IS AM ARE
จีวร กับ ขยะ
เรื่องราวของวัดจากแดง ดั่งสายธารแห่งกาลเวลา กับการอุ ทิศตนเพื่อสังคมไทยปลอดบุ หรี่
ศ.เกียรติคุณ พญ.สมศรี เผ่าสวัสดิ์
2 IS AM ARE www.fosef.org
“ถ้ า ท� ำ งานด้ ว ยความตั้ ง ใจที่ จ ะให้ เ กิ ด ผลอั น ยิ่ ง ใหญ่ คื อ ความเป็ น ปึ ก แผ่ น ของประเทศชาติ ด้ ว ยความสุ จ ริ ต และด้ ว ยความรู ้ ค วามสามารถด้ ว ยจริ ง ใจ ไม่ นึ ก ถึ ง เงิ น ทองหรื อ นึ ก ถึ ง ผลประโยชน์ ใ ดๆ ก็ เ ป็ น การท� ำ หน้ า ที่ โ ดยตรงและได้ ท� ำ หน้ า ที่ โ ดยเต็ ม ที่ ”
พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ ๙ พระราชทานแก่ ศึ ก ษาธิ ก ารจั ง หวั ด ทั่ ว ประเทศ ๑๓ ธั น วาคม ๒๕๑๑
3 issue 132 JANUARY 2019
Editorial สวัสดีปีใหม่ ปีหมู หรือปีกุน ได้อ่านหนังสือดวง นักพยากรณ์ กล่าวว่า นักษัตรของเราจะดี มานั่งวิเคราะห์จะดีจาก อะไร เมื่อมองจากงานที่ท�ำ จึงท�ำให้เห็นค�ำตอบ ก็จะไม่ดีได้อย่างไร การขับเคลื่อนโครงการที่มูลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ ด�ำเนินงานมากว่า ๑๓ ปี ได้ส่งผลให้นักเรียนที่ท�ำความดี ในสถานศึกษาหรือในชุมชนได้รับผลที่ดีตอบแทน คือ ได้รับคัด เลือกเข้ามหาวิทยาลัยตามที่ตนเองหวัง มากมายหลายคน และที่ดีมากไปกว่านั้น คือการตอบรับในการลงนามความร่วมมือ ระหว่างมูลนิธิครอบครัวพอเพียงกับมหาวิทยาลัย ทั้ง ๒๗ แห่ง (ทปอ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏ ทั้ง ๓๘ แห่งและมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล ๙ แห่ง ร่วมมือกันเพื่อเปิดชมรมครอบครัวพอเพียงในมหาวิทยาลัย ชมรมครอบครัวพอเพียงในรั้วมหาวิทยาลัย จะช่วยให้นักศึกษาได้มีเวทีในการท�ำประโยชน์เพิ่มขึ้น มากขึ้น และใน ประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับนั้นจะน�ำมาซึ่งประสบการณ์ของชีวิตที่ไม่มีสอนในห้องเรียน และยังส่งผลให้เกิดความคุ้นชิน พร้อมรับปัญหาของสังคมได้เป็นอย่างดี จากกิจกรรมที่จะท�ำให้รู้สึกถึงการเป็นส่วนหนึ่งของสังคมได้เป็นอย่างดี หลายเสียงจากหลายคนที่ได้ยิน คือ ความรับผิดชอบต้องมีมากขึ้น เพราะถ้าไม่รับผิดชอบต่อการนอน และตื่นนอน จะท�ำให้มาไม่ทันเวลาเพื่อเดินทางไปร่วมกิจกรรม และเสียงที่ดังมาก จนฟังได้ชัดเจนคือ เสียงของผู้ที่จบการศึกษาแล้ว และได้เป็นผู้ใหญ่เต็มตัว คือ มีอาชีพและราย ได้ของตัวเอง ความรับผิดชอบเกิดขึ้นอย่างเลี่ยงไม่ได้เลยคือ ต้องมาให้ทันเวลาท�ำงาน แม้ว่าในที่ท�ำงานบางแห่ง ผู้บริหาร ไม่ได้มองเวลาการเข้าออกในเวลางาน แต่ที่ผู้บริหารมอง คือ ผลงาน ผลงานที่เกิดจากความรับผิดชอบในหน้าที่ หน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายด้วยความไว้วางใจในความรับผิดชอบของบุคคล ค่าของคนอยู่ที่ผลของงาน ดวงจะดีหรือไม่ก็อยู่ที่ผลของงานเช่นกัน.
4 IS AM ARE www.fosef.org
Contributors
มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง
พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี ประธานโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ นายธนพร เทียนชัยกุล นายณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ นายภูวนาถ เผ่าจินดา นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา นางสาวเอื้อมพร นาวี ผศ.ดร.ปรีชาพร สุวัฒโนดม นายเอกรัตน์ คงรอด นายอภีม คู่พิทักษ์ นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ นายธงชัย วรไพจิตร นายภูริวิทย์ จงนิรักษ์ นางศิรินทร์ เผ่าจินดา
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก กรรมการ กรรมการ กรรมการ ผู้จัดการมูลนิธิ
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ดร.เชิดศักดิ์ ดร.กัมปนาท ดร.นฤมล ดร.อ�ำนาจ ดร.ชลพร ดร.กาญจนา ดร.ปิยฉัตร ดร.คุณานันท์
ศุภโสภณ บริบูรณ์ พระใหญ่ วัดจินดา กองค�ำ สุทธิเนียม กลิ่นสุวรรณ ทยายุทธ
Let’s
Start and Enjoy!
ส�ำนักงาน :
โทรศัพท์ : โทรสาร : เว็ปไซต์ :
5 issue 132 JANUARY 2019
นิตยสารครอบครัวพอเพียง 663 ซอยพหลโยธิน 35 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 0 2939 5995 0 2939 5996 www.fosef.org
Hot Topic
8
พัฒนาดอยกันดาร ด้วยโครงการหลวง
16
32
พระศากยวงศ์วิสุทธิ์ “พุ ทธศาสนา” ในโลก ตะวันตก
ดั่งสายธารแห่งกาลเวลา กับการอุ ทิศตนเพื่อสังคมไทย
ปลอดบุ หรี่ ศ.เกียรติคุณ พญ.สมศรี เผ่าสวัสดิ์
Don’t miss
24
74 54 6 IS AM ARE www.fosef.org
40 52
Table Of Contents
ศ.เกียรติคุณ พญ.สมศรี เผ่าสวัสดิ์
7 issue 132 JANUARY 2019
เกร็ดการทรงงาน พัฒนาดอยกันดาร ด้วยโครงการหลวง (พื้นที่สูง) ความเป็นมาของพระราชพิธีบรมราชาภิเษก Cover Story ดั่งสายธารแห่งกาลเวลา กับการอุทิศตนเพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่ ศ.เกียรติคุณ พญ.สมศรี เผ่าสวัสดิ์ แก่อย่างมีคุณภาพ ชราอย่างมีความสุข Cartoon Let’s Talk “พุทธศาสนา” ในโลกตะวันตก พระศากยวงศ์วิสุทธิ์ รมณีย์ที่เรา ชัยพัฒนา ประสบการณ์สอนภาษาครั้งแรก เกิดอะไรขึ้นกับร่างกายเรา เมื่อออกก�ำลังกายสม�่ำเสมอ ความเป็นคนความเป็นครู ครูต้องพัฒนาตนอย่างกล้าเปลี่ยน อุบลรัตน์ ฆวีวงษ์ จีวร กับ ขยะ เรื่องราวของวัดจากแดง ใบบัวเป็นอาจารย์ที่ดีมาก พระอาจารย์ไพศาล วิสาโล 70 เส้นทางตามรอยพระบาท โดย ททท. สถานีพัฒนาเกษตรที่สูงตามพระราชด�ำริ บ้านสะจุก-สะเกี้ยง จ.น่าน สังคมคนดี Round About
8 12
16 24 28 32 40 44 52 54 60 68 74 78 80
พัฒนาดอยกันดาร
ด้วยโครงการหลวง (พื้นที่สูง) “พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงโปรดที่ จ ะศึ ก ษาชี วิ ต ของประชาชนของท่ า น คนข้ า งล่ า งบนพื้ น ราบท่ า นก็ ท รงทราบแต่ ใ น พื้ น ที่ ป ่ า เขาท่ า นไม่ ท ราบว่ า เค้ า อยู ่ กั น อย่ า งไร จึ ง ได้ เ สด็ จ ประพาสต้ น บนดอย ท่ า นก็ ถ ามว่ า เค้ า เป็ น อย่ า งไร ท่ า นก็ ท รงทราบว่ า เค้ า จน ท่ า นก็ ส งสาร ท่ า นก็ อ ยากจะช่ ว ยให้ เ ค้ า เลิ ก จน เลิ ก ท� ำ ผิ ด คื อ ปลู ก ฝิ ่ น ให้ มี ร าย ได้ ดี แ ละไม่ ท� ำ ลายต้ น น�้ ำ ล� ำ ธารเรา” 8 IS AM ARE www.fosef.org
เกร็ ด การทรงงาน หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี องค์ประธานมูลนิธิโครงการหลวง ในวั น ที่ ๒๕ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๑๒ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชด�ำเนินเยี่ยมราษฎรชาวไทยภูเขาบนดอยสูง ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เ ป็ น ครั้ ง แรก ทั้ ง สองพระองค์ ท อด พระเนตรเห็นชีวิตจริง และได้เห็นคุณภาพชีวิตของราษฎรชาว ไทยภูเขาในถิ่นทุรกันดารล�ำบากยากจน ที่ด�ำรงชีวิตด้วยการท�ำ ไร่เลื่อนลอยและปลูกฝิ่น การท�ำไร่เลื่อนลอยได้ก่อความเสียหายให้แก่พื้นที่อัน เป็นต้นน�้ำล�ำธาร ส่วนการปลูกฝิ่นส่งผลต่อสุขภาพ ชีวิต และ เป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ แต่การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของ ชาวเขาเหล่านี้นั้นไม่ใช่เรื่องง่าย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงได้ทรงใช้เวลาในการศึกษาชีวิตความเป็นอยู่ของชาวเขา โดย เฉพาะก่อนที่จะมีพระราชด�ำริให้น�ำพืชอื่นๆ ซึ่งสร้างรายได้ดี แต่ ไม่ผิดกฎหมาย ทั้งยังไม่ต้องบุกรุกพื้นที่ต้นน�้ำมาส่งเสริมให้ชาว ไทยภูเขาเหล่านี้เพาะปลูก ภาพของไร่ ฝ ิ ่ น ที่ เ คยมองเห็ น ได้ ไ กลสุ ด สายตาก็ ไ ด้ กลั บ กลายมาเป็ น พื้ น ที่ ข องพื ช เศรษฐกิ จ ที่ มี ค วาม ยั่ ง ยื น พร้ อ มด้ ว ยภาพของพี่ น ้ อ งชาวเขายิ้ ม แย้ ม แจ่ ม ใสอยู ่ กั บ ชี วิ ต ที่ ดี แ ละมั่ น คงขึ้ น หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี องค์ประธานมูลนิธิโครงการหลวง ได้ประทานสัมภาษณ์ว่า “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงขับ รถพระที่นั่งไปบ้านแม้วดอยปุยใกล้พระต�ำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ และได้ทอดพระเนตรต้นท้อ (Peach) ที่แม้วเอากิ่งพันธุ์ดีมาต่อ กับต้นตอพื้นเมือง มีรับสั่งถามเจ้าของว่าปลูกฝิ่นได้เงินเท่าไหร่ และเก็บท้อพื้นเมือง (ลูกเล็ก) ขายได้กี่บาท ก็ทรงทราบว่าฝิ่น กับท้อพื้นเมืองท�ำเงินให้เกษตรกรเท่าๆ กัน” และ “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงคิดว่า ถ้าท้อลูก นิดๆ ยังท�ำเงินให้เกษตรกรได้ดีเท่าฝิ่นเราก็ควรจะเปลี่ยนยอด ให้ออกลูกมาเป็นท้อใหญ่ๆ หวานฉ�่ำสีชมพูเรื่อดั่งแก้มสาวใน นิทานจีน เมื่อรายได้จากท้อและผลไม้อื่นสูงกว่าฝิ่นแล้ว ฝิ่นก็จะ สาบสูญไปเองตามธรรมชาติ ไม่ต้องผลักดันแต่อย่างใด” ดังนั้นการด�ำเนินงานในระยะแรกของโครงการหลวง จึงเป็นไปในลักษณะโครงการส่วนพระองค์ โดยทรงพระกรุณา โปรดเกล้าตั้งโครงการหลวง ขึ้นในปี ๒๕๑๒ โดยใช้พระราช ทรัพย์ส่วนพระองค์ 9 issue 132 JANUARY 2019
พ ร ะ ม ห า ก รุ ณ า ธิ คุ ณ ข อ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ที่ ท รงห่ ว งใยทุ ก ข์ สุ ข ของเหล่ า อาณา ประชาราษฎร์ ภายใต้ พ ระบรมโพธิ ส มภารที่ อ าศั ย อยู ่ บ นพื้ น ที่ สู ง อย่ า งชาวไทยภู เ ขาเหล่ า นี้ ผลท� ำ ให้ วั น นี้ ป ่ า ที่ เ คยถู ก บุ ก รุ ก ท� ำ ลายได้ ก ลั บ กลายมาเป็ น ภาพผื น ป่ า เขี ย วขจี ท่ี ส มบู ร ณ์ อี ก ครั้ ง
ในช่วงแรกเริ่มนั้น จะไม่มีการบังคับให้ชาวเขาเลิกปลูก ฝิ่น แต่จะน�ำพืชเมืองหนาวไปให้ชาวเขาลองปลูก หากเห็นว่า ดีในปีต่อๆ ไปก็ค่อยๆ ขยายพื้นที่ปลูกต่อไป ซึ่งไม่พบปัญหา อุปสรรคแต่อย่างใด เพราะจะน�ำชาวเขาที่มีความกระตือรือร้น ไปปลูกก่อน และเมื่อได้ผลดีในปีต่อมาคนอื่นในชุมชนก็ได้เข้า ร่วมโครงการกันจนทั่วทั้งชุมชน หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ยังได้เล่าว่า ในระยะเริ่มต้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะเสด็จฯ ไปตามดอยต่างๆ วัน เว้นวัน เป็นประจ�ำทุกปี “ตอนเช้าที่ท่านจะบินไป หลังจาก เครื่องบินลงท่านก็จะเสด็จพระราชด�ำเนินขึ้นเขาลงห้วย จนถึง ตอนเย็น ท่านก็จะกลับ เสวยนี่ ท่านก็มีพวกข้าวห่อ” จากงานวิจัยทดลองในสถานีวิจัยจ�ำนวน ๔ แห่ง และ จากศูนย์พัฒนาโครงการหลวงอีก ๓๔ แห่ง ครอบคลุม ๕ จังหวัด ภาคเหนือ จนถึงแปลงปลูกของชาวเขา ซึ่งหลังจากที่มั่นใจได้ แล้วว่าพันธุ์พืชที่น�ำไปส่งเสริมให้ชาวเขาปลูกนั้น จะเป็นพืชที่ สามารถเติบโตได้ดีในภูมิอากาศบนดอยสูงของภาคเหนือ และ จะให้ผลผลิตตรงกับความต้องการของผู้บริโภค หากชาวเขาได้
ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำของเจ้าหน้าที่มูลนิธิโครงการหลวงที่ได้ เข้าไปเยี่ยมและให้ค�ำปรึกษาอย่างต่อเนื่อง ต่อจากนั้นก็มาถึง เรื่องของการตลาด ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความส�ำคัญและเกี่ยว เนื่องกับระบบการวิจัย ทางมูลนิธิโครงการหลวงจึงได้มีการวิจัย เพื่อแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่เป็นผลผลิตของชาวเขา และงานวิจัย ด้านการตลาดโดยเฉพาะ หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ได้กล่าวถึงเรื่องนี้ว่า “ตลาดก็ส�ำคัญมาก ถ้าเราผลิตแล้วไม่ได้เงินเราจะผลิต ท�ำไม เมื่อเราผลิตได้จริงๆ แล้ว เราก็ต้องจัดการขาย เพราะ 10
IS AM ARE www.fosef.org
จะให้ชาวเขาไปขายเองมันไม่ได้ ฉะนั้นเราต้องท�ำเรื่องการตลาด อีกอันที่คนถาม แล้วโครงการหลวงได้ก�ำไรเท่าไหร่ เราไม่ได้เลย เพราะว่าของๆ ชาวเขา เราเอาไปขาย ราคามันก็ขึ้นๆ ลงๆ แล้วแต่ตลาดจะซื้อเท่าไร เมื่อเราได้เงินมาแล้วเราจะหักต้นทุน ค่าขนส่ง ค่าภาชนะ ที่เหลือเราให้ชาวเขาหมดเลย ก�ำไรไม่มีกับเรา ก�ำไรอยู่ที่ชาวเขา” พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงห่วงใยทุกข์สุขของเหล่าอาณาประชาราษฎร์ ภายใต้พระบรม โพธิสมภารที่อาศัยอยู่บนพื้นที่สูงอย่างชาวไทยภูเขาเหล่านี้ ผลท�ำให้วันนี้ป่าที่เคยถูกบุกรุกท�ำลายได้กลับกลายมาเป็นภาพผืนป่า เขียวขจีที่สมบูรณ์อีกครั้ง ภาพของไร่ฝิ่นที่เคยมองเห็นได้ไกลสุดสายตาก็ได้กลับกลายมาเป็นพื้นที่ของพืชเศรษฐกิจที่มีความยั่งยืน พร้อมด้วยภาพของพี่น้องชาวเขายิ้มแย้มแจ่มใสอยู่กับชีวิตที่ดีและมั่นคงขึ้น สมดังค�ำขวัญของศูนย์โครงการหลวงที่ว่า “ช่วยชาว เขา ช่วยชาวเรา ช่วยชาวโลก”
11 issue 132 JANUARY 2019
12 IS AM ARE www.fosef.org
ความเป็ นมาของ
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
พระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษก เป็ น ราชประเพณี คู ่ สั ง คมไทยมายาวนานโดยได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากคติ อิ น เดี ย แต่ ลั ก ษณะการพระราชพิ ธี แ ต่ เ ดิ ม มี แ บบแผนรายละเอี ย ดเป็ น อย่ า งไรไม่ ป รากฏหลั ก ฐานแน่ ชั ด แม้ แ ต่ ก าร เรี ย กชื่ อ พิ ธี ก็ แ ตกต่ า งกั น ออกไปในแต่ ล ะสมั ย เช่ น สมั ย อยุ ธ ยา สมั ย รั ต นโกสิ น ทร์ ต อนต้ น เรี ย กว่ า กกุธภัณฑ์ คือ มหามงกุฎ ๑ พระแสงขรรค์ ๑ พัดวาลวิชนี ๑ ธารพระกร ๑ ฉลองพระบาทคู่ ๑...” ต่อมาในสมัยกรุงธนบุรี ไม่ปรากฏหลักฐานการประกอบ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก สันนิษฐานว่าท�ำตามแบบอย่างเมื่อ ครั้งสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ แห่งกรุงศรีอยุธยา แต่ท�ำ อย่างสังเขป เพราะบ้านเมืองไม่สงบเรียบร้อย ยังอยู่ในภาวะ สงคราม ครั้นถึงสมัยรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๕ พระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชได้ประดิษฐานพระบรม ราชจักรีวงศ์ และทรงกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกอบพระราชพิธี “พระราชพิธีราชาภิเษก” หรือ “พิธีราชาภิเษก” ส่วน ในปัจจุบันเรียกว่า “พระราชพิธีบรมราชาภิเษก” สมัยสุโขทัยปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกหลักที่ ๒ หรือ จารึกวัดศรีชุม ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อราวพุทธศตวรรษ ที่ ๑๘ กล่าวถึงการขึ้นเป็นผู้น�ำของพ่อขุนบางกลางหาว ไว้ว่า “...พ่อขุนผาเมืองจึงอภิเษกพ่อขุนบางกลางหาวให้เมืองสุโขทัย ให้ทั้งชื่อตนแก่พระสหายเรียกชื่อศรีอินทรบดินทราทิตย์...” ส่วนในศิลาจารึกวัดป่ามะม่วงภาษาไทย และภาษาเขมรกล่าว ถึงเครื่องราชกกุธภัณฑ์ในพิธีบรมราชาภิเษกพระมหาธรรมราชา ที่ ๑ (ลิไทย) ว่ามี มกุฎ พระขรรค์ชัยศรี และเศวตฉัตร สมัยอยุธยาปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับพระราชพิธีบรม ราชาภิเษกในค�ำให้การของชาวกรุงเก่า ข้อความตอนหนึ่งกล่าว ถึงขั้นตอนของพระราชพิธีนี้ว่า “...พระเจ้ากรุงศรีอยุธยาจึงโปรดให้เอาไม้มะเดื่อนั้น มาท�ำตั่งส�ำหรับประทับสรงพระกระยาสนานในการมงคล เช่น พระราชพิธีบรมราชาภิเษก เป็นต้น พระองค์ย่อมประทับเหนือ พระที่นั่งตั่งไม้มะเดื่อ สรงพระกระยาสนานก่อนแล้ว (จึงเสด็จ ไปประทับพระที่นั่งภัทรบิฐ)มุขอ�ำมาตย์ถวายเครื่องเบญจราช 13 issue 132 JANUARY 2019
ปราบดาภิเษกแต่โดยสังเขป ยังไม่พร้อมมูลเต็มต�ำรา ครั้น พ.ศ. ๒๓๒๖ โปรดให้ข้าราชการผู้รู้ครั้งกรุงเก่า มีเจ้าพระยาเพชรพิชัย เป็นประธาน ประชุมปรึกษาหารือกับสมเด็จพระสังฆราชและ พระราชาคณะผู้ใหญ่ท�ำการสอบสวนร่วมกันตรวจสอบต�ำรา ว่าด้วยการราชาภิเษกในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าอุทุมพร หรือ ขุนหลวงวัดประดู่ แล้ ว แต่ ง เรี ย บเรี ย งขึ้ น ไว้ เ ป็ น ต� ำ รา เรี ย กว่ า “ต� ำ รา ราชาภิเษกครั้งกรุงศรีอยุธยาส�ำหรับหอหลวง” เป็นต�ำราที่เกี่ยว กับการราชาภิเษกที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่พบหลักฐานในประเทศไทย เมื่อได้แบบแผนการราชาภิเษกที่สมบูรณ์แล้ว อีกทั้งพระราช มณเฑียรสถานที่สร้างขึ้นใหม่แล้วเสร็จใน พ.ศ. ๒๓๒๘ จึงทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ให้สมบูรณ์ตามแบบแผนอันได้เคยมีมาแต่เก่าก่อนอีกครั้งหนึ่ง และแบบแผนการราชาภิเษกดังกล่าวได้รับการยึดถือปฏิบัติเป็น แบบอย่างสืบมาเพื่อความเป็นพระมหากษัตริย์โดยสมบูรณ์ บาง พระองค์ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ๒ ครั้ง คือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้ง แรก เมื่อวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๑๑ เมื่อทรง
ขึ้นครองราชสมบัติสืบต่อจากพระบรมชนกนาถ ขณะมีพระ ชนพรรษาเพียง ๑๕ พรรษา ในระยะเวลาห้าปีแรกของรัชกาล สมเด็ จ เจ้ า พระยาบรมมหาศรี สุ ริ ย วงศ์ (ช่ ว ง บุ น นาค) เป็น ผู้ส�ำเร็จราชการแผ่นดิน จนกระทั่งเมื่อทรงเจริญพระชนมพรรษา ครบ ๒๐ พรรษา จึงทรงผนวช หลังจากทรงลาสิขาแล้วทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ครั้ง ที่ ๒ เมื่อวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๑๖ หลังจาก นั้นทรงรับพระราชภาระ และมีพระราชอ�ำนาจในการบริหาร ราชการแผ่นดินโดยสมบูรณ์ ส่วนพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกอบพระราชพิธบี รมราชาภิเษก ๒ ครัง้ คือ พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเฉลิมพระราชมณเฑียร เมื่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๕๓ เนื่องจากอยู่ในช่วงก�ำลัง ไว้ทุกข์งานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัว จึงโปรดให้งดการเสด็จเลียบพระนครและการรื่นเริง ต่อมา เมือ่ ถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว จึงทรงกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกอบพระราชพิธีบรม ราชาภิเษกสมโภช เมื่อวันที่ ๒ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๕๔ เพื่อ ให้เป็นส่วนรื่นเริงส�ำหรับประเทศ อีกทั้งให้นานาประเทศที่เป็น สัมพันธมิตรไมตรีมีโอกาสมาร่วมงาน 14
IS AM ARE www.fosef.org
15 issue 132 JANUARY 2019
cover story
ดั่งสายธารแห่งกาลเวลา กับการอุทิศตน เพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่
ศ.เกียรติคุณ พญ.สมศรี เผ่าสวัสดิ์ ศาสตราจารย์ เ กี ย รติ คุ ณ แพทย์ ห ญิ ง สมศรี เผ่ า สวั ส ดิ์ หรื อ ที่ ทุ ก คนเรี ย กกั น ติ ด ปากว่ า อาจารย์ ส มศรี เกิ ด ที่ อ� ำ เภอเขาย้ อ ย จั ง หวั ด เพชรบุ รี ในสกุ ล “เจื อ ทอง” เป็ น บุ ต รคนที่ 4 ในจ� ำ นวน 5 คน ของคุ ณ พ่ อ ก� ำ นั น เจริ ญ และคุ ณ แม่ ถ นอม เจื อ ทอง ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาแพทยศาสตร์ บั ณ ฑิ ต จากคณะแพทยศาสตร์ ศิ ริ ร าช พยาบาล ประกาศนี ย บั ต รการแพทย์ ชั้ น สู ง (กุ ม ารเวชศาสตร์ ) จากคณะแพทยศาสตร์ ศิ ริ ร าชพยาบาล ในปี 2507 และท� ำ งานเป็ น แพทย์ ป ระจ� ำ บ้ า น ภาควิ ช ากุ ม ารเวชศาสตร์ จากคณะแพทยศาสตร์ ศิ ริ ร าช พยาบาล
16 IS AM ARE www.fosef.org
17 issue 132 JANUARY 2019
ในปี 2509 ได้ ส มรสกั บ ศาสตราจารย์ เ กี ย รติ คุ ณ นายแพทย์อรุณ เผ่าสวัสดิ์ อาจารย์ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะ แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ในขณะนั้น ซึ่งปัจจุบันท่านเป็นที่ ปรึกษาคณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, รองประธาน คนที่ 1 ศิริราชมูลนิธิ, อดีตคณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราช พยาบาล หลังจากแต่งงานกันแล้ว ทั้งคู่ได้เดินทางไปศึกษาต่อ โดย ศ.เกียรติคุณ พญ.สมศรี เผ่าสวัสดิ์ ได้ศึกษาต่อทางการแพทย์ เฉพาะทาง วิสัญญีแพทย์ (ให้ยาระงับความรู้สึกแก่ผู้ป่วยใน การผ่าตัด) ที่โรงพยาบาลเอพเพนดอร์ฟ มหาวิทยาลัยฮัมบูร์ก ประเทศเยอรมนี จนจบปริญญาเอกทางวิสัญญีวิทยา (Dr.med) (Anesthesiology) และประกาศนียบัตรโรคเขตร้อน (D.T.M) Tropical Medicine จากมหาวิทยาลัยฮัมบูร์ก ประเทศเยอรมนี ก่อนจะกลับมาเริ่มรับราชการที่คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล รามาธิบดี มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ที่เพิ่งเปิดใหม่และยัง ขาดแคลนวิสัญญีแพทย์อีกมาก ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นคณะ แพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ศ.เกี ย รติ คุ ณ พญ.สมศรี เผ่าสวัสดิ์ ท่านสอนแพทย์ รามาธิบดีตั้งแต่รุ่นที่ 1 จนท่านเกษียณอายุราชการจากคณะ แพทยศาสตร์ รพ.รามาธิ บ ดี ในต� ำ แหน่ ง หั ว หน้ า ภาควิ ช า วิสัญญีวิทยา จากเกียรติประวัติการท�ำงาน ท่านได้รับเลือกให้ ด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญหลายต�ำแหน่ง เช่น
๐ หั ว หน้ า ภาควิ ช าวิ สั ญ ญี วิ ท ยา คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ๐ เลขาธิการและประธานกิตติมศักดิ์สมาคมการศึกษา เรื่องความปวดแห่งประเทศไทย ๐ ที่ปรึกษากรรมาธิการวิทยาศาสตร์และกรรมาธิการ พาณิชย์ สภาผู้แทนราษฎร ๐ ผู้ช�ำนาญการประจ�ำคณะกรรมาธิการสาธารณสุข สภาผู้แทนราษฎร ๐ ประธานศูนย์การศึกษาต่อเนื่องของแพทยสภา ๐ ประธานราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย ๐ นายกแพทยสมาคมแห่ ง ประเทศไทยในพระบรม ราชูปถัมภ์ ซึ่งเป็นแพทย์สตรีคนแรกที่ได้รับเลือกให้เป็นนายก แพทยสมาคมฯ ในรอบ 86 ปี ๐ รองประธานสหพันธ์แพทยสมาคมภาคพื้นเอเชียและ แปซิฟิก (CMAAO) (2004-2007) ๐ ประธานสหพั น ธ์ แ พทยสมาคมภาคพื้ น เอเชี ย และ แปซิฟิก (CMAAO) (2008-2009) ศ.เกียรติคุณ พญ.สมศรี เผ่าสวัสดิ์ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ มีความเชี่ยวชาญในด้านการแพทย์ สาขาวิสัญญีวิทยา และ 18
IS AM ARE www.fosef.org
บริหาร รพ.สมิติเวช ศรีราชา ประธานเครือข่ายวิชาชีพสุขภาพ เพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่ ประธานเครือข่ายวิชาชีพแพทย์ในการ ควบคุมการบริโภคยาสูบ และประธานสมาพันธ์เครือข่ายแห่ง ชาติเพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่ (NATIONAL ALLIANCE FOR TOBACCO FREE THAILAND) และท่านถือเป็นหน้าที่ส�ำคัญ อีกประการหนึ่ง ในการสนับสนุนให้ประชาชนคนไทยห่างไกล จากบุหรี่ เพื่อสุขภาพกายและใจที่ดี อันจะส่งผลถึงคุณภาพชีวิต เป็นก�ำลังในการพัฒนาประเทศในภาพรวมต่อไป ศ.เกียรติคุณ พญ.สมศรี เผ่าสวัสดิ์ เล่าว่า เดิมทีตนเอง ไม่ได้มีความรู้เรื่องบุหรี่มาก่อน สมัยนั้นโรงเรียนแพทย์ไม่เคยมี สอน หมอในประเทศประมาณสามหมื่นกว่าคน ไม่ได้มีความรู้ เรื่องบุหรี่มากนัก ในขณะนั้ น ตนเองเป็ น นายกแพทยสมาคมแห่ ง ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ วาระ 2547-2548 มีคุณ หมอท่ า นหนึ่ ง ซึ่ ง เป็ น ลู ก ศิ ษ ย์ ที่ โรงพยาบาลรามาธิ บ ดี ท่ า น ท�ำงานอยู่ สสส. ท่านมาขอให้ช่วย เพราะองค์การอนามัยโลกได้ ก�ำหนดประเด็นการรณรงค์มาว่า “บุคลากรสาธารณสุขกับการ ควบคุมการบริโภคยาสูบ” และประกาศจรรยาปฏิบัติส�ำหรับ บุคลากรสาธารณสุขกับการควบคุมการบริโภคยาสูบ (Health Professional and Tobacco Control) “พอองค์ ก ารอนามั ย โลกก� ำ หนดประเด็ น มาอย่ า งนี้ ทุ ก วั น นี้ ห มอท� ำ งานสั ป ดาห์ ล ะ 7 วั น ในทุ ก ๆ วั น ตื่ น ตี 4 กว่ า จะกลั บ เข้ า บ้ า นก็ ป ระมาณ 20.00 น. ประเทศที่เป็นภาคีก็ต้องท�ำตาม ฟังดูแล้วก็รู้สึกเห็นใจ และรู้ และยั ง คงท� ำ งานเป็ น หมอดมยาอี ก ด้ ว ย ไม่ อ ยากทิ้ ง เลยว่าไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ก็ตกลงที่จะช่วย ประจวบเหมาะกับ สิ่ ง ที่ เ ราศึ ก ษาเล่ า เรี ย นมา ยิ่ ง ท� ำ ยิ่ ง ช� ำ นาญ ยิ่ ง ท� ำ ยิ่ ง ช่วงปลายปี 2547 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล มี ป ระสบการณ์ และที่ ส� ำ คั ญ คื อ ได้ ช ่ ว ยให้ ผู ้ ป ่ ว ยพ้ น อดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชด�ำรัส พระราชทานแก่ บุคคลต่างๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคลเนื่องในโอกาสวันเฉลิม จากความทรมาน พระชนมพรรษา ในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2547 ถึงอันตราย ของบุ ห รี่ ซึ่ ง ท� ำ ให้ เ กิ ด โรคหั ว ใจและโรคต่ า งๆ ทั้ ง แสดงความ เป็นห่วงต่อเยาวชนคนไทย ยิ่งท�ำให้เราเกิดความมุ่งมั่นอยาก ได้ บ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ ต ่ อ ส่ ว นรวมและประเทศชาติ ซึ่ ง เป็ น ที่ จะถวายงานด้วยการเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยลดอัตราผู้สูบบุหรี่ ประจักษ์และยอมรับทั้งในวงการแพทย์และราชการทั่วไป เป็นผู้ ของเยาวชนคนไทย จากนั้นก็เริ่มหาความรู้เกี่ยวกับพิษภัยบุหรี่ ที่มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นแบบอย่างของความเป็นครูที่ดี เป็นผู้ มาเรื่อยๆ และพยายามคิดว่าจะชักชวนใครดี ก็ไปชวนสมาคม บริหารและผู้ประสานประโยชน์ที่ดี จึงท�ำให้ท่านเป็นแพทย์สตรี พยาบาลแห่งประเทศไทยฯ ซึ่งมีพยาบาลอยู่เกือบสองแสนคน แล้วก็ชวนเภสัชกรที่ตอนนั้นมีประมาณเก้าพันคน และไปชวน ที่มีบทบาททางสังคมสูงมาก ล่าสุด ศ.เกียรติคุณ พญ.สมศรี เผ่าสวัสดิ์ ในวัย 79 ปี ทันตแพทย์ และนักสาธารณสุข” หลังจากนั้น สสส. จึงได้เชิญผู้แทน 5 กลุ่มวิชาชีพ ได้แก่ ได้รับเลือกเป็นนายกแพทยสภา พ.ศ.2562–2564 และเป็น แพทย์สตรีคนแรกที่ได้รับเลือกเช่นกัน นอกจากนี้ท่านยังคง แพทย์ พยาบาล ทันตแพทย์ เภสัชกร และนักสาธารณสุข มา ท�ำงานอีกหลากหลายด้าน ทั้งในและนอกวงการแพทย์ เช่น ร่ ว มหารื อ จนได้ ข ้ อ สรุ ป ว่ า จะจั ด ตั้ ง เป็ น “เครื อ ข่ า ยวิ ช าชี พ กรรมการควบคุ ม คุ ณ ภาพและมาตรฐานบริ ก ารสาธารณสุ ข สุขภาพเพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่” ขึ้นในเดือนเมษายน 2548 ของส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประธานกรรมการ โดยท่าน ศ.เกียรติคุณ พญ.สมศรี เผ่าสวัสดิ์ ได้รับเลือกให้ 19 issue 132 JANUARY 2019
20 IS AM ARE www.fosef.org
เป็นประธานเครือข่ายฯ ตั้งแต่นั้นมา เพื่อช่วยกันขับเคลื่อน เรื่ อ งการควบคุ ม การบริ โ ภคยาสู บ ประกอบกั บ ค� ำ ขวั ญ ของ องค์การอนามัยโลก ส�ำหรับปี 2548 ซึ่งก�ำหนดประเด็นคือ “บุ ค ลากรวิ ช าชี พ สุ ข ภาพกั บ การควบคุ ม การบริ โ ภคยาสู บ ” ท�ำให้เกิดความตื่นตัวในบุคลากรวิชาชีพสุขภาพมากขึ้น ช่วยให้ ศ.เกียรติคุณ พญ.สมศรี เผ่าสวัสดิ์ เชิญชวนเครือข่ายได้ง่ายขึ้น จากการเริ่มต้นของ 5 เครือข่ายวิชาชีพดังกล่าว ท่านได้เชิญชวน วิชาชีพสาธารณสุขอื่นๆ เรื่อยมา จนได้นักเทคนิคการแพทย์ นักกายภาพบ�ำบัด หมออนามัยมาเพิ่ม “อย่ า งตอนไปชวนนั ก เทคนิ ค การแพทย์ เขาถามว่ า เทคนิคการแพทย์เกี่ยวข้องอะไรกับบุหรี่ เราก็แนะน�ำเขาว่า เวลาที่คนไข้มานั่งรอรับการรักษา ก็พูดให้เขาฟังถึงพิษภัยของ บุหรี่ได้ หรือท�ำเป็นโปสเตอร์ หรือแจกเอกสารก็ได้ ให้ความ รู้ประชาชนในรูปแบบต่างๆ นักเทคนิคการแพทย์ ก็ได้ไอเดีย แล้วก็ไปท�ำ ท�ำให้ได้หลายองค์กรมาร่วมกันท�ำงาน จึงท�ำให้เกิด ผลขึ้นมา องค์กรใดองค์กรหนึ่งท�ำไม่ได้ มันไม่มีแรงขับเคลื่อน ข้ อ ส� ำ คั ญ เราต้ อ งเลื อ กคนที่ มี ค วามกระตื อ รื อ ร้ น มี จิ ต อาสา งานจึงจะไปได้”
เพิ่มขนาดภาพค�ำเตือนเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่บนซองบุหรี่ โดย ให้มีสัดส่วนร้อยละ 85 ของพื้นที่ซอง แต่ก่อนจะมีผลบังคับใช้ ได้ มีบริษัทผู้ผลิตและน�ำเข้าบุหรี่ ยื่นฟ้องกระทรวงสาธารณสุขต่อ ศาลปกครอง และศาลปกครองก็มีค�ำสั่งคุ้มครองชั่วคราว ท�ำให้ บริษัทบุหรี่ ยังไม่ต้องด�ำเนินการเพิ่มขนาดภาพค�ำเตือน ตาม ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฯ กลุ่มองค์กรภาคีหลักที่ท�ำงาน ควบคุมยาสูบด้วยกันมา เล็งเห็นว่า การกระท�ำของบริษัทบุหรี่ เป็นการแทรกแซงนโยบายสาธารณสุขที่ต้องการปกป้องสุขภาพ ของประชาชน และหากบริษัทบุหรี่แทรกแซงส�ำเร็จ กรณีนี้จะ เป็นตัวอย่างที่ไปเปิดช่องให้มีการแทรกแซงนโยบายในประเด็น สุขภาพอื่นๆ ในอนาคต “ทุกคนก็เลยนัดมาหารือร่วมกัน วิเคราะห์ถึงสาเหตุ ท�ำให้พบว่ามีหลายเหตุปัจจัยด้วยกัน แต่ปัจจัยส�ำคัญคือที่ผ่าน มาพบว่า การควบคุมยาสูบยังเป็นการท�ำงานอยู่เฉพาะหน่วย งานภาคสุขภาพ และหน่วยงานในเมืองเป็นหลัก จึงจ�ำเป็นที่ จะต้องแสวงหาความร่วมมือร่วมแรงเพิ่มขึ้นจากทุกภาคส่วน ที่ มี บ ทบาทในการพั ฒ นาสั ง คม ทั้ ง ภาครั ฐ และภาคประชา สังคม รวมถึงภาคการสาธารณสุขและนอกวงการสาธารณสุข เพื่อร่วมกันขับเคลื่อนการควบคุมยาสูบให้ทันต่อสถานการณ์ที่ เปลี่ยนไปมาก” จากการหารือดังกล่าว จึงได้เสนอให้มีการจัดตั้ง “สมา พั น ธ์ เ ครื อ ข่ า ยแห่ ง ชาติ เ พื่ อ สั ง คมไทยปลอดบุ ห รี่ ” เพื่ อ เป็ น
จากความพยายามในการชักชวนเครือข่ายมา 2 ปี ท�ำให้ ในปี 2548 รวมได้ 8 เครือข่ายวิชาชีพมาร่วมกันท�ำงาน และเมื่อ ศ.เกียรติคุณ พญ.สมศรี เผ่าสวัสดิ์ พ้นวาระนายกแพทยสมาคมฯ ในปี 2548 แล้ว ปรากฏว่านายกแพทยสมาคมฯ ท่านต่อไปกลับ ขอให้ ศ.เกียรติคุณ พญ.สมศรี เผ่าสวัสดิ์ ด�ำรงต�ำแหน่งต่อเนื่อง ท่านจึงอยู่ช่วยงานมาจนถึงปัจจุบัน และชักชวนเครือข่ายเรื่อย มา ท�ำให้ขณะนี้เครือข่ายวิชาชีพสุขภาพเพื่อสังคมไทยปลอด บุหรี่มีสมาชิก 23 เครือข่าย ร่วมกันสร้างสังคมไทยปลอดบุหรี่ ซึ่งมีประชุมกันทุกวันอังคารที่ 4 ของเดือน ซึ่งปัจจุบันด�ำเนิน งานมากว่า 14 ปี ต่อมาในปี 2556 นพ.ประดิษฐ์ สินธวณรงค์ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงสาธารณสุขในขณะนั้น ได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์ให้ 21
issue 132 JANUARY 2019
พั น ธมิ ต รร่ ว มสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ในการควบคุ ม การบริ โ ภค ยาสูบ และขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ ให้มี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เพื่อให้สังคมไทยเป็นสังคมปลอด บุหรี่ และมีเป้าหมายที่จะเป็นเครือข่ายความรู้ให้กับประชาชน เป็นเครือข่ายที่สร้างความห่วงใยในชีวิตที่มีคุณภาพ ครอบครัว ที่อบอุ่น ชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นเครือข่ายที่ก่อก�ำเนิดสายใย จากทุกชนชั้นให้รวมพลัง เป็นก�ำแพงที่แข็งแกร่งปกป้องลูก หลานให้พ้นจากพิษภัยบุหรี่ เพื่อสังคมไทยในยุคใหม่ปลอดบุหรี่ ปลอดโรค และพร้อมที่จะเป็นพลังสร้างสรรค์อย่างมีคุณค่าแก่ สังคมตลอดไป โดยในที่ประชุมมีมติให้ ศ.เกียรติคุณ พญ.สมศรี เผ่าสวัสดิ์ ด�ำรงต�ำแหน่งประธานสมาพันธ์เครือข่ายแห่งชาติเพื่อ สังคมไทยปลอดบุหรี่ สมาพั น ธ์ ฯ ใช้ แ ผนขั บ เคลื่ อ นทั้ ง ในและนอกวงการ สาธารณสุข ทั้งในระดับนานาชาติ ระดับชาติ ระดับจังหวัด เช่น การไปร่วมประชุมกับภาคีเครือข่ายต่างประเทศ เพื่อแลก เปลี่ยนเรียนรู้ยุทธศาสตร์การด�ำเนินงานต่างๆ และเล่ห์กลใน การแทรกแซงของบริษัทบุหรี่ในประเทศต่างๆ และในวันที่ 2-4 กันยายน 2563 แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ จะเป็นเจ้าภาพ จัดงาน The 13th Asia Pacific Conference on Tobacco or Health (APACT 2020) ณ โรงแรม เซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ ซึ่งจะมีภาคีต่างประเทศมาร่วมประชุมกันไม่ต�่ำ กว่า 1,000 คน ส่วนในระดับชาติ ทางสมาพันธ์ฯ ได้ร่วมกับภาคี เครือข่ายภายในประเทศผลักดันนโยบาย และกฎหมายต่างๆ เช่น พ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 และที่ขาดไม่ได้ ปั จ จุ บั น ศ.เกี ย รติ คุ ณ พญ.สมศรี เผ่ า สวั ส ดิ์ ยั ง คง ก็คือ การจัดตั้งสมาพันธ์ฯ ระดับจังหวัด เพื่อก่อให้เกิดแรงขับ ท� ำ งานในหลายหน่ ว ยงาน เช่ น ๐ นายกแพทยสภา ปี 2562-2564 เคลื่อนอย่างมหาศาลของทุกภาคี และทุกจังหวัด ในภาคการ ๐ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านประกันสุขภาพ คณะกรรมการหลัก สาธารณสุข ภาคการศึกษา ภาคแรงงาน และภาคประชาสังคม เช่น บ้าน วัด โบสถ์ มัสยิด ตลาด ชุมชน ให้การขับเคลื่อนทุก ประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ๐ ประธานอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพระดับเขต กิจกรรม รับรู้และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน พื้นที่กรุงเทพมหานคร (อปสข.) ๐ ประธานศูนย์การศึกษาต่อเนื่องแพทยสภา (2547ปัจจุบัน) ๐ ประธานคณะกรรมการสอบสวนชุดที่ 9 แพทยสภา (2545-ปัจจุบัน) ๐ ผู้อํานวยการส�ำนักงานแพทยสมาคมแห่งประเทศ ไทยฯ (2551-ปัจจุบัน) ๐ ประธานเครือข่ายวิชาชีพสุขภาพเพื่อสังคมไทยปลอด บุหรี่ (2548-ปัจจุบัน) ๐ ประธานเครือข่ายวิชาชีพแพทย์ในการควบคุมการ บริโภคยาสูบ (2548-ปัจจุบัน) 22 IS AM ARE www.fosef.org
ผ้าม่าน สารพิษเหล่านี้ก็จะสามารถซึมผ่านผิวหนังคนนั้น เข้าไปสะสมในร่างกายได้เช่นกัน “ดังนั้นหากท่านสูบบุหรี่อยู่ก็ลองตัดสินใจดู คิดถึงลูก ภรรยา คนที่เรารัก ว่าเราเป็นคนเอาสารพิษไปท�ำร้ายเขาหรือ เปล่า คนส่วนใหญ่จะรู้อยู่แล้วว่าบุหรี่มีพิษ ก่อให้เกิดโรคร้าย แรงมากมาย แต่ไม่รู้จะเลิกยังไง บางคนเลิกแล้วก็กลับไปหามัน อีก เราต้องตัดสินใจให้เด็ดขาดว่าเราจะเลิกเพื่ออะไร เลิกแล้ว มันดียังไง ดีกับใครบ้าง ตั้งใจให้แน่วแน่ แล้วลงมือท�ำ หาก ไม่มั่นใจ เรามีคลินิกฟ้าใสอยู่ 568 คลินิกทั่วประเทศไทย เป็น คลินิกเลิกบุหรี่ที่ไม่มีค่าใช้จ่าย มีวิธีการเลิกบุหรี่มากมายไว้ คอยแนะน�ำ มียาเลิกบุหรี่ไว้ส�ำหรับผู้ที่แพทย์พิจารณาแล้ว ว่าจ�ำเป็นต้องใช้ ย�้ำว่าไม่มีค่าใช้จ่าย ผู้ใดสนใจโทรสอบถาม รายละเอียดได้ที่ 0 2716 6961, 0 2716 6556 หรืออีกหน่วย งานหนึ่งก็คือ ศูนย์บริการเลิกบุหรี่ทางโทรศัพท์แห่งชาติ โทร 1600 โทรฟรีทุกเครือข่าย จะมีผู้เชี่ยวชาญคอยให้ค�ำแนะน�ำ ขอเป็นก�ำลังใจให้กับผู้สูบบุหรี่ทุกคน ให้กลับมาเป็นคนใหม่ สุขภาพดี แข็งแรง อยู่กับลูก ภรรยา ครอบครัวไปนานๆ
๐ สมาพันธ์เครือข่ายแห่งชาติ เพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่ (2557-ปัจจุบัน) “ทุกวันนี้หมอท�ำงานสัปดาห์ละ 7 วัน ในทุกๆ วันตื่น ตี 4 กว่าจะกลับเข้าบ้านก็ประมาณ 20.00 น. และยังคงท�ำงาน เป็นหมอดมยาอีกด้วย ไม่อยากทิ้งสิ่งที่เราศึกษาเล่าเรียนมา ยิ่ง ท�ำยิ่งช�ำนาญ ยิ่งท�ำยิ่งมีประสบการณ์ และที่ส�ำคัญคือได้ช่วยให้ ผู้ป่วยพ้นจากความทรมาน ตัวผู้ป่วยเองหายดี เขาก็ดีใจ พ่อแม่ พี่น้องเขาก็ดีใจ ตัวเราเองก็ดีใจ เหมือนกับทุกวันนี้ที่ยังคงท�ำงาน เรื่องการรณรงค์การสูบบุหรี่อยู่ เพราะเห็นผู้ป่วยมากมายเขา ทรมาน เห็นเขาเสียชีวิต หมอช่วยคนไม่ได้ก็เสียใจนะ คนสูบ บุหรี่ส่วนใหญ่ตอนที่มาหาหมอแล้วมันหนักแล้ว มะเร็งปอด ถุงลมโป่งพอง เส้นเลือดสมองตีบ และอีกมากมายสารพัดโรค ที่เกิดจากบุหรี่ “จึงอยากจะเรียนท่านผู้อ่านด้วยว่าปัจจุบันนี้เขามีบุหรี่ มือหนึ่ง มือสอง มือสามด้วย บุหรี่มือหนึ่งก็คือผู้ที่สูบเองรับสาร พิษไปเต็มๆ บุหรี่มือสองคือผู้ที่อยู่ใกล้ๆ ที่ต้องทนสูดดมควันบุหรี่ เข้าไปด้วย ก็จะได้รับสารพิษเข้าไปไม่แพ้คนที่สูบ ส่วนบุหรี่มือ สามนั้นก็คือเมื่อผู้สูบบุหรี่พ่นควันออกมาแต่ละครั้ง สารพิษ ในควันบุหรี่ก็จะไปติดตามสิ่งต่างๆ เช่น เส้นผม เล็บ ผิวหนัง เสื้อผ้า พรม ผ้าม่าน ผ้าปูที่นอน โต๊ะ เก้าอี้ ฯลฯ เมื่อผู้สูบกลับ บ้านไปอุ้มลูก สารพิษเหล่านี้ก็จะสามารถซึมผ่านผิวหนังเด็ก เข้าไปสะสมในร่างกายเด็กได้ หรือหากมีคนอื่นเดินมาสัมผัส
ท่ า นถื อ เป็ น หน้ า ที่ ส� ำ คั ญ อี ก ประการหนึ่ ง ในการ สนั บ สนุ น ให้ ป ระชาชนคนไทยห่ า งไกลจากบุ ห รี่ เพื่ อ สุ ข ภาพกายและใจที่ ดี อั น จะส่ ง ผลถึ ง คุ ณ ภาพชี วิ ต เป็ น ก� ำ ลั ง ในการพั ฒ นาประเทศในภาพรวมต่ อ ไป
“และขอขอบคุณมูลนิธิครอบครัวพอเพียง ที่ให้โอกาสได้ บอกเล่าชีวิตของตนเอง และบอกกล่าวถึงภัยร้ายของบุหรี่ใน IS AM ARE Magazine ฉบับนี้ และเป็นพันธมิตรร่วมสร้างความ เข้มแข็งในการควบคุมการบริโภคยาสูบ ช่วยสร้างครอบครัว ไทยปลอดบุหรี่กันต่อไป” ศ.เกียรติคุณ พญ.สมศรี เผ่าสวัสดิ์ กล่าวทิ้งท้าย 23 issue 132 JANUARY 2019
“แก่อย่างมีคุณภาพ ชราอย่างมีความสุข” จะมี สั ก กี่ ค นที่ อ ายุ 78 ปี แ ล้ ว ยั ง คงความสดชื่ น เบิ ก บานทั้ ง กายใจ ดร.สุ เ มธ ตั น ติ เ วชกุ ล เลขาธิ ก าร มู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา คื อ ต้ น แบบที่ ดี ม ากในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ของท่ า น ไม่ มี ค� ำ ว่ า “เกษี ย ณ” ท่ า นอุ ทิ ศ ตั ว ท� ำ งาน อาทิ ต ย์ ล ะ 7 วั น 24 IS AM ARE www.fosef.org
ในวันนี้ ดร.สุเมธ ยังคงแอ็กทีฟ กระฉับกระเฉง แถมยัง เดินป่าไหว จนหลายๆ คนอดถามไม่ได้ถึงเคล็ดลับการใช้ชีวิต และนี่คือ 9 เคล็ดลับดีๆ ของการ “แก่อย่างมีคุณภาพ ชราอย่าง มีความสุข” จาก ดร.สุเมธฯ 1. อย่ า ลื ม เอาจิ ต ไปพั ก ผ่ อ นบ้ า ง หลายคนเมื่อเกษียณแล้ว มักใช้เวลาหาแต่ความสุขทาง “กาย” พากายไปเที่ยว ไปพักผ่อน ไปสูดอากาศ ไปกินอาหาร ดีๆ แต่กลับละเลยไม่คิดที่จะเอาจิตไปพักผ่อน ทั้งที่กายกับจิต นั้น สัมพันธ์และมีอิทธิพลต่อกัน ดร.สุเมธฯ บอกว่า โดยส่วน ตัว ทุกครั้งที่มีจังหวะได้พักผ่อน ได้เว้นวรรคชีวิตนานๆ จึงมัก ถือโอกาสเอาจิตไปพักด้วยการบวช ครั้งล่าสุด บวชตอนอายุ 65 เป็นพระสายวัดป่าอยู่ที่สกลนคร
ในหลวงรั ช กาลที่ 9 ทรงมี รั บ สั่ ง ว่ า อย่ า หยุ ด ด้ ว ย จิ ต และกายก็ อ ย่ า หยุ ด ด้ ว ย ท� ำ ให้ ดร.สุ เ มธ ยั ง คง ท� ำ งานทุ ก วั น ส่ ง ผลให้ ร ่ า งกายและจิ ต ใจยั ง คงแข็ ง แรงจนถึ ง วั น นี้
2. ใช้ ชี วิ ต อย่ า งมี “สติ ” เช่น มีสติในการกิน แทนที่จะกินตามใจปาก สนองความ อยากของตัวเอง แล้วต้องให้หมอจ่ายยาลดไขมัน ลดน�้ำตาล ท�ำไมเราไม่ลองหันมาลดที่ “ปาก” ของตัวเอง ด้วยการใช้สติ ในการพิจารณาอย่างมีเหตุมีผลทุกครั้งก่อนที่จะกิน
3. น้ อ มน� ำ หลั ก เศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาใช้ ใ นการ ด� ำ เนิ น ชี วิ ต โดยมี “เหตุ ผ ล” เป็ น เครื่ อ งน� ำ ทาง เหตุผล เป็นผลผลิตของปัญญา ดังนั้น จึงต้องรักษาศีล เสียก่อน และมีสติ สมาธิ ผลสุดท้ายจะท�ำให้เกิดการพิจารณา โดยใช้ปัญญาเป็นที่ตั้ง เมื่อด�ำเนินทุกอย่างด้วยเหตุด้วยผล ก็จะ เกิดความพอเพียง 4. ฝึ ก การให้ โดยไม่ ห วั ง ผลตอบแทน ด้ ว ยหลั ก “ทาน” ตามแนวทางในหลวงรั ช กาลที่ 9 เกษียณแล้ว อย่าเอาแต่อยู่บ้านเฉยๆ แต่ให้พยายาม หาเรื่องช่วยคนโน้นคนนี้ เท่าที่ร่างกายของเราจะท�ำได้ รักษา ร่างกายให้แข็งแรง เพื่อท�ำประโยชน์ให้แก่ผู้อื่นโดยไม่ต้องหวัง สิ่งใดตอบแทน ให้อะไรก็ได้ ไม่ใช่ต้องเป็นเงินทอง หรือ สิ่งของ เท่านั้น ให้ความรู้ ให้ค�ำแนะน�ำ ให้รอยยิ้มที่เป็นมิตร ฯลฯ ให้ ไปแล้วสบายใจ นั่นคือความสุขที่แท้จริง 5. ฝึ ก ระลึ ก ถึ ง “มรณานุ ส ติ ” ใครๆ ทุกคน ล้วนต้องตายทั้งนั้น ไม่ว่าใครก็ต้องเจอ ความตายเท่าเทียมกันหมดทุกคน เมื่อมองเห็นความตายเป็น เรื่องธรรมดา จะท�ำให้เรานิ่งกับความตายได้มากขึ้น 25
issue 132 JANUARY 2019
6. อยู ่ อ ย่ า งสง่ า ตายอย่ า งสงบ ตอนมีชีวิตอยู่ ต้องมีความสง่างามในตัวเอง ทุกอย่างต้อง ช่วยเหลือตัวเองได้ ใครเห็นก็ให้ความเคารพนับถือ และเมื่อถึง เวลาตาย ก็ตายอย่างสงบ อย่าไปกลัวความตาย จะยิ่งใหญ่แค่ ไหน เมื่อตายแล้ว เกียรติยศเงินทองสะสมไว้แค่ไหนก็ต้องส่งคืน หมด สิ่งเดียวที่เหลือไว้ คือ ความเป็นตัวตนของเรา ถ้าประกอบ คุณงามความดีไว้ คนก็ยังนึกถึง แต่ถ้าประกอบความชั่วไว้มาก คนก็ยังด่าทอไปจนถึงลูกหลาน
เกษี ย ณแล้ ว อย่ า เอาแต่ อ ยู ่ บ ้ า นเฉยๆ แต่ ใ ห้ พ ยายาม หาเรื่ อ งช่ ว ยคนโน้ น คนนี้ เท่ า ที่ ร ่ า งกายของเราจะ ท� ำ ได้ รั ก ษาร่ า งกายให้ แ ข็ ง แรง เพื่ อ ท� ำ ประโยชน์ ใ ห้ แก่ ผู ้ อื่ น โดยไม่ ต ้ อ งหวั ง สิ่ ง ใดตอบแทน ให้ อ ะไรก็ ไ ด้ ไม่ ใ ช่ ต ้ อ งเป็ น เงิ น ทอง หรื อ สิ่ ง ของเท่ า นั้ น ให้ ค วาม รู ้ ให้ ค� ำ แนะน� ำ ให้ ร อยยิ้ ม ที่ เ ป็ น มิ ต ร ฯลฯ ให้ ไ ปแล้ ว สบายใจ นั่ น คื อ ความสุ ข ที่ แ ท้ จ ริ ง
7. ร่ า เริ ง รื่ น เริ ง คึ ก คั ก ครึ ก ครื้ น คาถาที่ว่านี้ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงรับสั่งเสมอ เพราะ จิตเป็นเรื่องส�ำคัญ ต้องมีอารมณ์ขันอยู่ตลอดเวลา มองเห็นทุก อย่างเป็นเรื่องสนุก จึงจะสามารถท�ำงานได้ส�ำเร็จรวดเร็วและมี ประสิทธิภาพ เมื่อตัวเราร่าเริง ยิ้มแย้มแจ่มใส บรรยากาศรอบ ตัว คนรอบข้างที่อยู่กับเราก็พลอยมีความสุข ไม่เครียด
9. การด� ำ รงอยู ่ ใ นความดี ที่ ถู ก ต้ อ งเสมอ เป็นอีกหลักข้อหนึ่ง ตามแนวทางของในหลวงรัชกาล ที่ 9 ที่ต้องรักษาให้มั่น หากรักในหลวงรัชกาลที่ 9 จริง ต้อง ปฏิบัติตามในหลวงรัชกาลที่ 9 โดยยึดหลักธรรมะที่ต้องมีทั้ง สองอย่าง คือ ทั้งความดีและความถูกต้อง เพราะบางอย่างดี แต่ไม่ถูกต้อง บางอย่างถูกต้องแต่ไม่ดี การกระท�ำของเราต้อง ตรวจสอบอยู่ตลอดเวลา เป็นธรรมหรือเปล่า นั่นคือ ดีและถูก ต้องหรือเปล่าด้วยเสมอ
8. ความไม่ โ กรธ เป็นอีกหลักข้อหนึ่ง ตามแนวทางของในหลวงรัชกาล ที่ 9 เพราะเมื่อโกรธแล้ว มักจะเสียหาย หากคุมอารมณ์ไม่อยู่ ในทุกเรื่อง เมื่อไหร่ก็ตาม ที่มีเรื่องมากระทบใจ แค่ลองคิดพลิก อารมณ์ มองให้เห็นเป็นเรื่องสนุกๆว่า เป็นเรื่องทดสอบจิตใจ เท่านี้ทุกอย่างก็จบ
10. รั ก ษากายและจิ ต ให้ ดี ผู ้ สู ง อายุ ต ้ อ งรั ก ษากายและจิ ต ให้ ดี เพราะเงิ น ทอง จ�ำนวนมากไม่มีประโยชน์ เอามีแค่พอเพียงต่อชีวิตความเป็นอยู่ ประจ�ำวันก็พอ ที่เหลือเป็นส่วนเกินที่เราไม่ได้ใช้ เรื่องจิตมีความ ส�ำคัญมากจิตต้องโปร่งใส อย่าไปขุ่นมัวโดยที่ไร้ประโยชน์ ค�ำนึง 26
IS AM ARE www.fosef.org
ไว้ว่า เวลาอยู่ในโลกนี้เหลือสั้นแล้ว ดังนั้น อย่าเสียเวลาเป็นทุกข์ แต่ให้ Enjoy last minute 11. อย่ า หยุ ด ท� ำ งาน เกษียณแล้ว อย่าเอาแต่นั่งๆ นอนๆ เพราะเมื่อไหร่ ที่ เราหยุดท�ำงาน ร่างกายของเราก็จะหยุดตามลงไปด้วย เหมือน รถที่จอดเฉยๆ จะสตาร์ทไม่ติด ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงมีรับสั่ง ว่า อย่าหยุดด้วยจิต และกายก็อย่าหยุดด้วย ท�ำให้ ดร.สุเมธ ยั ง คงท� ำ งานทุก วัน ส่งผลให้ร่างกายและจิต ใจยั ง คงแข็ ง แรง จนถึงวันนี้ 12. ใช้ ชี วิ ต โดยรั ก ษาความเป็ น ธรรมดาเอาไว้ อย่ายึดติดยศฐาบรรดาศักดิ์ แต่ให้ท�ำชีวิตอยู่อย่างคน ธรรมดา เรียบๆ ง่ายๆ เพราะจะยิ่งใหญ่มาจากไหนก็ตาม เมื่อ เกษียณแล้ว ทุกอย่างสูงสุดคืนสู่สามัญ ไม่ต้องเป็นวีไอพีหรอก เพราะจะเป็นวีไอผีอยู่แล้ว ในหลวงรั ช กาลที่ 9 ทรงรั บ สั่ ง เสมอ เพราะจิ ต เป็ น เรื่ อ งส� ำ คั ญ ต้ อ งมี อ ารมณ์ ขั น อยู ่ ต ลอดเวลา มอง เห็ น ทุ ก อย่ า งเป็ น เรื่ อ งสนุ ก จึ ง จะสามารถท� ำ งานได้ ส� ำ เร็ จ รวดเร็ ว และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เมื่ อ ตั ว เราร่ า เริ ง ยิ้ ม แย้ ม แจ่ ม ใส 13. ยึ ด ถื อ ค� ำ ว่ า “ประโยชน์ สุ ข ” เป็ น เป้ า หมาย ของชี วิ ต อะไรไม่มีประโยชน์อย่าท�ำ อย่าคิดท�ำ ให้ท�ำแต่สิ่งที่มี ประโยชน์ ผลสุดท้ายสิ่งที่เราจะได้รับคือความสุข ทั้งหมดนี้ เป็นแง่คิดดีๆ จาก ดร.สุเมธฯ ที่สะท้อนให้เห็น ว่า คุณค่าและความสุขในชีวิต ไม่ได้ขึ้นอยู่กับตัวเลขอายุ แต่อยู่ ที่ไลฟ์สไตล์และหัวใจที่ไม่มีค�ำว่าเกษียณ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา เรียบ เรียงจากปาฐกถาพิเศษ หัวข้อ “สูงวัยอย่างมีคุณค่า น้อมพัฒนา เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” ในงานประชุ ม วิ ช าการประจ� ำ ปี ของผู ้ บริ ห ารองค์ ก รของรั ฐ ที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น ตามพระราชบั ญ ญั ติ เ ฉพาะ (ทอพ.) “ประชารัฐร่วมใจ สู่สังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ”
27 issue 132 JANUARY 2019
28 IS AM ARE www.fosef.org
29 issue 132 JANUARY 2019
30 IS AM ARE www.fosef.org
31 issue 132 JANUARY 2019
Let’s Talks
32 IS AM ARE www.fosef.org
พระศากยวงศ์วิสุทธิ์ “พุ ทธศาสนา” ในโลกตะวันตก “สาเหตุ ที่ ศ าสนาพุ ท ธไปเจริ ญ ในต่ า งประเทศ เพราะเขาไม่ ไ ด้ เ รี ย นพุ ท ธศาสนาเพื่ อ ไปเป็ น “พุ ท ธ” ฝรั่ ง บอก ว่ า เรี ย นพุ ท ธศาสนาเพื่ อ เป็ น “คริ ส ต์ ที่ ดี ” เป็ น “มุ ส ลิ ม ที่ ดี ” อย่ า งมุ ส ลิ ม เขาบอกว่ า เรี ย นพุ ท ธศาสนาแล้ ว ท� ำ ให้ เ ป็ น มุ ส ลิ ม ที่ ดี พวกคริ ส ต์ เ รี ย นพุ ท ธศาสนา ก็ เ ป็ น คริ ส ต์ ที่ ดี “
33 issue 132 JANUARY 2019
ว่า “ยา” รักษาโรคเครียดได้แค่ชั่วคราว เพราะความเครียดเกิด จากวิถีชีวิตที่เราสร้างขึ้น ไปๆ มาๆ ฝรั่งที่ศึกษาพุทธศาสนาก็เลยทดลองใช้วิธี “การเจริญสติ(mindfulness)” จนตอนนี้ทางการแพทย์พัฒนา ขึ้นเรียกว่า “MBCT” หรือ “Mindfulness-based Cognitive Therapy” คือการบ�ำบัดจิตบนพื้นฐานของการเจริญสติ หรือ การบ�ำบัดจิตแก้ไขเรื่องความเครียด ตอนนี้วงการแพทย์ใช้การ เจริญสติเป็นพื้นฐานในการแก้ไขปัญหาทุกอย่าง พอทดลองด้วย การเจริญสติ ปรากฏว่าสามารถแก้ไขโรคต่างๆ หายเป็นปลิดทิ้ง ทั้งโรคจิต โรคเครียด โรคมะเร็ง สารพัดโรคหายหมด ด้วยเหตุนี้ เขาจึงศึกษาลึกลงไปว่าท�ำไมแค่การนั่งสมาธิถึงสามารถแก้ไขใน สิ่งที่ “ยา” แก้ไขไม่ได้ พบว่า “change your mind, change your brain” คื อ ฝึ ก จิ ต แล้ ว เปลี่ ย นสมองได้ ด้ ว ยเหตุ นี้ ท าง วิ ท ยาศาสตร์ พ ยายามศึ ก ษาค� ำ ว่ า “จิ ต (mind)” ฝรั่งไม่มีค�ำว่า mind มีแต่ soul (อัตตา/ตัวตน) แต่พุทธ ศาสนาเชื่อว่าไม่มีตัวตน แต่มีจิต(mind) ที่สามารถบังคับตัวตน ให้เป็นไปในสิ่งที่เราต้องการได้ จิตเป็นสิ่งใหม่ส�ำหรับฝรั่ง แต่ ของเราพูดถึงจิตมากว่า 2,500 ปีแล้ว เรารู้ว่าตัวตน(soul)ด�ำเนิน ตามจิต พอฝรั่งมาเจอจิต คือการรับรู้ทางพุทธศาสนา นั่นคือ ใช้ อายตนะไปกระทบกับสิ่งข้างนอกแล้วเราท�ำปฏิกิริยากับสิ่งเหล่า นั้นอย่างไร ถ้าเรามีความรู้ความเข้าใจหรือมีตัว “ปัญญา” มาก ปฏิกิริยาต่อสิ่งนั้นก็ออกมาในทางฉลาด แต่ถ้าเราปัญญาน้อย เราก็จะกลายเป็นเหยื่อกับสิ่งที่มากระทบ นี่คือสิ่งที่พุทธศาสนา สอนมานานแล้ว
จนปัจจุบันในบริบทอเมริกาเกิดชื่อกลุ่มใหม่ๆ ขึ้นว่า Jubu(Jewbu) หรือ Jewish Buddhist คือในแง่ของพิธีกรรม ยังเป็นยิวอยู่ แต่วิธีคิดวิธีด�ำเนินชีวิตเป็นพุทธ เช่นเดียวกับใน หมู่คริสต์ เกิดค�ำว่า ChristBu ในแง่พิธีกรรมก็ยังท�ำตามคริสต์ ไป แต่การปฏิบัติหรือการคิดเป็นแบบพุทธ ฝรั่ ง คิ ด ว่ า พุ ท ธศาสนาเป็ น ปรั ช ญา? “หลายศาสนาเป็ น แค่ ป รั ช ญา แต่ พุ ท ธศาสนาไม่ ใช่ ปรัชญา อย่างวิทยาศาสตร์ยังขึ้นอยู่กับกาลเวลา แต่พุทธศาสนา เป็นสัจธรรมที่ไม่มีเงื่อนไขของกาลเวลา พิสูจน์ได้ตลอดเวลา ปฏิบัติได้ และเมื่อปฏิบัติแล้ว รู้ได้ด้วยตัวเอง ชาวตะวันตกตื่น เต้นกับพุทธศาสนามาก เลยมีการเรียนการสอนพุทธศาสนา มาก แต่พวกเราชาวพุทธหรือชาวเอเชียพอเห็นเขาศึกษาก็ตื่น เต้น ฮือฮาว่าเขาจะมาเป็นพุทธ ซึ่งไม่ใช่ ที่เขาศึกษาไม่ได้จะ ไปเป็นชาวพุทธ แต่ศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาชีวิตประจ�ำวัน ฝรั่ง ใช้ทุกวิทยาการที่มีอยู่เพื่อพิสูจน์ ยิ่งพิสูจน์ยิ่งปฏิเสธไม่ออก ยิ่ง พิสูจน์ยิ่งเจอเพชร เช่นเมื่อ 10 ปีก่อนองค์การอนามัยโลก(WHO) ศึกษาวิจัยทั่วโลกว่าพัฒนาการของโลกในอนาคตเป็นอย่างไร และมีโรคใดบ้าง เพื่อดักปัญหาได้ถูก ปรากฏว่าโรคร้ายแรงที่สุด ในปีค.ศ.2020 ไม่ใช่มะเร็งหรือเอดส์ แต่กลายเป็นโรคเครียด เพราะวิถีชีวิตเปลี่ยนไป ฝรั่งพยายามค้นคว้ายาเพื่อแก้ไข แต่พบ 34
IS AM ARE www.fosef.org
พุ ท ธศาสนาจึ ง กลายเป็ น วิ ช าพื้ น ฐานที่ ทุ ก คนต้ อ ง เรี ย น อาตมาเคยถามนั ก ศึ ก ษาที่ ล งเรี ย นกั บ อาตมา คื อ ที่ มหาวิทยาลัยซานตาคลาราที่อาตมาสอนอยู่เป็นมหาวิทยาลัย คริสตัง แต่คอร์สพุทธศาสนากลับเป็นคอร์สที่ป็อบปูลาร์มาก ที่สุด เวลามหาวิทยาลัยประกาศว่าอาตมาจะไปสอนเทอมไหน (วิชาเลือก 5 หน่วยกิต) ปรากฏว่านักศึกษาลงชื่อเรียนเต็มคลาส 35 คนภายใน 15 นาที จนบาทหลวงที่เป็นเพื่อนฝูงกันถามว่าคุณ มีดีอะไร ท�ำไมถึงเต็มเร็ว เพราะของเขาขยายเวลาแล้วขยายอีก ก็ยังไม่เต็ม อาตมาเคยเจอถึงขนาดที่นักศึกษามาร้องไห้อ้อนวอน ขอเรียน ด้วยความอยากรู้เลยถามนักศึกษาว่า “ท�ำไมพวกคุณ ถึงคลั่งวิชาพุทธศาสนากันมาก” เขาตอบว่า “วิชานี้ขาดไม่ได้ เลย ถ้าขาดวิชานี้ ท�ำอะไรไม่ได้” อย่างฝรั่งที่เรียนวิชาเอกจิต วิทยา บอกว่าถ้าไม่ได้เรียนพุทธศาสนา เท่ากับไม่รู้เรื่องจิตวิทยา เลย ตอนนี้กลายเป็นว่านักศึกษาที่เรียนวิชาทางแพทย์ ก็ต้อง มาเรียนวิชานี้เป็นพื้นฐานก่อน ถ้าไม่ได้เรียน เท่ากับวิชาอื่นๆ ที่เรียนอยู่ไม่สมบูรณ์”
โรงเรี ย นและมหาวิ ท ยาลั ย สอนพุ ท ธศาสนากั น หมด? “โรงเรี ย นรั ฐในอเมริ ก าสอนกั น หมด อย่ างเวสโคสท์ เฉพาะที่รัฐแคลิฟอร์เนียซึ่งมีโรงเรียนรัฐประมาณ 200-300 โรง ปรากฏว่าทุกโรงเรียนสอนกันหมด เขาสอนเจริญสติ(mindfulness) ตั้งแต่ระดับอนุบาล แต่บางที่เกรงว่าผู้ปกครองจะเข้าใจ ผิดว่าจะไปล้างสมอง เลยเลี่ยงไปใช้ค�ำว่า “secular mindfulness” เพราะถ้าใช้แค่ค�ำว่า “mindfulness” ยังมีโทนศาสนา ฝรั่งจึงพยายามบอกผู้ปกครองว่าเป็น mindfulness ทางโลก ความจริ ง สอนเหมื อ นพุ ท ธศาสนาเพี ย งแต่ ถ ้ า ไปบอกว่ า เป็ น พุทธศาสนา เขาจะคิดว่ามีความเชื่องมงายเข้าไปด้วย ฝรั่งเลย พยายามเลี่ยงตรงนี้ อาตมาเคยคุยกับเพื่อน ถามว่าท�ำไมถึงใช้ค�ำว่า mindfulness(เจริญสติ) ท�ำไมไม่ใช้ค�ำที่กว้างกว่านี้ คือ Mindful Awareness(สติสัมปชัญญะ) คือ สติ(ความจ�ำ)อย่างเดียว ไม่พอ แต่ต้องมีเงาของสติ คือ สัมปชัญญะ(ความรู้ตัว ) ด้วย ตอนนี้ เพื่อนเลยหันมาใช้ค�ำใหม่ว่า “Mindful Awareness” 35
issue 132 JANUARY 2019
36 IS AM ARE www.fosef.org
กลายเป็นลูกที่บอกว่าให้ไปนั่งสมาธิ หรือบางคราวลูกบอกว่า ‘อย่าโกรธ ให้นับหายใจ 1, 2, 3 แล้วจะหายโกรธ’ คือ กลาย เป็นเด็กสอนพ่อแม่”
“อย่างระดับอนุบาล วิธีการสอนให้เด็กนอน ครูเอา ตุ๊กตาวางที่อก แล้วให้เด็กดูว่าเกิดอะไรขึ้นกับตุ๊กตา เด็กเห็น ว่าขยับขึ้นลงเมื่อเราหายใจเข้า-ออก คือของฝรั่งไม่ได้บอกว่า หายใจเข้า “พุท” หายใจออก “โธ” แต่ให้ดูสภาพตรงนั้น หรือ ให้ดูที่ท้อง คือเอาเวทนานุปัสสนามาพัฒนาให้เด็กเรียน หรือถ้า เด็กซน วิธีการสอนก็ให้เด็กนั่งล้อมวง ครูตีกลองแล้วบอกว่าถ้า หยุดเมื่อไร ที่เต้นอยู่ท่าไหนก็ต้องหยุดท่านั้น เด็กทุกคนก็เต้น แต่ ในขณะเดียวกันหูฟัง แล้วพอหยุดเสียงกลอง ก็หยุดในท่านั้น นี่ คือการฝึกเรื่อง “รู้ตัว” หรือไม่ก็ให้เด็กนั่งวงล้อม ครูตีระฆังแล้ว บอกว่าถ้าใครไม่ได้ยินก็ให้ยกมือขึ้น เราจะเห็นว่าเด็กแต่ละคน ได้ยินเสียงไม่เท่ากัน ความละเอียดของเสียงระฆังที่ค่อยๆ หาย ไปของแต่ละคนจะไม่เท่ากัน เป็นการฝึกจิตให้เป็นสมาธิ ฝึกให้ เด็กจดจ่อโดยไม่จ�ำเป็นต้องใช้วิธีการนั่งสมาธิ หลังเข้าคอร์ส มี การสัมภาษณ์พ่อแม่ว่าเด็กเป็นอย่างไรบ้าง พ่อแม่บอกว่าตอน แรกคิดว่าเป็นเรื่องของศาสนา เลยกลัว ไม่อยากให้ลูกเรียน แต่ พอลูกได้เรียนแล้ว รู้สึกสุดยอดมาก อย่างตอนที่ทะเลาะกับสามี
เป็ น อาจารย์ ส อนพระพุ ท ธศาสนาในมหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น น� ำ ของโลก “ตอนเรียนจบดอกเตอร์ใหม่ๆ มาเป็นอาจารย์สอนที่ มมร จากนั้นมหาวิทยาลัยมหิดล(มม.) นิมนต์ให้ไปช่วยสอน วิทยาลัยศาสนศึกษา วิชาพุทธศาสนาเถรวาท ตามมาด้วยวิชา พุทธศาสนาในตะวันตก การอ่านคัมภีร์ นอกจากนี้มีสอนในเชิง ปรัชญา สอนทรัพยากรมนุษย์ที่คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สอนนิติปรัชญาที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รวมถึงช่วยแก้ไขหลักสูตรในทางจิตวิทยา ให้กับแพทย์ที่โรงพยาบาลศรีธัญญา สอนนักศึกษามหาวิทยาลัย มิชิแกนที่มาเข้าค่ายพุทธศาสนากับสิ่งแวดล้อมที่เนปาล แล้วจึง รับนิมนต์ไปสอนที่ต่างประเทศในปี ค.ศ.2002 37
issue 132 JANUARY 2019
38 IS AM ARE www.fosef.org
สมัยปี ค.ศ.2002 ที่รับนิมนต์ไปสอนที่มหาวิทยาลัยซาน ตาคลารา สหรัฐอเมริกานั้น นักศึกษาสนใจเยอะมาก คณบดีเลย ถามว่าเอาไหมเปิดสอน 2 คลาสเลย เราก็บอกได้ไม่มีปัญหา ก็ เลยสอน 2 คลาส แต่นักศึกษาก็ยังแน่น พออีกครั้งเราก็บอกว่า ไม่ไหว สอนแค่วิชาเดียว ไม่พัฒนา จะท�ำให้สมองฝ่อ คณบดี เลยถามว่าเปลี่ยนวิชาไหม อาตมาเลยไปคิดออกแบบหลักสูตร ใหม่ เป็นว่า ‘Buddhism and Globalization’ คือ วิชาพุทธ ศาสนากับโลกาภิวัตน์ ยุคนั้นยังไม่เคยมีวิชานี้ แต่พอมาปี ค.ศ. 2003-2004 วิชานี้มีอยู่ทั่วโลกแล้ว แต่ตอนนั้นยังเป็นวิชาใหม่ อาตมาเองก็ไม่แน่ใจว่าจะท�ำได้ไหม ก็เลยถามพวกอาจารย์ ที่สอนพุทธศาสนาในมหาวิทยาลัยดังๆ ทั้งหมดที่รู้จักกัน ส่ง หลักสูตรไปให้เขาช่วยวิจารณ์ว่าที่เราออกแบบดีไหม ทุกคนตอบ กลับมาว่า ‘ฉันก็ไม่สามารถที่จะท�ำให้มันดีไปกว่านี้ได้’ อาตมา ก็เลยเปิดวิชาใหม่ เป็นแอดวานซ์คอร์สหรือพุทธศาสนาระดับ สูง เป็นการประยุกต์พุทธศาสนา คือ มองโลกไม่ว่าจะเป็นเรื่อง เศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยีผ่านเลนส์พุทธศาสนา ทุ ก วั น นี้ เ ป็ น อาจารย์ พิ เ ศษสอนอยู ่ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ซานตาคลารา สหรั ฐ อเมริ ก าและมหาวิ ท ยาลั ย ออกซฟอร์ ด ประเทศอั ง กฤษ อาจารย์ ส อบวิ ท ยานิ พ นธ์ ใ ห้ กั บ นั ก ศึ ก ษาที่ พม่า โดยที่ซานตาคลาราสอนอยู่ 2 วิชา คือ ‘Buddhism Intermediate-level(พุทธศาสนาระดับกลาง)’ ด้วยความที่ ซานตาคลารา เป็นมหาวิทยาลัยคริสตัง จึงบังคับนักศึกษาทุก คนที่จบจากมหาวิทยาลัยนี้จะต้องผ่านวิชาศาสนา 3 ตัว (religious study) ภายใน 4 ปี คือ ศาสนาเบื้องต้น ศาสนาระดับ กลาง และศาสนาระดับสูง โดย 3 ตัวนี้ จะเลือกเรียนตัวไหนก็ได้ แล้วแต่ซึ่งมหาวิทยาลัยมีให้เลือก 20-30 ตัวเลือก โดยอาตมา
หลายศาสนาเป็ น แค่ ป รั ช ญา แต่ พุ ท ธศาสนาไม่ ใ ช่ ปรั ช ญา อย่ า งวิ ท ยาศาสตร์ ยั ง ขึ้ น อยู ่ กั บ กาลเวลา แต่ พุ ท ธศาสนาเป็ น สั จ ธรรมที่ ไ ม่ มี เ งื่ อ นไขของกาล เวลา พิ สู จ น์ ไ ด้ ต ลอดเวลา ปฏิ บั ติ ไ ด้ และเมื่ อ ปฏิ บั ติ แล้ ว รู ้ ไ ด้ ด ้ ว ยตั ว เอง สอนอยู่ระดับกลาง คือ Buddhism Intermediate-level และอีกตัวเป็นระดับสูง (advanced) คือ ‘Buddhism and Globalization (วิ ช าพุ ท ธศาสนากั บ โลกาภิ วั ต น์ ) ’ ส่ ว นที่ มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด อาตมาสอนระดับปริญญาเอกในแง่ มานุษยวิทยา คือสอนวิชาพุทธศาสนาในประเทศไทยในเชิง วิชาการ มองภาพรวมพุทธศาสนาในประเทศไทยจากมุมมอง ทุกอย่างทั้งจากข้อมูลดิบและวิพากษ์ข้อมูลดิบว่าท�ำไมถึงเป็น ภาพอย่างนั้น นอกจากนี้ยังเป็นคลังสมองให้กับสหประชาชาติ โดยสหประชาชนก�ำลังขับเคลื่อนการพัฒนายั่งยืน ก็ให้อาตมา เป็นคลังสมองไปให้ข้อมูล ส่วนยูเนสโก อาตมาเป็นวิทยากรใน เรื่องสิ่งแวดล้อม world economic forum” และล่ า สุ ด ประเทศไทยได้ จั ด ตั้ ง ศู น ย์ ศึ ก ษาพระพุ ท ธ ศาสนาเถรวาทในมหาวิทยาลัยมิชิแกน สหรัฐอเมริกา ซึ่งถือ เป็นครั้งแรกในโลกที่มีการจัดตั้งศูนย์ที่เจาะลึกเถรวาท เรียก ได้ว่าเป็นความก้าวหน้าในการเรียนการสอนพระพุทธศาสนา ในโลกตะวันตก” พระศากยวงศ์วิสุทธิ์ (อนิลมาน ธมฺมสากิโย) ผู้ช่วย เจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย (มมร) ปัจจุบันพระศากยวงศ์วิสุทธิ์ รับนิมนต์เป็นอาจารย์ พิเศษอยู่ที่ มหาวิทยาลัยซานตาคลารา สหรัฐอเมริกา และ มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ โอกาสนี้ “มติชน” จึงสัมภาษณ์ถึงการเรียนการสอนพุทธศาสนาในโลกตะวันตก ซึ่งมีสาระส�ำคัญดังข้างต้น 39
issue 132 JANUARY 2019
รมณีย์ท่ีเรา
“ต้ น ไม้ ” เสมื อ นแม่ แ บบของจิ ต อาสา สร้ า งคุ ณ ประโยชน์ ต ่ อ โลกนานั ป การโดยไม่ เ รี ย กร้ อ งสิ่ ง ตอบแทน เป็ น ตั ว อย่ า งส� ำ คั ญ ในการปิ ด ทองหลั ง พระอย่ า งแท้ จ ริ ง
40 IS AM ARE www.fosef.org
ในทางพระพุ ท ธศาสนา เหตุ ก ารณ์ ส� ำ คั ญ ต่ า งๆ ล้ ว นเชื่ อ มโยงกั บ ต้ น ไม้ กล่ า วคื อ การตรั ส รู ้ ข องพระพุ ท ธเจ้ า เกิ ด ขึ้ น ใต้ ต ้ น ไม้ การปริ นิ พ พานเกิ ด ขึ้ น ใต้ ต ้ น ไม้ กระทั่ ง พระอรหั น ต์ ล้ ว นใช้ ต ้ น ไม้ ใ นป่ า เป็ น สภาพแวดล้ อ ม ในการปฏิ บั ติ ธ รรม หรื อ เรี ย กอี ก อย่ า งว่ า “รมณี ย สถาน” คื อ สถานที่ ซึ่ ง ให้ ค วามรู ้ สึ ก ที่ ดี ร่ ม เย็ น สงบ เอื้ อ ให้ ผู ้ อ าศั ย มี โ อกาสท� ำ ดี ม ากกว่ า ท� ำ ชั่ ว “มองในธรรมชาติ ต้นไม้ให้ที่ร่มให้โอกาส จิตใจที่ตั้ง อยู่ในหลักธรรม ก็เป็นที่ร่ม และก็ให้โอกาสเช่นเดียวกัน เราจึง ถือว่า รมณีย์ที่เรา” นอกจากนี้พระอาจารย์ชยสาโรยังแสดงปาฐกถาธรรม พิเศษ โดยการยกตัวอย่าง เมืองปารีส ลอนดอน และนิวยอร์ก ซึ่ง ได้ชื่อว่าเป็น Great city เพราะมีสวนสาธารณะร่มรื่นมากมาย เอื้อให้คนมีโอกาสไปสู่ความดี ซึ่งแตกต่างกับ Big city ซึ่งมีแต่ ตึกสูงมากมาย แต่จิตใจผู้อาศัยกลับต�่ำลง เพราะเมืองที่ดีไม่ได้ วัดกันที่ตึกสูง หากวัดกันที่รมณียสถาน คือเอื้อให้คนรู้สึกดีโดย ธรรมชาติ...” ถ้ า เราอยู ่ ใ นที่ มองไปทางไหนมี แต่ มนุ ษ ย์ สร้า ง จิตใจ ของเราจะเย็นยาก ถ้าเราอยู่ในรมณีย์สถานมันรู้สึกดีขึ้นมาโดย ธรรมชาติ มนุษย์เราร้อยคน คนบางคนสิ่งแวดล้อมจะเป็นยัง ไงก็ตาม 10 จะดีจนได้ แล้วจะมีอีก 10 คน สิ่งแวดล้อมจะดี ขนาดไหนต้องชั่วให้ได้ 20 คนนี้ไม่ต้องสนใจ แต่อีก 80 คนจะ เป็นยังไง จิตใจอ่อนแอ ถ้ามีสิ่งแวดล้อมที่ดีที่เอื้อต่อความดี ก็มี โอกาสที่จะท�ำความดี คุ้นเคยกับความดี และเกิดฉันทะในการ ท�ำความดี
ปฐมบทจากคุณค่าของต้นไม้นี้เอง โครงการปลูกต้นไม้ ปลูกธรรมะ จึงจัดงาน “รมณีย์ที่เรา” เมื่อวันเสาร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ 2562 บริเวณเกาะลอย สวนลุมพินี กรุงเทพมหานคร เพือ่ รณรงค์ ให้เกิดกระแสการปลูกต้นไม้ สร้างรมณียสถานให้เกิดขึ้นทุก พื้นที่ พร้อมกันนี้ ผู้เข้าร่วมงานยังได้รับฟังปาฐกถาธรรมพิเศษ จากพระอาจารย์ชยสาโร และพระไพศาล วิสาโล ถึงความสุข และบุญกุศลที่เกิดจากการปลูกต้นไม้อีกด้วย ภายในงาน พระไพศาล วิสาโล ประธานโครงการ ปลูก ต้นไม้ ปลูกธรรมะ ให้ข้อคิดไว้ว่า “ถ้าเรารู้จักดูแลธรรมชาติ ให้ดี ท�ำให้เกิดความร่มรื่นของสิ่งแวดล้อม ก็จะพบกับความ เย็นกายสบายใจ ซึ่งเรียกว่า ‘เย็นกายในร่มไม้’ อันจะน�ำไปสู่ ‘สุขใจในร่มธรรม’ นอกจากนี้ งาน “รมณีย์ที่เรา” ยังเปิดโอกาสให้แกน น�ำจิตอาสาจากมูลนิธิครอบครัวพอเพียงจากโรงเรียนต่างๆ ได้ ปฏิบัติหน้าที่ตามเจตนารมณ์ของมูลนิธิฯ เพื่อฝึกฝนเยาวชนให้ รู้จักให้ กล้าแสดงออก เสียสละ และท�ำเพื่อผู้อื่นโดยมีคุณค่า ของต้นไม้เป็นแบบอย่าง พระอาจารย์ชยสาโร อธิบายค�ำว่า รมณีย์ที่เรา ไว้ว่า “รมณี ย ์ ก็ คื อ ร่ ม รื่ น คื อ การออกมาจากที่ ร ้ อ นมาสู ่ ที่ เ ย็ น คื อ ธรรมชาติที่ให้ร่มเย็นแก่เรา ให้รมณีย์แก่เรา เป็นที่เย็น ที่สบาย ที่สัปปายะ ต่องานที่ควรท�ำ ให้ชีวิต ให้ชีวา การปลูกต้นไม้เป็น ส่วนเล็กๆ ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นกิจกรรมที่เป็นบุญ เป็น กุศล เราเห็นแล้วก็รู้สึกผูกพัน เหมือนเราเป็นครูสอนเด็กตั้งแต่ อนุบาล ตอนนี้เด็กเล็กตอนนั้นกลายเป็นผู้หลักผู้ใหญ่ เป็นคนดี ในสังคม คุณครูก็มีความสุขมาก 41
issue 132 JANUARY 2019
รมณี ย ์ ก็ คื อ ร่ ม รื่ น คื อ การออกมาจากที่ ร ้ อ นมาสู ่ ที่ เย็ น คื อ ธรรมชาติ ที่ ใ ห้ ร ่ ม เย็ น แก่ เ รา ให้ ร มณี ย ์ แ ก่ เรา เป็ น ที่ เ ย็ น ที่ ส บาย ที่ สั ป ปายะ ต่ อ งานที่ ค วร ท� ำ ให้ ชี วิ ต ให้ ชี ว า การปลู ก ต้ น ไม้ เ ป็ น ส่ ว นเล็ ก ๆ ในการอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม เป็ น กิ จ กรรมที่ เ ป็ น บุ ญ เป็ น กุ ศ ล
ถ้าสิ่งแวดล้อมยั่วยวน สิ่งแวดล้อมกระตุ้นกิเลสตลอด เวลา คนจิตใจอ่อนแอก็จะตกต�่ำ มันจึงส�ำคัญมากที่เราต้องให้ สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อความสงบ โลกนี้วุ่นวายเหลือเกิน และมัน วุ่นวายมากกว่าที่มันควรจะเป็น เพราะความประมาทของเรา เพราะการคิดไม่รอบคอบ อย่างเมืองกรุงเทพฯ เป็นเมืองรถ-ตึก อาตมามีทฤษฎีอย่างหนึ่งที่เราแยกกันได้ระหว่าง Great city กับ Big city อาตมาไม่เข้าใจตัวเองเพราะเกิดที่อังกฤษ แต่อาตมาคิด ว่า ลอนดอนเป็น Great city นิวยอร์กเป็น Great city ปารีส เป็น Great city เพราะอะไร ไม่ใช่เพราะตึกสูง ทุ ก วั น นี้ ลอนดอน นิ ว ยอร์ ก ปารี ส ตึ ก สู ง น้ อ ยกว่ า กรุงเทพฯ Great city จะต่างกับ Big city ตรงไหน อยู่ที่ต้นไม้ ใช่ ไ หม อยู ่ ที่ พ าร์ ค เวลาเราไปลอนดอนเราไปที่ไ หน เราไป รีเจนท์ พาร์ค, ไฮด์พาร์ค มันเป็นเอกลักษณ์ของเมืองทีเดียว และมันท�ำให้รู้สึกว่านี่คือ Great city ไม่ใช่เพราะสิ่งก่อสร้าง แต่เพราะธรรมชาติ ถ้าไปเปิดกูเกิ้ล แมปดูจะเห็นสีเขียวมาก เลย ในลอนดอนสามารถเดินได้ทั้งวัน เดิน 20-30 กิโลฯ ใน ลอนดอนก็อยู่ใต้ต้นไม้ตลอด คือคนอังกฤษเขาให้ความส�ำคัญ กับเรื่องนี้มาก แต่ท�ำไมเมืองไทยของเรา (อยู่มา 40 ปี) ทั้งๆ ที่ศาสนา พุทธเป็นศาสนาที่มีความผูกพันกับต้นไม้มากที่สุด พระพุทธ
องค์ประสูติใต้ต้นไม้ พระพุทธเจ้าตรัสรู้ใต้ต้นไม้ พระพุทธเจ้า ปรินิพพานใต้ต้นไม้ พระอรหันต์ สาวก ส่วนมากปฏิบัติที่ไหน บรรลุที่ไหน อยู่ในป่า อยู่กับธรรมชาติ ในเมื่อเราเป็นเมืองพุทธ มีความผูกพันและเห็นบุญคุณ ของต้นไม้ถึงขนาดนี้ ท�ำไมเราถึงละเลยเหลือเกินในการสร้าง รมณียสถาน สร้างสิ่งที่เอื้อต่อความเจริญในธรรม เมื่อเรามาอยู่ ที่นี่(สวนลุมพินี)จิตใจถึงจะไม่หายฟุ้งซ่าน แต่มันรู้สึกเย็นรู้สึก สบาย ทีนี้เราก็ต้องการจะให้สิ่งเหล่านี้ เป็นการให้ต้นไม้กับสังคม กับโลก เป็นการให้ความร่มเย็น เป็นการให้สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อ คุณธรรมในจิตใจของคนทุกคน ไม่ว่าด้วยการเห็น การเข้าใกล้ การนั่งใต้ต้นไม้ เป็นต้น ฉะนั้น เมื่อปลูกต้นไม้แค่ต้นเดียว คนจ�ำนวนมากจะมี ความสุขที่บริสุทธิ์ ซาบซึ้งในความงดงามของต้นไม้ 42
IS AM ARE www.fosef.org
43 issue 132 JANUARY 2019
44 IS AM ARE www.fosef.org
45 issue 132 JANUARY 2019
46 IS AM ARE www.fosef.org
47 issue 132 JANUARY 2019
48 IS AM ARE www.fosef.org
49 issue 132 JANUARY 2019
50 IS AM ARE www.fosef.org
51 issue 132 JANUARY 2019
เกิดอะไรขึ้นกับร่างกายเรา
เมื่อออกก�ำลังกายสม�่ำเสมอ
52 IS AM ARE www.fosef.org
ผลการวิจัยชี้ว่า แม้แต่ผู้สูงอายุที่มีความหนาแน่นของ มวลกระดูกน้อยมาก หากออกก�ำลังด้วยการผสมผสานระหว่าง การใช้น�้ำหนักและการคาร์ดิโอ มวลกระดูกจะสามารถกลับมา หนาแน่นกว่าคนปกติได้ 7. ผลการวิจัยชี้ว่า ผู้สูงอายุที่ออกก�ำลังกาย วันละ 30 นาที 5 วันต่อสัปดาห์ จะประหยัดเงินในการรักษาโรคที่เกี่ยวกับ หัวใจไปปีละ 100,000 บาทเลยทีเดียว อีกทั้งยังลดโอกาสในการเป็นโรคผู้สูงอายุต่างๆ เช่น โรคข้อเสื่อม, โรคความจ�ำสั้น/เสื่อม, โรคอ้วน, โรคมะเร็ง, และ อื่นๆ อีกด้วย 8. การออกก� ำ ลั ง กายอย่ า งสม�่ ำ เสมอจะท� ำ ให้ อ ายุ ยืนขึ้น และเป็นการมีอายุยืนที่มีความสุข เนื่องจากการออก ก�ำลังกายนั้นช่วยลดอาการกังวล, เครียด, หรืออาการหดหู่ ต่างๆ ได้ เนื่องจากการออกก�ำลังกายนั้นลดฮอร์โมนที่ก่อให้ เกิดความเครียด เช่น cortisol (คอร์ติซอล) และ adrenaline (อะดรีนาลีน) ลง 9. ทั้งนี้ ประโยชน์ต่างๆ ที่กล่าวมานั้นจะเกิดขึ้นมาก น้อยอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น วิธีการออกก�ำลังกาย, ความหนัก หน่วงในการออกก�ำลังกาย, จ�ำนวนครั้งในการออกก�ำลังกาย ต่อสัปดาห์, ระยะเวลาในการออกก�ำลังกายต่อครั้ง, และอาหาร ที่คุณรับประทาน 10. ผลวิจัยในอเมริกาชี้ว่า ใน 1 สัปดาห์ หากเราออก ก�ำลัง(ด้วยวิธีคาร์ดิโอ)ด้วยความหนักหน่วงปานกลางเช่นการ เดินเร็วหรือปั่นจักรยาน เราควรออกก�ำลังประมาน 2 ชั่วโมงครึ่ง ต่อสัปดาห์ แต่ถ้าหากเราออกก�ำลังด้วยความหนักหน่วงค่อน ข้างหนัก เช่นการว่ายน�้ำหรือวิ่ง เราควรออกก�ำลังกายสัปดาห์ ละ 1 ชั่วโมง 15 นาที นอกเหนือจากนั้น เรายังต้องออกก�ำลังกายด้วยการใช้ น�้ำหนักอย่างน้อยสองวันต่อสัปดาห์ เพื่อเพิ่มความคงทนให้ กับร่างกาย ถอดความจาก What Happens To Your Body When You Start Exercising Regularly โดย เอกวุฒิ เสริมสุขสกุลชัย
1. ในการออกก�ำลังกายครั้งแรกๆ เราจะรู้สึกตื่นตัวและ มีพลังมากกว่าปกติ เพราะว่าการไหลเวียนเลือดโดยรวมนั้นเร็ว ขึ้นและออกซิเจนนั้นถูกส่งไปยังสมองมากขึ้น 2. ในวันต่อมา คุณอาจมีอาการ DOMS หรืออาการ ปวดกล้ามเนื้อหลังออกก�ำลังกาย ซึ่งจะมีอาการอยู่ราว 1-3 วัน และเป็นเรื่องปกติ ยิ่งออกก�ำลังกาย อาการนี้ก็จะยิ่งเกิด ขึ้นน้อยลงเรื่อยๆ 3. เมื่อออกก�ำลังกายต่อเนื่องราวสามอาทิตย์ ร่างกายจะ ผลิต mitochondria (ไมโตคอนเดรีย) มากขึ้น ผ่านกระบวนการ ที่ เรี ย กว่ า mitochondrial biogenesis (ไมโตคอนเดรี ย ไบโอเจนีซิส หรือแปลตรงตัวก็คือ การก�ำเนิดไมโตคอนเดรีย) ไมโตคอนเดรียท�ำหน้าที่อะไร? ไมโตคอนเดรียคือส่วน หนึ่งของเซลล์ในร่างกายมนุษย์ที่ท�ำหน้าที่เปลี่ยนโปรตีน,ไขมัน, และคาร์โบไฮเดรต(แป้ง) เป็นพลังงานให้กับกล้ามเนื้อเมื่อเกิด การยืดหรือหดตัวของกล้ามเนื้อ หลังจาก 6 – 8 สัปดาห์ของการออกก�ำลังกายอย่างต่อ เนื่อง ผลการวิจัยที่อเมริการะบุว่าผู้เข้าร่วมทดลองนั้นสามารถ สร้างไมโตคอนเดรียได้มากขึ้นถึง 50 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งส่งผลให้ เรารู้สึกฟิตขึ้น, ร่างกายมีความคงทนต่อการใช้งานอย่างหนัก มากขึ้น (และรวมถึงสามารถดึงสารอาหารที่เรากินไปใช้ได้เร็ว ขึ้น ท�ำให้อ้วนยากขึ้นนั่นเอง) 4. เมื่อคุณออกก�ำลังกายติดต่อกันเป็นประจ�ำนานกว่า 6 เดือน คุณจะเห็นผลการเปลี่ยนแปลงภายนอก เช่นกล้าม เนื้อดูสวยงามมากขึ้น ไขมันส่วนเกินลดลง และคุณจะติดการ ออกก�ำลังกาย 5. หากคุณออกก�ำลังด้วยการ cardio (คาร์ดิโอ) เช่น วิ่ง เดิน ว่ายน�้ำ ฯลฯ ติดต่อกันเป็นเวลา 9 เดือน คุณจะพบว่า คุณมี VO2 max เพิ่มมากขึ้น 25% ซึ่ง VO2 max นั้นคืออัตรา ความสามารถที่ร่างกายสามารถน�ำส่งออกซิเจนไปที่กล้ามเนื้อได้ เพื่อผลิตพลังงาน และนี่คือเครื่องชี้วัดความฟิตของมนุษย์ การ มี VO2 max ที่สูงขึ้น หมายความว่าเราสามารถออกก�ำลังกาย แบบเต็มที่ได้นานขึ้น 6. หลังจากออกก�ำลังกายติดต่อกันเป็นประจ�ำนาน 1 ปี มวลกระดูกคุณจะมีความหนาแน่นเพิ่มมากขึ้น ซึ่งลดอัตราความ เสี่ยงในเรื่องของกระดูกพรุนและกระดูกหักง่าย โดยเฉพาะใน ผู้สูงอายุที่มักจะมีปัญหากระดูกร้าวหรือหักง่ายที่หลังส่วนล่าง สะโพก หรือแขน 53
issue 132 JANUARY 2019
ครู ต้องพัฒนาตนอย่างกล้าเปลี่ยน
อุ บลรัตน์ ฆวีวงษ์
นางอุ บ ลรั ต น์ ฆวี ว งษ์ รองผู ้ อ� ำ นวยการโรงเรี ย นบ้ า นค่ า ย อ� ำ เภอบ้ า นค่ า ย จั ง หวั ด ระยอง วิ ท ยฐานะ รอง ผู ้ อ� ำ นวยการช� ำ นาญการพิ เ ศษ ได้ ใ ห้ มุ ม มองทางการศึ ก ษาผ่ า นบทสั ม ภาษณ์ เ พื่ อ เป็ น แนวทางแก่ ค รู รุ ่ น ใหม่ ที่ ก ้ า วขึ้ น มา เป็ น เสมื อ นภู มิ คุ ้ ม กั น ที่ ส ามารถน� ำ ไปปรั บ ใช้ ใ นอาชี พ ครู ไ ด้ โดยคอลั ม น์ “ความเป็ น คน ความ เป็ น ครู ” นี้ เราเปิ ด โอกาสให้ ค รู ทุ ก คนเขี ย นตอบด้ ว ยตั ว เอง เพื่ อ สื่ อ สารถึ ง ผู ้ อ ่ า นและวงการครู อ ย่ า งตรง ไปตรงมา มุ ม มองต่ า งๆ จากนี้ จ ะเป็ น อย่ า งไร เชิ ญ ผู ้ อ ่ า นร่ ว มทั ศ นาไปด้ ว ยกั น 54 IS AM ARE www.fosef.org
ความเป็ น คน ความเป็ น ครู 2. เป็ น ครู ม ากี่ ป ี แ ล้ ว ปั จ จั ย อะไรที่ ท� ำ ให้ ป ระกอบ อาชี พ ครู จ นมาถึ ง ปั จ จุ บั น รับราชการครูมาสามสิบปีเศษ ต�ำแหน่งครูแนะแนวรวม เวลาทั้งสิ้น 21 ปี 10 เดือน ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สองแห่ง แห่งแรก คือ โรงเรียนล�ำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นเวลา 1 ปี 10 เดือน และแห่งที่สอง คือ โรงเรียนนิคมวิทยา จังหวัดระยอง เป็นเวลา 20 ปี จากนั้นศึกษาต่อระดับปริญญาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา เพื่อขอมีใบประกอบ วิชาชีพ ผู้บริหารสถานศึกษา และสอบคัดเลือกเข้าสู่ต�ำแหน่ง ผู้บริหารการศึกษา (รองผู้อ�ำนวยการสถานศึกษา) รับราชการ ในต�ำแหน่งรองผู้อ�ำนวยการสถานศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา สองแห่ง แห่งแรก คือ โรงเรียนเพรักษมาตาวิทยา จังหวัดระยอง เป็นเวลา 1 ปี 6 เดือน และแห่งที่สอง คือ โรงเรียนบ้านค่าย จังหวัดระยอง เป็นเวลา 7 ปี 3 เดือน เป็นห้วงเวลาแห่งคุณค่า ของความมุ่งมั่นตั้งใจทุ่มเทอุทิศตนต่ออาชีพครู ส�ำหรับปัจจัย ที่สนับสนุนในการประกอบอาชีพครู คือ อุดมการณ์ครู 5 ข้อ ได้แก่ เต็มรู้ เต็มใจ เต็มเวลา เต็มคน และเต็มพลัง
1. ช่ ว ยเล่ า ความเป็ น มา ท� ำ ไมถึ ง เลื อ กอาชี พ ครู ด้วยความรัก ความศรัทธาในคุณงามความดีและการ เป็นต้นแบบที่ดีของคุณครูคนแรก คือ พ่อแม่ผู้ให้ก�ำเนิดชีวิต ผู้ที่อบรมเลี้ยงดู รัก เอาใจใส่ สั่งสอนอบรมเป็นแบบอย่างที่ ดี ท� ำ ให้ เ ติ บ โตมาในครอบครั ว อย่ า งอบอุ ่ น และคุ ณ ครู ค นที่ สอง คือ คุณครูที่ประสิทธิ์ประสาทวิชาทุกๆ ท่านทุกช่วงวัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สมัยเรียนชั้นประถมศึกษารู้สึกประทับใจ คุณครูประจ�ำชั้นที่ได้ไปเยี่ยมบ้านแล้วเจรจาต่อรองกับพ่อแม่ ที่คิดว่าครอบครัวตนเองขาดแคลนทุนทรัพย์ไม่มีเงินส่งเสียให้ ลูกเรียนต่อ คุณครูประจ�ำชั้นท่านนั้นจึงได้ช่วยจัดหาทุน จัดหา หนังสือ ต�ำราเรียน และเครื่องแบบนักเรียน ฯลฯ ท�ำให้ได้มี โอกาสเรียนต่อสูงขึ้น และเมื่อเรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษา ประทับ ใจคุณครูแนะแนวที่เอาใจใส่ ดูแล ช่วยเหลือ แนะน�ำ แนะแนว ทางให้แก่นักเรียนได้มองเห็นอนาคตของตนสามารถวางแผน ศึกษาต่อตามศักยภาพของแต่ละคน จนกระทั่งตนเองได้ซึมซับ เอาแบบอย่างของคุณครูแนะแนวท่านนี้เป็นวิถีการด�ำเนินชีวิต ตลอดมา โดยเลือกเรียนต่อระดับอุดมศึกษาสาขาวิชา จิตวิทยา การให้ค�ำปรึกษาและแนะแนว ระดับปริญญาตรี จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และระดับปริญญาโท สาขาวิชา จิตวิทยาการให้ ค�ำปรึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา
3. สั ง คมภายนอกเปลี่ ย นแปลงไปเร็ ว มาก ครู มี ก าร ปรั บ ตั ว อย่ า งไร ในฐานะเป็นครู และผู้บริหาร ได้ปรับตัวเพื่อให้ทันต่อ การเปลี่ยนแปลงของสังคมภายนอกอย่างรวดเร็ว ดังนี้ 1. สร้างและบูรณาการความรู้ต่างๆ ที่มีอย่างหลาก หลาย น�ำมาใช้ในการสร้างสรรค์และพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ ในการท�ำงาน 2. พัฒนาตนให้มีความคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์ น�ำ ครูสอนให้เด็กมีทักษะกระบวนการคิด โดยสามารถคิดวิเคราะห์ ในเรื่ อ งต่ า งๆ และมี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ สังคม 3. มีวิสัยทัศน์และตกผลึกทางความคิดเพื่อแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกับครูและผู้เรียน น�ำครูให้เป็นคนมีวิสัยทัศน์ เน้น ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการส่งเสริมการเรียนรู้แบบผู้เรียน เป็นส�ำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนตกผลึกทางความคิดได้ด้วยตัวเอง และ มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน 4. น�ำครูให้รู้และเข้าใจเทคโนโลยีใหม่ มีทักษะใหม่ๆ พร้อมทั้งชี้แนะข้อดีข้อเสียให้ครูและผู้เรียนได้ น�ำครูให้สามารถ ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการศึกษาได้หลากหลาย และสามารถชี้ ให้ผู้เรียนเห็นถึงข้อดีข้อเสีย และการใช้เทคโนโลยีต่างๆ อย่าง เหมาะสม 55
issue 132 JANUARY 2019
4. การขั บ เคลื่ อ นของโรงเรี ย นหรื อ สิ่ ง ที่ ห น่ ว ยงาน ต้ อ งการให้ ค รู ท� ำ ในวั น นี้ มุ ่ ง ไปที่ อ ะไร มุ่งไปที่ผู้เรียนเป็นส�ำคัญ ในการให้ครูจัดกระบวนการ เรียนรู้เน้นผู้เรียนมีคุณลักษณะ 3Rs8Cs ความหมายง่ายๆ ก็ คือ ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ได้ ประยุกต์ใช้เป็น สร้างสรรค์นวัตกรรมได้ และเป็นพลโลก 5. ปั ญ หาและอุ ป สรรคในการเรี ย นการสอนและ แนวทางการแก้ ไ ขปั ญ หาในวั น นี้ เ ป็ น อย่ า งไร ความเจริญทางวัตถุมากขึ้น ความเจริญทางจิตใจนับวัน อ่อนแอลง ต้องมีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการจัดการ เรียนรู้อย่างเร่งด่วน ครูต้องเป็นผู้อ�ำนวยความสะดวกในการ เรียนรู้ การศึกษาใดๆ ก็ตามต้องให้ลึกซึ้ง ต้องให้ผู้เรียนเห็นถึง คุณค่าของสิ่งที่เรียนรู้อย่างถ่องแท้จริงๆ 6. คิ ด ว่ า ระบบมี ส ่ ว นต่ อ คุ ณ ภาพของนั ก เรี ย นหรื อ ไม่ ระบบดี ย่อมส่งผลต่อคุณภาพของนักเรียนทั้ง 3 ด้าน ในการเรียนรู้ทั้งทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต และทักษะอาชีพ อย่างถึงคุณค่าตลอดชีวิต สมั ย เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษารู ้ สึ ก ประทั บ ใจคุ ณ ครู ประจ� ำ ชั้ น ที่ ไ ด้ ไ ปเยี่ ย มบ้ า นแล้ ว เจรจาต่ อ รองกั บ พ่ อ แม่ ที่ คิ ด ว่ า ครอบครั ว ตนเองขาดแคลนทุ น ทรั พ ย์ ไ ม่ มี 5. มีทักษะการสอนผู้เรียนให้เติบโตเต็มศักยภาพและ เงิ น ส่ ง เสี ย ให้ ลู ก เรี ย นต่ อ คุ ณ ครู ป ระจ� ำ ชั้ น ท่ า นนั้ น สร้างผลงานใหม่ๆ น�ำครูให้ส่งเสริมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนตามวัย จึ ง ได้ ช ่ ว ยจั ด หาทุ น จั ด หาหนั ง สื อ ต� ำ ราเรี ย น และ และน�ำครูน�ำให้ผู้เรียนพัฒนาตนอย่างเต็มที่ตามศักยภาพของ เครื่ อ งแบบนั ก เรี ย น ฯลฯ ท� ำ ให้ ไ ด้ มี โ อกาสเรี ย นต่ อ ผู้เรียนและเน้นให้ผู้เรียนเปลี่ยนจากเป็นผู้รับ กลายเป็นผู้พัฒนา สู ง ขึ้ น และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ 6. น�ำครูให้เข้มแข็งในจรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม และชักชวนให้คนอื่นๆ ท�ำเพื่อสังคม น�ำครูให้ยึดมั่นในจรรยา บรรณวิชาชีพ รักษาคุณธรรมจริยธรรมและเป็นบุคคลหนึ่งใน สังคมที่ช่วยให้สมาชิกในสังคมนั้นๆ มีแนวทางในการปฏิบัติตน ต่อตนเองและสังคมที่เหมาะสม 7. สร้ า งความตระหนั ก ในบทบาทผู ้ น� ำ ด้ า นการสอน และวิชาชีพ พัฒนาคุณภาพของโรงเรียนและในวิชาชีพร่วมกับ ผู้บริหารมากขึ้น น�ำครูให้มีบทบาทในการส่งเสริม พัฒนา และ ประเมินผลการเรียนรู้และวิชาชีพในโรงเรียนร่วมกับบุคลากร ผู้บริหารและชุมชน 56 IS AM ARE www.fosef.org
ฝึกการร้อยรัด เรียบเรียงความคิดให้เห็นความส�ำคัญ น�ำไป เขียน “ที่มาและความส�ำคัญ” นักเรียนตั้งค�ำถาม “ศึกษาเรื่อง นี้เพื่ออะไร” ตอบเป็นข้อๆ น�ำไปเขียน “วัตถุประสงค์” และ “สมมติฐาน” เพื่อน�ำไปสู่การออกแบบกิจกรรมให้ครอบคลุม ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ในขั้นนี้ ตัวแทนห้องจะน�ำเสนอราย ละเอียดต่อผู้เกี่ยวข้อง 4. อัพโหลดข้อมูล รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะ ศึกษา เพื่อสนับสนุนและหาแนวทางในการด�ำเนินการเพื่อตรวจ สอบสมมติฐาน เป็นการค้นหาข้อมูลและวิธีการด�ำเนินการ การ เก็บข้อมูล การรวมข้อมูล ตลอดจนวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล โดย ข้อมูลที่ศึกษาสอดคล้องกับค�ำถามโครงงาน 5. แยบยลด�ำเนินการ ขั้นตอนนี้นักเรียนร่วมกันด้วย กระบวนการกลุ่ม ออกแบบวิธีด�ำเนินการ เตรียมอุปกรณ์ เครื่อง มือ ตารางบันทึกผล จากนั้นลงมือศึกษา ฝึกท�ำจริง และเก็บ ข้อมูลตามวิธีการที่ได้ออกแบบไว้ โดยนักเรียนทุกคนบันทึกการ ท�ำงานลงสมุดบันทึกบทเรียน (logbook) เก็บภาพและข้อมูล หลักฐานการท�ำงาน และเมื่อต้องหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้นอก สถานที่ โดยก่อนออกไปนักเรียนฝึกเขียนจดหมายขออนุญาต แล้วส่งมาให้ครูดูก่อน ครูจะช่วยแก้ไขจดหมายและสอนการ
7. ครู มี เ ทคนิ ค การสอนเฉพาะตั ว อย่ า งไรให้ ไ ด้ ผ ล ตามที่ ต ้ อ งการ การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (PBL) 1. เรียนรูร้ อบตัว ครูชวนนักเรียนทัง้ ห้องส�ำรวจ สังเกตสิง่ รอบตัวทั้งในและนอกรั้วโรงเรียน (บริบท/ชุมชน) โดยใช้ค�ำถาม กระตุ้นคิด ร่วมระดมประเด็นคิดอย่างอิสระ เช่น เรื่องสุขภาพ ถามว่า สุขภาพเป็นอย่างไร มีอะไรอีกไหม ที่น่าสนใจ เรื่องสิ่ง แวดล้อม ทรัพยากรในชุมชน แล้วให้นักเรียนไปหาหลักฐาน และเหตุผลสนับสนุนเป็นขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล 2. ยั่วยุ จัดกลุ่ม แยกแยะ เมื่อนักเรียนได้เรื่องที่สนใจ แล้ว แยกแยะและจัดกลุ่ม ชวนหาหลักฐานและเหตุผลมาสนับ สนุน เพื่อให้ครูและเพื่อนทุกคนเข้าใจและยอมรับในการรวม กลุ่ม เช่น แหล่งที่มาของข้อมูล ลักษณะของเรื่อง ประโยชน์ที่ ได้รับ เป็นต้น เป็นขั้นตอนการสังเคราะห์ข้อมูล 3. คุ้ยแคะตั้งโจทย์ นักเรียนในกลุ่มตั้งค�ำถาม น�ำเสนอ คัดเลือกค�ำถามที่กลุ่มสนใจ ใช้กระบวนการกลุ่มช่วยให้ทุกคน ร่วมกันคิด ค้นหาค�ำถามที่น่าสนใจที่สุดเป็น “ค�ำถามโครงงาน” สู่ “ชื่อเรื่องโครงงาน” ครูกระตุ้นให้คิด เพราะอะไรจึงอยาก ศึกษาเรื่องนี้ โดยมองถึงประโยชน์ เป้าหมายของการพัฒนา 57
issue 132 JANUARY 2019
เขียนจดหมายว่าถูกหรือผิดอย่างไร 6. เพิ่มพูนแปลผล ขั้นนี้นักเรียนในกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ ข้อมูล แปลผล ฝึกการแปลงข้อมูลเป็นความรู้ เพื่อเป็นข้อมูลใน การตอบค�ำถามโครงงานน�ำไปสู่ข้อสรุปและองค์ความรู้ 7. สรุปผลการศึกษาและรายงาน ขั้นตอนนี้นักเรียนจะ น�ำผลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้เพิ่มพูนแปลผล ทั้งหมด มาเรี ย งเป็ น ล� ำ ดั บ อย่ า งเป็ น เหตุ เ ป็ น ผล ตอบค� ำ ถามตาม วัตถุประสงค์ สรุปเป็นองค์ความรู้และนวัตกรรม ข้อเสนอแนะ แล้วเขียนรายงานโครงงาน ร่วมกันคิดรูปแบบการจัดแสดง/ น�ำเสนอผลงาน ต่อสาธารณชน เชิญผู้ปกครอง ชุมชน และ ผู้เกี่ยวข้องร่วมงาน 8. ถอดบทเรียน ปลุก จิต อาสา นัก เรียนและครู ร ่ ว ม กันทบทวนผลการปฏิบัติงาน จุดเด่น จุดที่ควรปรับปรุง ของ กระบวนการด�ำเนินงาน เพื่อให้นักเรียนตระหนักในประโยชน์ ของความรู้ที่ได้และท�ำให้เห็นข้อจ�ำกัดหรือการต่อยอดและน�ำ 9. ปั จ จุ บั น เรื่ อ งปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ความรู้ไปใช้จริง มาแรงมาก ครู มี วิ ธี ท� ำ ให้ เ ด็ ก เข้ า ใจอย่ า งไร ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นสิ่งส�ำคัญยิ่งในชีวิต 8. มี แ นวทางพั ฒ นาตนเองอย่ า งไร เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างหลากหลาย เรียนรู้ไปพร้อมๆ กับ ของมนุษย์ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช การเปลี่ยนแปลงอันรวดเร็ว เรียนรู้จากเครือข่ายรอบโลก ปรับ รัชกาลที่ 9 ทรงพระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทยให้อยู่ดีกิน พฤติกรรมในการเป็นอยู่อย่างมีสติ รู้เท่าทัน ปฏิบัติตนให้กอปร ดีมีความพอเพียงตามฐานะของตน โรงเรียนได้จัดท�ำโครงการ ส�ำหรับนักเรียนอย่างหลากหลาย ส่วนหนึ่งได้ด�ำเนินการร่วม ด้วยศีล สมาธิ ปัญญา กับมูลนิธิครอบครัวพอเพียงมาอย่างต่อเนื่อง โดยส่วนตัวได้ สร้างความเข้าใจกับนักเรียนโดยให้ความรู้และวิธีปฏิบัติตนดังนี้ คือ ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดความ ฟุ่มเฟือยในการด�ำรงชีพอย่างจริงจัง ยึดถือการประกอบอาชีพ ด้วยความถูกต้อง สุจริต ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และ การแข่งขันในทางการการค้าขายหรือการประกอบอาชีพ ไม่ หยุดนิ่งที่จะหาทางให้หลุดพ้นจากความทุกข์ พยายามหาความรู้ และสร้างตนเองให้มีความมั่นคง ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลดละ สิ่งที่ยั่วกิเลสให้หมดสิ้นไป ประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี แก่นักเรียน 1 0 . ค รู ม อ ง ว ่ า แ ร ง ผ ลั ก ดั น ที่ จ ะ ส ร ้ า ง ก า ร เปลี่ ย นแปลงหรื อ การพั ฒ นาศั ก ยภาพของครู ไ ทย ควรมี อ งค์ ป ระกอบเพิ่ ม เติ ม หรื อ ไม่ แรงผลักดันที่จะสร้างการเปลี่ยนแปลงหรือการพัฒนา ศักยภาพของครูไทย ควรมีองค์ประกอบเพิ่มเติม คือ ครูต้องมี ความเฉลียวฉลาด เป็นผู้น�ำการเรียนรู้ มีฉันทะต่อการเป็นครู ด้วยจิตวิญญาณ มีเมตตา กรุณา ปราศจากอคติ 58 IS AM ARE www.fosef.org
11. ปั จ จุ บั น โลกของความรู ้ ก ว้ า งขวางมาก เด็ ก สามารถค้ น เองได้ เ กื อ บทุ ก อย่ า ง ฉะนั้ น ในห้ อ งเรี ย น ค ว ร เ ป ็ น ที่ ถ ก แ ล ก เ ป ลี่ ย น วิ เ ค ร า ะ ห ์ ม า ก ก ว ่ า เลคเชอร์ / ท่ อ งจ� ำ แล้ ว หรื อ ไม่ ครู คิ ด เรื่ อ งนี้ อ ย่ า งไร ห้องเรียนต้องเปิดกว้างสู่การเรียนรู้สรรพวิชา ดังนั้น การปรับวิธีเรียนเปลี่ยนวิธีสอนให้หลากหลายนักเรียนได้ลงมือ ปฏิ บั ติ ด ้ ว ยตนเอง จะท� ำ ให้ เ กิ ด กระบวนการคิ ด แก่ นั ก เรี ย น สูงสุด ส่วนรายวิชาใดที่ยังคงต้องใช้วิธีการเดิมแบบบรรยาย หรือ ท่องจ�ำก็ยังต้องใช้แบบนั้นคงไว้ 12. ปรั ช ญาหรื อ หลั ก การในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต รู้/ซึมซับสิ่งดีมีประโยชน์ แยกแยะ/ทิ้งสิ่งที่เป็นของเสีย ไร้ประโยชน์ เจริญกาย เจริญใจ เจริญปัญญา 13. ครู ใ นอุ ด มคติ เ ป็ น อย่ า งไร ครูในอุดมคติเป็นผู้รู้ลึกซึ้งถึงคุณค่าของบุคคล ใฝ่เรียนรู้ ตลอดเวลา สอนผู้อื่นประยุกต์ใช้ได้ทันที 14. ในระยะเวลาที่ ยั ง ท� ำ หน้ า ที่ ค รู อ ยู ่ อ ยากเห็ น อะไร เกิ ด ขึ้ น กั บ การศึ ก ษาบ้ า งในตั ว นั ก เรี ย น ครู หรื อ บทบาทของโรงเรี ย น การศึกษาต่อไปนี้ควรเน้น สนับสนุน ส่งเสริมให้นักเรียน เป็นเด็กหัวใจใหม่ สง่า องอาจ เปี่ยมด้วยปัญญา มีสมรรถนะ 5 ด้าน คือ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การท�ำงานเป็นทีมอย่างมีส่วนร่วม การคิดใคร่ครวญอย่างมีสติ และการสื่อสาร ครู เป็นครูหัวใจใหม่ เป็นผู้เชี่ยวชาญการเรียน รู้ อ�ำนวยการเรียนรู้ ตระหนักและมองเห็นสภาวะการเรียนรู้ของ ผู้เรียนด้วยความเข้าใจและความเมตตา ปรับวิธีเรียนเปลี่ยนวิธี สอน สู่การเรียนรู้แบบไม่แยกส่วน ออกแบบหลักสูตรการเรียน รู้แบบบูรณาการที่เข้าถึงระบบคุณค่า โรงเรียน เป็นศูนย์กลาง ของการพัฒนาสู่ธุรกิจแบ่งปัน
ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ ยิ่ ง ใน ชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหา ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช รั ช กาลที่ 9 ทรงพระราชทานแก่ พสกนิ ก รชาวไทยให้ อ ยู ่ ดี กิ น ดี มี ค วามพอเพี ย งตาม ฐานะของตน 15. ให้ ค� ำ แนะน� ำ ส� ำ หรั บ ผู ้ ส นใจจะเป็ น ครู ห รื อ ครู รุ ่ น ใหม่ ที่ ก ้ า วขึ้ น มา ...ครูต้องพัฒนาตนอย่างกล้าเปลี่ยน..เรียนรู้สู่อุดมการณ์ ครู..มุ่งที่คุณภาพของผู้เรียน..เป้าหมายคือ ผู้เรียนมีคุณภาพ 16. ฝากถึ ง เยาวชนไทย เยาวชนไทยต้องเรียนรู้ทุกรูปแบบอย่างลึกซึ้งถึงคุณค่า น�ำวิชาความรู้สู่การประยุกต์ใช้ได้จริง ร่วมกันสร้างประโยชน์ แก่สังคมประเทศชาติ บทสรุป ความเป็นคนความเป็นครูผู้ลึกซึ้ง ต้องเข้าถึง วิชาพาสร้างสรรค์ กาย-ใจศิษย์ อบรม ทุกวี่วัน คุณค่านั้นเด็กไทยก้าวไกล เอย อุบลรัตน์ ฆวีวงษ์ ผู้เขียน/ประพันธ์ 59
issue 132 JANUARY 2019
จีวร กับ ขยะ เรื่องราวของวัดจากแดง
รายงานสถานการณ์ ม ลพิ ษ ของประเทศไทย โดยกรมควบคุ ม มลพิ ษ กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่ ง แวดล้ อ ม เปิ ด เผยว่ า ปี 2560 ประเทศไทยมี ป ริ ม าณขยะมู ล ฝอยถึ ง 27.37 ล้ า นตั น เฉลี่ ย วั น ละ 74,000 ตั น ในจ� ำ นวนนี้ เ ป็ น ขยะพลาสติ ก 6,842,500 ตั น หรื อ 25% ของขยะทั้ ง หมด แยก เป็ น ขวดพลาสติ ก น�้ ำ ดื่ ม ประมาณ 4,400 ล้ า นขวด/ต่ อ ปี เฉพาะพลาสติ ก หุ ้ ม ฝาขวด (Cap seal) มี ปริ ม าณถึ ง 520 ตั น ต่ อ ปี รวมความยาวเมื่ อ น� ำ มาต่ อ กั น 260,000 กิ โ ลเมตร หรื อ วนรอบโลกได้ 6.5 รอบที เ ดี ย ว 60 IS AM ARE www.fosef.org
หากค�ำนวณเล่นๆ จากอายุไขของมนุษย์ คงต้องเกิดอีก หลายชาติกว่าขยะเหล่านี้จะย่อยสลายไป สถานการณ์ ข ยะ ฝั ง จนไม่ มี ที่ จ ะฝั ง ขณะเดียวกันหลายหน่วยงานพยายามหาทางออกเรื่อง การรีไซเคิลขยะกันอย่างตื่นตัว เพราะนอกจากจะช่วยด้านสิ่ง แวดล้อมแล้ว ขยะในปัจจุบันนับวันยิ่งมีราคา เช่น ขวดพลาสติก ใส(PET) ซึ่งนิยมใช้กันทั่วไปในปัจจุบัน มีราคารับซื้อขยะรีไซเคิล ประมาณกิโลกรัมละ 8 บาท พลาสติกสี(ฉลาก)กิโลกรัมละ 7 บาท พลาสติกขาวขุ่น/ขวดน�้ำ กิโลกรัมละ 15 บาท ฝาจุกแกะ กิโลกรัมละ 22 บาท เป็นต้น วัดจากแดงเป็นอีกหนึ่งสถานที่ ซึ่งให้ความส�ำคัญกับการ รีไซเคิลขยะ จากสถานการณ์ขยะล้นวัดจนไม่มีที่กลบฝัง พระ อาจารย์มหาประนอม ธมฺมาลฺงกาโร รองเจ้าอาวาสวัดจากแดง กล่าวถึงแนวคิดการรีไซเคิลขยะภายในวัดว่า เดิมทีขยะภายใน วั ด ต่ า งๆ ใช้ วิ ธี ร วบรวมฝั ง กลบและเผา จนกระทั่ ง เต็ ม พื้ น ที่ จึงต้องคิดหาวิธีน�ำขยะมารีไซเคิลให้เกิดประโยชน์ “เรื่องสิ่งแวดล้อมตอนนี้ ขยะจากพลาสติกน�ำไปท�ำจีวร เศษอาหารน�ำไปท�ำปุ๋ย ท�ำแก๊ส ขยะโฟมน�ำไปท�ำกาว ท�ำทุ่น ท�ำ ที่ปลูกต้นไม้ คือขยะทั้งหมดน�ำมาใช้ประโยชน์ ยกเว้นขยะมีพิษ อันไหนรีไซเคิลได้เอาไปรีไซเคิลทั้งหมด ตอนแรกก็เก็บแล้วฝัง ฝังจนเต็มวัด ทั้งฝังทั้งเผาจนไม่มีที่ฝัง” น่าสนใจว่า การน�ำพลาสติกมาท�ำจีวรดังที่รองเจ้าอาวาส กล่าวถึงนั้นจะเป็นอย่างไร แต่ ก ่ อ นอื่ น ไปท� ำ ความรู ้ จั ก วั ด จากแดงกั น ก่ อ นดี ก ว่ า วัดนี้ได้ชื่อว่าเป็นปอดขนาดใหญ่ของกรุงเทพฯ ทีเดียว
ความเป็ น มาของวั ด สู ่ ก ารท� ำ บุ ญ ด้ ว ยขยะ วัดจากแดง (วัดราษฎร์) ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำเจ้าพระยาฝั่ง ขวา ต�ำบลทรงคนอง อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่ ง เป็ น พื้ น ที่ สี เขี ย ว หรื อ ปอดขนาดใหญ่ แ หล่ ง สุ ด ท้ า ยที่ อ ยู ่ ใกล้กรุงเทพฯ มากที่สุด มีแม่น�้ำเจ้าพระยาล้อมรอบทั้งพื้นที่ ลักษณะเป็นเกาะรูปทรงคล้าย “กระเพาะอาหาร” วัดจากแดง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อประมาณ พ.ศ.2330 มีเนื้อที่ ประมาณ 12 ไร่ 77 ตารางวา สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2325 ในสมัย ก่อนเคยมีคลองมอญไหลผ่านข้างวัด แต่ในปัจจุบันถมเป็นถนน แล้ว ชื่อ วัดจากแดง มีการสันนิษฐานว่ามาจากค�ำว่า “จาก แดน” หมายถึงหมู่บ้านของประชาชนที่อพยพมาจากที่อยู่เดิม ในอยุธยา ต่อมาได้เพี้ยนเสียงเป็น “จากแดง” ภายในวัดมี ปูชนียวัตถุสมัยโบราณ คือพระพุทธรูป “หลวงพ่อหิน” ซึ่งขุด พบบริเวณโบสถ์หลังเก่า เจ้ า อาวาสรู ปปั จ จุ บัน คื อ ท่ า นพระครู ธ รรมธรสุมนต์ นันทิโก อัครมหาบัณฑิตจากประเทศสหภาพพม่า และอดีต ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก เรี ย นอภิ ธ รรมโชติ ก ะ ในวั ด มหาธาตุ ยุ ว ราชรังสฤษดิ์ โดยในปี พ.ศ.2523 ท่านเจ้าคุณพระเทพกิตติ ปัญญาคุณ (กิตติวุฑโฒภิกขุ) ได้นิมนต์ให้ท่านมาเป็นเจ้าอาวาส วัดจากแดง ตามที่คณะกรรมการวัดในขณะนั้นเขียนจดหมาย ขอไป ท่านเป็นที่เคารพนับถือของศิษยานุศิษย์ ตลอดจนชาว บ้านละแวกใกล้เคียง เนื่องด้วยท่านเป็นผู้ทรงความรู้พระธรรม 61
issue 132 JANUARY 2019
พลาสติกไปผลิตเป็นน�้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อจะแก้ปัญหาขยะล้นวัด แต่พบว่าการน�ำพลาสติกมาผลิตเป็นน�้ำมันต้องใช้พลาสติกถึง 20 กิโลกรัม ใช้เวลาผลิต 3 ชั่วโมง จึงจะได้น�้ำมัน 1 ลิตร ราคา ประมาณลิตรละ 30 บาท จึงศึกษาค้นคว้าวิธีอื่นซึ่งสามารถน�ำ ขยะมาเพิ่มมูลค่าได้มากกว่า “จนกระทั่งมาศึกษาว่าสามารถน�ำพลาสติกมาท�ำจีวร ได้ไหม เห็นตัวอย่างจากมูลนิธิฉือจี้ ประเทศไต้หวัน ปรากฏว่า ท�ำได้ก็เลยลองท�ำดู แต่ใช้ได้เฉพาะขวดพลาสติกใส(PET)เอาไป บดแล้วผสมผ้าฝ้าย ผสมซิงค์นาโน ปรากฏว่าได้เป็นจีวรเกรด คุณภาพดี ภายใต้โครงการ ‘ขุดทองจากกองขยะ’ ซึ่งแยกขยะที่ เป็นเศษอาหารภายในวัดมาท�ำปุ๋ยและแก๊ส ส่วนพลาสติกน�ำมา ชั่งกิโลขายได้กิโลฯ ละ 8 บาท ถ้าคัดแยกพลาสติก 7 ประเภท และล้างให้สะอาด จะได้กิโลกรัมละ 17 บาท แต่ถ้าน�ำไปท�ำจีวร ขวดน�้ำ 15 ใบ จะได้จีวร 1 ผืน มูลค่ากว่า 2,000 บาท ฉะนั้น ท�ำจีวรดีที่สุด” “ไตรจีวร Recycle” คือโครงการแก้ปัญหาเพื่อ “ลด ขยะขวดพลาสติก” ที่วัดจากแดง ร่วมกับ บริษัท ปตท.จ�ำกัด (มหาชน) จัดขึ้น โดยอาศัยพื้นที่วัดจากแดง ซึ่งตั้งอยู่บริเวณคุ้ง บางกระเจ้า สร้างกระบวนการก�ำจัดขยะอย่างครบวงจร เน้น การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ตามนิยาม “ขยะแลกบุญ” โดย ตามพระไตรปิฎก และเป็นครูผู้สอนที่มีเมตตา จึงเป็นเหตุให้ มี บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ให้การสนับสนุนขั้นตอนการ ท่านได้รับการสนับสนุนและร่วมแรงร่วมใจจากทุกฝ่ายด้วยดี แปรรูปเป็นผ้า ก่อนน�ำส่งกลับมาให้ทางวัดจากแดงตัดเย็บเป็น ผ้าไตรจีวร Recycle ต่อไป ตลอดมา นอกจากนี้วัดจากแดงได้ตั้งเป็นส�ำนักเรียนพระอภิธรรม มาหลายปี จนได้รับการคัดเลือกให้เป็น “ส�ำนักศาสนศึกษา ดีเด่น” และยังเปิดโอกาสให้คนในชุมชนได้มีส่วนร่วมกับวัด โดยจัดให้มีการสวดมนต์ท�ำวัตรเย็น เจริญสมาธิภาวนาส�ำหรับ ประชาชนขึ้นในทุกวัน ตั้งแต่เวลา 17.30-19.00 น. และจัด ปฏิบัติธรรมในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา รวมถึงจัดกิจกรรม ต่างๆ โดยเฉพาะโครงการ “ขุดทองจากกองขยะ” ซึ่งเปิดโอกาส ให้ประชาชนน�ำขยะมาบริจาคให้วัดแทนการท�ำบุญเพื่อการน�ำ ไปรีไซเคิลต่อไป จี ว รจากขวดพลาสติ ก “ตอนนี้ อ าตมาผลิ ต ผ้ า จากขวดพลาสติ ก ได้ ห ลายพั น หลา” พระอาจารย์มหาประนอม ธมฺมาลฺงกาโร รองเจ้าอาวาส วัดจากแดง ผู้ริเริ่มโครงการ “ขุดทองจากกองขยะ” เจ้าของ ความคิ ด การน� ำ ขวดพลาสติ ก มาผลิ ต เป็ น จี ว รที่ มี คุ ณ สมบั ติ แอนตี้แบคทีเรีย เล่าถึงที่มาของโครงการว่า เดิมทีทดลองน�ำ 62 IS AM ARE www.fosef.org
63 issue 132 JANUARY 2019
การที่ เ ราพั ฒ นาเอาพลาสติ ก ที่ เ ป็ น ขวดน�้ ำ มาผลิ ต ผ้ า ที่ จ ริ ง แล้ ว ไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งใหม่ แต่ ถ ้ า เอามาตั ด เย็ บ ย้ อ มสี เป็ น จี ว รคื อ เรื่ อ งแปลกใหม่ ปกติ เ คยมี ก ารผลิ ต เป็ น ผ้ า อยู ่ แ ล้ ว ที่ ป ระเทศจี น แต่ พ อพู ด ว่ า เอามาท� ำ เป็ น จี ว รมั น เลยเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากวั ต ถุ ดิ บ ที่ คิ ด ค้ น กั น มานานแล้ ว ก็ คื อ ซิ ง ค์ น าโนมาผสมกั บ ฝ้ า ย ผสมโพลี เ อสเตอร์
ในฐานะผู้ริเริ่มการน�ำขวดพลาสติกมาแปรรูปเป็นผ้าไตร จีวร พระอาจารย์มหาประนอม ธมฺมาลฺงกาโร รองเจ้าอาวาส วัดจากแดง กล่าวว่า หลายคนกังวลว่าเสื้อผ้าที่ท�ำมาจากขยะ พลาสติกอาจจะติดเชื้อโรคได้ แต่ในซิงค์นาโนมีคุณสมบัติป้องกัน แบคทีเรียต่างๆ จึงไม่มีปัญหาเรื่องเชื้อโรค “การที่เราพัฒนาเอาพลาสติกที่เป็นขวดน�้ำมาผลิตผ้า ที่จริงแล้วไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่ถ้าเอามาตัดเย็บย้อมสีเป็นจีวรคือ เรื่องแปลกใหม่ ปกติเคยมีการผลิตเป็นผ้าอยู่แล้วที่ประเทศจีน แต่พอพูดว่าเอามาท�ำเป็นจีวรมันเลยเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เกิด ขึ้น จากวัตถุดิบที่คิดค้นกันมานานแล้ว ก็คือซิงค์นาโนมาผสม กับฝ้าย ผสมโพลีเอสเตอร์ ตัวฝ้ายที่เป็นส่วนสังเคราะห์ จะมี โรงงานที่รับขวดน�้ำพลาสติกไปตีเป็นเส้นใย “ซิงค์นาโนตัวนี้ห่มแล้วจะท�ำให้เบาบางสบาย ไม่เหนียว เหนอะหนะ ไม่ร้อน คือผลจากการผสมซิงค์นาโนเข้าไป 24% พลาสติก 34% ผ้าฝ้าย 43% ตามสัดส่วนที่ผสมออกมาเป็นผ้า หนึ่งม้วน” วัดจากแดง เป็นรายแรกในประเทศไทยที่คิดผลิตจีวรท�ำ จากพลาสติก โดยช่างตัดเย็บฝีมือประณีตเพื่อให้ผ้าไตรจีวรเป็น
ไปตามหลักพระธรรมวินัย “ถ้าเย็บแบบธรรมดา ตกชุดละสอง พันกว่าบาท ถ้าเย็บแบบ 9 ขันธ์ เป็นงานฝีมือตกชุดละ 4,000 บาท ผู้มีฝีมือในการเย็บหายาก โดยมากจีวรที่เย็บกันทั่วไปราคา ถูก เพราะเขาไม่ตัด ล้มตะเข็บแล้วเย็บเลย ไม่ตัดผ้า การเย็บแบบ นั้นง่ายแต่ไม่ถูกต้องตามพระวินัย แต่จีวรที่ท�ำจากพลาสติกตัด ทุกชิ้นเป็น 9 ขันธ์ มีให้ครบทุกอย่าง นอกจากเย็บทุกชิ้นแล้ว ฝีมือต้องประณีต ให้ตะเข็บเล็กเท่าที่จะเล็กได้ โดยรวมคือ 9 ขันธ์ ฝีมือประณีต ถูกต้องตามพระวินัยทั้งหมด เฉพาะค่าจ้าง เย็บอย่างเดียว ชุดละ 1,000 บาท” 64
IS AM ARE www.fosef.org
ชุ ม ชนมี ส ่ ว นร่ ว ม จิ ต อาสาขยะแลกบุ ญ กระบวนการแรกเริ่มก่อนจะไปถึงไตรจีวร รีไซเคิล เริ่ม จากตั้ง “ถังแยกขยะ” ตั้งแต่หอฉันและตามจุดต่างๆ ภายใน วัด โดยแยกระหว่าง ขวดน�้ำ ถุงพลาสติก กล่องกระดาษ เศษ อาหาร ขยะทั่วไป เพื่อเป็นจุดแรกในการรองรับขยะจากผู้ที่เข้า มาท�ำบุญภายในวัด โดยมีกลุ่มจิตอาสาแม่บ้านชุมชนวัดจากแดง เป็ น ผู ้ คั ด แยกขยะ น� ำ ขวดพลาสติ ก ที่ ไ ด้ จ ากการทิ้ ง และการ บริจาคของคนในชุมชนมาล้างท�ำความสะอาด เพื่อคัดแยกฉลาก ฝา ออกจากกัน น�ำไปผึ่งลมให้แห้ง ก่อนรวมไว้ในกระสอบโดย ให้ขวดอยู่ในสภาพเดิม นางสาวปาริชาติ อุ่มล�ำยอง หัวหน้าคัดแยกขยะ กลุ่มจิต อาสาแม่บ้านชุมชนวัดจากแดง เล่าถึงกระบวนการว่า โครงการนี้จะมีการคัดแยกขยะในชุมชนวัดจากแดง เศษ อาหารจะน�ำมาท�ำน�้ำหมักชีวภาพ ทุกวันอาทิตย์จิตอาสาจะมา ร่วมกันออกบูธ เอาขยะมาแลกน�้ำหมักชีวภาพจากวัดจากแดง ซึ่งเรียกกันว่า “ขยะบุญ” หมายถึงขยะที่สะอาด แม่บ้านหรือผู้ ที่น�ำมาบริจาคจะทราบว่าขยะที่น�ำมาจะต้องล้างให้สะอาดก่อน น�ำมาบริจาค ไม่ว่าจะถุงพลาสติกหรือขวดน�้ำ ตามโครงการขยะ แลกบุญ ผู้ที่น�ำมาบริจาคจะได้รับน�้ำหมักชีวภาพไปใช้ เป็นน�้ำ เอนไซม์จากกรดผลไม้ ซึ่งกลุ่มจิตอาสาแม่บ้านชุมชนวัดจากแดง ร่วมกันท�ำ
“จุดเริ่มต้นของเศษอาหาร มาจากการคัดแยกที่เหลือ จากพระฉันบนศาลา โดยเราจะท�ำการแยกเป็น 6 ถัง จะเป็น ถังเศษอาหาร 2 ถัง ก็จะมีของเปียก พวกน�้ำ นอกนั้นจะเป็นถุง พลาสติก เป็นขวดน�้ำ เป็นกระดาษ สุดท้ายคือขยะทั่วไป เพราะ ขยะทั่วไปยังไงก็ต้องมี พวกสิ่งปฏิกูล กระดาษทิชชู่ หลังจากที่ เราได้เศษอาหารที่แยกแล้ว ก็เอามาเข้าเครื่องบด เพื่อให้มันมี ขนาดเล็ก ไปสู่กระบวนการท�ำเอนไซม์ เมื่อมันมีขนาดเล็กก็จะ ท�ำปฏิกิริยาได้เร็วขึ้น ตอนเย็นเราจะมาดูว่า เราใส่ไปปริมาณ เท่าไหร่ ถ้าเกิดเราใส่ไป 20 กิโลกรัม ก็จะเปิด 20 แต่เราจะ เปิดได้ต่อวันไม่เกิน 400 กิโลกรัม แต่ ณ ตอนนี้ เรายังไม่มีเศษ อาหารเยอะขนาดนั้น “ส่วนขวดพลาสติก เมื่อผู้บริจาคน�ำมาให้แล้ว เราจะน�ำ มายังจุดคัดกรอง เช่น ถุงพลาสติกประเภท ใส เหนียว สี ขุ่น คือ ประเภทที่ขายได้ จากนั้นไปยังจุดแพคกิ้ง กลุ่มแม่บ้านจะน�ำไป ชั่งกิโลฯ ก่อนน�ำไปไว้ยังโกดังรวบรวม รอทาง ปตท. มารับไป ผลิตเป็นม้วนผ้าจีวร ก่อนส่งกลับมาเข้าสู่กระบวนการตัดเย็บ เป็นไตรจีวร Recycle ต่อไป ขวดพลาสติก 10 ตัน จะได้ผ้า 30,000 หลา แกะฝาขวดออก เอาฉลากออก แหวนรองฝาเอา ออก ฝาขวดเอาไปท�ำเก้าอี้ ท�ำโต๊ะ แหวนรองฝาเอาไปท�ำเชื้อ เพลิง ใช้เฉพาะตัวขวดเปล่าท�ำจีวร” 65
issue 132 JANUARY 2019
ขยะ กั บ การพั ฒ นาจิ ต ใจ พระทิพากร อริโย วัดจากแดง ให้ข้อคิดเกี่ยวกับขยะและ การพัฒนาจิตใจไว้อย่างน่าสนใจว่า “จริงๆ มันไม่ใช่ขยะเลย ถ้า มีความรู้ มันคือทรัพยากรที่ถูกวางไว้ผิดที่ ถ้าเราวางเศษอาหารที่ เรากินไว้ในที่ที่เขาเอาไปท�ำปุ๋ยได้ เอาพลาสติกไว้ในที่ท�ำวัตถุดิบ ของพลาสติกได้ก็ได้ของกลับมาใช้ อันนั้นคือการใช้ของอย่างที่ เรียกว่าวางให้ถูกที่ “แต่ถ้าเริ่มจากก่อนนั้นคือท�ำยังไงจะไม่ให้เกิดขยะ ลด การใช้ได้ไหม หลอดที่เราเคยไม่ใช้ลดการใช้ได้ไหม ปฏิเสธการ รับได้ไหม ลดการใช้ขวดน�้ำที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้งได้ไหม ลดการ ใช้ถุงพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้งได้ไหม เราก็ต้องท�ำทั้งสอง ฝั่งทั้งต้นทางการเกิดขยะแล้วก็ปลายทางคือการเก็บ แต่ไม่ได้ หวังผลในแง่ของวัตถุภายนอกว่า อีก 3 เดือน หรืออีก 1 ปีวัด จะสะอาด นั่นเป็นเป้าหมายภายนอกที่ญาติโยมเขาไปตั้งกันเอง แต่เป้าหมายภายในของเราคือการพัฒนาจิตขึ้นไปเรื่อยๆ จาก การที่เรามีความละเอียดในการใช้ชีวิต “การเก็บขยะ คือการท�ำในสิ่งที่อยู่รอบตัวเราให้กลับ มามีชีวิต แต่เราก็ต้องกลับไปที่จิตนิสัยซึ่งนี่คือสิ่งที่พระพุทธเจ้า ท่านสอน เรื่องพัฒนาจิตพัฒนาคน ในการพัฒนาตัวนี้จะเป็นการ
พัฒนาที่ยั่งยืนแล้วคนท�ำก็จะมีความสุข แต่เรื่องของกฎระเบียบ เรื่องของกฎหมายเรื่องของสิ่งที่จะอยู่ร่วมกันเป็นเรื่องของทาง โลกที่ ต ้ อ งท� ำ ควบคู ่ กั น ไป คื อ พระก็ อ ยู ่ ใ นส่ ว นของพลั ง ที่ อ ยู ่ ภายในสนับสนุนให้คนท�ำแล้วรู้สึกชุ่มชื่นใจ ข้างนอกเป็นเรื่อง วัดผลจากการที่ท�ำแล้วเปลี่ยนแปลงอย่างไร “ในหลวงรัชกาลที่ 9 ท่านสอนว่าไม่ต้องรอให้ใครมา ช่วย เราเริ่มด้วยตัวเราเอง เป็นพลังที่ดีที่สุด เป็นพลังที่เกิดจาก การพึ่งพาตนเอง พอถึงวันหนึ่งเราก็จะมีคนเข้ามาช่วยมาร่วมกัน ถ้าเราขายขยะโดยไม่แยก ไม่ละเอียดพอ เราก็ขายได้ในราคา ถูก แต่ถ้าเราใช้ปัญญาสามารถแยกออก พลาสติกขวดใสๆ ก็ สามารถเป็นจีวรได้ เครื่องมือแยกขยะได้ดีที่สุดในโลกคือ ‘สอง มือเรา’ เพราะขยะเกิดจากมือของเรา” ทั้งหมดนี้ นอกจากจะเป็นการช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมให้ ดีขึ้นแล้ว ยังสามารถเพิ่มมูลค่าได้มากมายหากหลายฝ่ายเข้า มาร่วมมือกัน วัดจากแดงเป็นตัวอย่างในการแปรบุญให้เป็นรูป ธรรม เพราะทุกคนในชุมชนมีส่วนช่วยให้ขยะลดลงโดยการน�ำ มาบริจาคและขาย อีกทั้งคนในชุมชนยังได้ร่วมกันโอบอุ้มวัดให้ มีรายได้จากเศษขยะ หล่อเลี้ยงพระพุทธศาสนาทางอ้อมแทน การหยอดตู้บริจาค
66 IS AM ARE www.fosef.org
67 issue 132 JANUARY 2019
68 IS AM ARE www.fosef.org
ใบบัวเป็ นอาจารย์ท่ีดีมาก
พระอาจารย์ไพศาล วิสาโล ใบบั ว ไม่ เ คยหั น ไปทางที่ มื ด เลย มี แ ต่ หั น ไปทางที่ สว่างไสว ถ้าตรงไหนมืด เขาจะไม่หันไปเลยมีแต่จะหนีห่างตรง กันข้ามพระอาทิตย์ขึ้นตรงไหน ใบบัวก็จะหันไปทางนั้น ถ้าหูหรือตาของเราเหมือนกับใบบัว เราก็จะมีความสุข ทีเดียว อะไรที่ไม่ดีก็ไม่หันหูไปฟัง ไม่หันหน้าไปมอง รับฟังหรือ มองแต่สิ่งดีๆ ที่เป็นธรรมะ เวลามีเงาทาบทับใบบัวจะหนีเลย จะ เอนไปหาแสงสว่าง ไม่ยอมให้ความมืดเข้ามาครอบ แต่จะหันไป หาแสงสว่างตลอดเวลา ถ้าคนเราเรียนรู้จากใบบัว คือนอกจากเลือกมองเลือก ฟังแล้ว ยังพยายามหันจิตหันใจเข้าหาสิ่งดี หลีกเว้นความชั่ว หรือสิ่งที่เป็นอกุศลก็มีโอกาสเป็นสุขไปได้ครึ่งหนึ่งแล้วอีกครึ่ง หนึ่งจะมาจากไหน ก็มาจากการเปลี่ยนความทุกข์ให้กลายเป็น ความสุขเหมือนกับดอกบัวนั้นเอง ดอกบัวเกิดจากโคลนตม ใต้สระนี้เป็นโคลนตมทั้งนั้น แต่โคลนตมนี้แหละ ที่ท�ำให้เกิดดอกบัวที่สวยงาม เห็นแล้ว เบิกบานใจเห็นอย่างนี้แล้วเราก็น่าจะพัฒนาตนเองเพื่อฉลาด ในการเปลี่ยนทุกข์ให้เป็นสุขโคลนตมหนาแค่ไหน ดอกบัวก็ สามารถชูขึ้นมาจนพ้นน�้ำได้ แล้วถ้าระดับน�้ำสูงขึ้นเพราะฝน ตกเยอะจะท�ำอย่างไรแม้น�้ำจะท่วมจนมิดแต่ใบบัวและดอกบัว ก็ไม่ยอมนะ เขาจะยืดตัวขึ้นมาจนพ้นน�้ำให้ได้ บัวจะไม่ยอมจม อยู่ใต้น�้ำเลย คนเราถ้าไม่ยอมจมอยู่กับความทุกข์ ไม่ยอมจมอยู่กับ ความโกรธความเศร้า ชีวิตจะผ่องใสมาก เราต้องรู้จักยกจิต ออกมาจากอารมณ์ที่หม่นหมองให้ได้ พอยกออกมาได้จิตใจก็ จะปลอดโปร่งผ่องใสจะท�ำอย่างนั้นได้เราต้องหมั่นฝึกฝน ให้ ฉลาดในการกู้จิตออกจากอารมณ์ กู้ออกมาให้ได้ อย่าไปจมอยู่ กับมัน...”
คนเราถ้ า ไม่ ย อมจมอยู ่ กั บ ความทุ ก ข์ ไม่ ย อมจมอยู ่ กั บ ความโกรธความเศร้ า ชี วิ ต จะผ่ อ งใสมาก เรา ต้ อ งรู ้ จั ก ยกจิ ต ออกมาจากอารมณ์ ที่ ห ม่ น หมอง ให้ ไ ด้
69 issue 132 JANUARY 2019
การรีไซเคิล
กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลายคนอาจสงสั ย ว่ า ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง หรื อ 5 ค� ำ 5 ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน ได้ แ ก่ มี ค วามรู ้ มี คุ ณ ธรรม มี ค วามพอประมาณ มี เ หตุ ผ ล มี ภู มิ คุ ้ ม กั น เกี่ ย วข้ อ งยั ง ไงกั บ ชี วิ ต ประจ� ำ วั น ลองมายกตั ว อย่ า ง เรื่ อ งการรี ไ ซเคิ ล กั บ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ดั ง นี้ 70 IS AM ARE www.fosef.org
กล่าวคือ เรื่องสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่องของส่วนรวม หากทุก คนช่วยกันแยกขยะก่อนทิ้ง จะสะดวกต่อกระบวนการรีไซเคิล ต่อไปเพราะไม่ต้องเสียเวลา เสียแรงงานและงบประมาณในการ แยกขยะ นอกจากจะช่วยเรื่องความสะอาด สังคมน่าอยู่ ยังส่ง ผลถึงเศรษฐกิจอีกด้วย เพราะในปัจจุบัน ขยะมีมูลค่าหากใช้ ความรู้น�ำมาประยุกต์ใช้
5 ค�ำ 5 ข้อที่พ่อสอน กับ การรีไซเคิล ท�ำไมเราต้องแยกขยะ รักษาสิ่งแวดล้อม 1. มี ค วามรู ้ – รู ้ มู ล ค่ า รู ้ วิ ธี ท� ำ หากแยกขยะอย่างละเอียดจะทราบว่า ขยะแทบทุกชนิด มีราคาค่าตัว เช่น ขวดพลาสติกใส 1 ใบ มีราคาตั้งแต่ ฝา แหวน รองฝา ฉลาก ตัวขวดเปล่า แต่ละชิ้นส่วนน�ำไปรีไซเคิลได้หลาย อย่าง สามารถเพิ่มมูลค่าต่อได้อีก เช่น ขวดพลาสติกน�ำไปเป็น ส่วนผสมในการผลิตเสื้อผ้า เศษกระดาษน�ำไปอัดแท่งท�ำโต๊ะ เก้าอี้ เศษอาหารน�ำไปท�ำปุ๋ยและน�ำเอนไซน์ รวมถึงขยะบาง ประเภทสามารถน�ำมาท�ำงานศิลปะเพิ่มมูลค่าสูงกว่าตัวมันเอง หลายเท่า เช่น ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า, เครื่องจักร, เศษน็อตตะปู, ขวดแก้ว เหล่านี้ถูกน�ำมาสร้างหุ่นยนต์ตั้งโชว์ สร้างเครื่อง ประดับบ้าน ประดับอาคารและสถานที่ต่างๆ ซึ่งทั่วโลกให้ความ สนใจ แม้แต่ประเทศไทยเองก็มีผู้น�ำความรู้มาประกอบเรื่องนี้จน สามารถสร้างรายได้มากมาย
เรื่ อ งสิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น เรื่ อ งของส่ ว นรวม หากทุ ก คน ช่ ว ยกั น แยกขยะก่ อ นทิ้ ง จะสะดวกต่ อ กระบวนการ รี ไ ซเคิ ล ต่ อ ไปเพราะไม่ ต ้ อ งเสี ย เวลา เสี ย แรงงานและ งบประมาณในการแยกขยะ นอกจากจะช่ ว ยเรื่ อ ง ความสะอาด สั ง คมน่ า อยู ่ ยั ง ส่ ง ผลถึ ง เศรษฐกิ จ อี ก ด้ ว ย 2. คุ ณ ธรรม – ท� ำ เพื่ อ ส่ ว นรวม ต้นเหตุของการน�ำขยะมารีไซเคิล คือ การช่วยรักษา เยียวยาโลกที่ก�ำลังป่วยจากปัญหาโลกร้อน ซึ่งส่งผลกระทบ ต่อส่วนรวม นั่นหมายถึงคนทั้งโลก ไม่ใช่ประเทศใดประเทศ หนึ่ง โดยเริ่มจากการแยกขยะก่อนทิ้ง ซึ่งเป็นวิธีง่ายที่สุดที่ทุก คนสามารถท�ำได้ - เริ่มที่ตนเอง เป็นการช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ดิน น�้ำ อากาศ ธรรมชาติ ให้ทุกคนเป็นส่วนหนึ่งในการท�ำเพื่อ กั น และกั น ไม่ ใช่ ท� ำ เพื่ อ ตั ว เองอย่ า งเดี ย ว โดยเฉพาะผู้ผ ลิต อุตสาหกรรมต่างๆ เป็นตัวอย่างให้คนรุ่นหลังได้ค�ำนึงถึงผู้อื่น ในด้านของการรักษาสิ่งแวดล้อม 3. ความพอประมาณ – ใช้ เ ท่ า ที่ จ� ำ เป็ น คุ ้ ม ค่ า ขยะที่ก�ำลังล้นโลกในขณะนี้เกิดจากก�ำลังอุตสาหกรรม ในการผลิตเพื่ออุปโภคบริโภคอย่างขาดการยับยั้งช่างใจ ข้อมูล จากวารสาร Ward’s ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับวงการธุรกิจรถยนต์ ทั่วโลก เปิดเผยว่า ในปี 2011 มีรถยนต์ทุกประเภทวิ่งบนท้อง ถนนทั่วโลกถึง 1,000 ล้านคัน และข้อมูลจากมูลนิธิโลกสีเขียว เปิดเผยว่า อุตสาหกรรมการผลิตพลาสติกเติบโตขึ้นถึง 20 เท่า 71
issue 132 JANUARY 2019
ในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา ปัจจุบันมีปริมาณอยู่ที่ 311 ล้านตัน ต่อปี และคาดว่าจะสูงถึง 600 ล้านตันภายใน 20 ปีข้างหน้า แม้แต่น�้ำมันที่มีใช้อย่างจ�ำกัดและยังไม่มีสิ่งทดแทนได้อย่างเป็น รูปธรรม เหตุนี้ เพราะผู้คนใช้ชีวิตอย่างสะดวกสบายมานานจน ลืมว่าทรัพยากรต่างๆ ในโลกมีจ�ำนวนจ�ำกัด นั่นหมายถึงจะไม่ เหลือพอให้คนรุ่นหลัง สิ่งที่ท�ำได้ตอนนี้คือ ใช้เท่าที่จ�ำเป็น, ใช้ซ�้ำ, เช่น ขวดแก้ว กระดาษ พลาสติก เป็นต้น เพราะหากทุกคนยัง ใช้ทรัพยากรตามใจชอบอยู่ มนุษย์เองจะเป็นผู้รับผลกระทบจาก การกระท�ำของตัวเองโดยตรง
โรคภัยที่มาจากมลพิษ ส่งผลถึงแหล่งอาหาร แหล่งน�้ำ แหล่ง อากาศบริสุทธิ์ ซึ่งนับวันยิ่งน้อยลงทุกที จึงถึงเวลาแล้วที่ทุกคน จะช่วยกัน มีความละเอียดในการอุปโภคบริโภคเพื่อสิ่งแวดล้อม คิดก่อนใช้ คิดก่อนท�ำ คิดก่อนทิ้ง
5. มี ภู มิ คุ ้ ม กั น – เพื่ อ การพั ฒ นาในด้ า นอื่ น ๆ นอกจากการใช้ทรัพยากรเท่าที่จ�ำเป็น มีความละเอียด ในการอุปโภคบริโภค และการค�ำนึงถึงสภาพแวดล้อมซึ่งเป็น ของทุกคน การคัดแยกขยะถือเป็นต้นทางส�ำคัญในการดูแล รักษาโลกให้คงอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ที่สุด เพื่อคุณภาพในการ 4. มี เ หตุ ผ ล – รั ก ษาแหล่ ง อาหารที่ ดี ด� ำ รงอยู ่ ข องผู ้ ค นในปั จ จุ บั น และอนาคต เพราะหากสภาพ อันที่จริงแล้ว การคัดแยกขยะเพื่อรีไซเคิลไม่ได้มีเป้า แวดล้อมไม่ดี อากาศไม่ดี แหล่งน�้ำไม่ดี ดินไม่ดี ก็ไม่สามารถที่ หมายเพื่อการค้าหรือเศรษฐกิจ หากเกิดจากปัญหาโลกร้อน จะพัฒนาด้านอื่นๆ ต่อไปได้ ซึ่งปัจจุบันผลกระทบเริ่มใกล้ตัวคนเข้ามาเรื่อยๆ โดยเฉพาะใน กรุงเทพมหานคร อันเกิดจากมลพิษรถยนต์ การก่อสร้าง และ จะเห็ น ว่ า ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ไม่ ไ ด้ การละเลยเรื่องสิ่งแวดล้อม เช่น การทิ้งขยะลงแม่น�้ำล�ำคลอง จ� ำ กั ด อยู ่ เ ฉพาะการประหยั ด หรื อ การท� ำ การเกษตร การเผาขยะ และการเผาเพื่อท�ำเกษตรเชิงเดี่ยว ไม่เพียงแต่ พึ่ ง ตนเองเท่ า นั้ น หากยั ง น� ำ มาใช้ ไ ด้ กั บ ทุ ก เรื่ อ ง ไม่ ในประเทศไทย หากยังหมายถึงภาพรวมในประเทศต่างๆ ทั่ว ว่ า จะในระดั บ ภู มิ ภ าค ภู มิ ป ระเทศ หรื อ ในระดั บ โลก โลก เช่น มลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ผลที่ตามมาคือ รวมถึ ง ใช้ ไ ด้ กั บ ทุ ก เรื่ อ งในชี วิ ต ประจ� ำ วั น อี ก ด้ ว ย 72 IS AM ARE www.fosef.org
73 issue 132 JANUARY 2019
สถานีพัฒนาเกษตรที่สูงตามพระราชด�ำริ
บ้านสะจุก-สะเกี้ยง จ.น่าน 74 IS AM ARE www.fosef.org
70 เส้ น ทางตามรอยพระบาท โดย ททท. ย้อนไปในอดีตน่านประสบปัญหาป่าเสื่อมโทรม โดย เฉพาะอย่างยิ่งพื้นที่หมู่บ้านสะจุก-สะเกี้ยง ที่อยู่ในเขตป่าสงวน แห่งชาติดอยภูคา-ผาแดง ซึ่งเป็นพื้นที่ป่าต้นน�้ำส�ำคัญ สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชด�ำริให้ สร้างโครงการสถานีพัฒนาการเกษตรที่สูงขึ้นในหมู่บ้าน เพื่อให้ ความรู้เรื่องการท�ำนาแบบขั้นบันได เพื่อให้เหมาะกับภูมิประเทศ ท�ำให้เพิ่มผลผลิตและยังรายได้ที่มากขึ้นแก่ชาวบ้านและชาว เขาทุกคน บรรยากาศอบอุ่นของการมาเยือนสถานีพัฒนาเกษตร ที่สูงตามพระราชด�ำริบ้านสะจุก-สะเกี้ยง ก็คือภาพชาวบ้านยิ้ม แย้มแจ่มใสอย่างมีความสุข เพราะสามารถท�ำผลผลิตได้มาก ขึ้น ทางโครงการฯ ยังส่งเสริมให้ชาวบ้านปลูกพืชผักเมืองหนาว ที่นักท่องเที่ยวชื่นชอบ ไม่ว่าจะเป็น สตรอว์เบอร์รี่ ต้นหม่อน และผักปลอดสารพิษ และยังแนะน�ำการท�ำปศุสัตว์ในครัวเรือน อย่าง การเลี้ยงหมู ไก่ เป็ด แกะ และแพะ เพื่อเพิ่มรายได้ให้ กับครอบครัว
สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ ทรง มี พ ระราชด� ำ ริ ใ ห้ ส ร้ า งโครงการสถานี พั ฒ นาการ เกษตรที่ สู ง ขึ้ น ในหมู ่ บ ้ า น เพื่ อ ให้ ค วามรู ้ เ รื่ อ งการท� ำ นาแบบขั้ น บั น ได เพื่ อ ให้ เ หมาะกั บ ภู มิ ป ระเทศ ท� ำ ให้ เพิ่ ม ผลผลิ ต และยั ง รายได้ ที่ ม ากขึ้ น แก่ ช าวบ้ า นและ ชาวเขาทุ ก คน นับเป็นอีกหนึ่งสถานที่ที่นักท่องเที่ยวไม่ควรพลาด ยิ่งถ้า มาในฤดูเพาะปลูก จะพบเห็นหุบเขากว้างใหญ่ที่ท�ำการเกษตร แบบนาขั้นบันไดเป็นระเบียบสวยงาม ด้วยความเป็นภูเขาสูง สภาพอากาศจึ ง หนาวเย็ น เกื อ บตลอดทั้ ง ปี อาจจะเดิ น ทาง ล�ำบากสักนิด แต่ก็เป็นจุดหมายที่ท�ำให้ได้สัมผัสกับวิถีชีวิตพื้น บ้านของชาวเหนืออย่างแท้จริง ทริ ป ตั ว อย่ า ง 2 วั น 1 คื น เส้ น ทางท่ อ งเที่ ย ว จ.น่ า น
วันแรก
ภูฟ้า
ช่วงเช้า • ชมทะเลหมอก ดูดอกภูคาที่อุทยานแห่งชาติดอยภู ช่วงบ่าย • บ่อเกลือ ชมการต้มเกลือสินเธาว์แบบโบราณ • ศูนย์ภูฟ้าพัฒนา เรียนรู้วิถีชีวิตและวัฒนธรรมบริเวณ ช่วงเย็น • รับประทานอาหารเย็นที่ร้านปองชา
วันที่สอง
ช่วงเช้า • สถานีพัฒนาการเกษตรที่สูงบ้านสะจุก-สะเกี้ยง ชมวิถี เผ่าลัวะ สวนเกษตรปลอดสารพิษ 75 issue 132 JANUARY 2019
76 IS AM ARE www.fosef.org
ช่วงบ่าย • เดินทางกลับตัวเมืองน่าน • หมู่บ้านอยู่ห่างจากแนวชายแดนไทย-ลาว เพียง 2 กม. • เส้นทางการเดินทางค่อนข้างลาดชัน บางจุดก็เป็นถนน ขรุขระเป็นหลุมบ่อให้ระวังการขับขี่หากขับรถไปเอง • ที่พักของโครงการนั้น เปิดให้กับเจ้าหน้าที่และแขก ผู้มาติดต่อราชการเท่านั้น ที่ เ ที่ ย วห้ า มพลาด ทะเลหมอก งดงามกลางหุบเขา มักจะเกิดขึ้นยามเช้ามืด เห็นได้เกือบทุกวันชมนาขั้นบันไดไหล่เขาระหว่างการเดินทาง มีนาขั้นบันไดอวดโฉมอยู่เป็นระยะจุดชมวิว ช่องเขาขาดชมวิว หุบเขาที่กว้างใหญ่ไพศาล (ระหว่างทางก่อนถึงโครงการ) กิ จ กรรมห้ า มพลาด • เล่นกับแกะขนฟูแบบใกล้ชิดปราศจากรั้วกั้น • ชิมสตรอว์เบอร์รี่ ที่ปลูกโดยชาวบ้านในพื้นที่ เป็น ผลผลิตของโครงการ
บรรยากาศอบอุ ่ น ของการมาเยื อ นสถานี พั ฒ นา เกษตรที่ สู ง ตามพระราชด� ำ ริ บ ้ า นสะจุ ก -สะเกี้ ย ง ก็ คื อ ภาพชาวบ้ า นยิ้ ม แย้ ม แจ่ ม ใสอย่ า งมี ค วามสุ ข เพราะสามารถท� ำ ผลผลิ ต ได้ ม ากขึ้ น สถานี พั ฒ นาเกษตรที่ สู ง ตามพระราชด� ำ ริ บ ้ า นสะจุ ก สะเกี้ ย ง บ้านสะจุก หมู่ 7 และบ้านสะเกี้ยง หมู่ 8 ต.ขุนน่าน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.น่านโทร. 08 4818 1008 เปิดให้เข้าชม : ทุกวัน 08.30-17.00 น. ฤดู ท ่ อ งเที่ ย ว : สิ ง หาคม-กั น ยายน (เที่ ย วฤดู ฝ นดู น าข้ า ว) พฤศจิ ก ายน-กุ ม ภาพั น ธ์ (เที่ยวหน้าหนาว) การเดิ น ทาง จากตัวเมืองวิ่งออกมาตามทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1169 วิ่งตามทางไปประมาณ 37 กม. จะสุดทางให้เลี้ยวขวา เข้าถนนลอยฟ้า 1081 อ�ำเภอสันติสุข-อ�ำเภอบ่อเกลือ ตรงไป จนผ่านอุทยานแห่งชาติขุนน่านแล้วมุ่งตรงไปอีกประมาณ 44 กม. เพื่อเข้าสู่หมู่บ้านสะจุก Lat. :19.489554 Long. :101.155389 77
issue 132 JANUARY 2019
แกนน�ำเยาวชนจิตอาสาครอบครัวพอเพียง ที่ผ่านการคัดเลือกรอบ PORTFOLIO (ยื่นผลงาน) สู่รั้วมหาวิทยาลัย
นางสาวฐิ ต าภา บั่ น ยี่ เ ฉ้ ง โรงเรียนสตรีระนอง มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะนิติศาสตร์
นายชาคริ ต วงหาแทน โรงเรียนปิยะมหาราชาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาภาษาตะวันออก เอกวิชาภาษาญี่ปุ่น
78 IS AM ARE www.fosef.org
สั ง คมคนดี
นายปั ญ ญากร อุ ท กโยธะ โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ คณะเภสัชศาสตร์
นางสาวปริ น ทรณ์ เทพกู ล โรงเรียนปิยะมหาราชาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ศึกษา
นางสาวพิ ม พ์ พ จิ แก้ ว วงศ์ โรงเรียนสตูลวิทยา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิชาทรัพยากรประมง 79 issue 132 JANUARY 2019
ค่ายส่งเสริมศักยภาพความเป็ นผู ้น�ำ จังหวัดมุ กดาหาร ในวันที่ 11 มกราคม 2562 มูลนิธิครอบครัวพอเพียงร่วมกับ โรงเรียนมุกดารหาร ได้จัดกิจกรรมค่ายขยายเครือข่ายโรงเรียน คู่มิตรในจังหวัดมุกดาหาร ส่งเสริมศักยภาพความเป็นผู้น�ำ และอบรมเรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้กับนักเรียนและ คุณครูในจังหวัด โดยได้รับความร่วมมือจากโรงเรียนเครือข่ายในจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ โรงเรียนปิยะมหาราชาลัย, โรงเรียนกาฬสินธุ์ พิทยาสรรพ์ ในการเป็นผู้ช่วยด�ำเนินการวางแผนและจัดกิจกรรม รวมโรงเรียนที่ร่วมกิจกรรมทั้งหมด 20 โรงเรียน กว่า 310 คน ในวันที่ 11-13 มกราคม 2562 ณ โรงเรียนมุกดาหาร จ�ำนวน 20 โรงเรียน 310 คน ได้แก่ 11. โรงเรียนดงเย็นวิทยาคม 12. โรงเรียนดงหลวงวิทยา 13. โรงเรียนดอนตาลวิทยา 14. โรงเรียนนาโสกวิทยาคาร 15. โรงเรียนนวมินทราชูทิศ อีสาน 16. โรงเรียนหนองแวงวิทยาคม 17. โรงเรียนปิยะมหาราชาลัย 18. โรงเรียนร่มเกล้าพิทยาสรรค์ 19. โรงเรียนแวงใหญ่พิทยาสรรค์ 20. โรงเรียนมุกดาวิทยานุกูล
1. โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์ 2. โรงเรียนกกตูมประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษก 3. โรงเรียนค�ำชะอีพิทยาคม 4. โรงเรียนค�ำชะอีวิทยาคาร 5. โรงเรียนค�ำบกวิทยาคาร 6. โรงเรียนค�ำป่าหลายสรรพวิทย์ 7. โรงเรียนค�ำสร้อยพิทยาสรรค์ 8. โรงเรียนชัยปัญญาวิทยานุสรณ์ 9. โรงเรียนโชคชัยวิทยา 10. โรงเรียนดงมอนวิทยาคม
80 IS AM ARE www.fosef.org
Round About
กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ ณ ชุ มชนหัวรถจักรตึกเเดงบางซื่ อ, สภากาชาดไทย, ลานกีฬาพัฒนา 2 วันที่ 12 มกราคม 2562 แกนน�ำเยาวชนครอบครัว พอเพียงร่วมจัดกิจกรรมงานวันเด็กเเห่งชาติ 3 สถานที่ได้แก่ ชุมชนหัวรถจักรตึกเเดงบางซื่อ กิจกรรมงานวันเด็กเเห่งชาติ ณ สถานเสาวภา สภากาชาดไทย
ครอบครั ว พอเพี ย งโรงเรี ย นศึ ก ษานารี วิ ท ยา ศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพียงโรงเรียนสายน�้ำผึ้ง ในพระอุปถัมภ์ฯ ศูนย์ครอบครัวพอ เพียงโรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง ศูนย์ครอบครัว พอเพี ย งโรงเรี ย นสตรี น นทบุ รี ศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพี ย งโรง เรียนพหฤทัยนนทบุรี ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนสระบุรี วิ ท ยาคม ศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพี ย งระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ศู น ย์ ครอบครัวพอเพียงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ครอบครัว พอเพียงมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ศูนย์ครอบครัวพอเพียง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วันที่ 12 มกราคม 2562 แกนน�ำครอบครัวพอเพียง ร่วมจัดกิจกรรมงานวันเด็กเเห่งชาติ ร่วมกับกลุ่ม ซ.โซ่อาสา ณ ชุมชนหัวรถจักรตึกเเดงบางซื่อ โดยนักเรียนเเกนน�ำจาก ศูนย์ ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค์ ศูนย์ครอบครัว พอเพียงโรงเรียนทวีธาภิเศก ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียน บดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) นนทบุรี ศูนย์ครอบครัวพอเพียง ระดับอุดมศึกษา ศูนย์ครอบครัวพอเพียงมหาวิทยาลัยแม่ฟ้า หลวง ศูนย์ครอบครัวพอเพียงมหาวิทยาลัยแสตมฟอร์ด
กิ จ กรรมวั น เด็ ก แห่ ง ชาติ ณ ลานกี ฬ าพั ฒ นา 2 กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ ณ ลานกีฬาพัฒนา 2 เขต ราชเทวี วันที่ 12 มกราคม 2562 แกนน�ำครอบครัวพอเพียง ร่วมจัดกิจกรรมงานวันเด็กเเห่งชาติโดยนักเรียนเเกนน�ำจาก ศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพี ย งโรงเรี ย นสตรี วั ด อั ป สรสวรรค์ ศู น ย์ ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนทวีธาภิเศก ศูนย์ครอบครัวพอเพียง โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) 2 ศูนย์ครอบครัวพอ เพียงโรงเรียนเบญจมราชาลัย ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียน รั ต นาธิ เ บศร์ ศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพี ย งโรงเรี ย นวั ด ราชาธิ ว าส ศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพี ย งโรงเรี ย นสวนกุ ห ลาบวิ ท ยาลั ย ศู น ย์ ครอบครั ว พอเพี ย งโรงเรี ย นสตรี น นทบุ รี ศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพียงโรงเรียนมัธยมประชานิเวศน์ ศูนย์ครอบครัวพอเพียง ระดับอุดมศึกษา ชมรมศูนย์ครอบครัวพอเพียงมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ชมรมศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพี ย งมหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ชมรมศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพี ย งมหาวิ ท ยาลั ย ราชภัฏสวนสุนันทา ชมรมศูนย์ครอบครัวพอเพียงสถาบันการ พยาบาลศรี ส วิ น ทิ ร าสภากาชาดไทย ชมรมศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพียงมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ชมรมศูนย์ครอบครัวพอเพียง มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ชมรมศูนย์ครอบครัว พอเพียงมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
งานวั น เด็ ก แห่ ง ชาติ ณ สภากาชาดไทย กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ ณ สภากาชาดไทย วันที่ 12 มกราคม 2562 แกนน�ำครอบครัวพอเพียงออกบูธกิจกรรมงาน วันเด็กเเห่งชาติณสถานเสาวภาสภากาชาดไทย โดยนักเรียน เเกนน�ำจาก ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนปทุมคงคา ศูนย์ 81
issue 132 JANUARY 2019
82 IS AM ARE www.fosef.org
เว็ปไซต์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดีๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี
www.fosef.org 83
issue 132 JANUARY 2019
นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง พร้อมเสริพ์ให้ทุกท่านได้อ่านแล้ว!! เพี ย งแค่ ค ลิ ก เข้ า ไปที่ www.fosef.org ท่ า นก็ ส ามารถอ่ า นนิ ต ยสาร IS AM ARE ครอบครั ว พอเพี ย ง ได้ โ ดยไม่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ย เรื่ อ งราว สาระดี ๆ มากมายรอท่ า นอยู ่ หากอ่ า นแล้ ว ถู ก ใจอย่ า ลื ม บอกต่ อ นะครั บ 84 IS AM ARE www.fosef.org