Isamare july59 web

Page 1

IS AM ARE

ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ โ รงเรี ย นคุ ณ ธรรม ในเขตพระนคร เปิ ด ห้ อ งศิ ล ปะโรงเรี ย นสตรี ศ รี สุ ริ โ ยทั ย

อาจารย์ สุทัศน์ ตั้งฮั่น

“มนุ ษ ย์ ยิ่ ง ใหญ่ ม าก ยอมสละอ� ำ นาจ ของตั ว เองเพื่ อ อยู ่ ภ ายใต้ ก ฎหมาย”

ศาสตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณ 1 issue 102 july 2016

ฉบับที่ 102 กรกฎาคม 2559 www.fosef.org


เว็ปไซต์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดี ๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช่ จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี

www.fosef.org 2

IS AM ARE www.ariyaplus.com


“การใช้จ่ายอย่างประหยัดนั้น จะเป็นหลักประกันความสมบูรณ์พูนสุข ของผู ้ ป ระหยั ด เอง และครอบครั ว ช่ ว ยป้ อ งกั น ความขาดแคลนในวั น ข้ า งหน้ า การประหยัดดังกล่าวนี้จะมีผลดีไม่เฉพาะแก่ผู้ที่ประหยัดเท่านั้น ยังเป็นประโยชน์ แก่ประเทศชาติด้วย” พระราชด� ำ รั ส ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เนื่ อ งในวั น ขึ้ น ปี ใ หม่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๐๒ 3 issue 102 july 2016


Editorial

..ผ่านไปแล้วครึ่งปี หรือ ๑๘๓ วัน กับคนบางคนจะร้องว่า โอโฮ ! เวลาท�ำไมเดินช้าจัง และถ้าถามว่า “อ้าว ! ท�ำไมถึงบอกว่า เวลาเดินช้าล่ะ” ผู้ถูกถามก็จะตอบว่า “ที่ว่าเวลาเดินช้าก็เพราะว่า อยากจะให้ถึงสิ้นปีเร็วๆ จะได้รับโบนัสประจ�ำปี หรือเงินพิเศษ ประจ�ำปี ไงละ” แต่ก็มีคนอีกจ�ำพวกหนึ่ง ซึ่งก็ไม่ใกล้ ไม่ไกล จากตัว บ.ก.นี่ล่ะ ที่ มีเสียงร้องอย่าง แผ่วเบา ว่า “หมดเวลาไปแล้ว ครึ่งปี ยังช่วย เหลือครอบครัว หลายๆ ครอบครัวให้พ้นจากความเดือดร้อนไม่ได้เลย” “ความเดือดร้อน” ที่หมายถึง เช่น ไม่มีเงินจ่ายค่าเทอมให้ลูก ไม่มีเงินใช้หนี้ ที่กู้มาให้ลูกเรียนหนังสือ ไม่มีเงินจ่ายค่าการยืนยัน สิทธิ์ เพื่อการศึกษาหลังจากที่สอบเอ็นทรานส์ติดและมหาวิทยาลัยประกาศรายชื่อมาแล้วว่าสอบติดหรือแม้แต่ ไม่มีเงินจ่ายค่าเรียนพิเศษ ให้ลูก ตามที่ลูกร้องขอ ว่าต้องเรียน “ความเดือดร้อน” ของประชาชนบางครอบครัว ถึงขนาดที่ว่า คงส่งให้ลูกไปเรียนหนังสือต่อไม่ได้แล้ว ถ้าพูดเรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับคนที่ยังล�ำบาก เป็นเรื่องที่พูดได้ ยาก และถ้าพูดว่า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนี้ล่ะ ที่จะท�ำให้คนที่ล�ำบาก หลุดพ้นจากความล�ำบาก ได้ เป็นเรื่องที่ ยากกว่า ต่อให้อีก ร้อยปี พันปี ครอบครัวพอเพียง ก็ไม่มีวันตาย ปี ๒๕๕๙ เป็นปีก�ำเนิดศูนย์ครอบครัวพอเพียง เมื่อศูนย์ที่ ๑ เริ่มต้นได้ อย่างแข็งแรง และมั่นคง จะมีศูนย์ที่ ๒, ศูนย์ ที่ ๓ และอีกหลายศูนย์ที่จะเติบโต และยิ่งได้เห็น แนวทางการพัฒนาประเทศของรัฐบาล ชั่วคราว ที่มีท่าน พลเอก ประยุทธ จันทร์โอชา นั่งเป็น นายกรัฐมนตรี และประกาศ การพัฒนาประเทศ เป็น ๔.๐ แล้ว ยิ่งท�ำให้นึกถึงว่า อ้าว ! ท่าน ประยุทธ มารับรู้การท�ำงานของมูลนิธิครอบครัวพอเพียงตั้งแต่เมื่อไรกัน ถึงปีนี้ เราท�ำมาแล้ว แค่ ปีที่ ๙ เพียงแต่สิ่งที่เราท�ำนั้น เราท�ำได้เพียงเป็นจุดเล็กๆ ของการพัฒนาประเทศเท่านั้น เอง แต่เป้าหมายเราใหญ่ คือประเทศ เห็น ๔.๐ ของรัฐบาล ชุดนี้แล้ว ท�ำให้เรานึกถึงความมั่นคงของตึก ตึกที่สูงตระหง่าน และมีเสาเข็มที่ได้มาตราฐาน แข็งแรง ตรงสเป็คการก่อสร้าง ครบตามจ�ำนวนที่วิศวะกรออก แบบ และมีการเฝ้าระวังติดตามการวางฐานรากอย่างเข้มงวด ดีใจที่จะได้เห็นตึกนี้ สวยงามและ มีความมั่นคง ผู้ที่ได้อยู่อาศัยภายในตึกนี้ก็จะมีความสุขและพึ่งพาตนเองได้จริง และขอภาวนาต่ออีกนิด ขอแค่คนที่คุมการวางรากฐานของตึกนี้ อย่าปิดตา ข้างใด ข้างหนึ่ง หรือท�ำเป็นมองไม่เห็นเมื่อเวลาที่ช่างก่อสร้างก�ำลังท�ำร้าย หรือท�ำลายเสาเข็ม บาง ต้นเลย เท่านั้นเอง.

4 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Contributors

มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล พลเอก ดร.ศรุต นาควัชระ ดร.เทอดศักดิ์ เจียมกิจวัฒนา นางสุชานี แสงสุวรรณ นายธนพร เทียนชัยกุล นายณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ ดร.วรวุฒิ แสงเฟือง นางสาวเอื้อมพร นาวี นายเอกรัตน์ คงรอด ผศ.ดร.ปรีชาพร สุวัฒโนดม นายอภีม คู่พิทักษ์ นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ นางอรปภา ชาติน�้ำเพ็ชร นางรจนา สินที นายธงชัย วรไพจิตร นายภูริวิทย์ จงนิรักษ์

ประธานกิตติมศักดิ์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและเลขาธิการ กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

นิตยสารครอบครัวพอเพียง ประธานกิตติมศักดิ์ : คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ : พล.อ.จรัล กุลละวณิชย์ ประธานด�ำเนินการ : ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล บรรณาธิการ : กรวิก อุนะพ�ำนัก กองบรรณาธิการ : อภีม คู่พิทักษ์

ศิลปกรรม : ส�ำนักงาน :

โทรศัพท์ : โทรสาร : เว็ปไซต์ :

Let’s

Start

พิชัยยุทธ ชัยไธสง เอกรัตน์ คงรอด นิตยสารครอบครัวพอเพียง 663 ซอยพหลโยธิน35 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 0-2939-5995 0-2939-5996 www.ariyaplus.com www.fosef.org

and Enjoy!

5 issue 102 JULY 2016


Hot Topic

60 50

เศรษฐกิจพอเพียง... เข้าใจใหม่ ใช้ได้จริง

เปิ ดห้องศิลปะ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย อาจารย์ สุทัศน์ ตัง้ ฮั่น

30

มนุษย์ย่ิงใหญ่มาก ยอมสละอ�ำนาจ ของตัวเองเพื่ออยู ่ภายใต้กฎหมาย ศาสตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณ

Don’t miss

12

20 18 22 72 6 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Table Of Contents

มนุษย์ยิ่งใหญ่มาก ยอมสละอ�ำนาจ ของตัวเองเพื่ออยู่ภายใต้กฎหมาย

ศาสตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณ

7 issue 102 JULY 2016

ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รู้จัก...บางกระเจ้า เด็กก่อนค่าย...เด็กลังค่าย ตัวไกล...หัวใจอยู่ใกล้ เศรษฐกิจพอเพียงในสองมิติ Dhamma Today น่าเสียดาย... กระจกส่องใจ ผู้หญิง VS สิทธิสตรี Cartoon Cover Story มนุษย์ยิ่งใหญ่มาก ยอมสละอ�ำนาจของตัวเอง เพื่ออยู่ภายใต้กฎหมาย ศาสตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณ Is Am Are ต�ำบลนาบอน จังหวัดกาฬสินธุ์ ต�ำบลแห่งการรู้ตน สู่ถนนความพอเพียง Let’s Talk เปิดห้องศิลปะโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย มูลนิธิชัยพัฒนา เศรษฐกิจพอเพียง...เข้าใจใหม่ ใช้ได้จริง Wheel Of Life บทความพิเศษ ศูนย์การเรียนรู้โรงเรียนคุณธรรมในเขตพระนคร Round About

8 12 18 20 22 26

30 40 50 60 68 72 80


รู้จัก.....บางกระเจ้า คุ ้ ง น�้ ำ บางกระเจ้ า ...เป็ น ชื่ อ ของพื้ น ที่ ค ล้ า ยกระเพาะหมู ซึ่ ง ถู ก โอบล้ อ มรอบโดยแม่ น�้ ำ เจ้ า พระยากว่ า 85% มี เนื้ อ ที่ ป ระมาณ 11,819 ไร่ ประกอบด้ ว ย 6 ต� ำ บล คื อ ต� ำ บลทรงคนอง บางยอ บางกระสอบ บางกะเจ้ า บางน�้ ำ ผึ้ ง และบางกอบั ว ของอ� ำ เภอพระประแดง สมุ ท รปราการ พื้ น ที่ นี้ ถู ก ประกาศให้ เ ป็ น พื้ น ที่ สี เ ขี ย ว ตั้ ง แต่ 14 กั น ยายยน 2520 โดยกฏหมายผั ง เมื อ งและกฏหมายควบคุ ม อาคาร ในแต่ ล ะปี ล มตะวั น ตกเฉี ย งใต้ จะพั ด เอาออกซิ เ จนและความชุ ่ ม ชื้ น จากโอเอซิ ส กลางกรุ ง เทพแห่ ง นี้ เ ข้ า สู ่ ก รุ ง เทพมหานคร ถึ ง 9 เดื อ น มี ร ะยะห่ า งจากสี ล มเพี ย ง 5 กิ โ ลเมตร แม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาซี ก ตรงข้ า มคื อ ฝั ่ ง สาธุ ป ระดิ ษ ฐ์ พระรามสามและคลองเตย ที่ ส� ำ คั ญ อี ก อย่ า งบางกะเจ้ า ก� ำ ลั ง กลายเป็ น “เส้ น ทางในฝัน....ที่น่าลิ้มลอง” ของนักปั่นจักยาน ผมไม่ มี ข ้ อ มู ล มากนั ก ในภาพรวมเกี่ ย วกั บ การ ท่องเที่ยวของบางกระเจ้า แต่พื้นที่ดังกล่าวนี้มีการเปลี่ยนแปลง อยู่ตลอดเวลาโดยเฉพาะการสนับสนุนจากส่วนราชการต่างๆ และภาคเอกชน ( ปตท. และการท่าเรือ ) ในการจัดท�ำแผน

ในปี 2549 นิตยาสาร Time Asia ได้ยกย่องให้พื้นที่ คุ้งน�้ำบางกระเจ้าแห่งนี้เป็นปอดกลางเมืองที่ดีที่สุดในเอเซีย แห่งหนึ่ง ( The Best Urban Oasis of Asia 2006 ) ชาวบ้าน แถวนั้นบอกว่าคุ้งน�้ำแห่งนี้เคยเป็นพื้นที่สามน�้ำ ( เพราะมีทั้งน�้ำ ทะเล, น�้ำกร่อยละน�้ำจืดสลับกันไป ) แต่ทุกวันนี้สภาพแวดล้อม เปลี่ยนไปท�ำให้ส่วนใหญ่เป็นน�้ำเค็มและน�้ำกร่อย 8

IS AM ARE www.ariyaplus.com


นพ. วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ ที่ปรึกษาส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

www.nhso.go.th

2.ถ้ า อยากปั ่ น สบายๆรถน้ อ ยๆ ควรไปวั น ธรรมดา เพราะเสาร์อาทิตย์รถจะเยอะหน่อยแต่ตลาดน�้ำจะเปิดเฉพาะ เสาร์ อ าทิ ต ย์ เ ท่ า นั้ น นอกจากนี้ ถ ้ า หากหลายท่ า นไม่ อ ยาก ปวดหัวกับที่จอดรถวันหยุดก็สามารถจอดรถไว้แถวคลองเตย นอก หรือวัดบางนานอกแล้วลงเรือข้ามแม่น�้ำเจ้าพระยาไป สะดวกดี 3.เส้นทางปั่นจักยานมีหลายเส้นทางมาก ชมรมจักยาน บางกะเจ้าเคยท�ำไว้มี 3 ทางหลักให้เลือก ( สนใจสามารถเปิด Web Site ของชมรม หรือติดต่อสอบถามที่ลุงกุล ประธาน ชมรมได้ ) เส้นทางมีทุกรูปแบบ แต่ 95% เป็นทางปูนและ ลาดยางถ้าปั่นทั้งวันได้ 50-60 กม. รอบคุ้งน�้ำ และจอดพักได้ เป็นระยะ 4.ส�ำหรับคนที่ปั่นจักยานยังไม่แข็ง ไม่เก่ง อาจต้อง ระวังนิดหนึ่ง บริเวณสวนป่าและทางปูนเพราะค่อนข้างแคบ รถจักยานต้องหลบกัน นอกจากนี้บางช่วงมีคราบตะไคร่เขียว ซึ่งอาจลื่นตกลงในป่าจาก หรือตกน�้ำได้ นับวัน....คนกรุงเทพและคนที่อื่น ไปเที่ยวบางกระเจ้า กันมากขึ้น สวนศรีนครเขื่อนขันธ์ ถือเป็นสวนสาธารณะที่มี ความเป็นป่ากลางกรุงที่สมบูรณ์มาก เป็นธรรมชาติและร่มรื่น กว่ า สวนจตุ จั ก ร สวนรถไฟ หรื อ สวนไหนๆในกรุ ง เทพและ ปริมณฑล ด้วยความจ�ำกัดด้านภูมิศาสตร์และโครงสร้างพื้นฐาน หลายอย่าง การรองรับนักท่องเที่ยวไม่ไหว น่าจะเป็นปัญหา ส่วนใหญ่ของชุมชนในอนาคต ถนนหลายเส้นยังไม่ค่อยเหมาะ กับการปั่นจักยานนัก การจัดการกับขยะที่พอกพูนขึ้นทุกวัน ไปจนถึงวิถีชุมชนเกษตร สวนดั้งเดิมที่ก�ำลังเปลี่ยนไป เพราะ กระแสทุนนิยมที่ก�ำลังหลั่งไหลเข้าไปในพื้นที่ เ ร า ต ้ อ ง ช ่ ว ย กั น ดู แ ล แ ล ะ ใ ส ่ ใ จ คุ ้ ง น�้ ำ บางกระเจ้ า กั น ให้ ม ากๆ เพราะเป็ น ของดี มี ค ่ า ที่ ต ้ อ ง หวงแหนอนุ รั ก ษ์ กั น อย่ า งเป็ น ระเบี ย บแผน และเอา จริ ง เอาจั ง จากทุ ก ๆฝ่ า ย

แม่บท และการพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่สม บรูณ์ในหลายๆด้าน นับตั้งแต่การออกกกฏหมายห้ามก่อสร้าง ตึกสูงเกิน 3 ชั้น ห้ามหมู่บ้านจัดสรร การเตรียมย้ายโรงงานอุ สาหกรรมที่มีอยู่ตรงช่วงกระเพาะหมู และใกล้ๆสะพานภูมิพล การพัฒนาสวนสาธารณะ การพัฒฐนาส่วนป่าการปลูกต้นไม้ ขณะนี้ก�ำลังมีการสร้างสวนพฤกชาติใหม่อีกแห่งที่บริเวณวัด จันทร์แดง เนื้อที่ 48 ไร่ นอกเหนือจากสวนศรีนครเขื่อนขันขี ของเดิมซึ่งมีเนื้อที่ 200 ไร่อยู่เดิมแล้ว สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วที่ โ ดดเด่ น ของบางกะเจ้ า คื น สวน ศรีนครขันช์ (ซึ่งสมบรูณ์มาก) ทราบมาว่าพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา เสด็จมาทรงปั่นจักยานแล้วหลายครั้ง และนักท่องเที่ยวต่างชาตินิยม สวนป่าเกดน้อมเกล้า ที่มีเส้น ทางมรดกไว้ปั่นจักยาน พิพิธภัณฑ์ปลากัดไทย บ้านธูปหอม ใคร ที่ชอบเข้าวัดแนะน�ำวัดไพชยนต์พลเสพย์ราชวรวิหารที่มีศิลป จีนมอญไทยผสมผสานกัน ใครอยากดูคลองลัดโพธิ์ที่พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชด�ำริให้ขุดลอก (ส่วนระยะทาง น�้ำไหลของแม่น�้ำเจ้าพระยา) ก็ไปอีกไม่ไกล และที่ขาดเสียไม่ ได้คือตลาดน�้ำบางน�้ำผึ้ง ที่อลังการไปด้วยอาหารให้ลิ้มลองชิม มากมายในวันเสาร์อาทิตย์

ผมขอพู ด เรื่ อ งการปั ่ น จั ก ยาน ที่ ก� ำ ลั ง เป็ น กระแส แรงมากๆ บนคุ้งน�้ำบางกระเจ้าหน่อยแล้วกัน เผื่อท่านหลาย ท่านที่อ่านและสนใจเรื่องนี้ 1.ร้านที่เช่าจักยานมีมากมาย ราคาไม่แพง ส่วนใหญ่ เป็นจักยานแม่บ้านแต่บางร้านก็มีเสื้อภูเขาด้วย จักยานเสือ หมอบไม่แนะน�ำเพราะบางพื้นที่ถนนขรุขระ และส่วนใหญ่ ท�ำความเร็วไม่ได้ เท่าที่สักเกตุประมาณ 50 % เป็นจักยานที่ น�ำกันไปเอง มีคนจูงจักยานข้ามเรือเยอะมากในช่วงวันเสาร์อาทิตย์

บริการข้อมูล ให้ค�ำปรึกษาการใช้ สิทธิหลักประกันสุขภาพ ตรวจสอบสิทธิการรักษาพยาบาล รับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ ประสานงานส่งต่อผู้ป่วยเพื่อเข้ารับการรักษา

9 issue 102 july 2016


“การรู้จักประมาณตน ได้แก่ การรู้จักและยอมรับว่าตนเองมีภูมิปัญญาและความสามารถ ด้านไหน เพียงใด และควรจะท�ำงานด้านไหน อย่างไร การรู้จักประมาณตนนี้ จะท�ำให้คนเรารู้จักใช้ ความรู้ความสามารถที่มีอยู่ได้ถูกต้อง เหมาะสมกับงาน และได้ประโยชน์สูงสุดเต็มตามประสิทธิภาพ ทั้งยังท�ำให้รู้จักขวนขวายศึกษาหาความรู้และเพิ่มพูนประสบการณ์อยู่เสมอ เพื่อปรับปรุงส่งเสริม ศักยภาพที่มีอยู่ในตนเองให้ยิ่งสูงขึ้น” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๔๑ 10 IS AM ARE www.ariyaplus.com


กว่า 8 ปีที่ผ่านมา IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง ได้น�ำบทความ บท สั ม ภาษณ์ สรรสาระที่ ม ากด้ ว ยความรู ้ และความบันเทิง ความสุขมากมายที่ได้ รับจากการอ่านนิตยสารเพื่อสังคมฉบับ นี้ เพื่อเป็นการตอบแทนท่านผู้อ่านและ สมาชิกที่น่ารักทุกท่าน ตั้งแต่ฉบับนี้เป็นต้นไป บก.จะแจกของ สมนาคุณเล็กๆแก่ผู้ที่ตอบแบบสอบถามกันเข้ามา ของสมนาคุณที่ ว่าคือ ปากกา SHEEFER จ�ำนวน 3 รางวัล พร้อมสลักชื่อ-นามสกุล เรี ย บร้ อ ย ซึ่ ง ค� ำ ถามในฉบั บ นี้ คื อ ความรู ้ ที่ ไ ด้ จ ากบทความ “รู้จัก...บางกระเจ้า” หน้า 8-10 จากส�ำนักงานหลักประกัน สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ ในฉบั บ ที่ ปรากฏ แล้ ว ตั ด ส่ ง มากั น นะ ค่ะ ในฉบับหน้าของสมนาคุณ อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามค�ำ เรียกร้องของคนขี้เหงา ซึ่งน่า จะเป็น Furby เพื่อนช่างคุย ของเราเอง แล้ ว พบกั น ใหม่ ฉบับหน้านะค่ะ

ร่วมตอบค�ำถามชิงปากกา SHEFFER

ส่งมาที่นิตยสารครอบครัวพอเพียง เลขที่ 663 ซอยพหลโยธิน 35 แยก 9 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 02-939-5995 www.ariyaplus.com แบบประเมินความพอใจผู้อ่าน 1. เนื้อหาเรื่อง รู้จัก...บางกระเจ้า

1

2

3

4

5

-ให้ความรู้และมีสาระตามที่คาดหวัง -บทความมีความน่าสนใจและเป็นประโยชน์ -บทความจุดประกายความคิดสร้างสรรค์ -บทความสร้างความตระหนักในเรื่องคุณธรรม 2.รูปเล่ม -มีการออกแบบที่สวยงาม ทันสมัย -จัดเนื้อหาเป็นหมวดหมู่ อ่านง่าย -ภาพประกอบและการน�ำเสนอน่าสนใจ 3.ข้อเสนอแนะ

สายตรง กรมสงเสริมการสงออก

1.ไม่เป็นที่พอใจ 2. ควรปรับปรุง 3. พอใช้ 4.ดี/น่าสนใจ 5. ดีมาก/พอใจมาก 11 issue 102 july 2016

1169


“เมื่อผมได้จับปี่ สวมเทริด สวมหน้าพราน ผมจะระลึกเสมอว่า สิ่งที่เราท�ำอยู่ขณะนี้คือสมบัติของชาติที่บรรพบุรุษสร้างไว้ให้เรา สืบต่อกันมา เราต้องรักษา”

อุกฤษฏ์ พุมนวล

บทสั ม ภาษณ์ นี้ ถ ่ า ยทอดโดย อุ ก กฤษฏ์ พุ ม นวล เยาวชนจากมู ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพี ย ง หนึ่ ง ในผู ้ สื บ สาน ศิ ล ปะการแสดงมโนราห์ ใ นจั ง หวั ด พั ท ลุ ง นอกจากนี้ ยั ง ให้ ค วามสนใจเกี่ ย วกั บ การอนุ รั ก ษ์ ป ่ า ไม้ ตามรอย คุ ณ พ่ อ ของเขาซึ่ ง เป็ น เจ้ า หน้ า ที่ ป ่ า ไม้ เรี ย กว่ า เป็ น เยาวชนที่ ส นใจการอนุ รั ก ษ์ ม าตั้ ง แต่ เ ด็ ก ๆ พื้ น ฐานครอบครั ว เป็ น อย่ า งไรบ้ า ง ผมชื่อ อุกฤษฏ์ พุมนวล พ่อของผมเป็นเจ้าหน้าที่ป่าไม้ แม่ของผมเป็นเกษตรกร นับถือพระพุทธศาสนา เป็นแนวทาง ในการด�ำเนินชีวิต บ้านเกิดของผมอยู่ที่อ�ำเภอกงหรา จังหวัด พัทลุง มีธรรมชาติล้อมรอบ ทางด้านทิศตะวันตกมีเทือกเขา บรรทัดเป็นป่าต้นน�้ำส�ำคัญที่หล่อเลี้ยงปากท้องของพี่น้องเมือง ลุง สายน�้ำจากเทือกเขาบรรทัดไหลลงสู่ทะเลสาบล�ำป�ำ มีศิลป วัฒนธรรมที่เรียกว่าหนังตะลุงและมโนราห์ที่อยู่ร่วมกับชาวเมือง ลุงมาช้านาน ทรัพยากรทางด้านธรรมชาติและศิลปวัฒนธรรม

วั น นี้ เยาวชนทั้ ง หลายให้ ค วามสนใจในเรื่ อ งต่ า งๆ ไม่ เ หมื อ นกั น เพราะโลกเรากว้ า งเหลื อ เกิ น จากอ� ำ นาจของ โซเชียลมีเดีย การที่เห็นเด็กคนหนึ่งให้ความสนใจเรื่องราวศิลป วัฒนธรรมของตนเองจึงกลายเป็นเรื่องแปลก เพราะคนรุ่นใหม่ มากมายต่างเดินทางไปตามรอยของความมั่งคั่ง บ้างก็พลัดตกไป ตามกระแสนิยมจนกู่ไม่กลับ อย่างไรก็ตาม ลองมาท�ำความรู้จัก และฟังทัศนะของน้องอุกกฤษฏ์วัย 19 ปี คนนี้ดู เชื่อว่าจะกระตุก เตือนบางอย่างในผู้ใหญ่อย่างเราๆ ท่านๆ ได้ไม่มากก็น้อย 12

IS AM ARE www.ariyaplus.com


เด็ ก ..ก่ อ นค่ า ย เด็ ก ..หลั ง ค่ า ย ของพัทลุงเหล่านี้มีอิทธิพลและสร้างสรรค์คุณค่าของการด�ำเนิน ชีวิตต่อคนเมืองลุงเป็นอย่างมาก เพราะมีทั้งค�ำสอนที่สอดแทรก อยู่ในบทกลอนของมโนราห์และหนังตะลุง สองแขนงนี้บอกเล่า ชีวิตความเป็นอยู่ของพัทลุงได้เป็นอย่างดี ความเป็นอยู่ของผมและครอบครัวก็มีความสุขกับการ ได้อยู่ในบ้านที่มีธรรมชาติ มีหนังลุง มีโนราห์ ไม่มีความวุ่นวาย เหมือนเมืองใหญ่ๆ อาหารการกินก็ไม่หรูหรา กินผักกินปลาตาม ไร่นา ถึงแม้ว่าจะไม่ร�่ำรวยใหญ่โต เราก็อยู่ได้ รายจ่ายก็ไม่มากถ้า เทียบกับการอยู่ในเมือง เรามีทรัพยกรเหลือเฟือที่จะด�ำรงชีวิต มีอากาศที่บริสุทธิ์ มีญาติพี่น้องที่อบอุ่นและเห็นหน้ากันทุกวัน เท่ า ที่ สั ม ผั ส และเติ บ โตมา ศาสนาพุ ท ธมุ ่ ง เน้ น สิ่ ง ใด ให้ เ รา แก่ น แท้ อ ยู ่ ที่ ค� ำ สอนในพระไตรปิ ฎ ก สอนให้ ล ะเว้ น ความชั่ว คิดดี ท�ำความดี มีเหตุมีผล ที่จะพิจารณาในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง สอนให้อยู่กับปัจจุบันขณะ ไม่ต่างกันจากหลักการ ทางวิทยาศาสตร์ ไม่ว่าจะมีความเจริญของสังคมมากขึ้นแค่ไหน ค�ำสอนของพระพุทธองค์ก็ยังคงใช้ได้ และไม่ผิดเพี้ยนไปจากเดิม เราควรจะยึดติดกับหลักค�ำสอนมากกว่ายึดติดวัตถุของศาสนา พื้นฐานศีล 5 ข้อ หากเราเว้นจากการท�ำบาปทั้งปวง จิตใจเรา ก็ไม่ต้องกังวลว่าใครจะมาเอาผิดเรา สามารถยืนอยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุข หลุดพ้นจากกิเลสได้ เรื่องใดที่กระท�ำแล้วผิด จิตใจไม่สงบ หวาดระแวง เป็นทุกข์ แม้จะไม่รู้ค�ำพระบาลี แต่ หากคุณละเว้นมันได้ คุณก็เข้าถึงค�ำสอนของพระสัมมาสัมพุทธ มหาศาสดาครับ

ค่าแรงผมก็เพิ่มขึ้น อุปกรณ์การเรียนผมซื้อเองหมด ช่วงฤดูเดือน 6 ผมกลับบ้านน้อยมาก เพราะต้องเดินทางเล่นมโนราห์ ได้เงิน กลับมาก็ให้แม่เอาไปฝากธนาคาร ฤดูฝนยางไม่ได้กรีดไม่มีราย ได้ ผมก็ต้องใช้เงินของผมไปโรงเรียน มันสนุกมากกับการได้ออก เดินทางบนเส้นทางของศิลปิน ได้พบปะผู้คนมากมาย ได้รู้ได้ เห็นในสิ่งแปลกใหม่ ผลการเรียนก็อยู่ในระดับปานกลาง ความส� ำ คั ญ ของศิ ล ปะแขนงนี้ มี ม ากมาย ถ้ า เรามาดู กันในบทกลอนที่ใช้ขับร้องมาแต่เก่าก่อน จะเป็นค�ำสอนจาก พระพุทธศาสนาทั้งสิ้น “เรียกว่า 12 ค�ำพลัด” มีทั้งหมด 12 บท บ้างก็สอนในเรื่องของความไม่เที่ยงของสังขาร เช่น “ทรัพย์สินเงินทองทั้งหลาย ยามตายเป็นทรัพย์สูญเสีย เมียตายก่อนผัวผัวตายก่อนเมีย สิ้นเสียพาไปไม่ได้ สิ่งที่คนเราจะพาไป ยังแต่เปลวไฟกับท่อนไม้ เผาตัวเสียให้ไหม้ ข้างในป่าช้าน่าสงสาร…”

ทราบว่ า มี ส ่ ว นแสดงโนราห์ เ พื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ครอบครั ว ช่ ว ยเล่ า ให้ ฟ ั ง ถึ ง ความเป็ น มาในสิ่ ง ที่ ท� ำ และความ ส� ำ คั ญ ระหว่ า งโนราห์ กั บ ชาวใต้ นับวันเวลาตั้งแต่ ม.1 - ม.6 ผมเริ่มค้นหาตัวเอง และ เรียนรู้ในสิ่งที่สงสัย ในสิ่งที่รัก และไม่ลังเลเมื่อมีโอกาสให้พิสูจน์ ความสามารถ ผมไม่เคยปล่อยมัน งานของผมในขณะเรียนนั้น เป็นการเเสดงมโนราห์ หน้าที่หลักของผมคือ เป่าปี่ เริ่มเรียน เมื่อตอน ม.1 กับครูต้อยและครูเค ครูปี่มือฉมังของพัทลุง เมื่อ ขึ้น ม.2 ผมก็เริ่มจะเป่าเป็นเพลง สามารถเป่าประกอบเครื่อง ดนตรีอื่นได้แล้ว ก็เริ่มรับงาน ไปกับรุ่นพี่ที่ช�ำนาญแล้ว ค่าแรง ของผมเริ่มจาก 140 บาท มันอาจจะน้อยส�ำหรับใครหลายคน ส�ำหรับผมมันคือความภูมิใจในวิชาที่เราเรียนมา เริ่มจะหาเงินได้ เมื่อเริ่มมีงานเยอะขึ้น ผมต้องฝึกฝน เรียนรู้เทคนิคต่างๆ เพิ่มเติม

สอนให้ไม่ลืมบุญคุณของพ่อแม่และครูอาจารย์ เช่น บทกาน�้ำไล่ปลา “โน้นอะไรแลดูด�ำด�ำ เรียกว่ากาน�้ำไล่ปลา หักเงี้ยงโยนมา เร็วยิ่งกว่ามือคน ไชยชายแลไปเห็น มาเรียนเล่นเป็นกล ฉวยได้หอกโกลาหล โยนขึ้นบนรับซ้ายย้ายขวา” 13

issue 102 july 2016


ความพอเพี ย งในครอบครั ว เราเป็ น อย่ า งไร ครอบครั ว ของผม พ่ อ ท� ำ งานรั ก ษาผื น ป่ า แม่ เ ป็ น เกษตกร เงินเดือนไม่มาก แต่สามารถเลี้ยงผม ส่งผมและน้อง ได้เรียน เท่ากับคนอื่นๆ ไม่เคยมีรางวัลเมื่อเกรดเพิ่มหรือสอบ ได้มหาวิทยาลัยตามที่ตั้งเป้า ไม่เคยมี อยากได้อะไรเราต้องสร้าง “เอานกเข้ามาเป็นครู คงเเสนอดสูหัวใจ มันขึ้นมาเองด้วยความสามารถของเรา ผมว่านี่คือค�ำสอนที่พ่อ ไชยชายสนองไป บอกข้าได้รู้มาเอง แม่ผมพร�่ำสอนผมอยู่ พ่อผมชอบต้นไม้ ชอบปลูกผักเลี้ยงปลา ไชยชายคนแสนกลับกลอก โยนแต่หอกเป็นเพลง ข้างๆ บ้านจะมีต้นมะนาว พริก ชะพลู มะเฟือง และ “ต�ำหัด” โยนเองรับเอง หอกเอ๊ยแทงเอาตัวตาย เป็นผักหวานป่า รสชาติหวานน�ำมาประกอบอาหารได้หลาย นี้แหละบุญของคุณครู เราลบหลู่เสียไม่ได้ หอกแทงไชยชายตาย เพราะไอ้ไชยชายลบบุญคุณครู” อย่าง เช่น แกงจืด ไข่เจียวต�ำหัด ผักลวด เป็นต้น ปลาที่เลี้ยงก็ เป็นปลานิล 2 บ่อ ข้างๆ บ่อปลาก็จะปลูกกล้วยหอม ซึ่งราคา นี่ คื อ บางบทกลอนที่ เ น้ น สอนให้ ม นุ ษ ย์ รู ้ จั ก เดิ น ทาง ตอนนี้สูงพอสมควร และยังมีสวนผลไม้ ทั้งมังคุดและทุเรียน สายกลางและให้ความเคารพกับครูไม่ว่าจะอยู่ในรูปของสิ่งใด สวนเล็กๆ ทั้งหมดนี้ พ่อและแม่สร้างขึ้นมาบนพื้นฐานของความ แก่ น สารที่ แ ท้ จ ริ ง ที่คนดูจะได้ก ลับ ไปคือสิ่งเหล่านี้ มโนราห์ พอเพียง ท�ำตามพ่อหลวง อยากจะกินอะไรไปข้างบ้าน เรามีสิ่งที่ จึ ง กลายเป็ น สมบั ติ ข องชาติ ที่ ส� ำ คั ญ ยิ่ ง และมี ผู ้ ค นมากมาย ต้องการ แถมยังไม่ต้องจ่ายตังซื้อ และที่ส�ำคัญปลอดภัยจากสาร ให้ ค วามส� ำ คั ญ และสื บ ทอด อยากจะฝากถึ ง เพื่ อ นและน้ อ ง พิษ ชีวิต ร่างกาย มีความสุข เท่านี้ก็เพียงพอเเล้ว เยาวชนรุ่นใหม่ให้หันมามองสมบัติอันล�้ำค่าของเราชิ้นนี้ ศึกษา ความเป็นมา ให้รู้ไปถึงแก่นสารที่แท้จริง และถอดออกมาเป็น ท� ำ ไมถึ ง ชอบเรื่ อ งราวของป่ า ไม้ แ ละการอนุ รั ก ษ์ องค์ความรู้น�ำมาเผยแพร่ต่ออย่างรู้คุณค่าจะได้กุศลบุญเป็น ช่ ว ยเล่ า ความเป็ น มา ผมจ�ำได้ว่าตอนอายุประมาณ 6 ขวบ ผมเห็นรถขน อย่างยิ่ง เป็นธรรมทาน และวิทยาทาน “พระพุทธเจ้าท้าวมองแลเห็นจึงร้องถามมา โอ่น่าท่านไชยชายเอ๊ยเหวยเหวยไชยชายอา ความรู้ของท่านนี้หนาได้เรียนมาแต่ใด”

14 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ท่อนซุงขับผ่านหน้าบ้านผมบ่อยมาก ก็เลยตั้งค�ำถามว่าท�ำไมจึง เป็นเช่นนั้น ท�ำไมไม่เกรงกลัวเจ้าหน้าที่บ้างเลย จนผมโตก็ได้รู้ ค�ำตอบหลายอย่าง ปัญหามากมายทั้งอิทธิพล และการรู้เห็นกัน ของเจ้าหน้าที่ สิ่งเหล่านี้เป็นเรื่องติดใจผมมาตลอด เมื่อโตมา หน่อยก็เริ่มเดินป่า พบว่ามันเหนื่อยมาก แต่ท�ำไมเรามีความสุข เพราะมันคือสิ่งที่ผมรัก ผมมีเรื่องราวที่พบเจอกลางป่าบ้านของ ผมมาเล่าให้ฟัง “เด็ ก หนุ ่ ม 3 คนใน ค�่ ำ คื น ณ กลางป่ า ค�่ ำ คื น ของการค้ า งแรมกลางป่ า ในเส้ น ทางที่ น ้ อ ยคน นักจะใช้เป็นที่พัก ริมห้วยน�้ำใสๆ ป่าสด มีฝนโปรยลงเล็กน้อย ตกค�่ำผมและเพื่อนอีกสองคนออกจับกบเป็นมื้อดึก เราเดินขึ้น ไปตามสายห้วย เสียงน�้ำไหลดังในคืนเงียบสงัด เด็กหนุ่มสามคน ออกหากบ เดินมาถึงใต้ต้นไทรซึ่งออกผลดกมาก ห่างจากที่พัก ประมาณหนึ่งกิโลเห็นจะได้ ไฟของตะเกียงส่องขึ้นบนต้นไทร เห็นสีสะท้อนจากดวงตาของสัตว์ สีแดง ก�ำลังกินลูกไทรอยู่ อย่างอร่อย พวกเราทั้งสามนั่งดูไปได้สักพัก ปรากฏว่าเป็นหมี ขอตัวเมียพาลูกออกหากิน นี้ไงครับตัวบ่งบอกว่าป่าเขาบรรทัด ยังอุดมสมบูรณ์แต่น้อยคนนักที่จะมีโอกาสสัมผัสเองแบบนี้ มัน ถึงเวลาแล้วที่เราจะต้องปกป้องถิ่นป่าที่อยู่สัตว์ให้ปลอดภัย... มาเถิดครับ” มันคือเรื่องราวของผมและเพื่อนๆ ในค�่ำคืนที่สุดพิเศษ กับการอยู่ร่วมกับผืนป่า แนวทางการอนุรักษ์ป่าเขาบรรทัดตอน นี้ก็ท�ำเป็นประจ�ำทุกปี คือเริ่มปลูกป่าในใจคน แนวคิดนี้ผมได้

จากการร่วมเข้าค่าย “รู้ป่า รักษ์ป่า ปลูกป่าเริ่มต้นที่ใจ” ของ มูลนิธิครอบครัวพอเพียง น�ำมาใช้เพื่อสร้างจิตส�ำนึก น�ำพาให้เขา ได้ไปพบไปเห็นว่ากว่าจะกลายมาเป็นล�ำคลอง แม่น�้ำ ทะเลสาบ จุดเริ่มต้นมันมาจากไหน มันเกิดขึ้นได้อย่างไร ให้เขาได้รู้ ได้เห็น สัมผัส และความรักษ์ก็บังเกิด ตอนนี้เรามีเยาวชนที่พร้อมจะช่วยในการลงมือท�ำให้ เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น แต่ที่ขาดเราขาดความรู้ทางด้านวิชาการ ผมต้องศึกษามัน โดยตั้งเป้าหมายว่าจะต้องเข้าศึกษาในคณะ หรือสาขาที่สอนเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม วันนี้มันเป็นดั่งฝัน แล้วครับ และมันก�ำลังจะเริ่ม และเติมเต็มความรู้ให้กับตัวผม ในสิ่งที่ผมยังขาดหาย แต่ผมต้องดิ้นรนและพยายามอย่างหนัก ที่จะเก็บเกี่ยวความรู้เช่นกัน ปัจุบันนี้ประชากรมนุษย์เพิ่มขึ้น ความต้องการก็มากขึ้น เช่นกัน ทรัพยากรป่าไม้ น�้ำ สัตว์ป่า เขาบอกว่าใช้แล้วทดแทน ได้ แต่มันช้ามาก กว่าจะโต กว่าจะกลายเป็นสังคมใหญ่ เป็น ระบบนิเวศที่รักษาสมดุลของสภาพอากาศ ฉะนั้นอยากจะฝาก เพื่อนคนรุ่นใหม่ให้ตื่นตัว และอย่ามองข้ามสิ่งเหล่านี้ ภัยแล้งที่ เกิดขึ้นอยู่เพราะเราขาดป่า ขาดต้นน�้ำที่จะให้ความชุ่มชื้น จาก การท�ำลายป่าของมนุษย์ทั้งนั้น อยากให้ทุกคนช่วยกันประหยัด และดูแลสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติรอบๆ ตัวของคุณ คนละเล็กละน้อยก็ขอให้ท�ำ เพื่ออากาศและสุขภาพที่ดีแก่ตัว เราทุกคน 15

issue 102 july 2016


มี ตั ว อย่ า งหรื อ แรงบั ล ดาลใจจากใครในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต เพราะอะไร “พอเพี ย งนี้ อ าจจะมี ม าก อาจจะมี ข องหรู ห ราก็ ไ ด้ แต่ว่าต้องไม่ไปเบียดเบียนคนอื่น ต้องให้พอประมาณตาม อัตภาพ พูดจาก็พอเพียง ท�ำอะไรก็พอเพียง ปฏิบัติตนก็พอ เพียง” (พระราชด�ำรัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑) “ในหลวง” พ่อของเราทุกคน คือแรงบัลดาลใจสูงสุด ของผม ผมโชคดีที่ยังเกิดมาทันเห็นภาพของพระองค์ทรงงาน ถ่ า ยทอดทางข่ า วพระราชส� ำ นั ก เป็ น ประจ� ำ ทุ ก คื น ท่ า นท� ำ ทุกอย่างเพื่อให้ลูกของท่านมีความเป็นอยู่ที่ดี ทรงคิดแนวทาง มากมายเพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ หรื อ แก้ ป ั ญ หาต่ า งๆ เพราะผมยึ ด มั่น และเชื่ออย่างแรงกล้าว่าหลักค�ำสอนของพระองค์คือสุด ยอด ไม่มีพระราชาพระองค์ไหนที่อยากจะให้ลูกหลานอดยาก หรอก พระองค์คิด และทดลองถี่ถ้วนดีแล้วจึงพระราชทานมา ให้พวกเรา วันนี้พวกเราเพียงแต่ท�ำตามค�ำพ่อสอน ท�ำหรือยัง ครับ ตอนผมอยู่ ป.5 ผมได้อ่านหนังสือ พลิกชีวิตของ สมคิด ลวางกูร จากเด็กวัดถึงขนาดต้องแย่งหมากิน ต่อสู้จนประสบ ความส�ำเร็จในชีวิต เป็นหนังสือที่ดีมากและเป็นหนังสือเล่ม แรกที่จุดประกายให้ผมชอบอ่านหนังสือตั้งแต่นั้นมา เขาบอกว่า คนที่จะประสบความส�ำเร็จได้นั้นต้องมีเป้าหมาย เริ่มจากเล็กๆ เมื่อส�ำเร็จแล้วก็ขยับไปใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมีเป้าหมายแล้วต้อง ประกาศให้โลกรู้เพื่อกดดันตัวเอง สมคิด ลวางกูร เป็นคนแรกที่ ท�ำให้ผมต้องค้นหาตัวเองและตั้งเป้าหมายของตัวเอง “กูเลือกเกิดไม่ได้ แต่กูเลือกที่จะเป็นได้ ความจนไม่ใช่ กรรมพันธุ์ พ่อแม่กูจนแต่กูจะรวย แม่กูเป็นกรรมกร แต่กูจะ เป็นผู้บริหาร” สมคิด ลวางกูร

ความทุ ก ข์ ท ้ อ ที่ สุ ด ที่ ผ ่ า นมาในชี วิ ต คื อ เรื่ อ งใด มี วิ ธี จั ด การหรื อ ผ่ า นมั น มาได้ อ ย่ า งไร ความทุกข์ที่สุดของผมก็น่าจะเป็นการสอบเข้าศึกษา ต่อระดับมหาวิทยาลัยนี้แหละครับ ในเฟสเห็นเพื่อนโพสต์ได้ มหาวิทยาลัยกันแล้วแต่ผมยังไม่มี ผมไม่เคยได้โพสต์แบบนั้น เลย เกิดความทุกข์ เกิดความเครียด จะท�ำอย่างไรดี ? ก็บอก กับตัวเองว่ามหาวิทยาลัยสักเเห่งก�ำลังรอเราอยู่ อย่าท้อ ท�ำให้ ดีที่สุด แล้วเราจะพบกับสิ่งที่หวังไว้ ไม่ท้อ ไม่เครียดเพราะจะท�ำให้ท�ำข้อสอบไม่ได้ และวัน ที่ 5 มิ.ย 59 ก็มาถึง วันที่ผลแอดมิดชั่นออก ผมได้เรียนคณะ วิทยาศาสตร์ สาขาชีววิทยาเชิงอนุรักษ์ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี เป็นวันที่ผมได้โพสต์ลง Facebook ครั้ง แรก และที่ส�ำคัญไปกว่านั้น ฝันของผมเป็นจริงครับ …. ความฝั น หรื อ สิ่ ง ที่ ห วั ง ในอนาคตคื อ อะไร ความฝันของผมดูแลผืนป่าของบ้านผม อยากท�ำงานวิจัย เพื่อผืนป่า และสัตว์ป่า อยากท�ำให้คนเข้าใจป่า อยู่ร่วมกับป่าได้ เพราะเราต้องพึ่งป่าอยู่ตลอดเวลา ป่าคือหัวใจของคน ป่าให้น�้ำ ให้อากาศหายใจ ให้อาหารกับเรา เราจะขาดป่าไม่ได้ ป่าขาด คนไม่เป็นไร แต่เมื่อไหร่คนขาดป่า วันนั้นเราขาดชีวิต 16

IS AM ARE www.ariyaplus.com


ช่ ว ยเล่ า ความประทั บ ใจในการมี ส ่ ว นร่ ว มอนุ รั ก ษ์ ศิ ล ปะวั ฒ นธรรมอย่ า งมโนราห์ หรื อ อื่ น ๆ ผมขอใช้ค�ำว่า ภาคภูมิใจ ดีกว่านะครับ ที่ได้มีส่วนร่วม ด�ำรงศิลปะแขนงนี้เอาไว้ มันเป็นเป็นศิลปวัฒนธรรมของชาติ ไทย ไม่ใช่ของคนใต้อย่างเดียว เมื่อผมได้จับปี่ สวมเทริด สวม หน้าพราน ผมจะระลึกเสมอว่าสิ่งที่เราท�ำอยู่ขณะนี้คือสมบัติ ของชาติที่บรรพบุรุษสร้างไว้ให้เราสืบต่อกันมา เราต้องรักษา เพราะมันคือตัวบ่งบอกที่ไปที่มาของเราได้ คือหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ชิ้นเอกที่ยังหลงเหลือให้เห็น แบบมีจิตวิญญาณ สมัยก่อน โนราห์และหนังตะลุง เกือบจะหายไปจาก ปักษ์ใต้แล้ว แต่เมื่อมาถึงยุคปัจจุบัน คนรุ่นใหม่ให้ความส�ำคัญ กับสองสิ่งนี้มากอย่างไม่น่าเชื่อ ครั้งหนึ่งผมและทีมลูกพราน โชกุนได้เข้าร่วมแข่งขันคนไทยขั้นเทพรอบคัดเลือก สิ่งที่จดจ�ำได้ ในฐานะเยาวชนคนรุ ่ น ใหม่ คิ ด ยั ง ไงกั บ ปรั ช ญาของ ในวันนั้นคือค�ำของ เอกชัย ศรีวิชัย ที่บอกว่า “ศิลปวัฒนธรรม ของปู่ย่าเรา ถ้าไม่รักไม่เป็นไร แต่อย่าดูถูก…” เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ผมมี ค วามประทั บ ใจในทุ ก ครั้ ง ที่ ไ ด้ มี ส ่ ว นร่ ว มด� ำ เนิ น เมื่อก่อนก็คิดว่า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใช้แต่ เฉพาะกับการท�ำเกษตรอย่างเดียว แต่เมื่อเข้ามาอยู่ครอบครัว วิถีศิลปวัฒนธรรม มีความสุขที่ได้จับปี่บรรเลงให้เกิดรสชาติ พอเพียง ท�ำให้รู้ว่า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใช้ได้การ ความเป็น มโนราห์ และผมจะไม่ทิ้งมันเด็ดขาด เพราะนั้นคือ บริ ห ารจั ด การตั ว เองให้ เ ป็ น คนที่ มี ค วามพอดี หรื อ ใช้ เ ป็ น ครูที่สอนผมมากมาย ให้ผมมากมาย และที่ส�ำคัญมันคือ ชีวิต แนวทางในการด�ำเนินชีวิตในแต่ละด้านมากมาย และยังเป็น ของผม ปรั ช ญาที่ เรี ย นรู ้ เข้ า ใจง่ า ย ไม่ ซั บ ซ้ อ น ถ้ า หากเราได้ เรี ย นรู ้ กับ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยิ่งเริ่มจากเยาวชนแล้ว จะ ก่อให้เกิดต้นกล้าที่มีประโยชน์ต่อสังคม มีความคิดที่ไม่เป็น ไปตามกระแสนิยมของต่างชาติแ ละโลกโซเชีย ล ไม่ ห ลงเชื่ อ ข่าวลวงตามสื่อออนไลน์ เพราะเขามีภูมิคุ้มกันที่ดี มีเหตุมีผล ที่จะตัดสินใจไปในทางที่ดี อยากให้ปลูกฝังสิ่งเหล่านี้เริ่มตั้งแต่ สถาบันครอบครัว ถ้าคุณเป็นเกษตรกร คุณจะมีความเป็นอยู่ที่มีความสุข เพราะรู้จักการบริหารจัดการที่ดีตามหลักการทฤษฎีใหม่ ท�ำไม ผมกล้าพูดแบบนี้ ? ผมตอบได้อย่างเต็มปากว่า ผมใช้เป็นหลัก การด�ำเนินชีวิตอยู่ครับ แต่ที่ผมมั่นใจยิ่งกว่านั้นคือ ความเป็น พระมหาราชาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระองค์จะ ไม่มีทางคิดอะไรออกมาแล้วให้พสกนิกรของพระองค์ล�ำบาก พ่ อ หลวงทรงคิด และทดลองดีถี่ถ้ว นประสบความส� ำ เร็ จ และ พระราชทานลงมาแก่พสกนิกรของพระองค์ แล้วเราล่ะวันนี้ เราได้ท�ำตามค�ำพ่อสอนบ้างไหม ถ้าปากบอกว่ารัก มือต้อง ปฏิบัติตามค�ำสอนของพระองค์ เราจะเห็นผลตอบแทนที่เรา บอกว่าเรารักพ่อหลวงของเรา และนั่นคือความสุขที่พระองค์ พระราชทานให้เรา สืบ นาคะเสถียร ผมนับถือในความซื่อสัตย์ของค�ำว่า “ข้ า ราชการ” เรื่องราวของพี่สืบ ผมรู้จักผ่านบทเพลงของ คาราบาว ที่พ่อชอบเปิดให้ฟัง ก็สงสัยว่าเขาเป็นใคร ท�ำอะไร ก็ไปหาหนังสืออ่าน จนพบว่าเขานี้แหละ คือคนที่ซื่อสัตย์ และ เสียสละเพื่อผืนป่าของเมืองไทย ท�ำงานต่อสู้เพื่อสัตว์ป่า จน ทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง ได้ประกาศเป็นมรดกโลก แต่กว่าจะได้มา นั้น ต้องแลกด้วยชีวิต นี่คือ สืบ นาคะเสถียร “ผมเห็นใจคนที่ไม่มีโอกาสในสังคม ถูกบีบคั้น เอา เปรียบทุกอย่างประเทศไทยจะดีขึ้น ถ้าคนที่มีโอกาส ยอม สละโอกาสบ้างเราช่วยเหลือคนส่วนใหญ่ที่ไม่มีโอกาสลืมตา อ้าปากได้ ผมอยากเห็นสังคมดีขึ้น” สืบ นาคะเสถียร

17 issue 102 july 2016


เรื่อง : สไว บุญมา

เศรษฐกิจพอเพียงในสองมิติ

เมื่ อ กลางเดื อ นพฤษภาคม ส� ำ นั ก พิ ม พ์ BNR Book House ร่ ว มกั บ ส� ำ นั ก พิ ม พ์ Oh My God จั ด พิ ม พ์ ห นั ง สื อ ชื่ อ “ฝากภู มิ ป ั ญ ญาชาติ ไ ทยไว้ กั บ ครู ” ออกมา เนื้ อ หาของหนั ง สื อ เล่ ม นี้ ใ ห้ ค� ำ อธิ บ ายแก่ แนวคิ ด เรื่ อ งเศรษฐกิ จ พอเพี ย งทั้ ง ในมิ ติ ป รั ช ญาและมิ ติ เ ศรษฐกิ จ ผมมองว่ า แนวคิ ด เรื่ อ งเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เป็ น ภู มิ ป ั ญ ญาของชาติ ไ ทยที่ ใ นหลวงทรงประทานให้ พ วกเราและชาวโลก แต่ เ ท่ า ที่ ผ ่ า นมาคนไทยยั ง เข้ า ใจ เพี ย งจ� ำ กั ด เพราะมิ ไ ด้ ศึ ก ษาให้ ลึ ก และครอบคลุ ม อย่ า งแท้ จ ริ ง สิ่ ง ที่ เ ผยแพร่ อ อกไปส่ ว นใหญ่ จึ ง เป็ น เพี ย ง มิ ติ ป รั ช ญา ส่ ว นมิ ติ เ ศรษฐกิ จ ซึ่ ง มี ค วามส� ำ คั ญ ไม่ น ้ อ ยกว่ า กั น มั ก ถู ก ละเลย หรื อ เมื่ อ พู ด ถึ ง ก็ มั ก จ� ำ กั ด อยู ่ แค่ ภ าคเกษตรกรรมตามแนวทฤษฎี ใ หม่ อั น ได้ แ ก่ ก ารท� ำ เกษตรกรรมแบบผสมผสานเป็ น หลั ก 18 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ตั ว ไกล..หั ว ใจอยู ่ ใ กล้ การน� ำ เสนอว่ า “ความรู ้ ” และ “คุ ณ ธรรม” เป็ น เงื่ อ นไขผมมองว่ า ให้ ค วามส� ำ คั ญแก่ ส ององค์ ประกอบนี้น้อย เกินไป จึงเสนอให้เปลี่ยนเรียกว่า “ฐาน” ของแนวคิด เนื่ อ งจากการพู ด ถึ ง เศรษฐกิ จ พอเพี ย งจะขาด องค์ ป ระกอบทั้ ง ห้ า นี้ ไ ม่ ไ ด้ เนื้ อ หาของหนั ง สื อ จึ ง ทบทวน องค์ประกอบก่อนด�ำเนินต่อไป อย่างไรก็ตาม หนังสือมิได้หยุด แค่นั้น หากยังเสนอการอ่านสภาพการณ์ของเมืองไทยจากมุม มองขององค์ประกอบทั้งห้าอีกด้วย ผมมองว่าการอ่านสภาพ การณ์ในแนวดังกล่าวจะช่วยให้เราเข้าใจในประเด็นปัญหาของ การพัฒนาประเทศอย่างกระจ่างแจ้งยิ่งขึ้น เนื้อหาเกี่ยวกับด้านมิติเศรษฐกิจที่ไม่มีใครพูดถึงมาก่อน ได้แก่การทบทวนวิวัฒนาการของโลกและการเกิดของแนวคิด ต่าง ๆ ทางเศรษฐกิจจากอดีตถึงปัจจุบัน การทบทวนนี้จะชี้ให้ เห็นว่า แนวคิดเศรษฐกิจกระแสหลักซึ่งสังคมโลกเกือบทั้งหมด (ยกเว้ น เกาหลี เ หนื อ และคิ ว บา) ใช้ กั น มาเป็ น เวลานานหมด ยุคสมัยไปแล้วเพราะอะไร ตัวอย่างของความล่มสลายในอดีต ยืนยันว่า ถ้าเรายังดื้อรั้นใช้ทรัพยากรกันดังเช่นที่เป็นมาในช่วง เวลาหลายศตวรรษ โลกทั้งโลกจะเดินไปตามครรลองของความ ล่มสลายเช่นเดียวกับสังคมในอดีต เมื่อเป็นเช่นนี้ แนวคิดเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงให้ค�ำตอบอย่างไร และการเดินตามแนวคิดนี้ จะมีทั้งผลดีต่อตัวเองและต่อโลกทั้งหมดอย่างไร สิ่งที่น่ายินดีคือ ณ วันนี้ ทั้งชาวไทยและชาวโลกส่วนหนึ่งเข้าใจและได้น�ำแนวคิด ไปใช้จนได้ผลเป็นที่ประจักษ์แล้ว ชื่อของหนังสือบ่งบอกว่าผมฝากภูมิปัญญาชาติไทยนี้ ไว้กับครู ทั้งนี้เพราะผมมองว่า ผู้มีอาชีพครูจะสามารถท�ำความ เข้าใจ น�ำไปปฏิบัติและน�ำไปเผยแพร่ได้อย่างมีประสิทธิผลที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับผู้ท�ำงานด้านอื่น อันที่จริง ครูส่วนใหญ่อาจ ใช้แนวคิดอยู่แล้วและเราอาจตีความหมายค�ำว่า “ครู” คือผู้ใหญ่ ทุกคนในสังคมก็ได้เนื่องจากผู้ใหญ่เป็นต้นแบบให้แก่คนรุ่นหลัง แต่ในหนังสือเล่มนี้ ผมหมายถึงผู้ที่มีอาชีพครูเท่านั้น จริงอยู่ ผมรู้ว่าครูจ�ำนวนหนึ่งมิได้มีลักษณะครบถ้วน ตามอุ ด มการณ์ โ ดยเฉพาะบางคนไม่ ค ่ อ ยอ่ า นหนั ง สื อ หรื อ ใฝ่รู้ แต่ผมยังเชื่อมั่นว่าครูคือผู้เหมาะสมที่ผมจะฝากภูมิปัญญา และความหวั ง ของชาติ ไว้ ไ ด้ สิ่ ง หนึ่ ง ซึ่ ง ใคร่ จ ะเรี ยนให้ท ราบ คือ ในขณะที่คนไทยยังไม่พยายามท�ำความเขาใจในแนวคิดอัน ประเสริฐยิ่งนี้ มีต่างชาติเริ่มน�ำไปใช้และเป็นไปได้ว่าในวันหนึ่ง ข้างหน้าจะอ้างว่าเขาคิดขึ้นมาก่อน เราคงไม่ต้องการให้มีเรื่อง แบบนี้เกิดขึ้น

ก่ อ นเขี ย นต่ อ ไป ขอเรี ย นว่ า บทความนี้ มิ ไ ด้ มี ว าระ ซ่อนเร้นเพื่อขายหนังสือ ทั้งนี้เพราะมีผู้สนับสนุนซึ่งยินดีที่จะ ส่งให้ผู้ต้องการอ่านแต่ไม่ต้องการซื้อ เพียงส่งชื่อที่อยู่ไปให้ผม ทางอีเมล์ที่ sboonma@msn.com เท่านั้น ส�ำหรับท่านที่ ต้องการมากกว่า 1 เล่มเพื่อน�ำไปใช้ในกิจการจ�ำพวกการกุศล อาจส่งความจ�ำนงไปให้ผมได้เช่นกัน ส�ำหรับท่านที่ต้องการซื้อ จากร้านขายหนังสือทั่วไป ขอเรียนว่าผมในฐานะผู้เขียนและ ผู้ลงทุนพิมพ์จะไม่มีส่วนได้อะไรทั้งสิ้น ทั้งต้นทุนที่ผมลงไปและ ก�ำไร (ถ้าเกิดขึ้น) เมื่อได้กลับมา ทางส�ำนักพิมพ์จะส่งทั้งหมด ต่อไปให้มูลนิธินักอ่านบ้านนา มูลนิธิฯ นี้ผมมีส่วนก่อตั้งและ ขับเคลื่อนเพื่อสนับสนุนการศึกษาของเยาวชนในอ�ำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก รายละเอียดอาจหาได้ในเว็บไซต์ของมูลนิธิฯ www.bannareader.com ในช่วงเวลาเกือบ 20 ปีหลังคืนวันที่ 4 ธันวาคม 2540 เมื่ อ ในหลวงตรั ส เกี่ ย วกั บ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งกั บ พสกนิ ก ร กลุ่มใหญ่เป็นครั้งแรก เราต่างได้ยินจนชินชาเรื่อง “สามห่วง สองเงื่อนไข” ซึ่งเป็นการตีความหมายแนวคิดในมิติปรัชญา หรือหลักคิดของเศรษฐกิจพอเพียงเท่านั้น สามห่วงได้แก่ ความ มีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันและการมีความพอประมาณ ทางด้าน สองเงื่อนไขได้แก่ความรู้และคุณธรรม ทั้งหมดนี้รวมกันเป็น องค์ประกอบของแนวคิด 19

issue 102 july 2016


น่าเสียดาย...

20 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Dhamma Today

น่าเสียดาย ที่เรามีพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจ�ำชาติ แต่เรากลับศรัทธาไสยศาสตร์หัวปักหัวป�ำ น่าเสียดาย ที่เรามีพระมหากษัตริย์ที่แสนดี แต่เรากลับมีคนโกงกินเต็มบ้านเต็มเมือง น่าเสียดาย ที่เรามีวัดอยู่เกือบทุกหมู่บ้าน/ต�ำบล แต่เรากลับมากด้วยคนขาดจริยธรรมอยู่ทั่วไป น่าเสียดาย ที่เราสถาปนาประชาธิปไตยตั้งแต่ พ.ศ. 2475 แต่เรากลับมีปฏิวัติ/รัฐประหารมาแล้ว 14 ครั้ง น่าเสียดาย ที่เรามีมหาวิทยาลัยมากมายติดอันดับโลก แต่เรากลับโชคร้ายที่คนไทยชอบดูดวงบวงสรวงเทพยดา น่าเสียดาย ที่เรามีป่าไม้-แม่น�้ำ-ธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ แต่เรากลับเทิดทูนการท�ำลายแทนการรักษา น่าเสียดาย ที่เรามีศิลปวัฒนธรรมเป็นของตนเอง แต่เรากลับเก่ง “การลอกเลียนแบบ” เป็นที่สุด น่าเสียดาย ที่เรามีสื่อมวลชนมากมายไร้พรมแดน แต่เจ็บปวดเหลือแสนเมื่อสื่อมวลชนมุ่งแต่การขายสินค้า น่าเสียดาย ที่เรามีกฎหมาย แต่เรากลับปล่อยให้มีการใช้กฎหมู่จนเป็นเรื่องธรรมดา น่าเสียดาย ที่เรามีหนังสือมากมายหลายพันเล่มในห้องสมุด แต่สถิติสูงสุดคือเราอ่านหนังสือกันปีละ 8 บรรทัด น่าเสียดาย ที่เรามีอินเตอร์เน็ตใช้ก่อนประเทศในโลกที่สาม แต่เรากลับเสื่อมทรามเพราะใช้ส่งภาพถ่ายคลิปโป๊ น่าเสียดาย ที่เรามีโทรทัศน์หลายสิบช่อง แต่เรากลับจ้องจะดูแต่ละครน�้ำเน่า น่าเสียดาย ที่เรามีพ่อแม่อยู่ในบ้าน แต่เรากลับปล่อยให้ท่านอยู่อย่างเปลี่ยวเหงา น่าเสียดาย ที่เราสามารถกลับตัวเป็นคนดีได้ แต่เรากลับชอบใจที่จะเป็นคนเลวตลอดกาล น่าเสียดาย ที่เราเป็นอิสระจากความอยากได้ แต่เรากลับพึงใจอยู่กับการสนองความอยาก น่าเสียดาย ที่เราบรรลุนิพพานได้ในชาตินี้ แต่เรากลับยินดีอยู่แค่การท�ำบุญให้ทาน http://www.dhammajak.net/

21 issue 102 july 2016


ผู้หญิง VS สิทธิสตรี!

“สวัสดีค่ะ ตอนนี้หนูมีแฟนซึ่งคบกันมา 4 ปีแล้ว เค้า เป็นแฟนคนแรกของหนูและมีความสัมพันธ์กันทางกาย ใน บางครั้ง ซึ่งเป็นส่วนน้อยเค้าเป็นคนดีนะค่ะ แต่โดยส่วนใหญ่ ในบางเรื่องของเค้าหนูรับไม่ได้ เค้าอารมณ์โมโหร้าย พูดจา ไม่เพราะ ไม่มีความรับผิดชอบในหลายๆเรื่อง พูดจาไม่รู้เรื่อง ไม่ มี เ หตุ ผ ล เป็ น คนที่ ขี้ หึ ง มากจนน่ า ร� ำ คาญ ไม่ ส ามารถ ควบคุมอารมณ์ได้เลย เค้าเคยตบ ตีหนูจนถึงขั้นเลือดตก ยางออก คิ้วแตก หัวแตก ด้วยปัญหาแค่หนูไม่ได้รับโทรศัพท์ อยู่กับเพื่อนไม่สนใจเค้า เวลาหนูไปพบเพื่อนๆ ก็ต้องขออนุ ญาติทุกครั้ง และเค้าต้องไปด้วยทุกครั้ง ถ้าเค้าไปไม่ได้ หนูก็ ไปไม่ได้ เพื่อนและคนรอบข้างเบื่อเค้ามากๆๆ รวมทั้งตัวหนู ด้วย แต่เค้าก็บอกนะค่ะว่าเค้ารักหนู แต่มันไม่เคยรู้สึกแบบ นี้เลย วันนี้เป็นวันที่หนูรู้สึกแย่มากๆกับปัญหาชีวิตของหนูที่

หนูไม่สามารถปรึกษาใครได้เลย เนื่องจากหนูไม่อยากให้พ่อ กับแม่รับรู้เรื่องไม่ดี หนูรู้ว่าหนูท�ำผิดในหลายๆเรื่อง พ่อกับ แม่หวังไว้กับหนูมากแต่หนูกลับท�ำตัวแย่ๆ คบผู้ชายไม่ดี เค้า เป็นคนที่ขาดเรื่องเพศไม่ได้ หนูไม่รู้เหมือนกันว่าทีหนูคบกับ เค้าเพราะความสัมพันธ์ทางกาย หรือว่าหนูรักเค้ากันแน่ หนู ไม่อยากเลิกเพราะเรื่องความสัมพันธ์นี่แหละค่ะ หนูกลัวว่าถ้า หนูมีคนที่รัก แล้วเค้ารู้ว่าหนูได้ผ่านอะไรมาบ้าง หนูกลัวเค้า จะทิ้ง กลัวกลายเป็นคนที่ไม่มีค่ากับคนๆนั้น กลัวถูกคนอื่น มองว่าฟันแล้วทิ้ง ใจจริงคือ หนูอยากเลิกไปให้จบๆ แต่มันติด อยู่ที่ความสัมพันธ์ที่เคยมี ตอนนี้หนูอายุแค่ 21 ยังเรียนไม่จบ และอีกอย่างหนูยังต้องเรียนที่เดียวกับเค้าอีก ต้องคอยนั่ง ท�ำงานนู่น นี่นั่น ให้ตลอด ต้องเจอหน้ากันทุกวัน แล้วแบบนี้ จะท�ำใจได้ยังไงล่ะค่ะ จะรับมือกับคนประเภทนี้ยังไง ช่วยหนูที

22 IS AM ARE www.ariyaplus.com


กระจกส่ อ งใจ หนูไม่ไหวแล้ว และอยากจัดการปัญหา เหล่านี้ด้วยตัวของหนูเอง ขอบคุณค่ะ ” ในอดี ต เมื่ อ ประเทศไทยยั ง ด้ อ ย พัฒนา สถานภาพของผู้หญิงยังต�่ำต้อย โอกาสในการเข้ารับการศึกษายังมีน้อย นั่ น หมายความว่ า ชี วิ ต ของผู ้ ห ญิ ง คน หนึ่ง จะต้องอยู่ในมือของพ่อแม่ตั้งแต่แรก เกิดจนพ่อแม่เลือกสามีหรือผู้ชายให้ดูแล ต่อไป เมื่อแต่งงานอยู่กินกับชายใด ชีวิต ของผู้หญิงคนนั้นก็เหมือนอยู่ในก�ำมือของ ชายที่ เ ป็ น สามี จะล� ำ บากยากจนหรื อ สามีเลวร้ายขนาดไหน ฝ่ายหญิงก็ต้อง อดทน เพื่อรักษาชีวิตตนเองและลูกให้ รอด โอกาสที่จะแยกทางเพื่อออกมาตั้ง ต้นชีวิตใหม่ หรือท�ำมาหากินด้วยตนเอง ยังเป็นไปได้น้อยหรือไม่มีทางเป็นไปได้ เลยและการที่ ต ้ อ งหย่ า ร้ า งหรื อ มี ส ามี ใหม่ เป็ น เรื่ อ งที่ สั ง คมไม่ ย อมรั บ และ มองว่า ผู้หญิงไม่อดทนพอ หรือผู้หญิงไม่ ดีจึงมีสามีหลายคน เป็นต้น เพราะฉะนั้น ผู้หญิงจึงไม่มีทางเลือกในการด�ำเนินชีวิต เพื่อตนเองและลูกนัก แต่เมื่อประเทศไทยมีการพัฒนา ให้เท่าเทียมอารยประเทศมากขึ้นเรื่อย ๆ ท�ำให้ผู้หญิงและชายมีโอกาสเท่าเทียม กันทางด้านการศึกษา และผู้หญิงมีการ ศึ ก ษาสามารถท� ำงานเพื่ อ เลี้ ย งชี พ หรื อ ท�ำงานเพื่อหาเงินมาช่วยเหลือครอบครัว ได้มากกว่าที่ผ่านมา การศึกษาจึงเป็นสิ่ง ที่ พ ่ อ แม่ แ ละรั ฐ บาลทุ ก สมั ย พยายามที่ จะเสนอและตอบสนองต่อความต้องการ ของประชาชนตลอดมา อย่างไรก็ตาม การเริ่มต้นพัฒนา ทางการศึ ก ษาในช่ ว งแรก ยั ง มุ ่ ง จะให้ กรุ ง เทพมหานคร หรื อ เมื อ งหลวงของ ประเทศไทยเป็ น ที่ ร วมของเศรษฐกิ จ และการศึ ก ษา ปั ญ หาที่ ต ามมาคื อ “ถนนทุ ก สายมุ ่ ง สู ่ ก รุ ง เทพมหานคร”

ในอดี ต ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งหญิ ง ชายที่ เ ป็ น คนรั ก กั น สั ง คมคาดหวั ง ว่ า หญิ ง ชายจะไม่ เ กี่ ย วข้ อ งทางเพศกั น จนกว่ า จะถึ ง วั น แต่ ง งาน การ คบหาเพื่ อ นต่ า งเพศของหญิ ง สาวมั ก จะอยู ่ ใ นสายตาพ่ อ แม่ ญ าติ ห รื อ เพื่ อ น ๆ อย่ า งใกล้ ชิ ด นั่ น คื อ มหาวิ ท ยาลั ย ในทุ ก สาขาเริ่ ม ต้ น หรื อ สร้ า งขึ้ น ในกรุ ง เทพมหานคร และต่ อ มาในจั ง หวั ด ศู น ย์ ก ลางของ ภาค เช่ น มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เมื อ งศู น ย์ ก ลางของ ภาคเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่ น เป็ น ศู น ย์ ก ลางภาคอิ ส าน หรือตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นต้น นั่น หมายความว่า ทุกครอบครัวที่อยู่ในทุก ภาคของประเทศไทยก็ จ ะมุ ่ ง ไปเรี ย นที่ มหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ที่จังหวัดศูนย์กลาง ภาคนั้น ๆ โดยเฉพาะเมื่อระบบการศึกษา รวมศูนย์การสอบที่เดียว แต่นักศึกษาถูก ก�ำหนดให้แยกกันไปเรียนตามภาคต่าง ๆ ตามล�ำดับคะแนนที่ตนสอบได้ นั่นคือคน เรียนเก่งมาก ๆ เท่านั้นจึงจะสอบผ่าน เข้ า ไปเรี ย นในสถาบั น ที่ ต นเลื อ กหรื อ 23 issue 102 july 2016

ต้องการได้ ที่เหลือขึ้นอยู่กับคะแนนที่ตน สอบได้ หรือหากสอบไม่ผ่านเข้าสถาบัน ใด ก็ต้องรอสอบในปีต่อไป แน่นอน....โอกาสทางการศึกษา ได้ เ ปิ ด ขึ้ น แล้ ว เพื่ อ ให้ กุ ล บุ ต รกุ ล ธิ ด า สามารถเรียนรู้และมีวิชาเพื่อน�ำมาใช้ใน การท� ำ มาหากิ น ช่ ว ยเหลื อ ตั ว เองได้ ต ่ อ ไป แต่ระบบการศึกษาที่เกิดขึ้นก็ได้สร้าง ความยุ่งยากสับสนให้กับเยาวชนไทย ซึ่ง ในอดีตต่างเติบโตใช้ชีวิตในจังหวัดหรือ ชุมชนนั้น ๆ ของแต่ละภาค ซึ่งอาจแตก ต่างกันทั้งภาษาพื้นบ้าน ขนบธรรมเนียม และความเชื่อ แต่ระบบการศึกษาที่ก้าว เข้ามาใหม่ ท�ำให้เยาวชนไทยทั่วทุกภาค เหมื อ นจะต้ อ งจากบ้ า นและครอบครั ว ไปกระจายกั น อยู ่ ใ นภาคและจั ง หวั ด ที่ สถาบันการศึกษานั้น ๆ ระบุเอาไว้ รวม


พฤติ ก รรมที่ ขั ด แย้ ง กั บ ทั ศ นคติ ต รงนี้ เป็ น ประเด็ น ส� ำ คั ญ ที่ นั ก จิ ต วิ ท ยา นั ก สั ง คมสงเคราะห์ หรื อ ผู ้ ท� ำ หน้ า ให้ บ ริ ก ารปรึ ก ษาแนะน� ำ จะต้ อ งช่ ว ยสะท้ อ นให้ เธอได้ ม องเป็ น ปั ญ หาของตนเอง จั ด เตรี ย มข้ อ มู ล ที่ เ ธอควรรู ้ แ ต่ ไ ม่ รู ้ เช่ น สิ ท ธิ ส ตรี ฯลฯ

กับการเรียนและการคบหาเพื่อนต่างเพศ ซึ่งสร้างความสับสน ขัดแย้งและปัญหาเพศสัมพันธ์ระหว่างวัยรุ่นหญิงชาย ที่ต่าง จากวัฒนธรรมความเชื่อในอดีตของสังคมไทย ดังกรณีที่เห็นได้ ชัดเจนจากปัญหาของนักศึกษาข้างบนนี้ เธอเล่ า ว่ า ได้ ค บกั บ แฟนหรื อ เพื่ อ นชายคนนี้ ม า 4 ปี แล้ ว นั่ น หมายความว่ า เธออาจรู ้ จั ก เขา เมื่ อ เข้ า มาเรี ย นใน มหาวิ ท ยาลั ย ปี แรก จนปี นี้ อ าจอยู ่ ป ี สี่ เป็ น ไปได้ ที่ เ ธอเป็ น เด็กสาวที่มาจากครอบครัวต่างจังหวัด เพราะคบหากับเพื่อน ชายมาสี่ปีแต่พ่อแม่ไม่รู้เรื่องนี้ ที่ส�ำคัญคือเธออาจได้ชื่อว่าเป็น เด็กหอ หรือเช่าห้องเช่าหออยู่ตามล�ำพังท�ำให้ฝ่ายชายสามารถ ไปมาหาสู่ได้ง่าย และนอกจากเธอจะเป็นเหยื่ออารมณ์ทางเพศ ของเขาแล้ว เขายังท�ำร้ายร่างกายเธอเสมอมา โดยที่เธอไม่กล้า จะเล่าให้ใครฟังโดยเฉพาะพ่อแม่ของเธอ ในอดีตความสัมพันธ์ระหว่างหญิงชายที่เป็นคนรักกัน สังคมคาดหวังว่าหญิงชายจะไม่เกี่ยวข้องทางเพศกันจนกว่าจะ ถึงวันแต่งงาน การคบหาเพื่อนต่างเพศของหญิงสาวมักจะอยู่ ในสายตาพ่อแม่ญาติหรือเพื่อน ๆ อย่างใกล้ชิด แต่เมื่อหนุ่ม สาวต้องออกจากบ้านมาอยู่หอพักตามล�ำพังในเมืองใหญ่ เช่นใน

ทั้งคนที่มีภูมิล�ำเนาอยู่ในกรุงเทพ ฯ จ�ำนวนมากก็อาจต้องย้าย ไปเช่าหอพักที่อยู่ใกล้มหาวิทยาลัยหรืออยู่ในจังหวัดที่สถาบัน การศึกษาที่ตนสอบเข้าเรียน ผลที่เกิดขึ้นตามมาคือ เยาวชนไทยหรือวัยรุ่นส่วนใหญ่ ต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ เพราะที่ผ่านมาต่าง คุ้นเคยอยู่และไปเรียนโรงเรียนใกล้ ๆ บ้าน มีพ่อแม่พี่น้องคอย ช่วยเหลือดูแลใกล้ชิด ไม่เคยต้องเรียนรู้ที่จะอยู่ตามล�ำพังใน เมืองใหญ่ ปัญหาการต้องปรับตัวกับสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างไป ท�ำให้เยาวชนไทยมีความเครียดเพิ่มขึ้นจากระบบการเรียนการ สอนที่เข้มงวดในสังคมไทย นอกจากนั้นปัญหาการต้องปรับ ตัวกับเพื่อนใหม่ที่มาต่างครอบครัวต่างภูมิภาค ต่างความเชื่อ และขนบธรรมเนียมประเพณี และที่ส�ำคัญคือ การต้องปรับตัว 24

IS AM ARE www.ariyaplus.com


กรุงเทพมหานครนั้น นักศึกษาหญิงชาย จ�ำนวนมาก มีความรู้สึกแปลกแยก โดด เดี่ยว เงียบเหงาเดียวดายและหวาดกลัว เมื่อพบเพื่อนต่างเพศที่ตนพึงพอใจ ก็หวัง ยึดไว้เป็นที่พึ่งทางกายและทางใจ โดย ไม่รู้ประวัติหรือพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง ของคนคนนั้ น มาก่ อ น ต่ อ เมื่ อ มี ค วาม สั ม พั น ธ์ ใ กล้ ชิ ด เนิ่ น นานไปจึ ง ตระหนั ก ถึงภัยและปัญญาที่เกิดขึ้น ดังกรณีที่เธอ เล่าว่า “เขาอารมณ์โมโหร้าย พูดจาไม่ เพราะ ไม่มีความรับผิดชอบในหลายๆ เรื่อง พูดจาไม่รู้เรื่อง ไม่มีเหตุผล เป็น คนที่ขี้หึงมากจนน่าร�ำคาญ ไม่สามารถ ควบคุมอารมณ์ได้เลย เค้าเคยตบ ตีหนู จนถึงขั้นเลือดตกยางออก คิ้วแตก หัว แตก ด้วยปัญหาแค่หนูไม่ได้รับโทรศัพท์ อยู่กับเพื่อนไม่สนใจเค้า เวลาหนูไปพบ เพื่อนๆ ก็ต้องขออนุญาติทุกครั้ง และ เค้าต้องไปด้วยทุกครั้ง ถ้าเค้าไปไม่ได้ หนูก็ไปไม่ได้ เพื่อนและคนรอบข้างเบื่อ เค้ามากๆๆ รวมทั้งตัวหนูด้วย แต่เค้าก็ บอกนะค่ะว่าเค้ารักหนู..............” อย่างไรก็ตาม แม้เธอจะยอมรับ ว่า เธอเบื่อเขา ไม่ชอบพฤติกรรมก้าวร้าว รุนแรง นิสัยอันธพาล หึงหวงอย่างไม่มี เหตุ ผ ล ไม่ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบอารมณ์

รุ น แรงและมี ค วามต้ อ งการทางเพศสู ง การคบหาอยู่ด้วยกัน ท�ำให้เธอกลายเป็น เหยื่อ หรือกระสอบทรายให้เขาท�ำร้าย ทุบตีเสมอมา ถึงกระนั้นเธอก็ไม่กล้าที่จะ ก้าวออกมา เพียงเพราะเขาบอกว่า “เขา รักเธอ!” ส่วนเธอเองก็ไม่แน่ใจว่าทนอยู่ กั บ เขาได้ เ พราะเธอรั ก เขา หรื อ เพราะ เขารักเธอ หรือเพราะเขาและเธอมีความ สัมพันธ์ทางเพศกันแล้ว การที่เธอตอบ สนองต่อความต้องการทางเพศของเขา อาจหมายถึงการตอบสนองความต้องการ ทางเพศของตั ว เธอเองด้ ว ยเช่ น กั น ..... ความรู้สึกสับสนขัดแย้งเหล่านี้ท�ำให้เธอ วนเวียนอยู่กับการปล่อยตัวเองให้ถูกเอา เปรียบทางเพศ โดยไม่กล้าขอความช่วย เหลือจากครูอาจารย์หรือผู้ใหญ่ แม้จะ ถู ก เหยี ย บย�่ ำ ท� ำ ร้ า ยร่ า งกายและท� ำ ให้ เธอรู ้ สึ ก ผิ ด อั บ อายในการกระท� ำ ของ ตนเอง แต่เธอก็ไม่สามารถปกป้องตนเอง หรือตระหนักในสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่อย่าง ปลอดภัยในโลกนี้ได้ ค�ำถามคือ ท�ำไมเด็กสาวที่มีการ ศึกษาสูงระดับ อุดมศึกษา กล้าใช้ชีวิต ในรูปแบบของคนรุ่นใหม่ มีเพศสัมพันธ์มี การอยู่กินกับเพื่อนชายก่อนการแต่งงาน แต่เมื่อเผชิญเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์

25 issue 102 JULY 2016

กลั บ ยึ ด ถื อ ทั ศ นคติ ข องคนรุ ่ น เก่ า คื อ กลั ว ว่ า จะถู ก ประณามว่ า ผ่ า นผู ้ ช ายมา แล้ว ไม่บริสุทธิ์ หากพบคนใหม่กลัวเขา จะไม่เลือกเรา ก็เลยต้องทนอยู่อย่างนี้ ไม่กล้าจะลุกขึ้นยืนหยัดเพื่อปกป้องดูแล ตนเอง เธอไม่กล้าจะเป็นฝ่ายเลือก! เลือก ผู้ชายที่เขาเห็นคุณค่าของเธอ ในฐานะที่ เป็นคนดีมีการศึกษา แต่เธอกลับรอที่จะ เป็น “คนที่ถูกเลือก”ถ้าฝ่ายชายไม่เลือก เธอ ก็รู้สึกว่าตนเองไม่มีราคา เหมือนกับ ว่ า ขาดผู ้ ช ายแล้ ว เธอจะอยู ่ ด ้ ว ยตนเอง ไม่ได้? พฤติ ก รรมที่ ขั ด แย้ ง กั บ ทั ศ นคติ ตรงนี้ เป็นประเด็นส�ำคัญที่นักจิตวิทยา นั ก สั ง คมสงเคราะห์ หรื อ ผู ้ ท� ำ หน้ า ให้ บริการปรึกษาแนะน�ำจะต้องช่วยสะท้อน ให้ เ ธอได้ ม องเป็ น ปั ญ หาของตนเอง จัดเตรียมข้อมูลที่เธอควรรู้แต่ไม่รู้ เช่น สิทธิสตรี กระบวนการทางกฎหมายกรณี ถูกท�ำร้ายร่างกาย และที่ส�ำคัญคือ การ ช่ ว ยบ� ำ บั ด เยี ย วยาสภาพจิ ต ใจให้ เ ธอมี ความเข้มแข็ง เห็นคุณค่าของตัวเอง และ สามารถตัดสินใจเลือกทางออกที่เหมาะ สมให้กับตนเองได้ต่อไป อรอนงค์ อินทรจิตร ศูนย์ฮอตไลน์ www.hotline.or.th


26 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Cartoon

27 issue 102 july 2016


28 IS AM ARE www.ariyaplus.com


29 issue 102 july 2016


30 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Cover Story

“มนุษย์ย่ิงใหญ่มาก ยอมสละอ�ำนาจ ของตัวเองเพื่ออยู ่ภายใต้กฎหมาย” ศาสตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณ

ศาสตราจารย์ พิ เ ศษ วิ ช า มหาคุ ณ คณบดี ค ณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต ปั จ จุ บั น อายุ 70 ปี เคย ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต แห่ ง ชาติ (ป.ป.ช.) และประธานแผนกคดี เ ยาวชน และครอบครั ว ในศาลฎี ก า ถื อ เป็ น ผู ้ ห นึ่ ง ที่ ด� ำ รงตนในหลายสถานะ หลายหน้ า ที่ ทั้ ง อาจารย์ ใ นระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย ตุ ล าการ อั ย การ นั ก กฏหมาย นั ก เขี ย น และนั ก ปฏิ บั ติ ธ รรม ฯลฯ โดยเฉพาะการปฏิ บั ติ ธรรมเป็ น สิ่ ง ที่ ท ่ า นฝึ ก ฝนและชื่ น ชอบมาตั้ ง แต่ ยั ง เยาว์ จ นถึ ง ปั จ จุ บั น ก็ ยั ง ปฏิ บั ติ อ ยู ่ 31 issue 102 JULY 2016


อาภา ตอนหลังท่านมาเป็นผู้ส�ำเร็จราชการ “มหาคุณ” นี้เป็นนามสกุลที่พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพ อาภาทรงตั้งให้คุณปู่ ส่วนคุณย่าเป็นคนจังหวัดนครปฐม คุณตา คุณยายก็ลูกจีนเหมือนกัน จะเป็นกลุ่มญาติที่มาตั้งรกรากอยู่ฝั่ง ธนบุรีของคุณตา และพอคุณตามาแต่งานกับคุณยายซึ่งเป็นคน อ�ำเภอนครชัยศรีมันก็เลยใกล้ๆ กัน ผมเกิ ด ที่ โรงพยาบาลจุ ฬ าฯ กรุ ง เทพมหานคร เป็ น ครอบครัวใหญ่เหมือนครอบครัวคนจีน คุณแม่เป็นเจ้าของร้าน ตัดเสื้อ ท่านตัดชุดไทย จนมีชื่อเสียงมากแถวผ่านฟ้าผมจ�ำได้ สมัยเด็กๆ ผมต้องไปนั่งรอคุณแม่อยู่คนเดียวทุกวันที่ร้านตัดเสื้อ นี้ คุณแม่ชื่อ สุพีร์(สกุลเดิม กุลวรายุทธ) แต่ว่าคุณแม่เป็นลูกคน สุดท้องก็เลยเรียกชื่อเล่นคุณแม่สุด ก็คือสุดท้องของครอบครัว ร้านตัดเสื้อชื่อร้าน สุพีร์ พี่ น ้ อ งผมมี ห ลายท้ อ งเป็ น ครอบครั ว ใหญ่ มี คุ ณ แม่ หลายคน ก็มีคุณแม่สุด แล้วก็มีพวกพี่ๆ แล้วก็น้องๆ ที่ท่านดูแล คุณแม่สุดมีลูก 2 คน ผมเป็นลูกคนสุดท้องของครอบครัว ผมจบ ที่โรงเรียนโรจนนิมิตเดี๋ยวนี้ไม่มีแล้วอยู่ที่ราษฎร์บูรณะสมัยก่อน เป็นอ�ำเภอราษฎร์บูรณะเดี๋ยวนี้เป็นเขตราษฎร์บูรณะ ผมเรียน หลายโรงเรียนนะ แต่ที่จ�ำได้คือในสมัยที่ผมเรียนยังใช้กระดาน ชนวนเขียน บ้านอยู่บางล�ำพู ใกล้ๆ บ้านมีต้นล�ำพูมีหิ่งห้อย สมัย เรื่ อ งราวของท่ า นให้ แ ง่ คิ ด ในมุ ม มองของผู ้ ศึ ก ษา กฎหมายจนเข้าใจอย่างถ่องแท้ ทั้งนี้ ท่านยังเขียนหนังสือเกี่ยว กับกฏหมายไว้หลายเล่ม อาทิ กฎหมายกับความรัก, การใช้ เหตุผลในทางกฎหมาย, ล้มละลายและฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ รวมถึงต�ำราที่นักศึกษานิติศาสตร์ในมหาวิทยาลัยต่างๆ ใช้ใน การศึกษาเรียนรู้อย่าง “การตีความกฎหมาย” ถือเป็นต�ำรา คลาสสิคที่หลายคนคุ้นเคย เป็นหนังสือที่ท่านได้ร่วมสร้างกับ ศาสตราจารย์ ธานินทร์ กรัยวิเชียร เพื่อเป็นคุณูปการแก่วงการ การศึกษาของไทย อย่างไรก็ตาม ขอขอบคุณ ศาสตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณ เป็นอย่างสูง ที่สละเวลาให้นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง เปิดเผยต่อเรื่องราวชีวิตส่วนตัว มุมมอง และ ทัศนคติในการด�ำเนินชีวิตและงานต่างๆ ของท่านส่งต่อถึงผู้อ่าน ซึ่งไม่เคยเปิดเผยที่ใดมาก่อน นั ก ธุ ร กิ จ เชื้ อ สายจี น ผมเป็ น บุ ต รของครอบครั ว ไทยเชื้ อ สายจี น ที่ เ ป็ น นั ก ธุรกิจ อยู่เมืองไทยตั้งแต่สมัยคุณปู่คุณตามาตั้งรกรากที่จังหวัด นครปฐม ตั้งแต่สมัยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพ 32 IS AM ARE www.ariyaplus.com


เด็กๆ ยังวิ่งเล่นแถววัดสังเวชจะเห็นแม่น�้ำ เจ้าพระยา เห็นอะไรต่ออะไร ส่วนมากจะ ไปเล่นอยู่ตามริมแม่น�้ำ เสื้ อ ของแม่ คุณแม่เป็นช่างตัดเสื้อจ�ำได้ว่ามี ลูกค้าเยอะมาก มาตัดและมานั่งรอบ้าง มาวัดตัวบ้าง คุณแม่เป็นคนมีฝีมือ เมื่อ วัดตัวลูกค้าเสร็จ ท่านก็วาดลงบนผ้าเลย ไม่ต้องตัดลงกระดาษก่อน คือท่านมีหัว ศิลปะ ท่านเรียนไม่จบชั้นมัธยมนะ ท่าน ออกมาเพราะว่าตอนนั้นครอบครัวของ คุ ณ ตาท� ำ ธุ ร กิ จ เกิ ด ปั ญ หาด้ า นการเงิ น คุณแม่ก็มาดิ้นรนมาท�ำสิ่งที่ตัวเองชอบคือ ด้านศิลปะการตัดเสื้อโดยเฉพาะชุดไทย คุณแม่ตัดมาจนกระทั่งอายุ 60 ปี จนผม บอกให้เลิกเถอะ คุณแม่บอกมีความสุข ที่ได้ตัดเย็บเสื้อผ้า มาอยู่ที่บ้านแล้ว เลิก ท�ำร้านคนก็ยังมาหาเพราะว่าหาคนตัดชุด ไทยเก่งๆ ไม่ได้ อย่างชุดที่เป็นผ้าไหมต้อง คุณแม่ตัด สมัยเด็กๆ เสื้อผ้าทุกตัวที่ผม ใส่คุณแม่เป็นคนตัดให้ทุกตัว เราก็บอก ว่าเสื้อผ้าผู้หญิงนี่เราไม่ค่อยอยากจะใส่ คุณแม่ก็บอกใส่เถอะๆ เพราะอะไรรู้ไหม ผ้าที่น�ำมาตัดเป็นเสื้อให้ผมใส่ คือผ้าเศษ ที่เหลือจากการตัดเสื้อของลูกค้า เป็นเศษ ผ้านะ คุณแม่เอามาปะต่อกัน ถ้าเป็นสมัย นี้ก็ทันสมัยมากเลยหลากสีไงต่อเป็นชิ้นๆ แต่เราไม่ชอบตอนนั้น ส่ ว นพี่ ค นโต (นางสาวกุ ล ยา มหาคุณ) คุณลุงก็รับไปเลี้ยงอยู่จังหวัด พิษณุโลกตั้งแต่เด็กๆ เพิ่งมาเจอกันตอนที่ คุณลุงตายแล้ว พี่สาวตอนนี้ท่านเสียแล้ว ท่านท�ำงานกับฝรั่งเป็นเหมือนผู้จัดการ ฝ่ายต่างประเทศให้กับฝรั่ง จากโรงเรียนโรจนนิมิต ครอบครัว ก็ ย ้ า ยมาอยู ่ ที่ ฝ ั ่ ง ธนบุ รี อยู ่ ใ กล้ วั ด สุ ว รรณารามฯ ผมเรี ย นที่ วั ด สุ ว รรณา รามฯ ตั้งแต่ชั้น ม.1-ม.6 เรียนวัดสุวรรณ นารามฯ ตลอด เป็นเด็กวัดพูดกันตรงๆ

ความเป็ น ตุ ล าการ ความเป็ น ครู บ าอาจารย์ คื อ ที่ จ ริ ง แล้ ว เราต้ อ งการ เปลี่ ย นแปลง เห็ น อะไรมั น ไม่ พ อใจเราก็ จ ะเปลี่ ย น แล้ ว เราก็ จ ะเฉยอยู ่ ไ ม่ ได้ สมั ย ก่ อ นคุ ณ แม่ พ าไปหาพระท่ า นบอกเนี่ ย นั ก ปฏิ วั ติ ท่ า นพู ด เลย คุ ณ แม่ เ ลยตกใจบอกว่ า กลั ว ติ ด คุ ก คุณแม่อยากให้มีความสัมพันธ์กับวัดวา อารามผมได้รับการอบรมสั่งสอนมาจาก พระตลอดเพราะโรงเรียนนี้เป็นโรงเรียน ที่พระสั่งสอนมาตั้งแต่เด็กๆ สอนศีลธรรม สอนประวัติพระพุทธเจ้าเขาเรียกว่าพุทธ ศาสนาวันอาทิตย์ ผมเป็นหัวหน้าชั้นตั้งแต่เล็กๆ จน กระทั่งจบ ทุกวันศุกร์นักเรียนทุกชั้นจะ ต้ อ งไปที่ โ บสถ์ ผ มจะเป็ น คนน� ำ สวดทุ ก ครั้ง แล้วเราก็มีความรักในพุทธศาสนา และผมก็เรียนธรรมศึกษาชั้นตรี ถ้าเกิด เป็นพระเขาเรียกนักธรรม เรียนทั้งห้อง เลยควบคู ่ กั บ เรี ย นด้ า นวิ ช าการ (สาย วิ ท ย์ ) สอบได้ พ ระธรรมตรี ต ้ อ งไปเข้ า สนามสอบแบบพระ เขาเรียกสนามสอบ ว่า “สนามหลวง” แต่ว่าไปสอบตามวัด นะครับก็คือ “สนามสอบของราชการ” สายธรรมน� ำ ทาง ได้ธรรมศึกษาชั้นตรีก็เลยท�ำให้ 33 issue 102 july 2016

เราสนใจทางพุทธศาสนา ผมได้อ่านพระ ไตรปิฎก ตอนเด็กๆ ก็เริ่มฝึกปฏิบัติธรรม ส่ ว นมากคุ ณ ยายคุ ณ ป้ า จะพาไปปฏิบัติ ที่ไปบ่อยก็ที่วัดปากน�้ำหรือบางทีวัดไหน มี ส ายปฏิ บั ติ ธ รรมผมไปปฏิ บั ติ กั บ เขา หมด ทั้งวิปัสสนา ผมก็ไปเรียนรู้หมดทุก สาย แล้วเราก็รู้ว่าจิตเราถูกกับวิปัสสนา กรรมฐาน ท่านเจ้าคุณเทพศิษย์มหามุนี หรือเรียกว่าเจ้าคุณโชดกวัดมหาธาตุท่าน ตั้ ง ส� ำ นั ก วิ ป ั ส สนา ท่ า นพระพิ ม ลธรรม หรื อ ท่ า นสมเด็ จ พุ ฒ าจารย์ ท ่ า นให้ ไ ป ศึกษาที่พม่าตั้งแต่สมัยหนุ่มๆ ท่านเจ้าคุณ โชดกก็ไปเรียนวิปัสสนาจากพม่าแล้วก็มา เปิดส�ำนักที่วัดมหาธาตุ สมเด็จย่าท่านก็ ไปปฏิบัติกับท่านเลยยังมีรูป รวมทั้งหลวง พ่อสดด้วยก็ยังไปต่อยอดกับเจ้าคุณโชดก ตอนนั้นคุณป้าพาผมไป ท่ า นเจ้ า คุ ณ โชดกท่ า นสายยุ บ หนอ พองหนอ ผมเรียนจากท่านเจ้าคุณ โชดกโดยตรงแล้วผมมาบวชตอนที่สอบ


“แม่ บ อกว่ า ท� ำ ให้ เ ขาบาดเจ็ บ ไม่ ดี คื อ เราอาจจะภู มิ ใ จว่ า เรา ท� ำ ให้ เ ขาหยุ ด ได้ ไ ม่ ก ล้ า โต้ เ ถี ย งโต้ แ ย้ ง เพราะเรามี ค� ำ เด็ ด กั บ เขาในจั ง หวะนั้ น ๆ คุ ณ แม่ บ อกว่ า เราต้ อ งนึ ก ถึ ง หั ว อกเขา ท่ า นเตื อ นไว้ อาวุ ธ ร้ า ยแรงที่ สุ ด คื อ ปากและค� ำ พู ด ของเรา”

34 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ได้ตุลาการแล้ว เป็นผู้พิพากษาแล้ว คือ ปฏิบัติมานานก่อนที่จะออกไปรับราชการ เป็นผู้พิพากษาจังหวัดแพร่ บวชเดือนครึ่ง พอสึกก็เดินทาง ไปรั บ ราชการ คื อ จริ ง ๆ แล้ ว ปฏิ บั ติ มายาวนานมาก คื อ ผมนั่ ง วิ ป ั ส สนาได้ นาน นั่ ง สมาธิ ไ ด้ น าน ตอนที่ บ วชผม อยากรู้ถ้าเราท�ำวิปัสสนาจริงจังแล้วผล จะเกิดอย่างไร ก�ำหนดรู้ว่าสั่นหนอ โยก หน่อ โยกซ้าย โยกขวา รู้ตัวตลอดท่านจะ สอนเทคนิคของฌานสมาบัติ 24 ชั่วโมง ที่ส�ำนักวิปัสสนาที่กุฏิคณะ 1 เข้าฌาน สมาบัติไม่ลุกขึ้นเลย คือท่านต้องการให้ เราเรี ย นรู ้ ก ระแสแห่ ง นิ พ านคื อ ดั บ ไม่ ได้ยินหมดเลยนะ เหลือตัวรู้อยู่อย่างเดียว ตอนที่ผมนั่งอยู่เหมือนนั่งอยู่ใน อากาศรู้เลยนะ มันเหมือนจมอยู่ในน�้ำ แต่ มั น เบาสบาย คื อ ถ้ า สมาธิ เรามั่ น คง

แล้ ว เราจะรู ้ ว ่ า ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งมั น เป็ น อากาศหมดรอบข้ า ง ถ้ า เราไม่ ก� ำ หนด อาการดับเราจะไม่มีทางรู้เลย เราต้อง ฝึกสมาธิตั้งแต่เรานั่งสมาธิอยู่กับที่ แล้ว เราก็ก�ำหนดหูเรายังได้ยินอยู่ต้องก�ำหนด อาการตั้ ง แต่ หู ดั บ ไม่ ไ ด้ ยิ น เสี ย งอะไร เลย คื อ ท่ า นอาจารย์ โชดกท่ า นไม่ ต้องการให้เราเตลิดเปิดเปิงไปข้างนอก เราเหมื อ นกั บ ไฟแรง อยากจะรู ้ อ ยาก จะดูอยากจะเห็นอยากจะโน้นอยากจะ นี่ ท่านบอกไม่ได้หรอกต้องจับอาการรู้ ว่ามันไปอย่างนั้น แล้วให้มันดับอยู่อย่าง นั้ น เลยเหมื อ นกั บ ดวงไฟที่ เราเห็ น อยู ่ ความจริ ง มั น ก็ ส ว่ า งแล้ ว ดั บ ตลอดเวลา แต่มันถี่มาก เราเห็นแต่ความสว่าง ฉันใด ก็ ฉั น นั้ น ตอนที่ ป ฏิ บั ติ ผ มจั บ อาการได้ ว่าเซลล์ในตัวเรามันดับไปตอนไหน มัน 35 issue 102 july 2016

ดับแล้วเกิดใหม่ จริงๆ แล้วมันไม่ได้คง สภาพอยู่อย่างนี้ มันคงเป็นอนัตตาอยู่ คือมันเกิด-ดับตลอดเวลา เราจะท�ำแบบ นี้ได้เราต้องก�ำหนดทุกอิริยาบถ ที่เรียก ว่ามหาสติปัฏฐาน 4 ตั้งแต่นั่งลง กินข้าว ต้องก�ำหนด ยกช้อนหนอ เข้าปากหนอ เคี้ยวหนอ วางช้อนหนอ จนกระทั่งมันมี ตัวคุมอยู่ตัวหนึ่ง คือถ้าเราไม่สั่งมันจะนั่ง เฉยๆ ตอนที่ปฏิบัติจริงๆ เวลาจะพูดยัง ยากเลย เพราะมันจะคุมอยู่ ขากรรไกร แข็งไปหมด เพราะว่ามันจะสั่งตัวที่จะสั่ง การคือตัวรู้ มันเกิดขึ้นจริง จากสุ ว รรณารามฯ ก็มาเรียนที่ สมาคมโรงเรี ย นราษฎร์ แ ล้ ว ก็ ส อบเข้ า นิ ติ ศ าสตร์ จุ ฬ าฯ จบเนติ บั ณ ฑิ ต พ.ศ. 2511 ผมจบปริ ญ ญาตรี พ.ศ.2510 แล้วได้เนติบัณฑิต พ.ศ.2511 แล้วสอบ ได้ เ ป็ น ราชการชั้ น ตรี เ ป็ น เจ้ า พนั ก งาน


พิทักษ์ทรัพย์ที่กรมบังคับคดีในกระทรวง ยุติธรรมปี พ.ศ.2513 แล้วมาเป็นอัยการ ปี พ.ศ.2514 แล้วก็มาเป็นผู้พิพากษา พ.ศ.2516 ปากคื อ อาวุ ธ ร้ า ยแรง เราชอบสังเกตชอบถกชอบเถียง ชอบโต้แย้ง ผมจะทะเลาะกับคนในบ้าน ประจ� ำ บนโต๊ ะ ว่ าอั น นั้น มัน ไม่จริงอะไร อย่างนี้ คุณแม่เลยบอกอย่างนี้ต้องเรียน กฎหมาย คุณแม่บอกไอ้พวกที่ชอบซัก ชอบถาม พอกลับมาบ้านก็มาพูดเหมือน ห้องประชุม สมัยก่อนจ�ำได้ว่าชอบอ่าน เราก็ดูจากประวัติของบุคคลส�ำคัญ เช่น ประธานาธิบดีลินคอล์น มหาตมะ คานธี ผมชอบประวัติท่านมาก ปรากฏว่าท่าน เหล่ า นี้ เรี ย นกฎหมาย เราก็ เ ลยคิ ด ว่ า เราต้ อ งเรี ย นกฎหมาย ประธานาธิ บ ดี ลินคอล์นไอดอลสุดๆ เลยแล้วก็มหาตมะ

คานธี

ทีนี้ เราพูดติดอ่างก็ไม่เชิง แต่มัน ตะกุ ก ตะกั ก ผมก็ หั ด ด้ ว ยตั ว เอง หั ด พู ด สปีดเล่าเรื่องในที่ชุมชนอ่านที่ท่านเขียน ไว้ของท่านประธานาธิบดีลินคอล์นของ ท่านเชอร์ชิล ที่พูดตอนรวมใจคนอังกฤษ ให้สู้กับเยอรมัน จนเราพูดเก่งโต้แย้งได้ โต้เถียงได้ ผมชอบโต้เถียงโต้แย้งเหมือน กั น นะ คื อ ชอบประชดประชั น คุ ณ แม่ บอกด่าแสบมากเหมือนมีดโกนบาด แม่ บอกว่าท�ำให้เขาบาดเจ็บไม่ดี คือเราอาจ จะภูมิใจว่าเราท�ำให้เขาหยุดได้ไม่กล้าโต้ เถียงโต้แย้งเพราะเรามีค�ำเด็ดกับเขาใน จังหวะนั้นๆ คุณแม่บอกว่าเราต้องนึกถึง หั ว อกเขา ท่ า นเตื อ นไว้ อาวุ ธ ร้ า ยแรง ที่สุดคือ ปากและค�ำพูดของเรา เพราะ ฉะนั้ น ให้ น� ำ ค� ำ พู ด นั้ น มาท� ำ ให้ นิ่ ม นวล คุณแม่บอก จริ ง ๆ แล้ ว ผมจะไปเรี ย นอั ก ษร

36 IS AM ARE www.ariyaplus.com

ศาสตร์เพราะชอบเขียน ชอบบทกลอน บทกวี ชอบเขียนหนังสือ คุณแม่เลยบอก ว่าถ้าเราชอบแสดงโวหารแล้วก็ใช้โวหาร ไปในทางที่ท�ำให้คนเจ็บใจอาจสร้างศัตรู เพราะฉะนั้ น ให้ ไ ปเรี ย นกฎหมายดี ก ว่ า เพราะกฎหมายจะท�ำให้เราเป็นระเบียบ มีวินัยอยู่ในกรอบ คือไม่ออกเตลิดเปิด เปิงไป โดยเฉพาะคุณแม่อยากให้เป็นผู้ พิพากษา พระท่ า นว่ า นั ก ปฏิ วั ติ ความเป็ น ตุ ล าการความเป็ น ครูบาอาจารย์ คือที่จริงแล้วเราต้องการ เปลี่ยนแปลงเห็นอะไรมันไม่พอใจเราก็ จะเปลี่ยน แล้วเราก็จะเฉยอยู่ไม่ได้ สมัย ก่ อ นคุ ณ แม่ พ าไปหาพระพระท่ า นบอก เนี่ ย นั ก ปฏิ วั ติ ท่ า นพู ด เลย คุ ณ แม่ เ ลย ตกใจบอกว่ากลัวติดคุก ถึงแม้ว่าจะมา เป็นตุลากการแล้วแต่ผมยังปฏิวัติวงการ


ตุลากการจนกระทั่งมีค�ำสั่งออกจากราชการ เพราะผมประท้วง ว่ารัฐมนตรีจะมาแทรกแซงการแต่งตั้งตุลาการไม่ได้ เขาคิดว่า ผมไปไม่รอดแล้ว ผมก็ยื่นฎีกาต่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัวฯ ไปนั่งเขียนที่วัดเบญฯ ทูลเกล้าทวายฎีกา ท่านเลย บอกว่าไม่ต้องออกเพราะว่าการออกจากการเป็นตุลาการต้อง มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ทางรัฐมนตรี เลยต้ อ งยกเลิก ค�ำสั่งที่ให้ออก ตอนนั้น รัฐ บาลชุ ด ท่ า นนายก อานันท์ ปันยารชุน แต่ตอนหลังท่านก็รู้ท่านอนันท์ก็จะสนิทกันคล้ายๆ ว่า ท่านเป็นที่เคารพของเราอยู่แล้วเพียงแต่ว่าตอนนั้นมันเป็นเรื่อง ของหลักการ เราไม่ต้องการให้มาแทรกแซงตุลาการเท่านั้นเอง เป็ น คนต้ อ งมี ก รอบ ผมเคยเป็นประธานแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวใน ศาลฎีกาเขาเรียกต�ำแหน่งอย่างนั้น ก็คือในศาลฎีกาก็มีแผนก ต่างๆ ผมดูแลต�ำแหน่งคดีเยาวชนและครอบครัว ก่อนหน้านั้น เป็นประธานศาลอุทธรณ์ภาค 2 แล้วก็ภาค 1 ภาคสองคือภาค ตะวันออก ตอนอยู่ภาคสองเป็นคนควบคุมคดีก�ำนันเป๊าะ เขาให้ ผมไปเพราะว่าเขาต้องการให้ผมไปจัดการคดีก�ำนันเป๊าะเพราะ ว่าเป็นคดีที่ใครก็เอาไม่ลง อิทธิพลสูงมาก ถ้าเกิดปล่อยให้เป็น แบบนี้ก็ไม่สามารถจะอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมนุษย์ถ�้ำโบราณ เห็นผู้หญิงสวยก็เอาไม้กระบองฟาด ตีหัว ลากเข้าถ�้ำไปอยู่ด้วย กัน ท�ำอย่างนั้นได้ไหม อยู่ร่วมกับคนอื่น เป็นครอบครัว อยู่ร่วม กันเป็นปึกแผ่น เพราะฉะนั้นจึงต้องมีศีลใช่ไหม เป็นวัฏปฏิบัติ ใช่ไหม ถึงแม้จะไม่ใช่พระก็ต้องมีศีล มีธรรมะในการประพฤติ ปฏิบัติ ก็คือมีกรอบ ที่จะท�ำให้อยู่ร่วมอย่างสงบติสุข ผมเคยเขียนบทความหนึ่ง บอกว่าจริงๆ แล้วมนุษย์ยิ่ง ใหญ่มาก คือยอมสละ ยอมสละอ�ำนาจของตัวเองเพื่ออยู่ภายใต้ กฎหมาย ให้กฎหมายมีอ�ำนาจเหนือตัวเอง ไม่มีสัตว์ประเภทไหน ที่อัจฉริยะเท่ากับมนุษย์อีกแล้ว ที่คิดกฎหมายขึ้นมา ใช่ไหมครับ เพราะคุณจะสละท�ำไม ในเมื่อคุณมีอ�ำนาจ คุณจะท�ำอะไรก็ได้ ตามใจชอบเหมือนสัตว์ทั้งหลายที่ใช้อ�ำนาจเป็นใหญ่ใช่ไหมครับ ตัวที่เป็นตัวควบคุมก็คือตัวหัวโจกจ่าฝูงที่มันกัดเก่ง ที่มันใช้ก�ำลัง เป็นอ�ำนาจ แต่มนุษย์เปลี่ยนจากก�ำลังมาเป็นเหตุผล เหตุผลอัน แรกของมนุษย์ก็คือการสร้างกฎหมายขึ้นมา โดยสร้างกฎหมาย และยอมอยู่ภายใต้กฎหมายได้ ถึงบอกว่าประเสริฐอะไรเช่นนั้น มนุษย์ สุดยอดในโลกนี้ที่มนุษย์สร้างขึ้นมาไม่มีอะไร นวัตกรรม อะไร ที่สุดยอดเท่ากับกฎหมายอีกแล้ว

ความเชี่ ย วชาญกฏหมาย : ต� ำ ราคลาสสิ ค ที่ถนัดจริงๆ ก็คือ ทางด้านของนิติปรัชญา ทางด้าน ของการใช้ความคิดเห็นในเชิงกฎหมาย แต่ว่าที่ผมถนัดและ ได้รับมอบหมายให้สอนทุกมหาวิทยาลัยเลยก็คือ กฎหมายล้ม ละลาย เพราะว่าผมได้รับโอกาสที่ดีจากท่านอาจารย์ ธานินทร์ กรั ย วิ เชี ย ร ผมเป็ น ลู ก ศิ ษ ย์ ท ่ า นตั้ ง แต่ ร ะดั บ ปริ ญ ญาตรี ต่ อ ปริญญาโท ผมโชคดีที่ท่านเลือกผมไปใช้งาน ผมได้มีโอกาสรับใช้อาจารย์ ธานินทร์ เป็นเวลาที่ต่อ เนื่องและระยะยาว ช่วงนั้นผมไปเป็นอัยการแล้ว ผมยังต้อง นั่งรถกลับมาทุกสัปดาห์ เพื่อที่จะมานั่งเขียนและร่างบทความ เป็นงานยิ่งใหญ่มาก คือหนังสือ “การตีความกฎหมาย” เล่ม ใหญ่เลย เล่มนี้ยังใช้อยู่ในปัจจุบัน เขาเรียกว่าต�ำรา คลาสสิค คือ ท�ำให้ท่านจนกระทั่งวันหนึ่งท่านบอกว่าคุณช่วยผมเขียนมาตั้ง หลายบท แล้วก็ค้นคว้ามาตลอด เพราะฉะนั้นคุณควรได้เครดิต ด้วย ท่านจึงได้น�ำชื่อของผมใส่คู่กับชื่อท่านบนปกหนังสือเลย คือท่านเป็นครูบาอาจารย์ที่ส่งเสริมลูกศิษย์ให้เติบโต ขึ้นตลอด และเมื่อครั้งที่ผมท�ำปริญญาโท ท่านก็บอกว่า ผมมีอยู่ เรื่องหนึ่ง ส�ำคัญมากเลย ผมเองผมอยากจะเขียนเอง แต่ขอให้ คุณไปท�ำเป็นวิทยานิพนธ์ คือการให้เหตุผล ก็เลยกลายเป็นต�ำรา เรียนของนักศึกษากฎหมายทั้งหลายต้องอ่าน ทุกมหาวิทยาลัย ถ้าต้องการรู้กฎหมาย ต้องอ่าน คือท่านยกต�ำราให้หมดเลยนะ เพราะฉะนั้นผมก็เลยได้เหมือนกับเข้าส�ำนักตักศิลา เพราะว่า ท่านจะอธิบายให้ฟังโดยตรงเลย แล้วเอาต�ำรามาอ่านเป็นต�ำรา ภาษาอังกฤษทั้งนั้นเลย ท่านสะสมไว้ตั้งแต่ท่านไปเรียนอังกฤษ 37

issue 102 july 2016


เขาให้เป็นผู้พิพากษาอาวุโส ทางวุฒิสภาเขาลงมติเลือกคนอื่น ไม่เลือกท่านวสันต์ ไม่เลือกผม ไม่เลือกท่านอุดม เฟื่องฟุ้ง ก็มาเลือกกลุ่มที่เขาคง เห็นว่าจะเบาหน่อยส�ำหรับนักการเมือง พวกสายหัวแข็งเนี่ย เขาไม่เอา ในที่สุดแล้วผมนึกว่าคงไม่ยุ่งอะไรแล้ว แล้วท่านผู้ใหญ่ ก็มาทาบทาม บอกว่าให้มาเป็นกรรมการ ป.ป.ช. เนื่องจากว่ามี การปฏิวัติรัฐประหาร แล้ว ป.ป.ช. คล้ายๆ หมดวาระ ไม่ใช่พอดี แต่ว่านานมากแล้ว พอที่จะเลือกคนใหม่ได้แล้ว พอถูกคัดค้าน ถูกทักท้วงอะไร มันค้างอยู่ในสภาฯ ค้างอยู่นานมากแล้ว ท่าน บอกว่าขอให้มาท�ำต่อ มาเป็นกรรมการ ป.ป.ช. ก็เลยติดอยู่ใน คณะกรรมการ ป.ป.ช. อยู่ 9 ปีเศษ นานที่สุดในบรรดาที่เขาเคย อยู่มา นานมากนะ ต�ำแหน่งนี้ ครอบครั ว ไม่ ไ ต่ เ ต้ า เอาดี ท างกระทรวงยุ ติ ธ รรม ? ภรรยาผม (นางนวลพรรณ นามสกุลเดิม ง้าวสุวรรณ) ไม่ ค รั บ คื อ สายเราคื อ สายผู ้ พิ พ ากษา เพราะฉะนั้ น เป็นนักการทูต ท่านเคยเป็นเอกอัคราชฑูต คือภรรยาผมเคย ท่านก็เลยให้ไปสอน พอไปสอนผมก็เขียนต�ำราคิดขึ้นมา คือ อยู่หลายประเทศ ครั้งแรกอยู่ญี่ปุ่น เป็นนักการทูตในระดับ กฎหมายล้ ม ละลาย เสร็ จ แล้ ว ที่ จุ ฬ าฯ เขาก็ มี ท ่ า นอาจารย์ เลขานุการที่ญี่ปุ่น แล้วก็มาเป็นที่ปรึกษาที่สิงคโปร์แล้วก็เป็น ปรีชา พานิชวงศ์ ซึ่งเคยเป็นตุลาการ ผู้พิพากษา เป็นเหมือน กงสุลใหญ่ที่นครนิวยอร์ก แล้วก็กลับมาเป็นผู้ช่วยปลัดกระทรวง นาย เป็นผู้บังคับบัญชา ตอนที่ผมอยู่เป็นเจ้าพนักงานพิทักษ์ การต่างประเทศ แล้วก็เอกอัคราชฑูตประจ�ำกระทรวง ดูแล ทรัพย์ ท่านอาจารย์ปรีชา พานิชวงศ์ ท่านเป็นหัวหน้ากองอยู่ ด้านงบประมาณการเงินของกระทรวง แล้วออกไปครั้งสุดท้าย ที่กระทรวงยุติธรรม ฉะนั้นท่านไปสอน เสร็จแล้วท่านก็บอก ต� ำ แหน่ ง ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก เศรษฐกิ จ และการค้ า ที่ ไ ต้ ห วั น วิชา มาช่วยสอนหน่อย จากที่คณะพานิชยการบัญชีของจุฬาฯ กรุงไทเป มีลูก 2 คน คนโตเป็นผู้หญิง คนที่สองเป็นผู้ชาย คนโต ก็มาสอนคณะนิติศาสตร์ แล้วพออยู่ไปอยู่มา ท่านก็บอก วิชา เป็นนักบิน เป็นกัปตัน สายการบินไทยแอร์เอเชีย ส่วนคนที่สอง เอาวิชานี้ไปสอนเลย การเมื อ งผั น ผวน สู ่ ง านใน ป.ป.ช. หลังจากที่เป็นตุลาการแล้ว เกิดปฏิวัติรัฐประหารตอน นั้น ก่อนจะปฏิวัติรัฐประหารผมได้รับเลือกจากตุลาการ จากที่ ประชุมใหญ่ศาลฎีกา เขาเลือกให้ไปเป็น กกต. ได้ที่ 1 เลยนะ ผมก็ชวนพรรคพวกที่เป็นเพื่อนอยู่ที่ศาล บอกว่า เนื่องจากว่า ทางการเลือกตั้งแล้วก็วงการเมืองมันวุ่นวายยุ่งเหยิงมากเลย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตรัสมาว่าให้ตุลาการลงมา ช่วยสมัยนั้นนะ ตอนนัน้ ก็มตี ลุ าการทีล่ งมาพร้อมกันหลายคนครับ มีทา่ น วสันต์ สร้อยพิสุทธิ์ ท่าน อภิชาต สุขัคคานนท์ ที่เป็นประธาน กกต. ปรากฏว่าทางตุลาการเลือกมาแล้ว ทางสภาฯ เขาไม่เอา ทางวุฒิสภาสมัยนั้น เราก็เลยคิดว่าคงจะอยู่เป็นตุลาการต่อ เพราะว่ายังเป็นตุลาการต่อได้อยู่ เพราะตอนนั้นอายุ 60 แล้ว 38 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ขณะนี้เป็นที่ปรึกษาให้ข้อแนะน�ำส�ำหรับ คนที่จะลงทุนในประเทศไทย เขาจะมีทีม งานของเขา เพราะเขาจบเศรษฐศาสตร์ ระหว่างประเทศที่จุฬาฯ เป็ น ประธานมู ล นิ ธิ ต ่ อ ต้ า นการ ทุ จ ริ ต ครับ มูลนิธิต่อต้านการทุจริตจัด ตั้งขึ้นจากการรวมตัวกันของผู้ส�ำเร็จการ อบรมหลั ก สู ต รนั ก บริ ห ารยุ ท ธศาสตร์ การป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต ระดับสูง (นยปส.) รุ่น 4 และเป็นผู้ที่มี เจตนารมณ์ร่วมกันในการด�ำเนินกิจกรรม ที่ส่งเสริมและสนับสนุนการต่อต้านการ ทุจริต โดยมีส�ำนักงาน ป.ป.ช. เป็นแกน กลางในการประสานงาน ทั้งนี้ มูลนิธิจะ มุ่งไปที่เยาวชน เพราะจะเป็นก�ำลังส�ำคัญ ในอนาคต และการต่อต้านการทุจริตใน หลายประเทศ ที่ประสบความส�ำเร็จได้ก็ เพราะเยาวชน

เราก็ ท� ำ ข้ อ ตกลง ลงนามในข้ อ ตกลงกับองค์กรทัง้ ของภาครัฐภาคเอกชน โดยเฉพาะที่ เราเน้ น ก็ คื อ ในเรื่ อ งของ มหาวิทยาลัยต่างๆ ก็คอื สถาบันการศึกษา เพราะเราต้องการสร้างเด็กใหม่ขึ้นมาเพื่อ จะได้ มี จิ ต ที่ เข้ ม แข็ ง ต่ อ สู ้ กั บ การทุ จ ริ ต ได้ ส�ำนึกในสาธารณะ ไม่โกง อันนี้คือ เราต้องการจะสร้างให้เกิดทุกๆ สถาบัน การศึกษา แล้วก็ให้เป็นแกนน�ำชุมชนที่ เข้มแข็ง ลงชุมชนด้วยแล้วก็ยังท�ำงานอยู่ กับเด็กเยาวชน ตั้งแต่สมัยที่ดูแลคดีเด็ก และเยาวชน เห็นสภาพของเด็กเยาวชนเยอะ แยะ เราได้เห็นความเป็นมาเป็นไปของ เด็กเร่ร่อน เด็กที่จรจัด เด็กที่ยากล�ำบาก เด็ ก ติ ด ยาเสพติ ด ผมได้ ส ร้ า งสถานที่ ซึ่ ง เรี ย กว่ า สถานบ� ำ บั ด รั ก ษาเยาวชน ที่ ติ ด ยาเสพติ ด แล้ ว เราก็ ส ร้ า งเป็ น โรง พยาบาล เขาเรียกโรงพยาบาลตุลาการ เฉลิมพระเกียรติ อยู่ที่คลองโยง จังหวัด

39 issue 102 july 2016

นครปฐม แล้วเราก็สร้างเป็นโรงพยาบาล ที่ช่วยเหลือครอบครัวที่วิกฤตด้วย คือไม่ แต่เฉพาะติดยา วิกฤตทางด้านอารมณ์ ด้านความรุนแรง ทางด้านสังคม เขาเรียก ครอบครัวบ�ำบัด เราสร้างระบบครอบครัว บ�ำบัดที่นั่นด้วย และกั บ บทสั ม ภาษณ์ บ รรทั ด สุ ด ท้ า ย กั บ ผู ้ ป ระสิ ท ธิ์ ป ระศาสตร์ วิ ช า ทางกฏหมายที่ส�ำคัญของบ้านเมืองนี้ เมื่อถามว่า จริงหรือไม่ คนที่ไม่ ยอมรับกฎหมายแสดงว่าคนคนนั้นเป็น คนที่ผิดมนุษย์ อดี ต ตุ ล าการท่ า นนี้ ต อบเพี ย ง สั้นๆ ว่า “แสดงให้เห็นว่าเขาย้อนกลับ ไปสู่สัญชาตญาณเดิม คือสัญชาตญาณ สั ต ว์ ” ท่ า นศาสตราจารย์ พิ เ ศษ วิ ช า มหาคุณ กล่าวทิ้งท้ายด้วยรอยยิ้ม


40 IS AM ARE www.ariyaplus.com


41 issue 102 july 2016


สภาพแวดล้อม

ต�ำบลนาบอนมีความเป็นชุมชนมานานร่วม ๑oo ปี กลุ่มชาติพันธุ์ส่วนใหญ่เป็นชาวไทยเชื้อสายลาว คิดเป็นร้อยละ๙๕ ของ ประชากรทั้งหมด ส่วนอีกร้อยละ๕ เป็นชนเผ่าญ้อ ภูไท โซ่ และกะเลิง ซึ่งได้กระจายอยู่ตามหมู่บ้านต่างๆ ถึงแม้ต�ำบลนาบอนจะมี ประชากรอยู่หลายชนเผ่า แต่ก็มีวิธีชีวิตขนบธรรมเนียมประเพณีที่คล้ายคลึงใกล้คียงกัน แม้บางชนเผ่าจะมีความเชื่อที่เป็นลักษณะ เฉพาะของตนเองอยู่บ้างก็สามารถอยู่ร่วมกันได้ และไม่เคยปรากฏว่ามีการสร้างปัญหา อุปสรรค หรือความขัดแย้งใดๆเกี่ยวกับ ชาติพันธุ์แต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ต�ำบลนาบอนตั้งอยู่ใกล้กับเทือกเขาภูพานทางตะวันออก มีลักษณะเป็นที่ราบสูงเชิงเขา สลับกับพื้นที่ราบลุ่มตามล�ำห้วย สายต่างๆซึ่งใช้ท�ำนาปลูกข้าว ส่วนที่เป็นดอนเป็นที่อยู่อาศัยและปลูกพืชไร่ พื้นที่ป่าธรรมชาติมีชื่อเรียกตามภูเขาซึ่งมีอยู่ ๗ ภู และมีป่าชุมชนอยู่บนพื้นราบโคกที่กระจายตัวอยู่ตามหมู่บ้าน ต�ำบล นาบอนประกอบด้วย ๑๑ หมู่บ้าน มีจ�ำนวนประชากรประมาณ ๖,ooo กว่าคน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้าน เกษตกร เน้นการท�ำนาเพื่อบริโภคในครัวเรือนมากกว่า การจ�ำหน่ายหากมีเหลือก็อาจจะน�ำไปขายบ้าง ส่วนอาชีพ ท�ำไร่ในปัจจุบันมีการปรับปรุงพื้นที่การเกษตรให้เป็นพื้นที่ ท�ำไร่ปลูกพืชเศรษกิจ เช่น อ้อย มันส�ำปะหลัง เพื่อส่งขาย ให้กับโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่ใกล้เคียง นอกจากนี้ยัง มีการสนับสนุนให้ปลูกยางพารา เพื่อเป็นการสร้างรายได้ ให้ครัวเรือนอยู่หลายแห่ง รวมไปถึงท�ำการเกษตร อีกทั้งยัง มีอาชีพเสริมอย่างอื่นที่สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน เช่น อาชีพเลี้ยงสัตว์ และอาชีพทอผ้าไหม ซึ่งในต�ำบลนาบอน นี้นับได้ว่ามีช่างทอผ้าที่มีฝีมือและเป็นเอกลักษณ์ขึ้นชื่อ ของจังหวัดกาฬสินธุ์

ความเป็นมา

ต� ำ บลนาบอนมี ค วามหลากหลายของกลุ ่ ม ชาติพันธุ์ ซึ่งมีร่องรอยหลักฐานทางโบราณคดี เช่น การ ขุดพบ ถ้วย ชาม และไหมังกรขนาดใหญ่ ที่ภายในบรรจุ โครงกระดู ก ของคนโบราณไว้ หลั ก ฐานทางโบราณคดี แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความรุ ่ ง เรื อ งและความอุ ด มสมบู ร ณ์ ของพื้ น ที่ ใ นอดี ต จากอดี ต ถึ ง ปั จ จุ บั น ต� ำ บลนาบอนมี พัฒนาการในการพัฒนาพื้นที่ตามความเหมาะสมในแต่ละ ยุคสมัย โดยสามารถแบ่งออกเป็นยุคต่างๆ ดังนี้

พัฒนาการต�ำบล ก่อนปี พ.ศ.๒๕oo

ยุ ค ตั้ ง บ้ า น จาการค้นพบกระดูกโบราณในพื้นที่ จึงสามารถตั้งสมมติฐานได้ว่าเคยมีชนเผ่าข่า หรือขอมอาศัยอยู่ก่อน หลังจากชุมชน ชาวข่าล่มสลาย จึงมีชาวบ้านสูงเนิน อ�ำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เข้ามาตั้งบ้านเรือน ต่อมามีการอพยพตามกันมาของกลุ่ม ญาติพี่น้องและเข้ามาตั้งรกรากเป็นกลุ่มบ้าน โดยใช้ชื่อห้วยนาบอนเป็นชื่อหมู่บ้านในยุคนี้ถือเป็นการหาสถานที่ตั้งบ้านของกลุ่มคน ที่มาจากหลากหลายพื้นที่และมาจับจองที่ดินเพื่อท�ำกิน กลุ่มคนยุคนี้มีทั้งคนไทย ลาว ญ้อ ภูไท โซ่ และกะเลิง กระจายตัวอยู่ตาม 42 IS AM ARE www.ariyaplus.com


หมู่บ้านต่างๆเป็นกลุ่ม ท�ำให้เกิดการขยายกลุ่มคนเป็นระบบ เครือญาติกลุ่มใหญ่ พร้อมกับมีการสร้างวัดและโรงเรียน ซึ่งถือ เป็นแหล่งรวมคนให้เกิดความสามัคคีและเป็นการสร้างพื้นฐาน ความรู้ให้กับสมาชิกในพื้นที่ การด�ำรงชีวิตยังคงอาศัยความอุดม สมบูรณ์ของป่าพร้อมทั้งปลูกข้าวและเลี้ยงสัตว์เพื่อด�ำรงชีพ

อาชีพที่ส�ำคัญอีกอย่างในช่วงนี้คือ การเลี้ยงวัวเพื่อน�ำไปขาย แลกสินค้ากับพื้นที่อื่นๆ ในเขตภาคอีสาน ต่ อ มาเกิ ด ปั ญ หาการปราบปรามกลุ ่ ม คอมมิ ว นิ ส ต์ ใ น ประเทศไทยที่อาศัยอยู่ในพื้นที่แถบเทือกเขาภูพาน ซึ่งเป็นพื้นที่ อยู่ตามแนวเขตต�ำบลนาบอน ส่งผลให้คนในชุมชนต้องอพยพไป หาที่ดินท�ำกินที่ใหม่ เนื่องจากเกรงกลัวการสู้รบระหว่างทหาร และฝ่ายตรงข้าม หลังจากหมดยุคคอมมิวนิสต์ ได้มีโครงการ อีสานเขียวที่สนับสนุนโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มี เจ้าหน้าที่เกษตรอ�ำเภอเข้ามาส่งเสริมการปลูกยางพาราให้กับ เกษตกร หลังจากส่งเสริมการปลูกยางพาราแล้ว ยังมีการส่ง เสริมการปลูกไม้ยืนต้นชนิดอื่นร่วมด้วย เช่น สัก แต่คนส่วน ใหญ่ไม่นิยมเนื่องจากคิดว่าเป็นไม้ป่าไม่สามารถปลูกและใช้ ไม้ได้ ในระยะหลังเริ่มมีการอพยพแรงงานออกไปรับจ้างใน ภาคอุตสหกรรมตามเมืองหลวง โดยมีทั้งไปรับจ้างก่อสร้าง และ งานตามโรงงานอุตสาหกรรม

พ.ศ.๒๕o๑-๒๕๔o

ยุ ค แห่ ง การเปลี่ ย นแปลง ช่ ว งเวลานี้ ถื อ เป็ น ช่ ว งเวลาแห่ ง การพั ฒ นาในต� ำ บล นาบอน โดยเริ่มตั้งแต่การถางป่าจับจองพื้นที่ท�ำกินท�ำให้เกิด การปลูกพืชที่หลากหลายมากขึ้น นอกจากการท�ำนาแล้วยัง มีการปลูกพืชเศรษฐกิจ โดยเริ่มจากการปลูก ละหุ่ง ปอ อ้อย และมันส�ำปะหลัง ขยายพื้นที่เรื่อยมา เนื่องจากมีความต้องการ พืชเศรษฐกิจเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับมีร้านค้าที่รับซื้อปอและ มันส�ำปะหลังในอ�ำเภอค�ำม่วง ท�ำให้สะดวกต่อการขาย นอกจาก นั้นยังมีการเปิดร้านขายเมล็ดพันธุ์และปุ๋ยส�ำหรับใส่พืชในอ�ำเภอ ค�ำม่วงอีกด้วย เกษตกรจึงมีความสะดวกสบายในการปลูกพืช พ.ศ.๒๕๔๑-๒๕๕๒ เศรฐกิจแบบเหล่านี้ ในส่วนของการใช้แรงงานเกษตกรส่วนใหญ่ ยุ ค การค้ า และการปรั บ ตั ว สู ่ ค วามพอเพี ย ง ยังคงใช้แรงงานคน และใช้วัวเทียมเกวียนเพื่อขนสินค้า ทั้งนี้ ยุ ค นี้ เ ป็ น ยุ ค แห่ ง การพั ฒ นาหลากหลายรู ป แบบ 43 issue 102 july 2016


44 IS AM ARE www.ariyaplus.com


การพัฒนาในช่วงที่ผ่านมาของต�ำบลนาบอน พบว่ากลุ่มเด็ก ที่ จบการศึ กษาทั้งระดับ มัธ ยมต้น และมัธ ยมปลาย ได้ อ พยพ แรงงานไปสู่ภาคอุตสาหกรรมในเขตเมืองหลวง โดยได้รับการ ชักจูงจากญาติและเพื่อนบ้านที่ไปท�ำงานก่อน แต่การอพยพ แรงงานของคนในชุมชนส่วนใหญ่เป็นช่วงเวลาหลังจากฤดูท�ำนา และมีหลายคนที่ไปเรียนหนังสือที่อื่นแล้วท�ำงานโดยกลับมา เยี่ยมบ้านเป็นครั้งคราว กอปรกับเมื่อมีระบบการศึกษาที่ดีขึ้น ท�ำให้คนในชุมชนส่งลูกไปเรียนต่อที่อื่นพร้อมกับให้ท�ำงานใน พื้นที่อื่น เพราะจะได้ไม่ล�ำบาก ในส่วนพื้นที่เองเริ่มมีการเข้ามาของภาคอุตสาหกรรม ด้วยมีบริษัทเอกชนเข้ามาส่งเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจนอก ฤดู ก าล ท� ำ ให้ เ กิ ด ทั้ ง ความล้ ม เหลวในการเพาะปลู ก ภาวะ หนี้ สิ น และการล่ ม สลายของเกษตกร แต่ ภ ายหลั ง ชุ ม ชนยั ง ได้ รั บ การส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น จากกองทุ น เพื่ อ การลงทุ น ทางสั ง คม (Social Investment Fund : SIF) ได้ เข้ า มาสนับสนุนงานพัฒนาให้กับกลุ่มเกษตกรต�ำบลนาบอน ด้วย การส่งเสริมให้เกิดการรวมกลุ่มผลิตปุ๋ยชีวภาพอีกทั้งชาวต�ำบล นาบอนได้มีการรวมกลุ่มแปรรูปสมุนไพรพื้นบ้านโดยการท�ำงาน ร่วมกับสถานีอนามัยนาบอน เริ่มจากกลุ่ม อสม.ในพื้นที่ และ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน(กศน.) ได้เข้ามาส่งเสริมพัฒนา ความรู้ในการพึ่งตนเอง ด้วยการให้มีการเลี้ยงกบ เลี้ยงปลา ปลูกผัก และท�ำบัญชีครัวเรือน ซึ่งการพัฒนานี้เองได้น�ำไปสู่ การประกวดหมู่บ้านตามโครงการ “บ้านหลวง” ส่งผลให้บ้าน สะพานหินชนะการประกวดได้รับรางวัลที่๑ ในครั้งนี้ นอกจากนี้ ยังได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียว จากการประกวดป่าชุมชนประเภท งานเยาวชนในปี พ.ศ.๒๕๔๗

ไม้หลากหลายชนิด ทั้งยังเป็นแนวเขตกั้นระหว่างต�ำบลนาบอน กับต�ำบลทุ่งคลอง ซึ่งการแบ่งแนวเขตใช้สันเขาเป็นเส้นแบ่ง โดยได้รับการยินยอมและเห็นชอบจากผู้น�ำในต�ำบลทุ่งคลอง และต�ำบลนาบอนที่ได้ตกลงร่วมกัน สภาพทั่วไปของพื้นที่ป่าภู พานยอดเป็นป่าไม้เบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และป่าตะแบก สลับ ด้วยกอไผ่ที่มีอย่างหนาแน่น ชนิดของไม้ที่พบมากที่สุดคือ ไม้ สะคาม ภูโป่ง สภาพพื้นที่เป็นป่าเบญจพรรณ มีไม้เต็งรัง ไม้รัง ไม้แหน ไม้มะค่าโมง สลับกับไผ่ป่านานาชนิดมีหน้าผาหินสูงชัน และมีชั้นความสูงแบ่งได้ประมาณ ๔ ชั้น ซึ่งในแต่ละชั้นจะมี พรรณไม้แตกต่างกันออกไป ภู ปู น สภาพพื้ น ที่ เ ป็ น ป่ า เบญจพรรณคล้ า ยกั น กั บ ภู โป่ ง เป็ น ป่ า ที่ มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ ข องธรรมชาติ ที่ ส วยงาม และมีทรัพยากรที่ส�ำคัญคือ หินปูน ซึ่งในสมัยก่อนชาวบ้าน ่ นาบอนหรืคนต่างถิ่นจะมาเอาปูนไปเผาเพื่อท�ำเป็นปูนกินหมาก ทุนทางทรัพยาการท้องถิน ชาวบ้านจึงเรียกชื่อว่าภูปูน ทรั พ ยากรป่ า ไม้ ภูตุ่น เดิมภูเขาลูกนี้มีตัวตุ่นอาศัยอยู่เป็นจ�ำนวนมาก จากสภาพภูมิประเทศของต�ำบลนาบอนมีทรัพยากรป่า ไม้ที่อุดมสมบูรณ์ ผลจากการส�ำรวจพื้นที่ป่าภูเขาทั้งหมด ๗ ชาวบ้านจึงเรียกว่าภูตุ่น สภาพป่าเป็นไม้เป็นป่าเบญจพรรณ ภูเขา พบว่าพื้นที่ภูเขาแต่ละภูล้วนมีศักยภาพและมีทรัพยากร ลักษณะคล้ายคลึงกับภูปูน ความสูงเป็นเนินลาดไปจนถึงยอด เขา มีพรรณไม้นานาพันธุ์สลับกับไผ่ป่า ส่วนบนยอดสูงสุดจะ ต่างๆมากมาย ได้แก่ ภูปอ เป็นพื้นที่ป่าภูเขาที่มีความอุดมสมบูรณ์ที่สุด เมื่อ เป็นที่ราบดินทราย ภูถ�้ำพระ สภาพป่าของภูถ�้ำพระเป็นป่าโปร่ง มีพรรณ เปรียบเทียบกับภูเขาทุกลูกในพื้นที่ต�ำบลนาบอน สภาพป่าไม้ เป็นป่าเบญจพรรณมีความหลากหลายไปด้วยพรรณไม้นานา ไม้ไม่หนาแน่นนัก สภาพพื้นที่เป็นเนินเขาเตี้ย ทรัพยากรหรือ ชนิดสลับกับป่าไผ่ มีชั้นความสูงทั้งหมดแบ่งได้ประมาณ ๘ ชั้น จุดเด่นของภูเขาลูกนี้นอกจากพรรณไม้นานาชนิดบนยอดเขา จะเป็นลานดินขนาดกว้างใหญ่โล่งเตียนและมีถ�้ำพระซึ่งเป็นถ�้ำ มีทั้งพืชและอาหารป่ามากมายหมุนเวียนตามฤดูกาลตลอดปี ภูพรานยอด เป็นภูเขาที่มีความอุดมสมบูรณ์และมีพรรณ ขนาดเล็กลักษณะเป็นโพรงอยู่ใต้ซอกหิน

ทุนต�ำบล

45 issue 102 july 2016


ภูผักหวาน สภาพลักษณะพื้นที่ ภูเขา มีป่าไผ่สลับกับป่าไผ่เพ็ก ตามแนว ตีนเขาจะมีผักหวานขึ้นกระจัดกระจาย ทั่ ว ไป เดิ ม มี ต ้ น ไม้ ข นาดใหญ่ ปั จ จุ บั น เหลือเพียงต้นไม้ขนาดเล็ก ชาวบ้านจะ ขึ้นไปเก็บยอดผักหวานช่วงระหว่างเดือน กุมภาพันธ์ถึงมิถุนายนของทุกปี ทรั พ ยากรน�้ ำ ต� ำ บลนาบอนส่ ว นใหญ่ มี แ หล่ ง น�้ำขนาดเล็ก เช่น ล�ำห้วย หนองน�้ำ และ สระน�้ำที่ชาวบ้านใช้อุปโภคบริโภคในครัว เรือนและใช้เป็นแหล่งหาอาหารจ�ำพวก กุ้ง หอย ปู ปลา กบ เขียด และ อึ่งอ่าง รวมทั้งเป็นแหล่งน�้ำในการผลิตประปา หมู่บ้าน โดยแหล่งน�้ำส�ำคัญได้แก่ ล�ำห้วยสมอทบ เป็นล�ำห้วยที่มี ต้ น น�้ ำ มาจากเทื อ กเขาภู พ าน การไหล

ของล� ำ ห้ ว ยสมอทบไหลผ่ า นระหว่ า ง บ้ า นนาบอนกั บ บ้ า นค� ำ สมบู ร ณ์ ไ หลไป บรรจบกับล�ำห้วยแก้ง ทางทิศตะวันตก เฉี ย งใต้ ข องต� ำ บลนาบอนและในบาง ช่ ว งที่ ล� ำ ห้ ว ยสมอทบไหลผ่ า นต� ำ บล นาบอน จะมีฝายน�้ำล้นกั้นน�้ำเป็นระยะๆ ประมาณ ๔ แห่ง เพื่อกักเก็บน�้ำไว้ใช้ในฤดู แล้งจึงท�ำให้แหล่งน�้ำนี้มีน�้ำตลอดปี ห้วยล�ำปอ เป็นล�ำห้วยที่มีแหล่ง ก�ำเนิดจากเทือกเขาภูโป่งและภูปูน เป็น ล� ำ ห้ ว ยขนาดเล็ ก มี น�้ ำ เฉพาะในฤดู ฝ น เนื่ อ งจากน�้ ำ ที่ มี เ กิ ด จากน�้ ำ ฝนไหลจาก ยอดเขาลงสู ่ พื้ น ราบ เมื่ อ พ้ น ฤดู ฝ น น�้ำก็จะเริ่มแห้ง ถึงแม้ว่าล�ำห้วยแห่งนี้ จะมี แ อ่ ง หิ น ที่ เ ป็ น แหล่ ง รวมของน�้ ำ แต่ ก็ ไ ม่ ส ามารถเก็ บ กั ก น�้ ำ ได้ เพราะไม่ มี ท� ำ นบหรื อ ฝายน�้ ำ ล้ น ส� ำ หรั บ เก็ บ กั ก น�้ ำ ไว้ ล� ำ ห้ ว ยนี้ จึ ง มี น�้ ำ เฉพาะในฤดู ฝ น

46 IS AM ARE www.ariyaplus.com

เท่านั้น

หนองน�้ ำ สาธารณะ เป็ น หนอง น�้ำสาธารณะที่เป็นแหล่งน�้ำส�ำคัญ เป็น แหล่ ง น�้ ำ ที่ ช าวบ้ า นได้ ใช้ ป ระโยชน์ ใ น ครั ว เรื อ น และปลู ก พื ช ผั ก สวนครั ว ใช้ ส�ำหรับบริโภคในครัวเรือน ตลอดจนเพื่อ เป็นแหล่งน�้ำส�ำหรับการเลี้ยงสัตว์ในฤดู แห้งแล้ง ได้แก่ หนองสิม หนองค�ำบาก หนองที่ ๑ (ฝายใหญ่) หนองค�ำบากหนอง ที่ ๒ (ฝายกลาง) หนองค�ำอีตัน หนองร่อง ก้อน และหนองบ้านหัวนาค�ำ ทุ น ทางศั ก ยภาพชุ ม ชน กลุ่มอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ผลจากการปฏิ บั ติ ข องกลุ ่ ม อนุรักษ์ฯ ท�ำให้สภาพป่าที่เคยเสื่อมโทรม กลับมามีความอุดมสมบูรณ์ขึ้นส่งผลให้


อาหารธรรมชาติเพิ่มจ�ำนวนความหลากหลายขึ้น ชาวบ้านได้ ใช้ประโยชน์จากป่าส�ำหรับด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน ลดค่าใช้จ่ายใน การซื้ออาหาร นอกจากนั้นยังส่งผลต่อความสมดุลของระบบ นิเวศ น�ำพาให้ชุมชนได้เข้าถึงทรัพยากรจากป่าที่เป็นของชุมชน ได้อย่างทั่วถึงและมีการบริหารจัดการที่ดี จนน�ำไปสู่รูปธรรม ความส�ำเร็จอีกอย่างคือ “หลักสูตรท้องถิ่น” ร่วมกับโรงเรียน บ้านนาบอน โดยมี วิจตร วิไลพรหม เป็นผู้ริเริ่มด�ำเนินการ โดย มีกิจกรรมส่งเสริมการปลูกต้นไม้ในโรงเรียนเพื่อหาทางแก้ไข ปัญหาสภาพป่าเสื่อมโทรมและได้เริ่มด�ำเนินการออกส�ำรวจป่า กลุ่มอนุรักษ์น้อยภูผานาบอน เกิดขึ้นมาจากนักเรียนโรงเรียนบ้านนาบอนกลุ่มหนึ่งมัก จะเดินขึ้นไปเที่ยวเล่นในป่าที่ติดอยู่กับหมู่บ้านอย่างสม�่ำเสมอ ท�ำให้เห็นความอุดมสมบูรณ์ของผืนป่า มีของป่านานาชนิด เช่น เห็ด หน่อไม้ สัตว์ป่า สมุนไพรมากมาย หรือแม้กระทั่งต้นไม้ ใหญ่ แต่ต่อมาพื้นที่ป่าถูกแผ้วถางลงเป็นจ�ำนวนมากเพื่อน�ำไป ท�ำไร่เลื่อนลอย พืชไร่และไม้เศรษฐกิจ(ยูคาลิปตัส) การลักลอบ ตัดไม้ล�ำลายป่าท�ำให้พื้นที่ป่าลดจ�ำนวนลง ป่าเสื่อมโทรมและ ขาดความอุดมสมบูรณ์ อาหารป่า และสมุนไพรเริ่มหายากขึ้น ท�ำให้นักเรียนเหล่านั้นรวมกลุ่มกัน สรุปปัญหาที่เกิดขึ้นและ เห็นความส�ำคัญของทรัพยากรป่าไม้ในชุมชน จึงน�ำข้อมูลไป เสนอต่อ วิจิตร วิไลพรหม และ ภัทรวดี วิไลพรหม ซึ่งขณะนั้น ได้มีกิจกรรมส่งเสริมการปลูกต้นไม้ในโรงเรียนอยู่แล้วจึงเกิด แนวความคิดที่จะต้องเพิ่มจ�ำนวนต้นไม้ให้มากขึ้นเพื่อเกิดความ ร่มเย็นในโรงเรียน ในระยะแรกเป็นการส�ำรวจพันธุ์ไม้และตีตราไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่หรือไม้เนื้อแข็งที่สามารถแปรรูปได้ เช่น ไม้เต็งรัง และไม้ประดู่ เป็นต้น พร้อมจดบันทึกชื่อพันธุ์ไม้ ส�ำรวจตอไม้ ที่ถูกตัดจัดท�ำเป็นข้อมูลพื้นฐานเมื่อกลับมาจากป่าจะน�ำข้อมูล มาสรุปกันเรียบเรียงจัดล�ำดับให้เป็นหมวดหมู่เพื่อหาทางแก้ไข

ปัญหาร่วมกันต่อไป โดยเป็นการด�ำเนินกันเองของกลุ่ม จาก นั้นจึงมีกิจกรรมส�ำรวจป่าขึ้นหลายครั้ง บางครั้งจะมีปราชญ์ชาว บ้าน ผู้รู้ในด้านสมุนไพรขึ้นไปด้วย เพื่อบอกข้อมูลให้นักเรียนได้ บันทึก จากจุดเริ่มต้นในการส�ำรวจป่าได้ขยายผลไปสู่การส�ำรวจ พันธุ์ไม้โดยการส�ำรวจไปเรื่อยๆจากเขตพื้นที่ป่าจริงๆที่ไม่ใช่ป่า ไม้ใช้สอยของชาวบ้าน ด้วยวิธีการวัดรอบต้นไม้ คาดคะเนความ สูง บอกชื่อพันธุ์ไม้แล้วมาสรุปกัน พบว่า ไม้ที่พบส่วนใหญ่จะเป็น ไม้เนื้ออ่อน เช่น ไม้งิ้วและไม้กอกกัน ส่วนไม้เนื้อแข็งจะมีน้อย มาก จึงมีโครงการปลูกป่าทดแทนขึ้นมาร่วมกับชุมชน ผลจาการส�ำรวจรวบรวมข้อมูล ทางคณะกรรมการป่า ชุ ม ชนต� ำ บลนาบอนได้ ม องเห็ น ความมี จิ ต ส� ำ นึ ก ของเยาวชน เหล่านี้จึงให้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของกลุ่มอนุรักษ์ป่าชุมชนต�ำบล นาบอน ได้พัฒนาข้อมูลร่วมกันกับวิจิตร วิไลพรหม จนกลาย มาเป็นหลักสูตรท้องถิ่นในรายวิชา ป่าชุมชนต�ำบลนาบอน จน ท�ำให้ได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียวใน พ.ศ.๒๕๔๗ ประเภทกลุ่ม เยาวชน

ก้าวเดินด้วยความพอเพียง

ต�ำบลนาบอน อ�ำเภอค�ำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ เข้าร่วม โครงการรักป่า สร้างคน ๘๔ ต�ำบล วิธีพอเพียงในระยะที่ ๓ 47

issue 102 july 2016


ปี พ.ศ.๒๕๕๒ ด้ ว ยต� ำ บลนาบอนมี ศั ก ยภาพทางชุ ม ชน สูง เคยได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียว และมีการด�ำเนินงานใน การจัดการป่ามาอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งมีการผลักดันจาก หน่วยงานต่างๆเพื่อให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ ด้วยมุม มองและแนวคิดของชาวชุมชนต�ำบลนาบอน ได้มองเห็น หนทางที่น�ำไปสู่การพึ่งพาตนเอง และพึ่งสิ่งที่มีอยู่โดยไม่ เบียดเบียนทรัพยากร ชุมชนจึงจะสามารถอยู่ได้อย่างมั่นคง และยั่งยืนต่อไป

คณะกรรมการโครงการฯ

บทบาทหลักของคณะกรรมการโครงการฯ คือเป็น ฟันเฟืองหลักในการขับเคลื่อนแผนงานและผลักดันกิจกรรม ให้บรรลุเป้าหมาย รวมถึงการประสานงาน หาแนวทางแก้ไข ปัญหาต่างๆและคอยสรุปบทเรียนที่เกิดจากการด�ำเนินงาน ทุกเดือนเพื่อไปปรับปรุงการท�ำงานเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ นอกจากหนุนเสริมงานกระบวนพัฒนาแล้ว งานทางด้าน บริหารจัดการก็ถือว่าเป็นภารกิจที่ส�ำคัญไม่แพ้กัน โครงสร้างคณะกรรมการโครงการฯ มีการจัดสรร ฝ่ า ยต่ า งๆตามโครงการที่ ก� ำ หนดขึ้ น มาเพื่ อ สร้ า งระบบ ธรรมาภิ บ าล ในการบริ ห ารงานโครงการฯ ได้ แ ก่ ฝ่ า ย บริหารแผนและกิจกรรม ฝ่ายเปิดบัญชีธนาคาร ฝ่ายการ เงินและบัญชี ฝ่ายติดตามและประเมินผล ฝ่ายจัดซื้อจัด จ้างและกรรมการ

รูปธรรมความส�ำเร็จในพื้นที่

ชุ มชนเรียนรู ้อนุรักษ์ฟื้นฟู การใช้ทรัพยากร ป่ าไม้

ทรัพยากรป่าไม้ มีความส�ำคัญต่อวิถีชีวิตของคนใน ชุ ม ชนนาบอน ทุ ก คนต่ า งตระหนั ก ถึ ง ประโยชน์ จ ากป่ า เพราะป่าเป็นแหล่งอาหาร แหล่งไม้เชื้อเพลิง แหล่งสมุนไพร แหล่งไม้ใช้สอย และแหล่งท�ำเลเลี้ยงสัตว์ นอกจากนี้ป่ายังมี ประโยชน์ทางอ้อมมากมาย ได้แก่ ป่าช่วยให้ชุมชนรอบป่า ท�ำนาได้โดยไม่ขาดน�้ำ ป่าช่วยไม่ให้เกิดน�้ำท่วม นอกจากนี้ ป่ายังเป็นปราการป้องกันพายุฤดูร้อนให้กับชุมชนใกล้เคียง ได้เป็นอย่างดี ป่าต�ำบลนาบอนผ่านประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ปัญหาเรื่องป่ามาโดยตลอด มีการลักลอบตัดไม้จากนายทุน แม้ชุมชนเองก็บุกรุกท�ำลายจนกระทั่งเกิดวิกฤติ ท�ำให้ชาว บ้านตระหนักว่าเมื่อต้องพึ่งพาอาศัยป่าในการเป็นแหล่ง อาหาร แหล่งน�้ำ เราต้องท�ำหน้าที่พิทักษ์และดูแลป่าด้วย 48 IS AM ARE www.ariyaplus.com


สัตว์ใช้ในการหมักแก๊สชีวภาพ และเศษไม้ที่เหลือใช้จากการ เผาถ่าน โครงการฯ เน้นให้ชุมชนเล็งเห็นคุณค่า และให้เกิดการ ตระหนักในการประหยัดพลังงานที่มีอยู่ นอกจากนี้ยังเน้นให้ ชุมชนสามารถวิเคราะห์ตนเองเพื่อหาเทคโนโลยีพลังงานทาง เลือกที่เหมาะสมได้ โดยในการเลือกต้องค�ำนึกถึงศักยภาพพื้นที่ ชุมชนจึงเกิดความคิดที่พึ่งพาตนเองขึ้น วิกฤติการณ์ดังกล่าว เป็นหลักและเพื่อให้พลังงานเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ควรตระหนัก และ เป็นจุดเริ่มต้นที่ชาวบ้านต�ำบลนาบอนได้เปลี่ยนแปลงวิธีคิดใน เก็บข้อมูลเศรษฐกิจและพลังงานของครัวเรือน ซึ่งเป็นเครื่องมือ การจัดการทรัพยากรป่าไม้จากเดิมภาครัฐเป็นผู้ดูแลมาเป็น หลักที่ท�ำให้ชุมขนรู้จกการใช้พลังงานในครอบครัวตนเอง เมื่อ ดูแลจัดการกันเอง โดยเริ่มตั้งกลุ่มอนุรักษ์ป่าต�ำบลนาบอน โดย เก็บข้อมูลเสร็จจะมีการคืนข้อมูลให้กับชุมชน เพื่อให้ชุมชน การน�ำของศูนย์ภูหนองโองและสมภาร โอภากาศ ซึ่งมีสมาชิก วิเคราะห์ข้อมูลตนเอง กระจายอยู่ทุกหมู่บ้าน มีการจัดตั้งโครงสร้างและกฎระเบียบ ซึ่ ง ในกระบวนการคื น ข้ อ มู ล นั้ น ได้ จั ด นิ ท รรศการ กติกาขึ้น ดังนั้นจุดเริ่มต้นของการจัดการทรัพยากรของชุมชน พลังงานขึ้นภายในชุมชน โดยใช้พื้นที่ของ อบต.นาบอนในการ นาบอนนั้นมาจากภายใน คือตระหนักรู้คุณค่าของป่าด้วยตนเอง จัดกิจกรรม มีการน�ำอุปกรณ์เทคโนโลยีพลังงานทางเลือกมาจัด การเข้ า มาของโครงการฯ มี จุ ด มุ ่ ง หมายให้ ชุ ม ชนได้ แสดง ผลจากการจัดนิทรรศการดังกล่าว ท�ำให้ครัวเรือนพอเพียง เรียนรู้การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าที่สุด และอนุรักษ์ฟื้นฟูด้วย อาสาและคณะกรรมการโครงการฯ ได้เห็นข้อมูลการใช้พลังงาน การทดแทน เช่น ปลูกต้นไม้เพิ่มตามหัวไร่ปลายนา โดยมีการ ในต�ำบลที่มีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง จึงมีแนวคิดในการลดค่าใช้จ่าย เก็บเมล็ดมาขยายพันธุ์เอง โดยเน้นพ้นที่น�ำร่องที่หมู่บ้านทุ่งมน ด้านพลังงาน โดยการหาพลังงานทางเลือกที่เหมาะสมมาใช้แทน หมู่ที่ ๘ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์และขยายพันธุ์ไม้ต่างๆ มีสมาชิก ส่งผลให้เกิดแผนงานด้านพลังงานที่เป็นรูปธรรม และสามารถ ครัวเรือนพอเพียงอาสาช่วยกันท�ำโรงเพาะช�ำ โดยที่โครงการฯ เป็นจุดเรียนรู้ในต�ำบลนาบอน ดังนี้ สนับสนุนทั้งความรู้และอุปกรณ์ต่างๆ จนเกิดจุดเรียนรู้ การ - ไบโอแก๊ส หมู่ที่ ๓ บ้านสะพานหิน เพาะพันธุ์กล้าไม้ ผลที่เกิดขึ้นนอกจากเป็นการเรียนรู้เทคนิควิธี - เตาซุปปเปอร์อั้งโล่ หมูที่ ๙ บ้านบะเอียด การเพาะช�ำกล้าไม้แล้ว ยังส่งผลต่อความสามัคคีของกลุ่มคนที่ - เตาเผาถ่านถัง ๒๐๐ ลิตร หมู่ที่ ๔ บ้านค�ำสมบูรณ์ มีใจในการฟื้นฟูป่า - หม้อนึ่งเชื้อเห็ดประหยัดพลังงาน หมู่ที่ ๕ บ้านค�ำเมย นอกจากนี่ ยั ง มี ก ารจั ด กิ จ กรรมอบรมให้ ค วามรู ้ - กังหันลมสูบน�้ำ หมู่ที่ ๖ บ้านหัวนาค�ำ เกี่ยวกับเรื่องอนุรักษ์และฟื้นฟูป่า ซึ่งมีสมาชิกกลุ่มคอยเป็น พี่เลี้ยงและเสริมความรู้จากเกษตรอ�ำเภอในการขยายพันธุ์ไม้ ต่างๆ นอกจากนี้ยังมีการปลูกแฝกทั้งริมถนนและข้างหนองน�้ำ เพื่อพังการพังทลายของหน้าดิน ประกอบกับอาสาสมัครจาก หน่ ว ยสั น ติ ภ าพ หนุ น เสริ ม ในการท� ำ แพแฝกเพื่ อ ดู ด ซั บ สาร หนักในหนองน�้ำของชุมชนที่ชุมชนมีส�ำหรับท�ำน�้ำประปาส่งผล ให้เกิดความตระหนักในคุณค่าตัวเองที่สามารถปกป้องอนุรักษ์ ทรัพยากรทั้ง ป่า ดิน น�้ำ ด้วยตนเองอย่างภาคภูมิใจ

พัฒนาพลังงานและจุ ดเรียนรู้ด้านพลังงาน

ชุมชนนาบอนเป็นชุมชนดั่งเดิมที่มีทรัพยากรต่างๆ ค่อน ข้างสมบูรณ์ มีการประกอบอาชีพคือ ท�ำนา ท�ำไร่ ท�ำสวน และ รองลงมา คือการเลี้ยงสัตว์ จึงท�ำให้ในต�ำบลมีชีวมวลที่เหลือใช้ จากการเกษตร ได้แก่ มูลสัตว์ เศษ ไม้ ฟืน ชานอ้อย สามารถ น�ำมาใช้เป็นวัตถุดิบเบื้องต้นด้านพลังงานทางเลือกได้ เช่น มูล 49 issue 102 july 2016


เปิ ดห้องศิลปะ

โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย ภาพที่ แ ขวนอยู ่ จากโควต้ า ศิ ล ปะ ได้เห็นภาพที่แขวนไว้ในตึกในอาคารชั้นเรียนแทบทุกชั้นของโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เข้าไปในลิฟท์ ก็เจอลายไทย ภาพเอกรงค์(การใช้สีเดียวไล่โทนเข้ม-อ่อน) เปิดลิฟท์เจอภาพสีน�้ำเลียบผนังทางเดิน เงยหน้า เจอภาพหนุมานบนขื่อปูน แลเห็นกรอบแขวนเป็นทิวไกลจนสุดทางเดินท้ายตึก อาจารย์ สุทัศน์ ตั้งฮั่น อาจารย์สอนวิชาศิลปะ อายุ 52 ปี ชาวจังหวัดชุมพร ผู้ดูแลภาพทั้งหมด เขา เป็นชาวใต้ ห้องศิลปะในโรงเรียนมีห้องเดียว เขาอยู่ห้องนี้มา 27 ปี เรียกว่านานจนจ�ำไม่ได้แล้วว่าเปลี่ยน ผู้อ�ำนวยการมากี่คน จากรูปมากมายที่แขวนอยู่ ดูชื่อ ดูปี พ.ศ. ก็ต่างรุ่นต่างสมัยกัน หลายรูปเป็นตัวแทน นักเรียนที่มีฝีมือทางศิลปะแต่ฐานะทางบ้านไม่สู้ดีนัก หากได้รับโอกาสศึกษาต่อในโรงเรียนชื่อดังจากโควต้า ที่ครูศิลปะหยิบยื่นให้

50 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Let’s Talk

51 issue 102 JULY 2016


“เด็กรุ่นก่อนๆ เคยท�ำวันเดียวได้แสนกว่าบาท ที่หนึ่ง แปดหมื่น ที่สองสี่หมื่น งานของนิคมอุตสาหกรรม รางวัล ชมเชยห้าพัน ส่งไปห้าคนได้มาสี่คน รวมแล้ว 130,000 บาท เด็กมันก็ดีใจ บางคนไปซื้อวัวได้เป็นฝูงนะ มันได้แปดหมื่น มันเอาให้ยาย ให้ทางบ้าน เด็กศิลปะจะเป็นเด็กที่ค่อนข้าง ยากจน ในโซนนี้นะ (เขต 2) พอให้วาดบ่อยๆ มันก็เคยชิน บางคนมาจากไม่มีอะไร พอมาฝึกบ่อยๆ เดี๋ยวนี้เขียนรูปขาย ในเฟสฯ” การเปิดโควต้ารับเด็กศิลปะช่วยเปิดโอกาสให้เด็กหลาย คนมีอนาคตทางการศึกษาอันยาวไกล ทั้งยังสร้างชื่อเสียงให้กับ โรงเรียนอย่างมาก เช่น โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย แม้จะเป็นโรงเรียนหญิงล้วน แต่ฝีไม้ลายมือของ เด็กๆ ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากรุ่นสู่รุ่น โดยการสนับสนุนเป็นอย่างดีจากงบประมาณ ของโรงเรียนและความเอาใจใส่ของครูผู้สอน อาจารย์สุทัศน์ เน้นว่า โรงเรียนนี้สอบเข้าร้อยเปอร์เซ็นต์ ไม่มีจับฉลาก ปีหนึ่งมีเด็กสมัคร เข้ามาประมาณ 400 คน ถูกคัดออกราว 100-200 คน ในส่วนของโควต้าเด็กศิลปะแบ่งพื้นที่ไว้ ให้ 20-40 คน พร้อมเปิดโอกาสให้เด็กที่สนใจได้ทดสอบความสามารถพิเศษ “โซนนี้เรารับหมดเลยนะ วัดดอกไม้ วัดไทร วัดหัวล�ำโพง วัดยานนาวา วัดดอน เรา ให้ทดสอบความสามารถพิเศษ ผู้บริหารบางคนเขายึดเป้าว่าต้องมีเกียรติบัตรเยอะๆ มาเสนอ ผมบอกว่าไม่ต้องไปจ�ำกัดเขาหรอก บางโรงเรียนครูไม่พาไปแข่งแต่เด็กมันเก่งมันชอบวาดเรา จะรู้ได้ไง ให้เขาทดสอบดู อย่างน้อยผู้ปกครองเขาก็สบายใจว่าลูกเขาได้วาดแล้ว ได้ไม่ได้ก็ว่า 52 IS AM ARE www.ariyaplus.com


กันไป พอผ่านการทดสอบแล้วไม่ต้องสอบข้อเขียนนะ ฉะนั้น เด็กเรียนหนังสือไม่เก่งก็อาจเข้าทางนี้ได้เหมือนกัน” เกณฑ์การคัดเลือกเด็กในโควต้าศิลปะมีหลักๆ มีอยู่ 2 ข้อพิจารณา คือ 1.การวางองค์ประกอบภาพต้องดี 2.การใช้สีต้อง ให้สีที่สวยงามตามความเหมาะสม ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นเด็กศิลปะที่เก่งเลิศเลอมีเกียรติบัตรมากมาย เพราะพวกเขายังเป็นเยาวชนที่ ต้องได้รับการขัดเกลาอีกมาก และเพิ่งจะก้าวผ่านจากการศึกษาชั้นประถม สู่ระดับมัธยมศึกษาเท่านั้น “บางทีวาดไม่ดีมากมายเรายังพอปรับได้ ถ้าพื้นฐานเขาท�ำงานเรียบร้อย ละเอียด ให้สีสวยงาม เราเอามาปรับได้ เพื่อให้ งานเด่นชัดขึ้นมา เพราะว่างานศิลปะ สีส�ำคัญ เห็นปุ๊บกรรมการต้องชอบละ ในโซนนี้เราต้องแข่งกับโรงเรียนสุรศักดิ์ โรงเรียนวัด สุทธิ เราต้องห�่ำหั่นกัน (หัวเราะ) แรกๆ เราท�ำสู้โรงเรียนอื่นไม่ได้เหมือนกัน เราก็พยายามเฟ้นหา ในโซนนี้ถ้าเด็กคนไหนเก่งๆ ผมเข้าไปคุยกับอาจารย์เลย พี่มีกี่คน พี่การันตีมา ผมได้แน่ เราต้องให้เครดิตเขา เขาก็ต้องรู้แล้วว่าเด็กที่เขาส่งให้คือเก่งใช่ไหม รับมาเราก็พยายามท�ำ มีแข่ง ที่ไหนก็ไป”

เดิ น สายประกวด - ได้ ป ระสบการณ์ - ได้ เ พื่ อ น จะว่าไปแล้วในเขต 2 ทั้งหมดจาก 52 โรงเรียน ศิลปะ จากน้องๆ สตรีศรีสุริโยทัยติด 1 ใน 3 มาตลอด วัดจากงาน ศิลปะหัตถกรรม ซึ่งจัดขึ้นทุกปี จาก 13 รายการแข่ง บางปี โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัยคว้ารางวัล 7-8 รายการทีเดียว ขณะ ที่ อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งมื อ ต่ า งๆ ในการซ้ อ มและการแข่ ง ขั น ทาง โรงเรียนสนับสนุนให้ทั้งหมด ส่วนเงินรางวัลเป็นของนักเรียน ที่ลงแข่ง “เวลาเอาไปประกวดเราก็สลับ ม.ต้น กับ ม.ปลาย บางทีไปรวม อย่างของกรมพัฒนาที่ดิน เมื่อก่อนงานมีสิบ

“ความสามารถทางศิ ล ปะระหว่ า งเด็ ก ผู ้ ห ญิ ง กั บ เด็ ก ผู ้ ช ายผมว่ า ใกล้ เ คี ย งนะ แต่ เ ด็ ก ผู ้ ห ญิ ง ได้ เนี๊ ย บ เด็ ก ผู ้ ช ายได้ ค วามแข็ ง แกร่ ง ในการท� ำ เราเจอ ผู ้ ช ายเก่ ง ๆ เราก็ สู ้ ไ ม่ ไ ด้ เ หมื อ นกั น อย่ า งโรงเรี ย น รั ต นราษฎร์ บ� ำ รุ ง นี่ เ ก่ ง มาก” 53

issue 102 july 2016


สามวัน เราได้มาเป็นสิบ จนคนอื่นบอกท�ำไมได้เยอะจัง ไปกันยี่สิบกว่าคน เดินลงรถ ม.1-4 เดินเรียงกันเป็นแถวเลย เราก็บอกเราต้องมีตัวน�ำ ตัวน�ำคือตัวเก่งของเรา ตัวอื่นก็คือถ้าเป็น นักกีฬาก็คือตัวบล็อกคู่ต่อสู้ กรรมการอาจจะชอบแบบนี้หรือไม่ก็ได้ เราก็พยายามหารูปแบบ เยอะๆ เวลาลงสนามก็ได้เปรียบ” เทคนิคที่อาจารย์สุทัศน์แนะน�ำลูกศิษย์ก่อนลงแข่งก็แน่นอนว่า องค์ประกอบส�ำคัญกว่า สิ่งใด และต้องสอดคล้องกับเนื้อหาโดยรวม และที่ส�ำคัญอีกอย่างคือ เทคนิคต่างๆ ของแต่ละคน ที่จะใช้สื่อ รวมถึงต้องสามารถอธิบายภาพให้สอดคล้องกับโจทย์ที่ได้รับ หรือพรีเซ็นให้กรรมการ เข้าใจจุดมุ่งหมายของภาพได้ เพราะเคยมีกรณีนักเรียนที่ลงแข่งวาดได้ดีเยี่ยมจนกรรมการไม่อาจ ตัดสินได้ จึงใช้การพรีเซ็นของผู้วาดแต่ละคนในการตัดสินชี้ขาด บางคนวาดดีแต่พรีเซ็นไม่ได้ก็ พลาดไปอย่างน่าเสียดาย

“เดี๋ ย วนี้ ก ารตั ด สิ น ศิ ล ปะเขาจะไม่ พ ลิ ก ดู ข ้ า งหลั ง เพราะพลิกดูมันจะเห็นชื่อโรงเรียน ถ้าเกิดโรงเรียนนี้ได้หลายๆ คน ถ้าส่งแห้ง (ภาพวาดเตรียมมาส่ง) ก็อาจจะมีส่วนเกลี่ย แต่ถ้าส่งสด (ภาพวาด ณ สถานที่แข่งขัน) เขาก็ไม่ค่อยกล้า เกลี่ยรางวัลหรอก เพราะบางทีตัดสินคนยืนดูก็เห็น ถ้าไป พลิกดูถือว่าเสียมารยาทในการตัดสิน ไม่ดูข้างหลัง ตัดสิน กันเห็นๆ เลย” ขณะดู แลการซ้ อ มของเด็ ก ๆ ท่ า มกลางห้ องเรี ย นที่มี ความเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลาด้วยนักเรียนหลายชั้นระดับ ฝา สีถูกนิ้วเล็กๆ หมุนเปิดปิดอยู่เรื่อย ฝาผนังและพื้นมีรอยเลอะ ลึกลับเพิ่มขึ้นโดยไม่ทันสังเกตเห็น ขณะรอยเก่าๆ ก็เลื่อนไป ตามเวลาเช่นกัน มีเศษกระดาษถูกกรีดเกะกะอยู่บนโต๊ะ จาน สีนอนแห่งกรังจากวันวานถูกมือดีฉวยไปล้างจนขาวหว่องกลับ มาใช้ใหม่ วนเวียนร่าเริงกันในบรรยากาศนักเรียนหญิงมัธยม อาจารย์สุทัศน์มองว่า ในเรื่องศิลปะ หญิงชายมีความโดดเด่น ไม่ต่างกัน 54 IS AM ARE www.ariyaplus.com


“ความสามารถทางศิ ล ปะระหว่ า งเด็ ก ผู ้ ห ญิ ง กั บ เด็ ก ผู้ชายผมว่าใกล้เคียงนะ แต่เด็กผู้หญิงได้เนี๊ยบ เด็กผู้ชายได้ความ แข็งแกร่งในการท�ำ เราเจอผู้ชายเก่งๆ เราก็สู้ไม่ได้เหมือนกัน อย่างโรงเรียนรัตนราษฎร์บ�ำรุงนี่เก่งมาก จากราชบุรี เราใช้ ความโหดผิดกัน ของเขาบางทีอย่านะ รีบท�ำงานนะ ของเรา เด็กผู้หญิงอย่างว่า ก็ต้องค่อยเป็นค่อยไป คนละระบบ ของเรา ท�ำแบบสบายๆ อย่างบางโรงเรียนโหดมากนะ เขาหวังรางวัล ต้องเอาให้ได้ เราก็ไม่ถึงขนาดนั้นหรอก แต่เราก็เต็มที่กับลูก ศิษย์ที่เรารับมา เด็กสนใจศิลปะเยอะมาก เพราะมีสนามให้ลงเยอะ ยิ่ง เด็กประถมเด็กมัธยมก็เยอะ สามารถท�ำให้เด็กได้ผ่อนคลายนะ เราได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน พวกเด็กมัธยมก็มาเจอครูประถม ก็ เชื่อมโยงกันไป บางทีกลายเป็นเพื่อนกันหมด ของใครแข่งชนะ ก็เฮกันไป สนุกสนาน ใครได้ก็แล้วแต่เรายินดีกันทุกฝั่ง แพ้ชนะ ก็เรื่องธรรมดา ลูกศิษย์เราก็ได้โอกาสไปแสดงให้เขาเห็นว่า เรา ท�ำได้” 55 issue 102 july 2016


ความเป็นอยู่ผูกพันมากที่สุดในโรงเรียน ก็ ว ่ า ได้ ตั้ ง แต่ แรกเข้ า จนกระทั่ ง ก� ำ ลั ง จะจบ ม.6 ในบรรดารางวัลมากมายที่ เคยได้ รั บ แหวนพู ด ถึ ง ความภู มิ ใจใน รางวั ล ชนะเลิ ศ ของพระองค์ เจ้ า สิ ริ ภ า จุฑาภรณ์ ถ้วยพระราชทาน ซึ่งแข่งกัน ทั่วประเทศ “แข่งเป็นทีม ทีมละ 5 คน ท�ำกับ เพื่อน ตอนนั้นเขาให้ส่งรูปไปก่อนแล้ว เขาจะคัด ทั่วประเทศเอา 10 ทีม แล้ว ก็ไปแข่งสด 2 คืน 3 วัน ท�ำโมเดลสูง 150 ซม. เกี่ยวกับเมืองไทย เขาให้หัวข้อ ว่า ‘พาราไดซ์อินไทยแลนด์’ สวรรค์ ในเมื อ งไทย หนู ก็ ตี โจทย์ ว ่ า สวรรค์ ของเมืองไทยก็เหมือนกับความร่มเย็น เป็นสุข ความพอเพียงของในหลวง คือ เมืองไทยก็เหมือนสวรรค์ที่มีในหลวงค่ะ ตีโจทย์ไปอีกทางหนึ่ง มีหลายอย่าง บาง ทีมก็เป็นสวนสนุก” น้ อ งแหวน ผลผลิ ต จากศิ ล ปะ นางสาวนาภาพร ดี ข าย หรื อ แหวน นักเรียนชั้น ม.6 อายุ 17 ปี ถือ เป็นนักเรียนอีกคนหนึ่งที่ผ่านการทดสอบ ความสามารถพิ เ ศษด้ า นศิ ล ปะ ตาม โควต้าของโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย ฐานะ ทางบ้านของแหวนอยู่ในระดับปานกลาง เธอยอมรับว่าถ้าไม่ได้โควต้าที่นี่ก็คงเรียน โรงเรียนใกล้บ้านแถวพระประแดง ซึ่งก็ ไม่แน่ใจว่าโรงเรียนอื่นจะผลักดันความ สามารถทางศิลปะให้กับเธอเหมือนโรง เรียนนี้รึเปล่า เพราะมีเด็กหลายคนไป สมัครเข้าโรงเรียนตามเพื่อน โดยไม่สนใจ ความสามารถทางศิ ล ปะที่ ต นเองมี อ ยู ่ ทั้งยังไม่ได้รับการสนับสนุนจากโรงเรียน ความสามารถพิ เ ศษนั้ น ก็ พ ลอยหายไป อย่างน่าเสียดาย “ชอบวาดรู ป มาตั้ ง แต่ เ ด็ ก ๆ แล้วค่ะ แต่เพิ่งมาฝึกจริงจังตอนเข้ามา เรียนที่นี่ เข้าตั้งแต่ ม.1 พอเลิกเรียนก็

เมื่ อ ก่ อ นคนเก่ ง น้ อ ย เดี๋ ย วนี้ ค นเก่ ง เยอะมาก แข่ ง กั น งานหนึ่ ง เป็ น ร้ อ ยๆ คน มี 5 รางวั ล ฉะนั้ น มั น ต้ อ งฝึ ก ฝน เคยพานั ก เรี ย นไปดู ค น เขี ย นภาพเหมื อ นที่ ม าบุ ญ คลองชั้ น 1 ส่ ว นมากเขี ย นสี น�้ ำ มั น เขาบอก ขนาดลุ ง หยุ ด วั น เดี ย วมื อ ไม่ นิ่ ง แล้ ว จริ ง ๆ ต้ อ งท� ำ ทุ ก วั น นะ เขี ย นผม เป็ น เส้ น เห็ น ชั ด เจน เขาเรี ย กว่ า ความช� ำ นาญ ท� ำ ทุ ก วั น จนหลั บ ตา แล้ ว มองเห็ น มาวาด เริ่มแรกวาดสีโปสเตอร์ ตอน สอบโควต้าศิลปะเข้ามาใช้สีช็อล์ก แล้ว ก็มาเริ่มฝึกสีโปสเตอร์ (ท�ำงานศิลปะมา 6 ปี) ฐานะครอบครัวปานกลาง เขา ก็ส่งเสริม เพราะบางทีไปแข่งแล้วได้ ตังค์ก็เอามาช่วยครอบครัวได้ บางทีก็ เก็บไว้เป็นค่าเทอม คือเทอมนี้แม่ก็ไม่ ต้องจ่าย” แหวนเป็ น ตั ว แทนโรงเรี ย นไป แข่งศิลปะในระดับเขต และระดับภาค เป็นศิษย์อีกคนหนึ่งที่อาจารย์สุทัศน์ปั้น มาตั้งแต่ ม.1 ทุกเย็นหลังเลิกเรียนเธอ ต้องมาฝึกซ้อมที่ห้องศิลปะ ห้องที่เธอมี 56 IS AM ARE www.ariyaplus.com

ในงานบันทึกข้อตกลงความร่วม มื อ ระหว่ า ง มู ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพี ย ง กับ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เพื่อร่วมกัน ด� ำ เนิ น กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม และขั บ เคลื่ อ น แนวคิ ด หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอ เพี ย งสู ่ ส ถานศึ ก ษาและชุ ม ชน โดยมี หม่อมหลวง ปนัดดา ดิศกุล ให้เกียรติ ร่ ว มเป็ น สั ก ขี พ ยาน งานนี้ ถื อ เป็ น หน้ า เป็นตาของโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย และ แหวนถู ก เลื อ กให้ แ สดงฝี มื อ วาดภาพ เหมือนสีน�้ำท่านปนัดดา เป็นของที่ระลึก จากโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย ท�ำเอาท่าน ปนัดดายิ้มชื่นชมจนเอ่ยปากว่า “จะเอา ไปติดในห้องท�ำงาน”


“ปกติรับวาดสีน�้ำค่ะ วาดตามสั่ง เขาให้รูปแล้วเราก็วาด ถ้าวาดก่อนกลัว ขายไม่ได้ (หัวเราะ) ขนาดเอสี่ รูปเหมือนเป็นสีน�้ำ แล้วก็โปสการ์ดเล็กๆ มันวาด ได้เร็ว ถ้าวาดใหญ่ๆ มันต้องเก็บรายละเอียดเยอะ สนนราคาขนาดเอสี่คนเดียวหนู เก็บอยู่ที่ 250 บาท โปสการ์ดรูปเดี่ยวรูปละ 130 บาท ส่วนมากหนูก็มีลูกค้าเป็น น้องๆ ในโรงเรียน ไม่ค่อยขายแพง เขาส่งรูปมาให้เราวาด เดือนหนึ่งก็ได้ประมาณ 2-6 พันบาท ถ้ามีคนสั่งเยอะๆ อย่างคนเดียว 40 รูปอย่างนี้ค่ะ ขนาดครึ่งเอสี่” โดยส่วนตัวแหวนเป็นคนชอบวาดรูป ชอบอยู่เงียบๆ เวลาอยู่คนเดียวเธอจะ ใช้เวลาดูหนัง ฟังเพลง อ่านหนังสือที่ชอบ โลกอินเทอร์เน็ตก็เป็นแหล่งเรียนรู้อีกทาง หนึ่งที่เป็นประโยชน์ต่อคนท�ำงานศิลปะ เธอฝึกเทคนิคการวาดเพิ่มเติมจากยูทูบ โดย อาศัยพื้นฐานจากห้องเรียน อาจารย์สุทัศน์ยอมรับว่าเดี๋ยวนี้สังคมยูทูบหรืออินเทอร์เน็ต มีอิทธิพลและมีส่วนในการฝึกฝนเด็กๆ ไม่ว่าแขนงใดก็ตาม แม้แต่เด็กศิลปะเองก็เสาะ หาความรู้เพิ่มเติมตามสิ่งที่เขาสนใจได้ โดยไม่ต้องรอครูผู้สอน ขณะที่แหวนเองก็ใช้เวลา ว่างท�ำงานศิลปะของตนขายตามโซเชียล ถือเป็นการซ้อมมือไปในตัว “เป็นคนไม่ชอบเที่ยว ไม่ชอบเสียงดัง ไม่ชอบคนเยอะๆ ถ้าไม่มีอะไรท�ำ อยู่ เงียบๆ จะชอบวาดรูป สร้างอาชีพได้ ให้หนูมีรายได้จนโตมาถึงทุกวันนี้ คิดว่าเป็น สิ่งที่ท�ำให้เลี้ยงครอบครัวได้ เพราะหนูชอบ อยู่ด้วยแล้วมีความสุข เป้าหมายตอน นี้พยายามสอบให้ติดที่มหาวิทยาลัยศิลปากร ออกแบบศิลปะ ค่ะ”

57 issue 102 july 2016


ประสบการณ์ จ ากครู ผู ้ ส อน “เมื่ อ ก่ อ นตอนผมเรีย นทีวียัง ไม่มีเลยต้อ งฟัง วิ ท ยุ ” อาจารย์สุทัศน์พูดถึงบรรยากาศในการเรียนและการแข่งขัน ศิลปะในปัจจุบัน ห้องเรียนที่มีอุปกรณ์พร้อมทุกอย่าง ทั้งจอแส ดงภาพเพื่อวิจารณ์ผลงาน รวมถึงเทคโนโลยีต่างๆ ที่นักเรียน สามารถค้นคว้าได้ด้วยตัวเอง “เมื่อก่อนคนเก่งน้อย เดี๋ยวนี้คนเก่งเยอะมาก แข่งกัน งานหนึ่งเป็นร้อยๆ คน มี 5 รางวัล ฉะนั้นมันต้องฝึกฝน เคย พานักเรียนไปดูคนเขียนภาพเหมือนที่มาบุญคลองชั้น 1 ส่วน มากเขียนสีน�้ำมัน เขาบอกขนาดลุงหยุดวันเดียวมือไม่นิ่งแล้ว จริงๆ ต้องท�ำทุกวันนะ เขียนผมเป็นเส้นเห็นชัดเจน เขาเรียก ว่าความช�ำนาญ ท�ำทุกวัน จนหลับตาแล้วมองเห็น” เทคนิคในการสังเกตเด็กเก่งที่มีพรสวรรค์ในทางศิลปะ อาจารย์สุทัศน์แนะน�ำวิธีดูเด็กเก่งหรือไม่ให้ลองหยิบแก้วมา วางเป็นแบบให้เด็กดู แล้วก็เก็บแก้ว ให้เด็กจ�ำออกมาวาด ถ้า เด็กวาดได้เหมือนเดิมแสดงว่าคนนั้นมีพรสวรรค์ ปั จ จุ บั น อาจารย์ สุ ทั ศ น์ ก็ ยั ง ใช้ เ วลาส่ ว นใหญ่ ไ ปกั บ การฝึ ก ซ้ อ มเด็ ก ๆ เปิ ด โอกาสให้ เ ด็ ก ใหม่ ๆ ได้ ก ้ า ว ขึ้ น มาทดแทนเด็ ก รุ ่ น เก่ า ที่ จ บไป วนเวี ย นผู ก พั น กั บ งานศิ ล ปะและเด็ ก ๆ จนไม่ ส ามารถแยกตั ว ออกมาใช้ ชี วิ ต ที่ ต นวาดหวั ง ไว้ ไ ด้ แต่ ก ่ อ นที่ จ ะวางมื อ จากการ เป็ น ครู ศิ ล ปะ อาจารย์ สุ ทั ศ น์ ห วั ง อยากเห็ น วงการนี้ ก้ า วหน้ า กว้ า งไกล “แสดงว่าเด็กคนนั้นมีจิต มีความจ�ำ ความคิดอ่าน แต่ การท�ำแรกๆ ต้องดูแบบ ถ้าบอกนักเรียนไปวาดรูปนี้นะ แล้วก็ มาส่งครู ไม่ได้ ต้องให้ดูเยอะๆ สีไหนเป็นยังไง สีไหนลงก่อน หลัง บางทีสีช็อล์คยังลงไม่เป็นเลย สีชอล์คสีเข้มต้องลงก่อน สีอ่อนค่อยเข้าไปปั่นให้สีเข้มมันดูซอฟขึ้นมา ฉะนั้นต้องใช้ ทักษะตัวนักเรียนเองด้วย ใจด้วย” อาจารย์สุทัศน์ยอมรับว่าท�ำงานด้านนี้มายาวนานก็รู้สึก อิ่มตัวเหมือนกัน จนบางครั้งคิดทบทวนว่าจะตัดสินใจกลับไปท�ำ สวนที่ต่างจังหวัด แต่ด้วยความผูกพันระหว่างศิษย์และครูท�ำให้ ตัวอาจารย์เองยังอยู่จนถึงทุกวันนี้ “เหนื่อยแล้วเหมือนกัน จะออกๆ ออกไม่ได้ พอถึง เวลาคนนั้นบอกรอให้หนูจบก่อนถึงจะไป ที่จริงผมก็เริ่มอิ่มตัว เหมือนกันนะ อยากจะไปอยู่สวน เลี้ยงนก อยู่ที่นี่มาตั้งแต่ปี 2532 ยี่สิบเจ็ดปีมาแล้วนะ ผอ.ไม่รู้กี่สิบคนแล้ว แต่เราภูมิใจ ผู้บริหารไม่มีที่ขออะไรแล้วไม่ได้ ไม่มีนะ เพราะเราท�ำด้วยใจ อยู่มืดค�่ำ ที่นี่ถ้างานศิลปะหัตถกรรมนี่นอนโรงเรียนนะเด็กๆ ปูเสื่อนอนแถวนี้แหละ ตั้งโรงครัวบนห้องเลย” 58 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ไหนมาถามได้เลย” ปัจจุบันอาจารย์สุทัศน์ก็ยังใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการฝึก ซ้อมเด็กๆ เปิดโอกาสให้เด็กใหม่ๆ ได้ก้าวขึ้นมาทดแทนเด็กรุ่น เก่าที่จบไป วนเวียนผูกพันกับงานศิลปะและเด็กๆ จนไม่สามารถ แยกตัวออกมาใช้ชีวิตที่ตนวาดหวังไว้ได้ แต่ก่อนที่จะวางมือจาก การเป็นครูศิลปะ อาจารย์สุทัศน์หวังอยากเห็นวงการนี้ก้าวหน้า กว้างไกล มีการแข่งขันและการตัดสินที่เปิดเผยต่อสาธารณะ สามารถชี้แจงโต้แย้งกันด้วยเหตุผลได้ สร้างมาตรฐานให้วงการ ศิลปะได้ยกระดับขึ้น ซึ่งจะเป็นผลดีต่อเด็กๆ ที่จะเอาความรู้ ความเข้าใจไปศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ไม่ว่าสถาบันไหน ก็ตามที่เด็กสอบเข้าได้ อาจารย์สุทัศน์คนนี้ภูมิใจในศิษย์ทั้งนั้น “ผมสอนเด็กๆ ว่า การมาท�ำงานศิลปะต้องมีตัวกับ หัวใจ แค่นี้พอแล้ว อย่างอื่นเธอก็ได้กลับไปหมด” อาจารย์ สุทัศน์กล่าวทิ้งท้าย

แม้แต่โลกของศิลปะก็ยังสอดแทรกวิถีชีวิตที่ต้องด�ำเนิน ไปภายใต้ความพอเพียง อาจารย์สุทัศน์เน้นกับลูกศิษย์ว่าถึงแม้ โรงเรียนจะมีอุปกรณ์ มีสี ให้ฝึกซ้อมไม่ขาด แต่การน�ำไปใช้ต้อง ค�ำนึงถึงความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุด สีที่เหลือหรือแห้งติด ก้นขวดสามารถเอาน�้ำหยอดแล้วน�ำกลับมาสร้างผลงานศิลปะ ได้เหมือนกัน ผลงานต่างๆ ของนักเรียนอาจารย์สุทัศน์เก็บไว้ ทุกภาพ เป็นความภูมิใจของครูท่ีท�ำหน้าที่ส่งเด็กขึ้นฝั่งรุ่นแล้ว รุ่นเล่า “ถ้ า เด็ ก ส่ ง ภาพมาแล้ ว ครู ซุ ก ใต้ โ ต๊ ะ คนนั้ น ก็ คื อ แย่ แล้ว ต้องอยากให้เห็น เก็บไว้ต้ังเยอะผมไม่ได้คืนเด็กนะ พอ ถึงเวลาก็หมุนโชว์ไปเรื่อยๆ ให้คนได้เห็น ผมบอกลูกเอ๊ย ถ้า ภาพอยู่กับหนูก็ชื่นชมได้ในครอบครัวหนูอย่างเดียว แต่อยู่ โรงเรียนคนโน้นเห็นคนนี้เห็น น้องเห็น พี่เห็น ผู้ปกครองเห็น เขาชื่นชมนะ เวลาเขามาประเมิน ผมบอกอยากเรียกเด็กคน

59 issue 102 july 2016


เศรษฐกิจพอเพียง... เข้าใจใหม่ ใช้ได้จริง

เรื่อง สุธีรา ลักขณาธร ภาพ แฟ้มภาพของมูลนิธิชัยพัฒนา และทีมช่างภาพสำ�นักงานมูลนิธิชัยพัฒนา 60 IS AM ARE www.ariyaplus.com


เมื่อกล่าวถึงคำ�ว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” คนส่วนใหญ่รจู้ กั และเคยได้ยนิ แต่ในยุคสมัย แห่งทุนนิยมอย่างปัจจุบนั หลายคนคงเกิด คำ�ถาม “จะใช้อย่างไร” คนจำ�นวนไม่น้อย จึงมองเป็นเรื่องไกลตัวเป็นเรื่องของการ เกษตร เป็นเรื่องของการแก้ไขปัญหาความ ยากจนอดอยาก บ้างก็พยายามหาข้อเสีย และกล่าวว่าไม่มีทางจะนำ�มาใช้ได้ นั่นเป็น เพราะไม่เคยทำ�ความเข้าใจเรื่องของเศรษฐกิจ พอเพียงอย่างแท้จริง ทั้งที่คำ�นี้หากเข้าใจ อย่างถ่องแท้ จะเป็นหลักการ เป็นแนวทาง ในการดำ�เนินชีวิตที่มั่นคง เรียบง่าย และ ก่อให้เกิดความสุข “เศรษฐกิจพอเพียง” ปรัชญาในการ ดำ�เนินชีวิตที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้

พระราชทานไว้เมื่อปีพุทธศักราช 2517 ซึ่งนับเป็นระยะ เวลายาวนานกว่า 40 ปี ที่หลายคนมองข้าม ด้วยความ เข้าใจที่ไม่ถูกต้อง แต่ในความเป็นจริง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นเรื่องที่เข้าใจง่าย ใช้ได้ทุกยุคสมัย เหมาะกับคนทุก เพศ ทุกวัย ทุกสาขาอาชีพ และเป็นหลักคิดหลักปฏิบัติที่ เหมาะสมกับประเทศไทยเป็นอย่างยิ่ง เศรษฐกิจพอเพียง ไม่ใช่เรือ่ งของการเกษตรเท่านัน้ อย่างที่ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา ได้ เคยพูดไว้ว่า “เวลาได้รับเชิญไปบรรยายที่ไหนในเรื่องของ เศรษฐกิจพอเพียง จะต้องมีการจัดเตรียมด้วย กระท่อม แปลงนา แปลงผัก ฝูงเป็ดไก่ ถ้าเอาวัวควายมาผูกไว้ได้ ก็ คงจะทำ�” แล้วท่านก็หัวเราะ แม้จะแฝงด้วยอารมณ์ขัน แต่ฟงั แล้วก็อดคิดไม่ได้วา่ เหตุใดคนส่วนใหญ่จงึ เข้าใจเช่นนัน้ หากพิ จ ารณาหลั ก การของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง องค์ประกอบแบบแผนภูมใิ ห้เข้าใจง่าย ประกอบด้วย 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ห่วงที่ 1 คือความประมาณตน ห่วงที่ 2 คือ

ความมีเหตุมีผล ห่วงที่ 3 คือมีภูมิคุ้มกัน และอีก 2 เงื่อนไข คือ ความรู้ และคุณธรรม

• ความพอประมาณ หมายถึง “พอดี” พอดีต่อ ความจำ�เป็นและพอดีกับฐานะของตน ไม่มากเกินไป ไม่น้อย เกินไป ต้องไม่เบียดเบียนทั้งตนเองและผู้อื่น อยากมีมีได้ แต่ อย่าให้เกินตัว ดูฐานะ ดูรายได้ ดูกำ�ลัง ดูความเหมาะสม มี เงินใช้และมีเงินเก็บ ไม่ฟุ้งเฟ้อแต่ก็ไม่ตระหนี่ ไม่ก่อหนี้ยืมสิน ทั้งหมดนี้คือทางสายกลาง • ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจใดๆ อย่างมีเหตุมีผล ตามหลักเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่ง อาจเป็น คุณธรรม ขนบประเพณีอันดีงาม วิชาการ กฎหมาย โดย คำ�นึงถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องอย่างถ้วนถี่ • การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี หมายถึง การ เตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านใด ด้านหนึง่ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ไม่วา่ จะเป็นเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม เพื่อให้สามารถรับมือและปรับตัวได้อย่างทันท่วงที นั่นคือ ความไม่ประมาท 61

issue 102 july 2016


• ความรู้ คือการนำ�หลักวิชา รวมถึงเทคโนโลยีที่เหมาะ สมมาใช้ ด้วยความรอบคอบ • คุณธรรม คือความดีงาม ความถูกต้อง การดำ�เนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ก็คือการ ใช้ชีวิตอย่างมีสติ ประกอบด้วยความเพียร ความอดทน และความ รอบคอบ โดยเริ่มจากตนเองแล้วจึงขยายไปสู่ครอบครัว ชุมชน องค์กร สังคม และประเทศชาติ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ได้กล่าวถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียงในระดับประเทศไว้ว่า “ประมาณตน คืออย่าเกินตัว ถนัดอย่าง ไหนควรทำ�อย่างนั้น ถนัดเกษตรก็ทำ�เกษตร หากจะทำ�อุตสาหกรรม

ก็ควรเป็นอุตสาหกรรมเกษตร อย่าไปทำ�ในสิ่ง ที่ไม่มีทุน ทั้งเงิน เครื่องจักร ความรู้ ต้องไป พึ่งพาคนอื่นหมด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไม่เคยทิ้งเรื่องของการเกษตร เรื่องของอาหาร สอนให้พออยู่พอกิน แต่พวกเราก็ไม่พอใจ อยาก รวย เพราะทำ�การเกษตรอาจไม่รวยแต่อยู่ได้ มี ความพอดี มีความสงบ ก็ไม่เอา อยากจะรวย แล้วก็ทุกข์ ปรัชญาก็มีเพียงเท่านี้ คือธรรมะ 3 คำ� จะทำ�อะไรให้ประเมินตนอย่าทำ�อะไรเกินตัว ใช้เหตุผลเป็นเครื่องนำ�ทาง และอย่าประมาท” เปรียบเสมือนคนหิวข้าว ก็ให้กิน แต่ กินให้พอดี มีเงิน 100 บาท จะเข้าร้านอาหาร หรูหราก็คงไม่ใช่ กินร้านข้าวแกงธรรมดา นอก จากจะอิ่มท้อง ยังมีเงินเหลือ ในยุคสมัยแห่ง วัตถุนิยม อาจดูเหมือนเป็นเรื่องที่ทำ�ได้ยาก แต่ สามารถทำ�ได้ดว้ ยความเข้าใจ เศรษฐกิจพอเพียง ไม่ใช่เรื่องของการเก็บกดความต้องการ แต่มี และใช้ให้ไม่เกินตัว น่าดีใจทีป่ จั จุบนั ได้เห็นบุคคล มากมายในสังคมทีด่ ำ�เนินชีวติ ตามหลักเศรษฐกิจ พอเพียง ยึดแบบอย่างแห่งพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว เป็นตัวอย่างให้เห็นว่าการใช้ชีวิต ที่ไม่ยึดติดกับวัตถุจนมากเกินความจำ�เป็นและ มองเห็นความสำ�คัญของสิ่งรอบตัวให้มากขึ้น เป็นชีวิตที่มีความสุขแค่ไหน

62 IS AM ARE www.ariyaplus.com


การใช้เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเรือ่ งไม่ยาก แต่ทง้ั นีต้ อ้ งอยูบ่ นความเข้าใจอย่างถ่องแท้ และนำ�ไปประยุกต์ใช้ได้อย่าง ถูกต้อง ทั้งหมดอยู่บนหลักการเดียวกัน แต่วิธีการอาจแตกต่างกันบ้าง ที่สำ�คัญคือต้องมีสติ คิดอย่างรอบคอบ และยึดหลัก ทางสายกลาง จึงจะช่วยให้สามารถดำ�รงตน ดำ�รงชีวิตได้อย่างมั่นคง เป็นอิสระ และนำ�ไปสู่ความสุข

...ความคิดว่าทำ�อะไรต้องพอเพียงหมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภ อย่างมากคนเราก็อยูเ่ ป็นสุข...พอเพียงนีอ้ าจจะมีมาก อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่วา่ ต้องไม่เบียด เบียนคนอื่น ต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง ทำ�อะไรก็พอเพียง ปฏิบัติตนก็ พอเพียง...

พระราชดำ�รัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่คณะบุคคลต่างๆ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 4 ธันวาคม พ.ศ. 2541

63 issue 102 july 2016


Sufficiency Economy… A Happy Life Awaits True Understanding

Story by Suteera Luckhanathorn Translated by Vararat Khemangorn Photos by Chaipattana Foundation’s team

64 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Most people have heard of the “Sufficiency Economy” philosophy, but, in today’s capitalist era, some people may doubt how the principle can be applied. Thus, many people view it as some distant concept while others think it only applies to agriculture or poverty eradication. Some may even try to find flaws in it, claiming that it is not practical but only. However, such criticism lacks genuine understanding while, in fact, it is a concept and a way of life that can lead to sustainable, simple, and happy living. His Majesty King Bhumibol Adulyadej initiated the “Sufficiency Economy” philosophy in 1974,

more than 40 years ago. However, it did not attract attention of the majority due to incorrect understanding. In truth, Sufficiency Economy is a very simple idea that can be applied regardless of time and generation, by people of all genders, age and walks of life. Most importantly, it is a concept that fits the Thai context splendidly. Sufficiency Economy is not all about agriculture as Dr. Sumet Tantivejkul, Secretary-General of the Chaipattana Foundation once said, “When I get invited to speak about Sufficiency Economy, the

event organizer always sets the stage with mock-up bamboo huts, paddy fields, ducks and chickens. If they could bring buffaloes, I guess they would too.” There is humor in this statement. However, one cannot help but wonder why most people understand the concept that way. Sufficiency Economy comprises 3 pillars: moderation; reasonableness; and risk management, and 2 conditions: knowledge and virtue. - Moderation: Sufficiency at a level of not doing something too little or too much at the expense of oneself or others. It means having what one needs and what one can afford. It is alright to want possessions, but one should not overstretch oneself to obtain them. Always assess your finance, income, ability and appropriateness. One should have money to spend and save, and one should neither over indulge nor be stingy. Avoid incurring debt when possible. These are examples of moderation. - Reasonableness: The decision concerning the level of sufficiency must be made rationally based on some forms of guidelines, for example, ethics, customs, academic knowledge and laws. Consideration of the factors involved and careful antic 65 issue 102 july 2016


ipation of the plausible outcomes must be made. - Risk Management: Preparation must be made to cope with the likely impact and changes in various aspects – economic, social and environmental, so that one can respond and adjust in a timely manner. In other words, one needs to exercise prudence. -Knowledge:Careful and appropriate application of knowledge in the relevant fields and technology.

- Virtue: Do what is good and right.

To live in accordance with Sufficiency Economy principle is to live with mindfulness, perseverance, patience and prudence, starting from oneself then gradually expanding to family, community, institution, society and country at large. Dr. Sumet Tantivejkul has shared his thoughts on Sufficiency Economy for the country, “Moderation is not overburdening oneself. One should do what one is good at. A good farmer should practice agriculture. If he wants to get into manufacturing then it should be for agricultural products. Do not venture into careers in which you do not have any expertise or resources – finance, machinery or knowledge, in which to invest or you would end up having to rely on others for everything. His Majesty always emphasizes agriculture and food. He teaches 66

IS AM ARE www.ariyaplus.com


us to live and consume in moderation, but we are not satisfied because we want to be rich. One does not become rich doing agriculture, but one can have a sufficient and peaceful life. This still is not acceptable to us. We want to be rich, and then we end up miserable. In the end, Sufficiency Economy boils down to the 3 words of the Dharma: moderation, reasonableness and risk management.” Consider this analogy. A hungry person needs food, but one should eat in moderation. If one has 100 baht to spend, one should not go to a fancy restaurant. Instead, if one eats at a basic roadside restaurant, one will have a full stomach and still be left with some cash. In the modern capitalist world, this may seem a difficult thing to do. However, if we apply Sufficiency Economy with true understanding, it is not at all about suppressing ones needs and wants but about having what one can truly afford. It is incredible that today many people are beginning to revert to the practice of Sufficiency Economy, using His Majesty as a role model who always shows us that we can be so happy if only we are not attached to material things and pay attention to our surrounding

environment. It is not difficult to follow Sufficiency Economy but one needs genuine understanding to correctly apply it. The principles are always the same, but the methods can be different. The most important factors are mindfulness, careful consideration, and staying on the middle path. With these guidelines, anyone can support themselves and achieve a lives filled with stability, freedom and happiness.

“…Being moderate does not mean to be too strictly frugal. Luxurious items are permissible, but one should not take advantage of others in the fulfillment of one’s desires. Moderation, in other words, living within one’s means, should dictate all actions. Act in moderation, speak in moderation; that is, be moderate in all activities…” Royal Speech given to the audience of well-wishers on the occasion of the Royal Birthday Anniversary on December 4, 1998 67

issue 102 july 2016


ปี ชวด

การงาน – เกื้อหนุนกัน โอกาสที่จะก้าวหน้ามาถึงแล้ว แต่คุณกลับพบว่าพลังงานของคุณลดต�่ำลง ดาวแห่งโรคภัย ท�ำให้คุณล้มป่วยได้ง่ายขึ้น คุณต้องพยายามใช้ชีวิตอย่างถูกสุขลักษณะ หากคุณท�ำงานตอนที่รู้สึกป่วย คุณอาจส่ง งานที่ด้อยกว่ามาตรฐานของคุณ ธุรกิจ – ส่งเสริมลูกน้อง คุณมีโชคด้านการเงินที่ดีเยี่ยมในเดือนนี้ จึงควรทุ่มเทพลังงานให้กับด้านนี้ ลองคิดถึงแหล่งรายได้ของคุณ มุ่งไปที่การเก็บเงิน ในด้านการปฏิบัติงาน ควรส่งเสริมพนักงานและผู้จัดการ แต่คุณอาจรู้สึกว่าระดับพลังงานของคุณถดถอย คุณควร พักจากโต๊ะท�ำงานแค่ช่วงสั้นๆเป็นระยะๆ ความรักและความสัมพันธ์ – สดใส โชคด้านความรักสดใสในเดือนนี้ หากคุณก�ำลังคบหาใครบางคนอยู่ คุณจะปรับตัวเข้าหากันได้ อย่างเข้าใจ คนปีชวดบางคนอาจรู้สึกเหมือนตกหลุมรักได้ไม่รู้เบื่อ ทั้งยังเป็นมงคลส�ำหรับการหมั้นหมาย แต่งงาน การศึกษา – จัดเวลาให้ดี คุณอาจพบว่าตัวเองเหนื่อยง่ายและยิ่งแย่เมื่อมีความเครียดผสมโรงเข้ามา คุณควรวางแผนให้ดีและท�ำงาน ที่ได้รับมอบหมายให้ตรงตามเวลา ดูแลสุขภาพของคุณให้ดี

ปี ฉลู

การงาน – ควบคุมทุกอย่างให้ดี ความคิดเห็นของคุณในที่ท�ำงานอาจถูกต่อต้านจากคนที่ไม่ได้ผลประโยชน์จาก ความคิดเห็นพวกนั้น คุณต้องคอยควบคุมสิ่งที่คุณพูดและท�ำ อย่ายอมให้ผู้อื่นพูดแทนคุณ เดือนนี้อาจไม่ปลอดภัย คุณจึงต้องรอบคอบและระวังหลังของคุณไว้ให้ดี ธุรกิจ – รักษาและเสริมความแข็งแกร่ง ตอนนี้อาจเป็นช่วงเวลาที่ตรึงเครียด แม้ว่าทุกสิ่งอาจดูเหมือนจะด�ำเนินไปอย่างราบรื่น ช่วงนี้ไม่ ควรเสี่ยงด้านการเงิน รักษาสภาพและส่งเสริมความแข็งแกร่งไปก่อน จงใช้ความสามารถของคุณอย่างชาญฉลาด ความรักและความสัมพันธ์ – รักสุดใจ หากความรักคือสิ่งที่คุณไขว่คว้า คุณจะไม่ผิดหวังแน่นอน คนปีฉลูที่มีความสัมพันธ์แล้วควร ระวังอย่าให้ความรักที่เกิดขึ้นจากคนนอกมาท�ำลายสิ่งที่มีค่าอย่างแท้จริง เพราะคุณอาจเสียใจในภายหลัง

ปี ขาล

การงาน – ปรับปรุงทักษะ เดือนนี้อาจเป็นช่วงเวลาที่อันตราย คุณจะถูกบีบให้ต้องท�ำในสิ่งที่ไม่ช�ำนาญตลอดเวลา คุณ ต้องปรับปรุงทักษะของคุณและพัฒนาตัวเอง แต่อย่าละเลยสุขภาพของคุณ จงอย่าหวั่นเกรงกับความเร่งร้อนในเดือนนี้ ธุรกิจ – ท้าทายตัวเอง อุปสรรคที่เกิดขึ้นชั่วคราวอาจขัดขวางงานของคุณ คุณจ�ำเป็นต้องหาทางอื่นแทนที่จะวางมือ ท้าทายตัวเองให้ เอาชนะปัญหาให้ได้ด้วยปัญญา เดือนนี้จะกลายเป็นเดือนที่สร้างแรงจูงใจให้คุณ อุปสรรคจะช่วยให้คุณแข็งแกร่งขึ้น ความรักและความสัมพันธ์ – ไม่ว่างจะสนใจ มีหลายสิ่งหลายอย่างเกิดขึ้นในชีวิตคุณจนคุณไม่มีเวลาที่จะสนใจกับความรัก อาจท�ำให้ คนที่คุณคบหาดูใจด้วยรู้สึกไม่มั่นใจเพราะคุณดูไม่ใส่ใจ หากความรักคือสิ่งที่คุณก�ำลังมองหา ก็อย่าหวังที่จะก้าวหน้าในด้านนี้ การศึกษา – ไม่มีใจ คุณมีความคิดเต็มตัวและท�ำได้ดีเมื่อได้อภิปรายในหัวข้อที่คุณสนใจ คุณอาจวอกแวกไปสนใจในด้านอื่นๆ นอกห้องเรียน อย่ายอมให้งานอดิเรกที่ต้องใช้เวลามากระทบต่อการเรียนของคุณ คุณต้องหาทางสายกลางที่ลงตัว

68 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Wheel Of Life

ปี เถาะ

การงาน – พลังทีม พลังของเดือนนี้หนักไปที่เรื่องของความสัมพันธ์ ยิ่งคุณติดต่อกับเพื่อนร่วมงานมากเท่าไหร่ คุณก็จะยิ่งมีความสุขมากเท่านั้น เดือนนี้ยังดีมากส�ำหรับการพัฒนาทักษะของคุณเองพร้อมรับงานใหม่ๆด้วยความ กระตือรือร้น แม้คุณอาจไม่เข้าใจในบางสิ่งแต่คุณจะเข้าใจมันในไม่ช้าเมื่อได้รับความช่วยเหลือจากคนที่เหมาะสม ธุรกิจ – พันธมิตรเชิงกลยุทธ์ สิ่งต่างๆจะพร้อมใจเข้ามาหาคุณ พันธมิตรเชิงกลยุทธ์จะน�ำโอกาสใหม่ๆ ที่จะขยายธุรกิจมาให้ ที่มา ของโชคด้านความมั่งคั่งของคุณจะเป็นการท�ำสัญญาอย่างฉลาดกับคนที่เหมาะสม การติดต่อสื่อสารจึงจะให้ผลดีเป็นพิเศษในช่วงนี้ ความรักและความสัมพันธ์ – รักเบ่งบาน ความสัมพันธ์ทุกรูปแบบแข็งแกร่งขึ้น ในด้านชีวิตรัก การคบหาดูใจและพบปะกับผู้คน ใหม่ๆ คนโสดปีเถาะมีโอกาสที่จะได้พบรักแท้ในเดือนนี้ ส่วนคนแต่งงานมีความเสี่ยงที่จะเกิดการนอกใจ พลังแห่งความรักในเดือนนี้ ไม่ได้จ�ำกัดเฉพาะความสัมพันธ์ที่ถูกศีลธรรม จึงต้องระวังให้ดี การศึกษา – ก้าวหน้าดีเยี่ยม ดาวแห่งการศึกษาน�ำโชคดีด้านการเรียนมาให้คุณ คุณจึงเรียนรู้สิ่งใหม่ๆได้อย่างง่ายดาย หากคุณพยายาม เพิ่มอีกสักนิด คุณก็จะก้าวหน้าได้อย่างดีเยี่ยม

ปี มะโรง

การงาน – เกินจะรับไหว ชีวิตการงานอาจไม่ท�ำให้คุณพอใจได้เหมือนเดิม บางคนอาจคิดที่จะเปลี่ยนงาน จึงอาจท�ำให้ คุณอ่อนแอในช่วงเวลานี้ของปี อย่ายอมแพ้ง่ายเกินไป ทนไว้ก่อน เพราะสิ่งต่างๆจะดีขึ้นอีกครั้งอย่างรวดเร็ว ธุรกิจ – อย่าเสี่ยง โชคด้านธุรกิจและความมั่งคั่งดิ่งลง จึงไม่ควรเสี่ยงในทุกรูปแบบไม่ว่าจะเป็นเรื่องเงินหรือเรื่องอื่นๆ อย่าท�ำตัวเด่นและคอยหลบให้พ้นจากความสนใจที่ไม่เป็นผลดี ทางที่ดีจึงควรรอจนถึงเดือนหน้าก่อนที่จะเดินหน้าลงมือท�ำสิ่งใหม่ๆ ความรักและความสัมพันธ์ – ยอมรับทุกอย่างที่เกิด คนปีมะโรงที่ทุ่มเทกับความรักมากเกินไปอาจพบว่าคุณต้องเจ็บปวด ลด ความคาดหวังลงบ้าง ท�ำตัวตามสบายอย่าจริงจังเกินไป หากคุณสามารถรับทุกอย่างที่เกิดขึ้นและคาดหวังจากตัวเองและผู้อื่นให้น้อย ลงได้ คุณจะมีความสุขมากยิ่งขึ้น การศึกษา – พักสักหน่อย หากพบคุณพบว่าตัวเองก�ำลังหักโหมมากเกินไป ก็ควรใช้เวลาพักผ่อนสมองบ้าง ท�ำงานอดิเรกหรือเล่นกีฬา ปกติแล้วการขยันเรียนให้ผลดี แต่ตอนนี้การพักจะเป็นผลดีมากกว่าส�ำหรับคุณ

ปี มะเส็ง

การงาน – อย่าอ่อนไหวเกินไป คุณอาจรู้สึกว่าคู่แข่งในที่ท�ำงานของคุณก�ำลังพยายามจะท�ำลายการลงแรงของคุณ แต่แทนที่จะยอมแพ้และสงสารตัวเอง ลองใช้เหตุการณ์นี้เป็นแรงผลักดันให้คุณท�ำผลงานให้ดียิ่งขึ้น อย่าอ่อนไหวเกิน ไปจงมองค�ำวิจารณ์ให้เป็นค�ำแนะน�ำเชิงสร้างสรรค์ จงอดทนและพยายามให้มากกว่าที่เคยผ่านมา ธุรกิจ – ประเมินสถานการณ์ คนปีมะเส็งที่ท�ำธุรกิจจะรู้สึกถึงผลกระทบด้านลบ ไม่ควรเสี่ยง รักษาผลประโยชน์ของคุณไว้ การท�ำ ธุรกิจใหม่ที่เริ่มต้นตอนนี้ยากจะส�ำเร็จ ผู้อื่นมักเข้าใจเจตนาของคุณผิดไป ทางที่ดีควรพักแล้วค่อยกลับมาเริ่มใหม่ ความรักและความสัมพันธ์ – ความรู้สึกเปราะบาง ความเข้าใจผิดเล็กน้อยอาจท�ำลายสิ่งต่างๆในความสัมพันธ์ของคุณหลีกเลี่ยง การทะเลาะเพราะอาจท�ำให้กลายเป็นเรื่องใหญ่ ส่วนคนโสดหากเริ่มความสัมพันธ์ใหม่ในตอนนี้ยากที่จะอยู่ได้นาน การศึกษา – เรียนคนเดียวดีกว่า คุณจะเรียนได้ดีกว่าในเดือนนี้ หากคุณเรียนคนเดียว แม้ว่าคุณจะหวังดี แต่เพื่อนๆ อาจไม่ใจกว้าง เช่นเดียวกับคุณเมื่อต้องแบ่งความรู้กัน คบหาเพื่อนๆ ไว้เฉพาะเรื่องสังคม แต่ในเรื่องเรียน บินเดี่ยวจะดีกว่า

69 issue 102 JULY 2016


ปี มะเมีย

การงาน – น่าเชื่อถือ คุณมีพลังโชคดี จึงลงมือท�ำได้อย่างกล้าหาญและเชื่อมั่น ผู้อื่นจะคล้อยตามคุณและความเป็น ผู้น�ำของคุณก็ปรากฏชัด อย่าเขินอายที่ต้องรับผิดชอบ ท�ำงานทุกอย่างที่ได้รับมอบหมายให้ส�ำเร็จ โชคด้านการเลื่อน ต�ำแหน่งดีส�ำหรับคนปีมะเมียที่มุ่งหวัง ธุรกิจ – จับธุรกิจใหม่ได้ส�ำเร็จ ช่วงเวลาที่ให้ผลมากมายในธุรกิจ คุณจะท�ำอะไรได้มากมายกว่าที่คุณเชื่อ ส�ำหรับผู้ประกอบการที่ยัง เยาว์วัย โชคดีนี้จะน�ำผู้ชี้น�ำ ประตูให้คุณและสลายอุปสรรคที่ขวางทางก้าวหน้าของคุณได้ ตอนนี้เป็นเวลาที่การขยายธุรกิจไปสู่ด้าน ใหม่ๆจะน�ำรางวัลที่คาดไม่ถึงมาให้ ความรักและความสัมพันธ์ – การเปลี่ยนแปลง คนปีมะเมียบางคนจะพัฒนาความสัมพันธ์ไปสู่ขั้นต่อไป ส่วนบางคนก็อาจมาถึงจุดจบ ของความสัมพันธ์ อย่าฝืนอนาคตหากเห็นได้ชัดว่าไม่ใช่

ปี มะแม

การงาน – ดุเดือด แม้ว่าสิ่งต่างๆอาจดูดุเดือดขึ้นในที่ท�ำงานเพราะคุณมักมีความเห็นไม่ลงรอยกับเพื่อนร่วมงาน แต่ โชครหัสเหอถูในผังดวงชะตาของคุณกลับบ่งชี้ว่า คุณแทบไม่ต้องกังวลเรื่องนี้เลยคุณจะเป็นฝ่ายชนะในที่สุด แต่จง หลีกเลี่ยงการทะเลาะมีเรื่อง เพราะอาจท�ำให้เกิดเรื่องใหญ่โต ธุรกิจ – ขัดกับสามัญส�ำนึก เดือนนี้เป็นเดือนที่ดีที่คุณจะเร่งท�ำงานประชาสัมพันธ์และท�ำให้บริษัทหรือตัวคุณเป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น แต่ จงระวังคุณอาจมีเรื่องท�ำผิดกฎหมายหรือพบว่าเพื่อนฟ้องร้องคุณ คุณควรหาโคมไฟพระแม่ตาราแดงวางไว้ในทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ บ้านหรือที่ท�ำงาน ความรักและความสัมพันธ์ – เสน่ห์ยังแรง ความรักอาจดับวูบลงง่ายๆเมื่อดาวหมายเลข 3 โคจรมาเยือนท�ำให้คุณไม่น่าอยู่ใกล้ด้วย เลย หากคุณคบหากันมานานแต่ส�ำหรับคนที่ก�ำลังเริ่มต้นความสัมพันธ์ใหม่ เสน่ห์ของคุณจะเหลือร้ายทีเดียว กาศึกษา – โชคด้านการเป็นผู้น�ำ เด็กปีมะแมที่ต้องการเป็นคณะกรรมการของชมรมหรือสมาคมอาจประสบความส�ำเร็จในเดือนนี้ นี่อาจเป็นเป้าหมายที่คุ้มค่าเพื่อท�ำให้ชีวิตการเรียนของคุณสมบูรณ์ขึ้นและท�ำให้ประวัติการศึกษาดูดี

ปี วอก

การงาน – มุมมองที่แตกต่าง มิตรภาพกับเพื่อนร่วมงานอาจพังทลายลงในเดือนนี้ ด้วยความเห็นของคุณที่แตกต่าง อย่ายอมให้ความสัมพันธ์แย่ลง เดินหนีหากมีปากเสียงกัน ทางที่ดีในช่วงนี้คุณควรท�ำงานคนเดียวตามที่คุณจะท�ำ

ไหวดีกว่า ธุรกิจ – เรื่องวุ่นๆกับกฎหมาย ระวังคดีความกับปัญหาทางกฎหมายไว้ให้ดี การเซ็นสัญญาหรือข้อตกลงต่างๆในช่วงนี้ไม่ดีเอาเสียเลย หรือแม้แต่เปิดตัวอะไรก็ตาม ระวังอย่าท�ำผิดกฎหมาย แม้ว่าคุณจะท�ำผิดเพียงเล็กน้อย แต่พลังดาวตอนนี้อาจท�ำให้กลายเป็นเรื่องใหญ่ได้ ความรักและความสัมพันธ์ – อ่อนไหว ไม่ใช่เวลาที่ง่ายเลยส�ำหรับคนที่ก�ำลังมองหาความรัก คุณเสี่ยงต่อสภาพอารมณ์ที่ปั่นป่วน อาจท�ำให้คุณอ่อนไหวง่ายกว่าปกติ ตอนนี้ไม่ใช่เวลาดีส�ำหรับคนที่จะเริ่มความสัมพันธ์ใหม่ การศึกษา – เป็นที่หนึ่ง เป็นเดือนที่ดีส�ำหรับเด็กปีวอกที่ไขว้คว้าความเป็นเลิศในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง คุณมีโชคด้านชื่อสียงโดดเด่นใน เดือนนี้ ลองพยายามเป็นที่หนึ่งในด้านการเรียนของคุณ แต่ควรตั้งใจท�ำให้ได้อย่างน้อยสักหนึ่งวิชา

70 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Wheel Of Life

ปี ระกา

การงาน – หลากหลาย คุณอาจมีโอกาสได้ใช้ทักษะที่หลากหลายของคุณกับงานในเดือนนี้ท�ำให้คุณได้มีโอกาส แสดงความสามารถ เดือนนี้ไม่ใช่เวลาที่การทุ่มเทท�ำงาน การแต่งตัวของคุณ หรือความน่าเชื่อถือของคุณที่จะท�ำให้ คุณก้าวหน้าแต่จะเป็นผลการท�ำงานของคุณต่างหาก ธุรกิจ – ระบบความคิดใหม่ๆ โชคด้านการเงินดีมาก หากคุณมีธุรกิจที่มั่นคงและระบบด�ำเนินไปเองเป็นปกติจนยากจะมีนวัตกรรม หรือความคิดใหม่ๆเกิดขึ้นตอนนี้เป็นช่วงเวลาที่ดีที่จะน�ำกลยุทธ์หัวก้าวหน้ามาใช้บ้าง ความรักและความสัมพันธ์ – เปิดกว้าง เป็นเดือนที่ยอดเยี่ยมส�ำหรับความรักและทุกเรื่องที่เกี่ยวกับหัวใจ หากคุณพบคนที่จะ สานสัมพันธ์ให้ลึกซึ้งด้วยแล้ว ก็เดินหน้าวางแผนแต่งงานได้เลย การศึกษา – เติบโต เด็กปีระกาจะรู้สึกมีพลัง นิสัยช่างซักถามของคุณจะให้ผลดีที่สุดเมื่อคุณเริ่มเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรม ท�ำให้คุณ รู้สึกเป็นผู้ใหญ่มากขึ้น และพ่อแม่ก็ยังได้แรงบันดาลใจจากความร่าเริงและความมั่นใจของคนวัยเยาว์อีกด้วย

ปี จอ

การงาน – ทางสายกลาง คุณอาจมีโอกาสที่จะก้าวหน้าในด้านอาชีพแต่หนทางอาจไม่ค่อยราบรื่นนัก คุณอาจต้องใช้ ทางสายกลางเพื่อรักษามิตรภาพพร้อมๆกับก้าวหน้าไปด้วย รักษาสิ่งดีๆในตัวเองไว้ อย่ายอมให้คนอื่นดูถูกคุณ ดังนั้น คุณจึงอาจต้องแสยะเขี้ยวขู่บ้างเป็นครั้งคราว ธุรกิจ – ควบคุมทุกอย่างเอง ในการท�ำธุรกิจ คุณอาจต้องตัดสินใจบางอย่างที่น�ำไปสู่ความส�ำเร็จที่ยิ่งใหญ่ จงเดินหน้าอย่างมั่นคงใน เรื่องที่คุณท�ำอยู่ แต่ระวังคุณมีความเสี่ยงที่จะถูกโกง ทางที่ดีควรจัดการทุกอย่างด้วยตนเองแทนที่จะเดินตามคนอื่น ความรักและความสัมพันธ์ – เรียบง่าย ในเดือนนี้จะเป็นเรื่องของความอบอุ่นใจมากกว่าความรักที่เร้าร้อน จงมีความสุขกับรักที่คุณ มีแบบเรียบง่าย และอย่าทิ้งมันไปเพื่อหาความตื่นเต้นที่คุณไม่ต้องการจริงๆ การศึกษา – บินขึ้นสูง เดือนนี้วุ่นส�ำหรับเด็กปีจอ เมื่อคุณก้าวหน้าด้วยดี คุณอาจไม่เห็นด้วยกับครูในทุกเรื่องและอาจคิดต่างจากเพื่อน แต่เมื่อคนอื่นเข้าใจในสิ่งที่คุณคิด พวกเขาจะมองคุณด้วยความเคารพ เดือนนี้คุณจะบินได้สูงขึ้น

ปี กุน

การงาน – ไม่เป็นมิตร อาจมีเหตุการณ์ที่ท�ำให้คุณต้องกังวลใจในที่ท�ำงาน มิตรอาจกลายเป็นศัตรูเมื่อความจ�ำเป็น เปลี่ยนไป เหตุอาจเกิดจากเจ้านายใช้วิธียุให้คุณแตกกันในเรื่อของการท�ำงาน ทางที่ดีควรสร้างความสัมพันธ์ให้ แข็งแกร่ง พยายามอดทนไว้ให้ตลอดเดือนและเชื่อมั่นว่าสิ่งต่างๆจะลงเอยด้วยดี ธุรกิจ – วางแผนส�ำหรับระยะยาว พยายามสร้างความสัมพันธ์กับทุกๆฝ่ายให้ดียิ่งขึ้น ตอนนี้ไม่ควรจ้างคนใหม่หรือร่วมงานกับหุ้นส่วน ใหม่ที่ยังไม่รู้จักดี เวลานี้ไม่ดีส�ำหรับการท�ำสัญญาหรือร่างข้อตกลงใหม่ คุณยังเสี่ยงต่อการถูกโกง ความรักและความสัมพันธ์ – เสี่ยงต่อการนอกใจ คนปีกุนที่แต่งงานอย่างมีความสุขอาจได้พบเดือนที่แสนสุขรออยู่ แต่หากคุณ ห่างเหินจากคู่และใช้ทางร่วมกันน้อยลงทุกทีก็มีความเสี่ยงที่จะเกิดการนอกใจ การศึกษา – ระบายออกมา อาจมีความคิดที่ขัดแย้งที่รบกวนคุณมาระยะหนึ่งแล้วหากคุณไม่แน่ใจเรื่องใด ทางที่ควรพูดออกมา ลอง คุยกับใครบางคนที่จะรับฟังและหวังดีต่อคุณ เมื่อคุณได้ระบายออกมาแล้ว คุณอาจจะรู้สึกดีมากขึ้น

71 issue 102 JULY 2016


เรื่องโดย ผอ.สุภาพร ธีระค�ำศรี ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนวัดราชนัดดา

ศูนย์การเรียนรู้โรงเรียนคุณธรรม ในเขตพระนคร

ก ่ อ น อื่ น ข อ แ น ะ น� ำ ผู ้ เ ส ว น า ท ่ า น แ ร ก ผ อ . ช า ญ วิ ท ย ์ พ ว ง ม า เ ท ศ ผู ้ อ� ำ น ว ย ก า ร โ ร ง เ รี ย น วั ด ตรี ท ศเทพ ท่ า นที่ ส อง ผอ.สรภาคย์ สุ พ คุ ต ร์ ผู ้ อ� ำ นวยการโรงเรี ย นวั ด สุ ทั ศ น์ และท่ า นที่ ส าม ผอ.ณั ฐ ชาฎา สุ ท ธิ ส อาด ผู ้ อ� ำ นวยการโรงเรี ย นราชบพิ ธ และท่ า นสุ ด ท้ า ย ผอ.ธงชั ย โคระทั ต ผู ้ อ� ำ นวยการโรงเรี ย นวั ด มกุ ฏ กษั ต ริ ย าราม วั น นี้ เ ป็ น การเสวนาวิ ช าการเรื่ อ งโครงการโรงเรี ย น คุณธรรมซึ่งมีสาระส�ำคัญจากประสบการณ์ของท่านผู้อ�ำนวย การโรงเรียนที่ได้ร่วมด�ำเนินการขับเคลื่อนโครงการมาตั้งแต่เริ่ม ต้น จนน�ำไปสู่ความส�ำเร็จที่เป็นรูปธรรมชัดเจน ดิฉันขอน�ำท่าน ทั้งหลายเข้าไปสัมผัสกับการด�ำเนินโครงการโรงเรียนคุณธรรม ในเขตพระนคร เริ่ ม ที่ ผอ.ชาญวิ ท ย์ อยากจะ เรี ย นถาม ผอ.ถึ ง จุ ด เริ่ ม ต้ น ของโครงการตลอดจนความ ส� ำ คั ญ ข อ ง โ ค ร ง ก า ร ว ่ า เ ป ็ น อย่ า งไรบ้ า งคะ 72 IS AM ARE www.ariyaplus.com


การเป็นโรงเรียนคุณธรรมในเขตพระนคร มีจุดเริ่มต้น มาจากโรงเรียนได้รับคัดเลือกจาก บมจ.เทเวศประกันภัยที่ ประสงค์ด�ำเนินการโครงการโรงเรียนคุณธรรมในเขตพระนครใน ปี 2557 ในการเป็นต้นแบบโรงเรียนคุณธรรมในเขตพระนคร ซึ่ง เมื่อได้รับการคัดเลือกแล้วก็มีการประชุมร่วมกันระหว่าง บมจ. เทเวศประกันภัยกับทางโรงเรียน เพื่อก�ำหนดแนวทางในการ พัฒนาโดยเริ่มจากพัฒนาผู้บริหาร พัฒนาครูแกนน�ำ พัฒนา นักเรียน และสุดท้ายก็คือพัฒนาโรงเรียน น�ำมาซึ่งการก�ำหนด กิจกรรมร่วมกัน เพื่อน�ำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม หลังจากขับเคลื่อนโรงเรียนวัดตรีทศเทพแล้วปลายปี 2557 ทาง บมจ.เทเวศประกันภัยได้ขอเข้าร่วมประชุมผู้บริหาร ทั้ง 11 โรงเรียน เพื่อสอบถามว่าถ้าจะขยายผลอีก 10 โรงเรียน โรงเรียนจะมีความพร้อมหรือไม่ และเป็นที่น่าดีใจครับ ทั้ง 10 โรงเรียนตอบเข้าร่วมอย่างเป็นเอกฉันฑ์ จึงเป็นที่มาของการเป็น โรงเรียนคุณธรรมทั้ง 11 โรงเรียนในเขตพระนคร แล้ ว เด็ ก ๆ ของท่ า นจะท� ำ กิ จ กรรมคุ ณ ธรรมเวลาไหน การด�ำเนินโรงเรียนคุณธรรมเราใช้วิธีการน�ำสิ่งที่มีอยู่ แล้วในโรงเรียนในแต่ละวัน ในแต่ละจุดเด่น ในแต่ละอัตลักษณ์ ของโรงเรียนมาจัดระบบ เอาวิถีชีวิตประจ�ำวันของเด็กมาจัด ระบบให้เป็นกิจวัตรประจ�ำวัน ท�ำให้เราด�ำเนินกิจกรรมโรงเรียน คุณธรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่ได้เพิ่มภาระงานให้กับ คณะครูและนักเรียน เราก�ำหนดกิจกรรมเป็น 6 กิจกรรมหลัก เรียกว่าจิตอาสาพาท�ำ เป็นที่มาของจิตอาสา 6 พา

มือน้อยๆ ของเขา ด้วยกระบวนการที่ว่า “เรื่องดี ๆ ที่อยาก ท�ำ ปัญหาซ�้ำ ๆ ที่อยากแก้” นั่นคือสิ่งที่เขาสะท้อนออกมา แล้วเขามีความสนใจ มีความสมัครใจ มีความภูมิใจ ผลก็จะเกิด ขึ้น ประการที่ 4 เรื่องการประเมินพฤติกรรมอย่างต่อเนื่องและ สม�่ำเสมอ คือ สมุดบันทึกความดี ที่จะแสดงได้ว่า เด็กได้ท�ำความ ดีอะไรกับเด็กได้ให้ความสนใจในเรื่องอะไร คุณครูได้อ่าน ได้รู้ รับรู้ถึงความรู้สึกนึกคิดของเด็กในการท�ำความดี ผู้ปกครองก็ได้ เรียนรู้และเข้าใจในเรื่องของตัวเด็กมากขึ้น

มี ก ระบวนการใดที่ น� ำ พาโรงเรี ย นคุ ณ ธรรมไปถึ ง จุ ด หมายได้ ท่ า น ผอ.สรภาคย์ หลั ก การส� ำ คั ญ ประการแรก คือ ความสมัครใจ ว่าเราพร้อมที่จะ ด�ำเนินการ ความร่วมมือในโรงเรียนถือ เป็นปัจจัยส�ำคัญประการหนึ่ง ปัจจัย ที่ ส� ำ คั ญ คื อ การมี ส ่ ว นร่ ว มทุ ก ภาค ส่วน ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหาร คณะครู ผู้ปกครอง ผู้น�ำชุมชนต่างๆ คณะกรรมการสถานศึกษา คณะ กรรมการเครือข่ายที่ต้องเข้ามามีส่วนร่วม ร่วมคิด ร่วมวางแผน แสดงความคิดเห็น จนกระทั่งการก�ำหนดคุณธรรมอัตลักษณ์ โดยปกติทุกโรงเรียนจะมีการด�ำเนินการในเรื่องของคุณธรรมอยู่ แล้ว แต่เราอาจจะขาดเรื่องการมีส่วนร่วม ถือเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญ ปัจจัยที่ 3 คือโครงงานคุณธรรม เป็นกระบวนการที่ พัฒนาแล้วเกิดผล สิ่งที่พัฒนานั้นเด็กจะร่วมคิดร่วมท�ำด้วยสอง

เพื่ อ ความชั ด เจน ในการไปด� ำ เนิ น การต่ อ ที่ โ รงเรี ย น หลายท่ า นอาจจะมี ค� ำ ถามอยู ่ ใ นใจว่ า โครงการนี้ เ มื่ อ ท� ำ ไปแล้ ว จะได้ อ ะไรบ้ า ง ผลที่ เ กิ ด ขึ้ น จะเป็ น อย่ า งไร เราลองมาฟั ง ท่ า น ผอ.ณั ฐ ชาฎา เล่ า ให้ ฟ ั ง ว่ า ทั้ ง หมดทั้ ง มวลนี้ ที่ เ ราท� ำ โครงการไปเราได้ อ ะไรบ้ า ง ล�ำดับที่ 1 เราจะได้ทั้งทางตรง และทางอ้อม ทางตรงเริ่มจากโรงเรียน โรงเรียนคุณธรรม คือ โรงเรียนที่เรา เห็ น ภาพของคนที่ อ ยู ่ ใ นโรงเรี ย นมี ความสัมพันธ์เชิงบวกซึ่งกันและกัน มี ความสุขในการอยู่ร่วมกัน เพราะเรา 73

issue 102 july 2016


อันดับที่ 3 คือ คุณครู ถือว่าเป็นบุคคลส�ำคัญที่สุดที่จะ วางรากฐานให้กับเด็กและเยาวชน เรียกได้ว่าคุณครูจะเป็น “ผู้ สลายอวิชา” ของตัวเองท�ำให้เขาเป็นครูที่สมบูรณ์ทั้งกายและใจ เป็นคุณครูที่เรียกว่าเป็นเมล็ดพันธุ์ที่ดี ไม่ว่าจะไปตกหล่นที่ไหน ก็สร้างต้นพันธุ์หรือต้นไม้ที่สมบูรณ์ขึ้นมาได้ เป็นครูที่มีคุณธรรม และเป็นแบบอย่างที่ดีพร้อม ล�ำดับสุดท้าย คือ นักเรียน นักเรียนได้อะไร แน่นอน พฤติกรรมเชิงบวกจะสูงขึ้น พฤติกรรมเชิงลบจะลดลง นักเรียน ก็จะเก่งอย่างมีคุณภาพ ดีอย่างมีคุณธรรมและ พอเพียงอย่างมี ความสุข เราจะได้เยาวชนที่จะท�ำให้ประเทศแข็งแรง ส�ำหรับผู้ ปกครองและชุมชนก็จะได้องค์ความรู้และได้เรียนรู้ไปพร้อมกับ โรงเรียน เกิดภาคี เกิดเครือข่ายที่จะช่วยดูแลบุตรหลาน เกิด การเอาคุณธรรมไปใช้ในบ้าน ไปใช้คู่ขนานกับโรงเรียน ท�ำให้ สังคมของเรา ปัญหาของประเทศชาติของเราลดลง นั่นคือสิ่ง ที่เราได้รับ เมื่ อ เราได้ ฟ ั ง ที่ ผอ.พู ด ถึ ง ผลที่ ไ ด้ รั บ แล้ ว จะเห็ น ได้ ว่ า มี ก ารเปลี่ ย นแปลงเรื่ อ งของพฤติ ก รรม ไม่ ว ่ า จะ เป็ น นั ก เรี ย น บุ ค ลากรในโรงเรี ย นชั ด เจน แต่ เ ราจะ ท� ำ อย่ า งไร ให้ สิ่ ง เหล่ า นี้ ป ฏิ บั ติ ต ่ อ เนื่ อ งและยั่ ง ยื น การน้อมน�ำพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ในเรื่ อ งของการพั ฒ นาคนซึ่ ง เป็ น ส่ ว นที่ ส�ำคัญที่สุด คือการระเบิดจากข้างใน ต้องเข้าใจ ต้องเข้าถึง ใช้คุณธรรมด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหาร ครู นักเรียน นอกจาก จึงจะพัฒนาได้ ซึ่งวิทยากรที่มาสอนจะให้เราท่องเสมอเลยว่า นั้น โรงเรียนยังได้นวัตกรรมตัวใหม่ที่สามารถขับเคลื่อนการ ทุกคนส�ำคัญและควรมีส่วนร่วม ต่อจากนั้นให้ยึดค�ำขวัญว่า บริหารจัดการของเรา ซึ่งเป็นโจทย์ของผู้บริหารทุกคนว่าท�ำยังไง ต้องท�ำทุกคน ท�ำทันที ท�ำทุกที่ ท�ำทุกเวลา ทุกอย่างก็จะส�ำเร็จ จะพัฒนาการศึกษาให้ได้คุณภาพ ให้ได้ตามบริบทที่เราก�ำหนด หรือที่ชุมชนก�ำหนด ที่นักเรียนต้องการหรือที่กรุงเทพมหานคร เราด� ำ เนิ น โครงการโรงเรี ย นคุ ณ ธรรมมาได้ จ นเกื อ บ ต้องการ ตรงนี้สามารถตอบโจทย์ได้ ปลายทางแล้ ว นะคะ แต่ ยั ง มี ส ่ ว นหนึ่ ง ซึ่ ง ส� ำ คั ญ นอกจากนั้นโรงเรียนยังได้ภาคีไม่ว่าจะเป็นคนที่อยู่ใน มากๆ ในการขั บ เคลื่ อ นโครงการโรงเรี ย นธรรมให้ โรงเรียน คนที่อยู่นอกโรงเรียน อย่างโรงเรียนในเขตพระนคร เป็ น ไปอย่ า งมี ร ะบบมี ขั้ น ตอน ผ่ า น main moral เรามีภาคีแนวร่วม มีผู้ใหญ่ใจดี มีบมจ.เทเวศประกันภัย ซึ่งเป็น model ผอ.ธงชั ย บริ ษั ท ที่ ไ ด้ รั บ การดู แ ลจากส� ำ นั ก งานทรั พ ย์ สิ น ส่ ว นพระมหา ส�ำหรับ main moral model ต้องผ่านกระบวนการ กษัตริย์ ซึ่งทาง บมจ.เทเวศประกันภัย ผู้ให้การ ล�ำดับที่ 2 ผู้บริหารอย่างเรา สิ่งแรกที่ได้คือผู้บริหารที่ สนับสนุนได้ด�ำเนินการมาตั้งแต่ พัฒนา มีคุณธรรม เราจะรู้ว่าเราจะดึงคุณธรรมของเราออกมาใช้ยังไง ผู้บริหาร พัฒนาครูแกนน�ำ พัฒนาคณะ หลังจากนั้นเราจะได้รูปแบบการบริหารที่เรียกว่า นวัตกรรม กรรมการสถานศึกษารวมถึงนักเรียน สามารถขับเคลื่อนไม่ว่าเราจะอยู่แห่งใดก็ตาม สามารถเป็น ซึ่ ง เราด� ำ เนิ น การมาประมาณหนึ่ ง ปี ตัวอย่าง มีวิธีการที่จะพัฒนาลูก (นักเรียน) ให้เกิดคุณภาพที่ การศึกษา มีการถอดโครงร่างองค์ความ ต้องการ รู้จากทุกโรงเรียนได้มา 9 ขั้นตอนในการด�ำเนินการ ขั้นแรก 74 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ขั้ น ที่ 2 ก� ำ หนดคุ ณ ธรรมเป้ า หมาย เป็ น คุ ณ ธรรมที่ ทุกคนต้องร่วมกันก�ำหนดขึ้นจากการวิเคราะห์เพื่อใช้ในการ แก้ปัญหาแล้วสร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้กับนักเรียน จะเป็นคุณธรรม ใหญ่ๆ เช่น ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ หรืออาจเป็นเรื่อง ของความมีวินัย ขั้ น ที่ 3 พฤติ ก รรมบ่ ง ชี้ เชิ ง บวก คุ ณ ครู หรือนักเรียน ต้องเข้าใจว่า คุณธรรมคืออะไร เป็นสิ่งที่โรงเรียนหรือพวกเรา ก�ำหนดขึ้นมาว่าจะเป็นพฤติกรรมที่ดีที่เราจะต้องปลูกฝังให้เกิด ขึ้นในจิตใจของเรา ส่วนจริยธรรมเป็นพฤติกรรมที่ต้องการให้ แสดงออกในเชิงบวกติดตัวจนเป็นนิสัย เป็นสิ่งที่ผู้อื่นหรือสังคม ยอมรับ ซึ่งค�ำว่าจริยธรรมจะมาสอดคล้องกับพฤติกรรมเชิงบวก ทุกโรงเรียนเป็นผู้ก�ำหนดต้นทุนคุณธรรมส�ำหรับเขตพระนคร พฤติกรรมเชิงบวกก็จะเป็นค�ำที่แคบลงไปอีก เช่น นักเรียนวาง เราร่ ว มกั น คิ ด แล้ ว ก็ ร ่ ว มกั น ก� ำ หนดโดยเราเอาสโลแกนของ รองเท้าเป็นระเบียบ หรือนักเรียนเข้าแถวตรงเวลา พฤติกรรม กรุ ง เทพมหานครมาเป็ น ตั ว จั บ คื อ “โตไปไม่ โ กง” มาเป็ น เชิงบวกจะไปสอดรับกับคุณธรรมเป้าหมาย ข้อที่ 4 กิจกรรมส่งเสริมความดี ท่านสามารถใช้กิจกรรม คุณธรรมต้นทุน บางท่านถามว่าใช้ตัวอื่นได้ไหม ได้ครับ บางท่านอาจจะ หรือโครงงานของโรงเรียนที่ด�ำเนินอยู่แล้วภายในโรงเรียน ตรง น�ำมาจากคุณลักษณะอันพึงประสงค์ซึ่งมีตัวชี้วัดอยู่ข้างในหรือ จุดนี้เวลาเราคิดจะท�ำเราก็เรียงไปทีละข้อ หลังจากนั้นอาจจะ ท่านจะน�ำมาจากค่านิยม 12 ประการก็ได้ หรือจะเป็นส่วนหนึ่ง เป็นปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโรงเรียนเรา ซึ่งในการด�ำเนินการ ที่ท่านมองเห็นว่ามันสร้างปัญหาหรือเป็นจุดหนึ่งที่โรงเรียนต้อง โรงเรียนคุณธรรม เราถือว่าเป็นนวัตกรรมหรือตัวเร่งในการปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมนักเรียน เราเริ่มจากการวิเคราะห์พฤติกรรมที่ พัฒนา ท่านก็จะสามารถหยิบตรงจุดนี้ขึ้นมาได้ 75 issue 102 july 2016


ไม่พึ่งประสงค์หรือปัญหาของโรงเรียนเรา ว่าเป็นอย่างไร ผู ้ คิ ด โ ค ร ง ง า น นี้ จุ ด ห ลั ก คื อ นักเรียนเป็นผู้ท�ำ ครูเป็นผู้ให้ค�ำปรึกษา ไม่ ใช่ ค รู เ ป็ น คนคิ ด ถ้ า นั ก เรี ย นคิ ด เอง เขาจะรู้สึกว่าตัวเองเป็นเจ้าของ เมื่อเขา เป็ น เจ้ า ของเขาก็ อ ยากจะท� ำ นั ก เรี ย น จะเข้ า ใจบทบาทของเขาเองเพราะเขา เป็นคนก�ำหนด ฉะนั้น เมื่อเราพบปัญหา นักเรียนก็จะมาหาสาเหตุว่าเกิดจากอะไร ซึ่งสาเหตุจะสอนเขา จากนั้นก�ำหนดเป้า หมายในการแก้ปัญหา วิธีการแก้ปัญหา สอดแทรกเรื่องคุณธรรมและทักษะชีวิต เข้าไปในโครงงานคุณธรรม หลั ง จากเสร็ จ กระบวนการคิ ด ทั้งหมดชื่อเก๋ๆ ก็เริ่มออก เช่น หัวชนตึก อะไรคือหัวชนตึก คือตั้งชื่อเพื่อให้เกิดแรง บันดาลใจ เป็นสิ่งที่เขาภาคภูมิใจตั้งขึ้นมา เอง ซึ่งก็คือขั้นตอนที่ 4 ในกระบวนการ พัฒนาโดยใช้โครงงานคุณธรรม ต่อจาก

นั้นถ้าโรงเรียนไหนมีกิจกรรมดีๆ ก็ใช้สอด แทรกเข้าไป ขั้นที่ 5 เราไปผูกบวกไว้กับทักษะ ชี วิ ต ทั ก ษะชี วิ ต เกิ ด ขึ้ น เพราะเป็ น คน ปฏิบัติเอง ปฏิบัติจนเกิดเป็นทักษะชีวิต เพราะฉะนั้นทักษะชีวิตที่เราด�ำเนินการ อยู่น�ำเอามาบูรณาการร่วมกัน บางครั้ง อาจเกิดปัญหา เราจะเอาปัญหานี้ขึ้นมา เป็นโครงการแล้วท�ำก็ได้ ขั้ น ที่ 6 จากนั้ น มี ก ารติ ด ตาม ระบบการติดตามของเราเป็นนวัตกรรม ของส� ำ นั ก งานเขตพระนครก็ คื อ สมุ ด บันทึกความดี สมุดบันทึกความดีเด็กได้ เขี ย นได้ ว าดรู ป ได้ แ สดงความคิ ด เห็ น ลงไป ฉะนั้นสมุดบันทึกความดีเป็นส่วน หนึ่ ง ที่ ส ะท้ อ นความคิ ด ถ้ า ครู ไ ด้ อ ่ า น จะรู ้ ว ่ า เด็ ก เขาต้ อ งการอะไร มี ป ั ญ หา อะไร สามารถน� ำ มาใช้ แ ก้ ไขปั ญ หาได้ ถ้ า ผู ้ ป กครองอ่ า นก็ รู ้ ว ่ า ลู ก มี พ ฤติ ก รรม ปรับเปลี่ยนอย่างไร ถือว่าได้หลายเรื่อง 76 IS AM ARE www.ariyaplus.com

วิเคราะห์เรื่อง IQ, EQ, MQ ฝึกการอ่าน เขียน สมุดบันทึกความดีเขียนสัปดาห์ละ 1 ครั้ง บางทีคุณพ่อ คุณแม่ช่วยเด็กเล่า เกิดความสัมพันธ์ในครอบครัวด้วย เมื่อเราวิเคราะห์ความดี เราจะรู้ ว่าพฤติกรรมเปลี่ยนไหม เด็กถูกปลูกฝัง เขาคิดเองท�ำเอง พฤติกรรมก็เปลี่ยนไป เป็นเชิงบวก ขั้นที่ 7 จากนั้นพฤติกรรมที่ปรับ เปลี่ยนก็จะมีพฤติกรรมย่อยๆ สอดคล้อง กัน เพราะเด็กและคุณครูจะเกิดการเรียน รู้และเกิดความรู้ใหม่ๆ ขึ้นมา ขั้นที่ 8 องค์ความรู้ของโรงเรียน ผมเองก�ำหนดไว้ว่าให้มันสอดคล้องกับ อั ต ลั ก ษณ์ ข องโรงเรี ย นและเอกลั ก ษณ์ ของกระทรวงศึกษา พยายามท�ำงานครั้ง เดียวให้เกิดสองสิ่งนี้ กระบวนการมีหลาย อย่าง การมีส่วนร่วม เรื่องของการพี่สอน น้องอะไรต่างๆ ทั้ง 11 โรงเรียน ระบบ การขั บ เคลื่ อ นไม่ เ หมื อ นกั น อั น นี้ เ ป็ น


ขั้นที่ 9 คือการขับเคลื่อนรูปแบบ main moral model ถ้า ทุกโรงเรียนค่อยๆ ถอดไปเรื่อยๆ ผมเชื่อว่าประสบความส�ำเร็จ ตรงจุดนี้ต้องขอบคุณ ดร.วรวุฒิ แสงเฟือง ที่ปรึกษาโครงการ โรงเรียนคุณธรรม ท่านได้รวบรวมและออกแบบ main moral model ตัวนี้ออกมาให้กับเขตพระนคร อยากจะเรี ย นถามท่ า น ผอ. ว่ า ทุ ก โรงเรี ย นมี main moral model เหมื อ นกั น หมดไหมคะ จริงๆ แล้วเป็นเพียงตุ๊กตา ผมเชื่อว่าบางท่านอาจจะคิด เลยไปแล้ว ไม่จ�ำเป็นต้องเหมือนกันครับ บริบทแต่ละโรงเรียน ไม่เหมือนกัน ฉะนั้นใช้ตัวเดียวกันไม่ได้ เพียงแต่ว่าเวลาน�ำไป ใช้ให้ปรับเปลี่ยนตามบริบทแต่ละโรงเรียน หรือตามปัญหาของ โรงเรียน หรือสิ่งที่โรงเรียนจะแก้ไข ใครจะลด จะเพิ่ม แล้วแต่ โรงเรียนก�ำหนด ถึ ง เวลานี้ ท ่ า นก็ พ อจะนึ ก ออกแล้ ว นะคะว่ า โรงเรี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ข อ ง ท ่ า น จ ะ เ ดิ น ไ ป ใ น ทิ ศ ท า ง ใ ด ที่ จ ะ เหมาะสมกั บ บริ บ ทของโรงเรี ย นของท่ า น ต่ อ ไป เราจะมาเจาะลึ ก ถึ ง main moral model ของ โรงเรี ย นในสั ง กั ด ส� ำ นั ก งานเขตพระนครเป็ น ตั ว อย่ า งสั้ น ๆ ให้ ทุ ก ท่ า นได้ ฟ ั ง เราจะเริ่ ม จาก main moral model ของ ผอ.ชาญวิ ท ย์ เมื่ อ มี ก ารพั ฒ นาครู นั ก เรี ย น เราจึ ง ได้ ม าก� ำ หนด คุณธรรมเป้าหมาย ในปีแรกเราได้จิตอาสา ในปีที่สองเราคิดว่า จิตอาสาไม่พอ จึงมาเน้นในเรื่องของความรับผิดชอบ พฤติกรรม บ่งชี้เราร่วมกันคิดได้ออกมา 4 ตัว การมีจิตอาสา มีน�้ำใจช่วยเหลือ การตรงต่อเวลา สิ่ง เหล่านี้แตกออกมาจากคุณธรรมเป้าหมาย กิจกรรมส่งเสริม ความดีเราใช้ทั้งหมด 6 พา อย่างเช่น จิตอาสาพางาม คือเรื่อง ของวัฒนธรรม จิตอาสาพาออม จิตอาสาพาอ่าน พี่พาน้องอ่าน อ่านหนังสือเวลาว่างต่างๆ กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน จิตอาสา พาสะอาด เราด�ำเนินการทุกเช้า โรงเรียนรั้วเดียวกับวัด ทุกวัน ที่วัดมีความจ�ำเป็นต้องพัฒนา ทางวัดก็จะมาขอความร่วมมือ จากโรงเรียน สิ่งที่เกินความสามารถโรงเรียนก็จะแจ้งไปที่เขต เช่น ขอรถฉีดน�้ำ เราก็ประสานงาน จิตอาสาพาธรรมนี้ เกี่ยวกับธรรมะ เกี่ยวกับพุทธศาสนา ฉะนั้นกิจกรรมทั้ง 6 พา เกิดมาจากอะไร เกิดจากร่วมคิด ร่วม ท�ำ ของบุคลากรทั้งหมดในโรงเรียน ทั้งผู้บริหาร ครู นักเรียน ขยายไปสู่ชุมชน ชุมชนมีส่วนร่วม ผู้ปกครองมีส่วนร่วม โดย เฉพาะจิตอาสาพาสะอาด เช้าวันไหนที่ผู้ปกครองมาเช้าๆ ก็ช่วย

นักเรียน สิ่งนี้ท�ำให้เราภูมิใจ ได้รับการยอมรับจากชุมชนเป็น อย่างดี ส่งเสริมให้เกิดทักษะชีวิต เราโชคดีครับในปีที่ 2 ทางกรุงเทพมหานครเอาเรื่อง ทักษะชีวิตเข้ามา เราก็เลยเอาทักษะชีวิตเข้ามาจับด้วย เราเอา ตามวิถีชีวิตประจ�ำวันและให้เด็กเกิดทักษะชีวิตด้วย โรงเรียนวัด ตรีทศเทพใช้กระบวนการพี่พาน้องท�ำ โดยมีแกนน�ำแต่ละแกน ทั้ง 6 พา จะมีแกนเป็นผู้น�ำ และแกนแต่ละแกนจะเป็นผู้ตาม อีกแกนหนึ่ง ไม่ได้ท�ำแต่เรื่องของตัวเอง ทุกคนเป็นสมาชิกของ เพื่อนๆ แต่จะเป็นผู้น�ำคนละเรื่อง ท่ า น ผอ.ชาญวิ ท ย์ ได้ สื่ อ ให้ เ ห็ น ว่ า main moral model ของโรงเรี ย นวั ด ตรี ท ศเทพเกิ ด มาจากการ ร่ ว มคิ ด ร่ ว มท� ำ ของทุ ก บุ ค ลากรในโรงเรี ย นเป็ น หนึ่ ง เดี ย วขั บ เคลื่ อ นโดยใช้ รู ป แบบพี่ พ าน้ อ งท� ำ คราวนี้ เรามาฟั ง ท่ า น ผอ.สรภาคย์ กั บ main moral model ของโรงเรี ย นวั ด สุ ทั ศ น์ แนวคิดของทุกๆ คน ท�ำยังไงให้มีพื้นที่ให้เด็กได้มีโอกาส เรียนรู้ วัดสุทัศน์มีจุดเด่น ยกตัวอย่าง เช่น เด็กวัดสุทัศน์สวด 77

issue 102 july 2016


ชินบัญชรได้หมดทุกคน สวดสรภัญญะได้ สวดโอเอ้วิหารรายได้ เราพยายามเอามา เป็นข้อผูกให้เป็นโมเดล มีวัฒนธรรมใน โรงเรียน เราพยายามท�ำให้เด็กมีความสุข ได้อย่างไร ช่วยกันแสดงความคิดเห็น เด็ก ส่วนใหญ่พ่อแม่มีอาชีพรับจ้างไม่มีเวลา ขาดความอบอุ่นเราก็ออกแบบให้คุณครู เป็นพ่อครูแม่ครูอยู่ในบ้าน กิจกรรมต่างๆ ในโรงเรียนส่วนใหญ่ก็จะเป็นกลุ่มอยู่แล้ว กีฬาสีก็มีสีอยู่แล้ว เราเอามาเป็นโมเดล ตั ว ขั บ เคลื่ อ นเป็ น บ้ า นสี แ ล้ ว ก็ มี ส มาชิ ก แกนน�ำอยู่ในบ้านแต่ละสี เชื่อมโยงไปสู่ การพัฒนาที่เด็กเขาคิดเอง เขาอยากจะ รับผิดชอบอะไรกับน้องๆ บ้าง โครงงานหนึ่ ง วั น ในโรงเรี ย น ส�ำคัญมาก เช้ามาเขาก็จะมาทักทายพี่ๆ ทักทายคุณครูด้วยการไหว้ สอนเรื่องการ ไหว้ในชั่วโมงทักษะชีวิต ช่วงบ่ายเอาลด เวลาเรียนเพิ่มเวลารู้เข้ามาใส่ให้ออกมา เป็นกิจกรรม ด�ำเนินกิจกรรมทั้งช่วงเวลา เรียน เช้า กลางวัน เย็น ห้องสมุดเราไม่มี พื้นที่น้อยมาก เลยไปจัดเหมือนกับบ้าน แต่ไม่มีที่หรอก แต่ว่าเด็กก็ได้รับความ อบอุ่น จากคุณครูบ้าง จากพี่ๆ บ้าง ก็ เกิดคุณธรรมช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เกิด

ความรักความสามัคคี เป็ น main moral model ที่ น� ำ มาจากจุ ด แข็ ง แล้ ว ก็ จุ ด เด่ น ของ โรงเรี ย นจะเห็ น ได้ ว ่ า โรงเรี ย นวั ด สุ ทั ศ น์ ใ ช้ ก ารพั ฒ นา สติ สมาธิ แล้ ว ก็ วิ ถี ไ ทยวิ ถี พุ ท ธสมกั บ เป็ น โรงเรี ย นที่ อ ยู ่ ใ นวั ด จริ ง ๆ ค่ ะ ท่ า น ผอ.ณั ฐ ชาฎา คะ อยากจะทราบ จริ ง ๆ ว่ า 1 วั น ในราชบพิ ธ กั บ วิ ถี ชี วิ ต ที่ พ อเพี ย งเป็ น อย่ า งไรคะ ส�ำหรับรูปแบบ 1 วันในราชบพิธ กับวิถีชีวิตที่พอเพียง เป้าหมายคุณธรรม ต้นทุนเหมือนกัน คือ โตไปไม่โกง ใส่ร่วม ลงไปกับการท�ำงานโรงเรียน ไม่ว่าจะการ บริหาร การจัดการเรียนรู้ ท�ำให้ ผอ.และ สมาชิกในโรงเรียนสบายใจมากขึ้นตรงที่ ว่าผู้ที่สนับสนุนเราไม่ต้องท�ำเยอะ เอา อันเดียวก็ได้ เราเลยพอใจ 1 โรงเรียน 1 คุณธรรม ก่อนที่ราชบพิธจะลงสู่กิจกรรมที่ เด็กมีส่วนร่วม เราเน้นเอาคุณธรรมไปขับ เคลื่อนกระบวนการด้วย มันจึงเกิดเป็น 9 ขั้นตอนเหมือนกัน ที่โรงเรียนราชบพิธมี อัตลักษณ์ มีวิสัยทัศน์ และมีเอกลักษณ์ 78 IS AM ARE www.ariyaplus.com

ที่เกี่ยวข้องกับด�ำรงความเป็นไทย ใส่ใจ ธรรมเป็นพื้นอยู่แล้ว โรงเรียนพยายาม เอาบริบทของสังคม ปัญหาของประเทศ ชาติ เรื่ อ งของสามั ค คี เรารู ้ สึ ก ว่ า จริ ง ๆ แล้ ว เรื่ อ งพอเพี ย งมี คุ ณ ธรรมอื่ น ๆ อยู ่ ด้วย เราจึงเลือกคุณธรรมพอเพียงมาใช้ แล้วมาดูว่าความหมายพอเพียงคืออะไร ในหนึ่ ง วั น คื อ ชี วิ ต ประจ� ำ วั น ของลู ก ที่ โรงเรียนจะเอาคุณธรรมไปจับทุกกิจกรรม ของโรงเรียนจึงได้ตั้งชื่อนั้นขึ้นมา ตั ว ชี้ วั ด พฤติ ก รรมเชิ ง บวกของ เราก็ คื อ 1. มี วิ นั ย ในการรั บ ประทาน อาหาร 2. มีวินัยในการเดินแถว มีวินัย ในเครื่องแบบ 3. การจัดการเรียนรู้โดย ใช้ทักษะชีวิต 4. รู้จักประหยัดและเห็น คุณค่าของสิ่งของที่อยู่ในโรงเรียน เราจึง จัดกิจกรรมส่งเสริมความดี 18 กิจกรรม ทั้ ง วั น แล้ ว จั ด กลุ ่ ม เหลื อ 5 พอเพี ย ง คือ พอเพียงเรื่องอาหาร พอเพียงเรื่อง วิ นั ย พอเพี ย งเรื่ อ งการเรี ย นการสอน พอเพียงเรื่องสะอาด และพอเพียงเรื่อง การด�ำเนินชีวิต เพื่อจูงใจให้คุณครูและ ทุกคนได้รู้สึกว่าการที่เราอยู่ด้วยกันแล้ว มีค�ำว่าพอเพียงอยู่กับเราตลอดเวลาจะ ท� ำ ให้ เราเคยชิ น เราน� ำ คุ ณ ธรรมไปผู ก กับทักษะชีวิต เมื่อท�ำโครงงานเสร็จแล้วเด็กได้ ตัวนี้ด้วยหรือไม่ สามารถประเมินผลได้ เลย ที่ราชบพิธมีเพิ่มเติมจากสมุดบันทึก ความดี มี ก ารท� ำ ประมวลจริ ย ธรรมใน การประเมิ น ว่ า เด็ ก ๆ ได้ พ อเพี ย งจริ ง ไหม ทั้ง 5 ด้าน เด็กมีคุณลักษณะที่พึ่ง ประสงค์ไหม 8 ตัว หลังจากที่เราร้อย เรียงเป็นกระบวนการเราก็เกิดองค์ความ รู้ว่าที่แท้เศรษฐกิจพอเพียงน�ำมาใช้กับ ทุกส่วนได้ไม่จ�ำเป็นต้องท�ำเรื่องเกษตร เท่านั้น มันจึงเกิด 1 วันในราชบพิธกับ วิถีชีวิตที่พอเพียง


หมายความว่าจิตอาสาพัฒนาชุมชน ถามว่าเปลี่ยนไหม เปลี่ยนเลย เรื่องการเดินแถว คุณครู ก็ร่วมมือเพราะโรงเรียนมีนโยบายว่าเราอย่าพูดหน้าเสาธงมาก อย่าใช้ Microphone โดยไม่จ�ำเป็น เดินไปปุ๊บนักเรียนต้องเงียบ ชาวบ้านรู้ว่าโรงเรียนเป็นอย่างไร มีนโยบายอะไร มีปัญหาเอาไป ท�ำโครงงาน เอาไปวิเคราะห์แล้วมาร่วมกันด�ำเนินการ ใช้ Microphone น้อยลง ชั่วโมงแรกไม่เสียเวลาเพราะเคารพธงชาติ เสร็จครูไม่มีเรื่องอบรมแล้ว เอาไปท�ำโครงงานหมด สร้างให้เด็ก ท�ำโครงงานปรับเปลี่ยนไป Homeroom กันเอาเอง ถ้าเด็กไม่ ดีคุณครูก็ไปท�ำโครงงานแก้ไข ไม่มีเสียงบ่นจากคุณครูแสดงว่า เด็กมีวินัยเกิดขึ้น นั่นแหละโรงเรียนคุณธรรมเกิดแล้ว เพราะ โรงเรียนคุณธรรมเกิดที่ตัวเด็กไม่ใช่โรงเรียนเป็นผู้บังคับ

ขอบคุ ณ ผอ.ณั ฐ ชาฎา ที่ ไ ด้ อ ธิ บ ายความพอเพี ย งที่ ได้ แ ตกแขนงไปได้ ห ลากหลายของโรงเรี ย นราชบพิ ธ ท� ำ ได้ เ ห็ น ภาพตามไปด้ ว ยเลย ตอนนี้ ก็ ค งได้ แนวทางไปไม่ ม ากก็ น ้ อ ย ตอนนี้ เ รามาพบแนวทาง สุ ด ท้ า ย main moral model ของท่ า น ผอ.ธงชั ย แรกๆ ยั ง หาไม่ ไ ด้ ว ่ า คุ ณ ธรรมเป้ า หมายที่ เรายึ ด เป็ น แกนคืออะไร เริ่มจากเด็กไปอบรม เด็กได้ท�ำโครงงานคุณธรรม บอกคุณครูเลยโครงงานที่เด็กท�ำทั้งหมดรวบรวมไว้แล้วมานั่ง วิเคราะห์ว่าที่เด็กเขียนเขาเห็นปัญหาอะไรของโรงเรียน หลัง จากนั้นก็เกิดความคิด อัตลักษณ์ของโรงเรียนคือมารยาทไทย เราก็มาบวกกับ ปัญหาที่เด็กเขาคิดและเขียนเอง เราจึงได้ว่าเราจะแบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อบุคคล ต่อโรงเรียน แล้วก็รับ ผิกชอบต่อชุมชน พอได้จุดนี้ก็ย้อนไปดูที่โตไปไม่โกง โรงเรียน จึ ง ก� ำ หนดค� ำ ว่ า รั บ ผิ ด ชอบ เราแบ่ ง เป็ น รั บ ผิ ด ชอบ 4 ด้ า น รับผิดชอบต่อตัวเอง ไปดูว่าเด็กๆ เขียนอะไรมา มีปัญหาการเดิน แถว การนั่งที่ต้องส่งเสริมอัตลักษณ์ เขาจึงตั้งสโลแกนว่า “เดิน แถวเป็นระเบียบนั่งพับเพียบเรียบร้อย” เด็กก็ได้จ�ำตรงนี้ไว้ ต่อไปรับผิดชอบต่อบุคคล ตั้งเป็นไหว้ครู ไหว้ผู้ใหญ่ ทั ก ทายเพื่ อ น คื อ มี สั ม มาคารวะ พอรั บ ผิ ด ชอบต่ อ โรงเรี ย น ปัญหาเขาเขียนมาว่าพื้นที่ไม่สะอาด เมื่อออกจากห้องแล้วเห็น ว่ามีไฟเปิดอยู่ตามห้อง มีพัดลมเปิดอยู่ เลยตั้งว่าประหยัดน�้ำ ไฟใส่ ใจพื้ น ที่ ส่ ว นตั ว สุ ด ท้ า ยรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ชุ ม ชนและสั ง คม

จ า ก ที่ ท ่ า น ผู ้ อ� ำ น ว ย ก า ร ไ ด ้ น� ำ เ รี ย น ส� ำ นั ก ง า น เ ข ต พ ร ะ น ค ร ไ ด ้ เ อ า m a i n m o ra l model มาอธิ บ ายเป็ น แนวทางให้ ท ่ า นได้ เ ข้ า ใจ แล้ ว ก็ น� ำ ไปใช้ ใ ห้ เ หมาะสมกั บ โรงเรี ย นของท่ า นโดยค� ำ นึ ง ถึ ง ความเหมาะสมของโรงเรี ย นไม่ ว ่ า จะเป็ น เรื่ อ งของ องค์ ค วามรู ้ รู ป แบบของการขั บ เคลื่ อ นตลอดจน คุ ณ ธรรมเป้ า หมายที่ ท ่ า นจะน� ำ ไปใช้ ล ้ ว นแล้ ว แต่ มุ ่ ง หวั ง ที่ จ ะน� ำ มาปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมด้ า นคุ ณ ธรรม ของนั ก เรี ย นทั้ ง สิ้ น ผ่ า นกิ จ กรรมการส่ ง เสริ ม การ ท� ำ ความดี ที่ นั ก เรี ย นได้ คิ ด เองนั ก เรี ย นได้ ท� ำ เองโดย มี เ ป้ า หมายพั ฒ นาความรู ้ คู ่ คุ ณ ธรรมของนั ก เรี ย น นั้ น เองค่ ะ ส� ำ หรั บ วั น นี้ ขอขอบพระคุ ณ และขอจบการ เสวนาแต่ เ พี ย งเท่ า นี้ สวั ส ดี ค ะ

79 issue 102 july 2016


ร�ำลึกองค์ปฐมเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยวันคล้ายวันประสูติ ณ วังวรดิศ ‘ความดี ค วามไม่ ดี ตนเองย่ อ มรู ้ ดี ก ว่ า ใคร อื่นในการกระท�ำ แต่มันแปลกตรงที่ว่า ทั้งสองสิ่ง ตรงกันเรื่องหนึ่ง คือ กระท�ำแล้วกลับกลายเป็นเรื่อง ธรรมชาติ และไม่รู้สึกอะไรต่อการกระท�ำ ผู้ท�ำดีก็ท�ำ กันไป ผู้ท�ำไม่ดีหรือท�ำชั่วก็ท�ำกันไป ครูอาจารย์ท่าน จึงสอนสั่ง จงแยกแยะให้ได้ อะไรดีอะไรชั่ว’ * ส ่ ว น ห นึ่ ง จ า ก ก า ร บ ร ร ย า ย พิ เ ศ ษ ข อ ง ม.ล. ปนั ด ดา ดิ ศ กุ ล เนื่ อ งในวั น คล้ า ยวั น ประสู ติ ของสมเด็ จ ฯ กรมพระยาด� ำ รงราชานุ ภ าพ เป็ น ปี ที่ 154 เรื่ อ ง ‘แนวนโยบายประชารั ฐ และ ธรรมาภิ บ าลเป็ น ค� ำ ตอบของประเทศ’ ณ หอสมุ ด

สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ วังวรดิศ วันนี้ *ภาพกิจกรรมวันนี้ (21 มิ.ย. 59) ณ วังวรดิศ ถนนหลานหลวง งานประจ�ำปี ‘ร�ำลึกวันคล้ายวันประสูติ เป็นปีที่ 154 สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ’ องค์ปฐมเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย องค์พระบิดาแห่งมัคคุเทศก์ไทย องค์พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์และ โบราณคดี

ราชบัณฑิตยสภา แถลงข่าวการประชุ มวิชาการนานาชาติ ครัง้ ที่ 6 เนื่องในวันสหวิทยาการ ประจ�ำปี 2559 เมื่ อ วั น ที่ 4 กรกฎาคม ณ ห้ อ งประชุ ม 1 อาคารหอประชุม กรมประชาสัมพันธ์ ศ.นพ. ยงยุทธ วัชรดุลย์ ราชบัณทิตส�ำนักวิทยาศาสตร์ ประธานคณะกรรมการสหวิทยาการเพื่อการวิจัย และพัฒนา ส�ำนักงานราชบัณฑิตยสภา และนาย พงษ์ศักดิ์ ศิริวงษ์ เลขาธิการราชบัณฑิตยสภา ร่วม กันแถลงข่าวการประชุมวิชาการนานาชาติ ครั้งที่ 6 เนื่องในวันสหวิทยาการ ประจ�ำปี 2559 เรื่อง ประเทศไทยและเป้าหมายแห่งการพัฒนาที่ยั่งยืน เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เนื่องในโอกาสทรงครองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี 9 มิถุนายน 2559 ส�ำหรับการจัดการประชุมฯดังกล่าว ส�ำนักงานราชบัณฑิตยสภา คณะกรรมการสหวิทยาการเพื่อการวิจัยและพัฒนา ร่วมกับ มูลนิธิสหวิทยาการเพื่อการวิจัยและพัฒนา เครือข่ายสหวิทยาการ ส�ำนักงานราชบัณฑิตยสภา ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข และส�ำนักคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ก�ำหนดจัดขึ้นระหว่างวัน ที่ 5 – 6 กรกฎาคม 2559 ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี กิจกรรมภายในงาน ประกอบด้วยการบรรยายพิเศษในหัวข้อเรื่องต่างๆ อาทิ การบรรยายพิเศษ เรื่อง “พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวกับเป้าหมายแห่งการพัฒนาที่ยั่งยืน” โดยพลเอก จรัล กุลละวณิชย์ การอภิปรายเรื่อง “การศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม” โดยรศ.นราพร จันทร์โอชา และการบรรยายเรื่อง “The Role of SEAMEO in the Promotion of Research and Development in ASEAN Countries” โดยพลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 80 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Round About

มู ลนิธิครอบครัวพอเพียงผสานความร่วมมือโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

คณะกรรมการมูลนิธิครอบครัวพอเพียง น�ำโดยนางสุชานี แสงสุวรรณ ประธานมูลนิธิครอบครัวพอเพียง ร่วมต้อนรับ ท่าน ม.ล.ปนัดดา ดิศกุล รัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี ประธานในพิธีมอบป้ายรณรงค์ปลุกจิตส�ำนึกต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นแก่ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน คณะครู นักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย ในโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษา และบรรยายพิเศษ เรื่อง ‘คุณธรรมตามรอยพระยุคลบาท ความรู้รักสามัคคี และแนวนโยบายประชารัฐ’ กิจกรรมที่ส่งเสริมสร้างสรรค์เยาวชนให้เป็นพลเมือง ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี จึงจะเป็นพื้นฐานให้เกิดจิตอาสา คือการรู้จักแบ่งปัน-ให้แก่ผู้อื่น มิใช่ยึดถือว่าเกรงจะเสียประโยชน์ของตน มูลนิธิ ครอบครัวพอเพียงจึงมุ่งมั่นที่ร่วมมือกับทุกภาคส่วนของสังคมชุมชน ในการน้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเข้าสู่สถานศึกษาเพื่อเริ่ม ที่เด็กและเยาวชนท่าน มล.ปนัดดา ดิศกุล ได้กรุณาสนับสนุนการด�ำเนินงานของมูลนิธิครอบครัวพอเพียง อย่างเป็นที่ประทับใจตลอดมา

เยาวชนครอบครัวพอเพียงร่วมประชุ มรับฟั งความคิดเห็นทั่วไป จากผู ้ให้บริการและผู ้รับบริการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

แกนน�ำเยาวชนมูลนิธิครอบครัวพอเพียง ออกบูธแนะน�ำกิจกรรมและร่วมรับการประชุมรับฟังความคิดเห็นทั่วไป จากผู้ให้ บริการและผู้รับบริการ ตามมาตรา 18 (13) ภายใต้พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจ�ำปี 2559 เมื่อวันอังคารที่ 29 มิถุนายน 2559 ที่ผ่านมา ณ ห้องราชเทวี แกรนด์บอลรูม ชั้น 3 โรงแรมเอเชีย จังหวัดกรุงเทพมหานครจัดโดย ส�ำนักงานหลักประกัน สุขภาพ เขต 13 กรุงเทพมหานคร 81 issue 102 july 2016


“ความรู้ในวิชาการ เป็นสิ่งหนึ่งที่จะท�ำให้สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ และท�ำให้ เป็นคนที่มีเกียรติ เป็นคนที่สามารถ เป็นคนที่มีความพอใจได้ในตัวว่า ท�ำประโยชน์ แก่ตนเองและแก่ส่วนรวม นอกจากวิชาความรู้ ก็จะต้องฝึกฝนในสิ่งที่ตัวต้องปฏิบัติ ให้สอดคล้องกับสังคม สอดคล้องกับสมัยและสอดคล้องกับศีลธรรมที่ดีงาม ถ้าได้ทั้ง วิชาการ ทั้งความรู้รอบตัว และความรู้ในชีวิต ก็จะท�ำให้เป็นคนที่ครบคน ที่จะภูมิใจได้” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานเนื่องในโอกาส วันปิดภาคเรียนของโรงเรียนจิตรลดา ๒๕ มีนาคม ๒๕๑๕



84 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.