ่งลูกจะมีโอกาส ป่วยบ่อยมากกว่า

ประเทศไทยมีอยู่เพียง 4 % หรือ 5 % เท่านั้น พอเราเริ่ม ท�ำโครงการดีขึ้นประมาณ 12 % แต่ว่าในพื้นที่ที่มีโครงการ ลง หรือเจ้าหน้าที่ใส่ใจหน่อยจะมีประมาณ 30 – 50 % บาง ที่ได้ถึง 80 % ก็มี แต่ส�ำหรับพื้นที่ที่เป็นต�ำบลนมแม่ ก็ถือว่า เป็นกระแสที่ดีขึ้นมากกว่าเก่า

ฝากค� ำ แนะน� ำ ถึ ง คุ ณ แม่ ที่ ห ่ ว งสวยหน่ อ ย พู ด พร้ อ มกั น : คุ ณ แม่ ไ ม่ เ ท่ า ไหร่ คุ ณ พ่ อ นี่ แ หละ (หัวเราะ) พญ. ยุพยง : ยืนยันเลยว่าไม่ต้องกลัว เพราะว่าอะไร เพราะว่ามันมีวิธีการ ถ้าหากคุณแม่ทุกคนดูแลรักษาทรวดทรง ใส่ยกทรงที่เหมาะกับสรีระ ถึงให้ลูกดื่มนมก็ต้องใส่ยกทรงให้ พอดี แล้วเดี๋ยวนี้ยังมียกทรงที่ท�ำมาเพื่อการให้นมแม่โดยเฉพาะ ฉะนั้นมันจะไม่หย่อนยาน ซึ่งเวลาที่เต้านมมีน�้ำนมมันจะหนัก แล้วมีเอ็นจากยกทรงมารองรับมายึดไว้มันจะไม่หย่อน แล้ว ยังมีการบริหารร่างกายอะไรอีกเยอะแยะ แต่ที่มันไม่อยู่ก็คือ ปล่อยโทงเทงไม่ดูแลตัวเองนั้นแหละ แล้วเดี๋ยวนี้แม่ก็ไม่ได้มีลูก เยอะ เต็มที่แค่ 2 คน จะไปกลัวอะไรกันนักหนา เมื่อก่อนมีกัน ตั้ง 8 – 9 คนเขายังสวยอยู่เลย(หัวเราะ)

เห็ น ว่ า มี ก ารรณรงค์ เ รื่ อ งคุ ณ แม่ ท� ำ งานด้ ว ย ? พญ. ศิริพร : จากที่เราท�ำงานเรื่องนมแม่มา ปัญหา ลูกไม่ได้ดื่มนมแม่ เพราะแม่ท�ำงานเป็นปัญหาหลักๆ คือแม่ ท�ำงานแล้วเอาลูกไปให้คุณตา คุณยายเลี้ยงที่บ้านนอก หรือ ไม่ก็ให้คนใช้เลี้ยงอยู่ที่บ้าน ปีนี้องค์การนมแม่โลกจึงมารณรงค์ เรื่องให้ผู้หญิงท�ำงานเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้ได้ 6 เดือนและกิน ควบคู่กับอาหารตามวัยจนถึง 2 ปี ตรงนี้เราเลยมาเจาะตรงที่ แม่ท�ำงาน ซึ่งหลักๆ เราท�ำเรื่อง มุมนมแม่ในสถานประกอบการ บริษัทก็เข้าใจเรื่องนมแม่มากขึ้น แล้วยังท�ำอะไรต่อมิอะไรให้แม่ 55

issue 91 August 2015


น�้ำลอยดอกมะลิ

วั น แม่ ป ี นี้ ‘มะลิ ’ อยากหาของขวั ญ ให้ แ ม่ สั ก หนึ่ ง ชิ้ น แต่ นั่ ง คิ ด นอนคิ ด อยู ่ 8-9 ตลบ ก็ คิ ด ไม่ อ อกว่ า จะหาซื้ อ สิ่ ง ใดให้ ถู ก ใจแม่ เงิ น ที่ ซุ ่ ม เก็ บ ในกระปุ ก หมู น ้ อ ยมาแรมเดื อ นก็ ไ ม่ ไ ด้ มี ม ากนั ก จึ ง ปรึ ก ษา ‘ไอ้ จ ่ อ ย’ เสี่ ย วที่ วิ่ ง เล่ น กั น มาแต่ ค รั้ ง เริ่ ม จ� ำ ความได้ “พี่ท�ำกับข้าวเก่ง พี่ก็ท�ำให้ป้าแย้มแกกินซิ” ไอ้จ่อยว่า “ฉันท�ำของฉันอยู่ประจ�ำ มันก็ไม่เซอร์ไพรส์ ซิ” “ชิชะ ท�ำเป็นฝรั่งไปได้” ว่าแล้วไอ้จ่อยก็เดิน หนีไป “แล้วเอ็งไม่อยากท�ำอะไรให้แม่หรือ” เสียงไอ้จ่อยพูดลอยมาตามลม “หาน�้ำเย็นๆ ให้แกกินสักแก้วก็ดีใจแล้ว” คิดได้ดั่งค�ำเพื่อน มะลิรีบวิ่งไปเก็บดอกมะลิ ที่ริมรั้วหน้าบ้านมาได้ก�ำมือใหญ่ เลือกเอามาแต่ดอก ตูมๆ ล้างให้สะอาด แล้วห่อด้วยใบตองแช่ไว้ในถังน�้ำ แข็งอย่างดี เพราะหากไว้ในตู้เย็นแม่คงจะมาเห็นก่อน และจะไม่ ‘เซอร์ไพรส์’ กันพอดี ตกเย็นกลับจากโรงเรียนไปยืมขันสแตนเลสที่ บ้านไอ้จ่อย ตักน�้ำฝนจากตุ่มใส่ขันพอประมาณแล้ว แกะใบตองที่ห่อดอกมะลิไว้ออกมา และค่อยๆ บรรจง ลอยดอกมะลิบนน�้ำอย่างเบามือทีละดอกๆ จนเต็มขัน “พี่ท�ำเบาอย่างกับกลัวมันเจ็บ” จ่อยฉงน “ต้องเบาซิ เพราะไม่อย่างนั้นมะลิมันจะช�้ำไม่ หอมกันพอดี” เสร็จแล้วหาฝาหม้อมาปิดไว้ แล้วจึงเอาไป แอบไว้ในห้องนอนอย่างดี หมายใจว่าจะวางไว้บนโต๊ะ กินข้าวตอนเช้า ส่วนไอ้จ่อยเห็นเพื่อนรุ่นพี่ท�ำแบบนี้ เลยสงสัยเข้าไปใหญ่ “เดี๋ยวแกก็กลับมาแล้ว ท�ำไมไม่

เอาไปให้แกเลยล่ะ” มะลิ ยิ้มข�ำแล้วตอบ “ตอนนี้มันยังใช้ไม่ได้มัน ยังไม่หอม มะลิมันจะหอมตอนกลางคืนต้องแช่ไว้คืน หนึ่งเสียก่อน จะเอาไปดื่มกินก็หอมเย็นชื่นใจ หรือเอา ไปผสมท�ำขนมก็ได้นะแต่ต้องกรองเอาแต่น�้ำด้วยผ้า ขาวบางก่อนหอมหวานอร่อยเชียวแหละเอ็ง” “จริงสิพี่” ไอ้จ่อยตาลุกวาว “ท�ำได้หลาย อย่างไหม” “ขนมไทยเกือบทุกอย่างแหละอย่าง ขนมถ้วย ฟู บะหมี่หวาน อ๋อ ... ขนมน�้ำดอกไม้ของโปรดเอ็ง ด้วย” จ่อย อ้าปากค้างแล้วบอกเชิงอ้อนวอน “ท�ำกิน พรุ่งนี้เลยนะพี่นะ ท�ำขนมเซอร์ไพรส์แม่พี่แน่” มะลิตอบเชิงกวนประสาทจ่อย “หาน�้ำเย็นๆ ให้แกกินสักแก้วก็ดีใจแล้ว” เช้าวันแม่ ป้าแย้ม ตื่นมาพร้อมกับกลิ่นหอม ของน�้ำลอยดอกมะลิ ซึ่งวางไว้บนโต๊ะทานข้าวตอน ไหนเมื่อไหร่ไม่รู้ ท�ำเอาแกยิ้มไม่หยุดตั้งแต่เช้ายันเย็น ส่ ว นผสม อุ ป กรณ์ น�้ ำ ลอยดอกมะลิ 1. ดอกมะลิ 2. น�้ำเปล่าสะอาด 3. ใบตอง 4. ขันสแตนเลส

56 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Eat Am Are

57 issue 91 august 2015


58 IS AM ARE www.ariyaplus.com


59 issue 91 August 2015


สภาพแวดล้อม

จังหวัดกาญจนบุรี มีความโดดเด่นทางภูมิประเทศที่สวยงามเหมาะแก่ผู้ที่หลงใหลในมนต์เสน่ห์ของการท่องเที่ยวธรรมชาติ หากแต่ต�ำบลท่ามะขามเป็นต�ำบลที่ห่างจากอ�ำเภอเมืองกาญจนบุรีเพียงประมาณ 12 กิโลเมตรเท่านั้น กลับยังคงยึดอาชีพท�ำ เกษตรกรรมเป็นหลัก แม้ในปัจจุบันเริ่มมีแนวโน้มในการเปลี่ยนแปลงพื้นที่เพื่อประกอบอาชีพที่หลากหลายขึ้น แต่สัดส่วนการ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมของประชากรต�ำบลท่ามะขามมีมากถึงร้อยละ 70 รองลงมาคืออาชีพรับจ้างประมาณร้อยละ 20 และ อาชีพอื่นๆ ได้แก่ ผู้ประกอบการธุรกิจ ข้าราชการ และพนักงานของรัฐ สภาพโดยทั่วไปของต�ำบลท่ามะขาม เป็นพื้นที่ราบใน เขตภาคกลาง โดยมีแม่น�้ำแควใหญ่ไหลผ่านตอนกลางของพื้นที่ จากแนวทิศตะวันตกเฉียงใต้ ท�ำให้สภาพโดยทั่วไปแบ่งพื้นที่ ออกเป็น 2 ฝั่งแม่น�้ำ คือหมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 5 ตั้งอยู่บน ฝั่งซ้ายของแม่น�้ำ หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 5 ตั้งอยู่บนฝั่งขวาของแม่น�้ำ มีภูเขาเล็กๆ อยู่บ้างไม่มากนัก โดยในเขตพื้นที่หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 5 คือ เขาพุรางและเขาใหญ่ ส่วนในหมู่ที่ 3 และ หมู่ที่ 4 คือเขา โพล้ ต�ำบลท่ามะขามมีจ�ำนวนประชากรกว่า 8,000 คน มีชุมชน อยู่อาศัยกระจายทั่วไป และอาศัยอย่างหนาแน่นบริเวณริมสอง ฝั่งแม่น�้ำแควใหญ่ พื้นที่ส่วนใหญ่ใช้ปลูกพืชไร่ และการท�ำนาข้าว ส่วนการใช้พื้นที่เพื่อการพาณิชยกรรมจะตั้งอยู่เรียงรายบริเวณ ริมถนนแสงชูโต และถนนสายหลักภายในหมู่บ้าน

60 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ความเป็นมา

ความเปลี่ ย นแปลงของวิ ถี ชี วิ ต และสังคม ย่อมส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง พฤติ ก รรมในการใช้ ชี วิ ต และบนเส้ น ทางการเปลี่ยนแปลงของต�ำบลท่ามะขาม หากมองย้ อ นกลั บ ไปประมาณ 50 ปี สามารถแบ่ ง ออกเป็ น ช่ ว งๆ ตามการ เปลี่ยนแปลงได้ 4 ยุค คือ

พ.ศ. 2504 – 2524

ยุ ค เกษตรกรรมเพื่ อ ยั ง ชี พ เป็นช่วงเวลาที่ถนนหนทางสัญจร สายหลั ก ของต� ำ บลยั ง เป็ น ดิ น บางส่ ว น เป็นถนนลูกรัง มีสภาพเป็นทางเกวียน

เดิ ม การคมนาคมส่ ว ยใหญ่ จ ะใช้ เรื อ หางยาว เรื อ ใหญ่ เพราะเป็ น พื้ น ที่ ติ ด แม่น�้ำแควใหญ่มีเพียงถนนลาดยางจาก ตั ว เมื อ งกาญจนบุ รี ม าถึ ง สถานี ร ถไฟ การเดิ น ทางสั ญ จรโดยทั่ ว ไปของชาว บ้านจึงใช้จักรยาน มีการประกอบอาชีพ เกษตรกรรมเพื่อการบริโภคเป็นหลัก ท�ำ ไร่ ท�ำนา โดยเน้นการท�ำนาปี และแม้ จะอยู่ริมแม่น�้ำแควใหญ่แต่การท�ำนาก็ยัง ต้องอาศัยน�้ำฝนเพราะพื้นที่ท�ำนาจะเป็น ที่ ราบลุ่มอยู่ไกลจากแม่น�้ำ ข้าวที่ปลูก ส่วนใหญ่ คือพันธุ์เหลืองประทิว มีการ ท� ำ นาผสมกั บ การท� ำ ไร่ แ บบผสมผสาน หั ว ไร่ ป ลายนา และบางช่ ว งมี ก ารปลู ก

61 issue 91 August 2015

ข้าวโพด ในหมู่ที่ 2 มีการท�ำไร่มะนาว มะกรูดส่วนพื้นที่หมู่ที่ 5 มีสภาพเป็นป่า จึงมีการท�ำป่าไม้รวก

พ.ศ. 2525-2534

ยุ ค เกษตรกรรมเพื่ อ ค้ า ขาย เป็นช่วงเวลาที่มีการพัฒนาจาก ส่ ว นกลางมายั ง พื้ น ที่ ต� ำ บลท่ า มะขาม โดยเริ่ ม พั ฒ นาทางด้ า นสาธารณู ป โภค อาทิ เริ่มมีไฟฟ้าใช้ในหมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 2 มีการพัฒนาถนนหนทางถนนลาดยาง ส่วนทางด้านเกษตรกรรมมีการส่งเสริม ให้ปลูกพืชเชิงเดี่ยว เช่น การท�ำไร่อ้อย ทั้งนี้เริ่มจากมีกลุ่มนายทุนมาซื้อที่ดินเพื่อ


นิ ย ามความพอเพี ย งของต� ำ บลท่ า มะขาม

“พออยู่ พอกิน ไม่มีหนี้สิน รู้จักกิน รู้จักใช้ รู้จักประมาณตน คือหนทางแห่งความพอเพียง”

62 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ขึ้นนอกจากนี้ยังได้รับผลกระทบจากยุคฟองสบู่แตก ส่งผลให้ ขาดทุนและมีหนี้สิน อีกทั้งคนที่ยังท�ำอาชีพเกษตรกรรม เริ่มมี การน�ำปุ๋ยยา เครื่องจักรทางการเกษตรเข้ามาใช้อ�ำนวยความ สะดวกมากขึ้นเนื่องจากประสบปัญหาการขาดแคลนแรงงาน

พ.ศ. 2546 – 2554

ยุ ค การทบทวนตนเอง เกษตรกรบางท่ า นในต� ำ บลได้ ท บทวนการท� ำ เกษตร ของตนเองพบว่าเกษตรกรต้องจ่ายค่าปุ๋ย ค่ายา ค่าเมล็ดพันธุ์ ค่าไถ พึ่งตนเองไม่ได้สักอย่าง ต้นทุนแพง ราคาพืชผล ก�ำหนด เองไม่ได้สารเคมีตกค้างในร่างกายสุขภาพอ่อนแอ หนี้สินไม่ เคยลดมีแต่เพิ่ม การได้ทบทวนการท�ำเกษตรของตนเองพบว่า เกษตรกรต้องจ่ายค่าปุ๋ย ค่ายา ค่าเมล็ดพันธุ์ ค่าไถ พึ่งตนเอง ไม่ได้สักอย่าง ต้นทุนแพง ราคาพืชผลก�ำหนดเองไม่ได้สารเคมี ตกค้ า งในร่ า งกายสุ ข ภาพอ่ อ นแอ หนี้ สิ น ไม่ เ คยลดมีแต่เพิ่ม การได้ทบทวนตนเองท�ำให้กล้าเริ่มและกล้าลองสิ่งใหม่ เช่น ริเริ่มการคัดเลือกพันธุ์ ข้าวเอง การท�ำปุ๋ยชีวภาพไว้ใช้เอง การ ปลูกพืชผักที่เดิมมักใช้เคมี เริ่มสร้างกลุ่มปลูกผักอินทรีย์แต่ยัง เป็นการเริ่มจ�ำนวนเล็กๆ เท่านั้น คนส่วนมากมีหนี้สิน ที่ดินมัก ติดจ�ำนองค�้ำประกันหนี้ของตนเองแกนน�ำชุมชนบางท่านเริ่ม ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในต�ำบล เช่น เยาวชนกับยาเสพติด ความขัดแย้งด้านการเมืองท้องถิ่น จึงริเริ่มและผลักดันให้เกิด การรวมกลุ่มขึ้น จนสามารถรวมกลุ่มอาชีพต่างๆ และเริ่มมอง เห็นหนทางแห่งการพึ่งตนเอง

ท�ำไร่อ้อย การปลูกอ้อยเริ่มเกิดขึ้นครั้งแรกๆ ในช่วงนั้นเอง โดย มีการปลูกกันในหมู่ที่ 1 ส่วนหมู่ที่ 2 มีการท�ำสวนผัก คือ ปลูก หอมใหญ่ มีการเพาะปลูกกันจ�ำนวนมากจนแพร่หลายกลาย เป็นกระแสดังกล่าว ท�ำให้ชุมชนเริ่มใช้บริการการกู้ยืมเงินไปท�ำ ไร่ ท�ำสวนทั้งนี้หมู่ที่ 2 มีการจัดตั้งเป็นสมาคมหอมใหญ่ท�ำการ ปลูกหอมใหญ่ไปได้ไม่กี่ปี เกิดวิกฤติใหม่ผลผลิตหอมใหญ่เสีย หายอย่างหนัก เนื่องจากมี”หนอนเจาะระบาด” ไม่สามารถ แก้ปัญหา โรคหนอนเจาะได้ ท�ำให้ขาดทุน เป็นหนี้สินสะสมต่อ เนื่องมาจนถึงปัจจุบัน

พ.ศ. 2535 – 2545

ยุ ค เกษตรกรรมกึ่ ง เมื อ ง เป็ น ช่ ว งเวลาที่ เ ทศบาลได้ ข ยายพื้ น ที่ เข้ า มาในต� ำ บล ความเจริญเข้ามาอย่างรวดเร็ว ที่ดินมีการเปลี่ยนมือสูงมาก เริ่ม มีการจัดสรรที่ดินแบ่งขายเป็นแปลงๆ เพื่อเป็นที่อยู่อาศัย โดย ซื้อที่ดินเปล่าไว้ก่อน แล้วค่อยปลูกบ้านในภายหลัง เป็นการขาย ที่ดินผ่อนเป็นงวดๆ ในราคาถูก มีการจัดสรรที่ดินท�ำกินกันมาก ในหมู่ที่ 5 และหมู่ที่ 2 ท�ำให้มีการเปลี่ยนแปลงด้านการถือครอง ที่ดินมากที่สุดชาวบ้านดั้งเดิมส่วนใหญ่จะมีที่ดินครอบครัวละ ประมาณ 20 ไร่ติดชายน�้ำ ซึ่งแต่เดิมเป็นการท�ำการเกษตรแต่ ได้ทยอยขายกันหมดเนื่องจากประสบปัญหาภัยแล้ง กับสภาวะ หนี้สินและไม่รู้ว่าจะท�ำอะไรในที่ดินของตนเอง ด้วยสภาพดิน เป็นดินลูกรังสีแดงแห้งแล้งมากจึงเปิดโอกาสให้กลุ่มนายทุน มากว้านซื้อกันมาก เพื่อท�ำธุรกิจท่องเที่ยวโรงแรม รีสอร์ท ร้าน อาหาร ร้านค้า และอีกส่วนหนึ่งได้มีการขยายพื้นที่ปลูกอ้อย กันมาก ชาวชุมชนบางส่วนจึงปรับเปลี่ยนไปท�ำงานรับจ้างมาก 63 issue 91 August 2015


ทุนต�ำบล

ความเข้มแข็งของชุมชนเริ่มก่อตัวขึ้นอย่างจริงจังในยุคหลัง หลังจากต�ำบลท่ามะขามประสบปัญหาหนี้สิน ที่ดิน จนกระทั่ง เกิดผลกระทบต่อสุขภาพเกิดการรวมกลุ่มอาชีพจนก่อเกิดเป็นพลังชุมชนที่นับเป็นต้นทุนที่ดีที่สุดของต�ำบลท่ามะขาม เพราะหากมี แต่เพียงทรัพยากรแต่ไม่มีผู้เริ่มให้ไปสู่หนทางแห่งการพึ่งตนเอง ทรัพยากรที่มีอยู่ก็ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์แต่อย่างใด เมื่อชาวชุมชน ต�ำบลท่ามะขาม เริ่มเข้าใจตนเองมากขึ้นจึงได้น�ำเอาทุนที่มีอยู่มาพัฒนา และสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนซึ่งทุนต�ำบลท่ามะขาม ที่ส�ำคัญนั้นประกอบไปด้วย

ทุนทางทรัพยากรท้องถิ่น

ต�ำบลท่ามะขาม มีแม่น�้ำแควใหญ่ไหลผ่านพื้นที่หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 4 มีบึงทางธรรมชาติ 2 แห่ง คือ หนองแฟบ อยู่ในเขตหมู่ที่ 3 และหนองแก อยู่ในเขตหมู่ที่ 4 มีคลองส่งน�้ำ 1 สาย เป็นคลองส่งน�้ำด้วยไฟฟ้าของกรมชลประทาน และกระทรวง เกษตรและสหกรณ์อยู่ในเขตหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 4 นอกจากนี้ยัง มีบ่อน�้ำตื้นเพื่อการใช้สอยประมาณ 130 แห่ง กระจายครบทุก หมู ่ บ ้ าน และมี บ ่ อ บาดาลเพื่อการอุป โภคบริโภคอีก ประมาณ 300 แห่ง

64 IS AM ARE www.ariyaplus.com


เรื่ อ งเล่ า ...เยาวชน

ต�ำบลท่ามะขามมีภูเขาที่เป็นทรัพยากรทางธรรมชาติเพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ สวยงาม โดยเฉพาะบริเวณใกล้เชิงเขาและบริเวณริมสองฝั่งแม่น�้ำแควใหญ่ที่ได้พัฒนา ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวอันเป็นการสร้างรายได้ให้กับราษฎรในท้องถิ่นเพิ่มขึ้น ส่วน แม่น�้ำแควใหญ่ที่ถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สวยงามเส้นทางคมนาคมเข้า ถึงได้สะดวก และมีธุรกิจส่งเสริมกิจกรรมด้านการท่องเที่ยวของเอกชนตั้งอยู่หลาย แห่ง อาทิ โรงแรม รีสอร์ทริมน�้ำ แพพักและร้านอาหาร

ก้าวเดินด้วยความพอเพียง

ต�ำบลท่ามะขามเป็นหนึ่งใน 9 ต�ำบลน�ำร่องด้านการด�ำรงชีวิตตามเศรษฐกิจ พอเพียงโดยได้เข้าร่วมโครงการรักษ์ป่า สร้างคน 84 ต�ำบล วิถีพอเพียง ในระยะที่ 1 พ.ศ. 2550 โดยได้เข้ารับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการจากการที่มีบุคลากรดีเด่นด้าน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ในการท�ำงานเครือข่ายป่าต้นน�้ำจังหวัดกาญจนบุรี คือ ทิวาพร ศรีวรกุล ที่ได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียว จาก ปตท. ด้วยมุมมองและแนวคิด ของผู้น�ำไปสู่การพึ่งพาตนเอง ผ่านกระบวนการเปลี่ยนแปลงแนวคิด วิธีการด�ำเนิน ชีวิต ภายใต้หลักปัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

กลไกการขับเคลื่อน

เป็ น หั ว ใจส� ำ คั ญ ในการขั บ เคลื่ อ นในการขั บ เคลื่ อ นงาน ในฐานะที่ เ ป็ น จุดศูนย์กลางการกระจายข้อมูลของโครงการฯ โดยมีการคัดเลือกจากพระ ผู้น�ำ ทางการ (ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน) และแกนน�ำจากทุกหมู่บ้าน ในขณะที่คณะกรรมการ โครงการฯ มีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบตามคุณลักษณะที่เห็นว่ามีความเหมาะสมกับ เรื่องต่างๆ เช่น ด้านเยาวชน ด้านลดรายจ่าย ด้านพลังงาน ด้านครัวเรือนพอเพียง อาสา ด้านออมทรัพย์ และด้านการบริหาร 65 issue 91 August 2015


แม้ในระยะแรงของการด�ำเนินงานนั้น คณะกรรมการโครง การฯ มีความหลากหลายทางด้านสถานะทางสังคม คือ มีทั้งพระ ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้านและแกนน�ำชาวบ้าน แต่เมื่อด�ำเนินงานไประยะ หนึ่งก็มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างเหลือเพียงแกนนะชาวบ้านหรือ อาจเรียกว่า แกนน�ำ แกนน�ำทางธรรมชาติที่ท�ำหน้าที่ในการบริหาร จัดการ จนสามารถขับเคลื่อนให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในต�ำบล หลายๆ ด้าน ซึ่งน�ำไปสู่การพึ่งตนเองอย่างเป็นรูปธรรม และการ ลงมือปฏิบัติจริง ส่งผลให้ชาวชุมชนต�ำบลท่ามะขาม สามารถพึ่งพา ตนเองได้ เนื่องจากแกนน�ำทางการมีภาระหน้าที่งานประจ�ำที่มี เวลาจ�ำกัดในการร่วมขับเคลื่อนให้เกิดให้เกิดความเปลี่ยนแปลงใน ต�ำบลหลายๆ ด้าน ซึ่งน�ำไปสู่การพึ่งตนเองอย่างเป็นรูปธรรม และ การลงมือปฏิบัติจริง ส่งผลให้ชาวชุมชนต�ำบลท่ามะขาม สามารถ พึ่งตนเองได้ เนื่องจากแกนน�ำทางการมีภาระหน้าที่งานประจ�ำที่ มีเวลาจ�ำกัดในการร่วมขับเคลื่อนงานจึงท�ำได้เพียงแค่รับบทบาท เป็นที่ปรึกษา

66 IS AM ARE www.ariyaplus.com


67 issue 91 August 2015


ปี ชวด

การงาน – ผูกมิตร ช่วงเวลาที่ท�ำงานจะสนุกเพลิดเพลินอย่างแท้จริง ซึ่งผิดกับเดือนก่อน คุณจะพบว่าสิ่งต่างๆ ดีขึ้นมาก โปรดอย่าหวาดระแวงว่าจะมีเจตนาซ่อนเร้น และควรรับความช่วยเหลือเมื่อมีผู้เสนอให้ ธุรกิจ – มุ่งมั่น เวลาดีส�ำหรับคนปีชวดที่ท�ำธุรกิจ เพราะจะมีทิศทางมากมายให้คุณเลือก ทั้งโอกาสใหม่ๆ มากมาย จะเปิดทางให้คุณ คุณจะเลือกได้อย่างเต็มที่ แต่จงเลือกที่จะมุ่งมั่นท�ำอย่างรอบคอบ ความรัก ความสัมพันธ์ – น่าพอใจไปเสียหมด เป็นเวลาที่วิเศษส�ำหรับคนที่ก�ำลังมองหาความรัก คุณจะมีคนมาชอบมากมาย คุณอาจมีใจชอบใครบางคน และโชคดีที่ความรู้สึกของ คุณจะได้รับการตอบสนอง ลองเปิดใจดู แล้วคุณจะพบความรักให้แบ่งปันและได้รับ การศึกษา – ก้าวหน้าครั้งใหญ่ ดวงแห่งวิชาการน�ำโอกาสที่สดใสมาให้คนในเดือนนี้ คุณจะได้รับความรู้ใหม่ๆ อย่างง่ายดาย จึงควรใช้ทุกโอกาสที่มีให้คุ้มค่า ความ สามารถในการเรียนจะเพิ่มขึ้น และทุกความส�ำเร็จยังน�ำมาซึ่งความมั่นใจครั้งใหม่

ปี ฉลู

การงาน – วางแผนล่วงหน้า วางแผนการท�ำงานให้รอบคอบก่อนลงมือท�ำ จะช่วยให้คุณมีประสิทธิภาพมากขึ้น อย่าพยายามท�ำทุกอย่างคน เดียว ตอนนี้เป็นเวลาดีส�ำหรับการปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนร่วมงานเพื่อท�ำงานให้ส�ำเร็จ ธุรกิจ – ร่วมมือในเชิงกลยุทธ์ เดือนนี้ให้ผลดีต่อความร่วมมือในเชิงกลยุทธ์กับผู้อื่น ความพยายามร่วมมือในการใช้ทักษะที่เกื้อหนุนกันจะน�ำผลดีมาให้ โชคด้าน ธุรกิจอยู่ในเกณฑ์ดี อย่าท�ำในสิ่งที่เกินกว่าจะรับไหว และเมื่อรู้สึกว่าจ�ำเป็นต้องพักก็ควรพัก ความรัก ความสัมพันธ์ – มีความสุข นี่คือเวลาแห่งความสุขที่อยู่ในห้วงรัก ทุ่มเทเวลาให้กับครอบครัวและชีวิตส่วนตัวให้มากขึ้น ในเดือนนี้ ท�ำสิ่งต่างๆ ที่ท�ำให้คุณมีชีวิตชีวา การพูดคุยติดต่อกับคนที่คุณรักจะยิ่งช่วยให้คุณมีพลังเพิ่มขึ้น การศึกษา – หาความพอดี แม้ว่าตอนนี้อาจเป็นช่วงงานยุ่งส�ำหรับนักเรียน แต่ควรหาทางจัดเวลาระหว่างการเรียนและพักผ่อน ให้เหมาะสม พักจากการเรียนเพื่อท�ำสิ่งอื่นบ้าง เมื่อส่วนอื่นของสมองคุณได้รับการกระตุ้นจากกิจกรรมอื่นๆ ที่ต่างออกไป คุณจะ รู้สึกว่าคุณท�ำทุกอย่างได้ดีขึ้นตามไปด้วย

ปี ขาล

การงาน – ท�ำงานเป็นทีม ทางทีดีควรแบ่งเวลาการท�ำงานให้มีประสิทธิภาพ รับมือกับสิ่งต่างๆ ตามสถานการณ์ การ รับผิดชอบงานมากขึ้นเรื่อยๆ ไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพของคุณ และยังอาจท�ำให้คุณท�ำงานผิดพลาดอีกด้วย

ธุรกิจ – เชื่อมั่น แม้ว่าคุณไม่ได้รู้สึกแข็งแรงสดใส แต่สมองของคุณยังเฉียบแหลม และยังมีความคิดดีๆ รออยู่ จงให้อิสระในการสร้างสรรค์มากขึ้นแก่ คนรอบข้าง จงเชื่อมั่นในทีมงานของตัวเอง แล้วพวกเขาจะท�ำให้คุณประหลาดใจ ความรัก ความส�ำคัญ – ไปได้สวย ชีวิตรักของคุณไปได้สวย มีความสัมพันธ์ที่มั่นคง และพบว่าคู่รักของคุณให้ความช่วยเหลือ คุณได้อย่างดีเยี่ยม หากมีสิ่งใดท�ำให้คุณ เครียด ลองระบายให้คู่รักของคุณฟัง คุณอาจได้มุมมองการแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม การศึกษา – พูดระบายออกมา อาจยากที่จะมีสมาธิกับการเรียน เมื่อคุณมีเรื่องอื่นให้คิด การผิดใจกับเพื่อนอาจมีผลกับคุณมากกว่าที่คิด การพูดระบายออกมาบ้าง จะ ช่วยให้คุณคิดหาเหตุผล ให้อภัย และลืมมันไปได้บ้าง 68 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Wheel Of Life

ปี เถาะ

การงาน – ยิ่งพยายามยิ่งดี คุณก�ำลังรู้สึกดี ทั้งสิ่งต่างๆ ก�ำลังไปได้สวยส�ำหรับคุณ ตอนนี้เป็นเวลาที่ยิ่งทุ่มเทความพยายามให้กับงานมากเท่า ไหร่ ผลตอบแทนจะยิ่งดี ความพยายามของคุณจะเป็นที่ประจักษ์ และมีแนวโน้มจะได้รับการตอบแทน ธุรกิจ – เชื่อสัญชาตญาณ เชื่อสัญชาตญาณคุณไว้ เมื่อต้องตัดสินใจ คุณเชื่อถือสามัญส�ำนึกในตัวคุณได้ ตอนนี้จึงเป็นเวลาที่คุณสามารถท�ำตามแผนการใหญ่ที่ คิดไว้ให้บรรลุผล ทั้งคุณยังสามารถเสี่ยงได้อย่างมั่นใจ ความรัก ความสัมพันธ์ – เนื้อหอม นิสัยที่เปิดเผยของคุณท�ำให้คุณเป็นที่ชื่นชอบของทุกคน คุณจึงมีเพื่อนใหม่มากมาย ทั้งยังไม่ขาดคนที่มาชอบพอ จึงไม่น่าแปลกใจที่ จะมีคนเข้ามาแย่งชิงความสนใจของคุณ การศึกษา – โชคด้านผู้ชี้น�ำ จะมีโชคด้านผู้ชี้น�ำที่วิเศษสุดในเดือนนี้ จงพร้อมรับค�ำแนะน�ำจากผู้ที่อยู่ในฐานะซึ่งจะช่วยคุณได้ หากคุณท�ำทุกอย่างด้วยตัวเองมา ตลอด ตอนนี้เป็นเวลาดีที่จะติดต่อกับคนที่จะสร้างการเติบโตให้คุณได้

ปี มะโรง

การงาน – สร้างทีมที่แข็งแกร่ง คุณมีทักษะความเป็นผู้น�ำที่น่าประทับใจในเดือนนี้ ท�ำให้คนปีมะโรงในต�ำแหน่งบริหาร สามารถดึงเอาจุดแข็งของทีมคุณออกมาได้ ท�ำงานกับทีมงานของคุณอย่างใกล้ชิด คุณจะก้าวหน้าได้ดีที่สุดเมื่อคุณปล่อย ให้ผู้อื่นได้โดดเด่นเช่นกัน ธุรกิจ – ปกครองด้วยกฎเหล็ก จงเน้นช่วงสูงสุดของคุณด้วยความแน่ใจว่าคุณปิดจุดอ่อนทุกทางของคุณไว้หมด พยายามมีส่วนร่วม กับการท�ำงานเสมอ คอยควบคุมและดูแลสิ่งต่างๆ และโชคดีของคุณมาในรูปแบบโอกาสทอง ความรัก ความสัมพันธ์ – คิดแต่เรื่องอื่น บางทีอาจไม่ใช่เดือนที่ดีนักส�ำหรับการเริ่มต้นความสัมพันธ์ใหม่ แม้ว่าความรักจะผ่านเข้า มา แต่คุณมีแนวโน้มที่จะหมกมุ่นกับเรื่องอื่นๆ จนไม่ได้ใส่ใจความรักได้เต็มที่นัก การศึกษา – การสร้างรากฐาน การวางแผนและการตัดสินใจที่ดี เป็นการสร้างรากฐานที่ดีส�ำหรับการก้าวกระโดดในอนาคต ยิ่งคุณ เห็นแก่ตัวน้อยเท่าไหร่ในตอนนี้ ทุกคนต่างยิ่งได้รับผลดี รวมทั้งตัวคุณเองด้วย

ปี มะเส็ง

การงาน – ระวังถูกรอบกัด แม้ว่าโชคโดยรวมของคุณจะดีมาก แต่ต้องระวังศัตรูที่ดักรออยู่ซึ่งพร้อมจะแทงคุณข้าง หลัง การเมืองในองค์กรอาจลุกลามหากคุณท�ำเป็นไม่รับรู้ แม้ว่าคุณอยากท�ำงานโดยไม่ยุ่งเกี่ยว แต่เดือนนี้คุณอาจ

ไม่มีทางเลือก ธุรกิจ – อย่าเปิดโอกาส มีโอกาสมากมาย แต่ยังมีหลุมพรางให้ต้องหลบหลีก นักธุรกิจปีมะเส็งจะได้พบกับลาภลอยบางอย่างให้คุณ ไขว่คว้า จริงอยู่ว่าคุณมีโชคดีที่จะช่วยให้คว้าเงินก้อนโตได้ แต่ต้องระวังเพราะคุณยังเสี่ยงต่อการถูกโกงหรือโดนหลอก ความรัก ความสัมพันธ์ – ใจตรงกัน คนที่มีความสุขกับความสัมพันธ์มากที่สุด คือคนที่คู่ครองให้อิสระมากพอ และแม้ว่าคุณจะยัง คบหาดูใจกับใครต่อใครอยู่ แต่คุณจะถูกใจกับคนที่สามารถพูดคุยหยอกล้อและจุดประกายความคิดให้คุณได้ สวัสดิภาพส่วนตัว – ปลอดภัยไว้ก่อน อันตรายจากการถูกปล้นจี้หรือเป็นเหยื่อของคนที่ไม่น่าไว้ใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้หญิงต้องระวัง ให้มากเป็นพิเศษเมื่อออกนอกบ้านคนเดียวในตอนกลางคืน ในที่จอดรถ หรือในสถานการณ์ที่เสี่ยงอื่นๆ คอยระวังตัวให้มากกว่าปกติ

69 issue 91 august 2015


ปี มะเมีย

การงาน – เก็บเกี่ยวดอกผล คุณจะเริ่มรู้สึกพอใจกับการงานมากยิ่งกว่าที่คุณเคยรู้สึก คุณจะเห็นผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมจากความพยายาม ซึ่งช่วย ให้เห็นทิศทางที่ชัดขึ้น ไปจนถึงมีสิ่งดีๆ มากมายรออยู่เมื่อคุณเข้าสู่ครึ่งหลังของปีนี้ ธุรกิจ – โอกาสใหม่สุดวิเศษ เดือนนี้เมฆผ่านพ้นไปแล้ว และดวงอาทิตย์กลับมาฉายแสงอีกครั้ง !!! คุณจะพบโอกาสใหม่สุดวิเศษ คุณยังรู้แน่ชัดว่าจะคว้าโอกาสพวก นั้นมาได้อย่างไร คุณหลักแหลม เฉียบคม ซึ่งจะช่วยให้คุณก้าวหน้าได้ไกล ความรัก ความสัมพันธ์ – ไม่ราบรื่น น่าเสียดายที่ชีวิตรักของคุณมาพบกันเส้นทางที่ไม่ราบรื่นในเดือนนี้ แทนที่จะซาบซ่าน กลับพ่นพิษและน�้ำลายใส่กันแทน ความขุ่นเคือง ใจส่วนใหญ่จะมาจากการมีปากเสียงและความเข้าใจผิดกับคนรัก การศึกษา – กระชุ่มกระชวย มีหลายสิ่งหลายอย่างเกิดขึ้นทั้งในและนอกโรงเรียน คุณอาจจะพบว่าคุณชอบการแข่งขันมากกว่าที่เคย จง ใช้พลังที่เปี่ยมด้วยชีวิตชีวานี้ไปในทางที่ดี โดยใช้กับกิจกรรมที่สร้างสรรค์ ตักตวงพลังอันเป็นมงคลให้ได้มากที่สุดเพื่อเรียนรู้ทักษะใหม่ๆ

ปี มะแม

การงาน – เข้าใจผิด ตอนนี้อาจเป็นเวลาที่ล�ำบากในเรื่องงาน เมื่อสิ่งต่างๆ ดูจะผิดพลาดโดยไม่มีสาเหตุ ความเข้าใจผิดเกิดขึ้น สร้างความ ตึงเครียดระหว่างเพื่อนร่วมงาน และอาจท�ำให้ชีวิตการท�ำงานไม่น่ารื่นรมย์เท่าที่ต้องการ ธุรกิจ – มีสิ่งกีดขวางมากมาย อย่าคาดหวังอะไรที่ยิ่งใหญ่ในเดือนนี้ คุณควรถือว่าตัวเองโชคดีแล้ว หากไม่พบกับโชคร้านหนักๆ อุปสรรคจะปรากฏขึ้นมาขวางเส้น ทางของคุณ และไม่ควรลงทุนใหม่ในเดือนนี้ ท�ำงานด้วยสมอง ไม่ใช้แรง มุ่งเน้นที่ตัวผลงาน ความรัก ความสัมพันธ์ – มีเรื่องกวนใจ มีแนวโน้มว่าคุณจะมีเรื่องมากมายต้องคิดจนไม่อาจสนใจเรื่องความรักได้ แม้แต่เมื่ออยู่ด้วยกัน ยังดูเหมือนใจของคุณจะลอยไปไกลแสน ไกล และตอนนี้ยังไม่ใช่เวลาที่ดีส�ำหรับการเริ่มต้นความสัมพันธ์ครั้งใหม่ สุขภาพ – ใส่ใจให้มากขึ้น ดาวร้ายท�ำให้คุณเสี่ยงที่จะล้มป่วยและประสบอุบัติเหตุ ดังนั้นจึงต้องระวังให้มากขึ้นเมื่อต้องท�ำ “กิจกรรม” ที่เสี่ยง ทางที่ดีควรหลีกเลี่ยงกีฬาหนักๆ หรืออย่างน้อยควรระวังให้มากขึ้นหากรู้ว่าตังเองก�ำลังอยู่ในที่เสี่ยงอันตราย

ปี วอก

การงาน – ล�ำบาก เป็นเดือนที่ล�ำบากในที่ท�ำงาน เมื่อค�ำแนะน�ำของคุณได้รับแต่ค�ำวิพากษ์ วิจารณ์และกีดกั้น แม้ว่าคุณจะพูดได้ดีกว่า คู่แข่งทุกคน ในเดือนนี้จึงอย่าท�ำตัวเด่น เพราะคุณอาจมีศัตรูที่คิดแค้นเพราะเชื่อว่าคุณล่วงเกินพวกเขาเอาไว้ ธุรกิจ – มองให้กระจ่าง เดือนนี้อุปสรรคที่คุณพบอาจดูน่าหวาดหวั่น จงพร้อมรับความผิดพลาดอย่างเข้มแข็ง แทบเป็นไปไม่ได้เลยที่สิ่งต่างๆ จะด�ำเนินไปโดย ปราศจากอุปสรรค เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น และมันมักจะส่งผลกระทบต่อด้านอื่นๆ ด้วย ความรัก ความสัมพันธ์ – ไม่มีใจ เดือนนี้ยังไม่เหมาะที่จะคบหาดูใจ หรือฟูมฟักความสัมพันธ์ใหม่ คุณควรหาความสุขจากเรื่องเล็กๆ ไปก่อน จนกว่าปัญหาใหญ่จะหมด ไป ซึ่งน่าจะไม่นานเกินสิ้นเดือนนี้ สุขภาพ – ดูแลตัวเองให้ดี ควรหลีกเลี่ยงการขับรถเร็วเกินไป และกิจกรรมที่เกี่ยวกับความรุนแรง ทุกอย่างในเดือนนี้จะต้องเฝ้าระวัง กันเป็นพิเศษ คนที่สูงวัยหรือสุขภาพไม่ดี ไม่ควรนอนหลับทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ในเดือนนี้ 70 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Wheel Of Life

ปี ระกา

การงาน – จังหวะเปลี่ยนแปลง จะมีการเปลี่ยนแปลงที่น่าตื่นเต้นเกิดขึ้น ซึ่งอาจท�ำให้คุณมีงานยุ่งตลอดเวลา จงพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว เพราะยิ่งคุณรับมือกับงานที่ได้รับมอบหมายได้ดีเพียงใด ความรับผิดชอบของคุณจะยิ่งมีมากขึ้นเท่านั้น ธุรกิจ – ความส�ำเร็จครั้งใหญ่ พลังแห่งโชคดีแผ่ไปถึงโครงการใหม่ๆ ที่คุณเข้าไปมีส่วนร่วม นี่คือเวลาที่สามารถเริ่มต้นสิ่งใหม่ และคุณจะสามารถเดินลุยเข้าไปในพื้นที่ ซึ่งคุณอาจไม่คุ้นเคย แถมประสบความส�ำเร็จเสียด้วย ความรัก ความสัมพันธ์ – เวลาแห่งความสุข นี่คือเดือนที่ดีส�ำหรับทุกด้าน ความรักไม่เป็นรองด้านอื่นๆ คุณจะได้พบช่วงเวลาที่แสน วิเศษ เพราะหลายอย่างที่ดูเหมือนเป็นสิ่งเล็กน้อยกลับกลายเป็นเรื่องที่ยิ่งใหญ่ และหากคุณยังโสด !!! คุณจะพบกับคนดีๆ ได้ไม่ยาก การศึกษา – มั่นใจยิ่งขึ้น เดือนนี้คุณจะมีความมั่นใจเพิ่มขึ้น จะเชื่อมั่นในตัวเองยิ่งขึ้น และวุฒิภาวะใหม่ที่เพิ่งเกิดขึ้นจะแสดงให้เห็น ผ่านทางผลงานและค�ำตอบของคุณ จงทุ่มเทให้กับทั้งการเรียนและการศึกษา ตอนนี้เป็นเวลาที่ดีที่จะหาวิชาเรียนนอกหลักสูตรเพิ่มเข้า สู่รายการทักษะที่คุณจ�ำเป็นต้องมี

ปี จอ

การงาน – กระชุ่มกระชวย คุณจะพบตัวเองมีพลังงานเหลือเฟือ คุณจึงควรเตรียมพร้อมที่จะปัดฝุ่นสิ่งต่างๆ เสียใหม่ หากคุณมีอ�ำนาจหน้าที่ที่จะ ท�ำเช่นนั้นได้ คุณจะโดดเด่นยิ่งขึ้นในที่ท�ำงาน และจะยึดต�ำแหน่งผู้เล่นคนส�ำคัญในทีมไว้ได้อย่างเหนียวแน่น ธุรกิจ – สารพัดความเป็นไปได้ การเพิ่มพนักงานและลงทุนกับการฝึกอบรมเป็นทางเลือกที่ดีที่คุณควรพิจารณา ตอนนี้เป็นเวลาที่ดีสำ� หรับการสร้างเสริมทีมงานบริหาร หลักของคุณ หากคุณมีแผนการที่ยิ่งใหญ่ ควรลองมองคนที่สามารถช่วยให้คุณผลักดันความคิดให้เกิดผล ความรัก ความสัมพันธ์ – ดื่มด�่ำ พลังธาตุไฟที่ร้อนแรงในผังดวงชะตาของคุณบ่งบอกถึงอารมณ์ที่เร่าร้อน และความปรารถนาที่จะผจญภัย ซึ่งจะปรากฏให้เห็นในชีวิต ของคุณ คุณอาจได้พบความสุขอย่างเหลือล้น การศึกษา – ไม่มีว่าง เดือนนี้จะไม่มีว่าง เพราะกิจกรรมต่างๆ ทั้งด้านการเรียนและอื่นๆ มีหลายสิ่งที่คุณอยากท�ำ อย่าท�ำมากเกินไป มิฉะนั้นคุณอาจท�ำไม่ได้ดีเลยสักอย่าง จงเลือกสิ่งที่คุณอยากท�ำในตอนนี้ก่อน

ปี กุน

การงาน – สนุกสนาน ตอนนี้คุณจะเริ่มสนุกกับงานอย่างแท้จริง ผลงานด้านกลยุทธ์ที่คุณมีมากขึ้นจะช่วยกระตุ้นให้คุณก้าวหน้าขึ้นอีก บาง คนอาจได้รับเงินเพิ่มขึ้น จงตักตวงโชคด้านการเงินที่ดีของคุณ ด้วยการมุ่งมั่นและทุ่มเทให้กับงานในเดือนนี้ ธุรกิจ – มุ่งมั่น สิ่งที่คุณวางแผนจะต้องเป็นไปได้ในเชิงธุรกิจ และจงจ�ำไว้ว่าเมื่อธุรกิจของคุณโตขึ้น คุณจะต้องการขุนผลที่ไว้ใจได้เพิ่ม ขึ้นเช่นกัน ควรเลือกคนที่จะคอยสนับสนุนให้งานของคุณเดินหน้าไปในทางทีดี และไว้วางใจได้ ความรัก ความสัมพันธ์ – อิ่มเอมใจ อารมณ์รักล้นเอ่อส่งผลต่อความสัมพันธ์ด้านความรักของคุณ หากคุณยังโสด คุณอาจติดกับความ รักครั้งใหม่กับใครบางคนที่คาดไม่ถึง อย่าบ่ายเบี่ยงเมื่อเพื่อนพยายามจับคู่ให้คุณ เพราะใครจะไปรู้ล่ะ !!! ว่าคุณจะได้พบคู่แท้อย่างไร และเมื่อไหร่ การศึกษา – ประนีประนอม ดวงดาวรวมตัวกันในแบบที่ส่งผลกระทบต่อมุมมองระหว่างคนรุ่นเก่าและคนรุ่นใหม่ ช่องว่างระหว่างเด็ก และผู้ใหญ่จึงห่างกันมากขึ้น ไม่ว่าคุณจะเป็นคนหัวเก่าแค่ไหน หรือมีพ่อแม่และครูที่เปิดกว้างแค่ไหนก็ตาม ช่องว่างที่ห่างอาจท�ำให้ค�ำ แนะน�ำยังไม่ได้ผลพอที่ควร 71 issue 91 august 2015


72 IS AM ARE www.ariyaplus.com


73 issue 91 August 2015


74 IS AM ARE www.ariyaplus.com


75 issue 91 August 2015


76 IS AM ARE www.ariyaplus.com


77 issue 91 August 2015


78 IS AM ARE www.ariyaplus.com


79 issue 91 August 2015


มุ ลนิธิครอบครัวพอเพียง เปิ ดตัวกิจกรรมฉันคือฮีโร (I AM HERO) มุ ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพี ย ง ได้ จั ด ให้ มี กิจกรรมการอบรม หัวข้อ ฉันคือฮีโร (I AM HERO) เพื่ อ ให้ เ ยาวชนได้ น ้ อ มน� ำ ปรั ช ญา เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง มาใช้ ใ นชี วิ ต ประจ� ำ วั น ในเรื่ อ ง การมี ค วามรอบรู ้ การพอเพี ย งพอ ประมาณและการมีภูมิคุ้มกันตนเอง ในด้านการ มีทักษะชีวิต (FACT FOR LIFT) การมีความ สามารถปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมสุ ข ภาวะทาง เพศ การให้ค�ำปรึกษาแบบเพื่อนช่วยเพื่อนโดย สามารถน�ำตนเองให้รอดปลอดภัยและพร้อมที่ จะเป็นผู้น�ำจิตอาสาเยาวชนครอบครัวพอเพียง ช่วยเหลือผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กรมอุ ทยานแห่งชาติฯ บุ กภาคเหนือจัดกิจกรรมปลูกป่ า กรมอุ ท ยานแห่ ง ชาติ สั ต ว์ ป ่ า และพั น ธุ ์ พื ช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม น�ำโดย นายสมัคร ดอนนาปี (ที่ ๓ จากขวา) ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก อุทยานแห่งชาติ และ นายสว่าง กองอินทร์ ผู้อ�ำนวย การส�ำนักสนองงานพระราชด�ำริ (ที่ ๓ จากซ้าย),นาย เอช อาสุ(ที่ ๒ จากขวา) รักษาราชการแทนผู้อ�ำนวย การส�ำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ ๑๓ (แพร่) จัดกิจกรรม “โครงการสร้างจิตส�ำนึกรักษา ฟื้นฟูป่าต้นน�้ำ ในโอกาส ๖๐ พรรษามหาจักรีสิรินธร พ.ศ.๒๕๕๘” พร้อมด้วย คณะผู้บริหารและเยาวชนในพื้นที่ ที่มาร่วมกันปลูกป่า และมอบอุปกรณ์กีฬา-อุปกรณ์การเรียนแก่โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ร่วมด้วยนางเอกสาว แพท - ณปภา ตันตระกูล (ที่ ๑ จากขวา) ที่มาสร้างความสุขและร่วมกิจกรรมตลอดโครงการฯ ณ อุทยานแห่งชาติขุนน่าน จังหวัดน่าน

เทสโก้ โลตัส จับมือ กระทรวงพาณิชย์ หนุนเกษตรกรชาวสวน รับซื้ อผลไม้ในฤดูกาลเพิ่มกว่า 80 % จุ ดกระแสบริโภคผลไม้ ไทยในราคาขายส่ง

นายวุฒิชัย ดวงรัตน์ รองปลัดกระทรวงพาณิชย์ ให้เกียรติเป็นประธานเปิดงาน “เทสโก้ โลตัส คืนความสุขหวานฉ�่ำ อร่อยล�้ำผลไม้ไทย” โดยมี นางสาวสลิลลา สีหพันธุ์ รองประธานกรรมการ ฝ่ายกิจการบรรษัท เทสโก้ โลตัส ,นายสถาพร ภู่วิ จิตรวราภรณ์ ผู้จัดการอาวุโส ฝ่ายการค้าและพาณิชย์ เทสโก้ โลตัส ,นายชาคริต ดิเรกวัฒนชัย รองประธานกรรมการ แผนกสื่อสารองค์กรและความยั่งยืน เทส โก้ โลตัส ตลอดจนตัวแทนจากสหกรณ์การเกษตรเข้าร่วมงาน โดยในปีนี้เทสโก้ โลตัสเพิ่มการอุดหนุนผลไม้ฤดูกาลจากเกษตรกรกว่า 80% และพร้อมกระจายถึงมือผู้บริโภคในราคาขายส่งถูกสุดสุด ผ่านเทสโก้ โลตัส 1,800 สาขาทั่วประเทศตั้งแต่วันนี้ถึงเดือนกันยายนนี้ 80 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Round About

ทรู โฟร์ยู (True4U) ประกาศยกระดับวงการโทรทัศน์ไทย

ชูสุดยอดคุณภาพคอนเทนท์ กีฬาดังระดับโลก และบันเทิงที่สร้างคุณค่าสังคม พลิกรูปแบบการรับชม ก้าวสู่ปรากฏการณ์ “Digital Interactive TV” เต็มรูปแบบ ทุ่มงบ 2 พันล้าน ดันเรตติ้งขยับขึ้น Top 3 ดิจิตอลทีวี

ซี พี เดินหน้าส่ง ตุ้ย AF เสิร์ฟความอร่อย อย่างต่อเนื่อง

บริ ษั ท เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ อ าหาร จ� ำ กั ด (มหาชน) จั ด กิจกรรมโรดโชว์เดินสายออกตะลุยแจกความอร่อยทั่วกรุงเทพฯ อย่างต่อเนื่องในแคมเปญ “หมู ไก่ หมักพร้อมปรุง ตราซีพี” ซึ่ง ครั้งนี้ได้หนุ่มหล่อ เสียงดี “ตุ้ย เกียรติกมล ล่าทา” (คนกลาง) มาร่วมขบวนปรุงเสิร์ฟให้กับบรรดาหนุ่ม สาวออฟฟิศ ได้สัมผัส ความอร่อยทุกค�ำ เข้มข้นเข้าเนื้อทุกจาน ด้วยกรรมวิธีการหมัก ตามแบบสูตรเฉพาะจากซีพี สะดวกพร้อมต้ม ผัด ทอด ได้ทันที โดยไม่ต้องปรุงเพิ่มโดยกิจกรรมดังกล่าวจัดขึ้น ณ เอสซีบี ปาร์ค เมื่อวันก่อน

“แกมโบล” เปิ ดบ้านรีแบรนดิ้งแบรนด์ครัง้ ใหญ่

นายสุรชัย กิจก�ำจาย กรรมการผู้จัดการ บริษัท บิ๊กสตาร์ จ�ำกัด ผู้ผลิตและจัดจ�ำหน่ายรองเท้าแบรนด์แกมโบล (GAMBOL) (ที่ 3 จากซ้าย) พร้อมด้วย นายศักดิ์ดา โตรื่น ผู้จัดการฝ่ายการตลาด บริษัท บิ๊กสตาร์ จ�ำกัด (ที่ 4 จากซ้าย)เปิดบ้านให้สื่อมวลชนสัมภาษณ์ ประเด็น “รีแบรนดิ้งภาพลักษณ์รองเท้าแบรนด์แกมโบล” พร้อมกับ เปิดตัวรองเท้า 4 กลุ่มใหม่ล่าสุด พร้อมแคมเปญส่งเสริมการตลาด “เกิดมาชัด จัดให้เต็ม GAMBOL Born to be BOLD” เพื่อค้นหา 4 พรีเซนเตอร์หน้าใหม่มาถ่ายทอดเอกลักษณ์ของรองเท้า 4 รุ่น จัดขึ้น ณ บริษัท บิ๊กสตาร์ จ�ำกัด 81

issue 91 August 2015


“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.” Mahatma Gandhi “ใช้ ชี วิ ต ราวกั บ ว่ า คุ ณ จะตายพรุ ่ ง นี้ เรี ย นรู ้ ร าวกั บ ว่ า คุ ณ จะมี ชี วิ ต อยู ่ ต ลอดไป.” มหาตมา คานธี (ผู้น�ำและนักการเมืองที่มีชื่อเสียงชาวอินเดียและศาสนาฮินดู)

82 IS AM ARE www.ariyaplus.com




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.