IS AM ARE
“เมตตาศิษย์ด้วยความจริงใจ” มากกว่า “ค่าตอบแทน”
ญาณกวี แก้ววงศ์ เด็กหลังห้อง
ชื่ อ ดร.ธรณ์ ธ�ำรงนาวาสวัสดิ์ 1
issue 131 DECEMBER 2018
2 IS AM ARE www.fosef.org
ความเมตตาปรารถนาดี ต ่ อ กั น นี้ เ ป็ น ปั จ จั ย อย่ า งส� ำ คั ญ ที่ จ ะยั ง ความพร้ อ มเพรี ย งให้ เ กิ ด มี ขึ้ น ทั้ ง ในหมู ่ ค ณะและในชาติ บ ้ า นเมื อ งและถ้ า คนไทยเรายั ง มี คุ ณ ธรรมข้ อ นี้ ป ระจ� ำ อยู ่ ใ นจิ ต ใจ ก็ มี ค วามหวั ง ได้ ว ่ า บ้ า นเมื อ งไทยไม่ ว ่ า จะอยู ่ ใ นสถานการณ์ ใ ด ๆ ก็ จ ะอยู ่ ร อดปลอดภั ย และด� ำ รงมั่ น คงต่ อ ไปได้ ต ลอดรอดฝั ่ ง อย่ า งแน่ น อน
พระราชด� ำ รั ส พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ในการเสด็ จ ออกมหาสมาคม ในงานพระราชพิ ธี เ ฉลิ ม พระชนมพรรษา ณ พระที่ นั่ ง อนั น ตสมาคม วั น พุ ธ ที่ ๕ ธั น วาคม ๒๕๕๕
3 issue 131 DECEMBER 2018
Editorial สวัสดีเดือนธันวาคม เดือนสุดท้ายของปี เดือนนี้อากาศไม่เย็นเหมือนปีที่ผ่านมา หาความเย็นไม่พบเลย มองดู สภาพโดยรวมของสังคม ดูแล้วมีความรู้สึกของความเหงา หรือ บก.อาจจะคิดเองคนเดียว อารมณ์เหมือน ก�ำลังรอใคร คนหนึ่ง รอฟังเสียงของใครคนหนึ่ง คนที่เคยฟังเสียงมาแล้ว ๕๕ ปี มานั่งเขียนบท บก.อยู่ริมรั้วธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ มองไปทุกทิศ เห็นผู้คนเดินไปมา และยิ่งเวลาดึกผู้คนก็เพิ่ม มากขึ้น จนข้ามเวลา สู่วันใหม่ วันที่ ๕ ธันวา เพื่อนๆ ที่ไม่เคยรู้จักกันมาก่อน มานั่งอยู่ ข้างๆ เพิ่มขึ้น มากขึ้น มองไปยัง ฝั่ง โรงพยาบาลศิริราช เห็นแสงเทียนคลุมโดยรอบพื้นที่ จนเช้า ผู้คนค่อยทะยอยหายไป นั่งกันข้ามคืน ข้ามวัน เพื่อรอ คนๆ นั้น ไม่เสียใจที่ไม่ได้เห็น ไม่ได้ยินเสียง แต่ในความตั้งใจ ปีหน้า ที่เดิมแห่งนี้ จะมีเรา คนหนึ่ง ที่มานั่ง รอคนๆ นั้น และจะรอแบบนี้ จนกว่าชีวิตจะหาไม่.
4 IS AM ARE www.fosef.org
Contributors
มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง
พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี ประธานโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ นายธนพร เทียนชัยกุล นายณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ นายภูวนาถ เผ่าจินดา นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา นางสาวเอื้อมพร นาวี ผศ.ดร.ปรีชาพร สุวัฒโนดม นายเอกรัตน์ คงรอด นายอภีม คู่พิทักษ์ นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ นายธงชัย วรไพจิตร นายภูริวิทย์ จงนิรักษ์ นางศิรินทร์ เผ่าจินดา
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก กรรมการ กรรมการ กรรมการ ผู้จัดการมูลนิธิ
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ดร.เชิดศักดิ์ ดร.กัมปนาท ดร.นฤมล ดร.อ�ำนาจ ดร.ชลพร ดร.กาญจนา ดร.ปิยฉัตร ดร.คุณานันท์
ศุภโสภณ บริบูรณ์ พระใหญ่ วัดจินดา กองค�ำ สุทธิเนียม กลิ่นสุวรรณ ทยายุทธ
Let’s
Start and Enjoy!
ส�ำนักงาน :
โทรศัพท์ : โทรสาร : เว็ปไซต์ :
5 issue 131 DECEMBER 2018
นิตยสารครอบครัวพอเพียง 663 ซอยพหลโยธิน 35 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 0 2939 5995 0 2939 5996 www.fosef.org
Hot Topic
8
14
เกร็ดการทรงงาน
30
บริหารแบบบู รณาการ การทรงงานเพื่อ ประโยชน์สุขที่ย่ังยืน เด็กหลังห้อง ชื่ อ ดร.ธรณ์ ธ�ำรงนาวาสวัสดิ์
Don’t miss
36
76 66 6 IS AM ARE www.fosef.org
44 48
Table Of Contents
ดร.ธรณ์ ธ�ำรงนาวาสวัสดิ์
7 issue 131 DECEMBER 2018
เกร็ดการทรงงาน 8 ฝนหลวง น�้ำพระราชหฤทัย cover story เด็กหลังห้อง 14 ชื่อ ดร.ธรณ์ ธ�ำรงนาวาสวัสดิ์ 22 ค�ำพ่อสอน 26 Cartoon สัจธรรมตามแนวพระราชด�ำริ บริหารแบบบูรณาการ 30 การทรงงานเพื่อประโยชน์สุขที่ยั่งยืน ความเป็นคน ความเป็นครู “เมตตาศิษย์ด้วยความจริงใจ” มากกว่า “ค่าตอบแทน” 36 ญาณกวี แก้ววงศ์ อาชีพทางเลือก 44 การผลิตเครื่องดื่ม สมุนไพรผง บทความพิเศษ คนกวาดถนน 48 คนเล็กในเมืองใหญ่ 58 ชัยพัฒนา Let’s Talk เดินตามศาสตร์พระราชา ท�ำไร่สตรอว์เบอร์รีที่สุพรรณบุรี 66 พิมพ์วรัตน์ เรืองประชา บทความพิเศษ 72 คลองปลาร้องไห้ 70 เส้นทางตามรอยพระบาท โดย ททท. โครงการพัฒนาพื้นที่หนองใหญ่ ตามพระราชด�ำริ 76 ภาคใต้ จังหวัดชุมพร 80 Round About
ฝนหลวง น�้ำพระราชหฤทัย “ขณะนั้ น ข้ า พเจ้ า ได้ แ หงนดู ท ้ อ งฟ้ า และพบว่ า มี เ มฆจ� ำ นวนมาก แต่ เ มฆเหล่ า นั้ น พั ด ผ่ า นพื้ น ที่ แ ห้ ง แล้ ง ไป วิ ธี แ ก้ ไ ขอยู ่ ที่ ว ่ า จะท� ำ อย่ า งไร ที่ จ ะให้ เ มฆเหล่ า นั้ น ตกลงมาเป็ น ฝนในท้ อ งถิ่ น นั้ น ความคิ ด นั้ น เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของโครงการท� ำ ฝนเที ย ม...”
8 IS AM ARE www.fosef.org
เกร็ ด การทรงงาน นี่ คื อ ความตอนหนึ่ ง ในพระราชบั น ทึ ก ภาษาอั ง กฤษ “THE RAINMAKING STORY”ของพระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัวเรื่องราวของฝนหลวงเริ่มต้นขึ้นในปี ๒๔๙๘ ซึ่งเป็นปี ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ไปโดย รถไฟและรถยนต์พระที่นั่งเพื่อไปเยี่ยมเยียนราษฎรในพื้นที่ ๑๕ จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ท�ำให้ได้ทรงรับทราบถึงความ เดือดร้อนทุกข์ยากของราษฎรที่เกิดจากปัญหาขาดแคลนน�้ำ ทั้งท�ำการเกษตรและอุปโภคบริโภค
ในช่วงที่ขบวนเสด็จผ่านทางแยกกุฉินารายณ์-สหัสขันธ์ ที่ปัจจุบันอยู่ในท้องที่อ�ำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์นั้น ได้หยุด ทรงเยี่ยมราษฎรและทรงมีพระราชปฏิสันถารกับราษฎรที่มา เข้าเฝ้าฯ เกี่ยวกับผลผลิตข้าวจึงได้ทรงทราบว่า ผลผลิตข้าว ของราษฎรในท้องที่นั้นแทนที่จะเสียหายจากความแห้งแล้ง แต่ กลับเสียหายเพราะน�้ำท่วมมากกว่า หรือจะพูดอีกอย่างหนึ่งก็ คือ ความยากจนในหมู่ประชาชนในแถบภาคตะวันออกเฉียง เหนือนั้น มีสาเหตุมาจากทั้งปัญหาน�้ำท่วมและน�้ำแล้งจุดนั้นเอง ได้เป็นต้นก�ำเนิดของแนวพระราชด�ำริเกี่ยวกับเรื่องน�้ำท่วมและ น�้ำแล้ง ซึ่งต่อมาก็ได้กลายเป็นโครงการพัฒนาอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริส�ำคัญที่รู้จักกันดีในปัจจุบัน ๒ เรื่อง นั่นคือ เรื่อง ฝายต้นน�้ำล�ำธาร (Check dam) และฝนหลวง ซึ่งในพระราช บันทึกภาษาอังกฤษ “THE RAINMAKING STORY” มีความ อีกตอนหนึ่งว่า “...จากขณะนั้นเป็นต้นมา ข้าพเจ้าครุ่นคิดถึงปัญหาที่ดู เหมือนว่าแก้ไม่ตกและขัดแย้งกัน เมื่อมีน�้ำ, น�้ำก็มากไป, ท�ำให้ น�้ำท่วมพื้นที่ เมื่อน�้ำลดก็แห้งแล้ง เมื่อฝนตก, น�้ำท่วมบ่าลงมา จากภูเขาเพราะไม่มีสิ่งใดหยุดเอาไว้ วิธีแก้คือ ต้องสร้างเขื่อน เล็กๆ (Check dams) จ�ำนวนมาก ตามล�ำธารที่ไหลลงมาจาก ภูเขาต่าง ๆ จะช่วยให้กระแสน�้ำค่อยไหลอย่างสม�่ำเสมอ ถ้าเป็น ไปได้ควรสร้างเขื่อนและอ่างเก็บน�้ำเล็กๆ สิ่งนี้จะแก้ไขปัญหา
แห้งแล้งได้ในฤดูฝนน�้ำที่ถูกเก็บไว้ในอ่างเก็บน�้ำและจัดสรรน�้ำ ให้ในฤดูแล้ง...” ความคิดของท่านถูกคนคัดค้าน อย่างไม่เกรงพระทัย บอกว่าเป็น ไปไม่ได้หรอก เพ้อฝัน เป็นเรื่อง โคมลอยมากกว่า ท่านไม่โกรธนะ อย่างไรก็ตามหลังจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชด�ำเนินกลับแล้ว ได้มีพระราชด�ำริเกี่ยวกับเรื่อง ฝนเทียม แก่ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล วิศวกรผู้ประดิษฐ์ควาย เหล็ก ที่มีชื่อเสียง เพื่อศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมและทดลองการ ท�ำฝนเทียมในประเทศไทย โดยต่อยอดจากองค์ความรู้ในต่าง ประเทศที่ได้มีการศึกษามาก่อนหน้านี้แล้ว จนกระทั่งได้มีการ ทดลองภาคสนามเป็นครั้งแรก บนท้องฟ้าเหนือพื้นที่วนอุทยาน แห่งชาติเขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา เมื่อวันที่ ๑ - ๒ กรกฎาคม ๒๕๑๒ หรือเกือบ ๑๔ ปี นับแต่วันที่ในหลวงได้ทอดพระเนตร ก้อนเมฆบนท้องฟ้าเหนือจังหวัดกาฬสินธุ์ดังที่กล่าว ต่อมาในปี ๒๕๑๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ย้าย ฐานการปฏิบัติการฝนเทียมไปที่สนามบินบ่อฝ้ายอ�ำเภอหัวหิน 9
issue 131 DECEMBER 2018
จั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ์ ซึ่ ง มี ส ภาพภู มิ ป ระเทศและสภาพ แวดล้อมเหมาะสมส�ำหรับการทดลองและปฏิบัติงานมากกว่า และที่นี่ก็ได้พัฒนากลายเป็นศูนย์ปฏิบัติการหลักด้านฝนเทียม ของประเทศในปัจจุบัน การทดสอบท�ำฝนเทียมในช่วงแรกๆ มีอุปสรรคหลาย ประการ แม้กระทั่งแนวพระราชด�ำริในเรื่องนี้ก็ยังมีบางคนไม่ เห็นด้วย “...ความคิดของท่านถูกคนคัดค้านอย่างไม่เกรงพระทัย บอกว่าเป็นไปไม่ได้หรอก เพ้อฝัน เป็นเรื่องโคมลอยมากกว่า ท่านไม่โกรธนะ ยิ่งเป็นแรงบันดาลใจให้ท่านพิสูจน์ ท่านทรง เชื่อมั่นว่าเมฆที่ลอยอยู่บนท้องฟ้า ถ้าเผื่อมีกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์มาช่วย จะสามารถกระตุ้นบรรยากาศท�ำให้ก้อน เมฆเหล่านี้กลายเป็นฝนได้ ท่านทรงเชื่อมั่นอย่างนั้น...” คุณเมธา รัชตะปีติ อดีตผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานปฏิบัติ การฝนหลวง หนึ่งในทีมงานผู้ท�ำงานช่วยเหลือ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ ในปฏิบัติการฝนหลวงยุคบุกเบิก ได้เล่า ถึงบรรยากาศการท�ำงานสนองพระราชด�ำริเรื่องฝนเทียมไว้ใน นิตยสาร “ผาสุก” ปี ๒๕๕๑ มีความต่อมาว่า “...ท่านทรงค้นคว้าวิจัยมาตลอด ท่านตั้งสมมติฐานเป็น บวกไม่มีลบ เมื่อทรงศึกษาละเอียดแล้ว ในที่สุดก็มีความพร้อม ในปี ๒๕๑๒ ท่านมีรับสั่งกับหม่อมเทพฤทธิ์ ซึ่งเป็นคนเดียวที่ มีความเห็นคล้อยกับในหลวงว่าเป็นไปได้ ให้ไปเตรียมการให้ เกิดความเป็นไปได้... ปี ๒๕๑๐ - ๒๕๑๑ หม่อม เทพฤทธิ์ท่าน
ก็มาเล่าว่าในหลวงจะทดลองท�ำฝน ท่านไม่มีบุคลากรเลย มี แต่หม่อมเทพฤทธิ์คนเดียว ผมเป็นคนแรกที่สมัครเข้า join กับ โครงการนี้ตั้งแต่เริ่มการทดลองครั้งแรก...” และก็เป็น ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ นี้เอง ที่ต้องหูหนวกเพราะ น�้ ำ แข็ ง แห้ ง ปลิ ว เข้ า หู ในขณะทุ ่ ม เทให้ กั บ การศึ ก ษาทดลอง และปฏิบัติการท�ำฝนเทียมแม้ว่าจะอยู่ในช่วงการทดลอง แต่ ข่ า วคราวเกี่ ย วกั บ ฝนเที ย มก็ เ ป็ น ที่ ส นใจของประชาชนในวง กว้าง ในปี ๒๕๑๔ มีเกษตรกรจากจังหวัดพิจิตรกับนครสวรรค์ ทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาขอพระราชทานฝนหลวงเพื่อช่วยเหลือนา ข้าวที่ก�ำลังจะแห้งตายเพราะฝนทิ้งช่วง ท�ำให้เกิดภาวะแห้งแล้ง เป็นวงกว้างในภาคกลางและภาคอื่นๆ ซึ่งคุณเมธาเล่าเกี่ยวกับ เหตุการณ์ช่วงนั้นว่า 10
IS AM ARE www.fosef.org
ติดภารกิจท�ำฝนเทียมที่พิษณุโลก อีกทั้งยังไม่มีนักวิชาการที่ เชี่ยวชาญเพียงพอจะเป็นหัวหน้าคณะปฏิบัติการเพิ่มเติมหน่วย ที่ ๒ ได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้ทรงรับบัญชาการท�ำ ฝนเทียมผ่านหน่วยที่ ๒ ด้วยพระองค์เอง โดยทรงบัญชาการจาก พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน ผ่านข่ายวิทยุต�ำรวจ “...ตอนนั้นผมเป็นหัวหน้านักวิชาการ ไปคอยสนองพระ ราชกระแสอยู่ที่สนามบินจันทบุรี ต้องคอยรับข่าวจากท่าน นอน ไม่เป็นสุข และต้องเอาวิทยุแนบไว้ที่หู เพราะท่านพระราชทาน แผนส�ำหรับการทดลองปฏิบัติการหวังผล ตี ๑ ตี ๒ ทุกวัน ท่านทรงวิเคราะห์รายงาน ทรงตรวจพยากรณ์อากาศของกรม อุตุฯ แล้วก็ทรงวางแผน” คุณเมธาเล่าถึงการปฏิบัติงานสนอง พระราชด�ำริในคราวนั้น
“...ในหลวงท่านก็ให้เราแนะน�ำชาวบ้านว่าอยู่ขั้นทดลอง ชาวบ้านฉลาด บอกถึงค้นคว้าทดลองก็ขอให้มาทดลองในพื้นที่ ถ้าเผื่อฝนตกลงมาเขาจะได้รอดตาย ชาวนาเขา Hope-less น่ะ ในที่สุดในหลวงก็โปรดเกล้าฯ ให้ไปท�ำการค้นคว้าทดลอง ที่สนามบินนครสวรรค์ มันได้ผล เกิดฝนตกลงนาข้าว ท�ำอย่าง นี้ราว ๆ ๓ วัน เริ่มเห็นต้นข้าวยอดโผล่ขึ้นมาเป็นสีเขียวแซม กับต้นน�้ำตาล พอ ๗ วัน เป็นสีเขียวทั่วท้องทุ่ง เป็นพรมสีเขียว ขึ้นมาเลย...” จากผลส�ำเร็จดังกล่าว ท�ำให้ในปีเดียวกันนี้มีฎีกาของ ราษฎรขอพระราชทานฝนเทียมในพื้นที่ภาคกลาง ภาคเหนือ ตอนล่าง และภาคใต้ ตามมาหลายจังหวัด ท�ำให้มีการปฏิบัติการ ฝนเทียมในพื้นที่เหล่านี้ขึ้น ซึ่งปรากฏว่าท�ำให้พื้นที่การเกษตร ของราษฎรได้รับน�้ำเพียงพอและพืชผลรอดพ้นจากความเสีย หายรวม ๑๘,๒๑๕,๐๐๐ ไร่ เมื่อเทียบกับค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติ งาน ๘๕๑,๖๓๓.๖๐ บาท เท่ากับว่าการท�ำฝนเทียมมีค่าใช้จ่าย เพียง ๔.๗ สตางค์ ต่อพื้นที่ ๑ ไร่ เท่านั้น พอมาถึงช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน ๒๕๑๕ เกิดภาวะ แห้ ง แล้ ง ทั่ ว ประเทศ กลุ ่ ม ราษฎรชาวสวนผลไม้ จ ากจั ง หวั ด จันทบุรี และระยอง ร่วมกันทูลเกล้าถวายฎีกาขอพระราชทาน ฝนเทียม เพื่อช่วยเหลือสวนผลไม้ที่ยืนต้นตายไปแล้วนับหมื่น ไร่ในขณะที่ผลไม้ก�ำลังอยู่ในช่วงออกดอกติดผล แต่เนื่องจาก หน่ ว ยปฏิ บั ติก ารฝนเทียมในขณะนั้น มีเพียง ๑ หน่ ว ย และ
...ท่ า นทรงค้ น คว้ า วิ จั ย มาตลอด ท่ า นตั้ ง สมมติ ฐ าน เป็ น บวกไม่ มี ล บ เมื่ อ ทรงศึ ก ษาละเอี ย ดแล้ ว ในที่ สุ ด ก็ มี ค วามพร้ อ ม ในปี ๒๕๑๒ ท่ า นมี รั บ สั่ ง กั บ หม่ อ ม เทพฤทธิ์ ซึ่ ง เป็ น คนเดี ย วที่ มี ค วามเห็ น คล้ อ ยกั บ ในหลวงว่ า เป็ น ไปได้ ให้ ไ ปเตรี ย มการให้ เ กิ ด ความ เป็ น ไปได้ . ..
11 issue 131 DECEMBER 2018
จากเหตุ ก ารณ์ ค วามส� ำ เร็ จ เมื่ อ วั น ที่ ๑๙ ตุ ล าคม ๒๕๑๕ จึ ง ท� ำ ให้ รั ฐ บาลประกาศให้ วั น ดั ง กล่ า วเป็ น “วั น เทคโนโลยี ไ ทย” และเทิ ด พระเกี ย รติ พ ระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ให้ ท รงเป็ น “พระบิ ด าแห่ ง เทคโนโลยี ไ ทย”เมื่ อ ปี ๒๕๔๓ เป็ น ต้ น มา
การท� ำ ฝนเที ย มในครั้ ง นั้ น ได้ ท� ำ ให้ ส วนผลไม้ ข อง ชาวสวนรอดพ้นจากความเสียหาย และทูลเกล้าฯ ถวายเงิน สมทบทุนในการจัดซื้อเครื่องบินและเป็นค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติ งาน ความส�ำเร็จของการท�ำฝนเทียม ท�ำให้ประเทศสิงคโปร์ สนใจและส่ ง เจ้ าหน้าที่ม าดูงานด้านนี้ในประเทศไทย เมื่ อ ปี ๒๕๑๕ แต่ในเวลานั้น ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ ติดภารกิจบัญชาการ ปฏิบัติการท�ำฝนเทียมในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง จึงได้กราบ บังคมทูลขอให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงบัญชาการ สาธิตด้วยพระองค์เอง เพราะนักวิทยาศาสตร์ของโครงการมี ความช�ำนาญไม่เพียงพอ ซึ่งปรากฏว่าการปฏิบัติการฝนหลวง ในคราวนั้น เมื่อวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๑๕ ได้ประสบความส�ำเร็จ เป็นที่ประทับใจของทุกคน เพราะสามารถบังคับให้ฝนตกลงสู่ เป้าหมายเหนืออ่างเก็บน�้ำแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งทรง ก�ำหนดให้เป็นศูนย์กลางเป้าหมายปฏิบัติการได้อย่างแม่นย�ำ ภายในเวลาเพียง ๕ ชั่วโมง หลังเริ่มลงมือปฏิบัติการ จากเหตุการณ์ความส�ำเร็จเมื่อวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๑๕ จึงท�ำให้รัฐบาลประกาศให้วันดังกล่าวเป็น “วันเทคโนโลยีไทย” และเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้ทรงเป็น “พระบิดาแห่งเทคโนโลยีไทย”เมื่อปี ๒๕๔๓ เป็นต้นมา กล่าวส�ำหรับที่มาของค�ำว่า “ฝนหลวง” นอกจากค�ำว่า “ฝนเทียม” ซึ่งจ�ำได้ง่ายแล้ว ประชาชนทั่วไปและสื่อมวลชนยัง ใช้ค�ำอื่นด้วย เช่น “ฝนในหลวง” “ฝนหลวงพระราชทาน” แต่ ค�ำว่า “ฝนหลวง” ดูจะเป็นค�ำที่นิยมใช้กันมากที่สุด ดังจะเห็น ได้จากในช่วงปี ๒๕๑๖-๒๕๑๗ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิบัติการฝนเทียมในลุ่มน�้ำแม่
กลองเพื่อช่วยเหลือราษฎรจากปัญหาน�้ำเน่าที่ปล่อยจากโรงงาน อุตสาหกรรมปรากฏว่าการท�ำฝนเทียมได้ช่วยเพิ่มน�้ำสะอาด ไล่น�้ำเสียลงทะเลและช่วยเหลือชาวไร่อ้อยในแถบนั้นได้เป็น อย่างดี นับเป็นข่าวที่ตื่นเต้นกันมาก หนังสือพิมพ์ได้พาดหัวข่าว โดยใช้ค�ำว่า “ฝนหลวง” ท�ำให้ค�ำดังกล่าวเป็นที่รู้จักและยอมรับ ในวงกว้างมากขึ้น ในเรื่องนี้ คุณเมธา อดีตผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานปฏิบัติ การฝนหลวง ได้ให้สัมภาษณ์ในนิตยสาร “ผาสุก” ฉบับเดียวกัน ว่า “...เราก็ขอพระบรมราชานุญาต เรียกว่า ‘ฝนหลวง’ท่าน รับสั่ง ‘จะดีเหรอ คนเขาจะว่าฉันอวดตัว เป็นการ Propaganda ตัวเองนะ ฝนหลวง ‘หลวง’ คนก็รู้ว่าหมายถึงอะไร หลวง คนก็นึกว่าเป็นในหลวง’ ตอนนั้นผมกราบบังคมทูลบอก เป็น ค�ำแพร่หลายนะประชาชนเขาเรียก ท่านรับสั่งว่า “แน่นะ” แน่พระพุทธเจ้าข้า เป็นค�ำที่เกิดประชามติ’ ท่านก็รับสั่ง “งั้น เหรอ งั้นก็เอา ให้เรียกฝนหลวง” ดังนั้น “ฝนหลวง” ที่เราคุ้นเคยกันในทุกวันนี้ จึงเป็นค�ำ ที่เกิดจากประชามติอย่างแท้จริง เมื่อรัฐบาลเห็นว่าค�ำดังกล่าวเป็นที่แพร่หลาย จึงมีมติ คณะรัฐมนตรีให้ใช้ค�ำว่า “ฝนหลวง” เป็นค�ำทางราชการ ใน 12
IS AM ARE www.fosef.org
ปี ๒๕๑๗ และเมื่อมีการจัดตั้งหน่วยงานขึ้นมาดูแลรับผิดชอบ โดยเฉพาะในปีต่อมาก็ใช้ชื่อว่า “ส�ำนักงานปฏิบัติการฝนหลวง” สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งปัจจุบันได้พัฒนามาเป็น “กรมฝนหลวงและการบินเกษตร” ในเวลาต่อมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการยื่นขอจดสิทธิบัตรเทคโนโลยีฝน หลวงในประเทศต่างๆ ภายใต้ชื่อ “Weather Modification by Royal Rainmaking Technology” โดยทรงมี นายอ� ำ พล เสนาณรงค์ องคมนตรี ซึ่ ง เป็ น ผู ้ แ ทน พระองค์ในการด�ำเนินการจดทะเบียนสิทธิบัตรฝนหลวง น�ำ คณะซึ่งประกอบด้วย คณะท�ำงานในโครงการด�ำเนินการจด ทะเบียนสิทธิบัตรถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และคณะ ท�ำงานจัดท�ำจดหมายเหตุสิทธิบัตรฝนหลวง เข้าเฝ้าฯ ณ วังไกล กังวลพระราชกระแสกับคณะผู้เข้าเฝ้าฯ ทูลเกล้าฯ ถวายสิทธิ บัตร ความว่า สิทธิบัตรนี้เป็นของคนไทย คนไทยเป็นคนท�ำคือ พระองค์เอง และการท�ำฝนนี้ได้กุศล ให้ตั้งใจท�ำเหมือนกับถวาย สังฆทานเพราะการท�ำฝนนี้ไม่ได้ท�ำให้คนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะ หรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งโดยเฉพาะ ปั จ จุ บั น กรมฝนหลวง สามารถออกไปปฏิ บั ติ ก าร ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ ช่วยพลิกฟื้นชีวิตความเป็นอยู่ของ ประชาชนในยามวิกฤติขาดแคลนน�้ำได้เป็นอย่างดี โดยมีหน่วย ปฏิ บั ติ ก ารฝนหลวงในทุ ก ภู มิ ภ าค เช่ น เชี ย งใหม่ ขอนแก่ น อุบลราชธานี นครราชสีมา สงขลา เป็นต้น
ฝน คือ น�้ำ, หลวง คือ “ในหลวง” ฝนหลวงจึงคือ น�้ำ พระราชหฤทัยของพระมหากษัตริย์ที่เกิดจากความรักความ ห่วงใยในราษฎรอย่างแท้จริง 13 issue 131 DECEMBER 2018
14 IS AM ARE www.fosef.org
cover story
เด็กหลังห้อง
ชื่ อ ดร.ธรณ์ ธ�ำรงนาวาสวัสดิ์
ดร.ธรณ์ ธ� ำ รงนาวาสวั ส ดิ์ เป็ น ที่ รู ้ จั ก ของคนไทยอยู ่ แ ล้ ว ในฐานะผู ้ ท รงความรู ้ ร ะดั บ “เอกอุ ” ด้ า นทะเล ไทย บทสั ม ภาษณ์ ชิ้ น นี้ เ ราจึ ง ขอน� ำ เสนอมุ ม มองความคิ ด ด้ า นอื่ น ของอาจารย์ ธ รณ์ ดู บ ้ า ง โดยเฉพาะมุ ม มองส่ ว นตั ว ที่ มี ต ่ อ ชี วิ ต และสั ง คมด้ ว ยความตรงไปตรงมา อะไรกั น ที่ ท� ำ ให้ ดร.ธรณ์ เป็ น ดร.ธรณ์ ในวั น นี้ ความคิ ด ต่ า งที่ มี ใ นตั ว ท่ า นอาจท� ำ ให้ ผู ้ อ ่ า นที่ ส นใจได้ รู ้ จั ก ดร.ธรณ์ ธ� ำ รงนาวาสวั ส ดิ์ ได้ ม ากขึ้ น ไม่ ม าก ก็ น ้ อ ย เพราะท่ า นมองตั ว เองว่ า เป็ น คนขี้ เ กี ย จเรี ย น แต่ ส อบติ ด 1 ใน 5 ของจุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ความเป็ น มาของท่ า นจะเป็ น อย่ า งไรเชิ ญ ท่ า นผู ้ อ ่ า นท� ำ ความเข้ า ใจเอาเองจากบทสั ม ภาษณ์ นี้ ค ่ ะ
15 issue 131 DECEMBER 2018
สไตล์ ก ารเลี้ ย งลู ก ของอาจารย์ เ ป็ น ยั ง ไงคะ ? ผมมีลูกชาย 2 คน คนโตเรียนจบระดับมัธยมปลายที่ สาธิตเกษตร พอเขาจบ ม.ปลาย ผมก็ส่งไปเรียนต่อที่นิวซีแลนด์ ส่วนคนเล็กก็เรียนอยู่ที่ สาธิตเกษตร ชั้น ม.5 วิธีการเลี้ยงลูกของ ผมก็คือ ผมเลี้ยงลูกให้ติดพ่อแม่ ไม่ให้มันหาเงินเป็น แบบนี้ก็ เพราะว่า ถ้าเกิดเขาเก่งแล้ว เขาไปอยู่เมืองนอก เกิดเราเจ็บไข้ หรือป่วย ใครจะมาดูแล พาเราไปโรงพยาบาล (หัวเราะ) คิ ด ยั ง ไงกั บ ค� ำ ว่ า เลื อ กเกิ ด ไม่ ไ ด้ ? ผมก็เลือกเกิดไม่ได้ ในขณะที่พ่อผมเป็นราชการ ปู่เป็น นายกรั ฐมนตรี มี คุณ ตาเป็ น ท่ า นพระยา ถวายงานพิ เ ศษให้ ในหลวงรัชกาลที่ 9 อย่าคิดว่าพิเศษนะครับ ผมก็ไม่ได้สบาย เพราะถ้าคุณเกิดมาในครอบครัวที่มีปู่ย่าตายาย เราอาจจะไม่รู้ ก็ได้ว่าเราอยากเป็นอะไร คือถ้าเรามองไปข้างหน้าอย่างคนปกติ ก็คงมีอะไรที่อยากท�ำ ผมเลยถึงบอกว่าคนเราเลือกเกิดไม่ได้ อย่าไปคิด คนรวยหลายคนก็อาจจะไม่ได้อยากเกิดมารวย ไม่ ได้อยากสบาย คนที่เป็นลูกคนใหญ่คนโต เขาก็อาจไม่ได้สบาย มีอะไรหลายอย่าง อันนี้มันก็แล้วแต่มุมมองของแต่ละคน
อาจารย์ เ ติ บ โตที่ บ ้ า นหลั ง นี้ รึ เ ปล่ า คะ ? อยู่ที่นี่เลย ในซอยเอกมัย อยู่ตั้งแต่เกิด ก็วิ่งเล่นอยู่แถว นี้ ตั้งแต่สมัยยังมีคลองจนตอนนี้ไม่มีแล้ว ผมไม่เคยย้ายบ้านเลย
คิ ด ว่ า เพราะเหตุ ใ ด ตนเองถึ ง สอบติ ด อั น ดั บ 1 ใน 5 ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ? ผมเป็นคนที่มองอะไร ต้องเห็นไปถึงทางข้างหน้าชัดเจน ตอนสมัยเรียนก็ยังเหมือนเดิม ผมจบปริญญาตรีด้วยเกรด 2.5 เรียน 5 ปีด้วย เราก็มีติดเพื่อนบ้าง พบปะกันบ้าง แต่ก็ไม่ได้ มากมายอะไร แต่ที่พิเศษคือ หนังสือ ผมสนใจอ่านหนังสือมาตั้ง แต่เด็กๆ เริ่มเขียนหนังสือมาตั้งแต่ตอน ม.2, ม.3 ตอนแรกผม อยากเป็นนักจิตวิทยา สงสัยว่าท�ำไมอ่านหนังสือเยอะแต่เรียน
อาจารย์ เ ริ่ ม เรี ย นที่ ไ หนคะ ? ตั้ ง แต่ ป ระถมถึ ง มั ธ ยม ก็ เ รี ย นที่ โ รงเรี ย นสาธิ ต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก็เรียนที่นี่มาโดยตลอด ผมเรียนรุ่น เดียวกับ บอย ถกลเกียรติ แล้วก็รัฐมนตรีชัชชาติ พอจบ ม.6 ก็มาเรียนต่อที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทั้งปริญญาตรีและโท ด้านวิทยาศาสตร์ มี พี่ น ้ อ งกี่ ค น ? มีน้องชายหนึ่งคน และน้องสาวหนึ่งคนครับ 3 คนพี่น้อง แต่ผมห่างกับน้องชาย 8 ปี น้องสาว 10 ปี อาจารย์ เ รี ย นด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แสดงว่ า เป็ น คน เรี ย นเก่ ง ? ไม่เลยครับ ผมนี่แทบเป็นเด็กหลังห้อง หรือไม่อยู่ใน ห้องเรียนเลย เหมือนเราเป็นคนขี้เกียจเรียนมากกว่า เพราะ เด็กหลังห้องบางคนเขาก็เป็นเด็กเรียนดีนะครับ แต่ผมนี่เกรด แย่มากเพราะตอนจบ ม.6 ได้เกรด 2.01 แต่ผมสอบติดจุฬาฯ ติดอันดับ 1-5 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ช่วงเรียนมัธยม ผมก็ไม่ค่อยท�ำกิจกรรม 16
IS AM ARE www.fosef.org
ได้เกรดเฉลี่ยน้อย เพราะหนังสือที่อ่านเป็นนิยาย ใจก็อยากจะ เป็นหนังเขียน แต่ผมก็ไม่รู้ว่าจะเรียกว่านักเขียนได้ไหม เพราะ ผมก็มหี นังสือทีเ่ ขียน 130 ปก เกีย่ วกับเรือ่ งทางทะเลและหนังสือ ท่องเที่ยว แล้วก็มีงานเขียนนิยายอยู่ 3 เล่ม คิ ด ยั ง ไงกั บ ค� ำ ถามที่ ว ่ า เรี ย นจบแล้ ว ไปท� ำ อะไร ? ถ้าเรารู้ว่าก�ำลังทรัพย์เราไม่เยอะ ก็อย่าหวังสูงเกินไป อย่างเขาหวังจะเรียนแพทย์เขาก็ต้องรู้ตัวอยู่แล้วว่าต้องใช้ก�ำลัง ทรัพย์เยอะ หรือมาเรียนที่คณะประมง ก็ได้ หลายคนก็สงสัยว่า จบไปท�ำงานอะไร อย่างลูกศิษย์ผมหลายคนก็ท�ำงานบริษัทเอก ชนใหญ่ๆ หรือเป็นอาจารย์ในคณะก็มี ถ้าเขามัวแต่คิดว่าเรียน แล้วไปท�ำอะไร ก็ช่างเขา แต่มันก็ท�ำให้ผมเป็น ดร.ธรณ์ ได้ทุก วันนี้ อย่างสมัยก่อนผมมองเหมือนเห็นภูเขาสองลูก เนินหนึ่งมี แกะเต็มเลย ก็เปรียบกับคนที่เรียนวิศวกรรม เรียนหมอ ในสมัย นั้นคนเรียนเยอะ แต่ผมกลับมองอีกเนินหนึ่งที่ไม่ค่อยมีแกะ ผม ก็เลือกที่จะเดินไปเนินนั้น คนเราจะเด่นได้ก็ต่อเมื่ออยู่ในที่ไม่ ต้องแข่งแย่งกับใคร ผมไม่เคยคิดเรื่องไปท�ำงานต่างประเทศ ผม รู้สึกชื่นชอบประเทศไทย ผมเรียนจบ ป.ตรี / โท ในประเทศไทย แต่ไปเรียนต่อ ป.เอก ที่ประเทศออสเตรเลีย ด้านวิทยาศาสตร์ คิ ด เห็ น อย่ า งไรกั บ การปิ ด อ่ า วมาหยา ? ทางทะเล เหมือนเดิม มันก็เหมือนกับการส่งสัญญาณไปให้ประชาชนได้รับรู้ อาจารย์ จ บวิ ท ยาศาสตร์ ที่ จุ ฬ าฯ แล้ ว ท� ำ ไมถึ ง มาเป็ น เราในฐานะนักพัฒนาปฏิรูป จุดส�ำคัญคือเราโดนทั่วโลกมองเรื่อง ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม เพราะประเทศไทยโดนเรื่องทิ้งขยะลง อาจารย์ ที่ ม.เกษตร ? ถ้าพูดตรงๆ ผมเบื่อ เพราะอยู่ที่จุฬาฯ มา 20 ปี ตั้งแต่ ทะเลเป็นอันดับ 6 ของโลก ท�ำให้ประเทศอื่นมองเราในแง่ที่ไม่ อยู่สาธิตจุฬาฯ เรียนต่อ ป.ตรี/โท อีก เราก็เลยเบื่อบรรยากาศ ดีนัก เขาก็ไม่ได้ต้องการเนื้อหามาอธิบาย แต่ต้องการเห็นความ จริง ภาพจริง ของจริง สิ่งที่เกิดขึ้นจริง เพราะฉะนั้นสิ่งที่เราจะ เบื่อรถติด ไม่ได้คิดอะไรมาก เลยย้ายมาที่ ม.เกษตร ท�ำให้เกิดได้ คือเราก็เลือกพื้นที่ที่เป็นที่รู้จัก โด่งดังระดับโลก ที่ จริงมันก็ไม่ได้มีแต่อ่าวมาหยา ก็มีอีกหลายที่ แต่พอเราประกาศ ไปต่างประเทศให้ความสนใจ เราจะท�ำให้เห็นความพัฒนาอย่าง ยั่งยืน ให้เห็นสิ่งแวดล้อมที่แท้จริง ไม่ใช่เราจะเอาแต่เงิน หรือ ต้องการให้นักท่องเที่ยวมา แต่จริงๆ ปัญหาก็มาจากนักท่อง เที่ยว จากผลส�ำรวจของกรมอุทยาน นักท่องเที่ยวไทย 50,000 คน นักท่องเที่ยวต่างชาติจ�ำนวน 1,400,000 คน อัตราส่วนของ คนไทยที่มาเที่ยวนี่แค่ 1 เปอร์เซ็นต์ ไม่ว่าจะเป็นแหล่งท่องเที่ยว หรืออุทยานอื่นก็เหมือนกัน อัตรานักท่องเที่ยวต่างชาติเยอะกว่า คนไทย 10 เท่า เพราะฉะนั้นนักท่องเที่ยวที่เป็นคนไทย ผมแทบ ไม่เป็นห่วงหรือกังวลอะไรเลย เพราะผลกระทบที่เกิดขึ้นจริงก็ มาจากนักท่องเที่ยวเก็บทรัพยากรทางทะเล พวก ปลิง ปะการัง ล้วนมาจากฝีมือของนักท่องเที่ยวต่างชาติเกือบหมด 17 issue 131 DECEMBER 2018
18 IS AM ARE www.fosef.org
ผมว่ า เด็ ก มั น เลื อ กเกิ ด ไม่ ไ ด้ แล้ ว ก็ ไ ม่ มี ม นุ ษ ย์ ค น ไหนเลื อ กเกิ ด ได้ มั น เป็ น เรื่ อ งที่ เ กิ ด จากธรรมชาติ ไ ม่ ต้ อ งไปน้ อ ยใจ อย่ า ไปคิ ด ว่ า จะต้ อ งพึ่ ง ใคร ปั ญ หา เกิ ด มาจากเราขาดความเชื่ อ มั่ น ในตั ว เอง เราต้ อ งหา ตั ว เองให้ เ จอ แล้ ว ก็ เ ชื่ อ มั่ น ในตั ว เอง คิ ด อะไรที่ มั น ง่ า ยๆ ไม่ ต ้ อ งไปยาก
คิ ด ยั ง ไงที่ ค นไทยทิ้ ง ความสวยงามในภู มิ ล� ำ เนาของ ตนเองมาท� ำ งานในกรุ ง เทพฯ ? อันนั้นก็ใช่ครับ แต่เราก็ต้องเข้าใจเทรนโลก เราเข้าใจ ผิด ในอนาคตประชากรของโลกจะขยายใหญ่ขึ้น ต่อให้ความ เจริญ หรืออินเตอร์เน็ตเข้าไปถึง ดูขนาดที่ญี่ปุ่นตามเมืองเขา เจริญขนาดไหนก็ยังเข้ามาท�ำงานในใจกลางเมืองอยู่ดี เหลือแต่ ผู้สูงอายุอยู่ ลูกหลานก็ทิ้งมาท�ำงานในเมืองหมด ผมว่ามนุษย์ใน ช่วงวัยหนุ่มสาว ต้องการความสะดวกสบายในชีวิต ต่อให้ต้อง เครียด หรือท�ำงานหนัก
ตัวเอง หรือหากย้อนกลับไปเราก็ไม่เคยมีนวัตกรรมทางด้านนั้น แต่สิ่งที่ประเทศไทยเราเก่งคือด้านอาหาร การต้อนรับ ความยิ้ม แย้ม วัฒนธรรม ธรรมชาติที่งดงาม การท่องเที่ยวของประเทศไทย ท�ำรายได้เข้าประเทศ อันดับ 3 ของโลก เพราะฉะนั้นท�ำไมเราจึงไม่มองในจุดดี ไป มองแต่ข้อด้อย ไปมองว่านั่นก็ไม่ดี ผมถามว่าย้อนกลับไปสมัย ก่อนเราก็ไม่ได้เก่งด้านวิทยาศาสตร์ มีเพียงแค่รัชกาลที่ 4 ที่เก่ง ด้านวิทยาศาสตร์ แต่ถามถึงชาวบ้านหรือคนอื่นเขาก็ไม่ได้รู้ด้วย เรื่องสุริยุปราคา ชาวบ้านก็ยังไม่รู้จักเลยสมัยนั้น เราก็ไม่เคย มีนวัตกรรมด้านนั้น แล้วก็มาวิตกกังวลกันเองว่าประเทศเราด้อย ด้านนั้นด้านนี้ จึงเกิดค�ำถามขึ้นมาว่าประเทศไทยเป็นอันดับ 2 ของการท่องเที่ยวระดับโลก ทั้งที่เรามองว่าประเทศเราด้อย ไม่
กั บ ปั ญ หาที่ ม ากั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งชาติ เ ยอะ แต่ ค น กลั บ มองว่ า ให้ เ น้ น ไปเรี ย นเรื่ อ งภาษา ไม่ ต ้ อ งเรี ย น แล้ ว มหาวิ ท ยาลั ย อาจารย์ คิ ด ยั ง ไง ? ผมก็คุยกับเด็กหลายคนว่าจะไปเรียนภาษาท�ำไม เรา ต้องเข้าใจว่าประเทศเรา และทุกประเทศในโลกนี้มีทั้งข้อดีและ ข้อเสีย เราจะท�ำ swot ของประเทศเราก็ได้ ผมพูดตามตรงเลย ผมสอนหนังสือมา 20 กว่าปี ไม่รู้นักเรียน นักศึกษากว่ากี่พันคน เด็กไทย เด็กสิงคโปร์ เด็กไต้หวัน ฝันไปเถอะไม่มีทาง เพราะ เราไม่ได้เป็นคนอย่างนั้น สัญชาติของทุกประเทศมีรูปแบบของ 19
issue 131 DECEMBER 2018
คิ ด ยั ง ไงกั บ ค� ำ ว่ า เด็ ก สมั ย นี้ พึ่ ง พาตนเองไม่ ไ ด้ ? ผมกลับมองว่าพึ่งพาตนเองไม่ได้ หรือไม่คิดจะท�ำ อย่าง เด็กต่างประเทศเขาก็ท�ำงาน part-time กันเกือบทุกคน ไม่ว่าจะ รวยแค่ไหน แต่กับเด็กไทยที่บอกพึ่งพาตนเองไม่ได้ ผมก็ไม่เห็น เด็กในวัยนั้น หรือใกล้เคียงมาท�ำงาน part-time กัน บางคนก็ มัวแต่เล่นเกม กลายเป็นพึ่งพาตนเองไม่ได้ สิ่งที่ผมสอนเด็กนิสิต ปริญญาตรีแต่แรกเลย คือเขาต้องคิดเป็น สอนง่ายๆ เลย ถาม เขาว่าฝันอยากเป็นอะไร จบมาเงินเดือนมั่นคง เงินเดือน 15,000 บาท ผมก็จะให้ลูกศิษย์ไปส�ำรวจป้ายประกาศคอนโด บริเวณ แถวใกล้เคียงมหาวิทยาลัย เพื่อให้เขามาค�ำนวณค่าใช้จ่าย เมื่อ เขาเรียนจบไปเงินเดือน 15,000 บาท ค่าคอนโดที่พักเขาต้องมี เงินเก็บเท่าไหร่ถึงจะพอใช้ ต้องท�ำงานทั้งชีวิตหรือเปล่าเพื่อซื้อ คอนโด มันใช่เป้าหมายในชีวิตของเราไหมที่เราตั้งใจเติบโตมา แล้วก็ท�ำงาน นั่นคือวิธีการสอนของเรา เราสอนให้เขามองโลก แห่งความเป็นจริง ไม่มีใครช่วยเราได้ นอกจากตัวเราเอง ให้เขา ได้มองรอบตัว มองดูโลกบ้าง ว่าโลกเราเป็นยังไงบ้าง ถ้ า เรารู ้ ว ่ า ก� ำ ลั ง ทรั พ ย์ เ ราไม่ เ ยอะ ก็ อ ย่ า หวั ง สู ง เกิ น ไป อย่ า งเขาหวั ง จะเรี ย นแพทย์ เ ขาก็ ต ้ อ งรู ้ ตั ว อยู ่ แ ล้ ว ว่ า ต้ อ งใช้ ก� ำ ลั ง ทรั พ ย์ เ ยอะ หรื อ มาเรี ย นที่ คณะประมง ก็ ไ ด้ หลายคนก็ ส งสั ย ว่ า จบไปท� ำ งาน อะไร ดี แต่กลับมีนักท่องเที่ยวมาเที่ยวมากที่สุดติดอันดับของเอเชีย ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศก็เห็นว่าการท่องเที่ยวเป็นสิ่ง เดียวที่รอด ท่องเที่ยวและอาหารก็ร่วมกันไปได้หมด เราก็ต้อง พยายามรักษาตรงนี้ไว้ให้ได้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง มีความรู้ มีคุณธรรม มีความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกันในตัว 5 ค�ำ 5 ข้อที่พ่อสอน อาจารย์ มี มุ ม มองต่ อ กระทรวงศึ ก ษาอย่ า งไร ? กระทรวงศึกษาธิการมันใหญ่ ผมมองว่าอะไรทุกอย่าง ในโลกที่ขยายขึ้น จะท�ำอะไรก็ยาก อย่างพวกกระทรวงใหม่ๆ กระทรวงแรงงาน กระทรวงพลังงาน มันมีผลงานที่ออกมาง่าย กว่า อย่างกระทรวงเกษตร กระทรวงทรัพยากร กรมอุทยาน ที่ มีพนักงานเจ้าหน้าที่มากกว่า กระทรวงแรงงาน หรือกระทรวง พลังงาน ผมก็เลยมองว่าเรื่องการปฏิรูปการศึกษามันเลยเป็น เรื่องยาก ในต่างประเทศก็เป็นแบบนั้นเช่นกัน ด้วยความที่โลก มันเปลี่ยน การปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงอะไรอยู่ตลอด 20 IS AM ARE www.fosef.org
อ.ธรณ์ ได้ เ จอนิ สิ ต ผู ้ ค นทั่ ว ไป เยอะมากมาย คิ ด เห็ น อย่ า งไรบ้ า งกั บ งานค่ า ย ? ผมว่างานค่ายดีนะ ตัวผมเองก็เป็นประธานค่าย ผมไปขอทุนในการท�ำค่ายตั้งแต่เรียนอยู่ปี 2 ผมก็ไปหาเด็ก โรงเรียน มาแตร์เดอีวิทยาลัย โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์ ท�ำค่ายเกี่ยวกับทะเล ว่าเขารู้จักอะไรเกี่ยวกับทะเลบ้าง เราสร้างค่ายนี้เพื่อ ปลูกฝังเขาไปถึงตอนโต เพราะค่ายสร้างคน คนสร้างค่าย ทุกวันนี้ก็ยังจัดค่ายอยู่ สุ ด ท้ า ยฝากเด็ ก และเยาวชนหน่ อ ย เกี่ ย วกั บ การศึ ก ษา กั บ การเลื อ กเกิ ด ไม่ ไ ด้ กั บ บริ บ ทของประเทศที่ ก� ำ ลั ง เปลี่ ย นไป ผมว่าเด็กมันเลือกเกิดไม่ได้ แล้วก็ไม่มีมนุษย์คนไหนเลือกเกิดได้ มันเป็นเรื่องที่เกิดจากธรรมชาติไม่ต้องไปน้อยใจ อย่าไป คิดว่าจะต้องพึ่งใคร ปัญหาเกิดมาจากเราขาดความเชื่อมั่นในตัวเอง เราต้องหาตัวเองให้เจอ แล้วก็เชื่อมั่นในตัวเอง คิดอะไรที่มัน ง่ายๆ ไม่ต้องไปยาก 21 issue 131 DECEMBER 2018
22 IS AM ARE www.fosef.org
ค� ำ พ่ อ สอน
23 issue 131 DECEMBER 2018
24 IS AM ARE www.fosef.org
ประโยชน์ จ ากน�้ ำ มั น เมล็ ด ชา • มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง และมีกรดไขมันอิ่มตัวต�่ำ • ช่วยลดระดับ LDL (คอเรสเตอรอลชนิดไม่ดี) และเพิ่ม ระดับ HDL (คอเรสเตอรอลชนิดดี) • ลดความเสี่ยงในการเกิดหลอดเลือดตีบตัน ความดัน เบาหวาน และโรคหัวใจ • ดีต่อผู้รักสุขภาพ ผู้สูงอายุ และผู้มีภาวะน�้ำหนักเกิน
ร่ า งกายของเราจ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้ ไขมั น เพื่ อ เป็ น แหล่ ง พลังงานของร่ายกาย ดังนั้นการเลือกบริโภคไขมันจึงเป็นการ เลือกแหล่งพลังงานของร่างกาย ไขมันมีทั้งไขมันชนิดดี และ ไขมันชนิดร้าย น�้ำมันพืชที่มีไขมันไม่อิ่มตัวแบบเดี่ยวสูง จัดเป็นน�้ำมัน ชนิด “ดีพิเศษ” น�้ำมันเหล่านี้ช่วยลดคอเลสเตอรอลชนิดร้าย (LDL) และเพิ่มคอเลสเตอรอลชนิดดี (HDL) ซึ่งช่วยท�ำความ สะอาด หรือเก็บขยะ (คราบไขมัน) จากผนังเส้นเลือด
25 issue 131 DECEMBER 2018
26 IS AM ARE www.fosef.org
27 issue 131 DECEMBER 2018
28 IS AM ARE www.fosef.org
29 issue 131 DECEMBER 2018
บริหารแบบบู รณาการ
การทรงงานเพื่อประโยชน์สุขที่ย่ังยืน 30 IS AM ARE www.fosef.org
สั จ ธรรมตามแนวพระราชด� ำ ริ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงมี สั จ ธรรมแห่ ง แนวพระราชด�ำริที่ปรากฏชัดเป็นรูปธรรมในการทรงงานทุกๆ เรื่ อ ง โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง “การทรงงานที่ มี ก ารบริ ห ารอย่ า ง บูรณาการ”เพื่อแก้ไขปัญหาและความเดือดร้อนให้แก่พสกนิกร ทรงมองภาพใหญ่ของการแก้ไขอย่างเป็น “องค์ รวม”เสมอ และหากย้ อนกลับ ไปดูโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชด� ำ ริ ตั้ ง แต่ เริ่ ม แรกจนกระทั่ ง ถึ ง ปั จ จุ บั น จะเห็ น ว่ า แนวทางการ พัฒนาเหล่านั้นเป็นไปตาม “ล�ำดับขั้นตอน”ตามความจ�ำเป็น และทรงเน้นการ“บริการรวมที่จุดเดียว” โดยทรงมีเป้าหมาย ส�ำคัญคือเพื่อ “ประโยชน์สุขแก่ประชาชน”และหัวใจอันส�ำคัญ ยิ่งของการพัฒนาในทุกพระราชกรณียกิจนั้นคือ พระองค์ได้ “ทรงวางรากฐานการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ให้แก่การด�ำรงชีวิต ของประชาชนและการพัฒนาประเทศไทยไว้แล้วอย่างรอบคอบ และครบถ้วน มุ ่ ง ผลสั ม ฤทธิ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมุ่งมั่นที่จะช่วยเหลือ ประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจึงทรงท�ำทุกวิถีทางเพื่อให้เกิด ผลสัมฤทธิ์ดังพระราชประสงค์ แนวพระราชด�ำริในการพัฒนา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีลักษณะพิเศษคือ ทรงมุ่ง ผลของความ “คุ้มค่า” มากกว่าความ “คุ้มทุน” ดังที่เคยมีพระ ราชกระแสว่า “ขาดทุนคือก�ำไร” การลงทุนที่ไม่คุ้มทุนแต่ให้ผล คุ้มค่าคือความอยู่ดี มีสุขของประชาชนถือเป็นก�ำไรที่จ�ำเป็นต้อง
ลงทุน แม้การลงทุนนั้นจะไม่คุ้มทุนและไม่กลับมาเป็นตัวเงิน อีก ทั้งยังมี ลักษณะ “ไม่ติดต�ำรา”คือเป็นการพัฒนาที่อนุ โลมและ รอมชอมกับสภาพแห่งธรรมชาติ และสภาพของสังคมจิตวิทยา แห่งชุมชน รวมทั้งไม่ผูกยึดติดอยู่กับวิชาการและเทคโนโลยีที่ไม่ เหมาะกับสภาพที่แท้จริงของคนไทย นอกจากนี้ โครงการต่างๆ ที่พระองค์มีพระราชด�ำริ และทรงศึกษาจนมีพระบรมราชวินิจฉัยออกมาในท้ายที่สุดแล้ว มักจะพบว่าเป็นเรื่องง่ายและธรรมดา จนไม่เคยมีผู้ใดคาดคิด มาก่อน ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีในหมู่นักพัฒนาและนักวิชาการว่า พระองค์โปรดที่จะท�ำสิ่งที่ยากให้กลายเป็นง่าย ท�ำสิ่งที่ สลับซับ ซ้อนให้เข้าใจง่ายดังมีพระราชกระแสอยู่เนืองๆ ถึงค�ำว่า“ท�ำให้ ง่าย” ซึ่งเป็นหลักส�ำคัญในการพัฒนาทุกโครงการของพระองค์ ทั้งในแนวความคิดและด้านเทคนิควิชาการจะต้องสมเหตุสม ผลท� ำ ได้ ร วดเร็ ว และสามารถแก้ ไขปั ญหา ก่ อ ประโยชน์ได้ จริง ตลอดจนมุ่งไปสู่วิถีแห่งการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยมีแนว พระราชด� ำ ริ ร วมทั้ ง ตั ว อย่ า งพระราชกรณี ย กิ จ และโครงการ ต่างๆ ดังนี้ 31
issue 131 DECEMBER 2018
แนวพระราชด�ำรัส
นอกจากนี้ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงสละ ความสุขส่วนพระองค์ในการมุ่งมั่นปฏิบัติพระราชกรณียกิจทั้ง ปวง ดังเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาชาวไทยและชาวโลก เพื่อขจัด ทุกข์ บ�ำรุงสุขแก่เหล่าพสกนิกร นับแต่ครองราชย์สมบัติจวบจน ปัจจุบันเป็นเวลากว่า ๖๗ ปีแล้ว แม้จะยังทรงพักพระวรกายใน โรงพยาบาลก็ยังทรงงานติดตามและทรงคอยให้ค�ำแนะน�ำการ ปฏิบัติงานพัฒนาด้านต่างๆ เสมอมามิได้ขาด การด�ำเนินการใดๆ แม้จะต้องเสียค่าใช้จ่ายมากหรือ ต้องขาดทุน หากเป็นการแก้ไขปัญหา และก่อให้เกิดประโยชน์ สุขแก่ประชาชน ก็เท่ากับพระองค์ได้ก�ำไรโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การด�ำเนินโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาให้ประชาชนและประเทศ ชาติ ซึ่งไม่อาจประเมินค่าได้ หากผลที่ได้นั้นคือความสุขของ ประชาชนดั ง ความหมายที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มี พระราชด�ำรัสในคราวพระราชทานแก่คณะบุคคลต่างๆ ที่เข้า เฝ้าฯ ถวายพระพรชัยมงคล ในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๔ ความตอนหนึ่งว่า “...ภาษาอังกฤษ “Our” หมายความว่า “ของเรา”. “ Ourloss…”, “loss” ก็การเสียหาย “การขาดทุน”. “Our loss is our…”, “Our” นี่ก็คือ “ของเรา”. “Our loss is our gain…”, “gain” ก็คือ “ก�ำไร” หรือ “ที่ได้” “ส่วนที่เป็น
ขาดทุ น คื อ ก� ำ ไร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงถือว่า “การให้” และ “การเสียสละ”เป็นการกระท�ำอันมีผลเป็นก�ำไร โดยทรงท�ำทุก อย่างที่จ�ำเป็นในช่วงเวลาที่เหมาะสม แม้จะต้องเสียค่าใช้จ่าย มากหรือต้องขาดทุน ทรงถือเป็นการลงทุนเพื่อความอยู่ดีมีสุข ของราษฎร ตามแนวพระราชด�ำริดังต่อไปนี้ “การให้” และ “การเสียสละ” เป็นการกระท�ำอันมีผล เป็นก�ำไรคือ ความอยู่ดีมีสุข ของราษฎร ดังเห็นได้จากการสละ ทั้งพระราชทรัพย์ พระวรกายและพระสติปัญญา และเวลาเกือบ ทั้งหมดของพระองค์ในการเสด็จพระราชด�ำเนินเพื่อทรงช่วย เหลือราษฎรตามถิ่นทุรกันดารทั่วประเทศ ในปีหนึ่งๆ รวมเวลา ประมาณ ๘ เดือน โดยทรงให้ความส�ำคัญกับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น จากการพัฒนาอันจะช่วยแก้ไขปัญหาและก่อให้เกิดประโยชน์สุข แก่ปวงประชาชนชาวไทย เช่น ในคราวเสด็จฯ เยือนประชาชน ในเขตหัวหิน ทรงเห็นความล�ำบากของประชาชนในหมู่บ้าน เขาเต่า ขาดแคลนน�้ำอุปโภคบริโภค อีกทั้งช่วงน�้ำทะเลขึ้นได้ ไหลเข้าท่วมพื้นที่เกษตร ท�ำให้ผลผลิตเสียหายพระองค์จึงทรง สละพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จ�ำนวน ๖๐,๐๐๐ บาท ให้ กรมชลประทานก่อสร้างอ่างเก็บน�้ำเขาเต่าซึ่งนับเป็นโครงการ ตามพระราชด�ำริแห่งแรก 32
IS AM ARE www.fosef.org
33 issue 131 DECEMBER 2018
รายรับ”. เป็นอันว่าพูดกับเขาว่า “Our loss is our gain”. “ขาดทุนของเราเป็นก�ำไรของเรา”. หรือ “เราขาดทุนเราก็ได้ ก�ำไร”. ...” และดังแนวพระราชด�ำริของพระองค์ ตามค�ำบอกเล่า ของ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ในหนังสือ “การทรงงานพัฒนา ประเทศ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” ความตอนหนึ่ง ว่า “ส�ำหรับพระองค์ จะเป็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้ค่าใช้จ่าย น้อยที่สุด ต�่ำที่สุด แต่หากเห็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์นั้น บางครั้งแพงแสนแพงก็ต้องท�ำ เพราะชีวิตของมนุษย์เราจะไป ตีราคาแบบวัสดุสิ่งของไม่ได้ ซึ่งพระองค์ตรัสว่า ...ขาดทุน คือ ก�ำไร Our loss is our gain...การเสียคือ การได้ ประเทศชาติ ก็จะก้าวหน้าและการที่คนอยู่ดีมีสุขนั้น เป็นการนับที่เป็นมูลค่า เงินไม่ได้...”
ถ้าดูให้ดีๆ จะเห็นว่าราษฎรอยู่ดีกินดีมีรายได้รัฐบาลก็เก็บภาษี ได้สะดวกไม่มีการหนีภาษีเพราะเมื่อมีรายได้ดีขึ้นเขาก็สามารถ เสียภาษีได้มากขึ้น...” การ “ขาดทุน” เพื่อการได้ “ก�ำไร” อันเป็นความอยู่ดีมี สุขของประชาชนนั้น ประมาณค่า ไม่ได้ โดยมีแนวพระราชด�ำริ ว่า การลงทุนเพื่อการใดแล้วช่วยก่อให้เกิดความอยู่ดีมีสุขแก่ ราษฎรนั้นไม่อาจประเมินมูลค่าได้ หรือหากจะประเมินมูลค่า แล้วย่อมกระท�ำได้ เช่น การขาดทุนเพื่อลดจ�ำนวนราษฎรที่ทุกข์ ยาก ย่อมส่งผลให้รัฐบาลสามารถลดภาระการสงเคราะห์หรือ การช่วยเหลือนั้นได้ อันเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติโดยส่วน รวม ดังพระราชด�ำรัสพระราชทานแก่คณะบุคคลต่างๆ ที่เข้า เฝ้าฯ ถวายพระพรชัยมงคล ในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๔ ความตอนหนึ่งว่า “...การที่คนอยู่ดีมีความสุขนั้นเป็นก�ำไรอีกอย่างหนึ่ง การ “ขาดทุ น ” เพื่ อ การได้ “ก� ำ ไร” อั น เป็ น ความ อยู ่ ดี มี สุ ข ของประชาชนนั้ น ประมาณค่ า ไม่ ไ ด้ โดย ซึ่งนับเป็นมูลค่าเงินไม่ได้ แต่ว่าถ้าจะคิดให้เป็นมูลค่าเงินจริงๆ มี แ นวพระราชด� ำ ริ ว ่ า การลงทุ น เพื่ อ การใดแล้ ว ก็คิดได้ เราต้องจ่ายในสิ่งที่ไม่น่าจะต้องจ่ายเช่นทางรัฐบาลโดย ช่ ว ยก่ อ ให้ เ กิ ด ความอยู ่ ดี มี สุ ข แก่ ร าษฎรนั้ น ไม่ อ าจ กระทรวงมหาดไทยโดยกรมประชาสงเคราะห์หรือกรมอื่นๆ ประเมิ น มู ล ค่ า ได้ หรื อ หากจะประเมิ น มู ล ค่ า แล้ ว ย่ อ ม จะต้องไปสงเคราะห์ราษฎรที่ยากจน ซึ่งในปีหนึ่งๆ ต้องใช้เงิน กระท� ำ ได้ เช่ น การขาดทุ น เพื่ อ ลดจ� ำ นวนราษฎรที่ เป็นจ�ำนวนหลายร้อยหลายพันล้านในการสงเคราะห์ชาวบ้าน ทุ ก ข์ ย าก ย่ อ มส่ ง ผลให้ รั ฐ บาลสามารถลดภาระการ ที่ยากจน โดยไม่ได้อะไรกลับคืนมา.เพราะว่าราษฎรที่ยากจนนี้ สงเคราะห์ ห รื อ การช่ ว ยเหลื อ นั้ น ได้ การลงทุ น เพื่ อ ประโยชน์ ข องประชาชนและส่ ว นรวม ทรงเห็นว่าการลงทุนบางอย่างแม้จะต้องใช้ทุนทรัพย์มหาศาล แต่ ห ากผลที่ ไ ด้ คื อ ความอยู ่ ดี มี สุ ข ของราษฎรอย่ า งยั่ ง ยื น นับเป็น ผลก�ำไรของประชาชน ดังพระราชด�ำรัสของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่คณะบุคคลต่างๆ ที่เข้า เฝ้าฯ ถวายพระพรชัยมงคลในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๔ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต ความตอนหนึ่งว่า “...ในการกระท� ำ ใดๆ ถ้ า เรา ยอมลงทุ น ลงแรงไปก็ เหมื อ นเสี ย เปล่ า แต่ ใ นที่ สุ ด เรากลั บ จะได้ รั บ ผลดี ทั้ ง ทางตรง ทางอ้อม เรื่องตรงนี้กับงานของรัฐบาลโดยแท้ถ้าหากว่าอยาก ให้ประชาชนอยู่ดีกินดี รัฐจะต้องลงทุนต้องสร้างโครงการซึ่ง ต้องใช้เงินจ�ำนวนเป็นร้อยเป็นพันเป็นหมื่นล้าน ถ้าท�ำไปก็เป็น “loss” เป็นการเสียเป็นการขาดทุนเป็นการจ่าย คือรัฐบาลต้อง ตั้งงบประมาณรายจ่ายซึ่งมาจากเงินของประชาชน แต่ว่าถ้า โครงการดีในไม่ช้าประชาชนจะได้ก�ำไร จ ะได้ ผ ล ราษฎรจะ อยู่ดีกินดีขึ้นจะได้ประโยชน์ไปส่วนรัฐบาลไม่ได้อะไร แต่ข้อนี้ 34 IS AM ARE www.fosef.org
เขาไม่มีก�ำลังที่จะตอบแทนอะไรได้เลย แม้จะท�ำงานก็ไม่ค่อย ได้เพราะความยากจนแต่ว่าถ้าเราสามารถที่จะท�ำให้เขาอยู่ดี กินดีขึ้นหน่อย เขาจะสามารถหารายได้มากขึ้นเราก็จะลดการ สงเคราะห์ลงได้...” การ “ลงทุน” ในช่วงเวลาที่เหมาะสม ย่อมส่งผลคุ้ม ค่ามากกว่าการที่จะปล่อยให้เสียโอกาสการพัฒนานั้นไป โดย เฉพาะอย่างยิ่งหากเป็นการลงทุนเพื่อให้มีผลผลิตเพิ่มมากขึ้น หรือช่วยให้เกิดประโยชน์สุขต่อส่วนรวมและประเทศ ถือเป็น สิ่งที่คุ้มค่ากับการลงทุน หากปล่อยไว้ให้เนิ่นนานอาจจะท�ำให้ เสียโอกาสการพัฒนาหรือการลงทุนตามหลักวิชาเศรษฐศาสตร์ ดังพระราชด�ำรัสในโอกาสคราวเดียวกัน ความตอนหนึ่งว่า “...ถ้าหากรีบท�ำโครงการ ๑๐ ล้านบาทนั้นก็ได้ก�ำไรแล้ว ในปีแรกชดเชยจ�ำนวน ๒ ล้านบาทที่ว่าแพงเกินไปนั้นได้แล้วแต่ ข้อส�ำคัญที่สุด ถ้าอยากท�ำโครงการให้ได้เป็นมูลค่า ๘ ล้านบาท นั้นจะต้องเสียเวลาสอบราคาเสียเวลาท�ำแผนให้รอบคอบจึงยัง ท�ำไม่ได้ในปีนี้ ปีนี้ชาวบ้านจึงยังไม่ได้รับผลดีจากโครงการครั้น ปีต่อไปปูนซีเมนต์ก็แพงขึ้นเศรษฐกิจก็เปลี่ยนแปลงไป ๘ ล้าน บาทไม่พอแล้ว...จนกระทั่งเอาจริงในปีที่สามอนุมัติ ๑๐ ล้าน บาทก็ท�ำได้แต่ผลดีที่ควรจะได้รับตั้งแต่ต้นจากโครงการนั้นก็
ไม่ได้รับ แล้วก็เป็นอันว่าต้องเสียเงิน ๑๐ ล้านบาทอยู่ดี แต่ ประชาชนต้องทนเดือดร้อนไปอีกสองสามปีถ้ายอม “ขาดทุน” คือยอมเสีย ๑๐ ล้านบาทตั้งแต่ต้นก็สามารถที่จะ “ได้ก�ำไร” คือ ประชาชนจะได้ผลดีตั้งแต่ปีแรกทางวิชาเศรษฐกิจแท้ๆ ก็เป็น อย่างนี้ได้เหมือนกันมติหรือคติพจน์ที่ว่า “ขาดทุนท�ำให้มีก�ำไร ได้ ” นั้นก็เป็นอันพิสูจน์ได้แล้ว...” 35
issue 131 DECEMBER 2018
36 IS AM ARE www.fosef.org
ความเป็ น คน ความเป็ น ครู
“เมตตาศิษย์ด้วยความจริงใจ” มากกว่า “ค่าตอบแทน”
ญาณกวี แก้ววงศ์
ญาณกวี แก้ ว วงศ์ ต� ำ แหน่ ง ครู คศ.2 โรงเรี ย นสตู ล วิ ท ยา จั ง หวั ด สตู ล ที่ ป รึ ก ษากิ จ กรรมศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพี ย งโรงเรี ย นสตู ล วิ ท ยา อายุ ร าชการ 24 ปี หนึ่ ง ในครู ที่ พ ยายามน้ อ มน� ำ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งสู ่ ก ารเรี ย นการสอน เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นได้ น� ำ ไปปรั บ ใช้ ใ นชี วิ ต ประสบการณ์ ที่ ผ ่ า นมาทั้ ง หมดพร้ อ ม ถ่ า ยทอดให้ แ ก่ ลู ก ศิ ษ ย์ แ ละเพื่ อ นร่ ว มอาชี พ ทุ ก ท่ า น
37 issue 131 DECEMBER 2018
ป ั ญ ห า แ ล ะ อุ ป ส ร ร ค ใ น ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น แ ล ะ แนวทางการแก้ ไ ขปั ญ หาในวั น นี้ เ ป็ น อย่ า งไร นักเรียนส่วนใหญ่ขาดทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ไม่สามารถเชื่อมโยงเนื้อหาสาระการเรียนรู้และการ ด�ำรงชีวิต วิธีการหนึ่งที่คาดว่าจะแก้ปัญหานี้ได้คือให้นักเรียน ฝึกคิดฝึกตั้งค�ำถามฝึกการใช้เหตุผลและฝึกค้นคว้าหาค�ำตอบ จากเรื่องที่เรียนโดยผ่านการท�ำกิจกรรมต่างๆ ที่ครูจัดให้ และ ในโอกาสต่างๆ ตามสถานการณ์ คิ ด ว่ า ระบบมี ส ่ ว นต่ อ คุ ณ ภาพของนั ก เรี ย นหรื อ ไม่ ระบบการศึ ก ษาหรื อ ระบบการขั บเคลื่ อ นองค์ ก รการ ศึกษาย่อมมีผลต่อคุณภาพของนักเรียนแน่นอนครับ เพราะ ระบบเป็นตัวก�ำหนดกิจกรรมและสถานการณ์การเรียนรู้ของ ผู้เรียน
ท� ำ ไมถึ ง เลื อ กอาชี พ ครู มีแรงบันดาลใจจากครูในอดีตที่สอนนักเรียนด้วยความ รักความเมตตา ให้มีความรู้ รักการท�ำงาน ให้นักเรียนช่วยเหลือ ตัวเองได้ มีชีวิตที่ดีขึ้น พูดง่ายๆ อาชีพครูคือการสร้างคนนั่นเอง ผมเป็นครูมา 24 ปีแล้ว สิ่งที่ท�ำให้ประกอบอาชีพครู มาถึงทุกวันนี้ได้เพราะมีความภาคภูมิใจที่ส่งนักเรียนแต่ละรุ่น ขึ้นฝั่งได้ด้วยความรักและผูกพันต่อศิษย์ที่อยากให้เขาเป็นคนดี ของสังคม และประกอบอาชีพสุจริตสามารถดูแลเลี้ยงตัวเองได้ สั ง คมภายนอกเปลี่ ย นไปเร็ ว มาก ครู มี ก ารปรั บ ตั ว อย่ า งไร ครูต้องเปลี่ยนบทบาทจากครูสอนแบบเดิมๆ ในห้อง สี่ เ หลี่ ย มแคบๆ มาเป็ น ผู ้ ใ ห้ ค วามสะดวกในการเรี ย นรู ้ จั ด กิจกรรมนอกห้องเรียนให้มากขึ้นด้วยการประสานแหล่งเรียนรู้ คอยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และศึกษาด้วยตนเองโดย ผ่านกิจกรรมต่างๆ ที่มีโอกาส การขั บ เคลื่ อ นของโรงเรี ย นหรื อ สิ่ ง ที่ ห น่ ว ยงาน ต้ อ งการให้ ค รู ท� ำ ในวั น นี้ มุ ่ ง เน้ น ไปที่ อ ะไร นอกจากให้ความรู้ในรายวิชาต่างๆ แล้ว ยังมุ่งเน้นให้ผู้ เรียนท�ำกิจกรรมน�ำไปสู่ความมีคุณธรรมเป็นคนดีมีจิตอาสา น�ำ ไปสู่ความสุขของตัวเองและสังคม สามารถดูแลช่วยเหลือตัวเอง และส่วนรวม อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้ 38 IS AM ARE www.fosef.org
39 issue 131 DECEMBER 2018
ครู มี เ ทคนิ ค การสอนเฉพาะตั ว อย่ า งไร ให้ ไ ด้ ผ ลตาม ต้ อ งการ สอนให้เรียนรู้จากสิ่งใกล้ตัวไปสู่สิ่งไกลตัว ให้นักเรียน เรียนรู้โดยผ่านการท�ำกิจกรรมด้วยตนเอง เช่นให้นักเรียนเรียน รู้ด้วยวิธีของโครงงาน มีการวางแผน ลงมือท�ำ เชื่อมโยง คิด วิเคราะห์ สังเคราะห์สรุปผลด้วยตนเอง หรือให้นักเรียนท�ำ กิจกรรมด้านคุณธรรม เช่น กิจกรรมครอบครัวพอเพียงที่มูลนิธิ ครอบครัวพอเพียงให้โอกาสสถานศึกษาเข้าร่วมเพื่อสร้างคน ดีให้สังคม เป็นต้น อีกอย่างคือ แบบอย่างบุคลิกความจริงใจ ของครูเป็นสิ่งส�ำคัญที่จะท�ำให้การเรียนรู้ของนักเรียนประสบ ความส�ำเร็จ
ตามวัย หรือสร้างสถานการณ์จ�ำลอง ศึกษาแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เริ่มจากสิ่งใกล้ตัวไปสู่สังคมส่วนรวมที่ต้องรับผิดชอบร่วมกัน ครู ม องว่ า แรงผลั ก ดั น ที่ จ ะสร้ า งการเปลี่ ย นแปลง หรื อ การพั ฒ นาศั ก ยภาพของครู ไ ทย ควรมี อ งค์ ประกอบอะไรเพิ่ ม เติ ม หรื อ ไม่ นอกจากส่งเสริมให้ครูมีความรู้ก้าวทันเทคโนโลยีตาม ยุค 4.0 แล้ว ตัวคุณธรรมก็ส�ำคัญยิ่งที่ครูควรจะท�ำให้เกิดขึ้นใน ตัวนักเรียน ครูจะต้องมีความรักความเมตตาศิษย์เป็นที่ตั้ง และ อบรมสั่งสอนให้นักเรียนรู้จักหน้าที่มีความกตัญญูคู่คุณธรรมใน อันที่จะน�ำพาตนเองและสังคมที่ดีได้
ปั จ จุ บั น เรื่ อ งปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งถู ก พู ด ถึ ง มาก ครู มี วิ ธี ท� ำ ให้ เ ด็ ก เข้ า ใจอย่ า งไร ในฐานะครู ผู ้ ส อนในรายวิ ช าต่ า งๆ สามารถน� ำ เรื่ อ ง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหรือ 5 ค�ำ 5 ข้อที่พ่อสอน มา บูรณาการลงในเนื้อหาได้ทุกรายวิชา โดยการเขียนแผนการ สอนบูรณาการ ศกพ.แล้วน�ำไปสอนนักเรียนได้ และให้นักเรียน ท�ำกิจกรรมต่างๆ ให้น่าเรียนรู้และสอดแทรกเรื่อง ศกพ. ลงไป 40
IS AM ARE www.fosef.org
ปั จ จุ บั น โลกของความรู ้ ก ว้ า งขวางมาก เด็ ก สามารถ ค้ น เองได้ เ กื อ บทุ ก อย่ า ง ฉะนั้ น ในห้ อ งเรี ย นควร เป็ น ที่ ถ ก แลกเปลี่ ย น วิ เ คราะห์ มากกว่ า เลคเชอร์ / ท่ อ งจ� ำ แล้ ว หรื อ ไม่ ครู คิ ด เห็ น เรื่ อ งนี้ อ ย่ า งไร ควรจะควบคู่กันไปเพราะเนื้อหาบางอย่างนักเรียนยัง ต้องมีการท่องจ�ำเพื่อนักเรียนสามารถน�ำไปใช้ได้ทันทีในการ ด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน เช่น สูตรคูณหรือสูตรต่างๆ ที่จ�ำเป็นต้อง ใช้ หากมีแต่การเรียนรู้และไม่น�ำมาปฏิบัติก็ไร้ประโยชน์ อย่าง เช่น ความกตัญญูรู้คุณต่อผู้มีพระคุณ
บทบาทของโรงเรียนก็เช่นกัน ควรให้ความส�ำคัญกับผู้เรียนและ ผู้สอนด้วยความเสมอภาค ส่งเสริมคนดีมากกว่าผลประโยชน์ เพื่อสังคมที่ดีแล้วทุกคนจะมีความสุขร่วมกัน
ในระยะเวลาที่ ยั ง ท� ำ หน้ า ที่ ค รู อ ยู ่ อยากเห็ น อะไรเกิ ด ขึ้ น กั บ การศึ ก ษาบ้ า ง ในตั ว นั ก เรี ย น ครู หรื อ บทบาท ของโรงเรี ย น อยากเห็นมากในปัจจุบัน คือ ตัวนักเรียนนอกจากจะ มีความรู้ดีและเก่งแล้ว นักเรียนต้องรู้จักหน้าที่ มีความกตัญญู รู้คุณ มีคุณธรรม มีจิตอาสา มีความเสียสละ เพื่อส่วนรวม ใน ส่วนของครู ครูต้องมีความรักความเมตตาศิษย์ด้วยความจริงใจ มากกว่าค�ำว่าค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนอย่างเดียว ส่วนตัวระบบ
ฝากถึ ง เยาวชนไทย ปัจจุบันประเทศไทยมีปัญหามากมาย ขอให้มีสติในการ เรียนรู้และการใช้ชีวิต ในการรับข้อมูลข่าวสาร ใช้สื่อเทคโนโลยี ให้เหมาะสม ที่ส�ำคัญจะท�ำอะไรไม่ว่าในเรื่องการเรียนรู้ ต้อง มีความตั้งใจ ต้องเป็นคนดีมีคุณธรรม ใช้ชีวิตตามแนวทางของ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ในการด�ำเนินชีวิตซึ่งทุกคนสามารถท�ำได้ แล้ ว จะพบความจริ ง และประสบความส� ำ เร็ จ อย่ า งแน่ น อน สุดท้ายสังคมก็จะดีมีสุข
ให้ ค� ำ แนะน� ำ ส� ำ หรั บ ผู ้ ส นใจจะเป็ น ครู หรื อ ครู รุ ่ น ใหม่ ที่ ก ้ า วขึ้ น มา ถ้าจะเป็นครูที่ดี อันดับแรกต้องมีความศรัทธาในอาชีพ ครู มีความรักความเมตตาศิษย์ด้วยความจริงใจ อย่ามองแต่ค่า ตอบแทนเป็นหลัก ที่ส�ำคัญต้องท�ำตัวเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ศิษย์
41 issue 131 DECEMBER 2018
42 IS AM ARE www.fosef.org
“จดหมายถึงลูกสาวของพ่อ” สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เทพธิดาในดวงใจไทยทั้งผอง Secret ฉบับที่ ๙๐ เหตุ ก ารณ์ น ่ า ประทั บ ใจ ซึ่ ง สะท้ อ นให้ เ ห็ น ความห่ ว งใยและความปรารถนาดี ข องพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ที่ มี ต ่ อ พระราชธิ ด าของพระองค์ ก็ คื อ เหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ ๖ ตุ ล าคม ปี พ .ศ.๒๕๔๗ ในวั น นั้ น พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มี พ ระราชหั ต ถเลขาถึ ง สมเด็ จ พระเทพฯ มี ใ จความว่ า นี่ คื อ ค� ำ สอนที่ ก ลั่ น ออกมาจากหั ว ใจของผู ้ เ ป็ น พ่ อ สู ่ ลูกได้อย่างลึกซึ้งยิ่ง และเป็นโชคดีที่สุดของคนไทย ที่ต่อมา สมเด็จพระเทพฯ พระราชทานพระราชานุญาตให้น�ำมาเผย แพร่ เพื่อเป็นการแบ่งปันข้อคิดดี ๆ แก่ประชาชนของพระองค์ ต่อไป โดยสมเด็จพระเทพฯ มีพระราชปรารถทิ้งท้ายจดหมาย นั้นเอาไว้ว่า ฉั น หวั ง ว่ า ค� ำ สอนพ่ อ ที่ ฉั น ได้ ป ระมวลมานี้ จ ะเกิ ด ประโยชน์แก่ท่านผู้อ่านที่ได้พบเห็น และลูกอันเป็นที่รักของ พ่อทุกคน ฉันรักพ่อฉันจัง สิรินธร
ลูกพ่อในพื้นแผ่นดินนี้ทุกสิ่งเป็นของคู่กันมาโดยตลอด มีความมืดและความสว่าง ความดีและความชั่วถ้าให้เลือกใน สิ่งที่ตนชอบแล้วทุกคนปรารถนานั้นจักส�ำเร็จลงได้จักต้องมีวิธี ที่จักด�ำเนินให้ไปถึงความสว่างหรือความดีนั้นทางที่จักต้องไป ให้ถึงความดีก็คือรักผู้อื่นเพราะความรักผู้อื่น สามารถแก้ปัญหา ได้ทุกปัญหาถ้าให้โลกมีแต่ความสุขและเกิดสันติภาพความรัก ผู้อื่นจักเกิดขึ้นได้ พ่อขอบอกลูกดังนี้... ๑. ขอให้ลูกมองผู้อื่นว่า เป็นเพื่อนเกิด เพื่อนแก่ เพื่อน เจ็บ เพื่อนตายด้วยกัน ทั้งหมดทั้งสิ้น ไม่ว่าอดีต...ปัจจุบัน... อนาคต ๒. มองโลกในแง่ ดี และจะให้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น ควรมองโลก จากความเป็นจริง อันจักเป็นทางแก้ปัญหาอย่างถูกต้อง และ เหมาะสม ๓. มีความสันโดษ คือ • มีความพอใจเป็นพื้นฐานของจิตใจ พอใจตามมีตามได้ คือได้อย่างไร ก็เอาอย่างนั้น ไม่ยึดติด ขอให้คิดว่ามีก็ดี ไม่มีก็ได้ พอใจตามก�ำลัง คือมีน้อยก็พอใจตามที่ได้น้อย • ไม่เป็นอึ่งอ่างพองลมจะเกิดความเดือดร้อนในภายหลัง • พอใจตามสมควร คื อ ท� ำ งานให้ มี ค วามพอใจ เหมาะสมแก่งาน • ให้ด�ำรงชีพให้เหมาะสมแก่ฐานะของตน ๔. มีความมั่นคงแห่งจิต คือ ให้มองเห็นโทษของความ เกียจคร้าน และมองเห็นคุณประโยชน์ของความเพียร และ เมื่อเกิดสิ่งที่ไม่พึงปรารถนาให้ภาวนาว่า...มีลาภ มียศ สุขทุกข์ ปรากฎ สรรเสริญ นินทา เสื่อมลาภ เสื่อมยศ เป็นกฎธรรมดา อย่ามัวโศกานึกว่า “ชั่งมัน” พ่อ ๖/๑๐/๒๕๔๗
ด้ ว ยแนวการสอนดั ง กล่ า ว จึ ง ไม่ น ่ า แปลกใจแต่ ประการใดที่ “ลูก” คนนี้จะมีพระจริยวัตรอันงดงาม และเป็น ที่ชื่นชมในหมู่พสกนิกรมาโดยตลอด เพราะไม่เพียงแต่เพียบ พร้อมด้วยคุณูปการและพระปรีชาสามารถ หากการประกอบ พระราชกรณียกิจทุกครั้ง ล้วนเป็นที่ประจักษ์แก่ใจประชาชนถึง การยึดมั่นไว้ซึ่งหลัก ๔ ประการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงสอนสั่งทั้งสิ้นและทั้งหมดนี้ก็สะท้อนอยู่ในทุกๆ ชิ้นงาน และทุกๆ บทบาทของเจ้าหญิงผู้เป็นดั่งเทพธิดาประจ�ำใจของ คนไทยทั้งมวล...สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี ขอทั้งสองพระองค์ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน ด้วยเกล้า ด้วยกระหม่อม ขอบคุณนิตยสาร Secret ฉบับที่ ๙๐
43 issue 131 DECEMBER 2018
44 IS AM ARE www.fosef.org
อาชี พ ทางเลื อ ก
การผลิตเครื่องดื่ม สมุนไพรผง
บทน�ำ
เครื่องดื่ม เป็นสิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับชีวิตประจ�ำวันของคน ไทยการดื่มเครื่องดื่มสมุนไพรจะได้ทั้งกลิ่น และรสตามธรรมชาติ ของสมุ น ไพรนั้ น ๆ นอกจากท� ำ ให้ ร ่ า งกายสดชื่ น แล้ ว ยั ง มี สรรพคุณทางยาอีกด้วย การน�ำเอาสมุนไพรมาท�ำเป็นเครื่องดื่ม ในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ ผงและชาสมุนไพร จะเน้นที่รสชาติและ คุณประโยชน์ในด้านเสริมสุขภาพ เมื่อรับประทานแล้วสามารถ ลดคลอเลสเตอรอลป้องกัน และรักษาโรคต่างๆ ได้โดยไม่มีผล ข้างเคียงนอกจากนั้น ยังเป็นการสนับสนุนใช้วัตถุดิบที่มีอยู่ใน ท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ชุมชนอีกทางหนึ่ง
ปั จจัยที่จ�ำเป็ นต้องใช้
1) ปรั บ ปรุ ง สถานที่ ผ ลิ ต • ค่าวัสดุปรับปรุงสถานที่ เช่น ปูน หินทราย กระเบื้อง ตาข่าย มุ้งลวด เป็นต้น ตามสภาพของสถานที่แต่ละแห่ง 2) อุ ป กรณ์ ก ารผลิ ต เครื่ อ งดื่ ม สมุ น ไพร ผง 1. เครื่องชั่งละเอียด 1 กก. 800 บาท 2. เครื่องชั่งหยาบ 15 กก. 1,000 บาท 3.เครื่องอบแห้ง 5 ถาด 45,000 บาท 4. เครื่องบด 7 ระดับ 3,000 บาท 5. เครื่องคั้น 5,000 บาท 6. หม้อตุ๋น 10,000 บาท 7. กะละมังสแตนเลส 3,500 บาท 8. หม้อสแตนเลส 5,000 บาท 9.ชุดเครื่องครัว 3,000 บาท 10.ตะแกรงเบอร์ 8, เบอร์ 24 800 บาท 11.เทอร์โมมิเตอร์ 200 บาท 12.ผ้ากรองอุตสาหกรรม 1,600 บาท 13. เครื่องผนึกถุง 5 มม. 3,000 บาท 14. เตาแก๊ส 4 หัวเตา 4,000 บาท 3) ค่ า บรรจุ ภั ณ ฑ์ 10,000 บาท • ถุงพลาสติกขนาดต่างๆ • สติ๊กเกอร์ปิดผลิตภัณฑ์ 45 issue 131 DECEMBER 2018
ขัน้ ตอนการด�ำเนินงาน
วางแผนจั ด หาวั ต ถุ ดิ บ • ก�ำหนดคุณภาพและปริมาณ • กลุ่มผลิตวัตถุดิบเอง • กระจายให้สมาชิกในชุมชนผลิต • จัดหาจากแหล่งอนภายในท้องถิ่น • จัดท�ำเครือข่ายวัตถุดิบกับชุมชนอื่น
ตลาด และผลตอบแทน
วางแผนการตลาด • ตลาดนัด / ตลาดในท้องถิ่น • สถานที่ท่องเที่ยว / งานเทศกาลต่างๆ • พ่อค้าคนกลาง • สถานที่ราชการ • ร้านค้าในปั๊มน�้ำมัน
ผลผลิ ต • มะตูมผง มูลค่าการลงทุน 380 บาท 10 กก. มูลค่า 1,000 บาท • กระเจี๊ยบผง มูลค่าการลงทุน 440 บาท 10 กก. มูลค่า 1,000 บาท • ค�ำฝอย มูลค่าการลงทุน 400 บาท 440 บาท 10 กก. 1,000 บาท • บัวบกผง มูลค่าการลงทุน 390 บาท 10 กก. มูลค่า 1,000 บาท • ส้มแขกผง มูลค่าการลงทุน 440 บาท 10 กก. มูลค่า 1,000 บาท
หมายเหตุ
ผลิ ต ต้ อ งจั ด หาบรรจุ ภั ณ ฑ์ • เหมาะสมกับลักษณะผลิตภัณฑ์ • เหมาะสมกับตลาด / ผู้บริโภค • ราคาพอสมควร • ซื้อหาได้สะดวก 46
IS AM ARE www.fosef.org
เผยผิ ว ใสไร้ ริ้ ว รอย ด้ ว ย สบู ่ ว ่ า นหางจระเข้ ภั ท รพั ฒ น์ คุ ณ ค่ า จากว่ า นหางจระเข้ ที่ ช ่ ว ยลดรอยแดงจากการอั ก เสบของผิ ว ที่ โ ดนแดด ลดเลื อ นริ้ ว รอย ฝ้ า กระ จุ ด ด่ า งด� ำ เพิ่ ม ความชุ ่ ม ชื่ น ให้ ผิ ว ไม่ แ ห้ ง กร้ า น เมื่ อ ใช้ เ ป็ น ประจ� ำ ผิ ว หน้ า กระจ่ า งใสขึ้ น อย่ า งเป็ น ธรรมชาติ สามารถหาซื้อได้ที่ร้านภัทรพัฒน์ทุกสาขาหรือสั่งซื้อออนไลน์ได้ทาง Facebook/Patpat9 ภัทรพัฒน์สินค้าจากมูลนิธิชัยพัฒนา และ www.patpat9.com 47 issue 131 DECEMBER 2018
48 IS AM ARE www.fosef.org
บทความพิ เ ศษ
คนกวาดถนน คนเล็กในเมืองใหญ่
เรื่องโดย ปกรฒ์ เชื้อแก้วจิญดา
ในแต่ ล ะวั น คนกวาดถนนจะต้ อ งดู แ ลบริ เ วณที่ ต นเองรั บ ผิ ด ชอบให้ ส ะอาดตามมาตรฐานที่ ก� ำ หนดไว้ กล่ า ว คื อ ต้ อ งดู ส ะอาด เรี ย บร้ อ ย และปลอดภั ย ซึ่ ง การจะพิ จ ารณาว่ า งานที่ ค นกวาดถนนท� ำ ในแต่ ล ะวั น นั้ น ได้ มาตรฐานหรื อ ไม่ จะเป็ น หน้ า ที่ ข องหั ว หน้ า ชุ ด ซึ่ ง หั ว หน้ า ชุ ด เองก็ คื อ คนงานกวาดถนนที่ ไ ด้ รั บ การพิ จ ารณา คั ด เลื อ กจากหั ว หน้ า ฝ่ า ยรั ก ษาความสะอาดและสวนสาธารณะให้ ม าก� ำ กั บ ดู แ ลการปฏิ บั ติ ง านของคนกวาด ถนนคนอื่ น ๆ โดยหั ว หน้ า ชุ ด มี ห น้ า ที่ น� ำ ใบลงเวลาไปให้ ค นกวาดถนนลงลายมื อ ชื่ อ ทั้ ง ตอนเริ่ ม ปฏิ บั ติ ง าน และเมื่ อ ปฏิ บั ติ ง านเสร็ จ “เราออกมาท� ำ งานตั้ ง แต่ ตี สี่ ค รึ่ ง ออกมาท� ำ งานเร็ ว มันก็ดี รถยังน้อย ท�ำงานคล่องตัวกว่า อากาศก็ยังไม่ร้อนมาก พอ 7 โมงหัวหน้าเขาก็เอาใบเซ็นชื่อมาให้เรา ถ้าเรายังกวาดไม่ เรียบร้อยเขาก็จะคอยบอกเราให้ไปกวาดตรงนี้เพิ่มอะไรอย่างนี้ พอหมดกะหัวหน้าเขาก็เอาใบให้เราเซ็นชื่อกลับอีกที เป็นอันว่า งานเราเสร็จ กลับบ้านไปนอนได้” (สัมภาษณ์ พี่จุ๋ม เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2559) ทั้ ง นี้ จ ากการสั ง เกตและสั ม ภาษณ์ ข องผู ้ ศึ ก ษา พบ ว่า การแบ่งให้คนงานกวาดถนนรับผิดชอบในพื้นที่ของตนนั้น ท�ำให้ในแต่ละวันคนกวาดถนนมีโอกาสจะได้พบปะพูดคุยกับ เพื่อนคนกวาดถนนน้อยมาก ซึ่งคนงานกวาดถนนได้สะท้อน ความรู้สึกว่า “เข้ า ใจว่ า เขาคงกลั ว ว่ า ถ้ า อยู ่ ด ้ ว ยกั น จะคุ ย กั น จนไม่ ท�ำงาน แต่เราก็อยากมีคนช่วยเหลือตอนเราท�ำงานบ้าง ไม่อยาก ท�ำงานคนเดียว” (สัมภาษณ์ พี่ไก่ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2559)
“เวลาท�ำงานเสร็จเราก็เดินไปหาเพื่อนที่อยู่จุดใกล้ๆ ถ้า เขายังไม่เสร็จเราก็ช่วยกวาด พอถึงเวลากินข้าวต่างคนต่างซื้อ กับข้าวมาคนละอย่างสองอย่างมาแบ่งกันกิน ได้ทั้งประหยัด ได้ ทั้งมิตรภาพ นั่งคุยกัน แซวกันบ้าง ด่ากันบ้าง มันสนุกดี ไม่เหงา เวลาพักนี้แหละคนกวาดถนนชอบที่สุด ไม่ใช่ว่าจะได้อู้งานนะ แต่มันเป็นเวลาที่เราจะได้ผ่อนคลาย ได้คุยกับเพื่อนๆ” (สัมภาษณ์ พี่ไก่ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2559)
อย่ า งไรก็ ต ามแม้ ว ่ า ในระหว่ า งการปฏิ บั ติ ง านนั้ น คน กวาดถนนจะไม่มีโอกาสได้พูดคุยกับเพื่อนร่วมงานเท่าไร แต่ เมื่อเป็นช่วงเวลาพักหรือรับประทานอาหาร คนกวาดถนนใน บริเวณต่างๆ มักจะรวมตัวกันเป็นกลุ่มย่อยประมาณ 3-5 คน ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าวเปรียบเสมือนช่วงเวลาแห่งความสุข การ ได้พูดคุยกับเพื่อนร่วมอาชีพไม่ว่าจะเป็นเรื่องงาน ครอบครัว ละคร หรือเรื่องทั่วไป ท�ำให้ช่วงเวลาดังกล่าวเป็นเสมือนงาน เลี้ยงประจ�ำวัน
แต่ใช่ว่าคนกวาดถนนจะมีหน้าที่เพียงแค่การกวาดถนน เท่านั้น แต่ยังมีภารกิจพิเศษที่พวกเขาต้องปฏิบัติในแทบทุก สัปดาห์ก็คือกิจกรรมบ�ำเพ็ญสาธารณะประโยชน์ ซึ่งจากการ สัมภาษณ์และการสังเกตของผู้ศึกษาพบว่า กิจกรรมบ�ำเพ็ญ สาธารณประโยชน์เป็นกิจกรรมที่คนกวาดถนนชื่นชอบและให้ ความส�ำคัญเป็นอย่างมาก เพราะไม่เพียงแต่ช่วงเวลาดังกล่าว 49
issue 131 DECEMBER 2018
จะท�ำให้คนกวาดถนนมีโอกาสได้ปฏิบัติภารกิจร่วมกับเพื่อน ร่วมอาชีพเท่านั้น แต่กิจกรรมดังกล่าวยังสร้างความรู้สึกภาค ภูมิใจให้กับคนกวาดถนนที่ได้ท�ำประโยชน์ให้กับสังคมอีกทาง หนึ่ง คนกวาดถนนท่านหนึ่งกล่าวว่า “ชอบนะเวลามีกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ เรารู้สึกว่า เราได้ท�ำประโยชน์ให้ส่วนรวม อย่างเวลาไปล้างห้องน�้ำวัด ไป ล้างห้องน�้ำโรงเรียน เรารู้สึกว่าเราได้บุญ เราท�ำเพื่อสังคม มัน ไม่เหมือนเวลาเรากวาดถนนนะ เพราะการกวาดถนนมันเป็น หน้าที่ของเรา แต่ถ้าเป็นงานนอกพวกนี้เรารู้สึกว่าเราไม่ได้ท�ำ เพราะเป็นหน้าที่ แต่เราท�ำด้วยใจ ท�ำแล้วก็สึกดี อีกอย่างเวลา ท�ำงานสาธารณประโยชน์ เราได้เจอเพื่อน เราได้ร่วมมือร่วมใจ กันท�ำงานกับคนกวาดด้วยกัน มันไม่เหมือนเวลาที่เรากวาดที่ ก็ตาม ในช่วงเวลาพักหรือรับประทานอาหารจะเป็นช่วงเวลาที่ ต่างคนก็ต่างกวาดไป” คนกวาดถนนได้รู้สึกถึงความผ่อนคลาย การได้อยู่ในบุคคลที่มี (สัมภาษณ์ พี่จุ๋ม เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2559) สถานภาพทางอาชีพคล้ายคลึงกันท�ำให้เกิดความรู้สึกที่ดีและ พร้อมที่จะปฏิบัติงานได้ต่อไป จากการสั ง เกตและสั ม ภาษณ์ ผู ้ ศึ ก ษาพบว่ า ส� ำ หรั บ อาชีพคนกวาดถนนแล้ว จัดเป็นอาชีพหนึ่ง ที่เป็นฟันเฟืองหลัก ภู มิ ห ลั ง ก่ อ นการเป็ น คนกวาดถนน ในการดูแลความสะอาดเรียบร้อยของกรุงเทพมหานคร ซึ่งเมื่อ “ป้าเตี้ย” หญิงร่างท้วมสูงวัย ได้บอกเล่าวิถีชีวิตในวัย พิจารณาในแง่ผลตอบแทนหรือสวัสดิการแล้ว อาชีพคนกวาด เด็กให้ผู้ศึกษาฟังว่า ป้าเตี้ยเกิดที่จังหวัดสุรินทร์ในครอบครัว ถนนดูเหมือนจะมีความมั่นคงพอสมควร ในขณะที่การปฏิบัติ ชาวนาที่ยากจน ป้าเตี้ยมีพี่น้องทั้งสิ้น 12 คน ซึ่งล้วนแต่มีอายุ งานนั้นก็เป็นไปตามมาตรฐานการปฏิบัติงานคือไม่เกิน 8 ชั่วโมง ที่ไล่เลี่ยกัน ป้าเตี้ยเล่าว่า สาเหตุที่พ่อแม่มีลูกเยอะเป็นเพราะ ต่อวัน แต่อย่างไรก็ตาม การที่คนกวาดถนนแต่ละคนปฏิบัติ ความเชื่อที่ว่า หากมีลูกเยอะก็จะสามารถช่วยแบ่งเบาภาระ งานในพื้นที่ที่ตนรับผิดชอบ ท�ำให้คนกวาดถนนเกิดความรู้สึก งานในภาคการเกษตรได้ อย่างไรก็ตาม ในอดีตนั้น ราคาสินค้า ว่าตนเองไม่ได้ปฏิบัติงานร่วมกับเพื่อนอาชีพเดียวกัน อย่างไร ทางการเกษตรโดยเฉพาะข้าวยังมีความผันผวน ไม่แน่นอน ผล 50 IS AM ARE www.fosef.org
ก�ำไรจากการลงทุนท�ำนาแต่ละครั้งจึงเป็นสิ่งที่ไม่สามารถคาด การณ์ได้ หากปีใดเพลี้ยลง ฝนแล้ง หรือน�้ำท่วม รายได้ของ ครอบครัวที่เฝ้ารอมาแรมปีก็จะพังทลายไป ส�ำหรับครอบครัว ป้าเตี้ยแล้ว ปัญหาในข้างต้นเป็นปัญหาที่ครอบครัวต้องเจออยู่ เสมอ เมื่อรายได้หลักจากการท�ำนาไม่เพียงพอ พ่อแม่ของป้า เตี้ยจึงเลือกวิธีการน�ำที่ดินไปจ�ำนองเพื่อน�ำเงินมาเป็นค่าใช้จ่าย เลี้ยงดูครอบครัว แต่วัฏจักรเดิมๆ ก็กลับมาวนเวียนใหม่ ปัญหาภัยธรรมชาติส่งผลให้ผลผลิตข้าวเสียหาย จนใน ที่สุดที่ดินของครอบครัวก็หลุดจ�ำนองไป เมื่อสิทธิในที่ดินหมดไป ครอบครัวป้าเตี้ยจึงเปลี่ยนสถานะจากเจ้าของที่ดินมาเป็นผู้เช่า ที่ดินจากนายทุนในหมู่บ้านแทน ในขณะที่โอกาสทางการศึกษา ซึ่งอาจเป็นสิ่งที่สามารถจะพลิกชีวิตให้ดีขึ้นได้นั้น ดูเหมือนเป็น สิ่งที่เป็นไปไม่ได้ในครอบครัวที่มีลูกมากเช่นนี้ ป้าเตี้ยเล่าเสริม ว่า ความจริงแล้วพี่น้องทุกคนต่างอยากเรียนหนังสือ เพราะ เชื่อว่าการศึกษาจะท�ำให้ชีวิตดีขึ้น แต่ด้วยฐานะที่ยากจนของ ครอบครัวจึงท�ำให้มีพี่น้องเพียง 3 คนเท่านั้นที่ได้รับโอกาสนี้ ซึ่ง ป้าเตี้ยเองก็เป็นหนึ่งในนั้น แต่อย่างไรก็ตาม ป้าเตี้ยก็ไม่สามารถ ที่จะเรียนได้สูงตามที่ปรารถนา ป้าเตี้ยต้องออกจากโรงเรียนเมื่อ “ลุงเหน่ง” ผู้ซึ่งเลือกเป็นคนกวาดถนนมากว่า 20 ปี ก็ จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ซึ่งเป็นระดับชั้นสูงสุดที่พ่อแม่พอจะส่ง ให้เรียนไหว เมื่อพ้นจากระบบการศึกษาแล้ว ชีวิตของป้าเตี้ยจึง มีภูมิหลังในวัยเด็กที่ไม่แตกต่างจากป้าเตี้ยนัก ลุงเหน่งเป็นคน ชัยภูมิที่เติบโตในครอบครัวขนาดใหญ่ที่มีพี่น้องถึง 8 คน วัยเด็ก กลายมาเป็นแรงงานในภาคการเกษตรอย่างสมบูรณ์ นั้นพ่อแม่ของลุงเหน่งเป็นชาวนาเหมือนเช่นครอบครัวของป้า เตี้ย แต่ต่างกันตรงที่ครอบครัวของลุงเหน่งนั้นไม่ได้มีที่นาเป็น ของตัวเองตั้งแต่แรก ครอบครัวของแกเช่าที่นาของผู้ใหญ่บ้าน โดยจ่ายค่าเช่าเป็นรายปีและแบ่งผลผลิตที่ได้กันคนละครึ่ง โดย ในส่วนของเมล็ดพันธุ์และปุ๋ยนั้นทางผู้ใหญ่บ้านจะเป็นผู้ดูแลใน ส่วนนี้ ครอบครัวของลุงเหน่งจึงเป็นเสมือนแรงงานให้ผู้ใหญ่ บ้านเสียมากกว่า เช่นเดียวกับป้าเตี้ย ลุงเหน่งมองว่าฐานะทาง เศรษฐกิจของครอบครัวในวัยเด็กนั้นจัดอยู่ในฐานะยากจน การ จะเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาในระดับสูงอย่างที่คาดหวังจึงเป็น สิ่งที่เป็นไปไม่ได้ “ตอนเด็กๆ ลุงตั้งใจจะเรียนสายช่าง แต่พ่อแม่ไม่มีเงิน ส่ง เรียนจบ ป.4 ได้ก็เก่งแล้ว” (สัมภาษณ์ ลุงเหน่ง เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2559) “พีไ่ ก่” หญิงวัยกลางคนทีก่ เ็ ติบโตมาในครอบครัวชาวนา ด้วยเช่นกัน พี่ไก่เกิดที่จังหวัดอุบลราชธานี เป็นลูกคนที่ 4 จาก พี่น้องจ�ำนวน 8 คน พ่อแม่ประกอบอาชีพท�ำนาที่สืบต่อมาจาก บรรพบุรุษ เช่นเดียวกับลุงเหน่ง ครอบครัวของพี่ไก่ก็ไม่มีที่ดิน ท�ำกินเช่นกัน นาที่ท�ำนั้นเช่ามาจากคนในหมู่บ้านโดยแบ่งราย 51 issue 131 DECEMBER 2018
52 IS AM ARE www.fosef.org
“อยู่โรงกลึงมา 10 กว่าปี ไม่มีเงินเหลือเก็บสักบาท ท�ำ กินไปวันๆ เจ็บป่วยก็ล�ำบาก เลยอยากหางานที่มั่นคงท�ำ” (สัมภาษณ์ ลุงเหน่ง เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2559)
ได้กันคนละครึ่ง แต่ด้วยจ�ำนวนสมาชิกในครอบครัวที่มากท�ำ ให้ รายได้จากการท�ำนานั้นไม่เพียงพอ พ่อของพี่ไก่และบรรดาพี่ น้องที่เป็นผู้ชายจึงได้เข้ามาเป็นกรรมกรก่อสร้างในกรุงเทพฯ ที่ บ้านพี่ไก่จึงเหลือเพียงแม่และพี่น้องผู้หญิงเท่านั้น และถึงแม้ว่า ครอบครัวของพี่ไก่จะมีรายได้จากการท�ำนาและ เงินที่พ่อส่งมา ให้ แต่มันก็ไม่มากพอที่จะท�ำให้พี่ไก่ได้เรียนอย่างที่ปรารถนา เมื่อจบชั้น ป.6 การศึกษาของพี่ไก่ก็เป็นอันสิ้นสุดลง จากภูมิหลัง ดังกล่าว ชี้ให้เห็นว่าโดยพื้นฐานแล้วทั้ง 3 คนเกิดในครอบครัว ยากจนในแถบชนบท ด้วยสภาพดินฟ้าอากาศและราคาผลผลิต ที่ไม่เป็นธรรม ส่งผลให้รายจ่ายในครอบครัวไม่สอดคล้องกับราย ได้ ขณะเดียวกันค่านิยมการมีลูกเยอะเพื่อจะเป็นแรงงานในภาค การเกษตรนั้น กลับส่งผลกระทบให้ความยากจนฝังลึกมากขึ้น ทั้งนี้ผู้ศึกษาพบว่าไม่มีครอบครัวใดที่จะสามารถส่งเสียบุตรให้ เรียนในระดับที่สูงกว่าชั้นประถมศึกษาได้เลย เมื่อขาดโอกาส ทางการศึกษาก็ส่งผลให้โอกาสในการที่จะมีชีวิตหรือสถานภาพ ทางสังคมที่ดีขึ้นลดน้อยลงตามไปด้วย
“อายุป้าก็มากขึ้น อยากได้งานที่มันมั่นคงมีสวัสดิการ บ้าง เราจะได้ไม่ต้องล�ำบากเหมือนเมื่อก่อน” ( สัมภาษณ์ ป้าแวว เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2559) อย่างไรก็ตามด้วยสถานภาพทางสังคม โดยเฉพาะการ ศึกษาของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่สูงนัก จึงท�ำให้พวกเขาประเมินว่า อาชีพคนกวาดถนนเป็นงานที่มีความเหมาะสมกับสถานภาพ ที่พวกตนมีอยู่ และน่าจะสามารถตอบโจทย์ความต้องการของ พวกเขาได้ “เราก็รู้นั่นแหละว่าคนกวาดถนนคนอื่นเค้าดูถูกกัน แต่ ต้นทุนเรามีมาเท่านี้งานคนกวาดมันก็เหมาะกับความรู้ที่เรามี หางานท�ำได้ก็ดีแล้ว ดีกว่าอดตาย” (สัมภาษณ์ลุงเหน่ง เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2559)
แรงผลั ก ดั น สู ่ อ าชี พ เมื่อความรู้สึกว่าความฝันที่จะหลุดพ้นจากความยากจน ยังไม่เกิดขึ้นจริง อาชีพที่พวกเขาท�ำในขณะนั้นไม่สามารถตอบ โจทย์ความต้องการได้ กลุ่มตัวอย่างจึงเลือกหาอาชีพใหม่ อาชีพ ที่พวกเขาคิดว่าจะท�ำให้ชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น ซึ่งก็ไม่ใช่เพียง อาชีพที่ตอบสนองด้านรายได้เท่านั้น แต่ต้องเป็นอาชีพที่มั่นคง และมีสวัสดิการที่เหมาะสม
“เราไม่ได้เรียนสูง จะหางานสบายๆ งานดีๆ ท�ำมันไม่ ได้หรอก” (สัมภาษณ์ ป้าเตี้ย เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2559)
53 issue 131 DECEMBER 2018
นอกจากการตั ด สิ น ใจเข้ า สู ่ อ าชี พ โดยพิ จ ารณาถึ ง สถานภาพทางสังคมและต้นทุนที่ตนเองมีแล้ว การได้รับการ แนะน�ำจากเครือญาติและผู้ใกล้ชิดก็เป็นส่วนส�ำคัญที่เสริมแรง ให้กลุ่มตัวอย่างเลือกที่จะเข้าสู่อาชีพมากขึ้น “ตอนมาสมัครคนกวาดเนี้ย พี่สาวลุงเค้าเข้ามาเป็นก่อน นานแล้ว เค้าก็มาชวนลุงว่าให้มาสมัคร ลุงก็เลยมาสมัคร ทีแรก นึกว่าจะไม่มีคน ปรากฏว่าคนมาสมัครกันหลายร้อยเลย เอาแค่ 20 กว่าคนเอง” (สัมภาษณ์ ลุงเหน่ง เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2559) “ทีแรกเราก็อายนะที่มาสมัครเป็นคนกวาดถนน พี่สาว ป้าเค้ามาบอกให้ไปสมัคร เค้าเป็นมาก่อน หลายปีละ เราเห็น เค้าเป็นคนกวาดมีเงินเก็บ เราก็เลยอยากเป็นบ้าง ไม่น่าเชื่อว่า คนจะมาสมัครกันเยอะแยะ ทีแรกก็นึกว่าจะไม่มีคู่แข่งที่ไหนได้ มาเป็นร้อยๆ กันเลย” (สัมภาษณ์ ป้าเตี้ย เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2559)
เท่านั้น แต่อาชีพของพวกเขายังสามารถปกป้องชีวิตของคน อีกจ�ำนวนมากไม่ให้ต้องพบเจอกับเชื้อโรคและสิ่งสกปรก ขณะ ที่หมอท�ำหน้าที่รักษาโรคที่ปลายเหตุ แต่ส�ำหรับกลุ่มตัวอย่าง แล้วพวกเขามองว่าคนกวาดถนนคือผู้รักษาสุขภาพของเมือง จากต้นทาง กระบวนการส�ำคัญประการหนึ่งที่ก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงดังกล่าว เกิดจากการที่คนงานกวาดถนนเลือกที่ จะมองคุณค่าของตนเองผ่านอาชีพที่พวกเขาประกอบในฐานะ อาชีพแห่งความเสียสละ และอาชีพที่สุจริต
แ ต ่ ใ ช ่ ว ่ า ค น ก ว า ด ถ น น จ ะ มี ห น ้ า ที่ เ พี ย ง แ ค ่ การกวาดถนนเท่ า นั้ น แต่ ยั ง มี ภ ารกิ จ พิ เ ศษที่ พ วก เขาต้ อ งปฏิ บั ติ ใ นแทบทุ ก สั ป ดาห์ ก็ คื อ กิ จ กรรม บ� ำ เพ็ ญ สาธารณะประโยชน์ ซึ่ ง จากการสั ม ภาษณ์ และการสั ง เกตของผู ้ ศึ ก ษาพบว่ า กิ จ กรรมบ� ำ เพ็ ญ สาธารณประโยชน์ เ ป็ น กิ จ กรรมที่ ค นกวาดถนน ชื่ น ชอบและให้ ค วามส� ำ คั ญ เป็ น อย่ า งมาก ในมุมมองของคนทั่วไป อาชีพคนกวาดถนนอาจเป็น อาชีพที่ไม่น่าจะมีใครปรารถนาที่จะท�ำ แต่อย่างไรก็ตามมีคนอีก จ�ำนวนไม่น้อยที่เลือกมาท�ำอาชีพดังกล่าว การประเมินศักยภาพ และต้นทุนทางชีวิตตลอดจนแรงสนับสนุนจากคนใกล้ชิดและ เครือญาติ เป็นเสมือนแรงเสริมให้พวกเขากล้าที่จะเข้ามาสู่อาชีพ ดังกล่าว อาชีพที่ถูกมองว่าต้อยต�่ำ
“เปลี่ยนจากหน้ามือเป็นหลังมือเลยแหละ เมื่อก่อนเรา มองว่ามันไม่มีเกียรติ ไม่มีศักดิ์ศรี แต่พอเรามาเป็นเองเราก็ไม่รู้ สึกอย่างนั้น กลับภูมิใจด้วยซ�้ำ คนกรุงเทพฯ เป็นล้าน แต่พวก ป้าแค่หลักร้อยหลักพัน กลับท�ำให้บ้านเมืองมันสะอาดได้ ถ้า ไม่มีพวกป้าจะอยู่กันยังไง ลองไม่มีคนดูแลขยะหรือความสะอาด มันอาจเกิดโรคระบาดได้เลยนะ” (สัมภาษณ์ ป้าเตี้ย เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2559)
ทั ศ นะที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป แต่เมื่อกลุ่มตัวอย่างได้เปลี่ยนสถานะจากคนนอกมาเป็น คนใน พวกเขาก็มีมุมมองต่ออาชีพคนกวาดถนนเปลี่ยนแปลง ไปอย่างสิ้นเชิง เขาไม่ได้มองอาชีพคนกวาดถนนต้อยต�่ำเช่นใน อดีต แต่เขาเลือกที่จะมองอาชีพคนกวาดถนนในฐานะอาชีพ ที่มีความส�ำคัญในการดูแลสุขาภิบาลพื้นฐานของเมือง อาชีพ คนกวาดถนนจึงไม่ใช่เพียงแค่การเก็บกวาดขยะหรือสิ่งปฏิกูล
“ถ้าไม่มีพวกป้าที่เสียสละมาท�ำงานนี้ บ้านเมืองมันจะ สวยได้เหรอ ป้าว่าพวกป้าส�ำคัญไม่ต่างจากหมอเลยนะ หมอ เค้าแค่รักษาโรค แต่พวกป้านี่เป็นตัวป้องกันโรคของเมืองเลยนะ เราดูแลความสะอาดพื้นฐานให้บ้านเมือง ถ้าไม่มีเราบ้านเมืองก็ สกปรกเชื้อโรคอีกเท่าไรล่ะที่จะตามมา” (สัมภาษณ์ ป้าแม้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2559) 54
IS AM ARE www.fosef.org
“จริงๆ เราก็คือเจ้าหน้าที่ของรัฐประเภทหนึ่งนั้นแหละ เราท�ำงานให้หลวง ถ้าไม่มีเราใครจะยอมเสียสละมาท�ำให้ล่ะ ถ้า มีแต่คนทิ้งแต่ไม่มีคนเก็บ มันก็สกปรกตายพอดี” (สัมภาษณ์ เล็ก เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2559) เมื่อกลุ่มตัวอย่างอยู่ในสถานะ “คนใน” มุมมองของ พวกเขาได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิง อาชีพที่ครั้งหนึ่งพวกเขา มองว่าต้อยต�่ำ แต่ขณะนี้พวกเขาได้มองในมุมใหม่ พวกเขามอง ว่าตนเป็นผู้เสียสละ เพื่อส่วนร่วมและหากไม่มีพวกเขาจะท�ำให้ กรุงเทพมหานครเกิดความวุ่นวายได้ พวกเขาจึงไม่ได้เป็นเพียง แค่คนกวาดถนน แต่พวกเขาเป็นผู้ดูแลและพิทักษ์เมือง ขณะ เดียวกันการมองอาชีพในแง่ศีลธรรมในด้านความสุจริตก็เป็น หนึ่งในสิ่งที่เขาน�ำมาปกป้องตนเองด้วย
ขณะเดียวกันผู้ศึกษายังพบว่ากลุ่มตัวอย่างพยายามหลีก เลี่ยงประเด็นภาพลักษณ์เชิงลบของอาชีพคนกวาดถนนด้วย การน�ำประเด็นด้านศีลธรรมโดยเฉพาะอย่างยิ่งการประกอบ อาชีพที่สุจริตมาปกป้องตนเอง การพยายามโน้มน้าวให้สังคม ภายนอกพิจารณาที่ความส�ำคัญของอาชีพ
“พี่ไม่อายไม่เสียใจนะที่เป็นคนกวาดถนน ดีใจด้วยซ�้ำ ที่ได้ท�ำงานสุจริต ไม่ได้ไปคดโกงใคร” การจั ด การปั ญ หาภาพลั ก ษณ์ ใ นอาชี พ (สัมภาษณ์ พี่ไก่ เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2559) การต่ อ สู ้ กั บ ปั ญ หาภาพลั ก ษณ์ ท างอาชี พ กั บ สั ง คม ภายนอกเป็นสิ่งที่คนกวาดถนนต้องเผชิญอยู่เสมอ เมื่อผู้ศึกษา “อาชีพคนกวาดถนนก็เป็นอาชีพหนึ่งเราไม่ได้เป็นโจร ได้พูดคุยในประเด็นดังกล่าว ดูเหมือนว่าพวกเขาจะระบายถึง ไม่ได้จี้ปล้น ไม่ได้คดโกงใคร งานนี้เป็นงานสุจริตแถมเสียสละ ความคั บ แค้ น ใจเหล่ า นี้ ที่ สั ง คมภายนอกกระท� ำ ต่ อ พวกเขา อีกด้วย” หนึ่งในคนกวาดถนนได้เล่าประสบการณ์ท่ีเกิดขึ้นกับตัวเขาให้ (สัมภาษณ์ พี่จุ๋ม เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2559) ผู้ศึกษาฟังด้วยสีหน้าที่เรียบเฉย 55 issue 131 DECEMBER 2018
“โดนมาสารพัดจะให้เล่าคงต้อง 3 วัน 3 คืน เมื่อก่อน หนักกว่านี้เยอะ ตอนป้าเข้างานมาใหม่ๆ สมัย พ.ศ. 2530 สมัย นั้นคนกวาดยังแต่งตัวซอมซ่ออยู่เลย เอาจริงๆ เราก็ยังขยะแขยง ตัวเองเหมือนกัน กลับบ้านไปต้องรีบไปอาบน�้ำ ไม่อยากให้ลูก เข้าใกล้ คืออุปกรณ์ต่างๆ เมื่อก่อนมันไม่ครบพูดง่ายๆ คนงาน กวาดนี่ยังกับคนชั้นต�่ำ จ�ำได้ครั้งหนึ่งไปเดินตลาดเราจะซื้อของ ไหว้เจ้า(ตรุษจีน) รีบไปหน่อยก็เลยยังไม่ได้เปลี่ยนชุด เดินผ่าน ไปทางไหนคนก็ปิดจมูก หนักหน่อยก็ร้านขายเป็ดพะโล้เราก็ไป ยืนเลือกอยู่ดีๆ เด็กหน้าร้านก็มาไล่เราซะเสียงดังบอกว่าลูกค้า เหม็นให้ออกไป ตอนนั้นท�ำงานได้แค่เดือนเดียวเองแล้วเราก็ ยังเป็นสาวอยู่ด้วย อายก็อายเสียใจมาก กลับไปร้องไห้กับแฟน บอกว่าจะลาออกไม่เอาแล้ว แฟนเค้าก็ดีพูดโน้มน้าวเราให้สู้ถ้า ไม่มีเค้ากะลูกเราคงออกไปนานละ อีกครั้งหนึ่งที่จ�ำขึ้นใจเลยก็ คืองานประชุมผู้ปกครองลูกคนโต ลูกเราก็เรียนโรงเรียน กทม. นี่แหละ ธรรมดาทุกปีพ่อเค้าจะไปประชุมให้ พอดีปีนั้น เค้าไม่ ว่างเราก็เลยไปแทน แต่ก็ไม่ได้บอกลูกนะว่าเราไปแทนพ่อเค้า ป้าไปถึงโรงเรียนลูกใกล้เที่ยงได้ ลูกเห็นเราแต่งชุดกวาดถนน มันไม่กล้าเข้าใกล้ มันคงอายเพื่อนมันแหละ เรานี่หน้าชาไป
คนงานก่อสร้างพม่าบ้าง เขมรบ้าง วันนั้นพี่ไปนั่งคุยกะคนคุม ไซด์งานก็คุยกันตามภาษาผู้หญิง เรื่องละครบ้างเรื่องลูกบ้าง เรา รู้จักกับคนคุมไซด์งานเค้ามาหลายเดือนละ พอช่วงพักเที่ยงพวก คนงานก่อสร้างเค้าก็ออกมาหาของกิน พอมันเห็นคนคุมไซด์งาน มาคุยกับเรา มันก็พูดส�ำเนียงมันเลยว่าคุยได้ไงไม่เหม็นเหรอ เรา หน้าชาไปหมด ใจจริงก็อยากจะสวนไปเหมือนกัน แต่ก็ไม่ได้ว่า อะไรมันหรอกพอดีคนคุมหน้างานเค้าเรียกไอ้นั้นมาด่าให้ก่อน ไอ้เราก็มานั่งคิดนะ งานเรามันดูน่ารังเกียจต้อยต�่ำขนาดนั้นเลย เหรอ ขนาดกรรมกรต่างด้าวยังมาดูถูกเราได้ ส่วนในชีวิตประจ�ำ วันเวลาเราไปเดินตามห้างบางทีเราก็ไปทั้งชุดคนกวาดเลยนะ ไม่ ได้เปลี่ยน แต่พี่รู้สึกได้เลยว่ามีคนมองเราแบบดูถูก พี่ก็ไม่เข้าใจ นะขนาดนี่เวลาส่วนตัว ไม้กวาดบุ้งกี๋ก็ไม่ได้พกมา คนยังมอง เราที่ภายนอกอีกเหรอ ท้อก็ท้อ จนมันเหนื่อยหน่ายไปเลย ปี แรกนี่ปรับตัวยากมาก ก็ยังดีที่พี่ๆ ที่เค้าเป็นมาก่อนเราเขาก็ให้ ก�ำลังใจกัน ไม่ให้เราคิดมาก เราก็เลยรู้สึกดีบ้างเวลาพักกินข้าว กลางวัน เราไม่โดดเดี่ยว มานั่งรวมกันกินข้าวข้างถนนกับคน กวาดด้วยกัน มันก็มีความสุขไปอีกแบบ แต่ของพี่โชคดีหน่อย ที่ลูกมันยอมรับพี่ได้ พี่ท�ำงานกะเช้าเข้างานตั้งแต่ตี 5 พอบ่าย
อาชี พ ที่ ค รั้ ง หนึ่ ง พวกเขามองว่ า ต้ อ ยต�่ ำ แต่ ข ณะนี้ พวกเขาได้ ม องในมุ ม ใหม่ พวกเขามองว่ า ตนเป็ น ผู ้ เสี ย สละ เพื่ อ ส่ ว นร่ ว มและหากไม่ มี พ วกเขาจะท� ำ ให้ กรุ ง เทพมหานครเกิ ด ความวุ ่ น วายได้ พวกเขาจึ ง ไม่ ไ ด้ เ ป็ น เพี ย งแค่ ค นกวาดถนน แต่ พ วกเขาเป็ น ผู ้ ดู แ ลและพิ ทั ก ษ์ เ มื อ ง หมดเลย ครูเค้าก็ถามว่าเป็นผู้ปกครองใคร เราก็อ�่ำอึ้งลูกโตละ อยู่ ป. 6 เลยตัดสินใจกลับบ้าน ในใจก็ไม่ได้โกรธลูกเลยนะ เข้าใจ เขาเพราะก่อนมาเป็นคนกวาดเราก็รู้สึกแบบลูก แต่มันเสียใจที่ เราไม่ท�ำให้ลูกได้เทียมหน้าเทียมตาคนอื่น พอลูกกลับมาบ้าน เค้าก็มาขอโทษเรา ลึกๆ ก็เสียใจมากแต่ท�ำไงได้ เราเรียนมา น้อยไม่มีวาสนาแบบคนอื่นเค้า แต่ตอนนี้ป้าชินละไอ้เรื่องโดน ดูถูกแบบนี้ ท�ำงานมาจะ 30 ปีจะเกษียณอยู่แล้ว เราก็ก้มหน้า ก้มตากวาดไป คิดว่าไม่มีเรามันก็ไม่สะอาดไม่สวยงาม ต่างคน ต่างหน้าที่เราท�ำหน้าที่ตรงนี้ของเราให้ดีที่สุดก็พอ” (สัมภาษณ์ ป้าแวว เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2559) “พี่ ท� ำ งานมาได้ แ ค่ 3 ปี เ อง ไอ้ เรื่ อ งโดนดู ถู ก นี่ แ ทบ จะทุกวัน บางทีพี่ก็ตลกนะขนาดกรรมกรก่อสร้างต่างด้าวมัน ยังดูถูกเราได้ คือพี่อยู่ประจ�ำจุดตรงที่เค้ามีก่อสร้างคอนโดไง 56 IS AM ARE www.fosef.org
“เวลาเรารู้สึกว่ามีใครดูถูกเราเราก็เดินหนีห่าง พยายาม ไม่ ไ ปต่ อ ปากต่ อ ค� ำ ด้ ว ย คิ ด ว่ า เราไม่ ไ ด้ ไ ปคดโกงใคร มั น ก็ สบายใจ” (สัมภาษณ์ ป้าแม้น เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2559) “ใครจะว่าอะไรเราก็ปล่อยไป ไม่เห็นจะต้องไปสนใจเลย ปล่อยมันพูดไปเรื่อยๆ เดี๋ยวมันก็เบื่อ” (สัมภาษณ์ ป้าแวว เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2559) และอีกรูปแบบที่พวกเขาเลือกจัดการกับปัญหาก็คือการ ตอบโต้แบบตาต่อตาฟันต่อฟัน “ถ้าใครมาด่ามาดูถูกหนู หนูก็จะด่ากลับไปเลย เอาให้ มันอายไปข้างหนึ่ง” (สัมภาษณ์น้องฝน เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2559) “ใครด่าพี่ พี่ก็ด่ากลับ ด่ามาด่ากลับไม่โกง” (สัมภาษณ์ พี่เล็ก เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2559) บทสรุ ป คนกวาดถนนกลุม่ ตัวอย่าง มีสถานภาพทางสังคมในอดีต โมงก็เลิกงาน ทุกเย็นถ้าไม่ติดงานก็จะไปรับลูก ลูกเค้าก็ไม่อาย ที่ไม่ดีนัก เนื่องจากความยากจนและการขาดโอกาสทางการ นะที่มีแม่เป็นคนกวาดถนน บางครั้งเค้าบอกว่าอยากเป็นคน ศึกษา เมื่อกลุ่มตัวอย่างเข้าสู่วัยแรงงาน ได้อพยพจากชนบท กวาดถนนเหมือนแม่ ไอ้เราก็ต้องรีบห้ามเลยบอกว่าให้ตั้งใจ เข้ามาเป็นแรงงาน ในกรุงเทพมหานคร แต่ด้วยการศึกษาที่ไม่ เรียน เรียนให้สูงๆ ไม่ใช่ว่าคนกวาดถนนไม่ดีนะ แต่เราอยากให้ สูงท�ำให้กลุ่มตัวอย่างได้งานที่ใช้แรงงานเป็นหลัก ส�ำหรับการ ลูกท�ำงานดีกว่าเรา” เข้าสู่อาชีพคนกวาดถนนนั้น เกิดจากค�ำแนะน�ำจากคนใกล้ชิด (สัมภาษณ์ พี่ไก่เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2559) หรือเครือญาติที่เป็นคนกวาดถนนอยู่ก่อนแล้ว ซึ่งได้แนะน�ำ กลุ่มตัวอย่างให้เห็นถึงข้อดีของอาชีพคนกวาดถนน ไม่ว่าจะ เมื่อกลุ่มตัวอย่างต้องเผชิญกับปัญหาที่บั่นทอนจิตใจ เป็นสวัสดิการหรือความมั่นคง ทั้งนี้ มุมมองของกลุ่มตัวอย่าง โดยเฉพาะการถูกดูถูกเหยียดหยาม จากบุคคลอื่น พวกเขา ก่อนการเข้าสู่อาชีพคนกวาดถนนนั้น มีทัศนคติไม่ต่างจากสังคม จึงต้องเลือกวิธีการและกลยุทธ์ในการปกป้องตนเองให้หลุด ภายนอก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษามองว่าอาชีพคนกวาด พ้นจากสถานการณ์ที่ไม่พึงประสงค์นั้น ซึ่งจากการสังเกตของ ถนนเป็นงานที่ต้อยต�่ำ ไม่มีใครอยากท�ำ แต่เมื่อกลุ่มตัวอย่าง ผู้ศึกษาก็พบว่า มีความแตกต่างในวิธีการจัดการปัญหาภาพ เปลี่ยนสถานะจากคนนอกเป็นคนงานกวาดถนนแล้ว พวกเขา ลักษณ์ ระหว่างคนกวาดถนนประเภทชั่วคราวและคนกวาด ก็มีมุมมองต่ออาชีพที่เปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิง กลุ่มตัวอย่างมองว่า ถนนประเภทประจ�ำ อาชีพคนกวาดถนนเป็นอาชีพที่สุจริตอาชีพหนึ่ง ขณะเดียวกัน กลุ ่ ม ตั ว อย่ า งไม่ ไ ด้ ม องตนเองในฐานะของคนกวาดถนนแต่ “เราก็เดินหนีไป เราไม่อยากไปยุ่งกับคนพวกนี้หรอก มัน เลือกที่จะมองตนเองในสถานะเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งมีหน้าที่ใน ไม่มีประโยชน์ถ้าเราไปต่อปากต่อค�ำ เราไปเถียงเขาก็เหมือนเรา การดูแลสุขาภิบาลขั้นพื้นฐานของเมืองอันมีความส�ำคัญยิ่งต่อ ยอมรับ เดินหนีดีกว่า” กรุงเทพมหานคร (สัมภาษณ์ ป้าเตี้ย เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2559) 57 issue 131 DECEMBER 2018
58 IS AM ARE www.fosef.org
59 issue 131 DECEMBER 2018
60 IS AM ARE www.fosef.org
61 issue 131 DECEMBER 2018
62 IS AM ARE www.fosef.org
63 issue 131 DECEMBER 2018
64 IS AM ARE www.fosef.org
65 issue 131 DECEMBER 2018
เรื่อง/ภาพโดย: ทีมงานรักบ้านเกิด
เดินตามศาสตร์พระราชา ท�ำไร่สตรอว์เบอร์รีท่ีสุพรรณบุ รี พิมพ์วรัตน์ เรืองประชา “ถ้าเราเลือกท�ำในสิ่งที่สร้างสรรค์ เราก็จะได้สิ่งที่สร้างสรรค์ตอบแทน”
“เพราะต้ อ งการลบค� ำ สบประมาทของทุ ก คน หนู เ ลยเลื อ กปลู ก ในสิ่ ง ที่ ค นอื่ น มองว่ า ปลู ก ไม่ ไ ด้ ใ นพื้ น ที่ จั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี นั่ น ก็ คื อ สตรอว์ เ บอรี่ ครอบครั ว ไม่ มี ใ ครเห็ น ด้ ว ย แม่ ไ ม่ ย อมคุ ย กั บ หนู เ ป็ น ปี ๆ ยิ่ ง หนู เ ห็ น แบบนี้ หนู ยิ่ ง อยากจะท� ำ ให้ ทุ ก คนได้ เ ห็ น ว่ า หนู ท� ำ ได้ เพราะหนู เ ลื อ กท� ำ ในสิ่ ง ที่ มั น สร้ า งสรรค์ หนู ก็ ต ้ อ ง ได้ ส่ิ ง ที่ ส ร้ า งสรรค์ ต อบแทน” พิ ม พ์ ว รั ต น์ ก ล่ า ว 66 IS AM ARE www.fosef.org
Let’s Talk
ไร่พิมพ์วรัตน์ สตรอว์เบอรี่สุพรรณ เกิดจากความตั้งใจ และความมุ่งมั่น ของผู้หญิงตัวเล็กๆ อย่างพิมพ์วรัตน์ ที่คลุกคลี กับอาชีพเกษตรกรมาตั้งแต่เด็กๆ และชอบที่จะท�ำเกษตร ตลอด ระยะเวลาที่ผ่านมาพิมพ์วรัตน์ถูกพ่อและแม่ปลูกฝังเสมอว่า ให้ตั้งใจเรียนสูงๆ จะได้เป็นเจ้าคนนายคน และหลังจากเรียน จบ ปวส. ตัดสินใจกลับบ้านเพื่อท�ำเกษตร ในตอนนั้นพ่อและ แม่ ไม่เห็นด้วยกับสิ่งที่ท�ำ เลยเลือกที่จะเรียนไปด้วย ท�ำการ เกษตรไปด้วยเพื่อให้พ่อและแม่สบายใจ จึงเรียนต่อปริญญาตรี สาขารัฐประสาสนศาสตร์ ภาคสมทบไปพร้อมๆ กับการปลูก มะนาวและหน่อไม้ฝรั่ง และระหว่างนั้นได้มีโอกาสเข้าอบรม กับกรมส่งเสริมการเกษตร ท�ำให้ได้ความรู้กลับมาพัฒนาการ เกษตรที่ท�ำอยู่ปัจจุบัน ได้มีโอกาสไปเยี่ยมชมพื้นที่เกษตรของ ปราชญ์หลายท่าน และศึกษาถึงศาสตร์ของพระราชาอย่างลึก ซึ้ง จนท�ำให้รู้สึกว่าสิ่งที่ท�ำตอนนี้ นี่แหละคือความยั่งยืนในชีวิต จึงตัดสินใจลาออกจากการเรียนสาขารัฐประสาสนศาสตร์เพราะ มองว่า การศึกษาสาขานี้ไม่ตอบโจทย์กับสิ่งที่ท�ำและอยากจะ ท�ำ และมองหาความรู้เพิ่มเติมที่จะช่วยเสริมการท�ำการเกษตร ได้ นั่นคือเรียนด้านพืชศาสตร์ แต่ความพยายามกลับไม่เป็นผล เมื่อสถานศึกษาไม่รับเข้าเรียนต่อ เนื่องจากพื้นฐานที่มีไม่ตรงกัน เลยตัดสินใจไปสมัครเรียนที่สถาบันเอกชนแห่งหนึ่ง เพื่อเรียน สาขาการบัญชี นี่คือสิ่งที่ท�ำให้พิมพ์วรัตน์มองเห็นอนาคต และ รู้สึกว่าจะต้องเป็นเกษตรกรที่เป็นเจ้าของกิจการให้ได้ ท�ำทุก อย่างแบบครบวงจรในฟาร์มของเราเอง มีผลผลิตเป็นของตัว เอง มีผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากผลผลิตของเราเอง ท�ำเองขายเอง ได้ โดยไม่ต้องผ่านพ่อค้าคนกลาง ระหว่างเรียนพิมพ์วรัตน์ใช้ เวลาในช่วงเสาร์-อาทิตย์กลับบ้านมาเพื่อดูแลสวนมะนาว จน เรียนจบ แต่งงานมีครอบครัวเป็นของตนเอง และหวังว่าอยาก จะให้ครอบครัวสมบูรณ์แบบที่สุด จึงตัดสินใจท�ำการเกษตรด้วย
กันทั้งคู่เพื่อจะได้ใช้ชีวิตอยู่ด้วยกัน ที่อ�ำเภอด่านช้าง จังหวัด สุพรรณบุรี ที่จากเดิมนั้นสามีเป็นวิศวกรไม่ค่อยจะมีเวลาได้อยู่ ด้วยกันเท่าที่ควร หลังจากสามีลาออกจากงาน ครอบครัวไม่มี ใครเห็นด้วย ชาวบ้านข้างเคียงมองว่า จบถึงปริญญาตรีแต่ไม่มี อนาคตต้องมาเป็นเกษตรกร ตอนนั้นพิมพ์วรัตน์เสียใจมาก และ รู้สึกว่าอยากจะลบค�ำสบประมาทของทุกคน และท�ำให้แม่และ ครอบครัวเห็น ว่าการเป็นเกษตรกร ก็ประสบความส�ำเร็จใน ชีวิตได้ ด้วยการเลือกปลูกพืชที่คิดว่าไม่มีใครปลูกในพื้นที่จังหวัด สุพรรณบุรี อย่าง “สตรอว์เบอรี่” ด้วยความฝันอยากเป็นเกษตรกรตั้งแต่เด็ก จบ ปวส.มา มุมานะสอบเข้าสาขาพืชศาสตร์ แต่ต้องพลาดโอกาสเมื่อเขาไม่ รับเข้าเรียน ก็เลยตัดสินใจลองหันไปเอาดีด้านบัญชี แต่ด้วยใจรัก จึงท�ำเกษตรควบคู่กันไป ครั้นเมื่อจบการศึกษาตัดสินใจปฏิเสธ งานออฟฟิศ หวนกลับบ้านมาเริ่มต้นท�ำการเกษตรด้วยการปลูก สตรอว์เบอรี่ใน “ไร่พิมพ์วรัตน์” พิมพ์วรัตน์เดินหน้าศึกษาเกี่ยวกับสตรอว์เบอรี่อย่าง จริ ง จั ง และตั ด สิ น ใจตั ด ต้ น มะนาวทิ้ ง ทั้ ง หมดเพื่ อ ท� ำ แปลง สตรอว์เบอรี่ และน�ำแหวนแต่งงานไปจ�ำน�ำ มาใช้เป็นเงินลงทุน และเริ่มต้นลงทุนด้วยเงิน 32,000 บาท เริ่มแรกถูกหลอกขาย ต้นพันธุ์ แต่ผลผลิตที่ได้ก็ถือว่าดีในระดับหนึ่ง ไม่ท�ำให้ขาดทุน และนี่คือจุดเริ่มต้นที่ท�ำให้รู้สึกว่า ต้องท�ำให้ได้ดีกว่านี้ และเริ่ม ศึกษาข้อมูลเพิ่มมากขึ้นจากอินเตอร์เน็ต พบว่าสถานีวิจัยดอย ปุย เป็นแหล่งผลิตต้นพันธุ์สตรอว์เบอรี่ที่มีคุณภาพ จึงตัดสินใจ ไปศึกษาเรียนรู้ที่สถานีวิจัยดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่ 67
issue 131 DECEMBER 2018
คือพันธุ์ “พันธุ์พระราชทาน 88” ซึ่งผลออกมาเป็นที่ภาคภูมิใจ และน่ายินดีอย่างยิ่ง พื้นที่บ้านเกิดของพิมพ์วรัตน์สามารถปลูก สตรอว์เบอรี่ได้ผลผลิตดีกว่าที่คิด พิมพ์วรัตน์ใช้สื่อโซเชียลมีเดีย ในการประชาสัมพันธุ์สตรอว์เบอรี่ในไร่ จนปัจจุบันนี้กลายเป็นที่ รู้จัก จึงท�ำให้อยากจะสานต่อและส่งมอบความรู้ให้กับเกษตรกร ที่สนใจ เพื่อตอบแทนพระมหากรุณาธิคุณของในหลวงรัชกาลที่ 9 ให้สมกับค�ำว่า “เกษตรกรของพระราชา” จึงได้ร่วมกับคนใน ชุมชนเปิดแหล่งท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี และอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรม ดั้งเดิมของคนในชุมชนไว้ นั่นก็คือวิถีของชาว “ลาวครั่ง” เพื่อ ให้ลูกหลานสืบต่อไป “การบริ ห ารจั ด การพื้ น ที่ ข องไร่ พิ ม พ์ ว รั ต น์ ” การจัดการแปลงแบ่งออกเป็น 3 ส่วนประกอบด้วย ส่วนที่1 ส่วนหน้า คือส่วนที่จัดเป็นจุดเด่นส�ำหรับดึงดูด ลู ก ค้ า ถื อ เป็ น จุ ด ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ของไร่ เนื่ อ งจาก บริเวณนี้เป็นจุดเดียวในหมู่บ้านที่สามารถมองเห็นภูเขาสามยอด สวยงามที่สุด ภูเขาสามยอดถือเป็นภูเขาศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำหมู่บ้าน ในไร่มีต้นไม้ใหญ่อายุประมาณหนึ่งร้อยปี เนื้อที่ส่วนหน้ามีพื้นที่ ประมาณ 4 ไร่ ปลูกสตรอว์เบอรี่ เก๊กฮวย เสาวรส ส่วนที่ 2 ส่วนกลาง คือส่วนที่จัดไว้เพื่ออ�ำนวยความ สะดวกของลูกค้า ประกอบไปด้วย ร้านอาหาร ของฝาก ห้องน�้ำ ก� ำ ลั ง ใจในตอนนั้ น ที่ มี คื อ ค� ำ ว่ า “เกษตรกรของพระ และลานกางเต็นท์ ส่วนที่ 3 ส่วนท้าย เป็นส่วนปฏิบัติงาน ประกอบไป ราชา” ท� ำ ให้ พิ ม พ์ ว รั ต น์ มุ ่ ง มั่ น และตั้ ง ใจเป็ น อย่ า งมาก จน สามารถส�ำรวจตัวเอง ส�ำรวจพื้นที่ที่ท�ำอยู่ว่าโครงสร้างดินเป็น ด้ ว ยโรงเรื อ นส� ำ หรั บ ผลิ ต ต้ น พั น ธุ ์ ส ตรอว์ เ บอรี่ แปลงปลู ก แบบไหน สภาพอากาศในแต่ละช่วงเป็นอย่างไร จนท�ำให้รู้ว่าตัว สตรอว์เบอรี่ สระกักเก็บน�้ำส�ำหรับใช้หน้าแล้ง ส่วนนี้สามารถ เองมาไม่ผิดทาง เพราะสภาพอากาศในอ�ำเภอด่านช้าง จังหวัด สุพรรณในบางฤดูกาลมีความคล้ายคลึงกับภาคเหนือ และที่ ส�ำคัญพื้นที่นั้นมีวิวทิวทัศน์ที่สวยงาม “สตรอว์เบอรี่พันธุ์พระราชทาน 88 สตรอว์เบอรี่พันธุ์ สุดท้ายที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงพระราชทานนามให้ อยากจะ สานต่อและส่งมอบความรู้ให้กับเกษตรกรที่สนใจ เพื่อตอบแทน พระมหากรุณาธิคุณของในหลวงรัชกาลที่ 9 ให้สมกับค�ำว่า “เกษตรกรของพระราชา” และเมื่อปี 2559 ได้น�ำพันธุ์สตรอว์เบอรี่พันธุ์ใหม่ที่ ร่ ว มท� ำ วิ จั ย กั บ สถานี วิ จั ย ดอยปุ ย มาลองปลู ก และทดลอง ปลูกพืชเมืองหนาวชนิดอื่นๆ ร่วมด้วย อย่างเช่น เก๊กฮวย ส้ม สายน�้ำผึ้ง เป็นต้น และเมื่อปี 2560 ได้รับความไว้วางใจจาก สถานีวิจัยดอยปุยให้พื้นที่อ�ำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นสถานที่ทดลองปลูกสตรอว์เบอรี่ ซึ่งถือเป็นสตรอว์เบอรี่ พันธุ์สุดท้ายที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงพระราชทานนามให้ นั่น 68 IS AM ARE www.fosef.org
69 issue 131 DECEMBER 2018
รองรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วกลุ ่ ม ที่ จ ะมาศึ ก ษาดู ง านด้ า นการปลู ก สตรอว์เบอรี่ได้ กิจกรรมการผลิตค�ำนึงถึงคุณภาพและความ สุขเป็นส�ำคัญ กระบวนการดูแลปฏิบัติตามคู่มือของการผลิต พืชมูลนิธิโครงการหลวง รวมถึงการใช้สารชีวภัณฑ์ต่างๆก็มา จากโครงการหลวงโดยมีอาจารย์จากศูนย์อารักษ์ขาพืชมูลนิธิ โครงการหลวงเป็นที่ปรึกษา ที่ส�ำคัญก็คือแนวคิดการสร้างมูลค่า ให้กับผลผลิตโดยที่ไม่เพิ่มต้นทุน การแปรรูปผลผลิตเพื่อเพิ่ม มูลค่า การเปิดให้นักท่องเที่ยวมาเก็บผลผลิตสดๆ จากต้น ใช้ สื่อออนไลน์ในการน�ำเสนอข้อมูล ประชาสัมพันธ์ รวมถึงการ สั่งจองผลผลิตออนไลน์ “ ผ ล ผ ลิ ต แ ล ะ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ์ จ า ก ไ ร ่ พิ ม พ ์ ว รั ต น ์ สตรอว์ เ บอรี่ สุ พ รรณบุ รี ” ผลผลิตทางการเกษตรของไร่ประกอบด้วย • ต้นพันธุ์สตรอว์เบอร์รี่ • ต้นพันธุ์เก๊กฮวย • ต้นพันธุ์ส้มสายน�้ำผึ้ง • ผลสตรอว์เบอรี่ • ส้มสายน�้ำผึ้ง • มัลเบอร์รี่ • สับปะรด • มะพร้าวน�้ำหอม • กล้วยน�้ำว้า กล้วยหอม กล้วยไข่ • สมุนไพรต่างประเทศและหญ้าหวาน
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ปรรู ป ทางการเกษตรของไร่ มี ทั้ ง หมด 8 ชนิ ด 1.สตรอว์เบอรี่โยเกิร์ต 2.น�้ำสตอเบอรี่ 3.แยมสตรอว์เบอรี่ 4.ชาดอกเก็กฮวย 5.น�้ำเก็กฮวย 6.ชาสมุนไพรสด 7.แยมสับปะรด 8.กล้วยสอดไส้สตอเบอรี่ การแปรรูปผลผลิตเน้นการถ่ายทอดภูมิปัญญาจากรุ่น สู่รุ่น ไม่ได้ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพราะการผลิตเราเน้นการมี ส่วนร่วมของนักท่องเที่ยว การอนุรักษ์วิถีชีวิตแบบดั้งเดิมของ ชุมชนลาวครั่ง ไม่ได้น�ำผลผลิตออกไปขายนอกชุมชน สร้างจุด เด่นให้ลูกค้าเลือกที่จะเขามาซื้อสินค้าภายในไร่ ท�ำให้ชุมชนมี รายได้เพิ่มขึ้น จุดเริ่มต้นของบทบาทการเป็นผู้น�ำด้านการเปลี่ยนแปลง ในชุ ม ชนมาจากความรั ก ที่ มี ต ่ อ บ้ า นเกิ ด ของตั ว เอง ชุ ม ชนมี วัฒนธรรม มีภูมิปัญญา และมีธรรมชาติที่สวยงาม จึงได้เกิด ความคิดที่จะพัฒนาที่ดินของพ่อให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว เริ่มต้น 70
IS AM ARE www.fosef.org
การเปิดใจคุยกับคนในชุมชนในเรื่องของอนาคต สิ่งที่เราต้องการ ให้เกิดขึ้น วิเคราะห์ปัญหา สอบถามความต้องการของชุมชน พาสมาชิกที่สนใจไปศึกษาดูงานและน�ำมาปรับใช้กับหมู่บ้าน ของตนเอง
ด้วยการปลูกสตรอว์เบอรี่และเปิดให้ผู้ที่สนใจเข้ามาศึกษาดูงาน ได้ฟรี หลังจากนั้นได้รวมกลุ่มกับเพื่อนๆและญาติพี่น้องจัดตั้ง วิสาหกิจชุมชน ใช้ชื่อว่า กลุ่มสตรอว์เบอรี่วังจระเข้ อ.ด่านช้าง การสร้างงานสร้างอาชีพในชุมชน ส่วนใหญ่จะจ้างคนในชุมชน มาเป็นแรงงาน เช่น จ้างผู้สูงอายุกรอกดินช�ำไหลสตรอว์เบอรี่ จ้างแรงงานมาดูแลแปลงสตรอว์เบอรี่ ซื้อตระกร้าของคนใน ชุมชนมาใช้เก็บสตรอว์เบอรี่ แบ่งพื้นที่ให้คนในชุมชนน�ำสินค้า มาวางขายในไร่ ผู้น�ำชุมชนด้านการเกษตร จัดตั้งกลุ่มวังจระเข้ รวมใจเพื่อปลูกหญ้าหวานไว้บริโภคแทนน�้ำตาล และใช้เป็น สถานที่ดูงานของชุมชน ในส่วนของการสร้างงานสร้างอาชีพ ให้กับชุมชน เป็นผู้ด�ำเนินงานด้านการท่องเที่ยวตามโครงการ OTOP นวัตวิถี ครัวเรือนเกิดการสร้างงานในด้านต่างๆดังนี้ ด้าน การท่องเที่ยวสามารถสร้างรายได้ให้กับสมาชิกในชุมชนเพิ่มขึ้น เกษตรกรไม่ต้องน�ำสินค้าออกไปขายนอกชุมชน มีอาชีพใหม่เพิ่ม ขึ้น เช่น รถน�ำเที่ยว ไกด์ ผู้ผลิตสินค้าที่ระลึก อาชีพนักแสดง มีรายได้เมื่อมีนักท่องเที่ยวเข้ามาพักโฮมสเตย์ ด้านวัฒนธรรม ท�ำให้เกิดการศึกษาข้อมูลทางวัฒนธรรม การแต่งกาย ภาษาพูด และถ่ายทอดภูมิปัญญา ด้านสังคม ท�ำให้เกิดความสามัคคีของ คนในชุมชน มีการรวมตัวกันเป็นจิตอาสาพัฒนาหมู่บ้านทุกๆ วันพระใหญ่ วิธีการด�ำเนินงานการท�ำงานร่วมกับชุมชนเริ่มต้นด้วย
ข้ อ มู ล การติ ด ต่ อ ว่าที่ ร.ต.หญิง พิมพ์วรัตน์ เรืองประชา 206 หมู่ 6 ต.องค์พระ อ.ด่านช้าง จ.สุพรรณบุรี 72180 เรื่อง/ภาพโดย: ทีมงานรักบ้านเกิด
71 issue 131 DECEMBER 2018
คลองปลาร้องไห้
พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงดู แ ลทุ ก ข์ สุ ข ของเหล่ า พสกนิ ก รประชาชนของพระองค์ อ ย่ า งสม�่ ำ เสมอ มามิ ไ ด้ ข าด ได้ เ สด็ จ ฯ เยี่ ย มเยี ย นราษฎรในถิ่ น ทุ ร กั น ดาร จากเหนื อ จรดใต้ ไม่ มี ที่ แ ห่ ง หนใดในประเทศที่ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว พระราชด� ำ เนิ น ไปไม่ ถึ ง 72 IS AM ARE www.fosef.org
บทความพิ เ ศษ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง บุกป่า ลุยน�้ำ เพื่อ เสด็ จ ฯ ไปให้ ถึ ง จุ ด หมาย นั่ น คื อ ถิ่ น ที่ ร าษฎรผู ้ ย ากล� ำ บาก อาศัยอยู่ ด้วยน�้ำพระราชหฤทัยที่เปี่ยมล้นด้วยพระเมตตา และ ความห่วงใยอย่างไม่ทรงเหน็ดเหนื่อย เพื่อดับทุกข์ และสร้างสุข ดังเรื่อง “คลองปลาร้องไห้” ที่จะเล่าต่อไปนี้ นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี ได้เล่าเรื่องนี้เมื่อครั้ง ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด ท�ำหน้าที่รับเสด็จพระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงเสด็ จ ฯ ไปทอดพระเนตรความ ก้ า วหน้ า โครงการพั ฒ นาพื้ น ที่ พ รุ แ ฆแฆอั น เนื่ อ งมาจากพระ ราชด�ำริ จังหวัดปัตตานี เมื่อปี ๒๕๓๖ ว่า ครั้งนั้นมีเหตุการณ์ ที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้นเมื่อมีราษฎรกลุ่มหนึ่งเอาลังโฟมใส่ปลามา วางที่ โ ต๊ ะ คล้ า ยกั บ ว่ า จะน้ อ มเกล้ า ฯ ถวายสิ่ ง ของในลั ง โฟม ขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�ำเนินผ่าน บริเวณดังกล่าว
ร้องไห้ต่อพระพักตร์มีสาเหตุอะไร จึงมีพระราชดด�ำรัสให้เชิญ ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน นายอ�ำเภออประจ�ำพื้นที่เข้ามาสอบถามว่า เกิดอะไรขึ้น สุดท้ายก็ทรงทราบว่า ราษฎรกลุ่มนี้ต้องการมา ทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาความเดือดร้อน แต่ทางราชการถือเป็น ระเบียบว่าไม่อยากให้เป็นการรบกวนเบื้องพระยุคลบาท จึง สั่งชาวบ้านไม่ให้พูดอะไรทั้งสิ้น ให้ทูลเกล้าฯ ถวายรูปภาพได้ “แต่ห้ามพูด” ชาวบ้านก็กลัวไม่กล้าพูดได้แต่ร้องไห้กันอย่างเดียว และได้ใช้วิธีเอาปลาตัวเล็กๆ ที่ตายแล้วแช่น�้ำแข็งใส่ลังโฟม และ ทูลเกล้าฯ ถวายอัลบั้มรูปดังกล่าวแทน เลี้ ย งปลาแล้ ว ยกกระชั ง ขึ้ น ไม่ ทั น ปลาก็ เ ลยตาย หมดเพราะเจอน�้ำเปรี้ยว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ทรง แก้ปัญหาในทันที ทรงให้น�ำแผนที่มาดู แล้วให้นัดผู้เกี่ยวข้อง ทั้งหมดมาประชุมกันในคืนนั้น แม้จะทรงเหน็ดเหนื่อยจากการ ทรงงานแต่ส�ำหรับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวดูจะเป็นเรื่อง เล็กน้อย เมื่อเปรียบเทียบกับความทุกข์ของราษฎร โปรดเกล้าฯ ให้ เจ้ า หน้ า ที่ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งไปประชุ ม ด่ ว นที่ พ ระต� ำ หนั ก ทั ก ษิ ณ ราชนิเวศน์ รุ่งเช้าเครื่องจักรก็เข้าไปในพื้นที่ ขุดคลองระบาย น�้ำเปรี้ยวเสร็จภายใน ๗ วัน ทั้งหมดมาจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ทั้งสิ้นปี นั้นน�้ำเปรี้ยวก็ไหลลงทะเลไปโดยไม่ต้องกลัวว่าจะไหลลงคลอง ที่ชาวบ้านเลี้ยงปลาอีก เวลาพูดถึงคลองนี้ก็เลยเรียก “คลอง ปลาร้องไห้” ซึ่งปีต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จฯ ไปอีกชาวบ้านก็รอรับเสด็จฯ เช่นเคย ทรงเปิดกล่องโฟมทอด
นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี ในที่นั้น ราษฎรคนหนึ่งถูกเพื่อนดันหลังให้เป็นตัวแทน เพราะราษฎรเกือบทั้งหมดตรงนั้นพูดภาษาไทยไม่ค่อยได้ จึง ต้องเลือกคนที่พูดภาษาไทยได้คนหนึ่งขึ้นมายืนข้างหน้า ชายคน นั้นแทนที่จะพูดก็ทูลเกล้าฯ ถวายอัลบั้มรูปเล็กๆ เมื่อพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรับมาทอดพระเนตรพบว่า ในอัลบั้มรูป ดังกล่าวเป็นรูปถ่ายของคลองที่อยู่ในหมู่บ้าน และมีรูปของปลา ในกระชังลอยตายเต็มคลองไปหมด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชด�ำรัสสอบถาม ว่า “ท�ำไมปลาถึงตาย” ชาวบ้านที่เป็นผู้น�ำคนนั้นอายุประมาณ ๔๐ ปี “ไม่พูด” ไม่ตอบอะไรทั้งสิ้น เอาแต่ร้องไห้น�้ำตาไหล พรากๆ แล้วก็ร้องไห้สะอึกสะอื้น ผู้ชาย ๓-๔ คน ที่ยืนข้างหลัง ก็ร้องไห้ตามกัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชประสงค์จะ ทรงทราบว่าการที่ชาวบ้านเดือดร้อนอย่างแสนสาหัสจนต้องมา 73
issue 131 DECEMBER 2018
น�้ำตาไว้ไม่อยู่เหมือนกัน ถ้อยค�ำไม่กี่ค�ำที่พระองค์มีต่อพสกนิกร ในถิ่นต่างๆ ของประเทศไทย อ่านแล้วยิ่งท�ำให้ซาบซึ้งกินใจ นึก เห็นพระพักตร์ทรงแย้มพระสรวลอยู่ในความทรงจ�ำ อย่างเช่น บทสัมภาษณ์ที่เรียบเรียงจากนายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี โดยส�ำนักงาน กปร. ก็เช่นกัน พระองค์ทรงตรัสกับประชาชนว่า “ปีนี้ปลาไม่ร้องไห้แล้วนะ” หมายความว่า ความทุกข์ร้อนของ ประชาชนที่เคยมายืนร้องไห้ต่อหน้าพระพักตร์นั้นเบาบางลงไป แล้ว จากการเอาใจใส่ของพระองค์เอง ขอขอบคุณบทความดีๆ จาก ส�ำนักงาน กปร.ไว้ ณ ที่นี้ด้วยครับ เรียบเรียงจากบทสัมภาษณ์ นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี โดย ส�ำนักงาน กปร.
พระเนตรพบว่า ปลาตัวใหญ่ ขาว สวย ก็ทรงทราบและมีพระ ราชด�ำรัสว่า “ปีนี้ปลาไม่ร้องไห้แล้วนะ” ต�ำนานปลาร้องไห้ก็เป็นเพียงบันทึกประวัติศาสตร์หน้า หนึ่งจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพราะพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชด�ำริให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาร่วม แก้ไขปัญหาดังกล่าวอย่างถาวร และไม่เกิดปัญหาอีกเลย ทุกวันนี้ชาวบ้านใช้ชีวิตอย่างมีความสุขด้วยพระปรีชา สามารถในศาสตร์แห่งน�้ำ และด้วยน�้ำพระราชหฤทัยที่เปี่ยม ล้นด้วยพระเมตตาบารมีอันเป็นที่ส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ของคนไทยทุกคน ยิ่งได้อ่าน ยิ่งได้เห็นเรื่องราวต่างๆ ในอดีตของในหลวง รัชกาลที่ ๙ เรียนตามตรงว่า “คิดถึงครับ” บางครั้งแอบเก็บกลั้น 74
IS AM ARE www.fosef.org
75 issue 131 DECEMBER 2018
โครงการพัฒนาพื้นที่หนองใหญ่ ตามพระราชด�ำริ
ภาคใต้ จังหวัดชุมพร
หลายคนเรี ย กพื้ น ที่ ธ รรมชาติ ก ว้ า งใหญ่ แ ห่ ง ชุ ม พรนี้ ว ่ า “แก้ ม ลิ ง หนองใหญ่ ” ที่ ม าของชื่ อ นี้ ก็ คื อ แนว พระราชด� ำ ริ ข องพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ที่ โ ปรดให้ ส ร้ า งเส้ น ทางเดิ น น�้ ำ เพื่ อ พั ก น�้ ำ ไว้ ใ นแก้ ม ลิ ง ไม่ ใ ห้ เ กิ ด น�้ ำ ท่ ว มใหญ่ อ ย่ า งที่ ชุ ม พรเคยประสบมาโดยตลอด หลั ง จากนั้ น ชาวชุ ม พรก็ ร ่ ว มแรงร่ ว มใจ กั น สานต่ อ พระราชด� ำ ริ เกี่ ย วกั บ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งด้ ว ยการสร้ า งศู น ย์ ค วามรู ้ โ ครงการหนองใหญ่ ขึ้ น เพื่ อ เป็ น แนวทางการใช้ ชี วิ ต เรี ย บง่ า ย ให้ กั บ ชาวบ้ า นและบุ ค คลที่ ส นใจ 76 IS AM ARE www.fosef.org
70 เส้ น ทางตามรอยพระบาท โดย ททท. พื้นที่ในโครงการแบ่งออกเป็น 3 ส่วนด้วยกัน คือ ส่วน ของป่าธรรมชาติ ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของหมู่นกต่างๆ หลากหลาย พันธุ์ ส่วนของการท�ำเกษตร ซึ่งเป็นพื้นที่ประกอบอาชีพจริง มักมีเกษตรกร นักเรียน นักศึกษา มาฟังบรรยายงานอยู่เสมอ และสุดท้ายคือ ส่วนของ เกาะเลข 9 คือ อาคารของหน่วย อนุรักษ์และจัดการต้นน�้ำพะโต๊ะ ในส่วนนี้นับเป็นไฮไลท์ของ การท่องเที่ยว เพราะมีการจัดโฮมสเตย์ที่พักได้จริงอยู่ที่นี่ด้วย นอกเหนือจากสารพันแปลงนาทดลองที่พร้อมเสมอ ใน การให้ความรู้กับบุคคลทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นแปลงสมุนไพรพืชผัก ต่างๆ นาข้าว การท�ำไบโอดีเซล ยังมีการสอนเลี้ยงกบ หมู ไก่ ปลา ให้ชาวบ้านได้มีเทคนิคในการท�ำมาหากินเพิ่มขึ้น ส่วนนัก ท่องเที่ยวก็ได้เก็บเกี่ยวเกร็ดต่างๆ กลับบ้าน “ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชทานทรัพย์ ส่วนพระองค์ เพื่อช่วยในการขุดคลองหัววัง-พนังตักให้เสร็จ ภายใน 1 เดือน ทันต่อพายุไต้ฝุ่นลินดาที่ก�ำลังเข้าฝั่ง ชาวชุมพร จึงรอดพ้นจากอุทกภัยในครั้งนั้น มาจนถึงทุกวันนี้ “
ทริปตัวอย่าง 2 วัน 1 คืน
เส้ น ทางท่ อ งเที่ ย ว จ.ชุ ม พร วันแรก ช่วงบ่าย • เยี่ ย มชมโครงการตามพระราชด� ำ ริ พั ฒ นาพื้ น ที่ หนองใหญ่ เป็นแก้มลิงกักเก็บน�้ำ บรรเทาอุทกภัยท�ำเกษตร และกิจกรรมท่องเที่ยวหลายอย่าง • เดินทางไปหาดทรายรี ที่ตั้งของอนุสรณ์สถานของกรม หลวงชุมพรฯ วันที่สอง ช่วงเช้า • เยี่ยมชมโฮมสเตย์เกาะพิทักษ์ อ.หลังสวน • ท่องเที่ยวแหล่งเกษตรของชุมชนที่สวนนายด�ำ ช่วงบ่าย • เยี่ยมชมพระบรมธาตุสวี • อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพร เดินชมป่าชายเลน ศึกษาธรรมชาติอุทยานแห่งชาติทางทะเล (เขาเจ้าเมือง) ขึ้นจุด ชมวิวเขาโพงพาง 77 issue 131 DECEMBER 2018
ห้ามพลาด
ที่ เ ที่ ย วห้ า มพลาด • เกาะชมนกชมไม้ เน้นปลูกต้นไม้ ที่เป็นอาหารนก • สะพานไม้สู่อ่างเก็บน�้ำ สร้างเป็นทางเดินยาวข้ามน�้ำ ไปท�ำให้เห็นวิวทิวทัศน์ที่งดงามตลอดการเดิน
กิจกรรมห้ามพลาด
• ร่วมฐานคนมีน�้ำยา และคนมีถ่าน สอนวิธีการท�ำน�้ำยา ต่างๆ ในบ้านด้วยสมุนไพรที่มีรอบตัว และการเผาถ่านอย่างถูก วิธี • ชิมไอศกรีมโฮมเมด รสชาติแปลก เช่น ไอศกรีมมะเม่า หรือไอศกรีมมะขาม เปรี้ยวจี๊ดจ๊าดที่ต้องโรยน�ำ้ ตาลพริกเกลือรับ ประทานไปพร้อมๆ กัน
โครงการพัฒนาพื้นที่หนองใหญ่ตามพระราชด�ำริ 1 ต.บางลึก อ.เมือง จ.ชุมพร ศู น ย์ ป ระสานงานโครงการตาม พระราชด� ำ ริ จั ง หวั ด ชุมพร ถ.ไตรรัตน์ ต.นาชะอัง อ.เมือง จ.ชุมพร โทร. 0 7751 1551, 0 7750 3975 เปิดให้เข้าชม : ทุกวัน เวลา 08.00-17.00 น. ฤดูท่องเที่ยว : ตลอดทั้งปี
การเดินทาง
จากตั ว เมื อ งให้ วิ่ ง ออกมาจาก ถนนพิ ศิ ษ ฐ์ พ ยาบาล มุ ่ ง หน้ า ตรงเข้ า สู ่ ถนนทางหลวงหมายเลข 3180 จากนั้ น เลี้ยวซ้ายเข้าสู่ถนน 1007 ขับต่อไป อีกประมาณ 1.5 กม. แล้ว เลี้ ย วขวา ไปทางสวนสาธารณประโยชน์ ห นองใหญ่ ท างช้า ง มุ่งตรงไปโครงการ จะอยู่ด้านหน้า 78
IS AM ARE www.fosef.org
79 issue 131 DECEMBER 2018
กิ จ กรรมรวมพลั ง ครอบครั ว พอเพี ย ง “รดน�้ ำ ต้ น ไม้ ข องพ่ อ ”
วันที่ 5 ธันวาคม 2561 แกนน�ำศูนย์ครอบครัวพอเพียง ได้ท�ำร่วมกับชุมชนในพื้นที่เขตราชเทวีได้จัดท�ำกิจกรรมรวมพลัง ครอบครัวพอเพียง รดน�้ำต้นไม้ของพ่อ ณ ลานกีฬาพัฒน์ 2 เขตราชเทวี 1.โรงเรียนเศรษฐบ�ำเพ็ญ 2.โรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม 3.โรงเรียนเบญจมราชาลัย 4.โรงเรียนทวีธาภิเศก 5.โรงเรียนวัดรา ชาธิวาส 6.โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)2 7.โรงเรียนสตรีอัปสรสวรรค์ 8.โรงเรียรสันติราษฏร์วิทยาลัย 9.โรงเรียนสายน�้ำผึ้ง ในพระอุปถัมภ์ฯ 10.โรงเรียนสตรีวัดระฆัง แกนน�ำศูนย์ครอบครัวพอเพียงระดับอุดมศึกษา ประกอบด้วย 1.มหาวิทยาลัยกรุงเทพ 2.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 3.วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ
โครงการ Do for D. เพราะเรามี พ ่ อ คนเดี ย วกั น
วันที่ 15 ธันวาคม 2561 มูลนิธิได้จัดกิจกรรม Do for D. เพราะเรามีพ่อคนเดียวกัน จัดกิจกรรมสอนหนังสือน้อง ระบาย สี ท�ำความสะอาดลานกีฬา ห้องสมุด และ สร้างความสนุกสนานให้กับน้อง ณ ลานกีฬาพัฒน์ 2 เขตราชเทวี โรงเรียนวัดราชาธิวาส โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค์ โรงเรียนรัตนาธิเบศร์ โรงเรียนเบญจมราชาลัย โรงเรียนดอนเมืองจาตุร จินดา โรงเรียนราชวินิตบางเขน โรงเรียนมัธยมประชานิเวศน์ โรงเรียนทวีธาภิเศก โรงเรียนสตรีสมุทรปราการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)นนทบุรี
80 IS AM ARE www.fosef.org
Round About งานวั น ต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั น สากล “Zero Tolerance คนไทยไม่ ท นต่ อ การทุ จ ริ ต ”
มูลนิธิครอบครัวพอเพียงและศูนย์ครอบครัวพอเพียงทั่วประเทศได้เข้าร่วมงานวันต่อต้านคอร์รัปชันสากล “Zero Tolerance คนไทยไม่ทนต่อการทุจริต” โดยมีจุดประสงค์ให้เยาวชนครอบครัวพอเพียงมีความมุ่งมั่นในการแก้ไขปัญหาการทุจริตอย่าง ต่อเนื่อง รวมถึงปลุกกระแสสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต ในวันศุกร์ที่ 7 ธันวาคม 2561 เวลา 10.00 น. ณ อิมแพ็คเอ็กซิบิชั่น ฮอลล์ 2 ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี
แถลงข่ า วสมโภชพระไตรปิ ฎ กฉบั บ ส� ำ หรั บ ประชาชน
แกนน�ำเยาวชนครอบครัวพอเพียงเเละชมรมศูนย์ครอบครัวพอเพียงระดับอุดมศึกษาร่วมงานแถลงข่าวสมโภชพระไตรปิฎก ฉบับส�ำหรับประชาชน ในวันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๖๑ มูลนิธิพระไตรปิฎกเพื่อประชาชน จัดงานแถลงข่าว “สมโภชพระไตรปิฎก ฉบับส�ำหรับประชาชน ฉบับวาระ ๑๐๐ ปีชาตกาล อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ และบ�ำเพ็ญกุศลแด่ อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ ใน พระสังฆราชูปถัมภ์ ณ อาคาร ๑๐๐ ปี วัดบวรนิเวศวิหาร วันพุธที่ ๒๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๖๑” พร้อมกันนี้ ได้จัดเสวนาใน หัวข้อเรื่อง “สมโภชพระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับประชาชน ฉบับวาระ ๑๐๐ ปีชาตกาล อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ และประวัติของ ท่านอาจารย์สุชีพ ที่เกี่ยวข้องกับพระไตรปิฎก” น�ำโดย มูลนิธิพระไตรปิฎกเพื่อประชาชน นายประเสริฐ เลิศอัศวลักษณ์ และนาย สันติสุข โสภณสิริ, มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ รองศาสตราจารย์ สุเชาวน์ พลอยชุม, มหาวิทยาลัยมหา มกุฏราชวิทยาลัย พระมหาฉัตรชัย สุฉตฺตชโย (คณบดีคณะศึกษาศาสตร์) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร, มูลนิธิหอจดหมายเหตุ พุ ท ธทาส อิ น ทปั ญ โญ นายแพทย์ บั ญ ชา พงษ์พานิช ณ ห้องแถลงข่าวชั้น ๑ กระทรวง วัฒนธรรม ถนนเทียมร่วมมิตร แขวงห้วยขวาง เขตห้ ว ยขวาง กรุ ง เทพมหานคร ประกอบ ไปด้ ว ย ศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพี ย งโรงเรียนวัด ราชาธิวาส ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียน เบญจมราชาลัยในพระบรมราชูประภัมภ์ และ ชมรมศูนย์ครอบครัวพอเพียงระดับอุดมศึกษา ดั ง นี้ มหาวิ ท ยาลั ย นานาชาติ เ เสตมฟอร์ ด มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา มหาวิทยาลัย กรุ ง เทพ มหาวิ ท ยาลั ย หอการค้ า ไทย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 81 issue 131 DECEMBER 2018
82 IS AM ARE www.fosef.org
เว็ปไซต์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดีๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี
www.fosef.org 83
issue 131 DECEMBER 2018
นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง พร้อมเสริพ์ให้ทุกท่านได้อ่านแล้ว!! เพี ย งแค่ ค ลิ ก เข้ า ไปที่ www.fosef.org ท่ า นก็ ส ามารถอ่ า นนิ ต ยสาร IS AM ARE ครอบครั ว พอเพี ย ง ได้ โ ดยไม่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ย เรื่ อ งราว สาระดี ๆ มากมายรอท่ า นอยู ่ หากอ่ า นแล้ ว ถู ก ใจอย่ า ลื ม บอกต่ อ นะครั บ 84 IS AM ARE www.fosef.org