Isamare feb59 web

Page 1

IS AM ARE

อย่าให้ใครว่าไทย

นายอภิ นั น ท์ จั น ทรั ง ษี อธิ บ ดี ก รมประชาสั ม พั น ธ์

ครอบครัวพอเพียง

จั บ มื อ กศน. และสถาบั น การศึ ก ษา

นายสุรพงษ์ จ�ำจด เลขาธิการ กศน.

กศน. กั บ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง

1

issue 97 february 2016

ฉบับที่ 97 กุมภาพันธ์ 2559 www.Fosef.org


เว็ปไซต์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดี ๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช่ จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี

www.fosef.org


“การศึกษาด้านศิลปะวัฒนธรรมเป็นการศึกษาที่ส�ำคัญ และควรจะด�ำเนินควบคู่ กันไปกับการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เพราะความเจริญของบุคคล ตลอดจนถึงความเจริญ ของประเทศและของโลกโดยส่วนรวมด้วยนั้นมีทั้งทางวัตถุและจิตใจ ความเจริญทั้งสอง ทางนี้ จะต้องมีประกอบกัน เกื้อกูลและส่งเสริมกันพร้อมมูล จึงจะเกิดความเจริญที่แท้ จริงได้ ประเทศทั้งหลายจึงต่างพยายามส่งเสริมการศึกษาด้านศิลปะวัฒนธรรมนี้ พร้อม กันไปกับการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพิธีพระราชทานปริญญา บัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๓๕

3 issue 97 february 2016


Editorial

ทักทายกันในเดือนแห่งความรัก ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาในการไปพบปะพูดคุย กับน้อง ๆ นักเรียนระดับมัธยมปลาย , อาชีวศึกษาและอุดมศึกษากว่า ๑๐ ปี ที่ผ่านมาบน ผืนแผ่นดินไทย ไปมาทุกจังหวัดและหัวข้อที่ใช้ในการพูดคุยก็เริ่มต้นที่ “ศรัทธา” แน่นอน ว่าไม่ใช่ไปเป่าหูให้เด็ก เยาวชนมาศรัทธาในตัวเราหรือค�ำพูดของเรา หรือศรัทธาความคิด ของเราหลายท่านคงอยากจะรู้ว่าแล้ว “ศรัทธา” ที่ บก.พยายามจะบอกนั้นคืออะไร “ศรัทธา” ที่ว่านั้นก็คือ “ศรัทธา” ในความดีงาม , “ศรัทธา” ในสิ่งที่เห็นจริง , “ศรัทธา” ในความจริง และ “ศรัทธา”จากก้นบึ้งของจิตใจ ซึ่ง “ศรัทธา”นี้มีพลัง พลัง มหาศาลที่จะเปลี่ยนวิธีคิด เปลี่ยนชีวิตและเปลี่ยนสภาพความเป็นอยู่ได้อย่างเป็นรูปธรรม จับต้องได้จริง ส่วนสาเหตุที่ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้านและไปในทางที่ดีแถม บอกว่าสามารถจับต้องได้จริงนั้นก็เพราะ “ศรัทธา” ท�ำให้เกิด “ปัญญา” “ปัญญา” เป็นเครื่องน�ำทางของทุกสิ่งหรือใครจะเถียงว่า ไม่จริง ลองว่าใคร mookkarsa@gmail.com ก็ตามมี “ปัญญา” รับรองได้เลยว่าไม่มีอด ไม่มีจน ไม่มีเจ็บ(เจ็บใจ เจ็บกาย) และหากมี www.fosef.org “ปัญญา”เสริมด้วยความมุมานะ อุตสาหะหมั่นเพียรเสริมเติมความรู้ในทุกๆ ด้านอยู่เสมอ ความคิดเรื่อง “ความไม่เท่าเทียม” “เหลื่อมล�้ำ” ไม่ปรากฏบนแผ่นดินไทยแน่นอน แต่ก็คงจะเหลือเพียง “เลือกเกิดไม่ได้” เท่านั้น ที่จะท�ำให้คนต่างกันที่ความ “เหนื่อย” เกิดบนกองเงินกองทองก็จะมีความเหนื่อยไปแบบหนึ่ง หากเกิดบนกองดินกองทรายก็จะมี ความเหนื่อยอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งถามว่าหากอยากที่จะเลือกเกิดได้คน คนนั้นในชาติภพนี้ก็ต้องมีความเข้าใจกับค�ำว่า “หิริโอตัปปะ” อย่างถ่องแท้และปฏิบัตอยู่เป็นเนืองนิจ หลังจากเกิด “ปัญญา” กันแล้วสิ่งที่จะตามติดมาโดยไม่ต้องมีใครบอกหรือต้องมีค�ำสั่งจาก ใคร เพราะทุกคนที่เกิด “ศรัทธา” แล้วน�ำมาให้เกิด “ปัญญา” ได้ คนๆ นั้นจะเกิดจิตส�ำนึกของ “จิตอาสา” โดยธรรมชาติ “อาสา” ค�ำสั้นๆ ง่ายๆ แต่ใครก็ตามเมื่อได้ใกล้ ได้รับ ได้ท�ำ คนๆ นั้นจะมี “ความสุข” แล้วทุกวันนี้ที่คนเราเกิดมานั้น เกิดมาแล้วแสวงหาอะไรถ้าไม่ใช่ “ความสุข” “อาสา” อะไรได้บ้าง ถ้าให้เขียนเรื่องนี้คงต้องเขียนเป็นพ๊อกเก็ตบุ๊คล่ะ เพราะยาวมากๆ แต่ถ้าจะจ�ำกัดความก็คงบอก ได้แค่ว่า “ท�ำไปเถอะเท่าที่พอจะมีเวลาที่เหลือใช้ เพื่อผู้อื่นได้รับประโยชน์ รับความสุขจากสิ่งที่เราท�ำ โดยที่เราไม่หวังสิ่ง ตอบแทน” “ศรัทธา” ก่อให้เกิด “ปัญญา” และเป็นจุดเริ่มต้นของ “อาสา” สามค�ำนี้มาจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชฯ และหลักคิดที่ท่านมอบให้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และในวันนี้กับเครือข่ายจิตอาสาที่มากที่สุดบนแผ่นดินไทย “ครอบครัวพอเพียง” ครอบครั ว พอเพี ย ง คื อ รากแก้ ว ของแผ่ น ดิ น

4 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Contributors

มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล พลเอก ดร.ศรุต นาควัชระ ดร.เทอดศักดิ์ เจียมกิจวัฒนา นางสุชานี แสงสุวรรณ นายณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ ดร.วรวุฒิ แสงเฟือง นางสาวเอื้อมพร นาวี นายเอกรัตน์ คงรอด ผศ.ดร.ปรีชาพร สุวัฒโนดม นายอภีม คู่พิทักษ์ นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ นางอรปภา ชาติน�้ำเพ็ชร นางรจนา สินที นายธงชัย วรไพจิตร นายภูริวิทย์ จงนิรักษ์

ประธานกิตติมศักดิ์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและเลขาธิการ กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

นิตยสารครอบครัวพอเพียง ประธานกิตติมศักดิ์ : คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ : พล.อ.จรัล กุลละวณิชย์ ประธานด�ำเนินการ : ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล บรรณาธิการ : กรวิก อุนะพ�ำนัก กองบรรณาธิการ : อภีม คู่พิทักษ์

ศิลปกรรม : ส�ำนักงาน :

โทรศัพท์ : โทรสาร : เว็ปไซต์ :

Let’s

Start

พิชัยยุทธ ชัยไธสง เอกรัตน์ คงรอด นิตยสารครอบครัวพอเพียง 663 ซอยพหลโยธิน35 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 0-2939-5995 0-2939-5996 www.ariyaplus.com www.fosef.org

and Enjoy!

5 issue 97 february 2016


Hot Topic

50

อย่าให้ใครว่าไทย นายอภินันท์ จันทรังษี

อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์

26

70

ครอบครัว พอเพียงจับมือ กศน. และสถาบันการศึกษา

กศน.กับหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง เลขาธิการ กศน.นายสุรพงษ์ จ�ำจด

Don’t miss

10

18 20 14 6 IS AM ARE www.ariyaplus.com

46


Table Of Contents

ฉบับนี้เราได้รับเกียรติจาก ท่านเลขาธิการ กศน.นายสุรพงษ์ จ�ำจด หนึ่งในผู้ที่ ขับเคี่ยวอยู่ในวงการ กศน.มายาวนาน ประสบการณ์ต่างๆ ที่ผ่านมาพร้อมถ่ายทอดสู่ผู้อ่าน โดยตรง โดยเฉพาะการด�ำเนินงานที่ผ่านมาภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ท่าน น�ำมาใช้เป็นหัวใจในการขับเคลื่อน กศน.ให้เข้าถึงประชาชนทุกภาคส่วน เปิดทางเดินให้กับ ผู้ด้อยโอกาสได้รู้จักวิถีพึ่งพาตนเอง โดยใช้การศึกษาน�ำทาง เรื่องราวชีวิตและแนวคิดต่างๆ ของท่านจะเป็นอย่างไรบ้าง เชิญท่านผู้อ่านร่วมค้นคว้าในบทสัมภาษณ์นี้ครับ

7 issue 97 february 2016

ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ไม่กินผักคือไม่รักตัวเอง เด็กก่อนค่าย เด็กหลังค่าย Share Story ตัวไกล...หัวใจอยู่ใกล้ ฝรั่งเริ่มตั้งชื่อหนังสือว่าเศรษฐกิจพอเพียง หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน Dhamma Today ลายแทงแห่งความสุข Question Of Life เพื่อเด็ก-เพื่ออนาคต Cartoon Cover Story กศน. กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นายสุรพงษ์ จ�ำจด เลขาธิการ กศน. Is Am Are ต�ำบลจันดุม จังหวัดบุรีรัมย์ เรื่องราวรอบตัว อาจารย์ป๋วย บุคคลผู้ถึงด้วย ความจริง ความงาม ความดี Let’s Talk อย่าให้ใครว่าไทย นายอภินันท์ จันทรังษี อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ ระหว่างทาง ผีกับพระเจ้า เรื่องราวดี ๆ หลวงพ่อสุมโน พระฝรั่งศิษย์หลวงพ่อชา มูลนิธิชัยพัฒนา เกร็ดประวัติน�้ำมันเมล็ดชา Wheel Of Life ครอบครัวพอเพียงจับมือ กศน. และสถาบันการศึกษา Round About

8 10 12 14 17 18 20 22 26 36 46

50 56 58 64 70 74 80


ไม่กินผัก คือ ไม่รักตัวเอง

“ไม่ เ อา...หนู ไ ม่ อ ยากทานผั ก ” น้ อ งบี ส าวน้ อ ยวั ย 10 ขวบ งอแงกับคุณแม่ที่ยกก๋วยเตี๋ยวชามย่อยมาวางตรงหน้า... “เล็กแห้ง ไม่งอกไม่ใส่ผัก” คือเมนูสั่งอาหารที่เราได้ยิน โต๊ะข้างๆ สั่งอยู่บ่อยๆ จนเคยชิน... “เอาผักไปหน่อย” น้อยหน่าสาวมหาวิทยาลัยชื่อดัง ตักผักในจานยกประเคนให้เพื่อนนิสิตชายที่นั่งอยู่ข้างๆ ...ปรากฏการณ์ที่คนไทยรุ่นใหม่ โดยเฉพาะเยาวชน, เด็ ก ๆ ไม่ ค ่ อ ยชอบกิ น ผั ก นี่ ถื อ เป็ น ปรากฏการณ์ แ นวโน้ ม ที่ นั บ วั น จะทวี ค วามรุ น แรงมากขึ้ น เรื่ อ ยๆ จนนั ก โภชนาการ หลายคน หลายสถาบั น ออกมากล่ า วเตื อ นในเรื่ อ งนี้ และ มี บ างท่ า นถึ ง กั บ เสนอว่ า เรื่ อ งนี้ ค วรถื อ เป็ น ประเด็ น ใหญ่ ที่

น่าจะเป็น “วาระแห่งชาติ” ด้วยซ�้ำไป จากการส� ำ รวจของบริ ษั ท ยู นิ ลิ เวอร์ พบว่ า ปั จ จุ บั น คนไทยกินผักแค่ 186 กรัม/วัน ขณะที่มาตรฐานสากลที่องค์การ อนามัยโลกก�ำหนดไว้คือ 400 กรัม/วัน เท่ากับว่าเรากินผักแค่ 45% ของที่ควรจะเป็นในแต่ละวัน ข้อมูลที่ส�ำรวจโดยสถาบันโภชนาการ พบว่านับตั้งแต่ ปี 2544 เป็นต้นมา เด็กไทยมีอัตราการบริโภคผักและผลไม้ ลดน้อยลงเรื่อยๆ การส�ำรวจสุขภาพคนไทยครั้งล่าสุด (ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551-2552) พบว่าเราบริโภคผักผลไม้เพียง 3 หน่วย บริโภคเท่านั้น มาตรฐานต้องไม่ต�่ำกว่า 5 หน่วยบริโภค

8 IS AM ARE www.ariyaplus.com


นพ. วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ รองเลขาธิการส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

ข้อมูลของกรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุ ข ส�ำรวจพบว่า เด็ก ไทยกิน ผั ก ไม่ ถึ ง 2 ช้ อ นโต๊ ะ ต่ อ วั น ในขณะที่ มาตรฐานต้องไม่ต�่ำกว่า 4 ช้อนโต๊ะ ผัก และผลไม้เกือบทุกชนิด อุดม ด้วยสารอาหารนานาชนิดนับตั้งแต่ Fiber, วิตามิน เกลือแร่ และสารอาหาร ต้านอนุมูลอิสระชนิดต่างๆ เช่น Vitamin A และ Vitamin C จะมีมากในผักและ ผลไม้บางชนิด เช่น ส้ม, มะเขือเทศ ส่วน ในเนื้อสัตว์จะมีน้อยมาก B-Carotene จะมีมากในผักที่มีสีเหลือง เช่น แครอท, ฝักทอง, มะละกอ นอกจากกิ น ผั ก น้ อ ยลงแล้ ว คนไทยยั ง หั น ไปรั บ ประทานเนื้ อ , แป้ ง และพืชที่เป็นหัวมากขึ้น เช่น มันฝรั่ง หรือ แม้กระทั่งอาหารจ�ำพวก Fast Food ทั้ง หลายซึ่งคนในสังคมเมืองนิยม ผลก็คือ ท� ำ ให้ ไ ด้ รั บ สารอาหารไม่ ค รบถ้ ว นทั้ ง 5 หมู่ และได้รับอาหารบางหมู่มากเกินไป ท�ำให้เกิดโรคอ้วนตามมา เด็กนักเรียน ประถมในเมืองพบว่ามีอัตราการเป็นโรค อ้วนมากถึง 20% นอกจากนี้ จากการวิจัยในระยะ หลังๆ นี้ เราพบว่าคนที่มีประวัติชอบทาน แต่แป้งและเนื้อสัตว์เป็นหลัก ไม่ค่อยกิน ผัก จะพบโรคต่อไปนี้สูงกว่าปกติ 1. โรคอ้วน เบาหวาน ความดัน โลหิตสูง หรือโรคหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยง 2. มะเร็ ง ในทางเดิ น อาหาร โดยเฉพาะมะเร็งในล�ำไส้ ซึ่งขณะนี้พบ สูงมาก จนขึ้นมาเป็นอันดับ 3 ของมะเร็ง ในคนไทย รองจากมะเร็งปอด และเต้านม คนกรุงเทพเป็นกลุ่มที่อุบัติการณ์การป่วย ของมะเร็งชนิดนี้สูงที่สุด 3. การขาดสารอาหารบางอย่าง ได้อาหารไม่ครบ 5 หมู่ 4. ภูมิต้านทานของร่างกายไม่ดี

ป่วยเป็นหวัด และโรคภูมิแพ้ต่างๆง่าย กว่าคนธรรมดาทั่วไป 5. ภาวะได้รับฮอร์โมนและสาร คล้ า ยฮอร์ โ มนจากเนื้ อ สั ต ว์ ท� ำ ให้ เ ด็ ก ผู้หญิงเป็นสาวเร็วขึ้น และพบโรคเยื่อบุ รังไข่อยู่ผิดที่ (Endometriosis) ในคน อายุน้อยๆ มากขึ้น เรื่ อ งไม่ ช อบกิ น ผั ก ในเด็ ก นี่ บางคนติ ด ตั ว ไปจนถึ ง ผู ้ ใ หญ่ แต่ ห ลาย คนก็ เ ปลี่ ย นไปตามกาลเวลา สมั ย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรม ราชกุ ม ารี ยั ง ทรงพระเยาว์ พระองค์ ท่ า นก็ ไ ม่ ช อบเสวยผั ก คะน้ า มี ผู ้ รู ้ เ ล่ า ให้ ฟ ั ง ว่ า สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชินีนาถ ต้องใช้วิธีหว่านล้อม และอุบายหลายอย่างจนเปลี่ยนพระทัย ในเวลาต่อมา สมัยผมเป็นเด็ก ไม่ชอบทานหอม หัวใหญ่ มะเขือเทศและมะเขือยาว เพราะ รู ้ สึ ก ว่ า รสชาติ เ ฝื ่ อ น ขมและไม่ อ ร่ อ ย แต่ ม าถึ ง ทุ ก วั น นี้ ค วามรู ้ สึ ก กลั บ กลาย เป็นตรงข้าม นั่นเป็นเพราะเรามีความรู้ ทัศ นคติ และค่ า นิ ย มที่ เ ปลี่ ย นแปลงได้ ตลอดเวลา นั ก โ ภ ช น า ก า ร ไ ด ้ ส รุ ป ข ้ อ ประโยชน์ 5 ประการของการนิ ย ม บริโภคคผัก และผลไม้ไว้ดังต่อไปนี้ 1. ช่ ว ยในการขั บ ถ่ า ยของเสี ย และการช่ ว ยเพิ่ ม กากอาหารในล� ำ ไส้ ท�ำให้ท้องไม่ผูก ถ่ายสะดวก 2. เลือดลมผิวพรรณสดใส มีการ เสื่อมของเซลล์ผิวหนังช้าลง 3. อวั ย วะต่ า งๆท� ำ งานได้ เ ป็ น ปกติ ส มบู ร ณ์ เพราะได้ เ กลื อ แร่ แ ละ วิตามินครบถ้วน 4. สารอาหารหลายชนิดในพืชผัก ช่วยดูดซึมและต่อต้านสารพิษต่างๆ เช่น แอมโมเนีย, ยาฆ่าแมลง, สารเคมีที่เป็น 9 issue 97 february 2016

www.nhso.go.th

ตัวก่อมะเร็ง เพราะมีสาร “พฤกษเคมี” เช่น โพลีฟีนอล, ไซยานิดิน, แคโรตินอยด์ เป็นตัวช่วย 5. ภูมิต้านทานร่างกายดีขึ้น เด็ ก ไม่ กิ น ผั ก เป็ น พฤติ ก รรม ด้านลบที่พ่อแม่ผู้ปกครองควรให้ความ ส�ำคัญ และใส่ใจเป็นพิเศษ ค�ำแนะน�ำ ที่ดีในเรื่องนี้คือ 1. พ่อแม่ต้องใส่ใจ อย่าปล่อย ให้คนเลี้ยง, คุณย่า, คุณยาย ท�ำอาหาร ง่ายๆ เลี้ยงลูก 2. ต้องพิถีพิถันเรื่องอาหารเด็ก โดยเฉพาะการปรุงแต่งเมนูผักและผลไม้ ให้ลูกกิน 3. การกิ น อาหารร่ ว มกั น อย่ า ง น้อยวันละ 1 มื้อ จะช่วยเกื้ลกูลให้มีการ ปรับทัศนคติของเด็กในการกินอาหารที่ สมบูรณ์ขึ้น ....ครั้งหน้า เวลาท�ำไข่ตุ๋น แทนที่ จะเป็ น ไข่ เ ฉยๆ ก็ เ ติ ม ฝั ก ทอง แครอท หั่ น เป็ น ลู ก เต๋ า เล็ ก ๆ หรื อ ใส่ ใ บต� ำ ลึ ง สัก 2-3 ใบ ก็จะท�ำให้เด็กยอมบริโภค ผักมากขึ้น หรืออย่างผักบางชนิด เช่น ผักบุ้ง ต�ำลึง หอมใหญ่หั่นบางๆ ถ้าเอา มาชุบแป้งทอดจิ้มกับน�้ำจิ้มก็ให้รสชาติ ไม่เลวทีเดียว . . . . ห า ก รั ก ตั ว เ อ ง รั ก อนาคต รั ก สุ ข ภาพ มาฝึ ก กิ น ผั ก ให้ เ ป็ น “สุ ข นิ สั ย ” กั น เถอะ ครั บ ...

บริการข้อมูล ให้ค�ำปรึกษาการใช้ สิทธิหลักประกันสุขภาพ ตรวจสอบสิทธิการรักษาพยาบาล รับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ ประสานงานส่งต่อผู้ป่วยเพื่อเข้ารับการรักษา


เรื่อง : ป้ามุก

เรื่ อ ง

ราวของเด็ ก ก่ อ น...ค่ า ย เด็ ก หลั ง ...ค่ า ย ฉบั บ นี้ ผู ้ เ ขี ย น เขี ย นพร้ อ มกั บ ขอแสดงความ ยิ น ดี จ ากความส� ำ เร็ จ ที่ น ้ อ งได้ รั บ ใครจะรู ้ ว ่ า เด็ ก ผู ้ ช ายตั ว เล็ ก ๆ ผอมแห้ ง และมั ก จะวิ่ ง ตามพวกเราในค่ า ยบ่ อ ยๆ คนนี้ จ ะสามารถสอบติ ด ในคณะที่ น ้ อ งหวั ง และเป็ น ความหวั ง ที่ สู ง ซึ่ ง ถ้ า ไม่ เ ก่ ง ในด้ า นวิ ช าการจริ ง ๆ เราว่ า น้ อ งก็ ไ ม่ น ่ า ที่ จ ะสอบติ ด ได้ เ ลย คณะที่ น ้ อ งสอบติ ด คื อ คณะ แพทย์ ศ าสตร์ สาขาปฏิ บั ติ ก ารฉุ ก เฉิ น การแพทย์ มหาวิ ท ยาลั ย พะเยา เรื่ อ งราวของเด็ ก ค่ า ยคนนี้ น ่ า สนใจ เป็ น อย่ า งยิ่ ง และอี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น ข้ อ คิ ด ดี ๆ ให้ ผู ้ ป กครองได้ น� ำ กลั บ มาคิ ด กั น ใหม่ ด ้ ว ยอี ก ทาง นายธรารัตน์ โพธิ์เสต มีชื่อเล่นว่า ริท คือเยาวชนไทยที่มีน�้ำใจงาม จนถึง วันนี้เป็นปีที่ ๓ แล้วซินะที่เราได้รู้จักกับน้องริท ริท เป็นเด็กร่าเริง สนใจเรื่องกิจกรรมเป็นส่วนใหญ่ ริทชอบท�ำกิจกรรมเป็น ชีวิตจิตใจ เรียกว่า หากมีกิจกรรมจากที่ไหนมาหรือถ้าเขาสามารถไปร่วมกิจกรรม อะไรกับใคร ที่ไหน และไม่ตรงกับวันเรียนน้องจะสมัครไปทันที ริท ได้สมัครมาเป็นแกนน�ำจิตอาสากับครอบครัวพอเพียง ตั้งแต่ ชั้นมัธยม ๔ และเมื่อเราจัดค่ายไม่ว่าจะเป็นค่ายเช้าไปเย็นกลับ หรือค่ายพักแรม ๒ วัน ๑ คืน หรือ ๓ วัน ๒ คืน พวกเราจะพบน้องริทมาร่วมค่ายอยู่เสมอ ริท เล่าให้ฟังว่าที่บ้านไม่ได้ร�่ำรวยอะไร พ่อ-แม่ ท�ำงานหนักมาก แต่ท่าน ทั้งสองจะพูดกับริทเสมอว่าให้ตั้งใจเรียน และไม่เคยปิดกั้นการท�ำกิจกรรมใดๆ เลยที่ริทสมัครเข้าไปท�ำ 10 IS AM ARE www.ariyaplus.com


เด็ ก ..ก่ อ นค่ า ย เด็ ก ..หลั ง ค่ า ย แม่ จะบอกริทเสมอว่า จะท�ำอะไรต้องมีความตั้งใจที่จะท�ำ และท�ำให้ดี ส่วนจะส�ำเร็จหรือไม่นั้น เป็นอีกเรื่องหนึ่ง แม่ จะไม่เคยห้ามริทเลยเวลาที่มาค่าย แม่จะบอกเสมอว่า ให้ ดูแลตนเองให้ดี อย่าท�ำให้ตนเองเป็นปัญหาให้คนอื่นต้อง เดือดร้อน แม่ จะไม่เคยห้ามในการร่วมกิจกรรมของโรงเรียนและยังส่งเสริมสิ่งต่างๆ เพื่อให้ริทได้มีพื้นที่ในการแสดงออก ทุกเวที “วันนี้ผมท�ำความฝันของผมส�ำเร็จแล้ว คงเหลือเวลาอีกไม่นานเมื่อผมจบการศึกษา มีรายได้ ผมจะได้เลี้ยงดู พ่อ-แม่ ได้แล้ว” ริทบอกกับเราพร้อมน�้ำตา “ผมจะได้ดูแลประชาชนที่เจ็บป่วย ผมชอบที่จะดูแลคนที่อ่อนแอกว่าอยู่แล้ว ผมจะตั้งใจเรียน เรียนรู้ให้ช�ำนาญและ เชี่ยวชาญเพื่อจะได้ท�ำงานในอาชีพแบบไม่ผิดพลาด” ค�ำพูดของคุณหมอ แผนกฉุกเฉินซึ่งมีความส�ำคัญต่อชีวิตเป็นที่สุด ความจริงที่ปรากฏอยู่ตรงหน้า เด็กค่าย เด็กกิจกรรม กับความส�ำเร็จที่เขาตั้งใจ การที่เด็กคนหนึ่งสามารถแบ่งแยกเวลาเรียน เวลากิจกรรม เวลาค่ายได้อย่างชัดเจนท�ำให้เขามีจิตใจที่สมบูรณ์ มีความพร้อม ในทุกๆ เรื่องและกล้าที่จะเผชิญต่อทุกสิ่งที่ก�ำลังจะเกิดขึ้นด้วยจิตใจที่เข้มแข็ง “ค่ายสร้างคน เด็กค่ายสร้างชาติ” ข้อความนี้ไม่ใช่ว่าเราพึ่งจะหันมามอง แต่เรามองมานานแล้ว เพราะเรารู้คุณค่าของ “เด็กค่าย” เป็นอย่างดี แต่ก็ยังมีอีกหลายบ้าน หลายครอบครัวที่ยังคงเก็บลูกๆ ไว้ดั่ง “ไข่ในหิน” เราคงไม่ก้าวข้ามหรือล่วงเกินความคิดนั้น แต่เราก็ คงจะบอกได้เพียงว่า “พ่อ-แม่ หรือลูก ใครจะจากโลกนี้ไปก่อนกัน” และอีกประโยคที่คนไทยคุ้นชินคือ “พ่อ-แม่ รังแกฉัน” อย่ารอวันนั้นนะค่ะ วันที่พวกลูกๆ เขาน�ำโกศที่บรรจุอัฐิ ของพ่อ-แม่ มาเขย่าแล้วบอกว่า “ท�ำไมต้องรังแกลูก ท�ำไมไม่สอน หรือเปิดโอกาสให้เขาได้เรียนรู้สิ่งต่างๆ ด้วยตัวเขาเอง” เพราะถ้าถึงเหตุการณ์นั้นจริงทุกอย่างคงสายไปแล้วส�ำหรับชีวิต.

11 issue 97 february 2016


กาลครั้ ง หนึ่ ง มี ข อทานคนหนึ่ ง ออกขอทานทุ ก วั น เขาอยากจะมี ชี วิ ต เหมื อ นคนปกติ เพราะฉะนั้ น เขาจึ ง มั ก จะขอทานเสบี ย งกรั ง และตุ น ไว้ แต่ ว ่ า เขากั ก ตุ น เสบี ย งมาหลายปี ยุ ้ ง ฉางของเขาก็ มี เ พี ย งข้ า วสารนิ ด หน่ อ ย เขาไม่ เ ข้ า ใจว่ า ท� ำ ไมเป็ น เช่ น นั้ น เขาจึ ง ตั ด สิ น ใจค้ น หาสาเหตุ เข้า เลยถามขอทานว่า มืดอย่างนี้แล้วท�ำไมยังเดินทางอยู่อีก ขอทานจึงเล่าชะตาชีวิตให้เศรษฐีฟัง บอกว่าจะไปถามเหตุผลกับพระพุทธองค์ เศรษฐีได้ยิน ดังนั้น รีบเชิญขอทานเข้าไปนั่งในบ้าน ให้เสบียงกรังและเงินกับ เขาจ�ำนวนหนึ่ง ขอทานถามว่าท�ำไมท�ำเช่นนั้น เศรษฐีจึงเล่า เหตุผลให้ฟังว่า ลูกสาวข้าอายุ 16 แล้ว ยังพูดไม่ได้ ขอร้องให้ เจ้าช่วยถามเหตุผลกับพระพุทธองค์ด้วย เศรษฐีเคยสาบานว่าใครก็ตามที่ท�ำให้ลูกสาวพูดได้ เขา ก็จะให้ลูกสาวแต่งงานกับคนนั้น ขอทานได้ฟังเช่นนั้น คิดว่า ไหนๆ ก็จะไปหาพระพุทธองค์อยู่แล้ว เราก็ถือโอกาสช่วยถาม ให้เขาก็ได้ ขอทานจึงรับปากจะถามให้ ขอทานเดิ น ทางต่ อ ไปผ่ า นภู เขาลู ก แล้ ว ลู ก เล่ า เดิ น ถึ ง เขาลู ก หนึ่ ง เห็ น วั ด แห่ ง หนึ่ ง ตั้ ง อยู ่ ก็ เ ลยเข้ า ไปขอน�้ ำ ดื่ม เห็นพระแก่รูปหนึ่งถือไม้เท้าดีบุก ท่าทางแก่มาก แต่ดู

คืนวันหนึ่ง เขาแอบอยู่มุมหนึ่งของบ้านและจ้องไปที่ เสบียง ในที่สุด เขาเห็นหนูตัวใหญ่มาขโมยกินเสบียงของเขา เขา โกรธมาก ตะโกนไปที่เจ้าหนูว่า “บ้านคนรวยมีอาหารเยอะแยะ แกท�ำไมไม่ไปกินท�ำไมเจาะจงมากินอาหารข้าที่กักตุนมาด้วย ความล�ำบาก” เจ้าหนูพูดขึ้นว่า “ชะตาของเจ้ามีข้าวสารได้แค่ 8 ส่วน เดินให้ทั่วหล้า ก็ไม่สามารถมีข้าวได้ครบถัง” ขอทาน ถามเจ้าหนู “ท�ำไมเป็นเช่นนั้น” เจ้าหนูตอบว่า “ข้าก็ไม่รู้ เจ้า ไปถามพระพุทธองค์สิ ขอทานจึงตัดสินใจ เดินทางไปทางทิศตะวันตกเพื่อถาม พระพุทธองค์ ว่าเหตุผลอันใดถึงมีชะตาชีวิตเช่นนี้ เจ้าขอทานก็ออกเดินทาง เขาขอทานระหว่างทาง เดิน ทางไปไกลมาก วันหนึ่ง เขาเดินจนฟ้ามืดถึงจะพบบ้านคนหลัง หนึ่ง รีบไปเคาะประตู มีพ่อบ้านเดินออกมาถามว่ามีเรื่องอะไร เขาบอกขอข้าวกินหน่อย พอดีเศรษฐีเจ้าของบ้านออกมาเห็น 12

IS AM ARE www.ariyaplus.com


Share Story ค�ำถามที่2 ท่านตอบว่า พระชราถือไม้เท้าวิเศษทั้งวัน ในใจพะวงแต่ไม้เท้าว่าเป็นของวิเศษ ใช้ไม้เท้าเคาะบนพื้น 1 ที บนพื้นก็จะกลายเป็นธารน�้ำใส ถ้าหากพระชรายอมโยนไม้เท้า ทิ้ง เขาก็จะขึ้นสวรรค์ได้แล้ว ขอทานดีใจมาก จึงถามค�ำถามที่ 3 ท่านตอบว่า ถ้าเด็ก สาวได้พบคนที่เธอรัก เธอก็จะพูดได้เอง และทันใดนั้นพระพุทธ องค์ก็หายไป? ขอทานรู้สึกว่า ปัญหาของตัวเองไม่มีอะไรส�ำคัญ กลับ ไปขอทานตามเดิมดีกว่า แล้วจึงรีบเดินทางกลับ ขอทานกลับมา ถึงริมแม่น�้ำ เต่าแก่ค�ำนวนว่าขอทานน่าจะมาถึงแล้ว จึงรีบถาม ว่าพระพุทธองค์ตรัสว่ายังไง ขอทานพูดว่า เจ้าพาข้าข้ามแม่น�้ำ ไปก่อน ข้าจะเล่าให้ฟัง เต่าพาขอทานข้ามแม่น�้ำไป ขอทาน เล่าสาเหตุให้ฟัง เต่าฟังแล้วเข้าใจทันที จึงถอดกระดองออกยก ให้ขอทานและพูดว่า ในนี้มีไข่มุกราตรี 24 เม็ด เป็นของที่หา ค่ามิได้ ส�ำหรับข้าไม่มีประโยชน์แล้ว ข้าขอยกให้เจ้า เต่าแก่จึง กลายเป็นมังกร บินหายไป ขอทานเอาไข่มุกราตรี24เม็ด รีบเดินทางกลับมาถึงบน เขาพบกับพระชรา พระชรารีบถามว่าพระพุทธองค์ท่านตรัส ว่าอย่างไร ขอทานเล่าสาเหตุให้ฟัง พระชราได้ฟังดีใจมาก จึง มอบไม้เท้าวิเศษให้แก่ขอทาน พระชราจึงขี่เมฆบินขึ้นท้องฟ้า หายไป ขอทานเดินทางมาถึงหน้าบ้านเศรษฐี ทันใดนั้น มีหญิง สาววิ่งออกมาและตะโกนเสียงดังว่า คนที่ไปถามพระพุทธองค์ กลับมาแล้ว เศรษฐีก็วิ่งออกมา เขาตกใจมากที่อยู่ๆลูกสาวเขา พูดได้ ขอทานถ่ายทอดค�ำตรัสพระพุทธองค์ เศรษฐีดีใจมาก จึง ให้ลูกสาวแต่งงานกับขอทาน ความรักที่ให้ออกไป ความรักก็จะย้อนกลับคืนมา ความสุขที่ให้ออกไป ความสุขก็จะย้อนกลับคืนมา คิดเผื่อคนอื่น ย่อมจะต้องมีคนคิดถึงคุณ นี่คือเหตุและผล นี่คือกฏเกณฑ์ เมื่อท่านอ่านบทความนี้จบ ท่านมี2ทางเลือก 1. ท่านเผยแพร่ออกไปเต็มความสามารถ ท�ำให้โลกนี้ มีความรักเพิ่มขึ้น 2. ท่านสามารถไม่สนใจ เสมือนหนึ่งท่านไม่เคยเห็น มันเลย การแบ่งปันเล็กๆของท่าน อาจสามารถส่องสว่างให้ แก่ชีวิตคนมากมาย คนมีความฝันจึงท�ำให้ยิ่งใหญ่ การกระ ท�ำยิ่งท�ำให้ประสบความส�ำเร็จ การเรียนรู้ของท่านท�ำให้ท่าน เปลี่ยนแปลง

กระฉับกระเฉง พระชราให้น�้ำเขาดื่มและบอกให้เขาพักผ่อน สักครู่ แล้วถามเขาว่าจะไปไหน ขอทานบอกจุดหมายที่จะไป พระชรารีบจับมือขอทานไว้และพูดว่า ขอร้องเจ้าต้องช่วยถาม พระพุทธองค์ให้หน่อย ข้าเข้าฌานฝึกฝนมา 500 กว่าปีแล้ว ตามหลักควรจะขึ้นสวรรค์แล้ว ท�ำไมยังบินขึ้นไปไม่ได้ ขอทาน ก็เลยรับปากพระชรา เดิ น ไปข้ า งหน้ า ผ่ า นหนทางทั้ ง ห้ ว ยหนองคลองบึ ง ขอทานมาถึงริมแม่น�้ำสายหนึ่ง ในแม่น�้ำไม่มีเรือสักล�ำ ขอทาน ร้อนรนใจ จะท�ำอย่างไรดี จะข้ามไปยังไง ขอทานร้องไห้และพูด ว่า หรือว่าชีวิตข้าจะต้องล�ำบากเช่นนี้หรือ ทันใดนั้น เต่ายักษ์แก่ ตัวหนึ่งโผล่ขึ้นเหนือน�้ำ เต่าแก่พูดภาษาคนได้ ถามขอทานว่ามา ร้องไห้ที่นี่ท�ำไม ขอทานเล่าเรื่องทั้งหมดให้ฟัง เต่าแก่พูดกับเขา ว่า ข้าได้เข้าฌานปฏิบัติตนมา 1000 ปีแล้ว ตามหลักน่าจะกลาย เป็นมังกรบินไปแล้ว ท�ำไมยังเป็นแค่เต่าแก่ๆตัวหนึ่ง ถ้าเจ้าไป พบพระพุทธองค์ช่วยถามให้ข้าด้วย ข้าจะให้เจ้าขี่ข้ามแม่น�้ำไป ฝั่งตรงข้าม ขอทานรับปากด้วยความดีใจ ขอทานเดินไปจ�ำไม่ได้ว่าอีกกี่วัน แต่ก็หาพระพุทธองค์ ไม่เจอ คิดในใจว่าพระพุทธองค์อยู่ไหนนะ แดนสุขาวดีน่าจะถึง แล้ว ขอทานเสียใจมาก เลยผลอยหลับไปแบบงุนงง ทันใดนั้นพระพุทธองค์ปรากฏองค์ขึ้น ขอทานดีใจมาก พระพุทธองค์ถามขอทานว่า เจ้ามาไกลขนาดนี้ น่าจะมีค�ำถาม อะไรที่ส�ำคัญมากใช่ไหม ใช่เจ้าค่ะ ข้าน้อยจะถามค�ำถามหลาย ค�ำถาม หวังว่าท่านจะอธิบายให้ข้าน้อยเข้าใจได้ พระพุทธองค์ ตอบว่า ได้สิ แต่มีเงื่อนไขหนึ่งนะเจ้าถามได้สูงสุดแค่ 3 ค�ำถาม เท่านั้น เพราะว่าไม่เคยมีใครถามเกิน 3 ค�ำถามมาก่อน ขอทาน ตอบตกลง คิดในใจว่า ข้าจะถามค�ำถามไหนดีขอทานรู้สึกว่า ค�ำถามของตนเองช่างไม่มีความส�ำคัญเลย เต่าแก่เข้าฌานมา1000ปีแล้ว ไม่ใช่เรื่องง่าย ค�ำถามเขา น่าจะลองถามดู พระชราปฏิบัติมา500ปี ก็ล�ำบากมาก ค�ำถามเขาก็น่า จะถามดู ลูกสาวเศรษฐีช่างน่าสงสารนัก พูดไม่ได้แล้วจะแต่งงาน ได้ยังไง ค�ำถามของเขาก็น่าจะถามดู และแล้วขอทานจึงไม่ลังเล ที่จะถามค�ำถามที่1 พระพุทธองค์ตอบเขาว่า เต่าแก่ไม่ยอมสละกระดอง ของมัน ก็เลยไม่สามารถกลายเป็นมังกรได้ ในกระดองของเต่า มีไข่มุกราตรีอยู่ 24 เม็ด ถ้ามันยอมสละกระดอง มันก็จะกลาย เป็นมังกรได้ 13

issue 97 february 2016


เรื่อง : สไว บุญมา

ฝรั่งเริ่มตั้งชื่อหนังสือว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” เศรษฐกิ จ โลกตกอยู ่ ใ นภาวะซบเซามาตั้ ง แต่ เ กิ ด วิ ก ฤติ ค รั้ ง ใหญ่ ใ นปี 2551 หลายประเทศยั ง แก้ วิ ก ฤติ ไม่ ไ ด้ จี น ซึ่ ง ครั้ ง หนึ่ ง เศรษฐกิ จ ขยายตั ว ในอั ต ราสู ง มากยั ง มี ป ั ญ หา ส่ ว นสหรั ฐ อเมริ ก าซึ่ ง เป็ น หนึ่ ง ในหลาย ด้ า นรวมทั้ ง การมี ผู ้ เ ชี่ ย วชาญทางด้ า นระบบตลาดเสรี ยั ง ตกอยู ่ ใ นภาวะงุ น งง ทั้ ง นี้ เ พราะมาตรการที่ เ คยใช้ มานานกลั บ ใช้ ไ ม่ ไ ด้ ผ ล ท่ า มกลางสภาพความงุ น งงนี้ มี นั ก เศรษฐศาสตร์ ชั้ น น� ำ ออกมาเสนอข้ อ คิ ด และพิ ม พ์ หนั ง สื อ ออกมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ขอยก 3 เรื่ อ งมาเล่ า คร่ า ว ๆ เรื่องแรกชื่อ Freefall: America, Free Markets, and the Sinking of the World Economy เขียนโดยนัก เศรษฐศาสตร์ชาวอเมริกันที่ได้รับรางวัลโนเบล โจเซฟ สติกลิตซ์ (Joseph Stiglitz) หนังสือเล่มนี้พิมพ์ออกมาเมื่อปี 2553 ใน หนังสือ ผู้เขียนมองว่า ต้นตอของปัญหาที่สหรัฐอเมริกาและ เศรษฐกิ จ ในระบบตลาดเสรี ก� ำ ลั ง เผชิ ญ อยู ่ ไ ม่ ไ ด้ ม าจากทาง ด้านเศรษฐกิจมากนัก หากมาจากทางด้านสังคมซึ่งได้แก่ความ เสื่อมทรามทางศีลธรรมจรรยา เขาเรียกต้นตอนั้นว่า “การขาด ดุลทางศีลธรรมจรรยา” (Moral Deficit) ค�ำนี้มีที่มาจากภาษา เศรษฐกิจซึ่งใช้ค�ำว่า “ขาดดุล” (Deficit) ในหลากหลายบริบท เช่น “การขาดดุลงบประมาณ” (Budget Deficit) “การขาดดุล

บัญชีเดินสะพัด” (Current Account Deficit) เป็นต้น โจเซฟ สติกลิตซ์ ไม่ได้เสนอว่าจะแก้ปัญหากันอย่างไร มากนั ก นอกจากการใช้ ม าตรการทางเศรษฐกิ จ ตามแนวคิ ด ระบบตลาดเสรี ทั้งนี้คงเพราะเขามิได้เป็นนักสังคมวิทยาหาก เป็นนักเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก และคงเพราะเหตุนี้ แทนที่ จะเขียนหนังสือเล่มต่อมาเกี่ยวกับทางด้านการแก้ปัญหาความ เสื่อมทรามทางศีลธรรมจรรยา เขาจึงเขียนเรื่องความเหลื่อม ล�้ำชื่อ The Price of Inequality: How Today’s Divided Society Endangers Our Future ซึ่งพิมพ์ออกมาเมื่อปี 2556 หนังสือเล่มนี้ชี้ให้เห็นว่า ความเหลื่อมล�้ำก�ำลังเพิ่มขึ้น หากยัง เพิ่มต่อไป มันจะท�ำให้สังคมแตกแยกจนส่งผลให้ล่มจม 14

IS AM ARE www.ariyaplus.com


ตั ว ไกล..หั ว ใจอยู ่ ใ กล้ ทั้งนี้เพราะปัญหาเกิดมาจากการมุ่งเน้น การบริโภคและสร้างความร�่ำรวยเพิ่มขึ้น แบบไม่หยุดยั้งน�ำไปสู่ความขาดสติและ การแย่งชิงอันเป็นสิ่งที่ท�ำลายจริยธรรม ดังเป็นที่ทราบกันดี ทางสายกลางเป็น หัวใจของแนวคิดเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง แต่ในหนังสือเล่มนี้ไม่มีค�ำว่า “เศรษฐกิจ พอเพียง” (Sufficiency Economy) แม้ เนื้อหาในบทที่ 9 จะคล้ายแนวคิดเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงมากก็ตาม

เรื่องที่สองชื่อ The Price of Civilization: Economics and Ethics after the Fall เขี ย นโดยนั ก เศรษฐศาสตร์ ชาวอเมริกันชื่อ เจฟฟรี่ แซคส์ (Jeffrey Sachs) หนังสือเล่มนี้เมื่อพิมพ์ออกมาครั้ง แรกในปี 2555 มีชื่อเต็มว่า The Price of Civilization: Reawakening American Virtue and Prosperity ผู้เขียนเปลี่ยน ส่ ว นรองของชื่ อ เมื่ อ พิ ม พ์ อ อกมาเป็ น ฉบั บ อี เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ทั้ ง นี้ ค งเพราะเขา หวังจะเน้นความส�ำคัญของความสัมพันธ์ ระหว่างเศรษฐกิจกับจริยธรรม (Ethics) ซึ่ ง กว้ า งและตรงประเด็ น มากกว่ า การ รื้ อ ฟื ้ น คุ ณ ธรรม (Virtue) และความ ร�่ำรวย (Prosperity) ของชาวอเมริกัน ให้คืนกลับมาอีกครั้ง นอกจากจะเน้นเรื่องความส�ำคัญ ของด้ า นจริ ย ธรรมในเศรษฐกิ จ แล้ ว เนื้ อ หาของหนั ง สื อ เล่ ม นี้ มี ข ้ อ เสนอน่ า สนใจเป็นพิเศษในบทที่ 9 ชื่อ The Mindful Society หรือ “สงคมมีสติ” บทนี้ มีข้อเสนอให้ใช้ “ทางสายกลาง” เป็น ทางออกส�ำหรับสังคมอเมริกัน ทางสาย กลางเป็นแนวคิดหลักของพุทธศาสนาซึ่ง จะแก้ปัญหาของสหรัฐอเมริกาได้แน่นอน

เรื่ อ งที่ ส ามชื่ อ Sufficiency Economy: Enough, for Everyone, Forever เขียนโดยนักเศรษฐศาสตร์ชาว ออสเตรเลีย แซมมวล อะเล็กซานเดอร์ (Samuel Alexander) เล่มนี้เพิ่งพิมพ์ ออกมาเมื่อปลายปี 2558 ย้อนไปเมื่อ ก่ อ นปี 2540 ศั พ ท์ เ ศรษฐกิ จ ของฝรั่ ง ไม่มีค�ำว่า Sufficiency Economy ค�ำนี้ คนไทยใช้เป็นค�ำแปลส�ำหรับแนวคิดเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง แซมมวล อะเล็ ก ซานเดอร์ มองเห็นมานานแล้วว่า แนวคิดเศรษฐกิจ กระแสหลักใช้ไม่ได้อีกต่อไปแล้วและเริ่ม ยอมรับว่าทางออกน่าจะเป็นเศรษฐกิจ 15 issue 97 february 2016

พอเพี ย ง อย่ า งไรก็ ดี หนั ง สื อ เล่ ม ที่ ชื่ อ Sufficiency Economy ของเขานั้นเขา มิได้ตั้งใจจะเขียนเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง หากต้องการน�ำงานที่เขาเขียนไว้ในวาระ ต่าง ๆ มารวมกันพิมพ์เป็นหนังสือ เขา จึงเปลี่ยนชื่อบทความซึ่งชื่อ Sufficiency Institute Report เป็น Sufficiency Economy แล้ ว ตั้ ง ชื่ อ หนั ง สื อ ตาม บทความนั้น ทั้งนี้เพราะเขาบอกว่ามัน เป็นบทความเอก ด้วยเหตุนี้ หนังสือจึงมี เนื้อหาเพียงเล็กน้อยที่อยู่ใกล้กับแนวคิด เรื่ อ งเศรษฐกิ จ พอเพี ย งที่ ใ นหลวงทรง เสนอให้ ค นไทยใช้ เ ป็ น แนวด� ำ เนิ น ชี วิ ต และพัฒนาประเทศ

หนั ง สื อ 3 เรื่ อ งที่ อ ้ า งถึ ง นี้ บ ่ ง ชี้ ว ่ า นั ก เศรษฐศาสตร์ ชั้ น น� ำ ของ ฝ รั่ ง ม อ ง เ ห็ น แ ล ้ ว ว ่ า แ น ว คิ ด เศรษฐกิ จ กระแสหลั ก พบทางตั น แ ล ้ ว พ ร ้ อ ม กั บ เ ริ่ ม ม อ ง เ ห็ น ว ่ า ท า ง แ ก ้ ป ั ญ ห า คื อ แ น ว คิ ด เ รื่ อ ง เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง


“ความคิ ด นั้ น เป็ น แม่ บ ทใหญ่ ข องการพู ด และการกระท� ำ เพราะกิ จ ที่ จ ะท� ำ ค� ำ ที่ จ ะพู ด ทุ ก อย่ า งล้ ว นส� ำ เร็ จ มาจากความคิ ด การคิ ด ก่ อ นพู ด และก่ อ นท� ำ จึ ง ช่ ว ยให้ บุ ค คลสามารถยั บ ยั้ ง ค� ำ พู ด ที่ ไม่ ส มควร หยุ ด ยั้ ง การกระท� ำ ที่ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ในพิ ธี พ ระราชทานปริ ญ ญาบั ต รของจุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๔๐

16 IS AM ARE www.ariyaplus.com


กว่า 8 ปีที่ผ่านมา IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง ได้น�ำบทความ บท สั ม ภาษณ์ สรรสาระที่ ม ากด้ ว ยความรู ้ และความบันเทิง ความสุขมากมายที่ได้ รับจากการอ่านนิตยสารเพื่อสังคมฉบับ นี้ เพื่อเป็นการตอบแทนท่านผู้อ่านและ สมาชิกที่น่ารักทุกท่าน ตั้งแต่ฉบับนี้เป็นต้นไป บก.จะแจกของ สมนาคุณเล็กๆแก่ผู้ที่ตอบแบบสอบถามกันเข้า ของสมนาคุณที่ว่า คือ ปากกา SHEEFER จ�ำนวน 3 รางวัล พร้อมสลักชื่อ-นามสกุล เรี ย บร้ อ ย ซึ่ ง ค� ำ ถามในฉบั บ นี้ คื อ ความรู ้ ที่ ไ ด้ จ ากบทความ “ไม่กินผักคือไม่รักตัวเอง” หน้า 8-9 จากส�ำนักงานหลักประกัน สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ ในฉบั บ ที่ ปรากฏ แล้ ว ตั ด ส่ ง มากั น นะ ค่ะ ในฉบับหน้าของสมนาคุณ อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามค�ำ เรียกร้องของคนขี้เหงา ซึ่งน่า จะเป็น Furby เพื่อนช่างคุย ของเราเอง แล้ ว พบกั น ใหม่ ฉบับหน้านะค่ะ

ร่วมตอบค�ำถามชิงปากกา SHEFFER

ส่งมาที่นิตยสารครอบครัวพอเพียง เลขที่ 663 ซอยพหลโยธิน 35 แยก 9 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 02-939-5995 www.ariyaplus.com, www.fosef.org แบบประเมินความพอใจผู้อ่าน 1. เนื้อหาเรื่อง ไม่กินผักคือไม่รักตัวเอง

1

2

3

4

5

-ให้ความรู้และมีสาระตามที่คาดหวัง -บทความมีความน่าสนใจและเป็นประโยชน์ -บทความจุดประกายความคิดสร้างสรรค์ -บทความสร้างความตระหนักในเรื่องคุณธรรม 2.รูปเล่ม -มีการออกแบบที่สวยงาม ทันสมัย -จัดจัดเนื้อหาเป็นหมวดหมู่ อ่านง่าย -ภาพประกอบและการน�ำเสนอน่าสนใจ 3.ข้อเสนอแนะ

สายตรง กรมสงเสริมการสงออก

1.ไม่เป็นที่พอใจ 2. ควรปรับปรุง 3. พอใช้ 4.ดี/น่าสนใจ 5. ดีมาก/พอใจมาก 17

issue 97 february 2016

1169


ลายแทงแห่งความสุข 18 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Dhamma Today

๑. หากในหัวเธอไม่คิดอิจฉาใครเธอย่อมได้หลับฝันดีทุกราตรีกาล ๒. หากในจิตไม่อาฆาตพยาบาทใครเธอย่อมไร้ศัตรูผู้จองเวร ๓. หากในใจไม่ผูกโกรธถือโทษใครเธอย่อมได้อารมณ์ดีทุกวี่วัน ๔. หากในความคิดเธอไม่คิดท�ำร้ายใครเธอย่อมได้ความสงบครบวันคืน ๕. หากในความหลังเธอไม่ฝังใจเจ็บใครเธอย่อมได้ปัจจุบันอันรื่นรมย์ ๖. หากในความฝันเธอไม่ต้องการแข่งกับใคร เธอย่อมได้ความปลอดโปร่งใจ ๗. หากในความรู้สึกเธอไม่เผลอระลึกถึงอดีต อนาคตเธอย่อมมีชีวิตสดใสอยู่ในปัจจุบันอันเปรมปรีดิ์ ๘. หากในสมองเธอไม่ผยองอยากเป็น “ใคร” เธอย่อมได้บรมสุขทุกนาที ว. วชิรเมธี, ที่มา : www.dhammajak.net

19 issue 97 february 2016


เพื่อเด็ก – เพื่ออนาคต

ข้ า พเจ้ า นางสาวชไมพร แซ่ ซ ง โครงการครู วิ ท ยาศาสตร์ คื น ถิ่ น ปั จ จุ บั น รั บ ราชการเป็ น ครู อ ยู ่ ที่ โ รงเรี ย น บ้ า นปางตอง อ� ำ เภอขุ น ยวม จั ง หวั ด แม่ ฮ ่ อ งสอน 20 IS AM ARE www.ariyaplus.com


question of life

โรงเรียนมีจ�ำนวนครู 15 คน จ�ำนวนนักเรียน 246 คน ประกอบด้วยเด็กชนเผ่าม้ง กะเหรี่ยง และไทยใหญ่ และนักการ ภารโรง 1 คน เปิดสอนในระดับชั้นอนุบาลถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 (โรงเรียนขยายโอกาส) จุดเด่นของโรงเรียน คือ การมีสภาพแวดล้อมที่ดี มีธรรมชาติที่สวยงาม และห่างไกลจากอบายมุขต่างๆ ข้าพเจ้าปฏิบัติการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร์ ระดับช่วงที่ 3 (ม.1-ม.3) แม้ว่าจะยังไม่ได้สอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ก็ตาม แต่การสอนคณิตศาสตร์ท�ำให้มีประสบการณ์ในการสอนมากยิ่งขึ้น เป็นการพัฒนาและเพิ่มพูนความรู้ของตนเอง ภาระหน้าที่จากที่ได้รับมอบหมาย เช่น การเป็นเจ้าหน้าที่ห้องสมุด การอยู่ฝ่ายวิชาการ การเป็นครูประจ�ำชั้น เป็นต้น ซึ่ง จะต้องเรียนรู้งานจากฝ่ายอื่นๆ อีกมากมาย นักเรียนที่นี่เป็นเด็กนักเรียนที่น่ารัก ว่านอนสอนง่าย ตั้งใจเรียน ให้ความเคารพครูอาจารย์ หรือผู้ที่มาเยือน ว่าโรงเรียน จะอยู่ห่างไกล แต่สิ่งที่ได้รับนั่นคือ การศึกษาที่เท่าเทียมกัน และมีโอกาสได้เรียนฟรี 15 ปีทุกคน จึงท�ำให้นักเรียนมีโอกาสในการ ศึกษาต่อมากขึ้น ใกล้ถึงช่วงเทศกาลทุ่งบัวตองบาน บนดอยแม่อูคอ อ�ำเภอขุนยวม ระหว่างเดือนพฤศจิกายน ถึง เดือนมกราคม ของทุกปี โรงเรียนยินดีต้อนรับทุกท่านแวะมาท่องเที่ยว สัมผัสธรรมชาติที่สวยงามที่โรงเรียนบ้านปางตอง และแวะใช้บริการของเรา อาทิ อาหาร เครื่องดื่ม กาแฟสด ที่นอน ของที่ระลึกจากนักเรียน ท่านจะได้พบเจอความน่ารักและความสามารถของเด็กนักเรียนที่นี่ ข้าพเจ้ารับรองว่าท่านจะชื่นชอบและประทับใจ แม้แต่ ตัวข้าพเจ้าเองก็ยังรักและประทับใจ นอกจากนี้รายได้ที่ได้จะเป็นทุนการศึกษาและรายได้ให้นักเรียนเอง รวมทั้งทุกปีนักเรียนจะได้ ไปทัศนศึกษา เช่น การได้รับโอกาสไปเที่ยวทะเล จากรายได้ส่วนนี้ส่วนหนึ่ง การเป็นครู อาชีพที่สุจริต ที่มีผู้ยกย่องสรรเสริญเชิดชู และให้เกียรติข้าพเจ้ารักและภูมิใจในอาชีพนี้ มีความสุขที่ได้เป็นผู้ ให้ มีความสุขกับความไร้เดียงสาของนักเรียน ด้วยความซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีฯ ที่ได้ให้โอกาสครั้งยิ่งใหญ่ใน ชีวิตนี้ และข้าพเจ้าจะเป็นครูที่ดีของนักเรียน ของชุมชน และจะเป็นแบบอย่างที่ดีของนักเรียน เพื่อให้เขาได้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดี มีอนาคตในวันข้างหน้า

นางสาวชไมพร แซ่ ซง ครู วิทยาศาสตร์คืนถิ่นทุนการศึกษามู ลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา จังหวัดแม่ฮ่องสอน ครู ผู้ช่วยสอนโรงเรียนปางตอง อ.ขุ นยวม

21 issue 97 february 2016


22 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Cartoon

23 issue 97 february 2016


24 IS AM ARE www.ariyaplus.com


25 issue 97 february 2016


Cover Story

กศน.กับ

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

: ความเชื่ อมโยงสู่ประชาชน โดย เลขาธิการ กศน.นายสุรพงษ์ จ�ำจด

กศน.ย่ อ มาจาก การศึ ก ษานอกระบบและการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย ก่ อ นนี้ ค� ำ ว่ า กศน.ย่ อ มาจาก “การศึ ก ษา นอกโรงเรี ย น” แต่ ป ั จ จุ บั น หลั ง จากมี พ ระราชบั ญ ญั ติ ส ่ ง เสริ ม การศึ ก ษานอกระบบและการศึ ก ษาตาม อั ธ ยาศั ย พ.ศ.๒๕๕๑ เกิ ด ขึ้ น กศน.จึ ง หมายถึ ง “การศึ ก ษานอกระบบและการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย ”

26 IS AM ARE www.ariyaplus.com


27 issue 97 february 2016


นิ ต ยสาร IS AM ARE ครอบครั ว พอเพี ย งยั ง คงน� ำ เสนอบทสั ม ภาษณ์ ข องผู ้ ที่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ ในทุ ก สาขาอาชี พ อั น หลากหลายโดยมิ ไ ด้ ค� ำ นึ ง ถึ ง ชื่ อ เสี ย งเป็ น ส� ำ คั ญ ด้ ว ยหวั ง เพี ย งว่ า จะเป็ น แนวทาง “ในชี วิ ต จริ ง ” ให้ กั บ น้ อ งๆ เยาวชนสมาชิ ก ครอบครั ว พอเพี ย งและประชาชนทั่ ว ประเทศได้ ม องเห็ น แนวทางความ คิ ด แนวทางในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ด� ำ เนิ น งานต่ า งๆ ภายใต้ ห ลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งที่ เ ป็ น เสมื อ น เข็ ม ทิ ศ ส� ำ หรั บ ทุ ก คน ฉบับนี้เราได้รับเกียรติจาก ท่านเลขาธิการ กศน.นายสุรพงษ์ จ�ำจด หนึ่งในผู้ที่ขับเคี่ยวอยู่ในวงการ กศน.มายาวนาน ประสบการณ์ต่างๆ ที่ผ่านมาพร้อมถ่ายทอดสู่ผู้อ่านโดยตรง โดยเฉพาะการด�ำเนินงานที่ผ่านมาภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงที่ท่านน�ำมาใช้เป็นหัวใจในการขับเคลื่อน กศน.ให้เข้าถึงประชาชนทุกภาคส่วน เปิดทางเดินให้กับผู้ด้อยโอกาสได้รู้จักวิถี พึ่งพาตนเอง โดยใช้การศึกษาน�ำทาง เรื่องราวชีวิตและแนวคิดต่างๆ ของท่านจะเป็นอย่างไรบ้าง เชิญท่านผู้อ่านร่วมค้นคว้าใน บทสัมภาษณ์นี้ครับ ชั่ ว ดี ต ้ อ งรั ก กั น : การศึ ก ษาคื อ โอกาสสู ง สุ ด ผมเป็นคนจังหวัดปราจีนบุรี อ�ำเภอศรีมหาโพธิ ต�ำบล บ้านทาม คุณพ่อท�ำงานรับจ้างทั่วไป คุณพ่อท�ำงานคนเดียวคุณ แม่เป็นแม่บ้านครับ ก็ดูแลลูก ๓ คน ผมเป็นคนโต ถึงจังหวะหนึ่งผมมาเรียนต่อที่วิทยาลัยครูพระนครที่ บางเขนในกรุงเทพมหานคร ก็มาเรียนมีเพื่อน ได้ประสบการณ์ ในมหาวิ ท ยาลั ย จบปริ ญ ญาตรี วิ ท ยาลั ย ครู พ ระนคร เอก อุตสาหกรรมศิลป์รุ่น ๑๒ อุตสาหกรรมศิลป์เขาถือรุ่นนะครับ เรามีพี่น้องอุตสาหกรรมศิลป์เต็มประเทศเลยครับไปไหนบอก อุตสาหกรรมศิลป์จะได้รับการต้อนรับได้รับการไว้วางใจเพราะ มันมีค�ำของเราของรุ่นครับ “ชั่วดีอย่างไรเราต้องรักกัน” เป็น เพลงมาร์ ช ของอุ ต สาหกรรมศิ ล ป์ ใ นท่ อ นหนึ่ ง ของเพลงชั่ ว ดี อย่างไรเราต้องรักกันเราทุกคนที่เรียนอุตสาหกรรมศิลป์จะร้อง เพลงนี้ได้ขึ้นใจเป็นที่รู้กัน ผมรุ่น ๑๒ ปัจจุบันผมไม่มั่นใจครับ ว่ารุ่นที่เท่าไรแล้ว แต่ในช่วงที่ผมเรียนคณะอุตสาหกรรมศิลป์ มีที่เดียวในประเทศไทย ที่วิทยาลัยครูพระนครเท่านั้น ในช่วง นั้นเขาจะคัดเกรดมาเรียนด้วยแต่ช่วงหลังไม่ได้คัดแล้วผมก็ไม่ ถึงกับเก่งพอเข้าใจบ้างเล็กน้อยคณะก็คัดเข้ามาเรียน พอเรียน จบก็สอบบรรจุเข้ารับราชการจะว่าไปก็เพราะเราไม่มีทุน ชีวิต ก็ไม่ได้มีทุนอะไรพ่อแม่ให้ความรู้แล้วก็ให้โอกาสในการเรียนก็ ถือว่าสูงสุดแล้วครับ เราเรียนอย่างเดียวแล้วก็ต้องประหยัดพอจบมาก็สอบ เข้ารับราชการที่กรมการศึกษานอกโรงเรียนในปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ครับ ในตอนต้นเลยช่วงที่ผมไปศูนย์การศึกษาประชาชนจังหวัด อุดรธานี หมายถึงป้ายนะครับ ป้ายเดิมเขายังไม่ได้เอาออก แต่ จริ ง ๆตอนที่ ผ มไปเขาเปลี่ยนชื่อแล้ว เป็น ศูน ย์ก ารศึก ษานอก โรงเรียนจังหวัดอุดรธานี แต่อยู่ระหว่างเปลี่ยนป้ายมีโอกาสได้ เห็นป้ายเดิม ก็ได้รับราชการ กศน. ตั้งแต่ช่วงนั้นครับก็เริ่มต้น ที่จังหวัดอุดรธานี คืองานผมก็เพิ่งเข้าใจชีวิตมาท�ำงานผูกพันกับ

ชาวบ้านตั้งแต่วินาทีน้ันแหละที่เริ่มรับราชการที่ กศน. เพราะว่า งานที่ท�ำเขาเรียกงานส่งเสริมหรือการจัดการการศึกษาโดยตัว เราไม่ได้เป็นผู้สอนเองนะครับแต่ว่าต้องค้นหากระบวนวิธีการ ที่จะออกแบบเพื่อจัดการการศึกษาให้กับประชาชนให้ได้ ด้วย ความที่จบในด้านช่างมาตั้งแต่ตอนต้น ทาง กศน. อุดรธานีก็ เลยมอบงานแรกให้ผมท�ำชื่อว่าเทคโนโลยีที่เหมาะสม งานนี้ก็ เป็นงานที่เรียกว่าต้องไปค้นคว้าแล้วก็หานวัตกรรมหรือวิธีการ ที่จะมาเป็นเทคโนโลยีแบบชาวบ้าน ให้ชาวบ้านได้ประหยัดได้ คุ้มค่า แล้วก็เป็นการประหยัดแล้วลดพลังงานไม่ให้กระทบสิ่ง แวดล้อมอะไรอย่างนี้ครับ ก็ไปท�ำหลายเรื่อง ยกตัวอย่าง เตา แกลบ ชุดเจาะน�้ำบาดาลด้วยมือ แล้วก็ปั๊มน�้ำมือหมุน ก็คือใช้ มือแล้วก็ดึงน�้ำจากข้างล่างขึ้นมาข้างบน ปกติปั๊มน�้ำต้องปั๊มใช่ 28

IS AM ARE www.ariyaplus.com


ไหม แต่เราใช้มือหมุนประมาณนี้ที่คิดที่ ท�ำเพราะเราจบด้านช่างพอดี ประสบการณ์ ค วามรู ้ สู ่ ป ระชาชน ในช่ ว งหนึ่ ง ของการท� ำ งานใน ปี ที่ ๒ ก็ มี โ อกาสลงไปท� ำ งานในพื้ น ที่ อ�ำเภอน�้ำโสม จังหวัดอุดรธานี ในตอน นั้นก็มีเหตุการณ์คอมมิวนิสต์อยู่นะครับ มีการสู้รบกันอยู่แต่ผมไปปี ๒๕๒๕ คือ อยู ่ ส� ำ นั ก งานในจั ง หวั ด ที่ ป ากคาดใน ตัวเมือง ท�ำงานเทคโนโลยีสักประมาน เกือบปีก็ลงไปท�ำงานเป็นหัวหน้าหน่วย ฝึ ก วิ ช าชี พ เคลื่ อ นที่ หั ว หน้ า หน่ ว ยฝึ ก เคลื่ อ นที่ ก็ ตั้ ง หน่ ว ยอยู ่ ที่ ตั ว อ� ำ เภอ ใน อาคารอเนกประสงค์ ข องอ�ำ เภอก็ มี ที ม งานมีลูกน้องไป ๔-๕ คน ก็เป็นแผนก ไฟฟ้า เสริมสวย เครื่องยนต์เล็ก ตัดเย็บ เสื้อผ้า อาหารขนม แบบนี้นะครับ ก็ไป สอนประชาชนห่างไกลนะ แล้วก็ไปผจญ

แปลว่าอะไรจะต้องท�ำยังไงกับชาวบ้าน วิธีการสอนแบบชาวบ้านใช้วิธีการสอน แบบพวกเราไม่ได้อย่างผมสอนวิชาไฟฟ้า แต่เดิมเวลาเขียนวงจรเขาเขียนเส้นเดียว วงจรไฟฟ้าภายในบ้านแต่เราไปอยู่โน้น เราต้องปรับต้องเขียน ๒ เส้นข้างในสายนี้ มันมี ๒ เส้น เรียกว่าต้องอธิบายลึกเลย ไม่ งั้นถ้าเส้นเดียวชาวบ้านก็จะงงพอเปลี่ยน วิธีการโยงให้เห็นสองเส้นตอนหลังไปได้ เทคนิคเหล่านี้เวลาท�ำงานครับต้องลึก มี ไ ก่ ไ ม่ กี่ ตั ว ที่ ก ล้ า เดิ น ออกจากสุ ่ ม หลั ง จากนั้ น ก็ ท� ำ งานอยู ่ ถึ ง ปี ๒๕๒๙ ครับแล้วก็ย้ายจากอุดรธานีมา ปราจีนบุรีเพราะว่าพ่อแม่อยู่ปราจีนบุรี ตอนหลั ง คุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ ม าอยู ่ ที่ อ� ำ เภอ สระแก้วจังหวัดปราจีนบุรี ต่อมาสระแก้ว ก็ยกระดับเป็นจังหวัดสระแก้วจนปัจจุบัน นี้นะครับก็เป็นห่วงพ่อแม่ก็เลยอยู่สัก ๕

อย่ า งที่ เ รี ย นว่ า ท้ า ยที่ สุ ด สิ่ ง ที่ เ ราคุ ย กั น อยู ่ ที่ เ ราพยายามท� ำ การสร้ า ง ช่ อ งทางหรื อ การให้ โ อกาสคนให้ ม ากที่ สุ ด แล้ ว ผมก็ ท� ำ ความเข้ า ใจกั บ เขานะ ท� ำ ความเข้ า ใจกั บ ที ม งานว่ า งาน กศน.นี้ คื อ งานที่ ต ้ อ งเชื่ อ ในเรื่ อ ง ของความแตกต่ า งระหว่ า ง บุ ค คล เมื่ อ เชื่ อ ว่ า คนแตกต่ า งกั น การเรี ย น ต้ อ งต่ า งกั น ไปด้ ว ย ภัยกับเหตุการณ์วันดีคืนดีก็ต้องวิ่งลงมา ข้างล่างเพราะคอมมิวนิสต์บุกแต่จริงๆ ไม่ได้บุกมันเป็นข่าวแล้วก็วิ่งกันก็ช่วงนั้น เป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ ในชี วิ ต เพราะท� ำ ให้ เรา รู้จักชาวบ้านแล้วท�ำให้เราเกิดแรงบันดาล ใจเยอะในการท�ำงานเพราะได้เห็นอะไร ต่ า งๆความเดื อ ดร้ อ นที่ ส� ำ คั ญ เราเห็ น ความบริสุทธิ์ของชาวบ้านที่มาเรียนกับ เรา เพราะว่าเวลาเขามาเรียนกับเราเขา จะมีอะไรติดไม้ติดมือมาตลอด ผักที่บ้าน เขาแหละติดไม้ติดมือมาให้คุณครูที่สอน ผมก็ ไ ปสอนวิ ช าไฟฟ้ า ผมจบด้ า นไฟฟ้ า มาพอดีอันนั้นเป็นประสบการณ์ได้เข้าใจ ได้รู้สึกในเรื่องของการท�ำงาน ชาวบ้าน

ปี ก็เลยย้ายมาอยู่ที่ปราจีนบุรี มาดูแล พ่อแม่แล้วก็ได้ท�ำงานที่นั้นสักระยะหนึ่ง ประมาณ ๔-๕ ปีก็ขึ้นต�ำแหน่งผู้บริหาร ครั้งแรกก็เป็นต�ำแหน่งผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ จังหวัดจันทบุรี ในปี ๒๕๓๔ ก็ไปท�ำงาน สัก ๑๐ ปีก็ขึ้นเป็นผู้บริหารไปอยู่จันทบุรี สัก ๒ ปีครับ ปี ๒๕๓๖ เขาตั้งจังหวัด สระแก้ ว เขาก็ เ ลยย้ า ยผม เป็ น ผู ้ ช ่ ว ยที่ จั น ทบุ รี ม าเป็ น ผู ้ ช ่ ว ยที่ จั ง หวั ด สระแก้ ว ครั บ ที่ ส ระแก้ ว ก็ ไ ด้ ท� ำ งานเยอะมาก เลยเราได้ท�ำงานเพราะว่าสระแก้วเป็น จังหวัดตั้งใหม่ ประชาชนคือต้องการได้ รับการเรียนรู้เพราะยังเข้าไม่ถึงการศึกษา กันเยอะทั้งในเชิงพื้นที่คนที่หลากหลาย 29 issue 97 february 2016

เพราะว่าสระแก้วกลายเป็นจังหวัดใหม่ท่ี คนเกือบทั่วประเทศโดยเฉพาะคนอีสาน ย้ายจากจังหวัดอื่นมาอยู่จังหวัดสระแก้ว จะมีคุ้มอุบล คุ้มร้อยเอ็ดในบางพื้นที่โดย เฉพาะแถบวั ง น�้ ำ เย็ น แถบวั ง สมบู ร ณ์ แถบเขาฉกรรจ์ แถบคลองหาด เยอะเลย ครับ แม้แต่ตาพญาอะไรต่างๆทุกอ�ำเภอ โดยเฉพาะแถบอีสานเข้ามาอยู่เยอะแล้ว ก็ ค นเหล่ า นี้ จ ะมาพร้ อ มกั บ การมุ ่ ง มั่ น จับจองที่ดินท�ำกิน คือผมถือว่านกที่บิน ไกลนี้คือคนเก่งนะ จะมีเฉพาะคนเก่งนะ ที่มาที่สระแก้ว เหมือนท่านเอาสุ่มครอบ ไว้ ถูกไหมครับ พอเปิดแล้วจะมีไก่ไม่กี่ ตัวที่กล้าเดินออกจากสุ่มนะ ส่วนใหญ่ไม่ กล้าไป หงอยอยู่ต่อไป เพราะฉะนั้นคน ที่มาอยู่สระแก้วเป็นไก่หรือนกที่กล้าบิน ออกบินสูงบินไกลกล้ามาผจญภัย บางที่ ย้ายครอบครัวมา บางคนก็มาบุกเบิกตอน ต้นคนชุดแรกพวกนี้เป็นคนกล้า สร้ า งศรั ท ธาให้ ป ระชาชน สระแก้วเป็นพื้นที่ดินใหม่มีความ อุดมสมบูรณ์ คนก็มาท�ำเกษตร ส่วนใหญ่ จะเป็นพืชไร่ นาบางส่วนผมอยู่สระแก้ว นานครับเป็นจังหวัดที่ผมรับราชการนาน ที่สุดผมย้ายจากสระแก้วตั้งแต่ปี ๒๕๓๖ อยู่สระแก้วก็เป็นผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ต่อ มาก็เป็นกรรมการเลือกตั้งประจ�ำจังหวัด สระแก้ว กรรมการเลือกตั้งก็เป็น ๒ สมัย นะ เป็นตั้งแต่อายุ ๔๐ จนถึง ๔๘ ครับ ก่อนออกมาเป็นประธานอนุกรรมการเขต พื้นที่แล้วก็เป็นผู้อ�ำนวยการปี ๔๕ จาก ผู้ช่วยก็เป็นผู้อ�ำนวยการ กศน. จังหวัด สระแก้ว ในช่วงที่อยู่สระแก้วก็ได้มีโอกาส ท�ำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายหลายส่วน นะครับภาคีเครือข่ายก็จะมีเยอะตั้งแต่ มูลนิธิกสิกรธรรมชาติของอาจารย์ยักษ์ ก็ ส นิ ท กั น แล้ ว ก็ มี มศว.ประสานมิ ต ร ภาคธุรกิจก็จะมีบริษัทน�้ำตาล KSL แล้ว ก็ กศน.ของผมนี่แหละแล้วก็ทางราชภัฏ


พอผมเป็ น ผู ้ อ� ำ นวยการผมก็ ศ รั ท ธาในงานปรั ช ญาของ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เรื่ อ งของปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งผม มี ส ่ ว นได้ เ รี ย นรู ้ จ ากท่ า นอาจารย์ ยั ก ษ์ ได้ มี โ อกาสได้ คุ ย กั น กั บ อาจารย์ ยั ก ษ์ ส องคน ได้ ถ ่ า ยทอด ได้ ค วามเข้ า ใจจาก ตรงนั้ น เยอะ พอฟั ง ก็ ศ รั ท ธาผมรู ้ สึ ก ว่ า องค์ ค วามรู ้ นี้ จ ะช่ ว ย ประชาชนได้

30 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ฉะเชิงเทราเป็นภาคีจังหวัดสระแก้วโดยท่านผู้ว่าจับมือท�ำงาน ขับเคลื่อนงานเศรษฐกิจพอเพียงของพระเจ้าอยู่หัวฯ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ พอผมเป็นผู้อ�ำนวยการผมก็ศรัทธาในงานปรัชญาของ พระเจ้าอยู่หัวเรื่องของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผมมีส่วน ได้เรียนรู้จากท่านอาจารย์ยักษ์ ได้มีโอกาสได้คุยกันกับอาจารย์ ยักษ์สองคนได้ถ่ายทอดได้ความเข้าใจจากตรงนั้นเยอะพอฟังก็ ศรัทธาผมรู้สึกว่าองค์ความรู้นี้จะช่วยประชาชนได้อย่างที่ผมได้ เล่าให้ฟัง จากการสัมผัสกับประชาชนก็รู้สึกมีพื้นฐานตรงนั้นอยู่ แล้วคือเรารู้สึกว่าประชาชนยังเดือดร้อนเยอะ แต่ประชาชนยัง เป็นคนที่ยังบริสุทธิ์ ถ้าให้โอกาสเขาเขาสามารถไปได้นะ พอมา เห็นทางออกของปรัชญาในหลวงก็คิดว่าจะต้องสร้างการเรียนรู้ ให้กับชาวบ้านให้ได้ ต้องสร้างศรัทธาให้กับชาวบ้านให้ได้สร้าง ความเข้าใจให้ได้ สระแก้ ว เป็ น พื้ น ที่ ดิ น ใหม่ มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ คน ก็ ม าท� ำ เกษตร ส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น พื ช ไร่ นาบางส่ ว น ผมอยู ่ ส ระแก้ ว นานครั บ เป็ น จั ง หวั ด ที่ ผ มรั บ ราชการ นานที่ สุ ด ผมย้ า ยจากสระแก้ ว ตั้ ง แต่ ป ี ๒๕๓๖ อยู ่ สระแก้ ว ก็ เ ป็ น ผู ้ ช ่ ว ยผู ้ อ� ำ นวยการ ต่ อ มาก็ เ ป็ น กรรมการเลื อ กตั้ ง ประจ� ำ จั ง หวั ด สระแก้ ว กรรมการ เลื อ กตั้ ง ก็ เ ป็ น ๒ สมั ย นะ

โพธิ วิ ช ชาลั ย หลังจาก ๒๕๕๑ ก็ออกจากสระแก้วมาที่ฉะเชิงเทรามา เป็นผู้อ�ำนวยการ กศน.ฉะเชิงเทราตั้งแต่ปี ๒๕๔๕ ที่สระแก้วงาน ส่วนใหญ่ที่ผมท�ำเป็นงานชุมชน ในช่วงที่อยู่สระแก้วผมมีโอกาส เคลื่อนงานไปกับภาคีเครือข่ายส�ำคัญโดยเราไปสร้างโพธิวิชชา ลัยที่สระแก้วโดยเอาค�ำสอนของพระราชาไปให้มหาวิทยาลัย สอนโดยเอาเด็กชาวบ้านแถบใกล้ๆ ให้เขามารู้จักมาเรียนรู้ครับ ตรงนั้นก่อนที่จะเป็นมหาวิทยาลัยเราก็ท�ำหลายเรื่องนะไม่ใช่ อยู่ๆ ไปตั้ง ก็เริ่มจากผม แล้วอาจารย์ยักษ์ เราก็ประชุมภาคีทั้ง จังหวัดเลยคือเปิดคนทั้งสระแก้วทุกภาคส่วนให้มารู้จักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ตอนนั้นท่านองค์มนตรีท่านมาเปิดให้ ท่านอ�ำพล เสนาณรงค์ท่านก็มาเป็นประธานให้ครับคนก็มากัน เยอะเกือบๆ พันคน มาทุกอ�ำเภอเลยหลังจากเคลื่อนภาพใหญ่ เรียบร้อยก็ท�ำภาพเล็กอาจารย์ยักษ์ก็พากันลุย ๕๘ ต�ำบลของ สระแก้วเชิญผู้น�ำเชิญแกนน�ำของทุกต�ำบลเรามี ๕๘ ต�ำบลเรา ลงทุกต�ำบลแล้วแต่ละต�ำบลให้น�ำแกนน�ำแต่ละหมู่บ้านมาตกลง แล้วแต่ละเวทีขั้นต�่ำ ๒๐๐-๓๐๐ คนต่อเวทีตระเวนกันอยู่หลาย เดือนแต่ตอนนั้นเราท�ำงานลึกมากเราก็ได้ใจชาวบ้านเยอะมาก แล้วชาวบ้านก็ได้รู้จักเศรษฐกิจพอเพียงลงลึกในช่วงนั้น หลังจากลงตรงนี้เสร็จคนสระแก้วก็เข้าใจทั้งจังหวัดเลย แล้วก็ กศน.ผมดูแลอยู่เราก็จะได้การเรียนรู้ต่อก็คืออาจจะมี กิจกรรมการเรียนรู้ย่อยๆบนพื้นที่ต่างๆร่วมกับผู้รู้อะไรต่างๆใน พื้นที่ก็เคลื่อนงานกันมาจนเป็นพลังที่ใหญ่พอถึงขั้นตั้งโพธิวิชชา ลัยได้ไม่งั้นตั้งไม่ได้อันนี้ก็เป็นจุดส�ำคัญเรายิ่งท�ำเราก็ยิ่งศรัทธา นะ ยิ่งท�ำก็ยิ่งเรียนรู้ ผมก็มีโอกาสได้เรียนรู้ปรัชญาของพระเจ้า อยู่หัวฯ ลึกซึ้งนะทั้งเรื่องของหลักปรัชญาพอเพียงโดยเฉพาะ

ที่บอกว่าในโลกนี้มีระบบเศรษฐกิจอยู่ ๒ ระบบคือ ๑ ระบบ ทุนนิยมอันที่ ๒ คือระบบคอมมิวนิสต์ สองทางนี้ก็คือสุดๆทั้ง คู่ ถ้าเป็นระบบคอมมิวนิสต์ก็แปลว่าเราท�ำที่สุดยังไงก็ไม่มีสิทธิ์ เป็นเจ้าของธุรกิจในพื้นดินอะไรต่างๆที่เราท�ำเป็นระบบรัฐที่ ต้องดูแลโดยรัฐเท่านั้น แล้วแบบที่ ๒ ทุนนิยมก็คือใครมือยาว สาวได้สาวเอาคนตัวเล็กตัวน้อยก็แย่ พระองค์ท่านคงเห็นตรง นี้แล้วพระองค์ท่านรู้จักคนไทยดีที่สุดในโลก เพราะทรงงานโดย ตลอดรู้นิสัยคนไทย รู้วิถีคนไทย ถ้าปล่อยให้คนไทยต้องผจญภัย อยู่ในวิถีนี้ ท้ายสุดคนไทยใช้ระบบทุนนิยม ถ้าประเทศไทยอยู่ ในระบบทุนนิยมในซีกเดียวโดยที่ว่าไม่มีอะไรเลยเราก็จะแย่ไป เรื่อยๆเพราะว่าเราไม่ค่อยแข็งแรง หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเข็ ม ทิ ศ ในการ ด� ำ เนิ น งาน คนไทยของเราไม่ว่าการเรียนรู้หรืออะไรผมอยู่ในซีก การศึกษาผมก็เห็นภาพมาตลอดเลยว่าเป็นแบบไหน แล้วก็มี ตรงนี้แหละที่จะช่วยได้ พระองค์ก็เลยเอาหลักปรัชญามาสอน คนไทย หลักพอเพียงที่จับได้ก็คือต้องพึ่งตัวเองให้ได้แล้วกระ 31

issue 97 february 2016


บวนการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สมมุติว่าเราผลิตอะไรได้ก็คือการพึ่งตัว เองได้ ก็ คื อ ปั จ จั ย ๔ อั น ดั บ แรกเพราะ มนุ ษ ย์ ต ้ อ งกิ น ต้ อ งอาศั ย ยารั ก ษาโรค พอพึ่งปัจจัยอย่างนี้ก็แปลว่ามนุษย์ต้อง สร้างผลิตผลผลิตภัณฑ์มีผลผลิตแต่เวลา มี ผ ลผลิ ต พระองค์ ไม่ให้ใช้หลัก ทุน นิยม ไงผลิตเสร็จคุณก็บริโภคบริโภคไม่หมด ก็เก็บไว้กินวันหน้าเก็บแล้วยังเหลืออีกก็ เอาไปท�ำบุญให้ทานฝึกการให้แทนที่จะ ขายเพราะว่าขายนี้ก็ยิ่งต่อสู้ยิ่งอะไร แต่ ทรงสอนใหม่ว่าให้ให้ ให้ยังเหลืออีกให้ พระบ�ำรุงศาสนาเสร็จก็ให้ทานให้ผู้คน ให้ทานแล้วยังเหลืออีกก็ให้ขายเห็นไหม ว่าจะขายได้แต่อย่าลืมว่าเส้นทางตรงนี้ คือเส้นทางส�ำคัญคือไม่ได้เอาเงินเป็นตัว

ดูแลศาสนาช่วยคนตกทุกข์ได้ยากอะไร ต่างๆมันเกิด ถ้าทุกคนได้เข้าใจในหลัก ปรัชญาลึกซึ้งก็จะท�ำให้วิถีชีวิตร่วมของ ประเทศจะดีขึ้นแล้วรายบุคคลก็ด้วยนะ ครับ ก็คือหลักที่ทรงบอกไว้ว่าใช้เหตุผล แล้ ว ก็ มีภูมิคุ ้ มกั น แล้ ว รู ้ จัก พอประมาณ ถ้าหลักตรงนี้ท�ำให้ก่อเกิดในตัวคนได้มัน ก็จะท�ำให้คนมีหลักในการด�ำรงชีวิตราย บุ ค คลว่ า เราต้ อ งพึ่ ง ตั ว เองเราต้ อ งรู ้ จั ก อย่าท�ำอะไรเกินตัว แต่ที่พระองค์สอนที่เป็นเงื่อนไข ข้อนี้ส�ำคัญ พระองค์ทรงใช้ค�ำว่าเงื่อนไข คุณธรรมความรู้ ดังนั้นสุดท้ายเลยก็ต้อง เข้าใจว่าความรู้ต่างหากคือสิ่งส�ำคัญที่จะ ท�ำให้คนเข้าใจปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แล้ ว ความรู ้ ที่ ส� ำ คั ญ ส่ ว นใหญ่ ที่ สั ม ผั ส ก็ คือชาวบ้านก็มีหน่วยเดียวที่สามารถเข้า ถึงชาวบ้านคือ กศน. เพราะ กศน.คือ หน่วยที่จัดการการศึกษาภาคประชาชน นึกออกไหมครับอันนี้เป็นที่มา ผมก็คิด ว่า กศน. เองก็ศรัทธามีหัวใจที่ลึกซึ้งแล้ว มีความเข้าใจในปรัชญานี้ ทาง กศน.พอ ผมมาบริ ห ารงานนี้ ผ มก็ คิ ด ว่ า อั น นี้ เ ป็ น ฐานส� ำ คั ญ ของคนไทยเพราะเราเป็ น ตั้งเมื่อเอาเงินเป็นตัวตั้งความเป็นมนุษย์ หน่ ว ยที่ เข้ า ถึ ง ประชาชนอยู ่ แ ล้ ว แล้ ว จะหายไปแต่ในหลวงทรงสอนว่าต้องให้ เราเชื่อว่าเงื่อนไขคือความรู้ที่ว่านี้ กศน. แล้วการให้ตรงนี้มีพลังในการให้ท้ายสุด ต้องเป็นผู้น�ำความรู้เข้าไปให้ประชาชน ตีเป็นเงินไม่ได้ มันกลายเป็นยิ่งใหญ่กว่า ทั้งประเทศให้ได้เป็นนโยบายหลักที่ให้ เงินถ้าคนไม่มีชีวิตจิตใจมันจะมีคนที่กล้า น� ำ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง โดดลงน�้ำเพื่อไปช่วยคนจมน�้ำหรือใช่ไหม มาเป็นหลักที่จะท�ำงานของพี่น้อง กศน. หรือเวลาเกิดเหตุการณ์ต่างๆ นานามัน ทั้งประเทศแล้วเราก็ได้มอบนโยบาย ไป จะมีคนมาช่วยเหลือสังคมหรือ พระองค์ อธิบายหลายรอบแล้วเข้าใจว่าตอนนี้ทุก ทรงฝึกตรงนี้เราต้องเข้าใจว่ามันซื้อหาไม่ คนพูดได้ว่ารู้จักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ ได้ด้วยเงินแต่มันต้องเกิดจากการฝึกเกิด เพียงได้ค่อนข้างดีนะครับ จากการได้ปฏิบัติมาดังนั้นพระองค์ท่าน อยากให้ ค นไทยเน้ น ตรงนี้ ห ลั ก คิ ด ที่ ดี ที่ โจทย์ ใ หญ่ ข อง กศน. ส�ำคัญสุดมันสามารถท�ำให้คนพึ่งตัวเอง โจทย์ ใ หญ่ ที่ ใ ห้ พี่ น ้ อ งกศน.ที่ ได้แล้วสามารถด�ำรงชีวิตภายใต้วิถีแบบ ท�ำงานในพื้นที่ โจทย์ที่ผมให้เขาคือว่าผม พอเพียงไม่ได้มุ่งค้าก�ำไรแข่งขันมันจะเกิด ขอเขาสองอย่างในการท�ำงานในพื้นที่โดย ความสันติสุขในประเทศเกิดการพึ่งพากัน เฉพาะคนที่ท�ำงานกับชาวบ้าน หนึ่ง ผม 32 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ขอให้เขาท�ำงานด้วยหัวใจกับความคิด หัวใจก็คือหัวใจที่ศรัทธา ในงานโดยเฉพาะงาน กศน. ศรัทธาในปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง เขาต้องเริ่มที่ศรัทธาก่อนในสองตัวนี้แล้วใช้ความคิดที่ สร้างสรรค์ก็ขอเขาสองอย่างครับ วิธีการที่เราจะน�ำหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงไปถึงประชาชนนี้ จะเน้นการปฏิบัติจริง โดยวิธีการเราจะเริ่มสตาร์ทที่การท�ำบัญชีครัวเรือน ให้เขาระเบิด จากข้างในให้ได้ ตอนนี้เขาก�ำลังท�ำเป็นฐานทุกครัวเรือน โดยที่ เรามีบุคลากรอยู่แล้ว ๗,๔๐๐ ต�ำบลที่ว่ามีความเข้าใจคุณครูเรา อบรมไปแล้วส่วนหนึ่งแล้วเมื่อช่วงที่ผ่านมาคือ กศน. ก็ท�ำงาน นี้ต่อเนื่องไม่ใช่ผมคนเดียวนะผู้บริหารหลายท่านก็มีความเข้าใจ ก็จะต้องพัฒนาเพิ่มอีกเดี๋ยวเราก็มีการพัฒนาคุณครูเพิ่มครับพอ

คุณครูมีความเข้าใจในเรื่องตรงนี้ชัดเจนขึ้นเราก็จะผ่านกลุ่มเป้า หมายแรกที่ส�ำคัญที่สุดเลยก็คือกลุ่มตัวคุณครูเองก็คืออบรมครู จริงจากการปฏิบัติจริงๆ วิธีการอบรมผมก็ให้เขาท�ำจากบัญชี ครัวเรือนก็จบแล้ว ไม่ได้ไปเรียกเขามาอบรมนะ ไม่ใช่อย่างนั้น เพราะแค่ให้ท�ำบัญชีครัวเรือนก็แนะน�ำผ่านอีทีวีเรามีโทรทัศน์ ของเราอยู่ ผมสามารถออกทีวีพบ กศน.ได้ทั้งประเทศทุกวัน จันทร์ต้องดูผ่านดาวเทียมครับเวลา ๑๐.๐๐-๑๑.๐๐ น. ถ้าพื้นที่ ตรงไหนมีปัญหาก็ออกสดยกหูโทรเข้ามาผมก็ตอบตรงนั้นได้เลย แต่บ้างครั้งไม่สะดวกก็อัดเทปไป ก็ตั้งใจว่าจะออกไปเรื่อยๆก็จะ ชี้แจงเริ่มจากให้คุณครูเข้าใจ พอเขาท�ำเสร็จแล้วกลุ่มแรกตัวเขาต้องท�ำอันที่สองให้ นักศึกษาเรามีนักศึกษาที่เรียนกับเราประมาณ ๑ ล้าน ๒ แสน คนที่เป็นระบบประถม ม.ต้น ม.ปลาย ก็หวังว่าคุณครูจะสามารถ ไม่ต้องถึงล้านแต่ได้สักครึ่งหนึ่งหรือ ๖๐-๗๐% ก็หลายแสน แล้วจะมีนักศึกษาที่เราอีกส่วนหนึ่งคือส่วนที่เป็นวิชาประถม ม.ต้น ม.ปลาย แล้วยังมีหลักสูตรต่อเนื่องย่อยๆ ๓๐ ชั่วโมง ๔๐ ชั่วโมง ๕๐ ชั่วโมงที่เราเปิดสอนอยู่เต็มประเทศในวิชาชีพย่อยๆ เรื่องวิชาแบบวิธีถนอมอาหารต่างๆหรือไม่ก็ประเภทช่างต่างๆ อีกเยอะ ก็ประมาณหนึ่งล้าน ช่องทางของกศน.ถึงประชาชน

วิ ธี ก ารสอนแบบชาวบ้ า นใช้ วิ ธี ก ารสอนแบบพวกเรา ไม่ ไ ด้ อย่ า งผมสอนวิ ช าไฟฟ้ า แต่ เ ดิ ม เวลาเขี ย น วงจรเขาเขี ย นเส้ น เดี ย ววงจรไฟฟ้ า ภายในบ้ า น แต่ เราไปอยู ่ โ น้ น เราต้ อ งปรั บ ต้ อ งเขี ย น ๒ เส้ น ข้ า งใน สายนี้ มั น มี ๒ เส้ น เรี ย กว่ า ต้ อ งอธิ บ ายลึ ก เลย ไม่ งั้ น ถ้ า เส้ น เดี ย วชาวบ้ า นก็ จ ะงง พอเปลี่ ย นวิ ธี ก ารโยง ให้ เ ห็ น สองเส้ น ตอนหลั ง ไปได้

33 issue 97 february 2016


วิธีการเดียวกันคือ อบรมบ่มนิสัย ฝึกอบรมนี่แหละเราไม่สามารถ ท�ำอย่างอื่นได้ เพราะฉะนั้น ๒-๓ วันนี้การจัดหลักสูตรที่ถูกต้อง จ�ำเป็นครับ ถ้าไม่ผ่านการฝึกอบรมมันจะไม่สามารถท�ำให้เขา ระเบิดหรือสร้างศรัทธาได้ ซึ่งเรามีหลักสูตรของเราอยู่ ก็อันนี้ก็เป็นสภาวะที่ กศน.ก็เป็นห่วงการศึกษาที่เรา จัดอยู่ในขณะนี้คนที่มาเรียนอยู่กับเราวัยก็อยู่ที่อายุ ๑๕-๓๐ ปีเป็นกลุ่มใหญ่มากที่ผมบอกว่าที่มีนักศึกษาภาครวมล้านสอง เชื่อไหม ประมาณ ๔๐% มีคนที่มีอายุ ๑๕-๓๐ ปีก็คือเกือบครึ่ง นะ แล้วก็อายุ ๓๐ ขึ้นไปจนถึง ๔๕ ปีก็อีกส่วนหนึ่งคือ ๒ กลุ่ม รวมกันคือร้อยละ ๘๐ ก็คือประมาณเกือบล้าน สองกลุ่มนี้ กลุ่ม นั้นประมาณ ๕ แสน เพราะมันประมาณ ๔๐% ส่วนใหญ่ที่มา เรียนตรงนี้ กศน.ก็พยายามให้หลักคิดเขาเรามีหลักสูตรที่จะใช้ วิธีสอนแบบที่ว่าให้เขาได้มีการเรียนรู้ด้วยการผ่านสือโดยมีครู ประจ�ำใกล้ชิดก็คือเปิดโอกาสให้เขามาเรียน แล้วสิ่งที่ปรากฏ คือคนที่เขากลับมาเรียน กศน.ที่เราเห็นก็คือคนที่คิดได้เพราะ ฉะนั้นนักเรียน กศน.จะไม่มีปัญหาตีกัน เพราะว่าช่วงหนึ่งที่ เขาต้องออกจากโรงเรียนมาเพราะว่าสภาวะบีบคั้นอะไรต่างๆ หลายคนไม่ได้กลับมาเรียนเลยนะ หลายคนโดนสังคมทิ้งไปนะ แต่หลายคนหันกลับมาเรียนส่วนใหญ่จะเป็นคนดี คนตั้งใจ คน หวังได้โอกาสครั้งที่สองของชีวิตโดยใช้การศึกษาเป็นเครื่องมือ เราจึงพยามที่จะสร้างโอกาสทางการศึกษาให้เยอะๆ เพื่อให้ คนเหล่านี้เข้าถึงการศึกษาของเราแล้วจะได้ช่วยเขาให้มีโอกาส รุ่นของ กศน.จะมีหลายรุ่นแล้วจะมีหลายอาชีพ เพราะ เวลาเขามาเจอกันเขาได้บทเรียนจากเราส่วนหนึ่ง แต่บทเรียน ที่เขาได้มากที่สุดคือเราใช้กระบวนการแบบพบกลุ่มเน้นการ พบกลุ่ม นี่จะท�ำให้เขาพบเพื่อนที่หลากอายุหลากอาชีพ เพราะ ฉะนั้นโอกาสที่เขาจะได้ประสบการณ์ที่ดีมีค่อนข้างสูง

ตัวเลขค่อนข้างสูง แล้วไปถึงประชนทุกระดับ ถ้าใครอยากจะลง ลึกก็จะมีหลักสูตรอบรมที่เราจะลงไปร่วมกับชุมชนต่างๆ กับผู้รู้ ในพื้นที่แล้วก็จัดอบรมในระบบ ๒-๓ วันแล้วก็ลงมือปฏิบัติจริง แล้วก็เรียนรู้จริงแต่หลักสูตรการเรียนรู้ต้องรู้ที่รากก่อนนะ รู้ที่มา ที่ไปเหมือนที่ผมเล่าให้ฟังต้องรู้แก่นตรงนี้รู้แล้วก็จะศรัทธา คือ อันดับแรกหลักสูตรที่เราจะปลูกฝังสอนประชาชนเราจะปลูกฝัง ที่ศรัทธาก่อนเป็นส�ำคัญไม่ได้พามาแล้วมาท�ำปุ๋ยท�ำอะไรแล้วก็ กลับไม่ใช่ เราจะเปลี่ยนวิธีคิดเป็นส�ำคัญ ปลูกศรัทธาเขาแล้ว เปลี่ยนวิธีคิดเป็นส�ำคัญให้ได้ เรื่องท�ำไม่ใช่ปัญหา ถ้าเขาศรัทธา เขาก็จะแสวงหาท�ำด้วยตัวเขาเองไม่แน่จะดีกว่าเราด้วย ที่เราให้ไปแต่เราก็มีให้เขาได้อย่างน้อยก็มีการให้ลงมือ ก็คิดว่า กศน. ทั้งประเทศซึ่งตอนนี้ผมว่าเขาเริ่มเข้าใจแล้วที่ผม พยายามพูด หลายๆ คนได้ฟังแล้วเริ่มศรัทธาเหมือนกับผม แล้ว ถ้าครูศรัทธาแล้วไปสร้างต่อที่ประชาชน สุดท้ายแล้วเราก็จะได้ เครือข่ายได้คนที่เป็นคนมากขึ้นแล้วก็จะเป็นแบบบอกต่อมาก ขึ้นก็คิดว่าจะช่วยได้ดีครับ กระบวนการให้ ก ารศึ ก ษาเรื่ อ งของหลั ก ปรั ช ญาของ เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง แล้ ว ครู ก็ จ ะท� ำ แบบนี้ แ ต่ ค รู ต ้ อ งสร้ า งหลั ก สู ต รนะ แล้วกระบวนการที่ใช้ต้องใช้กระบวนการเดียว กระบวนการ ให้การศึกษาในเรื่องของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใช้ 34

IS AM ARE www.ariyaplus.com


กศน.เปิ ด กว้ า งสร้ า งโอกาส อย่ า งที่ เ รี ย นว่ า ท้ า ยที่ สุ ด สิ่ ง ที่ เราคุยกันอยู่ที่เราพยายามท�ำ การสร้าง ช่ อ งทางหรื อ การให้ โ อกาสคนให้ ม าก ที่สุด แล้วผมก็ท�ำความเข้าใจกับเขานะ ท�ำความเข้าใจกับทีมงานว่างาน กศน.นี้ คืองานที่ต้องเชื่อในเรื่องของความแตก ต่างระหว่าง บุคคล เมื่อเชื่อว่าคนแตก ต่ า งกั น การเรี ย นต้ อ งต่ า งกั น ไปด้ ว ย เพราะฉะนั้ น งานมั น จะหลายหน้ า มาก ดังนั้นคนท�ำงานต้องเชื่อคือเป็นข้อตกลง ในการท�ำงานเลยนะ ที่ผมชี้แจ้งเขาข้อ ตกลงเบื้องต้น คุณต้องเชื่อว่าคนแตกต่าง กันจริงไหม จริงแล้วเชื่อ เชื่อคุณก็ต้อง ท�ำตามนี้ ตามเงื่อนไขด้วยความรู้สึกที่ดี ด้วยความเข้าใจ จะการท�ำงานกลุ่มโน้น กลุ่มนี้แรกๆ ก็มีบ่น พอเราอธิบายค�ำนี้ ไป เชื่อไหม คือคนเราถ้าคุยกันโดยเข้าใจ เขาโอเคเลย แล้วเขาไม่มีบ่นเรามีช่องทาง

พระองค์ ท รงใช้ ค� ำ ว่ า เงื่ อ นไขคุ ณ ธรรมความรู ้ ดั ง นั้ น สุ ด ท้ า ยเลยก็ ต้ อ งเข้ า ใจว่ า ความรู ้ ต ่ า งหากคื อ สิ่ ง ส� ำ คั ญ ที่ จ ะท� ำ ให้ ค นเข้ า ใจปรั ช ญา เศรษฐกิ จ พอเพี ย งแล้ ว ความรู ้ ที่ ส� ำ คั ญ ส่ ว นใหญ่ ที่ สั ม ผั ส ก็ คื อ ชาวบ้ า น ก็ มี ห น่ ว ยเดี ย วที่ ส ามารถเข้ า ถึ ง ชาวบ้ า นคื อ กศน. ท�ำที่สร้างโอกาส สถานพินิจ สถานคดีเด็กและเยาว์ ชนทุกจังหวัด พอศาลตัดสินแล้ว ท่าน ไม่ สั่ ง ให้ เข้ า สถานพิ นิ จ นะบางครั้ ง ท่ า น สั่งมาเรียน กศน. เลย ศาลทั่วประเทศ ครับตอนนี้เป็นอย่างนี้ เราก็รับมาบางที ให้ เขาไปเรี ย นห้ อ งสมุ ด ประชาชนใช้ สถานที่เรียนนะ ห้องสมุดบ้าง ที่ กศน. ต่างๆ บ้างคนเหล่านี้ก็มาเรียนแล้วก็เจอ เพื่อนคล้ายๆกับการคุมประพฤติแต่ใช้วิธี ที่นิ่มนวลคือให้มาศึกษากับ กศน.เราก็รับ นะแล้วก็แรกๆก็อาจมีอะไรกันบ้าง แต่พอ เขามาเจอเพื่อนที่หลากหลายคือเพื่อนเขา จะหลอมเขาเอง ฉะนั้นการพบกลุ่มส�ำคัญ 35 issue 97 february 2016

มาก แต่ถ้าเรียนแล้วใช้สื่อทางไกลแล้ว ไม่ต้องมาเจอเพื่อนอันนั้นใช้เฉพาะคนที่ เก่งๆ อีกแบบหนึ่ง แต่ถ้าเป็นประชาชน ทั่วไปแล้วเราต้องมาเข้าช่องทางพบกลุ่ม แล้วพยายามจัดพบกลุ่มให้มาก โดยตรงนี้ ก็ต้องเรียนว่าสถานการณ์คนไทยเรายังมี คนที่ไม่รู้หนังสืออยู่พอสมควรนะ จ�ำนวน ที่ กศน. ถืออยู่ประมาณสัก ๓ แสนคน แต่ ถ้าโดยส�ำนักงานสถิติแห่งชาติพูดไว้หลัก ล้านเลยนะล้านกว่าคน


36 IS AM ARE www.ariyaplus.com


37 issue 97 february 2016


ความเป็นมา

ต�ำบลจันดุม ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์ 3 กลุ่ม ซึ่งมีพัฒนาการในการอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานและพัฒนากลุ่มตนเองที่แตก ต่างกันโดยทั้ง 3 กลุ่ม จัดแบ่งตามการอพยพเข้ามาตั้งบ้านเรือนถาวรได้แก่ กลุ่มไทยเขมร กลุ่มไทยกูย และกลุ่มไทยลาว ซึ่งสามารถ แบ่งเป็นช่วงเวลาในการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงได้ ดังนี้

พัฒนาการต�ำบล พ.ศ.2471-2499

ยุ คตัง้ บ้านเรือน

ในอดีตต�ำบลจันดุม เป็นพื้นที่ท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ทั้งป่าไม้ แหล่ง น�้ำ และสัตว์ป่า ท�ำให้มีผู้คนจากพื้นที่อื่นอพยพมาอาศัยอยู่เป็นจ�ำนวนมาก และด้วยความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ท�ำให้กลุ่มชาติพันธุ์ไทยเขมร ไทยกูย และไทยลาว ทยอยอพยพเข้ามาจับจองที่ท�ำกิน ถางป่าเพื่อบุกเบิกแปลง นาจนก่อตั้งเป็นหมู่บ้านต่างๆ ตามล�ำดับ จนกระทั่งปี พ.ศ.2496 เมื่อมีกลุ่ม คนเข้ามาจับจองที่ดินเพื่อท�ำมาหากินเพิ่มขึ้น ส่วนราชการจึงได้มีรังวัดและ จัดสรรที่ดินให้ราษฏรโดยการออกใบจองให้ เพื่อให้ชาวบ้านได้จ่ายภาษี ดอกหญ้าคืนรัฐบาล แม้จะมีการขยายพื้นที่และมีการจับจองที่ดินเพื่อการ อยู่อาศัยของชาวบ้านเพิ่มขึ้น แต่การตัดไม้ยังไม่มากเนื่องจากอาศัยพื้นที่ เพาะปลูกข้าวไร่ จึงยังไม่ได้บุกเบิกพื้นที่ป่าให้โล่งเตียนส�ำหรับที่นา

38 IS AM ARE www.ariyaplus.com


พ.ศ. 2500 – 2551

ยุ คพัมนาต�ำบลจันดุม

เนื่องจากความล�ำบากในการด�ำรงชีวิต ชาวจันดุมจึง ได้ เริ่ ม มี ก ารแลกเปลี่ ย นสิ น ค้ า โดยการน� ำ ข้ า วเปลื อ กเที ย ม เกวี ย นออกไปขายยั ง อ� ำ เภอปราสาทและมี ก ารน� ำ สั ต ว์ เ ลี้ ย ง เช่น หมู ไก่ และควาย ออกไปพร้อมกับคณะ เพื่อแลกเป็นเงิน กลับมา จนกระทั้งปี พ.ศ. 2502 – 2503 มีนายทุนเข้ามาติดต่อ ให้ตัดไม้เพื่อท�ำไม้หมอนรองรถไฟ และยังมีการเผาถ่านขายให้ กับโรงเลื่อย เป็นการท�ำลายพื้นที่ป่าอย่างรวดเร็วทั้งในพื้นที่ ป่าสาธารณะ พื้นที่ป่าไร่นาตนเอง และผลที่ตามมาจากการตัด ไม้คือเส้นทางการคมนาคมที่ได้จากการชักลากไม้ช่วงเวลานี้ เองท�ำให้ชาวบ้านเดินทางเพื่อออกไป ค้าขายได้สะดวกยิ่งขึ้น ต่อมากรมทางหลวงชนบทร่วมกับพัฒนากรชุมชนได้ตัดถนน เข้ า มายั ง หมู ่ บ ้ า นแพงพวย การพั ฒ นาต�ำ บลจั น ดุ ม เริ่ ม เข้ า สู ่ กระบวนการพัฒนาตามนโยบายของรัฐในการแก้ปัญหาเรื่อง ความยากจน โดยพัฒนากรชุมชนร่วมกับชุมชนเข้ามาศึกษา และแก้ปัญหาเรื่องรายได้ด้วยการส่งเสริมอาชีพ เช่นการเลี้ยงไก่ การเลี้ยงปลา การปลูกผัก พร้อมกับส่งเสริมเรื่องอนามัยในครัว เรือนและการคุมก�ำเนิด ซึ่งเป็นการท�ำงานร่วมกันระหว่างพัฒนา ชุมชน เกษตรอ�ำเภอและเจ้าหน้าที่อนามัย ในปี พ.ศ. 2525 เริ่ม มีการไฟฟ้าเข้าสู่หมู่บ้านแพงพวยเป็นครั้งแรก ท�ำให้ชาวบ้านได้ รับข่าวสารเพิ่มขึ้นจากการดูโทรทัศน์และเริ่มมีการพัฒนาชุมชน ในเรื่องอาชีพอย่างจริงจังได้แก่ กลุ่มสตรีทอผ้า กลุ่มสตรีออม ทรัพย์บ้านม่วงหวาน กลุ่มปลูกผักและกลุ่มเยาวชน เป็นต้น ทุก หมู่บ้านได้รับการส่งเสริมและการพัฒนาให้เกิดการรวมกลุ่มเพื่อ แก้ไขปัญหาความยากจนมาโดยตลอด จากนโยบายการแบ่ ง เขตการปกครองของจั ง หวั ด ท�ำให้อ�ำเภอประโคนชัยได้แบ่งเขตการปกครองต�ำบลจันดุมให้ ไปอยู่ในเขตการปกครองของอ�ำเภอพลับพลาชัยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 ท�ำให้มีการพัฒนาพื้นที่อย่างต่อเนื่องเรื่อยมา เป็นผล ให้มีการพัฒนาพื้นที่อย่างต่อเนื่องเรื่อยมา เป็นผลให้ต�ำบลจัน ดุมมีการร่วมกลุ่มเพื่อพัฒนาโดยได้รับการส่งเสริมจากหลาย หน่วยงาน จนสะสมเป็นต้นทุนและศักยภาพของต�ำบลก่อน เข้าสู่โครงการรักษ์ป่าสร้างคน 84 ต�ำบล วิถีพอเพียง ในปี พ.ศ. 2551

ทุนต�ำบล

แม้ว่าต�ำบลจันดุมจะได้รับการส่งเสริมและพัฒนาจาก หน่วยงานรัฐอย่างต่อเนื่องและมีหลายหน่วยงานเข้ามาส่งเสริม กิจกรรมอย่างจริงจัง แต่ผลที่เกิดขึ้นและท�ำให้เกิดรูปธรรมต่อ กระบวนการ พัฒนาพื้นที่อย่างชัดเจน มีดังนี้ ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ บ ้ า นม่ ว งหวาน – โคกเจริ ญ บ้านม่วงหวาน – โคกเจริญ เป็นกลุ่มชาวไทยกูยที่อาศัย อยู่ร่วมกันมาตั้งแต่เริ่มก่อตั้งหมู่บ้าน และมีวิถีชีวิตอยู่ภายใน ภาคเกษตรกรรมด้วยการเพาะปลูกข้าวเป็นหลัก โดยเฉพาะ อย่างยิ่งข้าวหอมมะลิแดงซึ่งเป็นข้าวพันธุ์พื้นเมือง แต่กระแส การพัฒนาที่เข้าถึงพื้นที่ ท�ำให้ระบบการผลิตในภาคเกษตรมี การเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้เครื่องจักรกลมา ช่วยในการเกษตร และการใช้สารเคมีจนท�ำให้สมาชิกในชุมชน เกิดภาวะหนี้สิน สถานการณ์อยู่ในช่วงวิกฤติ จนท�ำให้กรรมการ ชุ ม ชนช่ ว ยกั น วิ เ คราะห์ แ ละหาหนทางแก้ ไขปั ญ หา ร่ ว มกั บ พัฒนากรที่เข้ามาในช่วงปี พ.ศ. 2529 และก่อตั้งกลุ่มออมทรัพย์ ม่วงหวาน – โคกเจริญขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปลดหนี้ให้กับ เกษตรกร ลดการซื้อปุ๋ยเคมีลดค่าใช้จ่ายในการซื้อกิน และช่วย เหลือคนยากจนในชุมชนโดยเริ่มต้นจากการร่วมกันออมทรัพย์ ในกลุ่ม มีคณะกรรมการ 25 คน มาจากแต่ละกลุ่มเมื่อเกิด กลุ่มออมทรัพย์จึงมีการคิดวิเคราะห์ในการลดรายจ่ายจากการ 39

issue 97 february 2016


หลังจากการตั้งฉางข้าวแล้ว กลุ่มออมทรัพย์ม่วงหวาน – โคกเจริญ ได้ตั้งกลุ่มอื่นๆเพื่อสนับสนุนกิจกรรมภายในชุมชนเช่น การจัดซื้อรถนวดข้าว รถเกี่ยวข้าว เพื่อรับจ้างในชุมชน กิจกรรม ผลิตน�้ำปลากลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มอนุรักษ์ควายไทย และกลุ่มเยาวชนรักษ์ถิ่น ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้เชื่อมโยงกับระบบ สวัสดิการของชุมชน โดยกิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วกั บ ประเด็ น เรื่ อ งการเกษตรของ บ้านม่วงหวาน – โคกเจริญ แบ่งเป็น 3 กิจกรรม ขับเคลื่อน พัฒนาโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานกลุ่มออมทรัพย์ ธนาคารผัก ก่อตัง้ ขึน้ ในปี พ.ศ. 2537 ได้รบั การสนับสนุน ที่ดินประมาณ 2 งาน จากองค์การบริหารส่วนต�ำบล แรกเริ่มมี สมาชิก 20 ราย ต่อมาได้มีการจัดสรรที่ดินสาธารณะของหมู่บ้าน ขึ้นและให้ชาวบ้านที่สนใจการปลูกผักอีกกลุ่มเข้าท�ำกิน โดยไม่

ถูกพ่อค้าเอาเปรียบด้วยการตั้งร้านค้าชุมชน ด้วยการระดมหุ้น จากสมาชิก 30 คน เริ่มต้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530 และพัฒนาต่อ เนื่องเป็นศูนย์สาธิตการตลาด รวมทั้งสร้างโรงสีชุมชนเพื่อรับสี ข้าวในท้องถิ่นเพื่อลดต้นทุนการเดินทางในการน�ำข้าวไปสีกับ โรงสีภายนอก โดยได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงมหาดไทย เป็นเงิน 2 ล้านบาท ต่อมาในปี พ.ศ. 2533 จึงมีการสร้างฉาง ข้าวรวมในการเก็บข้าวและเมล็ดพันธุ์เพื่อปล่อยกู้ให้กับสมาชิกที่ ปลูกข้าวไม่พอกินและน�ำเมล็ดพันธุ์ไปเพาะปลูกซึ่งฉางข้าวนี้ได้ รับการสนับสนุนงบประมาณจากงบพัฒนาจังหวัด

40 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ได้เป็นสมาชิกกับกลุ่มธนาคารผัก ส�ำหรับ การบริหารจัดการของกลุ่ม คือใช้เงินของ กลุ่มบริหารจัดการเรื่องค่าน�้ำรดผัก ค่า เมล็ดพันธุ์ และเงินที่ได้จากการปลูกผัก จะฝากไว้กับกลุ่มออมทรัพย์ กลุ ่ ม ปุ ๋ ย อิ น ทรี ย ์ อั ด เม็ ด ก่ อ ตั้ ง ขึ้นในปี พ.ศ. 2546 เพื่อแก้ปัญหาดิน เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมี โดยได้รับ การสนับสนุนโรงผลิตปุ๋ยและอุปกรณ์การ ผลิตจากการองค์การบริหารส่วนต�ำบล จันดุม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 ต่อมาในปี พ.ศ. 2547 กลุ่มปุ๋ยได้กู้ยืมเงินจากกลุ่ม ออมทรัพย์เพื่อน�ำมาเป็นทุนในการผลิต ปุ๋ยโดยมีคณะกรรมการกลุ่ม 10 คน เป็น ผู้บริหารจัดการ ด้วยการรับซื้อมูลควาย จากกลุ่มอนุรักษ์ควายไทย เพื่อน�ำมาเป็น วัตถุดิบในการผลิตปุ๋ยปัจจุบันเป็นกลุ่ม กิจกรรมที่ไม่มีสมาชิกเข้าร่วมเนื่องจาก ปัญหาความไม่เชื่อมั่นในปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิต ได้ด้วยตนเอง และความสะดวกสบายใน การซื้อปุ๋ย ที่กลุ่มปุ๋ยผลิตมาขายสะดวก กว่ า ต้ อ งไปมี ส ่ ว นร่ ว มในการผลิ ต เองมี ทุนซึ่งใช้ในการบริหารจัดการภายในกลุ่ม

ประมาณ 60,000 บาท โดยฝากไว้กับ กลุ่มออมทรัพย์ กลุ ่ ม อนุ รั ก ษ์ ค วายไทย ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น ในปี พ.ศ. 2546 โดยมี ส าเหตุ จ าก การที่ชาวบ้านส่วนใหญ่น�ำควายไปขาย และซื้อรถไถนาหรือควายเหล็กมาใช้จน ท�ำให้ปริมาณควายในประเทศลดลงอย่าง รวดเร็ ว กลุ ่ ม นี้ ไ ด้ รั บ การสนั บ สนุ น งบ ประมาณจากองค์การบริหารส่วนต�ำบล จั น ดุ ม อี ก ทั้ ง ยั ง มี ก ารติ ด ต่ อ หน่ ว ยงาน อื่นที่เกี่ยวข้องมาสนับสนุน เช่น ปศุสัตว์ จังหวัดได้สนับสนุนวัคซีนและความรู้ใน การเลี้ยงควาย แรกเริ่มก่อตั้งมีสมาชิก ต้องการเลี้ยงควายจ�ำนวน 84 ราย ต่อมา 41 issue 97 february 2016

ขยายเป็น 300 กว่าราย และขยายผลไป ยังหมู่บ้านข้างเคียงอีก 6 หมู่บ้าน ผลจาก การเข้าร่วมกลุ่มนี้คือ สมาชิกจะสามารถ ขายมูลควายให้กับกลุ่มปุ๋ยสร้างรายได้ เพิ่ ม มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ เพื่ อ นสมาชิ ก ได้จากการส่งมอบลูกควายคืนกลุ่มเมื่อ ควายตกลูก เพราะต้องจับคู่กับสมาชิก ที่ควายตกลูกเหมือนกันส่งคืนกลุ่มคนละ ตัวครึ่ง ในส่วนครึ่งตัวนั้นจะส่งคืนกลุ่ม เป็ น เงิ น หรื อ เป็ น ควายก็ ไ ด้ สมาชิ ก ที่ ต้ อ งการเป็ น สมาชิ ก กลุ ่ ม อนุ รั ก ษ์ ค วาย ไทยต้องเป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ด้วย จากกิจกรรมดังกล่าวพบว่าสิ่งที่เป็นฐาน ของกิจกรรม ได้แก่ การเป็นสมาชิกกลุ่ม


ออมทรัพย์ การออมทรัพย์มีการออมตั้งแต่ 30 – 6,000 บาทต่อเดือนและสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์สามารถเลือกท�ำหรือเข้าร่วมกิจ กรรมใดๆ ก็ตามความสนใจ ปัจจุบันกลุ่มออมทรัพย์บ้านโคกเจริญ มีสมาชิก 725 คน มีเงินออม 8,650,000 บาท โดยสมาชิกบางส่วนมาจากหมู่บ้าน แพงพวยบ้านละลมไผ่ บ้านจบก (ชาวบ้านโคกเจริญเป็นสมาชิกกลุ่มทุกครัวเรือน) จ�ำนวนเงินออมอยู่ระหว่าง 50 – 2,000 บาท ต่อเดือน โรงน�้ ำ ตาเตี ย ว การตั้งโรงน�้ำตาเตียว เป็นผลสืบเนื่องมาจากการก่อตั้งกลุ่มออมทรัพย์บ้านแพง พวยและบ้านจบก เนื่องจากทุนในการออมทรัพย์และปล่อยกู้มีน้อยไม่สามารถที่จะช่วย คนที่เป็นหนี้จ�ำนวนมากได้ พระครูโสภณจึงคิดเรื่องธุรกิจเพื่อให้เกิดทุนหมุนเวียนและ สร้างอาชีพให้กับคนในชุมชน และพิจารณาจากสภาพพื้นที่และทรัพยากรที่มีในชุมชน และพิจารณาจากสภาพพื้นที่และทรัพยากรที่มีในชุมชน ท�ำให้เห็นว่ามีทรัพยากรที่ สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้คือ น�้ำที่อยู่ข้างๆ วัดซึ่งเป็นบ่อขุดโบราณและเป็นแหล่ง น�้ำที่รสชาติดีที่สุด โดยไม่ต้องผ่านการกรอง วิธีการบริหารจัดการกลุ่มออมทรัพย์กับโรงน�้ำตาเตียวเป็นการบริหารที่สัมพันธ์ กัน โดยโรงน�้ำตาเตียวมีการลงหุ้น 2,000 หุ้นๆละ 300 บาท เมื่อสิ้นปีจะมีปันผล ก็น�ำ เงินที่ได้จากการปันผลมาเข้าร่วมกับกลุ่มออมทรัพย์ ท�ำให้สมาชิกมีเงินกู้และมีเงินเก็บ เพิ่มมากขึ้น จากการสนับสนุนผลก�ำไรเพื่อเข้ามาหมุนเวียนในการออมทรัพย์และการ ปล่อยกู้ให้กับสมาชิก การด�ำเนินงานในโรงน�้ำตาเตียวเป็นการสร้างรายได้ให้กับสมาชิก ที่หมุนเวียนกับเข้าไปด�ำเนินงาน นอกจากเป็นการสร้างรายได้แล้วยังน�ำไปสู่การลดหนี้ ให้กับครัวเรือนที่เข้าไปรับจ้างอีกถึง 8 ครอบครัว 42 IS AM ARE www.ariyaplus.com


นอกจากกลุ ่ ม กิ จ กรรมข้ า งต้ น ที่ เ ป็ น ต้ น ทุ น และ ศักยภาพชุมชนแล้ว ในต�ำบลจันดุมยังมีการพัฒนาที่เป็น ฐานความรู้ชุมชนในด้านเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ โครงการฝึกอบรมให้ความรู้ชุมชนในด้านเศรษฐกิจ พอพียง ชุมชนเข้มแข็งการพึ่งพาตนเอง หรือเกษตรผสม ผสาน เช่น โครงการ SML โครงการอยู่ดีมีสุขโครงการท�ำ ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ผลิตน�้ำยาล้างจาน กองทุน กข.คจ. กลุ่มสตรีทอผ้า และกลุ่มฌาปนกิจหมู่บ้าน เป็นต้น โครงการอยู่ดีมีสุข สนับสนุนโดยองค์การณ์บริหาร ส่ ว นต� ำ บลจัน ดุม มีน โยบายส่งเสริม ให้แ ต่ละครั ว เรื อ นใน ชุมชนเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติกจัดหาซื้อพันธุ์ปลาดุกและ วัสดุอุปกรณ์มาให้ ส่วนโครงการปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ ภายใต้การสนับสนุนขององค์การบริหารส่วนต�ำบลจันดุม มีนโยบายสนับสนุนการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ โดยจัดให้ มีการอบรมเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง และให้ปลูกผักไว้บริโภค เองในครัวเรือน ง า น พั ฒ น า ที่ ผ ่ า น ม า มี ห น ่ ว ย ง า น ที่ เข ้ า ม า สนั บ สนุ น งานพั ฒ นาให้ กั บ ต� ำ บลจั น ดุ ม ได้ แ ก่ โรงเรี ย น พลับพลาชัยพิทยาคม เทศบาลต�ำบลจันดุม พัฒนาชุมชน อ�ำเภอประโคนชัย พลังงานจังหวัดบุรีรัมย์ สถาบันพัฒนา องค์กรชุมชน (พอช.) มูลนิธิหมู่บ้าน เป็นต้น

กลไกลการขับเคลื่อน

โครงการรักษ์ป่า สร้างคน 84 ต�ำบล วิถีพอเพียง เริ่มต้นใน ต�ำบลจนดุม จากการประสานงานกับกลุ่มแกนน�ำเดิมของต�ำบลที่ มีการท�ำงานพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเบื้องต้นให้ ความส�ำคัญกับผู้น�ำหลักในท้องถิ่น ด้วยเป้าหมายที่จะกระจายการ ท�ำงานให้เข้าถึงในทุกๆ หมู่บ้าน จึงมีการประสานงานผ่านผู้ใหญ่ บ้านแต่ละหมู่บ้านและสมาชิกสภาเทศบาลประจ�ำหมู่บ้าน ท�ำให้ ในระยะแรกคณะกรรมการโครงการฯ เกือบทั้งหมดเป็นผู้ใหญ่บ้าน

ก้าวเดินด้วยความพอเพียง

ต� ำ บลจั น ดุ ม เข้ า ร่ ว มโครงการรั ก ษ์ ป ่ า สร้ า งคน 84 ต� ำ บล วิถีพอเพียง ในระยะที่ 2 เมื่อปลายปี พ.ศ. 2551โดยมู ล นิ ธิ ห มู ่ บ ้ า น เครื อ ข่ า ยโลกสี เขี ย ว ซึ่ ง เข้ า มาสนับสนุน กิจกรรมบางส่วนในพื้นที่ เป็นผู้แนะน�ำให้เข้า ร่วมโครงการฯ ทองค�ำ แกนน�ำคนส�ำคัญของต�ำบลจันดุม จึงเริ่มเข้ามารับรู้แนวทางการท�ำงานของโครงการฯ ที่เน้น การใช้ ค วามรู ้ แ ละการพั ฒ นาคนให้ ส ามารถพึ่ ง ตนเองได้ ซึ่ง ทองค�ำ เห็นว่าโครงการหรือกิจกรรมมากมายที่เข้ามา ท�ำให้พื้นที่ก่อนหน้านี้มักหยุดนิ่ง และเริ่มหายไปหรือเลิก ท�ำ เพราะคนไม่เข้าใจสิ่งที่ท�ำงานมักจะเป็นคนเดิมๆ ที่รับ ผิดชอบอยู่หลายๆ โครงการ จึงน่าจะต้องเริ่มที่การพัฒนา คนเป็นส�ำคัญ ให้สามารถจัดการให้เกิดความยั่งยืน จึงเป็น สาเหตุที่ท�ำให้ก�ำนันทองค�ำเริ่มสนใจและตัดสินใจเข้าร่วม กับโครงการฯ

43 issue 97 february 2016


ชีวิตตามแนวทางวิถีพอเพียง โดยใช้กระบวนการทางพระพุทธ ศาสนารวมกลุ่มคนให้ร่วมกันเรียนรู้วิถีพอเพียง พร้อมกับให้ เห็นความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยงานมหกรรม มีรูปแบบที่เริ่มต้นจากการจัดการป่าหนองจาน น�ำมาสู่ความ ร่วมมือในการจัดงานทอผ้าสร้างภูเขาสัจธรรมที่เป็นศูนย์รวม ของคนในต�ำบลจันดุม ความร่วมมือที่เกิดขึ้นนี้มากจากพื้นฐานในการนับถือ พุทธศาสนาและศรัทธาต่อกระบวนการเรียนรู้ธรรมะร่วมกับ ธรรมชาติ ดังนั้นจึงเป็นผลให้เกิดการพัฒนาจิตใจของคนต�ำบล จันดุม การท� ำ ลายทรั พ ยากรธรรมชาติ ต้ั ง แต่ อ ดี ต ท� ำ ให้ ทรั พ ยากรป่ า ในต� ำ บลจั น ดุ ม หมดไปอย่ า งรวดเร็ ว เมื่ อ เข้ า สู ่ โครงการฯ ท�ำให้คณะกรรมการโครงการฯได้ทบทวนถึงปัญหา ที่เกิดขึ้น ในเรื่องทรัพยากร ธรรมชาติ ซึ่งเป็นผลให้เกิดเวที ประชาคมท�ำความเข้าใจการใช้ประโยชน์จากป่าชุมชน โดย ผลลัพธ์จากการด�ำเนินการ คือ ชุมชนรอบป่าและหนองน�้ำ สาธารณะจ�ำนวน 2 ชุมชนได้รับทราบข้อมูลสถานการณ์การใช้ ประโยชน์ ผู้น�ำชุมชนจ�ำนวน 12 หมู่บ้าน มีแนวทางการฟื้นฟู ป่าชุมชนและหนองน�้ำสาธารณะ ชุมชนมีความตระหนักถึงการ อนุรักษ์ทรัพยากรที่มีคุณค่า มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ใน

สมาชิกเทศบาล ครู และผู้อ�ำนวยการโรงเรียน ต่อมาจึงปรับ โครงสร้างคณะกรรมการโครงการฯ ใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับ บทบาทหน้าที่ โดยพิจารณาจากฐานเดิม คือ เป็นผู้น�ำชุมชน หรือกลุ่มคนที่อยู่ในกระบวนการงานพัฒนาและมาจากหลาก หลายกลุ่ม ผลปรากฏว่าในปี พ.ศ. 2552 มีการปรับโครงสร้าง จากกลุ่มต่างๆ ตามแผนผังคณะกรรมการโครงการฯ ต�ำบล จันดุม

รูปธรรมความส�ำเร็จในพื้นที่

ต� ำ บลจั น ดุ ม มี ก ลุ ่ ม ไทยกู ย ไทยลาว และไทยเขมร อาศั ย อยู ่ ร วมกั น โดยมี กิ จ กรรมสั ม พั น ธ์ เ พื่ อ การพั ฒ นาตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยโครงการฯ ต�ำบลจันดุมได้ ร่วมกับภาคีเครือข่ายในท้องถิ่น น้อมน�ำพุทธศาสนาเป็นหลัก ยึดเหนี่ยวจิตใจให้เกิดความร่วมมือของคนในต�ำบล และเพื่อ ผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด รู ป ธรรมตามแนววิ ถี พ อเพี ย งตั้ ง แต่ ร ะดั บ ครั ว เรือนถึงระดับต�ำบลจึงมีแผนการด�ำเนินงานในระดับต�ำบลด้วย การจัดค่ายพุทธมามกะให้กับคน 3 รุ่นในต�ำบลจันดุมเป็นระยะ เวลา 2 ปี ต่อเนื่องโดยมีเป้าหมายในการเชื่อมร้อยและสร้าง ความเข้าใจให้กับคนในครอบครัวตั้งแต่เด็ก พ่อแม่ และผู้สูง อายุ ด้วยการปลูกฝังด้านจริยธรรมคุณธรรมให้คนในต�ำบลอยู่ ร่วมกันได้ เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างเศรษฐกิจและสภาพ สังคมในปัจจุบัน ชุมชนและภาคีเครือข่ายในต�ำบลจันดุมยังร่วมกันจัด งาน “มหกรรมแซมซายตร�ำดม โมโฮมเคนีย” ขึ้น เพื่อเผย แพร่บทเรียนและประสบการณ์ให้เกิดความเชื่อมั่นต่อการด�ำเนิน 44 IS AM ARE www.ariyaplus.com


การท�ำงานด้านฟื้นฟูและการใช้ประโยชน์จากป่าชุมชนและ หนองน�้ำสาธารณะ นอกจากนี้ ต� ำ บลจั น ดุ ม ยั ง ได้ ย กระดั บ เรื่ อ ง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ด้วยการจัดกระบวนการ สร้างการเรียนรู้ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ง แวดล้ อ มของชุ ม ชน จากฐานงานเด็ ก และเยาวชน เกิ ด กิจกรรมการส�ำรวจป่าหนองจานของเยาวชนในต�ำบลจัน ดุม โดยมีผู้ใหญ่จากหลายภาคส่วนเข้าร่วม ทั้งพระครูโสภณ ธรรมาภิรม ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน 2 โรงเรียน ครูที่ท�ำงาน ในประจ�ำต�ำบล ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคณะกรรมการโครงการฯ ที่ เข้ าร่ ว มกิ จกรรม ได้น�ำข้อมูลและสิ่งที่สังเกตเห็ น เกี่ ย ว กับความเสื่อมโทรมสภาพป่าหนองจาน มาแบ่งปันในการ ประชุมคณะกรรมการโครงการฯ ร่วมกับภาคีเครือข่ายใน ต�ำบลจันดุม จึงมีมติเห็นชอบในการแต่งตั้งคณะกรรมการ อนุรักษ์ฟื้นฟูป่าหนองจานและสิ่งแวดล้อมต�ำบลจันดุม มี ความอุ ด มสมบู ร ณ์ โ ดยรั ก ษาสภาพแวดล้ อ มและพั ฒ นา คุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ต�ำบลจันดุมและพื้นที่ ใกล้เคียง ภายใต้การมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชน โดยมีกลุ่มเป้าหมายและคณะด�ำเนินงานคือ กลุ่มเยาวชน ที่ เ ป็ น ผู ้ เรี ย นรู ้ แ ละร่ ว มกิ จ กรรมที่ ค ณะกรรมการร่ ว มกั น พิจารณาด�ำเนินงาน พร้อมกับเสนอกิจกรรมในกลุ่มเพื่อ จัดการทรัพยากรธรรมชาติร่วมกัน 45 issue 97 february 2016


โดย นงนาท สนธิสุวรรณ

อาจารย์ป๋วย

บุคคลผู้ถึงด้วย ความจริง ความงาม ความดี ในปี ๒๕๕๙ แห่ง ๑๐๐ ปีชาตกาลของ “อาจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์” อดึตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ข้าพเจ้า ในฐานะอดีตพนักงานของสถาบันแห่งนี้ ขอร่วมกับธนาคาร แห่งประเทศไทยและองค์กรภาคีต่างๆ น้อมร�ำลึกถึงท่าน ด้วย การน�ำบทปาฐกถาพิเศษ ของคุณประทีป สนธิสุวรรณ (นักเรียน ทุนรุ่นแรกของธนาคารแห่งประเทศไทย และอดีตผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย) ที่ได้กล่าวไว้เนื่องใน วันครบรอบวันเกิด ๖๕ ปี ของอาจารย์ป๋วย ณ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ ๙ มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๔ มาบันทึกไว้ใน วาระนี้ ด้วยความเคารพรักอย่างยิ่ง ซึ่งข้าพเจ้ามีความเห็นว่า สาระส่วนใหญ่ในปาฐกถาพิเศษนี้ แม้กาลเวลาจะผ่านล่วงเลย มาเกือบ ๓๕ ปีแล้ว แต่แนวนโยบายการเงินการคลังของท่าน และคุณธรรมในการปฏิบัติงาน ยังสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ให้

บังเกิดผลดีกับบ้านเมืองในปัจจุบันในหลายๆเรื่อง.. แนวนโยบายการเงิ น การคลั ง ของดร.ป๋ ว ย “ ทุกครั้งที่นึกถึงอาจารย์ป๋วย ผมเองก็อดสลดใจไม่ได้ว่า ท�ำไมหนอ คนที่ตั้งหน้ารับใช้บ้านเมือง อุทิศร่างกาย จิตใจ ใช้ สมอง สติปัญญาอันปราดเปรื่อง ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต หาคน เทียบยากอย่างอาจารย์ป๋วย จึงต้องประสบชะตากรรมบั้นปลาย ชีวิตอย่างน่าหดหู่ใจ ถูกคนป้ายสี โจมตี เข้าใจผิดสารพัด และ ในที่สุด ร่างกายประสบโรคภัยไข้เจ็บ ในขณะเดียวกัน ผมจะปลอบใจตนเอง โดยนึกถึงผลงาน ของท่าน ซึ่งถึงจะมีผู้พยายามบิดเบือนสารพัด แต่กาลเวลา ได้ เป็นเครื่องพิสูจน์อาจารย์ป๋วยแล้วว่า ได้ก่อประโยชน์ให้แก่ ประเทศชาติอย่างมหาศาล ไม่ว่าจะในฐานะเสรีไทยในระหว่าง 46

IS AM ARE www.ariyaplus.com


เรื่ อ งราวรอบตั ว สงครามโลกครั้ ง ที่ ส อง และในฐานะ นั ก เศรษฐศาสตร์ ที่ เ ก่ ง ที่ สุ ด คนหนึ่ ง ใน หลังสงครามโลก นักเศรษฐศาสตร์ที่ช่วย ให้ประเทศพัฒนามาโดยมีเสถียรภาพใน ช่วงปี ๒๔๙๒-๒๕๑๕ คือ ๒๓ ปีที่มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างมากในบ้านเมืองเรา ผ ม พู ด อ ย ่ า ง นี้ เ ส มื อ น ว ่ า อาจารย์ป๋วย เป็นผู้วิเศษ ความจริงแล้ว อาจารย์ป๋วยไม่ใช่ผู้วิเศษ แต่เป็นผู้ที่หา ยาก แนวนโยบายการเงินการคลังของอา จารย์ป๋วย มิใช่มีลักษณะวิเศษ แต่หาข้อ เปรียบเทียบได้ยาก แนวนโยบายการเงิน การคลังของอาจารย์ป๋วย ไม่ใช่แหวกแนว สลับซับซ้อนอะไรมาก แต่เป็นนโยบาย ที่ เ หมาะสมกั บ ประเทศไทยเรา เพราะ อาจารย์ป๋วยเข้าใจระบบเศรษฐกิจไทย เราอย่างลึกซึ้ง และมีความสามารถที่จะ ให้เหตุผล ชักชวนผู้ปกครองบ้านเมือง และเพื่อนร่วมงาน เห็นความจ�ำเป็นใน การด� ำ เนิ น การแก้ ไขปั ญ หาโดยใช้ ห ลั ก วิ ช าการ และที่ ส� ำ คั ญ คื อ ผู ้ ป กครอง บ้านเมืองอย่าง จอมพลสฤษดิ์ จอมพล ถนอม ให้โอกาสคนอย่างอาจารย์ป๋วย ที่ จ ะได้ ท� ำ งานตามก� ำ ลั ง ความสามารถ เมื่อโอกาสมี บุคคลที่มีความรู้ความเข้าใจ อย่างลึกซึ้งในระบบเศรษฐกิจและปัญหา เศรษฐกิจบ้านเมืองแบบไทยๆเราอย่าง อาจารย์ป๋วย สามารถวางรากฐานการ พัฒนาเศรษฐกิจของบ้านเมืองได้ พู ด อย่ า งนี้ ไม่ ไ ด้ ห มายความ ว่ า ใครๆก็ ท� ำ ได้ เพราะเพี ย งแต่ ค วาม สามารถที่จะชักจูงรัฐบาล และเพื่อนร่วม งาน ให้เห็นดีเห็นงาม ในสิ่งที่จะท�ำ และ ให้ความร่วมมือช่วยกันท�ำ พอจะมองเห็น ว่า นักเศรษฐศาสตร์ หรือนักปกครอง มีกี่ คนในประวัติศาสตร์ไทยหลังสงครามโลก ครั้งที่สองที่มีคุณสมบัติเช่นนี้ จอห์น เมนาร์ด เคนส์ ปรมาจารย์ เศรษฐศาสตร์ท่านหนึ่ง กล่าวไว้ว่า “การ

เรียนเศรษฐศาสตร์ ดูไปก็ไม่น่าต้องใช้ สติปัญญาวิเศษพิศดารอะไร แต่จะหา นักเศรษฐศาสตร์ที่ดีหรือแม้แต่จะพอใช้ งานได้ เหมือนงมเข็มในท้องทะเล เป็น วิชาที่ง่าย แต่น้อยคนนักที่ซาบซึ้งดี.” หากเป็ น เช่ น นี้ แ ล้ ว จะหาคนที่ เป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่ดี และสามารถ ใช้วิชาการเป็นประโยชน์ แก่บ้านเมือง มหาศาล เป็นทั้งผู้ควบคุมนโยบายการ คลังคือ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงบประมาณ (พ.ศ.๒๕๐๑-๒๕๐๓) ผู ้ อ� ำ นวยการ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวง การคลั ง (พ.ศ.๒๕๐๓-๒๕๐๕) และผู ้ ควบคุมนโยบายการเงินของประเทศคือ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (พ.ศ. ๒๕๐๕-๒๕๑๓) และผู้เป็นก�ำลังส�ำคัญ ของการวางแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และ สังคมของประเทศฉบับแรกด้วย 47 issue 97 february 2016

นโยบายเป็ น เครื่ อ งมื อ ความจริ ง นโยบายการเงิ น การ คลัง เป็นเครื่องมือเพื่อให้เป็นไปตามเป้า หมาย และวั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการพั ฒ นา ประเทศ และแก้ ไขปั ญ หาเศรษฐกิ จ ดั ง นั้ น เราน่ า จะลองวิ เ คราะห์ แ นวคิ ด ของอาจารย์ป๋วยที่ระบุไว้ในการประชุม นานาชาติ เมื่อปี ๒๕๐๖ คือ “ ส่งเสริม ให้ประชาชนอยู่ดี กินดีพอสมควร และ ให้ สั ง คมและชุ ม ชนนั้ น มี คุ ณ ภาพและ สวัสดิภาพสูงขึ้น “ และได้ระบุหน้าที่ของ รัฐบาลไว้อย่างชัดเจน ๗ ข้อ คือ ๑. การรักษาความสงบเรียบร้อย และเสถียรภาพ ๒.การบริ ห ารที่ มี ส มรรถภาพ และเห็ น อกเห็ น ใจราษฏรในด้ า นต่ า งๆ เช่น เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ การเมือง


๓.บริการขั้นพื้นฐานประเภทต่างๆ ซึ่งรวมทั้งการสนเทศ การค้าอันทะมัดทะแมง การส่งเสริมการเกษตรด้วยสมรรถภาพ และการอบรมด้านการอุตสาหกรรม ๔.นโยบายอันเหมาะสม เพื่อสร้างสรรและด�ำรงไว้ซึ่ง โอกาสการประกอบอาชีพ ๕.เฉลี่ยรายได้และทรัพย์สินให้ทั่วถึงกัน ด้วยวิธีการคลัง และสังคมสงเคราะห์ ๖.มุ ่ ง งานพั ฒ นาโดยเน้ น ให้ ไ ด้ ป ระโยชน์ แ ก่ ห มู ่ ช นที่ ยากไร้ ๗.ลงทุ น ในการสร้ า งสรรทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ด้ ว ยวิ ธี โภชนาการและการศึกษา นโยบายการคลั ง และนโยบายการเงิ น เข้ า มามี ส ่ ว น ที่จะให้เศรษฐกิจเจริญเติบโตโดยมีเสถียรภาพ กล่าวคือ ถ้า เศรษฐกิจขยายตัวเร็วเกินไป จะเกิดปัญหาด้านเศรษฐกิจและ สังคม ขยายตัวเร็วเกินไป เกิดปัญหาขาดแคลนเงินทุน ขาด ดุ ล การช� ำ ระเงิ น ฯลฯ ขยายตัว ช้าเกิน ไป ไม่สามารถท� ำ ให้ ประชาชนมีกินมีใช้ได้ในเวลาอันสมควร นโยบายการคลังและการเงินเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการ

ควบคุมปริมาณเงิน ให้เหมาะสมกับความต้องการของกิจกรรม ด้านเศรษฐกิจ ปริมาณเงินมากเกินไปท�ำให้เงินเฟ้อ ปริมาณเงิน น้อยเกินไปเกิดปัญหาเงินตึงตัว เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา ทั้ง เงินฝืดและเงินเฟ้อเป็นอุปสรรคต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ และ เกิดความไม่แน่นอน ขาดเสถียรภาพ นโยบายการคลังนั้น นอกจากจะช่วยให้รัฐบาลมีราย ได้มาใช้จ่ายเพื่อการพัฒนาประเทศ ยังช่วยเรื่องการกระจาย รายได้ให้มีความเป็นธรรมยิ่งขึ้นในสังคม ในลักษณะที่ว่า “ คน มีน้อยรัฐควรช่วยมาก” อย่างที่อาจารย์ป๋วยเคยพูดถึงค�ำกล่าว นี้ของประธานาธิบดี รามอน แมกไซไซ สรุปแล้ว อาจารย์ป๋วย ใช้นโยบายการเงินและนโยบาย การคลัง เป็นเครื่องมือเพื่อสร้างและรักษาเสถียรภาพในระบบ เศรษฐกิจ ความจริงหลักการที่อาจารย์ป๋วยใช้ ท่านเรียกว่า ทฤษฏี บ อลลู น หรื อ ทฤษฏี ลู ก โป่ ง บางครั้ ง เรี ย กว่ า ทฤษฏี สูบเข้าสูบออก โดยถือว่าในระบบเศรษฐกิจนั้นจะมีปัจจัยที่ท�ำให้ เศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงอยู่ ๓ ตัว คือ ๑.ปั๊มการคลัง สูบเข้าสูบออกเป็นรายได้-รายจ่าย ๒.ปั ๊ ม การเงิ น ระหว่ า งประเทศ มี ก ารช� ำ ระเงิ น เข้ า 48

IS AM ARE www.ariyaplus.com


ประเทศ และเงินไหลออกนอกประเทศ ซึ่งมีผลสุทธิคือดุลการช�ำระเงินระหว่าง ประเทศ ๓.ปั ๊ ม การเงิ น ภายในประเทศ คื อ การขยายเครดิ ต ของระบบธนาคาร ถ้ า ขยายเข้ า ระบบมาก ลู ก โป่ ง จะ โต เงินจะเฟ้อ ลูกโป่งจะลอย ทั้ ง สามด้ า นคื อ ด้ า นการคลั ง ด้านการเงินระหว่างประเทศ ด้านการ เงิ น ภายในประเทศ ต้ อ งใช้ ม าตรการ การคลั ง และด้ า นการเงิ น ให้ เ หมาะสม เพื่ อ ให้ ป ริ ม าณเงิ น ในระบบเศรษฐกิ จ มี อ ยู ่ อ ย่ า งเหมาะสม ไม่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด เงินเฟ้อหรือเงินฝืดขึ้น หากในขณะใดมี ปั จ จั ย ทั้ ง ภายในและภายนอกประเทศ มากระทบ ท�ำให้เสียเสถียรภาพไป จะ ต้องใช้มาตรการคือ เครื่องมือในปั๊มแต่ละ ตัวให้ถูกต้อง แก้ไขสถานการณ์กลับไปอยู่ ในภาวะเสถียรภาพพอสมควร

แนวความคิ ด ดั ง กล่ า ว มี ผ ลให้ อาจารย์ป๋วย ประสบความส�ำเร็จในการ รักษาเสถียรภาพในระบบเศรษฐกิจ โดย เฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงปี พ.ศ.๒๕๐๐๒๕๑๕ กล่ า วคื อ อั ต ราเงิ น เฟ้ อ โดย เฉลี่ ย ซึ่ ง ได้ แ ก่ ค่ า ครองชี พ เพิ่ ม ขึ้ น ในอั ต ราร้ อ ยละ ๒-๓ ต่ อ ปี อั ต ราการ ขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ ร้ อ ยละ ๘ โดย เฉลี่ย เรียกได้ว่าเศรษฐกิจขยายตัวโดยมี เสถียรภาพพอสมควร ในขณะเดียวกัน อาจารย์ป๋วยใช้นโยบายดอกเบี้ยค่อนข้าง ต�่ ำ เพื่ อ ให้ เ กิ ด การลงทุ น และการขยาย กิจการอุตสาหกรรม รวมทั้งเพื่อให้ต้นทุน การผลิตสินค้าและการส่งออกค่อนข้าง ต�่ำ ท�ำให้แข่งขันสินค้าในตลาดโลกและ ประเทศคู ่ แข่ ง ขั น ได้ เศรษฐกิ จ ไทยจึ ง เรียกได้ว่าเป็นเศรษฐกิจที่มีการส่งออก เป็ น ตั ว ผลั ก ดั น ให้ มี ก ารขยายตั ว ทาง เศรษฐกิจในอัตราที่สูงพอสมควร...

49 issue 97 february 2016

ทั้ ง หมดนี้ ต้ อ งอาศั ย ศิ ล ปะใน การด� ำ เนิ น นโยบายอย่ า งมาก รวมทั้ ง คุณธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ ถือสุจริต ธรรมเป็ น ที่ ตั้ ง และได้ แ สวงหาวิ ธี ไ ม่ ให้ ภ าคการเมื อ งเข้ า มาแทรกแซงการ ปฏิบัติงานของข้าราชการในทางมิชอบ เช่ น ในบางกรณี ข องโครงการขนาด ใหญ่ อาจารย์ป๋วยได้เลือกการกู้เงินจาก ธนาคารโลก ซึ่งมีวิธีควบคุมการเบิกจ่าย เงินที่ได้มาตรฐานและโปร่งใส เป็นต้น พร้ อ มทั้ ง ท� ำ ตนเป็ น แบบอย่ า ง และ ได้ ชั ก ชวนให้ ผู ้ ร ่ ว มงานและข้ า ราชการ ปฏิบัติตาม เพื่อเกิดขวัญและก�ำลังใจใน การท�ำงาอย่างมั่นคงและยั่งยืน....” ..... อ่านต่อได้ที่: https://www. gotoknow.org/posts/599848


Let’s talk

“อย่าให้ใครว่าไทย” แนวทางประชาสัมพันธ์เชิงรุกตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รมประชาสั ม พั น ธ์ เ ป็ น หน่ ว ยงานที่ มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการน้ อ มน� ำ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ไปสู ่ ก ารปฏิ บั ติ จ ริ ง ของภาคประชาชน ตามนโยบายเร่ ง ด่ ว นของรั ฐ บาล คสช. โจทย์ ที่ ท ้ า ทายก็ คื อ ท� ำ อย่ า งไรให้ แ นวคิ ด เรื่ อ งความพอเพี ย งเป็ น เรื่ อ งที่ ไ ม่ น ่ า เบื่ อ ส� ำ หรั บ ประชาชนโดยเฉพาะเยาวชน ท� ำ อย่ า งไรคนถึ ง จะเข้ า ใจว่ า หลั ก ความพอเพี ย งมิ ใ ช่ ก ารท� ำ เกษตรผสมผสานเพี ย งอย่ า งเดี ย ว หากหมายรวมถึ ง การมี คุ ณ ธรรมน� ำ ทางในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต โดยเฉพาะเรื่ อ งใหญ่ ข องประเทศไทยก็ คื อ “การโกง”

50 IS AM ARE www.ariyaplus.com


51 issue 97 february 2016


หากใครเคยเห็นโฆษณาที่ชื่อว่า “ไทยฮุบ” “ไทยผีสิง” “ไทยเท” “ไทยหั ว สู ง ” ก็ ค งจ� ำ กั น ได้ นั่ น คื อ ผลจากความ ร่วมมือดังกล่าว รณรงค์ปลุกจิตส�ำนึกคนไทยด้วยตัวโฆษณา ที่ ดู แ ล้ ว ไม่ น ่ า เบื่ อ ฝี มื อ ที ม งานจากสมาคมนั ก โฆษณาแห่ ง ประเทศไทย ซึ่งเคยโด่งดังมาแล้วจากผลงานโฆษณา “ตาวิเศษ” หรือล่าสุด “ให้เหล้าเท่ากับแช่ง” ซึ่งถือเป็นการประชาสัมพันธ์ รณรงค์อย่างเห็นผล เพราะเมื่อตัวโฆษณา “ให้เหล้าเท่ากับ แช่ง” ออกไปได้ระยะหนึ่ง บรรดากระเช้าของขวัญก็ปราศจาก เหล้าทันตา ถือเป็นการปลุกจิตส�ำนึกอย่างเป็นรูปธรรม “เขาจะปล่ อ ยคลิ ป ออกมาในลั ก ษณะไม่ ใ ห้ รู ้ ว ่ า มาจากไหน มีคนส่งต่อกัน มันก็เป็นเทคนิคหนึ่งของสมาคม นักโฆษณาฯ เขาช่วยเราได้เยอะมาก ถามว่าถ้าเราท�ำในแบบ ราชการ ไม่มีใครอยากดูรูปแบบเก่าๆ เพราะฉะนั้นการท�ำงาน ในยุคปัจจุบันก็ต้องเปลี่ยน สิ่งเหล่านี้คือกระบวนการในการ ประชาสัมพันธ์เชิงรุก เพื่อให้เยาวชน ให้คนรุ่นใหม่ดูกัน ถ้า ไม่ท�ำแบบนี้เด็กเยาวชนไม่ดู หรือแม้กระทั่งผู้สูงวัยก็ตาม เคย มีคนพูดว่า ดูแล้วไม่รู้เรื่อง คนที่ผลิตก็บอกว่าเขาตั้งใจให้คน รุ่นเก่าดูไม่รู้เรื่อง เพราะรุ่นเก่าก็ต้องปล่อยไป ดูแลคนรุ่นใหม่ ที่จะต้องเติบโตขึ้นมา” ค�ำว่า “ไทยฟุ้งเฟื้อ” อันเป็นชื่อหนึ่งของตัวโฆษณา ที่ออกอากาศไป อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์พูดถึงที่มาว่า เด็ก

นายอภินันท์ จันทรังษี อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ กล่าว ว่า กรมประชาสัมพันธ์ได้ร่วมมือกับส�ำนักงานทรัพย์สินส่วน พระมหากษัตริย์ และคณะกรรมการโครงการประสานงานอัน เนื่องมาจากพระราชด�ำริ (กปร.) รวมถึงกองอ�ำนวยการรักษา ความมั่นคงภายใน (กอ.รมน.) และส่วนส�ำคัญอีกหน่วยงาน หนึ่งก็คือสมาคมนักโฆษณาแห่งประเทศไทย เพื่อจะท�ำงาน ด้ า นประชาสั ม พั น ธ์ เชิ ง รุ ก เรื่ อ งเศรษฐกิ จ พอเพี ย งไปสู ่ ภ าค ประชาชน โดยกรมประชาสัมพันธ์มีเครื่องมืออย่างวิทยุ 147 คลื่นสถานี มีช่องโทรทัศน์ 12 แห่ง รวมถึงโซเชียลมีเดียต่างๆ มีประชาสัมพันธ์จังหวัดทุกจังหวัด มีอาสาสมัครประจ�ำหมู่บ้าน และชุมชนอยู่ทุกหมู่บ้าน ทุกต�ำบล ส่วนเรื่องเนื้อหาวิชาการที่ จะน�ำมาเป็นส่วนประกอบในการขับเคลื่อนได้จาก กปร. และ ส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ “ท�ำยังไงให้ประชาชนรู้โดยสนใจ หรือให้เด็กเยาวชน ได้เรียนรู้ ไม่ใช่บอกว่าพอพูดถึงปรัชญาฯ ทุกคนหาวแล้ว ทุก คนไม่กล้าสนใจกลายเป็นต�ำราเล่มใหญ่ที่น่าเบื่อ ท�ำอย่างไร ให้สิ่งเหล่านี้กลายเป็นการเรียนรู้ที่ง่าย เรียนรู้แล้วน่าสนใจ สมาคมนักโฆษณาฯ เข้ามาช่วยเรา เราท�ำสัญญา MOU ร่วม กัน บันทึกข้อตกลงว่าเราจะจับมือกันแล้วผลักดันให้ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่ประชาชนให้เข้าใจโดยง่าย” 52

IS AM ARE www.ariyaplus.com


นักเรียน นักศึกษาเดี๋ยวนี้ต้องมีกระเป๋า แบรนด์ เ นม ต้ อ งมี ข องดี บางคนต้ อ ง ลงทุนไปเช่ามาใช้ ไม่น่าเชื่อว่ามันเกิดขึ้น จริง อยากจะไปอยู่ในสังคมที่เรียกว่าไฮโซ กลายเป็นแนวคิดที่ผิด ท�ำให้เห็นว่าคน ไทยนั้นต้องเปลี่ยน “แม้กระทั่งเรื่องของ ‘ไทยเท’ บางคนโยนขยะทิ้ ง ไปตามถนน เป็ น เรื่องของคนมักง่าย สิ่งที่สะท้อนกลับ มาคือ ณ วันนี้มีคนต่างชาติเปรียบเทียบ คนไทยในทางลบ คนไทยจากคนที่ มี อารยธรรม เป็นสยามเมืองยิ้ม เดี๋ยวนี้ เจอหน้ า กั น ก็ ท ะเลาะกั น ฝรั่ ง บอกว่ า ‘don’t thai to me’ (อย่าท�ำเป็นไทย ใส่ฉันนะ) กลายเป็นค�ำที่โจมตีให้คนไทย เสื่อมเสีย คนไทยต้องพลิกฟื้นกลับมาว่า ‘อย่าให้ใครว่าไทย’ อย่าให้ใครว่าไทย ขี้โกง อย่าให้ใครว่าไทยมักง่าย อย่าให้ ใครว่าไทยฟุ้งเฟื้อ” น อ ก จ า ก ก า ร ร ณ ร ง ค ์ ป ลุ ก จิตส�ำนึก ปลุกจิตวิญญาณให้คนไทยรัก

ผ ม อ ย า ก จ ะ ก ร า บ เ รี ย น ว ่ า พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย ์ ไ ท ย ไ ม ่ มี ที่ ใ ด เ ห มื อ น พระองค์ ดู แ ลพสกนิ ก รชาวไทยเหมื อ นลู ก คนหนึ่ ง ไม่ ว ่ า จะให้ ห ลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต หรื อ ช่ ว ยเหลื อ สนั บ สนุ น เรื่ อ งต่ า งๆ มากมาย ไม่ ใ ช่ เ ฉพาะพระมหากษั ต ริ ย ์ น ะครั บ พระบรมวงศานุ ว งศ์ ทุ ก พระองค์ ศักดิ์ศรี “อย่าให้ใครว่าไทย” ตามหลัก ปรัชญาฯ ของในหลวงแล้ว นายอภินันท์ มองว่าข้าราชการหรือหน่วยงานต่างๆ ก็ จ�ำเป็นต้องเอาหลักปรัชญาฯ นี้ไปปรับ ใช้ เพราะปัจจุบันเกิดเสียงเรียกร้องจาก ภาคประชาชนมากมายเกี่ยวกับการให้ บริการของภาครัฐ (บางส่วน) ที่อาจจะ มองว่าตนเองอยู่เหนือประชาชน ทั้งนี้ อดีตนายอ�ำเภอเจ้าของรางวัลนายอ�ำเภอ แหวนเพชรหรือนายอ�ำเภอของประชาชน และรางวัลข้าราชการตัวอย่าง ปี 2532 ย�้ำว่า ราชการคือผู้ให้บริการประชาชน มิใช่เจ้าคนนายคนดังค�ำอวยพรจากญาติ ผู้ใหญ่ที่ว่า “ขอให้เป็นเจ้าคนนายคน นะ” 53 issue 97 february 2016

“ต้ อ งเปลี่ ย นทั ศ นคติ กั น ใหม่ เพราะสอนมาผิดตั้งแต่เล็กๆ อวยพร ว่าไปเป็นเจ้าคนนายคน เด็กหลายคน ที่เติบโตมาก็เลยเป็นนายหมด บางคน เป็นข้าราชการเด็กๆ ก็รู้สึกว่าเป็นเจ้า คนนายคนแล้ว ซึ่งมันไม่ถูก อันดับแรก ต้องปรับเปลี่ยนทัศนคติก่อนว่าเราต้อง เป็นผู้ให้บริการประชาชน ทุกต�ำแหน่ง ครับ ไม่ว่าจะเป็นมหาดไท กระทรวง ทบวง กรม คุณจะเป็นหมอ คุณก็มีหน้า ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารประชาชน หมอก็ ไ ม่ ใช่ นายประชาชน นายอ�ำเภอก็ไม่ใช่นาย ประชาชน ผู้ว่าก็ไม่ใช่นายประชาชน ทุกต�ำแหน่งถือว่าต้องเป็นผู้ให้บริการ ประชาชน เพราะเราก็ต้องรับเงินเดือน จากภาษีอากรจากประชาชน”


“ต้ อ งเปลี่ ย นทั ศ นคติ กั น ใหม่ เพราะสอนมาผิ ด ตั้ ง แต่ เ ล็ ก ๆ อวยพรว่ า ไปเป็ น เจ้ า คนนายคน เด็ ก หลายคนที่ เ ติ บ โตมาก็ เ ลยเป็ น นายหมด บางคนเป็ น ข้ า ราชการ เด็ ก ๆ ก็ รู ้ สึ ก ว่ า เป็ น เจ้ า คนนายคนแล้ ว ซึ่ ง มั น ไม่ ถู ก อั น ดั บ แรกต้ อ งปรั บ เปลี่ ย น ทั ศ นคติ ก ่ อ นว่ า เราต้ อ งเป็ น ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารประชาชน ทุ ก ต� ำ แหน่ ง ครั บ

54 IS AM ARE www.ariyaplus.com


“คนมาติดต่องานผมสั่งสอนลูกน้องเสมอว่า ‘คนมา ติดต่อราชการนั้นท�ำงานตามหน้าที่ ไม่มีเรื่องบุญคุณ’ เขาจะ มาแจ้งเกิด แจ้งตาย แจ้งย้าย ไม่มีบุญคุณ เพราะนั่นคือหน้าที่ ที่เราต้องท�ำ ไม่ใช่ว่าจดทะเบียนสมรสให้คู่นี้แล้วจะเป็นบุญ คุณตลอดชีวิต ไม่ใช่ นั่นคือหน้าที่ เราต้องปฏิบัติ นี่คือสิ่งหนึ่ง ที่เราต้องยึดถือ และเปลี่ยนแนวคิดใหม่ทุกต�ำแหน่ง” “คนไปหาหมอ หมอที่โรงพยาบาลคุณก็กินเงินเดือน คุณไม่ใช่บริการฟรีนะ ฟรีนั้นเป็นเรื่องของรัฐ คุณหมอทั้ง หลายท่ า นก็ คื อ ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารประชาชน ทุ ก ต� ำ แหน่ ง อั น ดั บ แรกต้ อ งมองให้ ท ะลุ ป รุ โ ปร่ ง ถึ ง หลั ก แนวคิ ด ในการด� ำ เนิ น ชีวิตก่อน ฉะนั้นข้าราชการ ณ วันนี้ต้องเข้าใจถึงบทบาท หน้าที่ คุณอยู่ในต�ำแหน่งใดก็ต้องท�ำหน้าที่ตรงนั้นให้ดีท่ีสุด อยู่กรมประชาสัมพันธ์ ท�ำประชาสัมพันธ์จังหวัด ท�ำหน้าที่ สนับสนุนหน่วยงานต่างๆ ในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร คุณ เป็นต�ำรวจ คุณมีหน้าที่ดูแลปกป้องทุกข์สุขของประชาชน ประชาชนมีทุกข์มีภัยต้องดูแล บ้านไหนถูกยกเค้านั่นคือความ บกพร่อง แสดงว่าคุณดูแลไม่ทั่วถึง หน่วยงานทุกหน่วยงาน เช่นเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นท้องถิ่น เทศบาล อบต.ทั้งหลายคุณ ต้องมีหน้าที่ให้บริการ ท้องถิ่น ขยะ เรื่องน�้ำเน่า น�้ำเสีย เป็น หน้าที่ครับ ท�ำแล้วไม่ต้องประกาศว่าเป็นบุญคุณของใคร เพราะไม่ใช่เงินส่วนตัวมาท�ำให้ประชาชน เป็นเงินจากภาษี ของรัฐที่มาท�ำ สิ่งเหล่านี้ต้องปรับ เราต้องมีจิตวิญญาณของ การเป็นผู้ให้บริหารและรับใช้ประชาชน” หลังจากงานโฆษณาชิ้นต่างๆ ออกสู่สายตาประชาชน ถื อ เป็ น สั ญ ญาณที่ ดี ที่ เ ครื อ ข่ า ยต่ า งๆ ทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชน ต่างตบเท้าเข้าร่วมมากมาย เพื่อร่วมผลักดันหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในรูปแบบและการปรับใช้กับหน่วยงานของ ตนเอง โดยเฉพาะค�ำพูดที่ว่า “อย่าให้ใครว่าไทย” ซึ่งถือเป็น วลี เ ด็ ด ที่ เข้ า มากระตุ ก จิ ต ส� ำ นึ ก ภายในองค์ ก รต่ า งๆ ได้ เ ป็ น อย่างดี “ขณะนี้มีเครือข่ายที่มาร่วมกับเรา 90 กว่าองค์กร แล้ว เช่น SCG หน่วยงานภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน เยอะมากเข้ามาร่วมขอเป็นองค์กรที่จะผลักดันต่อไป แต่ละ องค์กรก็จะน�ำหลักปรัชญาฯ เหล่านี้ไปสู่องค์กรตัวเอง ซึ่งก็ เรียนว่ามันขยายได้อย่างรวดเร็ว เป็นที่น่ายินดีครับว่า การที่ ได้จับมือกันท�ำงานร่วมกับภาคเอกชนสามารถสร้างเครือข่าย ขณะนี้ในแต่ละหน่วยงานเขาก็ไปสร้างแนวคิดของตัวเอง ไป หน่วยงานไหนเขาก็บอกอย่าให้ใครว่าไทยเป็นอย่างนี้ อย่าให้ ใครว่าองค์กรนี้ขี้เกียจ อย่าให้ใครว่าเราขี้โกง อย่าให้ใครว่า เราเอาเปรียบชาวบ้าน แม้กระทั่งภาคอุตสาหกรรมก็เอาไปใช้

บางคนบอกเอาไปใช้ยังไง ไม่ลงทุนเหรอ ไม่ใช่ การลงทุนของ ธุรกิจนั้นก็ต้องตั้งอยู่บนความไม่ประมาท เช่น ต้องประเมิน สถานการณ์โลกว่าเป็นยังไง ต้องประเมินสถานการณ์ผู้บริโภค ว่าเป็นยังไง หลักดีมาน – ซับพลาย ไม่ใช่มีเงินก็ลงทุนอย่าง เดียวโดยไม่ประเมิน แล้วต้องไม่เอาเปรียบประชาชนด้วย สิ่ง เหล่านี้เป็นสิ่งที่สามารถเอาไปใช้ได้อย่างกว้างขวาง” “ผมอยากจะกราบเรี ย นว่ า พระมหากษั ต ริ ย ์ ไ ทย ไม่มีที่ใดเหมือน พระองค์ดูแลพสกนิกรชาวไทยเหมือนลูก คนหนึ่ง ไม่ว่าจะให้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน การด�ำเนินชีวิต หรือช่วยเหลือสนับสนุนเรื่องต่างๆ มากมาย ไม่ใช่เฉพาะพระมหากษัตริย์นะครับ พระบรมวงศานุวงศ์ทุก พระองค์ ถ้าท่านจะด�ำเนินชีวิตแบบกษัตริย์ทั่วไปก็ได้ แต่ ท่านทรงเหน็ดเหนื่อย ทรงดูแลพี่น้องทั่วประเทศ มีคนกล่าว ว่า ‘ไม่มีแผ่นดินใดในประเทศไทยที่ไม่มีรอยพระบาท’ สิ่ง เหล่านี้เป็นสิ่งส�ำคัญครับ เพราะฉะนั้นคนไทยต้องตระหนัก ในเรื่ อ งของความกตั ญ ญู ต ่ อ พระองค์ ท ่ า นให้ ม าก” อธิ บ ดี กรมประชาสัมพันธ์กล่าวทิ้งท้าย 55

issue 97 february 2016


เรื่อง, ภาพ : กรวิก อุนะพ�ำนัก

ผีกับพระเจ้า

เจริ ญ เป็ น ชาวไทยเชื้ อ สายกะเหรี่ ย งโดยก� ำ เนิ ด อายุ 72 ปี อาศั ย อยู ่ ใ นหมู ่ บ ้ า นสะมอจาล่ า ง (ชื่ อ ล� ำ ธาร บนภู เ ขาด้ า นล่ า ง) เป็ น หมู ่ บ ้ า นเล็ ก ๆ ใน อ.แม่ แ จ่ ม มี ป ระชากรอยู ่ 12 หลั ง คาเรื อ นกลางป่ า แม่ แ จ่ ม ซึ่ ง มี พื้ น ที่ ก ว่ า 2,700 ตารางกิ โ ลเมตรหรื อ ประมาณ 1.7 ล้ า นไร่ ความกว้ า งใหญ่ นี้ ท� ำ ให้ ป ระเทศสิ ง คโปร์ มี ขนาดเพี ย ง 1 ใน 4 ของ อ.แม่ แ จ่ ม เท่ า นั้ น แม้ จ ะเป็ น เพี ย งอ� ำ เภอ แต่ แ ม่ แ จ่ ม ก็ มี ข นาดใหญ่ ก ว่ า จั ง หวั ด ในประเทศไทยถึ ง 19 จั ง หวั ด รวมถึ ง กรุ ง เทพฯ โรดใช้เวลา 4-5 ชั่วโมง การเดินเท้า 1 วัน ยิ่งหมู่บ้านของเจริญ แล้วต้องใช้เวลามากกว่านั้นสองเท่าในฤดูฝน การเดินทางที่เร็วที่สุดคือมอเตอร์ไซค์ที่รัดยางไว้ด้วย โซ่เป็นข้อๆ เพื่อกันลื่นเวลาลัดเลาะไหล่เขา ทุ่งข้าวไร่ และไร่ ข้าวโพด อันที่จริงถนนดินโคลนก็มีส�ำหรับรถ 4X4 เท่านั้น มีเพื่อ ให้ออฟโรดสนุกกับการเดินทาง ไม่เกี่ยวกับเจริญและชาวบ้านที่ ไม่มีเงินซื้อโฟร์วิลคันละล้านแน่นอน คนที่นี่จึงไม่นิยมเข้าเมือง หากไม่จ�ำเป็น

70% ของแม่ แจ่ ม เป็ น ภู เขาสู ง และป่ า ไม้ เป็ น แหล่ ง ต้นน�้ำส�ำคัญของไทย คนในพื้นที่เรียกว่าแม่น�้ำแม่แจ่ม หนึ่งใน สาขาส�ำคัญของแม่น�้ำปิง ก่อนจะไหลรวมเป็นแม่น�้ำเจ้าพระยา ต่อไป 47% ของประชาชนในพื้นที่แม่แจ่มเป็นชาวไทยเชื้อสาย กะเหรี่ยง อาศัยอยู่ตามภูเขาในเขตป่า มีโรงพยาบาลแห่งเดียว คือโรงพยาบาลเทพรัตนเวชชานุกูล (โรงพยาบาลแม่แจ่ม) การ เดินทางจากหมู่บ้านที่ใกล้ที่สุด (บ้านขุนแม่นาย) ด้วยรถออฟ 56

IS AM ARE www.ariyaplus.com


ระหว่ า งทาง เจริญเกิดและเติบโตในป่า เธอเกิดทันยุคสมัยหนึ่งที่ชาว กะเหรี่ยงนับถือผี ตอนนั้นเธออายุ 9 ขวบ ก่อนที่ศาสนาคริสต์ จะเข้ามาเปลี่ยนความเชื่อเดิมๆ ของชาวบ้านในพื้นที่ไป “น่ากลัวมาก เสือ หมาป่าเต็มไปหมด ใครท�ำไม่ดีจะ ถูกเสือมากินหมูที่บ้าน แล้วมันก็มาจริงๆ” เจริญเคยเห็นเสือเข้ามากัดหมูบ้านข้างๆ ทุกคนรู้ทันที ว่าบ้านนั้นต้องมีอะไรผิดปกติ “เด็กมันลักเล่น” เจริญถลึงตา ปากยั ง คาหมากเต็ ม ร่ อ งฟั น ลั ก เล่ น หมายความว่ า หนุ ่ ม สาว อายุไม่ถึง 18 แอบได้เสียกันจนตั้งท้อง ชาวเขาถือว่าเป็นสิ่งผิด ร้ายแรง ข้าพเจ้าไม่โน้มน�ำว่ามันเป็นความจริงหรือความบังเอิญ แต่ที่แน่ๆ ชาวบ้านกลัว เจริญเองก็จริงจังกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เธอเชื่อ นั่นคือสัญญาณบอกเหตุที่ไม่อาจปกปิดได้ “ใครไม่รู้ แต่ผีรู้” เจริญพึมพ�ำ หนุ่มสาวที่ลักเล่นกันจนตั้งท้องต้องเข้าพิธีตามความเชื่อ สืบต่อกันมาโดยไม่มีลายลักษณ์อักษร เขาและเธอต้องหาควาย ตัวผู้ที่มีเขาตั้งตรงขนานกับใบหูหนึ่งตัว แล้วจูงรอบหมู่บ้านสาม รอบ ก่อนจะลงมือร่วมกันฆ่าควายตัวนั้นเพื่อบูชาขอขมาผีป่า จู่ๆ การที่เด็กทั้งสองต้องมาฆ่าควายร่วมกันย่อมไม่ใช่เรื่องง่าย เพชรฆาตที่ฆ่าควายมามากมายยังสะท้านใจลึกๆ ทุกครั้ง แม้ จะท�ำเพื่อบูชาผีที่พวกเขาเชื่อว่าคอยปกปักคุ้มครองพวกเขามา ตั้งแต่บรรพบุรุษก็ตาม เด็กหนุ่มกับควายใต้ถุนบ้านไม่เคยบาดหมางกันมาก่อน แต่บัดนี้ไม่มีการปราณีใดๆ ทั้งสิ้น เขาและเธอช่วยกันมัดขาควาย สลับกันเพื่อให้มันล้มลง มัดคอรั้งไว้กับหลักเพื่อให้หัวมันโน้มต�่ำ ลงพอดีกับองศาวงแขน เด็กหนุ่มง้างค้อนขนาด 8 ปอร์ดทุบลง ไปเต็มอักที่ท้ายทอยควายโชคร้าย ก่อนจะแทงคอตามที่เคยเห็น

ผู้ใหญ่ท�ำ หญิงสาวเอาตีนกวาดกองเลือดควายที่ทะลักมารวมกัน แล้วตักใส่ถังบรรจุแยกไว้ต่างหาก เนื้อควายถูกแจกจ่ายให้แก่คนทั้งหมู่บ้าน งานเลี้ยงเริ่ม ขึ้น นั่นคือพิธีปลดปล่อยเขาและเธอให้อยู่กินกันฉันท์สามีภรรยา อย่างถูกต้อง มันดูเหมือนพิธีแต่งงานที่รื่นเริง ทว่าสามีภรรยา กลับรู้สึกสลดกับสิ่งที่ตนเองได้กระท�ำลงไป การลักเล่น การฆ่า ควายทั้งที่ไม่เต็มใจเพื่อบูชาสิ่งที่พวกเขามองไม่เห็น ความกลัว และลูกในท้องที่ก�ำลังจะเกิด “พิธีต่างๆ ยุ่งยาก น่ากลัว เรายังกลัวเลย ใครท�ำผิด บางครั้งได้ยินเสียงเด็กร้องไห้อยู่ในไร่ข้าวโพดของตัวเอง” ความยุ่งยากและน่ากลัวนี่เอง เป็นช่องทางให้ศาสนา คริสต์สามารถเข้าถึงชาวบ้านได้โดยง่าย ปัจจุบันเจริญเข้าโบถส์ ทุกวันพุธกับวันอาทิตย์ เธอเรียนรู้ว่าพระเยซูคือบุตรของพระเจ้า ที่ตายอยู่ในหลุมแล้วสามวัน ก่อนจะฟื้นขึ้นมาเพื่อปกปักรักษา เพื่อนมนุษย์ อย่างไรก็ตาม เจริญสารภาพว่า “ผี” ยังสถิตย์อยู่ใน ความเชื่อของเธอลึกๆ มีอิทธิพลต่อชาวบ้านอย่างเงียบเชียบ ไม่แพ้ “พระเจ้า” เพียงแต่ไม่มีโบสถ์ให้อ้อนวอนเท่านั้น 57

issue 97 february 2016


58 IS AM ARE www.ariyaplus.com


เรื่ อ งราวดี ๆ

หลวงพ่อสุมโน ภิกขุ พระฝรั่งศิษย์หลวงพ่อชา ทิ้งชี วิตที่หรู หรา สู่วิถีแห่งความสันโดษ

เป็ น ระยะเวลา 30 กว่ า ปี แ ล้ ว ที่ พ ระอาจารย์ สุ ม โน ภิ ก ขุ พระฝรั่ ง อดี ต ชาวเมื อ งชิ ค าโก ประเทศ สหรั ฐ อเมริ ก า ได้ ส ละทิ้ ง ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งที่ เ คยสุ ข สบายในชี วิ ต ฆราวาส แล้ ว หั น เหตั ว เองสู ่ เ ส้ น ทางแห่ ง จิ ต วิ ญ ญาณ เพื่ อ ด� ำ เนิ น ชี วิ ต ในวิ ถี ท างที่ สั น โดษและเรี ย บง่ า ย ภายใต้ ร ่ ม เงาของพระพุ ท ธศาสนา สิ่ ง ที่ ท� ำ ให้ อ ดี ต นั ก ศึ ก ษาด้ า น กฎหมายและนักธุรกิจด้านตีราคาที่ดิน ทั้ ง ของรั ฐ และเอกชน ผู ้ เ คยใช้ ชี วิ ต ระดับไฮคลาส เดินทางไปต่างประเทศ ด้ ว ยเครื่ อ งบิ น ชั้ น ธุ ร กิ จ (Business Class) พักแต่โรงแรมระดับห้าดาว และ มี เ งิ น เหลื อ เฟื อ พอที่ จ ะเที่ ย วรอบโลก ได้ ตั ด สิ น ใจทิ้ ง ชี วิ ต ที่ ห ลายคนพยายาม ตะเกียกตะกายเพื่อจะไปให้ถึง เหตุเพราะ เช้ า วั น หนึ่ ง เขาลื ม ตาตื่ น ขึ้ น พร้ อ มกั บ ความรู้สึกที่ว่าชีวิตช่างน่าเบื่อ ไม่มีอะไร ที่ท�ำให้ต้องตื่นเต้นอีกต่อไปแล้ว พระอาจารย์ สุ ม โน ซึ่ ง อดี ต เคยนั บ ถื อ ศาสนายิ ว บอกเล่ า ว่ า รู ้ จั ก พระพุทธศาสนาครั้งแรกเมื่อตอนที่ก�ำลัง ศึกษา อยู่ในชั้นมัธยมปลาย ด้วยความ ที่ มี นิ สั ย เป็ น คนชอบอ่ า นหนั ง สื อ และ แสวงหาความรู ้ อ ยู ่ ต ลอดเวลา กระทั่ ง วั น หนึ่ ง จึ ง ได้ ไ ปเจอหนั ง สื อ บางเล่ ม ที่ มี เนื้อหาเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาวาง อยู่บนโต๊ะในห้องสมุด แรกเริ่ ม พระอาจารย์ ใ ห้ ค วาม สนใจเรื่องการน�ำหลักการฝึกสมาธิของ ทางพระพุทธศาสนามาใช้ในการปรับปรุง และพัฒนาตัวเองมากกว่า ขณะเดียวกัน ก็ใช้เวลาศึกษาศาสนาหลายศาสนาและ หลายนิ ก าย โดยเคยเข้ า คอร์ ส ที่ มี ก าร อบรมด้ า นพระพุ ท ธศาสนาอยู ่ ห ลาย คอร์ ส และใช้ เวลาปลี ก วิ เวกอยู ่ แ ต่ ใ น

ห้ อ งโดยไม่ ไ ปไหนเลย เป็ น เวลานาน 2-3 ปี ในวัย 32 ปี เมื่อได้ทิ้งชีวิตการ เป็นนักธุรกิจแล้ว และเริ่มมีใจลึกซึ้งใน พระพุทธศาสนา พระอาจารย์เห็นว่า การ ฝึกสมาธิอย่างเดียวช่วยอะไรได้น้อยมาก จึงมีความสนใจ อยากจะศึกษาพระพุทธ ศาสนาให้มากขึ้น แต่เวลานั้นยังไม่ได้มี ความคิดที่จะบวช ช่ ว งเวลาที่ ท ่ า นก� ำ ลั ง จะเดิ น ทางไปศึกษาพระพุทธศาสนาที่ประเทศ อิ น เดี ย นั้ น ระหว่ า งทางได้ ไ ปแวะที่ เมืองลอนดอน ประเทศอังกฤษ เพราะ เพื่ อ นของพระอาจารย์ ไ ด้ แ นะน� ำ ให้ รู ้ จั ก วั ด แห่ ง หนึ่ ง ที่ นี่ ซึ่ ง เมื่ อ สมั ย ที่ ท ่ า น ไปเยือนครั้งแรกนั้นยังไม่ได้เป็นวัด แต่ ต่อมาได้กลายมาเป็น วัดจิตตวิเวก (วัด ป่ า สาขาวั ด ป่ า หนองป่ า พงแห่ ง แรก 59 issue 97 february 2016

ในประเทศอั ง กฤษ) ที่ ช ่ ว งเวลานั้ น มี พระสุ เ มธาจารย์ หรื อ ท่ า นสุ เ มโธภิ ก ขุ เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก เมื่อเริ่มแรกตั้ง วัด ในพ.ศ. 2522 พระอาจารย์ยังจ�ำได้ว่า ทุกๆเย็น จะต้องนั่งรถลีมูซีนคันหรูเพื่อไปสวดมนต์ ที่วัด ก่อนจะตัดสินใจนุ่งขาวห่มขาวอยู่ นานถึ ง สามปี จึ ง ท� ำ ให้ ค วามตั้ ง ใจที่ จ ะ ไปอิ น เดี ย ในครั้ ง นั้ น เป็ น อั น ต้องล้มเลิก และในที่ สุ ด จึ ง ตั ด สิ น ใจบวชเมื่ อ อายุ ไ ด้ 35 ปี นอกจากวั ด จิ ต ตวิ เ วก พระ อาจารย์ได้มีส่วนร่วมในการสร้างวัดอีก แห่ง คือ วัดอมราวดี แต่ด้วยสเกลที่มี ขนาดใหญ่ ต้องใช้เวลาในการสร้างนาน จึงไม่อยากใช้เวลาให้หมดไปกับการเป็น ช่ า ง แต่ อ ยากศึ ก ษาหลั ก ค� ำ สอนทาง พระพุทธศาสนามากกว่า


เราเคยได้ยินเคยได้เห็น แต่พระอาจารย์ชาท่านไม่ได้เป็นอย่าง นั้น การแก้ปัญหาของท่านเป็นการรู้จากปัจจุบันขณะและใช้ ค�ำว่าเหมาะสม” เมื่อหลวงพ่อชามรณภาพ พระอาจารย์จึงออกธุดงค์ ไปตามพื้นที่ต่างๆทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ กระทั่ง สุดท้ายได้เลือกพ�ำนักอยู่ที่ ส�ำนักปฏิบัติธรรมถ�้ำสองตา ในเขต พื้นที่เขาใหญ่ หลังจากที่เคยธุดงค์ไปพบเพียงแค่คืนเดียว ด้วย เห็นว่าเป็นสถานที่ที่เหมาะต่อการปฏิบัติ การเดินทางเข้าออก ค่อนข้างล�ำบาก แม้แต่รถยนต์ ก็เข้าไม่ได้ จึงท�ำให้ปลอดความ วุ่นวายจากสิ่งต่างๆ นับจากวันนั้นจนถึงวันนี้ เวลาก็ได้ล่วงเลย มากว่า 20 ปีแล้ว “ตอนนี้ แ ก่ แ ล้ ว ไปที่ ไ หนไม่ ไ ด้ แ ล้ ว ” พระอาจารย์ บอก เล่าด้วยอารมณ์ขันเมื่อถูกตั้งค�ำถามว่าท�ำไมจึงเลิกธุดงค์ และเลือกส�ำนักปฏิบัติธรรมถ�้ำสองตาเป็นที่พ�ำนักสุดท้ายของ ชีวิต วัตรปฏิบัติของพระอาจารย์ที่ส�ำนักปฏิบัติธรรมแห่งนี้ ทุกวันจะต้องตื่นจากจ�ำวัดตอนตีสี่ เพื่อนั่งสมาธิ อ่านหนังสือ เดินจงกรม และฟังธรรมะ แม้แต่ในยามที่ย�่ำเท้าไปบนถนนสาย เล็กๆที่ทุรกันดารสู่หมู่บ้าน เพื่อไปบิณฑบาต ระหว่างทางก็ยัง วันหนึ่งเมื่อเดินทางสู่ประเทศไทย ท�ำให้พระอาจารย์ได้ ต้องอาศัยฟังธรรมบรรยายผ่านเครื่องเล่น MP3 มีโอกาสแวะเวียนไปกราบไหว้ และเรียนรู้ธรรมะจากพระชื่อดัง หลายรูปในประเทศไทย อาทิ ท่านพุทธทาสภิกขุ หลวงปู่เทสก์ หลวงพ่ อ คิ ด ว่ า ความเจริ ญ ไม่ ใ ช่ สิ่ ง ดี เ สมอไป เพราะ ถ้ า เจริ ญ แบบไม่ มี ป ั ญ ญาก็ จ ะมี ป ั ญ หามากขึ้ น อย่ า ง เทสรังสี หลวงพ่อพุธ ฐานิโย และ หลวงพ่อชา สุภัทโท โดยเฉพาะหลวงพ่ อ ชา สุ ภั ท โท แห่ ง วั ด หนองป่ า พง เมื อ งไทยเจริ ญ ขึ้ น แต่ ค วามสุ ข กลั บ น้ อ ยลงตลอด อ�ำเภอวารินช�ำราบ จ.อุบลราชธานี ที่พระอาจารย์รู้สึกเลื่อมใส ไม่ เ หมื อ นประเทศภู ฏ าน ประเทศเขาไม่ เ จริ ญ แต่ มี ศรัทธามากเป็นพิเศษอยู่แล้ว เพราะเคยบวชและจ�ำพรรษาอยู่ ความสุ ข ที่วัดสาขาของท่านที่อังกฤษ พระอาจารย์จึงไม่รีรอที่จะเดิน ลูกศิษย์บางคนที่ใกล้ชิดพระอาจารย์บอกเล่าว่า ทางสู่ภาคอีสาน ไปยังที่พ�ำนักของหลวงพ่อชา เพื่อฝากตัวเป็น “แม้หลวงพ่อจะมีความลึกซึ้งในหลักธรรมจนสามารถ ลูกศิษย์ สิ่ ง ที่ พ ระอาจารย์ ไ ด้ เรี ย นรู ้ จ ากหลวงพ่ อ ชาและรู ้ สึ ก น�ำมาสอนผู้อื่นได้แล้ว แต่หลวงพ่อก็ยังต้องฟังธรรมบรรยาย จากพระรูปต่างๆ เพื่อน�ำมาสอนผู้คนอยู่ และน้อยครั้งมากที่ ประทับใจคือ “ในทัศนะของหลวงพ่อ พระอาจารย์ชาเป็นพระที่มีจิต หลวงพ่อจะเดินทางเข้าเมือง ขนาดหมอนิมนต์ให้มาท�ำฟัน บริสุทธิ์มาก และสามารถระลึกรู้ในสิ่งต่างๆ ได้โดยไม่ต้องคิด ท่านก็ยังไม่มา” แต่ พ ระอาจารย์ สุ ม โนได้ ใช้ เวลาส่ ว นหนึ่ ง ไปกั บ การ ท�ำให้หลวงพ่อรู้สึกว่าทึ่ง มันจะมีค�ำว่าดี ถูกต้อง และความเหมาะสมใช่ไหม เวลา เขียนหนังสือ เพราะเห็นว่า หน้าที่หนึ่งของพระคือการสืบทอด ที่เราต้องเผชิญกับอะไรสักอย่าง เรามักจะคิดก่อนว่าต้องท�ำ พระพุทธศาสนาและเผยแพร่หลักธรรมไปสู่ผู้คนให้มากที่สุด ที่ อย่างไรดี ท�ำอย่างไรถึงจะถูก พอเป็นอย่างนั้นมันจะเกิดการ ผ่านมานอกจากท่านจะมีผลงานแปลธรรมเทศนาของหลวงปู่ คิด เพราะเราต้องคิดถึงว่า ค่านิยม กาลเทศะ กับบุคคลเหล่านี้ เทสก์ เทสรังสี หลวงพ่อพุธ ฐานิโย และหลวงพ่อชา สุภัทโท เราต้องท�ำอย่างไร พอมันเกิดการคิด มันต้องค�ำนึงถึงอดีต ไม่ใช่ แล้ว ยังมีผลงานเขียนชื่อ ธรรมะจากพระภูเขา (Monk in the ปัจจุบันขณะแล้ว เราจึงคิดตัดสิน ว่าเราต้องท�ำอย่างไรจากสิ่งที่ Mountain) จิตที่สว่างไสว (The Brightened Mind) และ พบ 60 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ลิงแค่ครึ่งทาง (Meeting the Monkey Halfway) โดยเป้ า หมายที่ เ หมื อ นกั น ของผลงานเขียนทั้งสามเล่มคือ ต้องการ สอนให้ผู้คนรู้จักการเจริญสติ รู้จักการ ใช้ ป ั ญ ญา เพราะถ้ า คนเราไม่ มี ป ั ญ ญา มี แ ต่ ตั ว ตนเกิ ด ขึ้ น ก็ จ ะเกิ ด ความเห็ น แก่ตัว ส่วนเหตุที่ควรต้อง “พบลิงแค่ ครึ่ ง ทาง” ผลงานเขี ย นเล่ ม ล่ า สุ ด ของ พระอาจารย์ ซึ่งแปลและเรียบเรียงโดย อานุภาพ ทัดพิทักษ์กุล และจัดพิมพ์โดย บริษัท ฟรีมายด์ พับลิชชิ่ง จ�ำกัด ได้บอก เอาไว้ว่า ในปรั ช ญาธรรมอั น เก่ า แก่ ข อง เอเชียตะวันออก ลิงถูกใช้เป็นสัญลักษณ์ ของจิตที่มีลักษณะไม่อยู่นิ่ง ยุกยิก คอย กระโดดจากสิ่ ง หนึ่ ง ไปสู ่ อี ก สิ่ ง หนึ่ ง ไม่ เชื่อฟัง ผันแปรเปลี่ยนแปลงง่าย และด้วย “จิตที่เหมือนลิง” นี้ แนวทางการฝึกฝน จิตของโลกตะวันออก อาทิ การปฏิบัติ กรรมฐาน โยคะ และการสวดท่องมนต์

ก็เป็นวิธีการต่างๆที่พยายาม จัดการกับ จิตที่ซุกซน “ครึ่ ง ทาง” หมายถึ ง อุ บ ายอั น ชาญฉลาดในการบริหารจิต เป็นวิธีที่ไม่ ตึงหรือแข็งกระด้างจนเกินไป และก็ไม่ หย่อนยานจนเกินไป “ครึ่งทาง” เป็น ทั ศ นคติ ที่ ตั้ ง อยู ่ บ นหลั ก การของความ สมดุลเป็นกลาง ไม่ถูกกระทบโดยอาการ

ความพยายามที่ มุ ่ ง มั่ น นี้ ประกอบกั บ ความพากเพี ย ร ซื่ อ ตรง ภายใต้ ก าร ก�ำกับดูแลของปัญญา ท�ำให้เราสามารถ เข้าถึงการเจริญในธรรมที่น�ำไปสู่หนทาง อันถูกต้อง เพื่อที่เราจะได้ “พบลิงที่ครึ่ง ทาง” นั่นเอง ในวันที่พระอาจารย์สุมโน ภิกขุ เดิ น ทางออกจากส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมถ�้ ำ

แม้ ห ลวงพ่ อ จะมี ค วามลึ ก ซึ้ ง ในหลั ก ธรรมจนสามารถน� ำ มาสอนผู ้ อื่ น ได้ แ ล้ ว แต่ ห ลวงพ่ อ ก็ ยั ง ต้ อ งฟั ง ธรรมบรรยายจากพระรู ป ต่ า งๆ เพื่ อ น� ำ มาสอนผู ้ ค นอยู ่ และน้ อ ยครั้ ง มากที่ ห ลวงพ่ อ จะเดิ น ทางเข้ า เมื อ ง ขนาดหมอนิ ม นต์ ใ ห้ ม าท� ำ ฟั น ท่ า นก็ ยั ง ไม่ ม า ไม่ อ ยู ่ นิ่ ง ของจิ ต ที่ ก ระโดดไปกระโดด มา “การพบ” แสดงออกถึ ง ความ อุตสาหะที่จะบรรลุเป้าหมาย มันหมาย ถึ ง ความตั้ ง ใจและความกระตื อ รื อ ร้ น ในการท�ำจิตซึ่งเป็นสิ่งที่สงบได้ยาก ให้ เกิดความตั้งมั่นและเป็นกลาง และด้วย

61 issue 97 february 2016

สองตา เพื่ อ มาบรรยายธรรมและเปิ ด ตั ว ผลงานเขี ย น “พบลิ ง แค่ ค รึ่ ง ทาง” ณ สวนโมกข์ กรุงเทพฯ หลังจากที่ละทิ้ง ความสุ ข ทางโลกมา 30 กว่ า ปี พระ อาจารย์ซึ่งตอนนี้พูดภาษาไทยภาคกลาง ได้มากแล้ว (แต่เว้าอีสานได้ชัดกว่า) ได้ บอกถึ ง ความแท้ จ ริ ง ในทั ศ นะของพระ


อาจารย์ให้ผู้คนได้ฟังว่า “ถ้าไม่มีความอยาก จะได้รับความสุขทันทีเลย” แล้วเราจะระงับซึ่งความอยาก ด้วยวิธีการอย่างไรบ้าง ? พระอาจารย์ได้กล่าวต่อไปว่า “ให้รู้ว่าความอยากมีแต่ความทุกข์ มากกว่าความสุข เพราะถ้าเรามีความอยาก เราก็ต้องไปดิ้นรนไปหาไปท�ำมา ตอน ที่เราก�ำลังหาก�ำลังท�ำอยู่ เรามีความสุข อย่างเช่นการ สะสมเงิน เพราะอยากจะได้แหวนเพชรสักวง ตอนที่ใกล้จะได้มา เรารู้สึกดีใจ พอไปที่ร้านถอยมันมาได้ ความสุขก็จบแล้ว เพราะช่วงเวลาที่เรา ทุ ก คนอยากมี ร ถคั น ใหม่ อยากมี โ ทรศั พ ท์ อยากมี โ น่ น อยากมี นี่ มี ค วามอยากไปในทางโลกเสี ย มากกว่ า และ การโฆษณาก็ ท� ำ ให้ พ วกเขาคิ ด ว่ า ชี วิ ต ฉั น ยั ง ไม่ พ อ และ รู ้ สึ ก ว่ า ฉั น ยั ง ไม่ ดี พ อ ฉั น ต้ อ งรวยให้ ม ากกว่ า นี้ หรื อ ฉั น ต้ อ งสวย ต้ อ งขาวให้ ม ากกว่ า นี้ อยากได้มันหมดไปแล้ว ทีนี้ก็จะดิ้นรนไปอยากได้อย่างอื่นต่อ” และเมื่ อ ถู ก ถามว่ า ถ้ า โลกนี้ ไ ม่ มี ค วามอยาก มี แ ต่ ก าร ปล่อยวาง โลกจะไม่หยุดพัฒนา หยุดการเจริญรุดหน้าหรืออย่างไร พระอาจารย์ตอบว่า

62 IS AM ARE www.ariyaplus.com


“เคยมี ค นถามหลวงพ่ อ ว่ า ถ้ า ทุ ก คนบวชเป็ น พระกั น หมด โลกนี้ จ ะ พัฒนาไปอย่างไร หลวงพ่อบอกว่าไม่ต้อง ห่วง มีคนที่สมัครใจบวชเป็นพระ แต่ก็ ไม่ ใช่ ทุ ก คน เหมื อ นกั บ ที่ ไ ม่ ใช่ ทุ ก คนที่ อยากเป็นช่างเสริมสวย(หัวเราะ) และในความเห็ น ของหลวงพ่ อ โลกนี้ไม่ต้องเจริญ อีสานที่หลวงพ่อเคย อยู่ มีคนบอกว่าความเจริญเป็นสิ่งดี โอ้.. อยากให้เมืองนี้เจริญ วารินช�ำราบเจริญ อุบลฯ เจริญ แต่หลวงพ่อคิดว่า ความ เจริญไม่ใช่สิ่งดีเสมอไป เพราะถ้าเจริญ แบบไม่ มี ป ั ญ ญาก็ จ ะมี ป ั ญ หามากขึ้ น อย่างเมืองไทยเจริญขึ้น แต่ความสุขกลับ น้อยลงตลอด ไม่เหมือนประเทศภูฏาน ประเทศเขาไม่เจริญ แต่มีความสุข” แม้พระอาจารย์จะเป็นตัวอย่าง หนึ่ ง ของชาวต่ า งชาติ จ ากประเทศ ตะวั น ตก ที่ เ ดิ น ทางมาใช้ ชี วิ ต อยู ่ ใ น ประเทศตะวั น ออก เรี ย นรู ้ แ ละศึ ก ษา จิ ต วิ ญ ญาณตะวั น ออก โดยเฉพาะ พระพุ ท ธศาสนา แต่ พ ระอาจารย์ ก็ ไ ม่ สามารถกล่าวได้ว่า ตนเองเป็นหนึ่งใน คนตะวันตกจ�ำนวนมากที่หันมาสนใจจิต วิ ญ ญาณตะวั น ออก เพราะอาจจะเป็ น หนึ่งในคนจ�ำนวนน้อยก็ได้ หรือแม้แต่ เวลานี้ก็ตาม ถามว่าคนตะวันตกสนใจจิต วิญญาณตะวันออกมากขึ้นหรือไม่ พระ อาจารย์ก็ไม่อาจทราบได้ เพราะไม่ได้ใช้ ชีวิตอยู่ในประเทศตะวันตกมานานแล้ว “หลวงพ่ อ ไม่ ไ ด้ อ ยู ่ ใ นประเทศ ตะวั น ตกมาสามสิ บ กว่ า ปี แ ล้ ว หลวง พ่ อ รู ้ แ ต่ ว ่ าเมื่อ ก่อ นคนตะวันตกอยาก มาเมื อ งไทยเพราะสนใจในประเพณี วัฒนธรรม เป็นแบ็คแพ็คเกอร์มาเที่ยว หรื อ นั่ ง เครื่ อ งบิ น ไปเที่ ย วทะเล เที่ ย ว เกาะสมุยโน่น แต่ไม่ค่อยมีใครมาวัด มา อีสาน มีแต่มาเอาอย่างเดียว ไม่มีใคร อยากให้อะไร” หลายปีที่ผ่านมา อาจท�ำให้พระ

อาจารย์รู้จักประเทศไทย และเห็นความ เป็ น ไปของประเทศไทยในหลายๆด้ า น แต่พระอาจารย์ก็ออกตัวว่า ไม่อยากจะ วิพากษ์วิจารณ์ประเทศไทยหรือคนไทย มากเท่าใดนัก มีเพียงบางสิ่งที่ท�ำให้รู้สึก เป็นห่วงคนไทยคือ มีคนไทยจ�ำนวนไม่ น้อยทีก่ ำ� ลังตกอยูใ่ นวังวนของความอยาก และการโฆษณา ชวนเชื่อ ที่ท�ำให้รู้สึกว่า ชีวิตนี้ยังไม่พอ และยังไม่ดีพอเสียที

ปัญญาท�ำความเข้าใจว่าท�ำไม เราก็จะ อกหักได้อีกเรื่อยๆ ดังนั้น ปัญญาช่วย ให้ เรา สามารถพิ จ ารณาได้ ว ่ า อะไรดี อะไรชั่ว จริ ง ๆแล้ ว จิ ต เดิ ม ของมนุ ษ ย์ นั้ น ประภัสสร นั่นคือบริสุทธิ์ รู้ว่าอะไรถูก อะไรผิด แต่เพราะว่าจิตของเรารับอะไร เข้ า มาเยอะ กิ เ ลสมั น เลยเข้ า มาท� ำ ให้ จิ ต ใจเราขุ ่ น มั ว เราก็ เ ลยไม่ มี ป ั ญ ญา

“ครึ่ ง ทาง” หมายถึ ง อุ บ ายอั น ชาญฉลาดในการบริ ห ารจิ ต เป็ น วิ ธี ที่ ไม่ ตึ ง หรื อ แข็ ง กระด้ า งจนเกิ น ไป และก็ ไ ม่ ห ย่ อ นยานจนเกิ น ไป “ครึ่ ง ทาง” เป็ น ทั ศ นคติ ที่ ตั้ ง อยู ่ บ นหลั ก การของความสมดุ ล เป็ น กลาง ไม่ ถู ก กระทบโดยอาการไม่ อ ยู ่ น่ิ ง ของจิ ต ที่ ก ระโดดไปกระโดดมา “ทุกคนอยากมีรถคันใหม่ อยาก มีโทรศัพท์ อยากมีโน่นอยากมีนี่ มีความ อยากไปในทางโลกเสียมากกว่า และ การโฆษณาก็ท�ำให้พวกเขาคิดว่าชีวิต ฉันยังไม่พอ และรู้สึกว่าฉันยังไม่ดีพอ ฉันต้องรวยให้มากกว่านี้ หรือฉันต้อง สวย ต้องขาวให้มากกว่านี้” ปี พ.ศ.2553 ที่ เ พิ่ ง ผ่ า นพ้ น ไป ประเทศไทยต้องประสบ กับปัญหาภัย ธรรมชาติเป็นอย่างมาก ส่วนหนึ่งต้อง ยอมรับว่าเป็นเพราะมนุษย์นี่เองที่เป็น ฝ่ายเบียดเบียนธรรมชาติ ซึ่งพระอาจารย์ ได้ แ นะวิ ธี ที่ จ ะช่ ว ยให้ เราเบี ย ดเบี ย น ธรรมชาติให้น้อยที่สุดว่า “ต้ อ งรั ก ษาศี ล ห้ า ก่ อ น เพราะ ถ้ า ไม่ รั ก ษาศี ล ห้ า เราก็ จ ะเป็ น ฝ่ า ย เบียดเบียนธรรมชาติ ปัญหาที่อยากแก้ก็ จะไม่สามารถแก้ได้ และอยากให้ทุกคนมี สมาธิ เพราะสิ่งเหล่านี้มันจะท�ำให้จิตใจ ของเราสบาย มีความอยากน้อยลง มีสติ แล้วปัญญาก็จะเกิดขึ้น ถ้ า เราไม่ มี ป ั ญ ญา เราก็ จ ะไม่ เข้ า ใจอดี ต และท� ำ ในสิ่ ง ที่ ผิ ด พลาด เหมือนเดิมไปตลอด เหมือนเราเคยเสียใจ เพราะอกหักจากผู้ชายคนนี้ ถ้าเราไม่ใช้ 63 issue 97 february 2016

พอที่ จ ะมองเห็ น เหตุ ข องปั ญ หา แต่ ไปหลงและยึ ด เอาค่ า นิ ย มภายนอก มากกว่า ภัยธรรมชาติ ที่มันเกิด มันเป็น เพราะความอยากของเราที่ มั น ไปเป็ น ตัวเบียดเบียนธรรมชาติ ถ้าเราไม่อยาก เบียดเบียนธรรมชาติ เราต้องถามตัวเรา เองก่อนว่า เราพร้อมที่จะเสีย สละไหม เช่น ถ้าเราไม่มีโรงงานนิวเคลียร์ เราก็ จะไม่มีไฟฟ้าที่ผลิตจากโรงานนิวเคลียร์ มาใช้นะ ทุ ก วั น นี้ เราพึ่ ง พาไฟฟ้ า เพราะ อะไร เพราะเราต้ อ งการความสะดวก สบาย เวลาเราเบื่ อ แทนที่ เราจะนั่ ง สมาธิ เราต้องเปิดไฟ ดูทีวี หรือ อ่าน หนังสือ ตอบสนองตัวเองด้วย สิ่งบันเทิง แต่ ถ ้ า เราพยายามอยู ่ กั บ ตั ว เองให้ ไ ด้ บ้าง บางครั้ง สิ่งบันเทิงเหล่านี้ก็ไม่ใช่สิ่ง จ�ำเป็น เมื่อเราไม่ได้เปิดไฟ ใช้ มันน้อย ลง เราก็จะเบียดเบียนธรรมชาติน้อยลง ไปด้วย” ดั ง นั้ น พรปี ใ หม่ ที่ พ ระอาจารย์ อยากมอบคนไทย ไม่มอี ะไรทีม่ ากกว่าการ ลดความอยาก เพื่อความสุขที่แท้และใช้ ปัญญาแก้ไขปัญหา “เพราะปั ญ ญาเท่ า นั้ น ที่ จ ะ ท� ำ ให้ เ ราหลุ ด พ้ น จากตั ว เราเอง”


64 IS AM ARE www.ariyaplus.com


65 issue 97 february 2016


66 IS AM ARE www.ariyaplus.com


67 issue 97 february 2016


68 IS AM ARE www.ariyaplus.com


69 issue 97 february 2016


ปี ชวด

การงาน-ระวังเล่ห์การเมือง แม้ว่าคุณจะอยากทุ่มเทให้งานมาแค่ไหน คุณกลับพบว่าตัวเองต้องเข้าไปพัวพันกับ เกมการเมืองที่ไม่น่ารื่นรมย์ในบริษัท คนอื่นที่ละโมบอยากได้สิ่งที่คุณมีอาจได้สิ่งที่คุณมีอาจพูดป้ายสีคุณแบบจริง บ้างเท็จบ้างให้คนที่เชื่อรับฟังเพื่อประโยชน์ส่วนตัว ทางที่ดีคุณควรวางตัวอยู่เหนือการต่อสู่ไว้และอย่ายอมให้ค�ำ ใส่ร้ายมาท�ำให้คุณเขวจากงานการรักษาผลงานที่ดีไว้คือวิธีป้องกันตัวจากเกมการชิงดีชิงเด่นไร้สาระได้ดีที่สุด ธุรกิจ-พักก่อนดีกว่า พยายามอยู่ให้ห่างจากแวดวงการสื่อสารในเดือนนี้ ควรพูดให้น้อยแล้วฟังแทนจะดีกว่าที่จะรู้สึกว่าต้องคอยตอบโต้ ทุกค�ำที่ผู้อื่นพูดหรือแสดงความคิดเห็นในทุกการสนทนา ความรัก-รู้จักให้มากขึ้น ไม่ใช่ช่วงเวลาที่ดีส�ำหรับการมองหาความรัก หากคุณเพิ่งเริ่มต้นความสัมพันธ์ครั้งใหม่ควรทะนุถนอมรักนั้นต่อ ไปแต่ก็ต้องรอบคอบไว้อย่าพูดโดยไม่คิดและเข้าใจและคิดถึงความรู้สึกของคู่รักใหม่ของคุณในเวลาเช่นนี้คุณอาจถูกเข้าใจผิดได้ง่ายๆจึง ควรท�ำใจกว้างไว้ให้มากหากคุณหวังที่จะให้ความสัมพันธ์พัฒนาต่อไป การศึกษา-ยอมเชื่อฟัง แม้ว่าคุณจะมีความคิดที่เยี่ยมยอด แต่อาจไม่เป็นไปในแบบที่ครูหรืออาจารย์ของคุณคิด คุณควรยอมเชื่อฟัง แทนที่ต่อต้านโดยไม่มีเหตุผล ทางที่ดีควรหาทางปรับปรุงแก้ไข เป็นนักเรียนที่เชื่อฟังและพยายามจะเรียนรู้

ปี ฉลู

การงาน-เรียนรู้จากความผิดพลาด ความผิดพลาดอาจเกิดขึ้นแล้ว คุณควรต้องเรียนรู้จากสิ่งนั้น อย่าท�ำพลาดซ�้ำ เช่นเดิมอีก และรอบคอบให้มากขึ้นในอนาคต ไม่จ�ำเป็นต้องหลบเลี่ยงความรับผิดชอบ ไม่มีใครกล่าวโทษคุณ จึง ไม่จ�ำเป็นต้องตั้งแง่กับคนอื่น หากมีสิ่งใดท�ำให้คุณถอยหลังไปบ้างสักก้าวสองก้าว สาเหตุก็มาจากความรู้สึกที่ไม่มั่นคงของคุณนั้นเอง ธุรกิจ-น้อยเกินดีกว่ามากเกิน หลีกเลี่ยงการเสี่ยงในเดือนนี้ เพราะดวงดาวไม่เข้าข้างคุณแม้แต่กับความเสี่ยงที่ดูเล็กน้อยอย่างเห็นได้ ชัด แต่เมื่อดวงของคุณก�ำลังตกเช่นในตอนนี้ โอกาสในการสูญเสียจะถาโถมเข้ามาเล่นงานคุณ อาจมีเรื่องทะเลาะเบาะแว้งให้ต้องสู้รบ ทั้งจากการศึกในและศึกนอก ไม่ควรวู่วามโต้ตอบสถานการณ์ต่างๆโดยไม่คิด ความรัก-งานส่วนงาน ความเครียดอาจท�ำให้ความสัมพันธ์ส่วนตัวของคุณตึงเครียดไปด้วย พยายามทิ้งเรื่องงานทั้งหมดไว้ที่ท�ำงาน เมื่อคุณกลับบ้าน หากคุณไม่ต้องการให้ครอบครัวแสดงความคิดเห็นต่อชีวิตการงานของคุณก็ไม่ควรน�ำเรื่องงานขึ้นมาพูดบนโต๊ะอาหาร การศึกษา-เรียนรู้ที่จะรับฟัง คุณอาจไม่ได้อยู่ในช่วงที่มีความคิดพร้อมจะเรียนรู้สิ่งใหม่ๆเมื่อคุณมีปัญหาแก้ไม่ตก ควรขอความช่วย เหลือ อย่าพยายามท�ำทุกอย่างคนเดียว มิฉะนั้นชีวิตของคุณอาจวุ่นวายสับสนกันมากขึ้นพยายามฝืนตัวเองอย่าไปโต้เถียงเมื่อคุณยัง ไม่มั่นใจในตัวเองเสียด้วยซ�้ำ ยิ่งคุณมีทัศนคติที่ดีขึ้นมากเท่าไหร่

ปี ขาล

การงาน-หลีกเลี่ยงการเผชิญหน้ากัน อย่าคาดหวังว่าเดือนนี้จะราบรื่น คุณต้องคอยหลบเลี่ยงหลุมพรางต่างๆและ รับมือกับคนสารพัดแบบ อาจมีการเมืองในบริษัท และคุณอาจพบว่าตัวเองติดอยู่ท่ามกลางการแก่งแย่งชิงดีพยายาม ฝืนใจอย่าไปต่อสู้ แม้ว่าโดยนิสัยแล้วคนปีขาลไม่ใช่คนที่ถอยหนีจากการเผชิญหน้า ธุรกิจ-เวลาแห่งการวางแผน คอยตามสถานการณ์ไปก่อน โชคของคุณไม่ได้แข็งแกร่งนักจึงไม่ควรท้าทายโชคชะตาเมื่อเป็นเรื่องที่ส�ำคัญ โชคด้านธุรกิจของคุณถือว่าสดใสในปีนี้แต่ตอนนี้ยังไม่ถึงเวลาที่จะตัดสินใจเรื่องส�ำคัญอยู่นิ่งๆไปก่อน ความรัก-ไม่ลงรอย ความขัดแย้งอาจเกิดขึ้นในชีวิตรักของคุณ อย่ายอมให้เรื่องนี้มีผลต่อคุณได้ พยายามอย่าเผลอตะโกนเถียงกัน อย่า หัวเสียกับคนที่คุณรัก แม้ว่าพวกเขาอาจจะน่าหงุดหงิดสักแค่ไหนพลังงานในเดือนนี้รับมือยาก แม้ว่าอาจไม่ได้เลวร้ายไปเสียทั้งหมด แต่ คุณก็อาจเสียใจกับผลลัพธ์หากปล่อยให้ตัวเองฉุนเฉียว การศึกษา-ประสบการณ์แห่งการเรียนรู้ เด็กปีขาลจะมีโชคดีกว่าผู้ใหญ่ร่วมนักษัตรเดียวกัน แม้ว่าอาจมีปัญหาให้ต้องรับมือบ้าง แต่ จงมองว่าทุกเหตุการณ์คือประสบการณ์แห่งการเรียนรู้ เมื่อคุณต้องเปลี่ยนทิศทาง นั่นอาจเป็นไปเพื่อสิ่งที่ดีที่สุด อย่าว่ายทวนกระแส น�้ำ คุณต้องปรับตัวไปตามกระแสและปล่อยให้น�้ำพาคุณไปสู่ที่ที่ให้สิ่งดี เดือนนี้จะจบลงดีกว่าตอนเริ่มต้น 70 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Wheel Of Life

ปี เถาะ

การงาน-วุ่นไม่มีว่าง ชีวิตการงานของคุณจะวุ่นมากขึ้น เมื่อคุณต้องรับผิดชอบหลายต่อหลายเรื่องพร้อมกัน ก�ำหนด ส่งงานดูเหมือนจะเร็วกว่าที่คุณจะท�ำให้เสร็จทันได้ แต่ก็ต้องท�ำ กระนั่นคุณก็ต้องระวังอย่าให้เรื่องนี้ส่งผลต่อสุขภาพ พยายามใช้เวลาสักนิดในแต่ละวันเพื่อแบ่งเวลาสะสางภาระงานของคุณ ธุรกิจ-ติดต่อผู้คน เดือนที่ดีส�ำหรับการติดต่อและพบปะกับผู้คนใหม่ๆสมองของคุณสมองของคุณตื่นตัวและพร้อมรับความคิดเห็น และผู้คนใหม่ๆตอนนี้คุณจะพูดคุยสนทนาได้ถึงใจเป็นพิเศษ ทั้งยังสนใจทุกอย่างชีวิตของคุณจึงเป็นเหมือนงานเลี้ยงสังสรรค์เลยที เดียว สนุกให้เต็มที่และจงใช้โอกาสนี้เพื่อติดต่อท�ำความรู้จักกับคนอื่นๆบางคนที่คุณได้พบในเดือนนี้อาจกลายมามีบทบาทส�ำคัญใน ชีวิตการงานของคุณ ความรัก-ตัวเลือกมากมาย คุณจะสนุกกับการคบหาสมาคมและเข้างานสังคมต่างๆทั้งยังพบว่าตัวคุณเป็นที่ชื่นชอบในหลายๆวงการ ไม่ใช่แค่เรื่องเดียวที่คุณสนใจแต่หลายอย่างทีเดียว ด้วยเหตุนี้จึงเหมือนว่าคุณก�ำลังถูกดึงไปในหลายทิศทางพร้อมกัน การศึกษา-ยุ่งกว่าที่เคย เดือนที่แสนสุขส�ำหรับเด็กนักเรียนปีเถาะชีวิตของคุณจะเต็มไปด้วยสิ่งต่างๆมากมายในเดือนนี้ พลังงานของ คุณอยู่ในระดับสูงจึงช่วยให้คุณท�ำได้ดีทั้งด้านการเรียนและชีวิตสังคมที่น่าอิจฉาแต่หากต้องเลือกระหว่างชีวิตสองด้านนี้ คุณก็ต้อง เลือกให้ความส�ำคัญอย่างเหมาะ

ปี มะโรง

การงาน-สร้างความได้เปรียบ ตักตวงจากช่วงต้นปีให้เต็มที่เพื่อสร้างความได้เปรียบ แม้ว่าโชคโดยรวมของคุณจะดีมาก แต่ผังธาตุในดวงชะตาของคุณบ่งบอกถึงพลังชีวิตและแก่นภายในที่เป็นกลาง คุณควรตักตวงจากโอกาสที่สายลมแห่งโชค ชะตาพัดพามาให้เพื่อเติมเต็มการเดินทางของคุณให้มากที่สุดเท่าที่จะท�ำได้เพื่อที่คุณจะได้เดินหน้าต่อไป ในที่ท�ำงาน ธุรกิจ-คิดให้ใหญ่ โชคด้านความมั่งคั่งดูดีอย่างที่สุด แต่ที่ยิ่งกว่านั้นเดือนนี้ยังเป็นช่วงที่ถนนสายใหม่ที่คุณเลือกจ�ำพาคุณไปพบกับโอกาส อันน่าเต้นที่สุด อย่าคิดถึงแค่รายได้และก�ำไรระยะสั้นคุณต้องคิดให้ใหญ่กว่านั้น ตอนนี้เป็นเวลาที่ควรไขว่คว้าข้อตกลงมูลค่ามหาศาล ความรัก-รักใหม่ คนโสดปีมะโรงที่ก�ำลังหารักอาจได้พบโอกาสในเดือนนี้ พลังงานรอบตัวคุณท�ำให้คุณมีเสน่ห์และน่ารักเป็นพิเศษ ในสายตาผู้อื่นคุณจึงไม่เคยขาดคนที่เข้ามาชื่นชอบ แต่ที่หน้าตื่นเต้นยิ่งกว่านั้นส�ำหรับคุณคือจะได้พบคนที่ชอบจริงๆในเรื่องของหัวใจ การศึกษา-ชื่อเสียง ความพยายามที่คุณทุ่มเทด้านการเรียนจะท�ำให้คุณได้รับรางวัลและชื่อเสียง และเมื่อได้รับผลดีจากความขยัน ขันแข็ง คุณก็ยิ่งมีแรงจูงใจที่ท�ำงานให้ได้ยิ่งขึ้น ตอนนี้เป็นเวลาที่เด็กมะโรงจะตั้งเป้าหมายที่จะชนะรางวัลและทุนการศึกษาได้ และ ยังเป็นเวลาที่ผู้อื่นจะมองเห็นพรสวรรค์ที่ไม่เหมือนใครของคุณ

ปี มะเส็ง

การงาน-ก้าวหน้าด้วยดี เดือนนี้คุณจะได้พบทางแยกในด้านอาชีพ จะมีโอกาสใหม่ๆที่น่าตื่นเต้นหลายอย่างมาให้คุณ แต่การตัดสินใจเลือกอาจยากสักหน่อย คุณติดอยู่ตรงจุดนี้เพราะคุณอาจรู้สึกไม่แน่ใจว่าทางเลือกใดจึงจะดีที่สุด จง เชื่อมั่นในสัญชาตญาณของคุณให้มากกว่าเหตุผล หากคุณรู้สึกว่าอะไรบางอย่างใช่ ก็จงเชื่อตามหัวใจของคุณ ธุรกิจ-หุ้นส่วนเพื่อผลประโยชน์ เดือนที่ดีส�ำหรับการขยับขยายขอบเขตและธุรกิจของคุณ ซึ่งจะส�ำเร็จได้ด้วยการร่วมมือกับหุ้นส่วนที่ เหมาะสม ลองมองหาทางที่จะสร้างหุ้นส่วนในเชิงกลยุทธ์และน�ำเสนอดู ตอนนี้คุณมีความคิดเห็นที่ผู้อื่นจะรับฟัง ความรัก-ช่วงเวลาที่น่าตื่นเต้น ชีวิตรักของคุณจะน�ำความตื่นเต้นมาให้อย่างยิ่งและช่วยกระตุ้นให้คุณกระตือรือร้นกับชีวิตด้านอื่นๆอีก ด้วย ตอนนี้เป็นเวลาแห่งความสุขส�ำหรับคนปีมะเส็ง คนที่มีความสัมพันธ์ที่น่าพอใจจะอาศัยความสุขในชีวิตคู่เป็นแรงบัลดาลใจส�ำหรับ การท�ำงานและความพยายามในด้านอื่นๆ การศึกษา-เป็นที่หนึ่ง เด็กปีมะเส็งจะได้พบกับช่วงเวลาที่ให้ผลดีในสถานศึกษา สร้างนิสัยการเรียนที่ดี ฝึกที่จะเรียนด้วยตัวเอง จงมั่นใจในความสามารถของคุณเอง หากคุณประสบความส�ำเร็จได้สักครั้งผลลัพธ์ที่ดีขึ้นก็เพียงพอที่จะกระตุ้นให้คุณพยายามเป็นที่ หนึ่งของห้องได้ 71 issue 97 february 2016


ปี มะเมีย

การงาน-ภาพลักษณ์ส�ำคัญ คุณจะได้รับการสนับสนุนจากเจ้านายซึ่งนับว่าส�ำคัญมากในเดือนนี้ คนที่ต้องการความ ส�ำเร็จในอาชีพจะต้องพยายามไม่ใช่แค่ทำ� ผลงานให้ได้ แต่ต้องแสดงภาพว่าท�ำผลงานได้ด้วยแสดงจุดเด่นของคุณให้ ชัด และกลบจุดอ่อนของคุณให้ได้ท�ำในสิ่งที่คุณท�ำได้ดีที่สุดให้มากขึ้นพยายามเข้าไปมีส่วนร่วมในสิ่งที่คุณเก่ง ธุรกิจ-สร้างเครือข่าย คนปีมะเมียที่ท�ำธุรกิจก็เช่นเดียวกันในเดือนนี้คุณจะท�ำสิ่งต่างๆให้เสร็จลงได้เร็วแค่ไหนขึ้นอยู่กับความสามารถ ในการเข้ากับผู้อื่นให้ได้ ลองติดต่อเพื่อนหรือคนรู้จักเก่าๆและสานสัมพันธ์กับคนใหม่ๆอย่าอายที่จะเปิดปากขอร้อง ความรักและความสัมพันธ์-แสนสุข เดือนที่โรแมนติกส�ำหรับคนปีมะเมียที่มองหารัก สวรรค์ยิ้มให้คุณและหากคุณยังไม่ได้พบใคร คุณ จะได้พบในไม่ช้า อย่าเมินต่อความรู้สึกถูกใจที่มีอยู่อย่างชัดเจน ความรู้สึกอาจเบ่งบานขึ้นกับใครบางคนที่เข้ามาในชีวิตของคุณแล้ว อย่า เกี่ยงงอนหากมิตรภาพจะพัฒนากลายเป็นอะไรที่ลึกซึ้งยิ่งกว่านั้นเพราะความรักที่ยิ่งใหญ่บางทีก็เริ่มต้นเช่นนี้ การศึกษา-โชคด้านผู้ชี้น�ำ คุณจะร่วมงานกับผู้อื่นได้ดีกว่าท�ำงานคนเดียว ลองตั้งกลุ่มเรียนด้วยกันและเสนอติวหนังสือกันเป็นคู่ คน ปีมะเมียมีโชคด้านผู้ชี้น�ำที่ดีมากในเดือนนี้ ครูคนโปรดของคุณอาจรับบทนี้ได้อย่างวิเศษและอาจกลายเป็นเพื่อนของคุณ คุณจะได้รับ ผลดีจากค�ำแนะน�ำในเรื่องส�ำคัญบางอย่างที่ต้องตัดสินใจ

ปี มะแม

การงาน-สนุกสนาน สิง่ ต่างๆดูสดใสส�ำหรับคนปีมะแมทีท่ ำ� งานชีวติ การงานของคุณน่าพอใจ ยิ่งกว่านัน้ ยังอาจสนุกสนาน อีกด้วย หากคุณก�ำลังท�ำงานที่คุณชอบ งานจะไม่ท�ำให้คุณรู้สึกเหมือนเป็นหน้าที่ คุณแทบจะไม่ทันสังเกตเลยว่าเวลา ผ่านไปเร็วแค่ไหนหากมีอะไรมากมายให้คุณท�ำ แต่ก็ต้องระวังสุขภาพไว้ด้วยอย่างหักโหมเกินไป ธุรกิจ-ช่องทางใหม่ส�ำหรับการเติบโต เวลาดีที่จะมองหาช่องทางใหม่ๆส�ำหรับการเติบโตและหาโอกาสงามๆที่มีเข้ามาคุณจะสามารถ ปิดโครงการบางอย่างได้พร้อมๆกับเริ่มต้นโครงการใหม่ คุณจะรู้สึกว่าชีวิตของคุณไม่มีว่างเลยในตอนนี้ ความรักและความสัมพันธ์-ซาบซ่าน เดือนที่แสงซาบซ่านในด้านความรัก คุณจะมีพร้อมทุกอย่างที่ท�ำให้คุณมีความสุขในตอนนี้ คน ปีมะแมที่คิดถึงความรักไม่ผิดหวัง ขอแนะน�ำให้คุณท�ำตามเสียงของหัวใจและให้มันน�ำทางคุณไปตามที่ต้องการ อย่าให้ความสงสัยใน ตัวเองท�ำลายสิ่งต่างๆ จงเป็นฝ่ายรุก แม้ว่าคนปีมะแมจะชอบคู่รักที่พร้อมจะรับบทน�ำ การศึกษา-เริ่มต้นด้วยดี พยายามสร้างความประทับใจที่ดีให้ได้ คุณมีนิสัยน่ารัก และการแสดงความสามารถของคุณตามที่เหมาะสมใน ห้องเรียนก็จะเป็นผลดีต่อคุณตลอดช่วงเวลาทั้งปีที่เหลือ อย่าลังเลเกินไปเมื่อแสดงความคิดเห็น คบหาเพื่อนใหม่ให้มากพอๆกับใช้เวลา กับเพื่อนที่สนิทกันแล้วตอนนี้เป็นเดือนที่ดี

ปี วอก

การงาน-ก้าวส�ำคัญ ในเดือนนี้คุณไม่ควรแค่ปรากฏตัวในที่ท�ำงานและท�ำงานให้เสร็จ หากคุณจริงจังกับความ ก้าวหน้าด้านการงาน คุณก็ต้องแสดงความมุ่งมั่น จงหาวิธีท�ำงานอย่างฉลาดและเรียนรู้ที่จะมีประสิทธิภาพให้มาก ขึ้น รีบท�ำงานประจ�ำของคุณให้เสร็จไป คุณจะได้อุทิศเวลาให้กับการวางกลยุทธ์ธุรกิจ ธุรกิจ-คว้าให้ทัน สัญชาตญาณและสามัญส�ำนึกของคุณอาจบอกคุณไม่เหมือนกัน แต่คนปีวอกเป็นคนที่ต้องการหาเหตุผลในทุกสิ่งที่ ท�ำจงอย่าปล่อยให้โอกาสหลุดมือเพียงเพราะคุณอดไม่ได้ที่ต้องรู้ไปเสียทุกอย่าง จงลดมือและตัดสินใจอย่างรวดเร็วคนปีวอกบางคน อาจต้องตัดสินใจในทันทีโดยไม่อาจหาข้อมูลได้อย่างที่คุณมักท�ำ ความรัก-มีความสุข ความรักอบอวลไปทั่ว หากเมื่อไม่นานมานี้คุณได้พบใครบางคนที่คุณคิดว่าสร้างอนาคตร่วมกันได้ ก็อย่าได้รอช้า อย่ามัวแต่เขินอาย บางครั้งคุณก็ต้องเป็นฝ่ายรุกบ้างแม้ว่าคุณจะอยากตกหลุมรักหัวปักหัวป�ำ แต่คุณจะช่วยให้ความรักเดินหน้าไปได้ ด้วยการแสดงท่าทีว่าสนใจบ้าง ความสุขมากมายรอคุณอยู่ การศึกษา เด็กปีวอกจะอยากรู้อยากเห็นเหมือนเคย คุณจะเดินมาถึงจุดที่ต้องตัดสินใจเกี่ยวกับการศึกษา ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่ออนาคต ของคุณ ปล่อยตัวไปตามสถานการณ์ บ้าง แต่คุณก็ควรตัดสินใจด้วยตัวเองบ้างในบางเรื่อง เช่น เลือกสถาบันการศึกษาในระดับต่อไป 72 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Wheel Of Life

ปี ระกา

การงาน-สร้างไมตรี ส�ำหรับคนปีระกาหลายคนเมื่อปีใหม่เริ่มต้น นี่คือการเริ่มต้นใหม่ ปีที่ผ่านมาอาจไม่ราบรื่นอย่าง ที่คุณต้องการ แต่เมื่อคุณเข้าสู่ปีวอกนี้ คุณจะรู้สึกได้ถึงความแตกต่าง พละก�ำลังของคุณกลับคืนมา และพลังใจใหม่ ก็ช่วยให้คุณจดจ่อกับเป้าหมายสูงสุดที่ยิ่งใหญ่ขึ้น ธุรกิจ-ความสัมพันธ์นั้นส�ำคัญ คุณจะก้าวหน้าได้มากขึ้นหากคุณสร้างมิตรไมตรีกับผู้ร่วมงานแทนที่จะเอาแต่สนใจตัวเลขและข้อมูล อันที่จริงคุณอาจจะได้หรือชวดสัญญาเพียงเพราะมีใครชอบคุณและท�ำงานร่วมกับคุณได้ ใส่ใจความสัมพันธ์ที่มีให้มากขึ้น คุณมีความ สามารถอย่างยิ่งที่จะสร้างความสัมพันธ์อันดี และความสามารถนี้ก็จะเพิ่มขึ้นหลายเท่าในเดือนนี้ ความรักและความส้มพันธ์-หัวใจสั่ง ดาวโชครักดอกท้อคู่ท�ำให้อารมณ์ของคุณโรแมนติกเป็นพิเศษและแม้ว่าคนปีระกาแทบจะไม่ยอม ให้หัวใจน�ำทาง แต่ในเดือนนี้คุณจะเปลี่ยนไป ขอให้สนุกกับการหว่านเสน่ห์ให้ห้วงรักแต่อย่ารีบกระโจนเข้าสู่ความสัมพันธ์ที่อาจส่งผล เสียต่อสิ่งอื่นๆในชีวิตของคุณ การศึกษา-ดาวแห่งการศึกษา เด็กปีระกาเองก็จะได้รับผลดีจากโชคด้านการเรียนที่ดาวหมายเลข 4 น�ำมาให้จงทุ่มเทความพยายามให้ มากขึ้นกับงานที่ท�ำ แล้วคุณจะรู้สึกเหมือนได้พบขุมทรัพย์แห่งข้อมูล ช่วยให้คุณท�ำได้ดีเยี่ยมในทิศทางที่คุณจะรู้สึกตื่นเต้นได้อย่างแท้จริง

ปี จอ

การงาน-สร้างฐาน การงานอาจไม่น่าพอใจเท่าที่คุณต้องการ คนปีจอบางคนอาจรู้สึกผิดหวังที่คุณไม่ได้เชื่อหรือการ ยอมรับอย่างที่สมควรแต่ตอนนี้ยังไม่ถึงเวลาที่จะเรียกร้องชื่อเสียง คุณต้องสร้างความสัมพันธ์ที่มั่นคงกับเพื่อนร่วมงาน และทุกคนเสียก่อน เวลาที่จะท�ำให้ผู้ใหญ่ประทับใจจะมาถึงเอง แต่คุณต้องสร้างฐานที่แข็งแกร่ง ธุรกิจ-มุ่งจัดการภายใน พลังแห่งการทะเลาะวิวาทท�ำให้ตอนนี้เป็นเวลาที่ไม่ดีเลยส�ำหรับการเจรจาต่อรอง ทางที่ดีควรเลื่อนการปรึกษา หารือหรือพูดคุยในเรื่องส�ำคัญออกไปก่อนจนกว่าจะถึงเดือนหน้า ความรัก เดือนนี้ยากที่จะเงียบสงบ ซึ่งไม่ได้หมายความว่าดี คนปีจอที่มีคู่และเริ่มหน่ายแหนง(เบื่อหน่าย, เหินห่าง) กันอาจพบว่าพวก คุณมีเรื่องโต้เถียงกันมากกว่าลงรอยกัน แม้ว่าคุณจะต้องการคนอยู่ใกล้ แต่คุณก็แทบจะไม่ได้ในสิ่งที่ต้องการเมื่ออยู่ด้วยกัน เว้นระยะ ห่างกันบ้างสักนิดหากจ�ำเป็น การศึกษา-ผิดหวัง คุณจะรู้สึกเหมือนถูกหักหลังในเดือนนี้ จงเรียนรู้ที่จะไม่ใส่ใจความรู้สึกด้านลบดังกล่าว แม้ว่าเพื่อนท�ำให้คุณผิดหวัง ก็ควรเชื่อใจพวกเขาไว้ก่อน คุณยังเด็ก เพื่อนของคุณก็เช่นกัน ให้เวลาตัวเองได้เติบโตบ้าง บางครั้งคนวัยเยาว์ก็ท�ำอะไรที่ไม่ฉลาดลงไป ไม่ใช่เพราะมีเจตนาจะท�ำร้าย แต่แค่ไม่คิดก่อนพูดหรือท�ำ

ปี กุน

การงาน-ระวังค�ำพูด คุณท�ำงานคนเดียวได้ดีกว่าร่วมงานกับผู้อื่นในเดือนนี้ ยิ่งติดต่อกับเพื่อนร่วมงานให้น้อยลงเท่า ไหร่ ก็จะลดความเสี่ยงที่จะเกิดความเข้าใจผิดกันได้มากเท่านั้น เดือนนี้คุณท�ำผลงานได้มากอย่างที่สุดหากท�ำงาน เอง แต่เมื่ออยู่กับคนอื่นคุณจะหัวเสียได้กับทุกเรื่องที่แสนจะเล็กน้อยและไม่ส�ำคัญ ธุรกิจ-เข้าใจผิด สิ่งต่างๆอาจไม่ราบรื่นเหมือนอย่างที่คุณต้องการ อาจมีอุปสรรคเมื่อคุณพยายามตกลงสัญญาให้ได้หุ้นส่วนธุรกิจที่คุณ ร่วมงานมาตลอดก็อาจมีท่าทีเปลี่ยนไป ดาวร้ายในผังดวงชะตาของคุณอาจน�ำความเข้าใจผิดมาสู่ชีวิตในตอนนี้วิธีการรับมือกับอุปสรรค ที่ไม่พึงปรารถนาในชีวิตของคุณได้ดีที่สุดคือคิดเสียว่าทั้งหมดนี้เป็นปัญหาเล็กน้อย ความรัก-กัดกันตลอด ไม่ใช่เดือนที่สงบสุขเลย คุณจะพบว่าตัวเองหงุดหงิดได้แม้แต่เรื่องที่แสนจะหยุมหยิม การโต้เถียงกับคู่รักของ คุณอาจกลายเป็นเรื่องปกติจนน่าเหน็ดเหนื่อยพยามยามอย่าเถียงกันมากเกินไป เพราะพลังงานที่ควรใช้กับเรื่องที่เป็นประโยชน์จะ หมดไปอย่างสูญเปล่า มิตรภาพ-ห่างเหิน หากคุณรู้สึกผิดหวังเพราะเพื่อนสนิท ลองเว้นระยะห่างระหว่างกันบ้างสักระยะ อาจไม่มีประโยชน์ที่จะพยายาม ปรับความเข้าใจในตอนนี้ การเผชิญหน้ามีแต่จะท�ำให้เรื่องแย่ลง และยิ่งท�ำให้เข้าใจผิดกันยิ่งขึ้น 73 issue 97 february 2016


เรื่อง, ภาพ : กรวิก อุนะพ�ำนัก

ครอบครัวพอเพียงจับมือ กศน. และสถาบันการศึกษา

ขับเคลื่อนกิจกรรมภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เมื่ อ วั น ที่ ๑๔ มกราคมที่ ผ ่ า นมา มู ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพี ย งได้ จั ด พิ ธี ร ่ ว มลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว ม มื อ โครงการครอบครั ว พอเพี ย งสู ่ ส ถานการศึ ก ษาและชุ ม ชน ระหว่ า งส� ำ นั ก งานส่ ง เสริ ม การศึ ก ษานอกระบบ และการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย (กศน.) กั บ มู ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพี ย ง ณ ห้ อ งประชุ ม ชั้ น ๑ ภายในอาคารมู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา เสริมผู้บริหารสถานศึกษาและครู เพื่อร่วมพัฒนาผู้เรียนและ เครือข่ายแกนน�ำในรูปแบบจิตอาสาตามแนวทางหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ดร.สุ เ มธ ตั น ติ เวชกุ ล ประธานกิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ มู ล นิ ธิ ครอบครั ว พอเพี ย ง ได้ ใ ห้ โ อวาทแก่ ผู ้ บ ริ ห ารและบุ ค ลากร ทางการศึกษาที่มาร่วมงานกว่า ๒๐๐ คน ว่า พระบาทสมเด็จ

ภายในงานยั ง มี ก ารลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว ม มือด้านการส่งเสริมผู้บริหาร ครู ร่วมพัฒนาผู้เรียนในโครงการ ครอบครัวพอเพียงสู่สถานการศึกษาและชุมชน ระหว่างมูลนิธิ ครอบครัวพอเพียง, คลังสมอง วปอ.เพื่อสังคม, สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา(ศธ.) กับโรงเรียนจ�ำนวน หนึ่งทั่วประเทศ ว่าด้วยการประสานความร่วมมือด้านการส่ง 74

IS AM ARE www.ariyaplus.com


คือทางรอดของโลกเพียงทางเดียว ที่เราจะส่งแผ่นดินที่ดีต่อ ไปยังลูกหลาน” ด้ า น พลเอกจรั ล กุ ล ละวนิ ช ย์ ประธานคลั ง สมอง วปอ.เพื่ อ สั ง คม กล่ า วว่ า รู ้ สึ ก ยิ น ดี ม ากที่ ไ ด้ ม าร่ ว มงานกั บ มูลนิธิครอบครัวพอเพียง เพราะทาง วปอ.เคยได้ร่วมงานกับ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล มาแล้ว อย่างไรก็ตาม วปอ.เป็นส่วนหนึ่ง ในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วยการ เดินสายบรรยายให้ความรู้ในจังหวัดต่างๆ ลักษณะคล้ายกับ มูลนิธิครอบครัวพอเพียงซึ่งด�ำเนินการอยู่ และเคยจัดประกวด ครอบครัวต่างๆ ที่ด�ำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงทั่วราช ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ประธานกิตติมศักดิ์มูลนิธิครอบครัวพอเพียง พระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระราชทานค�ำว่าเศรษฐกิจพอเพียงมา ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๔๑ ประชาชนส่วนมากรู้จักและเข้าใจ แต่มี น้อยที่จะน�ำไปสู่การปฏิบัติ พระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงสอนว่าคนเรา จะท�ำอะไรต้องเริ่มจากความเข้าใจก่อนไปปฏิบัติจริง จะน�ำไปสู่ การพัฒนาที่ยั่งยืน ตนอยากให้คนไทยได้มองพระเจ้าอยู่หัว ใช่ เพียงแต่เห็นอย่างเดียว ได้ฟังพระเจ้าอยู่หัว ใช่เพียงแต่ได้ยิน อย่างเดียว และน�ำไปปฏิบัติตามเพียงครึ่งหนึ่งก็ถือว่าดีแล้ว ค�ำ ว่าประโยชน์สุขและค�ำว่าพอเพียงเป็นค�ำที่ยิ่งใหญ่ ลึกซึ้ง แต่ ประชาชนไม่ค่อยแสวงหาความหมายของค�ำนี้ “พระองค์ท่านรับสั่งค�ำว่า ‘มวลรวมความสุข’ มา ก่อนยูเอ็นประมาณห้าสิบปี ฝรั่งเพิ่งมารู้จักค�ำนี้เมื่อไม่นาน นี้เอง น่าเสียดายคนไทยอยู่ใกล้ปราชญ์แต่ไม่เคยมองเห็น กลับไปแสวงหาความรู้ที่เรียกว่าสากล เราหลงค�ำว่าสากลแม้ กระทั่งสถาบันการศึกษา ความจริงค�ำว่าสากลเกิดขึ้นมานาน แล้ว แต่ไปๆ มาๆ เพี้ยนกลายเป็นว่าเราตามก้นฝรั่ง เราคิดว่า ฝรั่งท�ำยังไงเราต้องท�ำตาม ทั้งๆ ที่มันฝืนวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต เราพยายามจะสร้างระบบการศึกษาลอกแบบ ฝรั่งมาทั้งหมด แล้วก็ผลิตคนแบบผิดฝาผิดตัว สุดท้ายเรา ก็ปฏิบัติไม่ได้ เพราะเราอ้างแต่สากล พระเจ้าอยู่หัวรับสั่ง ว่าการท�ำงานต้องเคารพภูมิสังคม ประการแรกคือภูมิประเทศ เป็นอย่างไร สังคมเป็นอย่างไร พูดง่ายๆ คือให้เข้าใจดินน�้ำ ลมไฟสภาพแวดล้อมที่นั่นเป็นอย่างไร แต่เราเอาแต่ตามเขา เอาเงินเป็นใหญ่ เอาวัตถุเป็นใหญ่ สร้างความร�่ำรวย แล้ว เราก็รวยจริงๆ แต่เรานึกไม่ถึงเลยว่าเราเอาอะไรไปแลก พอ ปี ๔๐ เราก็ล้ม พอสิบสองปีถัดมาอเมริกาก็โดนเหมือนกับ เรา เพราะหลงระเริงในการใช้จ่ายไม่รู้จักพอ หลายประเทศก็ เป็นตามมา เพราะจนแต่อยู่เกินตัว ฉะนั้นเศรษฐกิจพอเพียง

พลเอกจรัล กุลละวนิชย์ ประธานคลังสมอง วปอ.เพื่อสังคม อาณาจักร รับโล่พระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา และผู้ชนะเลิศได้แก่จังหวัดล�ำพูน พลเอกจรัลมองว่าความพอเพียงเกิดจากความรู้จักพอ ประมาณและพึ่งตนเอง ค�ำว่าครอบครัวพอเพียงให้ความหมาย ถึงครอบครัวที่อบอุ่น ไม่จ�ำเป็นต้องมีเสื้อผ้ามากมาย ไม่จ�ำเป็น ต้องซื้อทุกอย่าง แต่เราพยายามผลิตเองท�ำเอง อย่างน้อยที่สุด ในบ้านเราปลูกผัก เลี้ยงปลา ปลูกข้าว เราก็ไม่จ�ำเป็นต้องใช้ เงิน สิ่งเหล่านี้จะสอนเด็กๆ ให้รู้จักพึ่งพาตนเองโดยไม่ต้องพูด บอก เด็กๆ หรือเยาวชนจะซึมซับไปเอง ปัจจุบันนี้คนไทยรู้จัก เศรษฐกิจพอเพียงกันอย่างกว้างขวางแล้ว ขอให้ทุกคนน�ำไป ปรับใช้ในครอบครัวตนเองจะเกิดผลประโยชน์สูงสุด ขณะที่ นายสุรพงษ์ จ�ำจด เลขาธิการส�ำนักงานส่ง เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย(กศน.) เปิดเผยว่า ส�ำนักงาน กศน. และมูลนิธิครอบครัวพอเพียง ได้ ลงนามความร่วมมือด�ำเนินการส่งเสริมผู้บริหาร ครู กศน. และ ร่วมพัฒนาผู้เรียน ในโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษา และชุมชน เพื่อส่งเสริมแนวคิด ทัศนคติ และเสริมสร้างพลัง ความคิดบวก หลอมรวมจิตใจของเยาวชน ครู และประชาชน 75

issue 97 february 2016


เป็ น รุ ่ น ๆ ไปซึ่ ง คงต้ อ งใช้ เวลาพอสมควรกว่ า จะอบรมครู ได้ครบทุกคน และในอนาคตก็จะให้จัดตั้ง กศน.ต�ำบลเป็น ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ ต ามรอยพ่ อ ด้ ว ย เพราะผมเชื่ อ มั่ น ว่ า หลั ก คิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ทางออกของคนไทย ให้ สามารถด� ำ รงชี วิ ต ได้ อ ย่ า งเป็ น สุ ข และมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ” นายสุรพงษ์ กล่าว

ให้เห็นถึงทศพิธราชธรรม ธรรมะของพระราชาที่ทรงท�ำเพื่อแผ่น ดินไทย จนเกิดการรวมตัวกันของพลเมืองที่มีความรัก ความ ศรัทธา และเชื่อมั่นในหลักคิดที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้พระราชทานเรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นสิ่งที่ สามารถเรียนรู้ ท�ำความเข้าใจ และน�ำมาปรับประยุกต์ใช้ในชีวิต ประจ�ำวัน หรือในการบริหารงาน ตลอดจนน�ำมาพัฒนาเพื่อให้ เกิดความมั่นคงอย่างยั่งยืน

นางสุชานี แสงสุวรรณ ประธานมูลนิธิครอบครัวพอเพียง

นายสุรพงษ์ จ�ำจด เลขาธิการส�ำนักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย(กศน.)

ด้าน นางสุชานี แสงสุวรรณ ประธานมูลนิธิครอบครัว พอเพียง กล่าวถึงความร่วมมือครั้งนี้ว่า รู้สึกยินดีอย่างยิ่งที่ผู้ บริ ห ารสถานศึ ก ษาทุ ก ท่ า นได้ ร ่ ว มใจเป็ น หนึ่ ง เดี ย วกั บมู ล นิธิ ครอบครั ว พอเพี ย ง และมองเห็ น ความส� ำ คั ญ ในการน้ อ มน� ำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปเพิ่มเติมปลูกจิตส�ำนึกใน เยาวชน ซึ่งจะมีผลไปถึงสถาบันครอบครัว ชุมชน และประเทศ ชาติ “การที่ทุกๆ ท่านได้เอื้อเฟื้อการด�ำเนินงานของมูลนิธิ ครอบครัวพอเพียง ดิฉันกราบขอบพระคุณ และยินดีต้อนรับ ทุกท่าน ทุกสิ่งทุกอย่างที่ท่านจะได้รับล้วนมีคุณค่า วันนี้ทุก ท่านเป็นผู้ทรงคุณวุฒิก็ถือว่าได้มาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ กัน ได้มาร่วมกันน้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ไปเผยแพร่ แ ละปลู กฝัง ลงในจิ ต ใต้ ส� ำ นึ ก ผู ้ ค น ดิ ฉั น ยิ น ดี อ ย่ า งยิ่ ง ที่ เราได้ ร ่ ว มเป็ น ครอบครัวเดียวกัน” ส�ำหรับเสียงสะท้อนจากผู้อ�ำนวยการสถานศึกษาและ บุคลากรที่ได้เข้าร่วมงานในครั้งนี้ต่างกล่าวว่า รู้สึกภูมิใจที่ได้ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการขั บ เคลื่ อ นงานเกี่ ย วกั บ หลั ก ปรั ช ญาของ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งร่ ว มกั บ มู ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพี ย ง หลาย โรงเรียนเคยได้ร่วมงานกับมูลนิธิครอบครัวพอเพียงมายาวนาน เกือบ ๑๐ ปี ปลูกจิตส�ำนึกด้านความพอเพียงให้เยาวชนมา แล้วหลายรุ่น

เลขาธิการ กศน. กล่าวต่อไปว่า การท�ำความร่วมมือ ในครั้งนี้ เพื่อให้สถานศึกษาสังกัดส�ำนักงาน กศน. เป็นหน่วย เรียนรู้อันทรงคุณค่าของครู กศน. ผู้เรียน และเครือข่ายแกน น�ำที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพตามโครงการ มุ่งเน้น สร้างเสริมความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์และมีจิตอาสา ท�ำกิจกรรม ที่เป็นประโยชน์ร่วมกับชุมชน เพื่อรวมพลังสร้างสรรค์สู่สังคม คุณภาพ โดย กศน.จะท�ำหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุนหลักสูตรและ การด�ำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรม รวมทั้งจัดส่งผู้บริหารสถาน ศึกษา และครู กศน. เข้าร่วมโครงการ ส่วนมูลนิธิครอบครัว พอเพียง จะรับผิดชอบในการติดต่อประสานงานกับภาคีเครือ ข่าย จัดหาวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาต่างๆ เพื่อส่งเสริม ประสบการณ์ให้มีความหลากหลาย ก้าวหน้า ทันสมัย และจัด ค่ายเพื่อพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นผู้น�ำ “กศน.จะน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การ เรียนรู้ของครู กศน.นักศึกษาและประชาชน โดยเริ่มต้นด้วย การทยอยจัดอบรมครู กศน.ทั่วประเทศ โดยร่วมกับทางมูลนิธิ ครอบครัวพอเพียงในการให้ความรู้ จากนั้นจะให้ไปศึกษา เรียนรู้สู่การปฏิบัติตามฐานต่างๆ เพื่อให้ครูมีความรู้ที่ลึกซึ้ง ก่อนที่จะน�ำไปถ่ายทอดแก่นักศึกษาและประชาชน โดยตั้ง เป้าหมายที่จะท�ำควบคู่กันไประหว่างการอบรมครูและการ ถ่ายทอดต่อให้แก่นักศึกษาและประชาชน โดยด�ำเนินการ 76

IS AM ARE www.ariyaplus.com


ศึกษา และการพัฒนาคนที่ยั่งยืน ถือเป็นนิมิตรหมายที่ดีที่การ จัดการการศึกษาไม่ได้อยู่ในภาครัฐอย่างเดียวหรือกระทรวง ศึกษาธิการอย่างเดียว มูลนิธิครอบครัวพอเพียงก็เป็นปัจจัย หนึ่งที่จะส่งเสริมรากฐานความคิดให้กับประชาชนได้อย่างดี ส่วนตัวแล้วเต็มใจและภูมิใจที่จะร่วมกิจกรรมค่ะ” ผู้อ�ำนวย การ โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ กล่าว ด้าน ดร.สุนิสา บุญ โชติ หิ รั ญ ผู ้ อ� ำ นวยการ โรงเรี ย นระยองวิ ท ยาคม เปิดเผยว่า กิจกรรมที่มูลนิธิ ครอบครั ว พอเพี ย งด� ำ เนิ น การอยู ่ ต รงกั บ อุ ด มการณ์ และแนวทางในการขั บ เ คลื่ อ นโร ง เรี ย นระยอง วิทยาคม ซึ่งตนเป็นผู้หนึ่งที่ ยึดหลักค�ำสอนของพระเจ้าอยู่หัวเป็นแนวทางในการด�ำเนินชีวิต ด�ำเนินงานอยู่แล้ว การได้มาร่วมกับมูลนิธิครอบครัวพอเพียงถือ เป็นความภูมิใจอย่างยิ่ง “วันนี้ได้มีโอกาสมารับความรู้จากมูลนิธิครอบครัว

ซิสเตอร์ ดร.พัชรา นั น ท จิ น ด า ผู ้ อ� ำ น ว ย การโรงเรี ย นพระหฤทั ย คอนแวนต์ กล่ า วว่ า เมื่ อ กลับไปโรงเรียนแล้วตนต้อง ไปสร้ า งความตระหนั ก รู ้ และสร้างความเข้าใจให้กับ ครู แ ละบุ ค ลากรเป็ น เบื้ อ ง ต้ น หลั ง จากนั้ น จะให้ มี ค รู กลุ่มหนึ่งจัดการเรื่องราวเหล่านี้ให้เป็นรูปธรรม และตนเองจะ ท�ำกิจกรรมต่างๆ เพื่อเสริมองค์ความรู้และก�ำหนดแนวทาง ของโรงเรียนที่ได้รับไปให้สอดคล้องในแนวทางและนโยบายที่ ได้ด�ำเนินการ เมื่อมีผู้ด�ำเนินการแล้ว ขั้นตอนที่ส�ำคัญที่สุดเป็น เรื่องการให้ความรู้กับนักเรียน จากนักเรียนทั้งหมดจะให้มีส่วน หนึ่งที่จะเป็นแกนน�ำในการด�ำเนินการ ในเบื้องต้นจะเป็นการ เตรียมการในลักษณะนี้ก่อน “ส�ำหรับงานวันนี้รู้สึกภูมิใจที่ได้มีโอกาสได้ร่วมงาน แต่เท่าที่เห็นก็น่าดีใจแทนโรงเรียนต่างๆ ที่อย่างน้อยก็ได้น�ำ รากฐานความคิดที่จะน�ำไปพัฒนาและต่อยอดการจัดการการ 77

issue 97 february 2016


กศน.จังหวัดสระบุรี หนึ่งในผู้ร่วมงานครั้งนี้ กล่าวว่า จากที่ได้ มาร่วมงานมูลนิธิครอบครัวพอเพียงวันนี้ เป็นเรื่องที่สอดคล้อง กับนโยบายของ กศน.โดยท่านเลขา กศน. สุรพงษ์ จ�ำจด ซึ่ง มียุทธศาสตร์เรื่องของรักชาติ ศาสตร์ กษัตริย์ อยู่แล้ว และมี โครงการหมู่บ้านเรียนรู้ตามรอยเบื้องพระยุคลบาท ซึ่งก�ำลัง ด�ำเนินการอยู่พอดี เป็นแผนที่จะจัดอบรมครูของ กศน.ที่มี อยู่ทั้งหมด ๑๑๑ ต�ำบล เพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับพระราชกรณี กิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หลักการทรงงานของ พระองค์ท่าน รวมทั้งพระบรมราโชวาท และแนวทางปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ก่อนที่ครูจะน�ำแนวทางนี้ไปขยายผลกับ แกนน�ำในหมู่บ้าน หมูบ้านละสองคน ซึ่ง กศน.จะปรับหลักสูตร ให้เข้ากับแกนน�ำหมู่บ้านต่อไป “เราอยากจะร่วมผลักดันให้คุณครูของเราเป็นคุณครู มืออาชีพ จากภาระการทรงงานของพระองค์ท่าน เป็นแบบ อย่างของครูแห่งแผ่นดิน เราคงต้องเรียนรู้การท�ำงานจาก พระองค์ท่านไปเป็นแบบอย่างและส่งต่อแก่ครูรุ่นใหม่” อี ก ท่ า น นางลั ด ดา กลิ่นวงษ์ รองผู้อ�ำนวยการ โรงเรียนล�ำปางกัลยาณี เป็น อี ก ผู ้ ห นึ่ ง ที่ ไ ด้ เข้ า ร่ ว มงาน ในครั้ ง นี้ ได้ ก ล่ า วถึ ง ความ ประทับใจว่า “เป็นความโชค ดี ม ากของโรงเรี ย นล� ำ ปาง กั ล ยาณี ที่ มู ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพี ย ง สิ่ ง ที่ ไ ด้ ม ารั บ รู ้ ใ นวั น นี้ เ ป็ น ความร่ ว มมื อ ที่ ดี ม าก พอเพียงได้คัดเลือกโรงเรียน แล้วก็ตรงกับอุดมการณ์ของตัวเองด้วย จะเอาความรู้และ เข้าร่วมโครงการ ได้เข้าร่วมกิจกรรมในวันนี้ถือว่าเป็นการให้ ประสบการณ์ในวันนี้ไปต่อยอดสู่คุณครู สู่เด็ก และสู่ครอบครัว เกียรติกับโรงเรียนต่างๆ เข้าร่วมโครงการทั้งของ สพฐ. ทั้งของ สู่ผู้ปกครองและชุมชนต่อไป การมาร่วมงานในวันนี้ เดิมทีเรา กศน. ท�ำให้โรงเรียนต่างๆ หน่วยงานต่างๆ เกิดความตระหนัก รักในหลวงของเราอยู่แล้วก็ยิ่งมีความประทับใจยิ่งขึ้น และ ในการที่เราจะร่วมกันรณรงค์ต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น คิดว่าคงต้องเป็นภาระก่อนเกษียณที่จะต้องผลักดันโครงการ วันนี้ถือว่าทางคณะผู้จัดมีความพร้อม มีความมุ่งมั่น มี นี้ เราตระหนักดีว่าไม่ว่าจะเป็นครูหรือเด็ก ถ้าไม่เกิดการเห็น ความตั้งใจที่จะให้โรงเรียนต่างๆ น�ำสิ่งที่ได้รับฟังในวันนี้ไปสู่ จริงก็ไม่เกิดศรัทธา หน้าที่ การปฏิบัติ ทั้งแนวทางในการที่จะน�ำความรู้ไปสู่กระบวนการ ของเราต้ อ งสร้ า งศรั ท ธา เรียนรู้ต่อนักเรียนและคุณครู ที่ส�ำคัญที่สุดคือวันที่ ๑๖ นี้เป็น ด้วยการท�ำเป็นต้นแบบให้ วันครู อยากฝากถึงคุณครูรุ่นใหม่ว่าการสอนนักเรียนในปัจจุบัน เห็น ดิฉันรู้สึกประทับใจใน ไม่ได้สอนแค่วิชาการ แต่เราจะต้องช่วยกันปลูกฝัง สอนความ การอบรมครั้ ง นี้ เ ป็ น อย่ า ง เป็นคนให้กับเด็กตั้งแต่เขายังเป็นเยาวชน ซึ่งจะเป็นรากแก้ว มาก” ของประเทศต่ อ ไป ถ้ า เราไม่ ช ่ ว ยกั น ปลู ก ฝั ง ตั้ ง แต่ บั ด นี้ เรา ขณะที่ น า ง ส า ว จะต้องคอยแก้ปัญหาในอนาคตต่อไป” นางลัดดา กลิ่นวงษ์ ลั ด ดาวั ล ย์ เลิ ศ เพ็ ญ เมธา กล่าว ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก งาน 78 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ท ้ า ย สุ ด น า ง นงลั ก ษณ์ ศุ ภ โสภณ รอง ผู ้ อ� ำ นวยการฝ่ า ยบริ ห าร กิ จ การนั ก เรี ย นโรงเรี ย น ส ง ว น ห ญิ ง จั ง ห วั ด สุพรรณบุรี สะท้อนถึงความ เป็นครูว่า ครูต้องเป็นแบบ อย่างที่ดี เป็นแม่พิมพ์ ค�ำว่า ครูมืออาชีพไม่ได้เก่งแต่งาน อย่างเดียว แต่ต้องเก่งในเรื่องคน คนก็คือลูกศิษย์ ค่าของครูอยู่ ที่ศิษย์ ไม่ได้อยู่ที่ผลงานหรือโล่ห์รางวัล สิ่งส�ำคัญคือความส�ำเร็จ ของศิษย์ นั่นคือความภูมิใจของครู อยากให้ครูรุ่นใหม่เป็นแบบ อย่างที่ดี พยายามสร้างลูกศิษย์ให้เป็นต้นไม้ที่งอกงามยิ่งขึ้น “แนวทางที่โรงเรียนก�ำลังพยายามท�ำคือสร้างเครือข่าย ขึ้นมา สิ่งส�ำคัญที่สุดก็คือเด็กนักเรียน ฉะนั้นถึงแม้ว่าตัวผู้รับ ผิดชอบโครงการจะไม่อยู่ก็ยังมีคนท�ำต่อไป และเด็กๆ ที่เป็น แกนน�ำถือว่ายอดเยี่ยมมาก เพราะว่าครอบครัวพอเพียงให้เขา เยอะ ลักษณะของการท�ำงาน การคิดวิเคราะห์ เขาสามารถ

“พระเจ้ า อยู ่ หั ว ฯ ทรงสอนว่ า คนเราจะท� ำ อะไรต้ อ ง เริ่ ม จากความเข้ า ใจก่ อ นไปปฏิ บั ติ จ ริ ง จะน� ำ ไป สู ่ ก ารพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น ตนอยากให้ ค นไทยได้ ม อง พระเจ้ า อยู ่ หั ว ใช่ เ พี ย งแต่ เ ห็ น อย่ า งเดี ย ว ได้ ฟ ั ง พระเจ้ า อยู ่ หั ว ใช่ เ พี ย งแต่ ไ ด้ ยิ น อย่ า งเดี ย ว และน� ำ ไปปฏิ บั ติ ต ามเพี ย งครึ่ ง หนึ่ ง ก็ ถื อ ว่ า ดี แ ล้ ว ” ท� ำ งานได้ โ ดยที่ เราไม่ ต ้ อ งไปวุ ่ น วายกั บ เขาเลย นี่ คื อ สิ่ ง ที่ ไ ด้ ประโยชน์ รู้สึกดีใจที่ได้มารับทราบเรื่องราวของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ประทับใจมาก คือมารู้ในสิ่งที่บางครั้งเราดูผ่านๆ ก็คิดว่าเป็นเรื่องธรรมดา แต่จริงๆ แล้วมันประทับใจไม่รู้จะ บรรยายยังไง แล้วอยากจะถ่ายทอดในภาพอย่างนี้ให้เด็กๆ ได้ เห็น แล้วก็อยากจะให้ส่งไปถึงครอบครัวเขาด้วยเพราะว่าเด็ก เขาจะโตเป็นผู้ใหญ่ ถ้าหากเขาโตขึ้นจะได้น�ำสิ่งเหล่านี้ไปท�ำ เป็นแบบอย่างได้ อันนี้เป็นสิ่งที่ยอดเยี่ยมมาก วันนี้ประทับใจ มาก ถือเป็นโชคดีนะคะที่ได้มาในวันนี้” นางนงลักษณ์ ศุภโสภณ กล่าวทิ้งท้าย 79

issue 97 february 2016


“ดับ๊ เบิ้ล เอ” ร่วมสนับสนุนมู ลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ 5 จังหวัด นายโยธิน ด�ำเนินชาญวนิชย์ กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ดั๊บเบิ้ล เอ ร่วมสนับสนุนเงิน จ�ำนวน 2 ล้านบาท เพื่อใช้ในกิจการอนุรักษ์ ป่ารอยต่อ 5 จังหวัด คือ ฉะเชิงเทรา สระแก้ว จันทบุรี ระยอง และชลบุรี พร้อมมอบกระ ดาษดั๊ บ เบิ้ ล เอ และผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ครื่ อ งเขี ย น ให้ใช้ในกิจการตลอดปี โดยมี พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี ว่ า การกระทรวงกลาโหม ในฐานะประธาน คณะกรรมการมู ล นิ ธิ อ นุ รั ก ษ์ ป ่ า รอยต่ อ 5 จังหวัด เป็นผู้รับมอบ ณ ห้องรับรองมูลนิธิ อนุรักษ์ป่ารอยต่อ 5 จังหวัด เมื่อเร็วๆนี้

เอ.พี.ฮอนด้า ผนึกก�ำลังเครือข่ายผู ้จ�ำหน่ายรถจักรยานยนต์ฮอนด้าจัดบริจาคโลหิตทั่วไทย รวมปริมาณสะสม 11 ปี กว่า 100 ล้านซี ซี

เอ. พี. ฮอนด้า ผู้จัดจ�ำหน่ายรถจักรยานยนต์ฮอนด้าในประเทศไทย ร่วมกับเครือข่ายศูนย์จ�ำหน่ายและบริการฮอนด้า วิง เซ็นเตอร์ จัดกิจกรรมบริจาคโลหิตทั่วไทย เพื่อส่งมอบให้กับศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย โดยเริ่มเปิดรับบริจาคในวันที่ 1-15 ธันวาคม2557 ที่ศูนย์จ�ำหน่ายและบริการฮอนด้าวิงเซ็นเตอร์ที่ร่วมกิจกรรมทั่วประเทศ และวันที่ 7ธันวาคม 2557 ที่ศูนย์บริการ โลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ถนนอังรีดูนังต์ กรุงเทพฯ 80 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Round About

เคทีซีชวนบริจาคซี ดีเพื่อเยาวชน “รถเข็นโรงหนังการ์ตูน เพื่อเด็กป่ วยในโรงพยาบาล”

“เคทีซี” หรือ บริษัท บัตรกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) ขอเชิญสมาชิกเคทีซี พนักงาน และสื่อมวลชน ร่วมบริจาคแผ่นซีดีลิขสิทธิ์ สภาพดี เกี่ยวกับความรู้ทั่วไป การ์ตูน ชีวิตสัตว์โลก ให้กับน้องๆ ผู้ป่วยเด็ก และผู้ป่วยหลังการผ่าตัดหัวใจเด็กที่โรงพยาบาลราชวิถี ภายใต้กิจกรรม “เคทีซีปันรักให้น้องด้วยความรู้” ตอน “รถเข็นโรงหนังการ์ตูน เพื่อเด็กป่วยในโรงพยาบาล” โดยเคทีซีจะ ท�ำการส่งมอบรถเข็นเคลื่อนที่พร้อมบรรจุคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊คและซีดีดังกล่าว เพื่อร่วมแบ่งปันความสุข ลดความทุกข์ ฟื้นฟูอารมณ์ และ จิตใจของน้องๆ ต่อไป ทั้งนี้ สมาชิกเคทีซีสามารถร่วมบริจาคซีดีได้ที่ “เคทีซี ทัช” ทุกสาขาทั่วประเทศ ตั้งแต่วันนี้ – 31 มีนาคม 2558

ยู เซ็น โลจิสติกส์ จัดกิจกรรม “แบ่งปั นความสุข ร่วมสร้างรอยยิ้ม” มร. ฮิโรชิ มานิวะ ประธาน และประธานเจ้า หน้าที่ฝ่ายบริหาร และคุณปิติ ตั้งนิมิตรจิต ผู้จัดการ ทั่วไป สาขามาบตามพุด โลจิสติกส์ เซ็นเตอร์ และแหลม ฉบัง โลจิสติกส์ เซ็นเตอร์ 3 บริษัท ยูเซ็น โลจิสติกส์ (ประเทศไทย)จ�ำกัด น�ำคณะผู้บริหารและพนักงานร่วม กิจกรรมเพื่อสังคม ภายใต้โครงการ “แบ่งปันความสุข ร่วมสร้างรอยยิ้ม” ณ โรงเรียนวัดธรรมสถิต จ.ระยอง ซึ่งที่นั้น เพื่ อ นสมาชิ ก ยู เซ็ น ได้ ร ่ ว มกั น มอบและสร้ า ง บรรยากาศแห่งความสุข สนุกสนานให้กับเด็กนักเรียน ระดับชั้นอนุบาลและประถมศึกษา จากการจัดกิจกรรมเกมส์กีฬา และนันทนาการ การแจกของรางวัล รวมทั้ง จัดเลี้ยงอาหารกลาง วัน ของทานเล่น และไอศครีมแสนอร่อย พร้อมกันนี้ยังได้มอบเครื่องเล่นสนามเด็กเล่น และสื่อการเรียนรู้เสริมทักษะ โดยมี นายทองค�ำ ประสงค์ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนวัดธรรมสถิต เป็นตัวแทนรับมอบ เพื่อน�ำไปใช้ในการเรียนการสอนเพื่อ เสริมสร้างความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ โดยที่เด็กนักเรียนสามารถสนุก และเรียนรู้ไม่ใช่เพียงแค่วันเดียว แต่สามารถเรียนรู้ได้ทุกวันนับตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป

81 issue 97 february 2016


“งานทุกอย่างมีบุคคลซึ่งมีชีวิตจิตใจ มีความนึกคิดเป็นผู้กระท�ำ ถ้าผู้ท�ำมีจิตใจไม่พร้อม จะท�ำงานเช่น ไม่ศรัทธาในงาน ไม่สนใจผูกพันกับงาน ผลงานที่ท�ำก็ย่อมบกพร่อง ไม่คงที่ ต่อเมื่อ ผู้ปฏิบัติมีศรัทธา เข้าใจซึ้งถึงประโยชน์ของงาน พร้อมใจและพอใจที่จะขวนขวายปฏิบัติงานโดย เต็มก�ำลังความสามารถ งานจึงจะด�ำเนินไปได้โดยราบรื่น และบรรลุผลตามที่มุ่งหมาย” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๓๖ 82 IS AM ARE www.ariyaplus.com


83 issue 97 february 2016



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.