Isamare june58 web

Page 1

IS AM ARE

จากยีนส์เก่าสู่งานศิลป์ มากมูลค่า

พงษ์สกุล ชาเหลา

ตามรอยแพทย์อาสา นายแพทย์พิษณุ มณีโชติ

มิถุนายน 2558

ฉบั บ ที่ 89

www.Baanporpeang.org


2 IS AM ARE www.ariyaplus.com


“ประเพณี ทั้ ง หลายย่ อ มมี ป ระโยชน์ ใ นการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ของแต่ ล ะคน เรามี ป ระเพณี ข องชาติ ไ ทยเป็ น สมบั ติ เราควรจะยิ น ดี อ ย่ า งยิ่ ง และช่ ว ยกั น ส่ ง เสริ ม รั ก ษาไว้ เพื่ อ ความเจริ ญ ก้ า วหน้ า ของประเทศ” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒๑ เมษายน ๒๕๐๓ 3 issue 89 June 2015


EDITORIAL

ทั ก ทายกั น ฉบั บ นี้ มาพร้ อ มกั บ ฝนที่เย็นฉ�่ำ หลังจากที่ต้องทนร้อน ซึ่ง ไม่ใช่ร้อนแบบธรรมดา ต้องเรียกว่าร้อน จนบรรยายไม่ถูกเลยทีเดียว แต่จะว่าไป แล้วประเทศไทยเรายังโชคดีกว่าหลาย ประเทศเลยก็ ว ่ า ได้ เพราะอากาศแม้ จะร้อนปานใด แผ่นดินไทยก็ยังมีร่มไม้ ให้ บั ง แสงแดด ร่ ม เงาของธรรมชาติ ที่ ยังพอมีและบรรเทาความร้อนให้เราได้ บ้าง ในขณะที่อุณภูมิสูงเท่ากับประเทศ เพื่อนบ้าน ประเทศไทยเราก็ยังไม่หนัก หนาจนประชาชนต้องล้มตาย และไม่มี ปรากฏว่าคนไทยต้องตายจากอากาศที่ ร้ อ นจั ด ที่ เ คยปรากฏว่ า มี ก ารเสี ย ชี วิ ต นั้ น ก็ จ ะมี จ ากสภาพอากาศที่ ห นาวเย็ น มากกว่า และจากปกฉบั บ นี้ ความภาค ภูมิใจเป็นอย่างยิ่งที่เราได้มีโอกาสได้ไป พบและพู ด คุ ย กั บ บุ ค คลที่ มี อุ ด มการณ์ ที่ น ่ า ยกย่ อ ง น่ า สรรเสริ ญ ความเสี ย สละเพื่อผู้อื่นที่ท่านท�ำมาทั้งชีวิตก็ว่าได้ การกระท�ำของท่าน ท่านไม่เคยแม้แต่จะ หวังว่าจะได้รับกับค�ำว่า ขอบคุณ เพราะ ท่านท�ำเพราะท่านรู้ว่า ยังมีประชาชนคน ไทยอีกจ�ำนวนมากที่ยังรอความช่วยเหลือ อยู่ ความหวังของคนไทยอีกจ�ำนวนมากที่ อยู่ห่างไกลจากความเจริญ ความหวังที่ อยากจะได้เท่าเทียมกับคนไทยที่อยู่ในถิ่น ที่เจริญกว่า แม้จะเป็นความหวังที่อาจจะ ไม่ทันกับชีวิตของคนคนหนึ่งเลยก็ว่าได้ ถึงกระนั้นฟ้าก็ยังมีตา แผ่นดินไทยยังคง มีร่มบารมีที่ปกแผ่ไพศาลไปทั่วหล้าด้วย พระมหากรุณาธิคุณ สมเด็จย่า

หน่วยแพทย์อาสาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พอ.สว.) เป็น หน่วยแพทย์ที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.๒๕๑๒ ปฏิบัติงานโดยอาสาสมัคร ประกอบด้วย แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาล เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงเล็งเห็นว่า กิจการและการด�ำเนินการให้ความช่วย เหลื อ ประชาชนในด้ า นการแพทย์ แ ละ สาธารณสุ ข ประสบผลและเป็ น คุ ณ ประโยชน์ อ ย่ า งมหาศาล จึ ง ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานทุนทรัพย์ ส่วนพระองค์ จ�ำนวน ๑ ล้านบาท เป็นทุน แรกเริ่มจดทะเบียนตั้งเป็นมูลนิธิ “แพทย์ อาสาสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราช ชนนี(พอ.สว.)” เมื่อวันที่ ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๑๗ โดย พระองค์ เ ป็ น นายิ ก า กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ ห ลั ง จากเสด็ จ สวรรคต เมื่ อ วันที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๓๘ สมเด็จ พระเจ้ า พี่ น างเธอเจ้ า ฟ้ า กั ล ยาณิ วั ฒ นา กรมหลวงนราธิ ว าส ราชนคริ น ทร์ ทรงด�ำรงต�ำแหน่งประธาน กิตติมศักดิ์ สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน ค ว า ม ท ร ง จ� ำ ข อ ง ค น ไ ท ย ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของสมเด็ จ พ ร ะ ศ รี น ค ริ น ท ร า บ ร ม ร า ช ช น นี ยังคงอยู่ในใจของคนไทยทั้งชาติตลอด กาล.

4 IS AM ARE www.ariyaplus.com

www.baanporpeang.org


staff

ประธานกิตติมศักดิ์ :

คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์, วิชัย ศรีขวัญ, ปรีชา วัชราภัย, เบญจวรรณ สร่างนิทร, นนทิกร กาญจนะจิตรา (เลขาธิการ คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน)

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ :

พล.อ.จรัล กุลละวณิชย์, พุธทรัพย์ มณีศรี, ชมนาด พงศ์พรัตน์, ดร.เสรี พงศ์พิศ, เกริกเกียรติ์ เอกพจน์, นงลักษณ์ หอตระกูล, ผศ.ดร.ทิพวัลย์ สีจันทร์, รังสิมา จารุภา, ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์

ประธานด�ำเนินการ : ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล

ที่ปรึกษา :

วริมา โพธิสมบัติ, วัลภา บุรุษพัฒน, ผศ.ดร.ธันวา จิตต์สงวน, ดร.ขนิษฐา สารพิมพา, ฌิชศีล ตันติเวชกุล, จริยา รอดเที่ยง, สุชานี แสงสุวรรณ

Let’s

Start

บรรณาธิการ : อภีม คู่พิทักษ์ ศิลปกรรม : เอกรัตน์ คงรอด Cover Story : กรวิก อุนะพ�ำนัก ส�ำนักงาน : นิตยสารครอบครัวพอเพียง

โทรศัพท์ : โทรสาร : เว็ปไซต์ :

663 ซอย พหลโยธิน 35 แยก 9 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 0-2939-5995 0-2939-5996 www.ariyaplus.com www.baanporpeang.org

and Enjoy!

5 issue 89 June 2015


Hot Topic

44

จากยีนส์เก่า สู่งาน ศิลป์ มากมู ลค่า พงษ์สกุล ชาเหลา

52

76

เสริมสกุล คล้ายแก้ว ผู ้ว่าการการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาคคนที่ 13

ตามรอยแพทย์อาสา นายแพทย์พิษณุ มณีโชติ

Don’t miss

10

18 20 14 6 IS AM ARE www.ariyaplus.com

46


table of content

“จิ ต อาสาผมว่ า ต้ อ งไปเน้ น ถึ ง การลดความเหลื่ อ มล�้ ำ อย่ า ไปคิ ด ว่ า รอให้ เขาดั้ น ด้ น ทุ ก ข์ ย ากแสนสาหั ส แล้ ว เราไปช่ ว ยโดยการบริ จ าค ซึ่ ง อั น นั้ น ช่ ว ยประเดี๋ ย วประด๋ า ว เราต้ อ งช่ ว ยให้ เ ขาเข้ า ถึ ง บริ ก ารอย่ า งเท่ า เที ย ม เป็ น ธรรม แล้ ว ก็ ส ามารถที่ จ ะอยู ่ ใ นสั ง คมต่ อ ไปได้ ”

นายแพทย์พิษณุ มณีโชติ 7 issue 89 june 2015

ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โรคระบาดใหม่ ชื่อโรคอ้วน เด็กวันวาน...เด็กวันนี้ ร่วมสร้างสังคมไทย ให้มีวินัยกันเถิดลูก ตัวไกลหัวใจอยู่ใกล้ ทางของเศรษฐี หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน Dhrama today สักวันหนึ่ง...ชีวิตจะหาไม่ Question of life กลับบ้าน Goodlife จัดฟัน แฟชั่นหรือการรักษา Cartoon Share story ต้อม ชายผู้ข้ามผ่านยาเสพติด ตอนที่ 2 Let’s Talk จากยีนส์เก่า สู่งานศิลป์มากมูลค่า พงษ์สกุล ชาเหลา IS AM ARE ต�ำบลห้วยสัตว์ใหญ่ อ�ำเภอหัวหิน รวมพลังฟื้นคืนความอุดมสมบูรณ์ สู่ความพอเพียงอย่างยั่งยืน สัมภาษณ์พิเศษ นายเสริมสกุล คล้ายแก้ว ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค คนที่ 13 นานา...ทัศนะ ดอกล�ำดวน EAT AM ARE ข้าวซอย Cover story ตามรอยแพทย์อาสา นายแพทย์ พิษณุ มณีโชติ รองเลขาธิการมูลนิธิ พอ.สว. Wheel of life เรื่องเล่าเยาวชน ประสบการณ์สอนชีวิต มูลนิธิชัยพัฒนา การบริหารงานด้วยความโปร่งใส ศรัทธา ROUNDABOUT

8 10 14 17 18 20 22 24 28 30

36 44 48 50

52 60 64 76 80


โรคระบาดใหม่ ชื่อโรคอ้วน

..ถ้ า ไปถามคนที่ อ ยู ่ ร อบๆตั ว เรา ใครก็ ไ ด้ ว ่ า ความอ้ ว น (พุ ง เกิ น , น�้ ำ หนั ก ตั ว เกิ น ) นี่ มั น เป็ น อย่ า งไร เราก็ อาจได้ ค� ำ ตอบว่ า เป็ น เรื่ อ งส่ ว นตั ว ของเขา หรื อ ช่ า งเขาเถอะ หรื อ ถ้ า เป็ น คนที่ มี Health Conscious สู ง หน่ อ ยก็ จ ะบอกว่ า มั น ไม่ ดี น ะ ด้ ว ยเหตุ ผ ลอย่ า งโน้ น อย่ า งนี้ ส ารพั ด .. แต่ในความเป็นจริงคือ เรามีคน อ้ ว นอยู ่ เ ต็ ม บ้ า นเต็ ม เมื อ งไปหมด เด็ ก นั ก เรี ย นก็ อ ้ ว น, วั น รุ ่ น มหาลั ย ก็ อ ้ ว น, ต�ำรวจทหารก็อ้วน, หมอก็อ้วน ไปจนถึง ผู้สูงอายุซึ่งอ้วนกันแยะมาก... ในอดีต ความอ้วนเคยถูกมองว่า เป็นสัญลักษณ์ของความมั่งคั่งและอุดม สมบู ร ณ์ แม้ ก ระทั่ ง ปั จ จุ บั น นี้ ในบาง ส่วนของโลก เช่น ประเทศจีนก็ยังถือว่า เด็ ก อ้ ว น, ตุ ๊ ย นุ ้ ย , จ�้ ำ ม�๊ ำ เป็ น เรื่ อ งที่ ดี ปั จ จุ บั น องค์ ก ารอนามั ย โรค ประมาณ การว่าประชากรโลกมากกว่า 10% หรือ กว่า 650 ล้านคนเป็นโรคนี้ และถือเป็น

หนึ่งในปัญหาสาธารณสุขที่ร้ายแรงของ ศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะในอเมริ ก า, แคนาดา, ออสเตรเลีย เป็นประเทศที่มี อัตราคนเป็นโรคอ้วนสูงที่สุด... ในทางการแพทย์สมัยใหม่ ความ อ้วนถือเป็น “โรค” ถือว่าเป็นความผิด ปกติ ห รื อ การเจ็ บ ป่ ว ยชนิ ด หนึ่ ง เมื่ อ เวลาเจอหน้าทักทายกัน ค�ำพูดยอดนิยม ที่ว่า “สบายดีหรือเปล่า” ใครๆก็มักจะ ตอบว่าสบายดี แต่มองดูอีกที คนตอบ พุงพลุ้ยและดูท่าทางอมโรค แต่ก็ยังตอบ ว่า “สบายดี” อย่างหน้าตาเฉย ที่น่าข�ำ คื อ บางคนอาจจะบอกว่ า “อ้ ว นท้ ว น 8 IS AM ARE www.ariyaplus.com

แข็งแรงดี” เพราะยังคิดว่าตัวเองยังเดิน ไปไหนมาไหน ท�ำงานได้ เหตุผลที่คนจ�ำนวนมากควบคุม น�้ ำ หนั ก ตั ว ไม่ ไ ด้ ไม่ ใช่ เ ป็ น เหตุ ผ ลตื้ น ๆ แต่เพียงว่า เห็นแก่กิน หรือ กินๆนอนๆ ไม่ขยับตัวเท่าหนั้น ในทางสังคมศาสตร์ และจิตวิทยา มีปัจจัยและองค์ประกอบ ที่ ต อบค� ำ ถามเรื่ อ งอ้ ว นนี้ ไ ด้ ห ลาย ประการ 1).ความยึ ด ติ ด อยู ่ กั บ การกิ น (Oral phase) มนุ ษ ย์ เราจะใช้ ปากใน การกินกับพูดเป็นหลัก เมื่อเป็นเด็กจะ กิ น อยู ่ เ กื อ บตลอดเวลา และจะค่ อ ยๆ


นพ. วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ รองเลขาธิการส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

น้อยลงเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ แต่บางคนก็ยัง ติดอยู่กับการกินไปเรื่อยๆแม้เป็นผู้ใหญ่ แล้ ว นั ก สั ง คมวิ ท ยาพบว่ า มี เรื่ อ งอยู ่ 2 เรื่องที่เป็นพฤติกรรมเปราะบางของ มนุษย์ ซึ่งมักควบคุมตัวเองได้บ้าง ไม่ได้ บ้าง หนึ่งคือ เรื่องเพศ, การสืบพันธุ์ สอง คือเรื่องการกิน 2).ครอบครั ว (Family) ถ้ า คู ่ สมรสคนใดคนหนึ่งอ้วน อีกคนก็มีแนว โน้มจะอ้วนตาม ครอบครัวที่มีพ่อแม่อ้วน ลูกก็มีแนวโน้มจะอ้วนตาม เพราะชนิด ของอาหารที่ทานร่วมกัน และการโน้ม น้าวโดยไม่รู้ตัว รวมทั้งสภาวะสิ่งแวดล้อม ด้านการปรุงอาหาร 3 ) . วิ ถี ชี วิ ต ( L i f e s t y l e ) คนเมืองจะมีแนวโน้มอ้วนมากกว่าคนใน ชนบท เพราะเคลื่อนไหวน้อยกว่า อาชีพ เกษตรกรซึ่ ง มั ก ต้ อ งใช้ แรงงานมี แ นว โน้มอ้วนน้อยกว่าคนท�ำงานใน office อาหาร fast food ซึ่งมีแป้งและไขมัน สูง มีส่วนท�ำให้คนในเมืองอ้วนขึ้นอย่าง มีนัยส�ำคัญ 4).การกิ น อาหารตามสภาพ อารมณ์และจิตใจ มีคนจ�ำนวนหนึ่งเมื่อ ต้องเผชิญกับความเครียด, ความผิดหวัง, ความเบื่อหน่าย หรือแรงกดดันในรูปแบ บอื่นๆใดก็ตาม ทางออกอย่างหนึ่งที่ท�ำ กันคือ ชดเชยด้วยการกิน คนเหล่านี้มี ความรู้สึกว่า การกินท�ำให้จิตใจสงบขึ้น นอกจากนี้ บ างคนยั ง “ฆ่ า เวลา” หรื อ ท�ำให้เวลาหมุนเร็วขึ้นด้วยการกิน ในอดีตกาล มนุษย์กินเพื่อด�ำรง ชีวิต กินเพราะเป็นปัจจัยพื้นฐานที่จ�ำเป็น แต่ ทุ ก วั น นี้ การกิ น กลายเป็ น “ความ สนุ ก , ความเพลิ ด เพลิ น , การฆ่ า เวลา, การลดความเครียด หรือสันทนาการไป” เรากินในสิ่งที่ “ไม่จ�ำเป็น” ต้องกินกัน

มากขึ้น ตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม คือ ขนม ขบเคี้ยวเล่นของเด็กๆ 5).สังคมยุค Digital ซึ่งท�ำให้คน อยู่หน้าจอมากขึ้น นอนดึก หรือ นอน ไม่เป็นเวลา เคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง มี ส ่ ว นท� ำ ให้ เราใช้ แ คลอรี่ น ้ อ ยลง เป็ น ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ มากต่ อ การเพิ่ ม ขึ้ น ของน�้ ำ หนักตัว 6).เพศและอายุ ; ผู ้ ห ญิ ง มี แนวโน้มอ้วนง่ายกว่าผู้ชาย และเมื่ออายุ มากขึ้น คนก็มีแน้วโน้มอ้วนขึ้น ปัญหาอีก อย่างหนึ่งที่มักลอยมาเคียงคู่กันกับปัญห หาความอ้วน คือ การกินอาหารหวาน, มัน, เค็ม สูงกว่าคนปกติธรรมดาทั่วไป ร่างกายเมื่อขับถ่ายไม่ทันก็สะสมไว้กลาย เป็นไขมัน กลายเป็นรอบเอว ส่วนตับไต ก็รับภาระต้องท�ำงานหนักกว่าธรรมดา ท�ำให้เกิดปัญหาผลข้างเคียงติดตามมา อีกหลายต่อหลายโรค น อ ก เ ห นื อ จ า ก เ ห ตุ ผ ล ด ้ า น สุ ข ภาพแล้ ว คนอ้ ว นยั ง มี ผ ลข้ า งเคี ย ง ด้านสังคมบางอย่างตามมา กล่าวคือ คน อ้วนเป็นคนที่มีโอกาสประสบผลส�ำเร็จ ในหน้ า ที่ ก ารงานและสั ง คม (Social Success) ได้ ย ากกว่ า คนธรรมดาโดย ทั่วไป นับตั้งแต่ 1.หาแฟนยาก แน่นอนว่าใครๆ ก็อยากได้แฟนหุ่นดี Fit and Firm และ สุขภาพดี 2.หางานท�ำยากกว่าคนอื่น เวลา ไปสมัครงาน ความอ้วนของคุณมักกลาย เป็ น อุ ป สรรค ข้ อ ด้ อ ยในสายตาของ กรรมการรับสมัครงาน โดยที่คุณไม่รู้ตัว กลายเป็นข้อจ�ำกัดด้านอาชีพไป 3.กลายเป็ น ตั ว ตลก (Joker) ในชั้นเรียน หรือที่ท�ำงาน แม้บางคนไม่ ถือสาที่ถูกล้อเลียน แต่บางคนก็ท�ำใจไม่ 9 issue 89 June 2015

www.nhso.go.th

ค่อยจะได้ 4.เด็ ก วั ย รุ ่ น ผู ้ ช ายที่ อ ้ ว น มั ก ประสบปัญหาตอนสมัครเรียนรักษาดิน แดน (รด.) เพราะวิ่งทดสอบไม่ไหว ไม่ ผ่านเกณฑ์ประเมิน 5.มีรายจ่ายค่าอาหารมากกว่าคน อื่นๆ มีข้อมูลจากการศึกษาพบว่า เด็ก ไทยในแต่ละปีซื้อขนมกินเล่นประมาณ 5,000 บาท/คน ท�ำให้เป็นภาระรายจ่าย ที่เพิ่มขึ้นของครอบครัว 6.คนอ้วน มักจะหาเสื้อผ้าใส่ยา กกว่าคนธรรมดา ใส่แล้วก็ไม่ค่อยพอดี ตัว พระท่านกล่าวไว้ว่า “ร่างกายของเรา นั้นเปรียบประดุจรังโรค” คนที่เป็นโรค อ้วนอยู่ในตัว จึงถือประดุจเป็นรังโรคที่ “ใหญ่เป็นพิเศษ” มีโอกาสเจ็บไข้ได้ป่วย มากกว่าคนธรรมดาทั่วไป ผลเสี ย ของโรคอ้ ว นนั้ น เห็ น ชัดเจนว่ามีทั้งเรื่อง เบาหวาน ความดัน โลหิตสูง ข้อเข่าเสื่อม โรคหัวใจ โรคมะเร็ง ผลก็คือ คนอ้วนจะมีอายุขัยเฉลี่ย (Life Expectancy) น้อยกว่าคนทั่วไป ตราบใดที่ เรายั ง ชอบกิ น อาหาร นอกบ้าน กินอาหารขยะ ติดน�้ำหวานและ น�้ำอัดลม รวมทั้งการกินผักและผลไม้น้อย ชอบกินแต่แป้งและไขมัน เมื่อนั้นเราก็จะ ไม่มีวันหลบลี่ยงจากโรคระบาดนี้ได้ ความอ้ ว นไม่ เข้ า ใครออกใคร แต่ท�ำไมเข้าฉัน แล้วไม่ยอมออกไปซะ ที....เฮ้อ

บริการข้อมูล ให้ค�ำปรึกษาการใช้ สิทธิหลักประกันสุขภาพ 30 บาท ตรวจสอบสิทธิการรักษาพยาบาล รับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ ประสานงานส่งต่อผู้ป่วยเพื่อเข้ารับการรักษา


เด็กวันวาน...เด็กวันนนี้ พุธทรัพย์ มณีศรี กศ.บ. (เกียรตินิยม) M.P.A. อดีตที่ปรึกษาระบบราชการ (เจ้าหน้าที่วิเคราะห์งานบุคคล ๑๐) ส�ำนักงาน ก.พ. puthsup@gmail.com

ร่วมกันสร้างสังคมไทย ให้มีวินัยกันเถิดลูก ภาพ http://i.huffpost.com/

10 IS AM ARE www.ariyaplus.com


เด็ ก วั น วาน...เด็ ก วั น นี้

“เด็ ก วั น วาน...เด็ ก วั น นี้ ” ฉบั บ เดือนเมษายน ๒๕๕๘ ลุงได้เขียนเรื่อง “มาสร้ า งวิ นั ย ในตนเองให้ เ ป็ น นิ สั ย กั น เถิด” โดยยกตัวอย่างให้ลูกๆ ได้ทราบ ว่าคนญี่ปุ่น ได้สร้างสรรค์สิ่งๆ ให้แก่เด็ก ญี่ปุ่น สอนให้เด็กของเขามีวินัยจนกลาย เป็นนิสัย ลุ ง จึ ง อยากเห็ น เด็ ก ไทยมี วิ นั ย จนเป็ น นิ สั ย เช่ น เดี ย วกั บ เด็ ก ญี่ ปุ ่ น บ้ า ง ทั้งเรื่องการเข้าคิวและเรื่องการทิ้งขยะ อ ย า ก ใ ห ้ ลู ก ป ฏิ บั ติ ทั้ ง สองเรื่ อ งนี้ อ ย่ า งจริ ง จั ง ไม่ ว ่ า ในบ้ า น ในโรงเรี ย นหรื อ สถานที่ ส าธารณะก็ จ ะ เข้าคิวและไม่ทิ้งขยะให้เรี่ยราด เมื่อข้อเขียนนี้ได้ตีพิมพ์ พระภิกษุ รูปหนึ่ง ซึ่งผู้เขียนรู้จักท่านเป็นอย่างดี ได้ ให้ข้อสังเกตในเรื่องนี้ ซึ่งผู้เขียนเห็นว่า เป็นเรื่องที่ส�ำคัญอย่างยิ่ง ไ ด ้ ข อ อ นุ ญ า ต ท ่ า น เ พื่ อ ขอเผยแพร่ ค วามเห็ น ของท่ า นโดยไม่ ต้องออกนาม ซึ่งท่านก็ได้อนุญาตแล้ว ความเห็นของท่านมีดังนี้ ครับ “มีประสบการณ์อยู่ญี่ปุ่นช่วงสั้น พบว่า “การฝึกวินัย” ที่ญี่ปุ่น เขา “ปฏิ บั ติ กั น เป็ น ชี วิ ต ประจ� ำ วั น ” จนท�ำให้เป็น “วัฒนธรรม” เป็น “ขนบ” ที่ต้องท�ำกันทั้งสังคม จนเขาไม่ รู ้ สึ ก ว่ า เป็ น การฝึ ก กระมังครับ เหมือนกับไทย ที่ไม่ฝึกกัน จนเป็นนิสัย สะเปะสะปะเป็นส่วนใหญ่ ในครอบครัวเขาก็เป็นระเบียบ เรียบร้อย มีวินัย ตั้งแต่เรื่องกิน อยู่ ดู ฟัง ถอดรองเท้า อาบน�้ำ ทานอาหาร แต่งตัว พอออกจากประตู บ ้ า น สั ง คม ก็รับต่อตั้งแต่อนุบาลยันประถมปลาย

จนเข้ามัธยมจึงค่อยๆ คลายการควบคุม ลงบ้างและไปปล่อยเมื่อมัธยมปลาย ผิดกับไทยอย่างกลับหัวกลับหาง ที่ดูจะปล่อย (ตามใจ) ตั้งแต่เด็กยันตาย (มากไปนิด) จึงไม่แปลกที่ญี่ปุ่นจะกระท�ำการ ใดได้ส�ำเร็จและรวดเร็ว เพราะค� ำ ว่ า “วิ นั ย ” ในภาษา บาลี แปลว่า “น�ำไปให้วิเศษ” “น�ำไป อย่ า งวิ เ ศษ” คื อ ท� ำ ให้ ถึ ง เป้ า หมายได้ อย่างวิเศษ สังคมที่ขาดวินัย จึงไม่ต้องถาม หาการบรรลุเป้าหมาย กล่าวอย่างที่สุด แม้ในคณะสงฆ์ ที่เป็นผู้ท่ีต้องทรงพระวินัย ก็ยังวุ่นวาย กะปฏิรูปไม่เลิก เพราะ “วิ นั ย ” เป็ น มากกว่ า “สิกขาบท” อามิตาพุทธ” เ ห็ น ด ้ ว ย กั บ ท ่ า น เ ป ็ น อย่ า งยิ่ ง และก็ เ ป็ น ความจริ ง อย่ า งที่ ท่ า นได้ ใ ห้ ค วามเห็ น เพราะเด็ ก ไทย หลายต่อหลายคนได้รับการตามใจมา ตั้งแต่เด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหมู่คน ที่มีฐานะดี ส� ำ หรั บ คนที่ มี ฐ านะปานกลาง และยากจนนั้ น ไม่ ค ่ อ ยมี ป ั ญ ญาที่ จ ะ ตามใจกันสักเท่าไรหรอก เด็ ก อยากได้ อ ะไรก็ ต ้ อ งได้ อยากท� ำ อะไรก็ ไ ด้ ท� ำ ไม่ ว ่ า สิ่ ง นั้ น จะ เหมาะสมหรือไม่ อย่างไร บางครั้ ง พ่ อ แม่ น ะไม่ เ ท่ า ไร แต่ ปู ่ ย ่ า ตายาย ซึ่ ง เห่ อ หลานจนเลิ ศ ลอย ต้องตามใจเพื่อให้หลานรักด้วย การได้รับการตามใจอยู่ตั้งแต่เด็ก จึงฝังเป็นนิสัย จะท�ำอะไรหรืออยากได้ 11 issue 89 June 2015

อะไรเป็นต้องได้ ไม่ว่าสิ่งนั้นคนอื่นเขาไม่ ท�ำกัน หรือไม่ถูกต้องตามกฎเกณฑ์ก็ตาม เริ่มสร้างปัญหาให้แก่สังคมทันที ลุ ง เห็ น ว่ า เรื่ อ งนี้ เ ป็ น เรื่ อ งใหญ่ ที่ต้องได้รับการแก้ไขในระดับชาติ รั ฐ บาลควรจะท� ำ เป็ น วาระ แห่งชาติในการฝึกให้คนไทยและสังคม ไทยมีวินัย เพราะการสร้างวินัยควรได้รับ การปลูกฝังทั้งสามระดับ คือระดับเด็กๆ ระดับนักเรียน นิสิตนักศึกษาและระดับ ผู้ใหญ่ซึ่งเป็นประชาชนทั่วไป โดยการประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ พ ่ อ แม่ผู้ปกครองเริ่มหัดวินัยให้แก่เด็กๆ ใช้ เหตุ แ ละผลอธิ บ ายให้ เ ด็ ก เข้ า ใจ ไม่ ใช่ ตามใจกันเกินกว่าเหตุ เมื่ อ โตขึ้ น เป็ น นั ก เรี ย น นิ สิ ต นักศึกษา ก็จะมีวินัยในตนเอง สองระดับนี้ลุงว่าฝึกไม่ยากหรอก แต่ระดับผู้ใหญ่ซึ่งเป็นประชาชนทั่วไปนี่ซิ ล�ำบากนิดหนึ่ง เพราะความเป็ น วิ นั ย ไม่ ว ่ า จะการเข้ า คิ ว การทิ้ ง ขยะ การไม่ ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ ต่างๆ เช่น การฝ่าฝืนกฎจราจรเหล่านี้ คนไทยส่วนใหญ่ยังปฏิบัติกันเป็นเรื่อง ปกติ เป็นตัวอย่างที่ไม่ดีให้แก่ทั้งเด็กๆ นั ก เรี ย นและนิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา รวมทั้ ง ประชาชนทั่วไป ยิ่งผู้รักษากฏหมายไม่ด�ำเนินการ ให้เป็นไปตามกฎหมายด้วยแล้วยิ่งแล้ว กันไปใหญ่ จึงเป็นการสมควรที่ทางราชการ ต้ อ งปฏิ บั ติ ใ ห้ เ ข้ ม งวดตามตั ว บท กฎหมายอย่ า งเคร่ ง ครั ด รวมทั้ ง การ


http://3.bp.blogspot.com/

ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ เพื่อให้คนไทยมีวินัยในตนเอง เคารพกฎ กติกาของสังคม แต่ลุงไม่หวังในเรื่องราชการเท่าใดนัก เพราะในความเป็นจริงประเทศไทยมีกฎกติกาในสังคม มากมาย รวมทั้งมีบทลงโทษผู้ที่ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามด้วย แต่ผู้บังคับใช้กฎหมายไม่ได้ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด จริงจัง ชอบท�ำอะไรแบบ “ไฟไหม้ฟาง” ยกตัวอย่างเช่นการเคารพกฎจราจร มีมาตรการออกมา มากมาย รวมทั้งมีการจับปรับกันด้วย แต่ก็ท�ำในระยะที่ประกาศ ใช้มาตรการใหม่ๆ เท่านั้น หลังจากนั้นก็ไม่กลับมาในสภาวะเดิม คือไม่ท�ำอะไร ลุงเคยเห็นต�ำรวจจราจรปล่อยให้รถคันที่ไม่ปฏิบัติตาม กฎจราจรให้ได้ไปก่อนด้วยซ�้ำไป ในขณะที่คนดีคือคนที่ปฏิบัติ ตามต้องรอคอยเป็นเวลานาน สิ่งที่ลุงมีความหวังก็คือลูกๆ นี่แหละ ที่อาจช่วยสร้าง สังคมไทยให้มีวินัย วิธีการก็คือเริ่มที่ตัวลูกเองก่อน ปฏิบัติตามกติกาสังคม ไปเถอะลูก ไม่ต้องสนใจว่าใครจะเคารพกฎ กติกาหรือไม่ ลูกปฏิบัติแล้วลูกจะมีความสุข และลูกจะเป็นที่รักใคร่ ของบุคคลโดยทั่วไป เมื่อเริ่มที่ตนเองจนมั่นใจแล้ว ก็มาช่วยเด็กๆ ได้ ก็น้องๆ หลานๆ ของลูกนั่นแหละ นอกจากไม่ ต ามใจเด็ ก ๆ แล้ ว ลู ก ยั ง ควรสอนให้ น้ อ งๆ หลานๆ ของลู ก เข้ า ใจเหตุ ผ ลของการไม่ ต ามใจหรื อ

ไม่ปฏิบัติตามกฎกติกาของสังคม พ่ อ แม่ ปู ่ ย ่ า ตายายของลู ก ได้ ฟ ั ง ท่ า นก็ ค งอายและ ต่อไปท่านก็ไม่ตามใจเด็กๆ อีก เพื่อนๆ ของลูก ลูกก็เตือนได้เช่นกัน คนที่รักกันต้อง หวังดีต่อกันและกันไม่ใช่หรือ ส่วนผู้ใหญ่นั้น ลุงไม่ได้ขอให้ลูกไปยุ่งเกี่ยวกับเขาหรอก เพราะนอกจากไม่เกิดประโยชน์ใดๆ แล้ว ดีไม่ดีลูกจะได้รับ อันตรายและเดือดร้อนอีกด้วย แต่พ่อแม่ปู่ย่าตายายของลูกนั้นท�ำได้ ไม่ว่าการตามใจ เด็กหรือการที่ท่านไม่ปฏิบัติตามกฎกติกาของสังคม ลุงก็พบกับเหตุการณ์เช่นนี้กับตัวของลุงมาแล้วและ ลุงก็รู้สึกปลื้มใจ สมัยเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษา ลุงขับรถพาลูกๆ ไปเยี่ยม พ่อแม่ของลุงที่ชุมพรทุกๆ ปี โดยเขาก็ไปด้วย ในระหว่างทางขากลับลุงกินข้าวหลามเสร็จแล้วก็โยน เปลือกข้าวหลามออกนอกรถลงในป่าข้างทาง เพราะลุงเห็น ว่าเปลือกข้าวหลามเป็นอินทรียวัตถุ สามารถย่อยสลายกลาย เป็นปุ๋ยต่อไปได้ ลูกทั้งสองคนอุทานขึ้นมาพร้อมกันว่า อย่าทิ้งขยะออก นอกรถนะพ่อ ครูสอนไว้ ลุงได้อธิบายให้ลูกฟังว่าเหตุใดถึงท�ำเช่นนั้น อย่างไร ก็ตาม ต่อมาลุงก็ไม่ทิ้งอะไรออกจากรถอีก ก็ต้องช่วยกันคนละไม้คนละมือนะลูกนะ เพื่อจะได้ช่วยกันให้คนไทยและสังคมไทยมีวินัย 12

IS AM ARE www.ariyaplus.com


ความคาดหวั ง เป็ น รากฐาน ขอบความโศกเศร้ า ทั้ ง มวล “Expectation is the root of all heartache.” William Shakespeare อ่านต่อ : www.thaiquip.co

13 issue 89 June 2015


ภาพ : www.flickr.com/photos/44124348109@N01/4368494308/”>jurvetson

ทางของเศรษฐี

คงทราบกั น ดี แ ล้ ว ว่ า ปี นี้ บิ ล เกตส์ ครองต� ำ แหน่ ง มหาเศรษฐี ที่ มี ท รั พ ย์ สิ น มากที่ สุ ด ในโลกอี ก ครั้ ง นิ ต ย สารฟอร์ บ ส์ ป ระเมิ น ว่ า ทรั พ ย์ สิ น ของเขามี ค ่ า กว่ า 79,000 ล้ า นดอลลาร์ หรื อ ราว 2.5 ล้ า นล้ า นบาท ทรั พ ย์ สิ น เหล่ า นั้ น ส่ ว นใหญ่ อ ยู ่ ใ นรู ป ของหุ ้ น ของบริ ษั ท ไมโครซอฟท์ ซึ่ ง เขาเป็ น ผู ้ ร ่ ว มก่ อ ตั้ ง เมื่ อ ครั้ ง ยั ง เรี ย น อยู ่ ใ นมหาวิ ท ยาลั ย

14 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ตั ว ไกลหั ว ใจอยู ่ ไ กล้ จะสนับสนุนโครงการเหล่านั้นเองแล้ว เขายังเชิญชวนให้ผู้อื่น เข้าร่วมอีกด้วย อาทิเช่น มูลนิธิเก่าแก่ของครอบครัวมหาเศรษฐี ร็อกกี้เฟลเลอร์ เมื่อไม่นานมานี้ บิล เกตส์ น�ำเงินส่วนตัวไปลงทุนเพื่อ สนับสนุนกิจการที่ใช้เทคโนโลยีน�ำสมัยกลั่นน�้ำสะอาดจนดื่มได้ จากบ่อเกรอะ เมื่อตอนต้นปี จึงมีภาพที่เขาดื่มน�้ำกลั่นดังกล่าว แพร่ไปทัวโลก อย่างไรก็ดี ในขณะนี้ยังไม่มีกิจการจ�ำพวกนั้น ผลิตน�้ำดื่มออกมาอย่างแพร่หลาย น�้ำที่ผลิตได้มักถูกน�ำไปใช้ใน ภาคเกษตรกรรม ใช้รดสนามกอล์ฟ และฉีดกลับลงไปใต้ดินเพื่อ ทดแทนน�้ำที่ร่อยหรอลง การเชิญชวนผู้อื่นให้เข้าร่วมโครงการสละทรัพย์สินเพื่อ ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ บิล เกตส์และเพื่อนต่างวัยชื่อวอร์เรน บัฟเฟตต์ ออกรณรงค์โดยตรงให้มหาเศรษฐีที่มีทรัพย์นับพัน ล้านดอลลาร์บริจาคทรัพย์สินอย่างน้อยกึ่งหนึ่งเพื่อการกุศล การบริจาคจะท�ำในระหว่างที่มีชีวิตอยู่ หรือหลังจากเสียชีวิต แล้วก็ได้ อาจเป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า วอร์เรน บัฟเฟตต์ ร�่ำรวย มากเช่นกัน ตอนนี้เขามีทรัพย์สินราว 73,000 ล้านดอลลาร์ซึ่ง เป็นล�ำดับที่ 3 ในบรรดามหาเศรษฐีทั่วโลก บิล เกตส์ และวอร์เรน บัฟเฟตต์ ร่วมกันก่อตั้งองค์กร ขึ้นชื่อ “ค�ำมั่นสัญญาว่าจะให้” (Giving Pledge) เมื่อปี 2553 ในบรรดามหาเศรษฐี ที่ เขาร่ ว มโครงการ หลายคนให้ ค� ำ มั่ น สัญญาว่าจะบริจาคมากกว่ากึ่งหนึ่งของทรัพย์สินเพื่อช่วยเหลือ เพื่อนมนุษย์ วอร์เรน บัเฟตต์เองจะบริจาคสูงมากถึง 99% ของ ทรัพย์สินทั้งหมด โดยส่วนใหญ่จะให้ผ่านมูลนิธิของบิล เกตส์ ใน ขณะนี้ มีมหาเศรษฐีเข้าร่วมโครงการแล้ว 130 คนโดย มาร์ค ซักเคอร์เบิร์ก เป็นมหาเศรษฐีอายุน้อยที่สุดที่ให้ค�ำมั่นศัญญา ว่าจะบริจาคและได้เริ่มบริจาคไปบ้างแล้ว เมื่ อ อ่ า นเรื่ อ งราวของพวกเขา เราคงอยากเห็ น การ บริจาคเช่นนั้นเกิดขึ้นในบ้านเราบ้างใช่ไหม?

บิล เกตส์ เป็นหนึ่งในบรรดามหาเศรษฐีที่ร�่ำรวยขึ้นมา ตั้งแต่อายุยังน้อยจากการก่อตั้งกิจการด้านการใช้เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล เทคโนโลยี นี้ ท� ำ ให้ เราสื่ อ สารกั น ได้ แ บบทั น ที ทั น ใด ไม่ว่าจะอยู่ ณ ส่วนไหนของโลกจนท�ำให้โลกใบนี้มีสภาพไร้ พรมแดน มหาเศรษฐีที่เดินตามบิล เกตส์ คนล่าสุดได้แก่ มาร์ค ซักเคอร์เบิร์ก ผู้ก่อตั้งสังคมออนไลน์เฟสบุ๊ค ปีนี้ มาร์คซักเคอร์ เบิร์กอายุ 31 ปีและมีทรัพย์สินเกิน 33,000 ล้านดอลลาร์ซึ่งนับ ว่าเป็นล�ำดับที่ 16 ของโลก การเป็นมหาเศรษฐีของคนเหล่านี้ ชี้ให้เห็นว่า ผู้เป็นเจ้าของ หรือเข้าถึงเทคโนโลยีใหม่ก่อนใครมัก สร้างความร�่ำรวยได้อย่างรวดเร็ว มหาเศรษฐี มั ก มี ค วามคล้ า ยกั น ในด้ า นการมี ค วาม สามารถสูง แต่ความคิดความอ่านและพฤติกรรมมักแตกต่าง กันมาก ความคิดและพฤติกรรมที่ท�ำให้บิล เกตส์ ต่างกับมหา เศรษฐี จ�ำนวนมากคือ การบริจาคทรัพย์สินจ�ำ นวนมหาศาล และความสามารถเพื่อช่วยเหลือเพื่อนร่วมโลก ส่วนใหญ่เขา บริ จ ากทรั พ ย์ สิ น ผ่ า นมู ล นิ ธิ ซึ่ ง เขาและภริ ย าก่ อ ตั้ ง ขึ้ น มาเมื่ อ ปี 2543 จากวันนั้นถึงวันนี้ ทรัพย์สินที่เขาบริจาคให้มูลนิธิซึ่ง มักอยู่ในรูปหุ้นของบริษัทไมโครซอฟท์มีค่ากว่า 43,000 ล้าน ดอลลาร์ มูลนิธินั้นสนับสนุนโครงการต่าง ๆ ทั่วโลกไปแล้วเป็น เงิน 32,900 ล้านดอลลาร์ โครงการครอบคลุมหลายด้านรวมทั้ง การป้องกันและควบคุมโรคร้าย การผลิตอาหารและการศึกษา นอกจากทรัพย์สินแล้ว บิล เกตส์ และภริยายังสละเวลาและ ความสามารถให้แก่งานของมูลนิธิอย่างเต็มที่อีกด้วย เขาลา ออกจากงานบริหารจัดการในบริษัทไมโครซอฟท์เมื่ออายุเพียง 53 ปีเพื่อที่จะท�ำงานให้มูลนิธิของเขา (ตอนนี้ เขาอายุ 59 ปี) อนึ่ ง เนื่ อ งจากการขาดแคลนน�้ ำ เป็ น อุ ป สรรคส� ำ คั ญ ของการผลิตอาหารและการดูแลสุขภาพ ในช่วงนี้มูลนิธิของ บิล เกตส์ จึงสนับสนุนการวิจัยหลายอย่างเกี่ยวกับการผลิตพืช อาหารจ�ำพวกที่ใช้น�้ำเพียงเล็กน้อย โครงการส่วนใหญ่อยู่ใน แอฟริกาเนื่องจากความอดอยากมีมากที่สุดในทวีปนั้น นอกจาก

15 issue 89 June 2015


เวปไซด์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดี ๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช่ จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี

www.baanporpeang.org 16 IS AM ARE www.ariyaplus.com


กว่า 6 ปีที่ผ่านมา IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง ได้น�ำบทความ บท สั ม ภาษณ์ สรรสาระที่ ม ากด้ ว ยความรู ้ และความบันเทิง ความสุขมากมายที่ได้ รับจากการอ่านนิตยสารเพื่อสังคมฉบับ นี้ เพื่อเป็นการตอบแทนท่านผู้อ่านและ สมาชิกที่น่ารักทุกท่าน ตั้งแต่ฉบับนี้เป็นต้นไป บก.จะแจกของ สมนาคุณเล็กๆแก่ผู้ที่ตอบแบบสอบถามกันเข้า ของสมนาคุณที่ว่า คือ ปากกา SHEEFER จ�ำนวน 3 รางวัล พร้อมสลักชื่อ-นามสกุล เรี ย บร้ อ ย ซึ่ ง ค� ำ ถามในฉบั บ นี้ คื อ ความรู ้ ที่ ไ ด้ จ ากบทความ “โรคระบาดใหม่ช่ือโรคอ้วน” หน้า 8-9 จากส�ำนักงานหลักประกัน สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ ในฉบั บ ที่ ปรากฏ แล้ ว ตั ด ส่ ง มากั น นะ ค่ะ ในฉบับหน้าของสมนาคุณ อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามค�ำ เรียกร้องของคนขี้เหงา ซึ่งน่า จะเป็น Furby เพื่อนช่างคุย ของเราเอง แล้ ว พบกั น ใหม่ ฉบับหน้านะค่ะ

ร่วมตอบค�ำถามชิงปากกา SHEFFER

ส่งมาที่นิตยสารครอบครัวพอเพียง เลขที่ 663 ซอยพหลโยธิน 35 แยก 9 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 02-939-5995 แบบประเมินความพอใจผู้อ่าน 1. เนื้อหาเรื่อง โรคระบาดใหม่ชื่อโรคอ้วน

1

2

3

4

5

-ให้ความรู้และมีสาระตามที่คาดหวัง -บทความมีความน่าสนใจและเป็นประโยชน์ -บทความจุดประกายความคิดสร้างสรรค์ -บทความสร้างความตระหนักในเรื่องคุณธรรม 2.รูปเล่ม -มีการออกแบบที่สวยงาม ทันสมัย -จัดจัดเนื้อหาเป็นหมวดหมู่ อ่านง่าย -ภาพประกอบและการน�ำเสนอน่าสนใจ 3.ข้อเสนอแนะ

สายตรง กรมสงเสริมการสงออก

1.ไม่เป็นที่พอใจ 2. ควรปรับปรุง 3. พอใช้ 4.ดี/น่าสนใจ 5. ดีมาก/พอใจมาก 17 issue 89 June 2015

1169


คันฉ่องและโคมฉาย สักวันหนึ่ง...ชีวิตจะหาไม่

แต่วิธีที่จะเอาชนะกรรมได้ดีที่สุด ก็คือ การฝึกเจริญ วิปัสสนากรรมฐาน เพราะเครื่องมือของกรรมก็คืออดีต หรือ อารมณ์ที่ล่วงมาแล้ว ลองสังเกตดูให้ดี คนที่ทุกข์หนักหนาสาหัส เพราะเขา หลุดเข้าไปในอดีต คิดถึงอดีตแล้วย�้ำคิดย�้ำท�ำพอย�้ำคิดย�้ำท�ำ แล้ว ก็หม่นหมองครองทุกข์ แต่ ถ ้ า เขาอยู ่ กั บปั จ จุ บัน ขณะ (present moment) หน้าตาจะแช่มชื่นแจ่มใส เพราะความทุกข์ในอดีตจู่โจมเข้ามา ไม่ได้ ความทุกข์จากความกังวลในอนาคตก็ทะลุทะลวงเข้ามา ไม่ได้ เมื่ออยู่กับปัจจุบันเป็น ชีวิตก็มีความสุข ผิวพรรณผ่องใส

ทางพระพุทธศาสนาท่านสอนว่า ถ้าเราท�ำดีก็ตาม ท�ำชั่ว ก็ตาม เทวดาไม่รู้ คนไม่รู้ แต่เรานั่นเองรู้อยู่แก่ใจ ไม่มีใครเป็น เจ้ากรรมนายเวรของเรานอกจากตัวเราเอง ฉะนั้ น เวรกรรมที่ เราท� ำ เอาไว้ เรานั่ น แหละรั บ เรา ท�ำกรรมใดเอาไว้ เราจะต้องเป็นทายาทของกรรมนั้น ในเมื่อหลักความจริงเป็นอย่างนี้ เราจึงต้องเลือกสรร ท�ำแต่กรรมที่ดี แต่ถ้าเผลอไผลท�ำชั่วเอาไว้ตั้งมากตั้งมาย ก็ต้องถอดถอน ตัวเองออกมา แล้วตั้งหน้าท�ำความดีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งว่า ความชั่วถูกเจือจางด้วยความดี 18

IS AM ARE www.ariyaplus.com


dhrama today

ความแก่เกิดขึ้นมา ก็ได้ปัญญาเป็นก�ำไร ความเจ็บเกิดขึ้นมา ก็ได้ปัญญาเป็นก�ำไร ความตายเกิดขึ้นมา ก็ได้ปัญญาเป็นก�ำไร ความพลัดพรากเกิดขึ้นมา ก็ได้ปัญญาเป็นก�ำไร ความตายเกิดขึ้นมา ก็ได้ปัญญาเป็นก�ำไร ถ้าเราท�ำใจให้รู้เท่าทันธรรมดาอย่างที่กล่าวมานี้ได้เมื่อ ไหร่เราจะอยู่ในโลกโดยที่ไม่ถูกโลกท�ำร้าย ใช้ชีวิตอยู่ในโลกไป อย่างคนที่เป็นนายเหนือโลกเผชิญสิ่งใด ไม่ว่าจะเป็นทั้งสุขหรือ ทุกข์ ก็ไม่หวั่นไม่พรั่นพรึง ความทุกข์เกิดขึ้นมา ก็เพื่อต่อยอดให้เกิดปัญญาแห่งการ เห็นธรรม ทุกข์จึงเป็นอุปกรณ์ของธรรม มีทุกข์เมื่อไหร่ก็ได้ธรรม เมื่อนั้น ทุกข์กระทบ ธรรมจึงกระเทือน ด้วยท่าทีของผู้ที่เข้าใจ และรู้เท่าทันธรรมดาเช่นที่กล่าวมาข้างต้นทั้งหมดนี้ เราจะเป็นบุคคลที่รับมือกับความทุกข์ได้อย่างมีปกติ ภาพ มีความรู้เท่า รู้ทัน รู้กัน อย่างแยบคาย กลายเป็นผู้ที่ เห็นทุกข์ แต่ไม่เผลอ เป็นทุกข์ อีกต่อไป เราจะเป็นเหมือนคนที่กินปลาแล้วไม่ถูกก้างปลาต�ำคอ เหมือนคนที่กินทุเรียนแล้วไม่ถูกหนามทุเรียนต�ำมือ เหมือนคน ที่เดินอยู่บนหนามแล้วไม่ถูกหนามต�ำเท้า เพราะฉะนั้น จึงขอให้เราทั้งหลายควรเปิดหู เปิดตา เปิดใจ เพื่อเรียนรู้กฎ กติกา มารยาทของการอยู่ในโลก ๕ ประการนี้ให้ดี ใครรู้เท่า ใครรู้ทัน คนคนนั้นก็มีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน ขณะ ที่มีแต่ความร่มเย็นเป็นสุขตลอดไป อาตมภาพได้ปาฐกถาธรรมมาก็พอสมควรแก่เวลา ก็หวัง ใจเป็นอย่างยิ่งว่ากฎ กติกา มารยาท ทั้ง ๕ ประการนี้ คงจะ อ�ำนวยประโยชน์โสตถิผลแก่เราท่านทั้งหลาย ซึ่งยังเป็นอยู่ใน ขณะนี้ได้เป็นอย่างดี กุ ศ ลบุ ญ ราศี ใ ดที่ เ กิ ด ขึ้ น มาจากการปาฐกถาธรรมใน ค�่ำคืนนี้ อาตมาก็ขออัญเชิญกุศลบุญราศีนี้จงมารวมกันเป็นตบะ เป็นเดชะ เป็นพลวปัจจัยอ�ำนวยอวยชัยให้แก่ท่านผู้วายชนม์ ให้ พ้นจากที่ยาก ให้พรากจากที่ถึง ขอให้ถึงสุขในสุคติสัมปรายภพ ด้วย เทอญ วั น นี้ มี ส ติ ห รื อ ยั ง !?! ว.วชิรเมธี

ฉะนั้ น ถ้ า เราอยากอยู ่ เ หนื อ กรรม จงฝึ ก การเจริ ญ วิปัสสนากรรมฐาน ซึ่งเป็นศิลปะแห่งการด�ำรงอยู่อย่างมีสติใน ปัจจุบันขณะ ให้กับเราตลอดเวลาทุกลมหายใจเข้า-ออก ถ้าเราอยู่กับปัจจุบันขณะ ตามดู ตามรู้ ลมหายใจเข้า ออกอยู่เสมอหรือตื่นรู้อยู่ในทุกเรื่องที่คิด ทุกกิจที่ท�ำ ทุกค�ำที่ พูด ทุกอิริยาบถที่เคลื่อนไหว อดีตก็ท�ำร้ายเราไม่ได้ อนาคตก็ ท�ำร้ายเราไม่ได้ เราไม่ตกเป็นทาสของอดีต เราไม่ถูกล่ามโซ่ด้วยอดีต เรา จะเป็นมนุษย์ที่เป็นนายเหนืออดีต เป็นนายเหนืออนาคต เราจะ อยู่แต่ในปัจจุบันขณะล้วนๆ เลย ด้วยเหตุนี้ ถ้าเราตระหนักรู้อยู่ในปัจจุบันขณะนี้ เราจะ กลายเป็นคนที่เกิดใหม่ทุกลมหายใจเข้า-ออก หากท�ำได้อย่างนี้ เราก็สามารถอยู่เหนือกรรม เป็นอิสระ จากกรรมตัดกรรมได้ด้วยตัวของเราเองในชาตินี้ ในชีวิตนี้ นี่คือ วิธีตัดกรรมตามแนวพุทธแท้ๆ ไม่เห็นยากเย็นตรง ไหน เราท�ำกรรมเอง ก็ต้องตัดกรรมด้วยตัวเอง เหมือนที่พระพุทธองค์ตรัสว่า“ผู้ใดท�ำกรรมชั่ว เขาย่อม ปิดกั้นกรรมชั่วนั้นเสียได้ด้วยกุศล (กรรมดี) คนที่ท�ำเช่นนี้ ย่อม ยังโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดังจันทราพ้นจากเมฆาอันมืดมิด” ทันธรรมดา พอทุกข์ (=ธรรมดาทั้ง ๕) เกิดขึ้นมา แต่ ไม่ทุกข์ เราทุกคนเมื่อเกิดมาในโลกนี้แล้ว ขอให้พยายามเรียนรู้ กฎ กติกา มารยาทของการเกิดมาเป็นมนุษย์เอาไว้ให้ดี ถ้าเรารู้กฎ กติกา มารยาทของการเกิดมาเป็นมนุษย์ เอาไว้ให้ดีแล้ว วันหนึ่งความแก่เข้ามาเผชิญ วันหนึ่งความเจ็บเข้ามาเผชิญ วันหนึ่งความตายเข้ามาเผชิญ วันหนึ่งความพลัดพรากเข้ามาเผชิญ วันหนึ่งกฎแห่งกรรมเข้ามาเผชิญ เราก็ จ ะไม่ ทุ ก ข์ เพราะเรารู ้ แ ล้ ว ว่ า ความทุ ก ข์ (คื อ ปรากฏการณ์ทั้ง ๕)เป็นธรรมดาของสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า “คน” เมื่ อ เราให้ ร าคาของสิ่ ง เหล่ า นี้ ว ่ า เป็ น ปรากฏการณ์ ธรรมดาของสิ่งมีชีวิตความทุกข์เกิดขึ้นมา ก็มีแต่ปัญญาเท่านั้น เองที่จะเกิดขึ้นกับเรา

19 issue 89 june 2015


กลับบ้าน

เศษกระดาษแผ่ น หนึ่ ง ร่ ว งลงพื้ น อั น ที่ จ ริ ง มั น คื อ ตั๋ ว โดยสารสายกรุงเทพฯ ทุ่งช้าง ที่ออกจะยับๆเก่าๆใบหนึ่ง ผมน�ำ มันติดตัวมาด้วย ขณะที่เดินทางจากกรุงเทพฯ สู่บ้านเกิด ยังจ�ำ ได้ วันนั้นเป็นวันที่ ๑๖ ตุลาคม รถออกจากหมอชิตประมาณสอง ทุ่มครึ่ง ฝนตกหนักและหนาวมากด้วย ชั่วขณะที่รถวิ่งออกไป นั้น ผมคิดถึงพ่อ แม่ และน้องจับใจ ผมถือตั๋วใบนี้กลับบ้านด้วย แรงใจและความหวัง หลังจากที่ได้รับแจ้งจากอาจารย์ปรารถนา วงศ์บุญหนัก ซึ่งท่านเป็นอาจารย์ที่ มศว. ว่า นิสิตโครงการฯ จะ ได้รับการบรรจุเป็นข้าราชการครู ผมดีใจมาก ผมจะได้เป็นครู มี อนาคตที่มั่นคง แล้วก็อยู่เป็นหลักแหล่งเสีย...

ที่บ้านผมนั้นสมาชิกในครอบครัวของเราที่ผ่านมา ล้วน แต่ เ ลี้ ย งชี พ ด้ ว ยการเพาะปลู ก ตั้ ง แต่ ส มั ย บรรพบุ รุ ษ เรื่ อ ยมา จนถึงรุ่นพ่อและผม ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาสภาพความเป็น อยู่ครอบครัวเราค่อนข้างล�ำบาก ตอนเด็กๆ พ่อมักจะพาผม ไปช่วยงานในสวนผักเป็นประจ�ำ ทั้งที่ผมไม่ค่อยเต็มใจเท่าไร นัก แต่ก็จ�ำใจ บ่อยครั้งที่ผมถูกพ่อตี เพราะผมมักหนีแอบกลับ มาเล่นที่บ้าน ตอนหลังเมื่อผมโตขึ้น ในขณะที่พ่อและแม่เริ่มแก่ตัวลง ผมจึงช่วยงานพ่ออย่างเต็มที่ สงสารมากที่สุดคือ แม่ แม่ท�ำงาน หนักเหมือนดังเป็นชายอกสามศอกมาหลายสิบปี

20 IS AM ARE www.ariyaplus.com


question of life

เป็นโรงเรียนเล็กๆ ในอ�ำเภอสองแคว จังหวัดน่าน โรงเรียนนี้ อยู่ห่างจากบ้านไปเกือบสี่สิบกิโลเมตรซึ่งก็ถือว่าใกล้บ้านมาก ที่สุดที่พอจะเลือกได้ ชาวบ้านแถบนี้ส่วนมากเป็นชนเผ่าต่างๆ เช่น ม้ง เมี่ยน ถิ่น ขมุ ไทลื้อ ก่อ ชีวิตความเป็นอยู่ที่นี่ไม่ล�ำบาก อะไรมากมายนัก เงียบสงบ ผมจึงเลือกที่จะเริ่มชีวิตความเป็น ครูครั้งแรกที่นี่ หลังจากเริ่มท�ำงานจริงจังในปลายเดือนธันวาคม ผมเริ่ม มองเห็นปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นและมีโอกาสได้เห็นแบบอย่างของ ครูที่ดี ครูทุกคนต้องท�ำงานกันอย่างหนักเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ ส่ ง เสริ ม และช่ ว ยเหลื อ เด็ ก ทุ ก คนอย่ า งไม่ รู ้ จั ก เหน็ ด เหนื่ อ ย ราวกับว่าเด็กๆ ทุกคนเป็นลูกของพวกเขาเอง ปัญหาเดียวที่แก้ไขไม่ได้คือ ภูมิประเทศที่เป็นเขาสูง และบ้านของเด็กๆ อยู่ห่างไกลจากโรงเรียนมาก แม้จะมีหอพัก ส�ำหรับนักเรียน แต่ก็พอแก้ไขได้เพียงบางส่วนเท่านั้น ครูหลายๆ คนบอกกับผมว่า ในฐานะครูเรายังมีงานต้องท�ำอีกมากมายเพื่อ ให้ท้องถิ่นที่เราอยู่ดีกว่าทุกวันนี้ หลายครั้งที่ผมดูข่าวในพระราชส�ำนัก ทุกครั้งที่ผมเห็น เจ้าฟ้าเจ้าแผ่นดินทุกพระองค์เสด็จไปยังโรงเรียนต่างๆ ในท้อง ถิ่นห่างไกลแล้ว ผมรู้สึกตื้นตันใจเป็นอย่างยิ่งที่ได้เห็นภาพอัน งดงามเช่นนี้ มีเด็กจ�ำนวนมากที่ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ ได้ รับทุนการศึกษา มีอาหารกลางวันรับประทาน ภาพเหล่านี้ ยิ่งท�ำให้ผมปลาบปลื้มใจ มีก�ำลังใจ รัก และ ศรัทธาในการเป็นครู ถอยหลังกลับไปถึงตอนที่ยังเรียนอยู่ที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อาจารย์ทุกท่านพร�่ำสอนพวก เราที่เป็นนิสิตในโครงการเสมอๆ ว่า อย่าลืมบ้านเกิด อย่าทิ้งบ้านเกิด เพราะที่นั่นให้ชีวิตเรามา เราจึงควรแสดงความขอบคุณต่อแผ่นดินถิ่นเกิด ด้วย การ กลับมาพัฒนาบ้านเกิดของเรา ตอนนี้ผมได้กลับมารับใช้ ถิ่นเกิดแล้ว และจะอยู่ที่นี่ตลอดไป ผมก้มลงหยิบกระดาษแผ่นนั้นขึ้นมา

ผมแอบฝันเอาไว้ว่า...เมื่อผมโตขึ้นผมจะหางานดีๆ ท�ำ เพื่อให้ครอบครัวเราสบายขึ้น กลับบ้านคราวนี้ พ่อกับแม่คงจะ ดีใจ เพราะบ้านเรายังไม่มีลูกคนไหนได้รับราชการ ย้ อ นกลั บ ไปหลั ง จากที่ เ รี ย นจบปริ ญ ญาตรี ส ายครู วิทยาศาสตร์ มศว. ในเดือนมีนาคมปีนั้น ผมกลับบ้านทันที เพราะยังไม่มีงานท�ำ และใกล้จะถึงเทศกาลสงกรานต์ ห้วงชีวิต ในตอนนั้นเป็นช่วงที่ยังมึนๆ งงๆ กับชีวิตอยู่ ไม่มีหลักยึด สับสน งงๆ อยู่อย่างนั้นจนกระทั่งสงกรานต์ผ่านไป จึงเริ่มหาอะไรท�ำ โดยได้รับค�ำแนะน�ำจากคุณครูหลายๆ ท่านว่า ให้ส่งประวัติและ ใบสมัครไปที่โรงเรียนต่างๆ เผื่อเขาก�ำลังขาดครู และอาจจ้างเรา เข้าท�ำงาน ก็ดีเหมือนกันจะได้ท�ำงานใกล้บ้าน แต่แล้วสองสัปดาห์ผ่านไป ผมเริ่มเข้าใจว่า โรงเรียนแถว บ้านเราขาดครูก็จริงอยู่ แต่ไม่มีอัตราว่างให้ครูใหม่ และไม่มีเงิน จ้างครูช่วยสอน ความหวังจบลง ผมไม่รู้จะไปท�ำอะไร ที่บ้านไม่มีงานให้ ท�ำ ก็เลยช่วยพ่อท�ำสวนผักอยู่พักหนึ่ง ก็สนุกดี แดดร้อนและ เหนื่อยมากๆ โชคดี เพื่ อ นที่ ก รุ ง เทพฯ โทรมา บอกให้ ไ ปสมั ค รที่ โรงเรียนแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ ที่นั่นเขาอยากได้ครูอัตราจ้างไป ช่วยสอน ผมก็เลยลองดู เสี่ยงเข้ากรุงเทพฯ อีกครั้งด้วยความ หวังว่าจะมีงานท�ำ โชคดีอีกเช่นกันที่ผมสอบผ่าน และเริ่มเป็น ครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ที่นั่นในเดือนพฤษภาคมปีเดียวกัน สนุก มันยุ่งๆ ดี ด้วยความที่ที่บ้านไม่มีเงินมากมายนัก ชีวิตช่วงนั้นจึงค่อนข้างล�ำบาก เพราะไม่มีเงิน เงินเดือนก็ยังไม่ ได้ ผมมักเกรงใจพ่อจึงไม่อยากขอเงินพ่อมาเยอะ ท�ำให้เดือนนั้น มีตังค์ติดตัวอยู่น้อยมาก แต่เรื่องกินอยู่ก็ไม่ล�ำบากมากนักเพราะ อยู่แถวหน้ารามฯ มีของกินของใช้ให้เลือกเยอะ พอเงินเดือนออก ก็เริ่มดีขึ้น แม้เงินเดือนไม่เท่าไหร่ แต่ ผมก็ใช้เงินที่ได้อย่างกระเบียดกระเสียร จึงพอมีเงินเหลือเก็บ อยู่บ้าง ผมสนุกอยู่ที่เมืองกรุงได้พักใหญ่ กระทั่งปลายเดือน กั น ยายน จึงลาออก และกลับ คืน ถิ่น บ้านเกิดเพื่ อ มาเป็ น ครู โดยเวลาหกเดือนในเมืองหลวงนั้นยาวนานราวกับว่าจากบ้าน มาแรมปี... ท่ามกลางเปลวแดดในบ่ายวันหนึ่งของต้นเดือนธันวาคม ผมบิดคันเร่งผ่านโค้งแล้วโค้งเล่าตลอดทางบนถนนสาย ท่าวังผา – เชียงค�ำ เพื่อไปรายงานตัวที่โรงเรียนหลังจากได้รับเอกสาร การรายงานตัวจากส�ำนักงานเขตฯ แล้ว โรงเรียนที่ผมเลือก

วรชั ย สุ ท ธไชย บั ณ ฑิ ต คื น ถิ่ น ครู วิ ท ยาศาสตร์ คื น ถิ่ น จั ง หวั ด น่ า น

21 issue 89 june 2015


ภาพ : gracedds.com

“จัดฟัน” แฟชั่น หรือการการรักษา ปั จ จุ บั น การจั ด ฟั น อาจกลายเป็ น แฟชั่ น อย่ า งหนึ่ ง ไปแล้ ว ผู ้ ป กครองมั ก ได้ รั บ ค� ำ ขอจากลู ก ๆ ให้ พ าไป จั ด ฟั น เนื่ อ งจากเครื่ อ งมื อ จั ด ฟั น ได้ มี ก ารออกแบบให้ ย างรั ด ฟั น มี สี สั น สดใส เพื่ อ ให้ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ของ ผู ้ ป ่ ว ยซึ่ ง มั ก อยู ่ ใ นวั ย รุ ่ น มากขึ้ น เครื่ อ งมื อ ที่ ติ ด บนฟั น มี ทั้ ง แบบโลหะสี เ หมื อ นฟั น หรื อ ใสไม่ มี สี 22 IS AM ARE www.ariyaplus.com


good life

การจั ด ฟั น นั้ น เป็ น การรั ก ษาอย่ า งหนึ่ ง การพิ จ ารณาว่ า ควรได้ รั บ การจั ด ฟั น หรื อ ไม่ นั้ น ควรค� ำ นึ ง ความมุ ่ ง หมายของการจั ด ฟั น ที่ แ ท้ จ ริ ง ด้ ว ย คื อ เพื่ อ รั ก ษาให้ มี ก ารเรี ย งตั ว ของฟั น ที่ ดี ท� ำ ให้ ก ารบดเคี้ ย วอาหารดี ขึ้ น รวมทั้ ง ยั ง ส่ ง ผลต่ อ การรั ก ษาความสะอาดในช่ อ งปากให้ ง ่ า ยขึ้ น ซึ่ ง เป็ น การป้ อ งกั น การเกิ ด ฟั น ผุ แ ละ เหงื อ กอั ก เสบ เริ่ ม จั ด ฟั น เมื่ อ ไหร่ ดี เมื่อพบว่าบุตรหลานมีฟันขึ้นไม่เป็นระเบียบ ผู้ปกครอง อาจวิตกกังวลว่าควรรับการรักษาทันที หรือรอให้เด็กโตเป็น ผู้ใหญ่ก่อน ความจริงแล้วการจัดฟันในแต่ละคนไม่สามารถ ก� ำ หนดตายตั ว ได้ แ น่ น อนว่ า ควรท� ำ เมื่ อ ใด ขึ้ น อยู ่ กั บ สภาพ ความผิ ด ปกติ ข องแต่ ล ะคน ในบางกรณี ก ารรอให้ ฟ ั น แท้ ขึ้ น ครบจะท�ำให้การรักษาง่ายและใช้เวลาสั้นกว่า แต่ในบางกรณี ที่มีความผิดปกติรุนแรงต้องเริ่มจัดฟันตั้งแต่อยู่ในช่วงฟันน�้ำนม หรือฟันชุดผสม

1.วัสดุทางทันตกรรมอาจไม่ได้มาตรฐาน 2.ตัวเครื่องมือจัดฟันอาจเป็นที่เก็บกักเศษอาหาร หาก แปรงฟันไม่สะอาดพอท�ำให้เกิดฟันผุได้ การติดเครื่องมือจัดฟัน แฟชั่นนี้มักไม่ได้รับการตรวจเช็คประจ�ำเดือนจากทันตแพทย์ จึงท�ำให้มีโอกาสเกิดฟันผุได้มากขึ้น 3.ในเครื่องมือจัดฟันชนิดที่มีลวดพาดติดอยู่ เมื่อผู้ป่วย บดเคี้ยว อาจท�ำให้ลวดงอ เกิดแรงกระท�ำให้ฟันเคลื่อนไปใน ทางที่ผิดปกติได้ ท�ำให้ฟันที่เคยเรียงเรียบกลับกลายเป็นฟันเก โดยมิได้ตั้งใจ 4.การใส่ เ ครื่ อ งมื อ จั ด ฟั น แฟชั่ น แบบถอดได้ ใ นเด็ ก ที่ ฟันแท้ยังขึ้นไม่ครบ หากมิได้รับการตรวจจากทันตแพทย์เป็น ประจ�ำ เครื่องมืออาจขัดขวางการขึ้นของฟันแท้อาจท�ำให้เกิด ฟันแท้คุด หรือขึ้นผิดต�ำแหน่งได้ 5.เครื่องมือจัดฟันมีราคาแพง การติดเครื่องมือจัดฟัน แฟชั่นท�ำให้ผู้ปกครองเสียเงินโดยไม่จ�ำเป็น

ระวั ง ! จั ด ฟั น แฟชั่ น ก่ อ ปั ญ หามากกว่ า ที่ คิ ด การติดเครื่องมือจัดฟันที่มิใช่เพื่อการรักษาใดๆ นั้นก�ำลัง เป็นที่นิยมในหมู่วัยรุ่น บางครั้งพบว่าวัยรุ่นไปรับการติดเครื่อง มือนี้อาจก่อให้เกิดปัญหาตามมาอย่างไม่คาดคิด พอจ�ำแนกได้ ดังนี้

23 issue 89 June 2015

ภาพ : www.ritebite.ca/


24 IS AM ARE www.ariyaplus.com


cartoon

25 issue 89 June 2015


26 IS AM ARE www.ariyaplus.com


27 issue 89 June 2015


Share Story

ไหม”

“พ่อเตะผมท�ำไม” “แล้วเอ็งเสพยารึเปล่า” “พ่อเตะผมหมายความว่าไม่อยากให้ผมอยู่ที่บ้านใช่

วันวาน ต้อมเริ่มส�ำนึกเมื่อพบว่าตัวเองมีเพียงตัวคนเดียว ไม่มี การศึกษา ไม่มีรายได้ ไม่มีที่ไหนรับท�ำงาน เขาเริ่มมองว่าโรงพยาบาลศรีธัญญานั้นคือบ้าน และช่วย งานทุกอย่างเท่าที่จะท�ำได้ ตั้งแต่กวาดถูพื้น รับจ้างเล็กๆ น้อยๆ แลกข้าวกินไปวันๆ กลายเป็นผู้ช่วยเจ้าหน้าที่คนหนึ่งในนั้น ต้อมนึกถึงค�ำพูดพ่อที่ว่า “อย่าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด” เป็นค�ำพูดสุดท้ายก่อนที่เขาจะออกจากบ้าน จนชีวิตเดินมาสู่จุด ที่ไม่เหลืออะไรเลย ไม่มีแม้แต่ญาติพี่น้องสักคน กลายเป็นคนที่ สังคมมองว่าผิดปรกติและอันตราย ทั้งที่จริงเขาเป็นเพียงผู้ป่วย ที่เดินหลงทางเท่านั้น หลายปี ผ ่ า นไปต้ อ มอาศั ย โรงพยาบาลศรี ธั ญ ญาเป็ น เสมือนบ้าน งานต่างๆ ที่เขาช่วยเหลือโรงพยาบาลท�ำให้เขา ห่างไกลยาเสพติดทีละน้อยๆ กอรปกับความส�ำนึกถึงชีวิตที่ ผ่านมา เขาเริ่มเป็นที่ไว้วางใจของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลฯ มาก ขึ้นเรื่อยๆ “การไม่เสพยาดีที่สุด ถ้ามันติดก็ให้มันน้อยๆ ลง เข้ามา ในนี้มันร้อยพ่อพันแม่ เราจากช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ก็ต้องช่วย เหลือตัวเอง ไม่พอยังต้องช่วยเหลือคนอื่นด้วย แล้วสังคมเขาก็ ไม่ต้อนรับ เราก็ต้องอยู่กับสิ่งเหล่านี้ วนเวียนอยู่กับคนเหล่านี้” เมื่อทางโรงพยาบาลศรีธัญญาแน่ใจแล้วว่าต้อมสามารถกลับมา ใช้ชีวิตตามปกติได้ จึงเข้าประสานกับหน่วยงานที่เปิดโอกาสให้ เขาได้มีงานประจ�ำท�ำเพื่อเลี้ยงดูตนเอง ปัจจุบันต้อมบรรจุเป็นพนักงานที่บริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง และชีวิตก็ค่อยๆ เก็บเงินสร้างตัวไปตามล�ำดับ เขากลับไปหา พ่อได้เสมอด้วยความภาคภูมิใจที่ตนเองผ่านพ้นหลุมด�ำนั้นมา ได้ โดยไม่เสียความเป็นคนไปมากกว่านี้ สิ่งส�ำคัญคือทางโรง พยาบาลศรีธัญญาให้โอกาสผู้ป่วยทุกคนที่สามารถเข้ารับการ รักษาด้วยหัวใจที่เข้มแข็งจนสามารถออกไปใช้ชีวิตกับสังคม ภายนอกได้

“เอ็งจะไปไหนพ่อไม่ว่า ขออย่างเดียวอย่ายุ่งเกี่ยวกับ ยาเสพติด” ในวัย 22 ปี ต้อมหนีออกจากบ้านไปใช้ชีวิตของตัวเอง เขาไปอาศัยอยู่กับเพื่อนที่เสพยาด้วยกัน นานวันเข้าเขาก็เริ่ม ขายยาเพื่อน�ำเงินมาหมุนเวียน ต้อมเล่าว่าพ่อรู้ว่าเขาอยู่ที่ไหน แต่พ่อไม่สนใจตามหา ตัวต้อมเองก็ถล�ำลึกไปเรื่อยๆ เขากลาย เป็นคนติดเข็มเฮโรอีน วันๆ เฝ้าคิดหาว่าจะบริหารเงินที่มีและ ยาเสพติดอย่างไรให้พอใช้ในชีวิตประจ�ำวัน “ผมมันผู้ปกครองเขาไม่สนใจ เขาปล่อย” ต้อมเอ่ย ถึงที่มาในการเข้ารับบ�ำบัดยาเสพติดที่โรงพยาบาลศรีธัญญา หลังจากถูกต�ำรวจจับ แต่ไม่มีผู้ปกครองมาแสดงตัว เจ้าหน้าที่ จึงน�ำส่งเขาเข้ารับการบ�ำบัด ชีวิตต้อมก็เหมือนเรือน้อยกลาง ทะเล เป็นเรือที่ไม่มีหางเสือ ไม่มีกัปตันน�ำทาง เขาไม่รู้ว่าชีวิต วันข้างหน้าจะเป็นอย่างไร เมื่อครบก�ำหนดบ�ำบัดแล้วเขาก็กลับ ไปเสพยาอีก ก็ถูกเจ้าหน้าที่น�ำส่งกลับมาอีก ซ�้ำแล้วซ�้ำเล่าเป็น ระยะเวลากว่า 10 ปี ต้อมเล่าถึงครั้งแรกที่เจ้าหน้าที่พากลับไปส่งที่บ้านหลัง จากครบก�ำหนดการบ�ำบัด น�้ำตาของพ่อไหลออกมาอย่างห้าม ไม่ได้ เขารู้สึกสะท้านใจ “ไปอยู่ไหนมา” ค�ำถามแรกที่พ่อเอ่ยขึ้น ”เขาส่งผมไปบ�ำบัดมาครับ” “อย่ากลับเข้าไปอีกนะลูก” แต่น่าเสียดายที่ต้อมไม่อาจห้ามใจตัวเองได้ เขากลับไป เล่นยาทุกครั้งที่ได้รับอิสระภาพ ด้วยอิทธิพลของเพื่อนแวดล้อม ท�ำให้ต้อมถูกน�ำส่งกลับไปอีกหลายครั้ง จนทางบ้านไม่ติดต่อ หรือส่งเสียให้อีกเลย ต้อมใช้ชีวิตเป็นหนึ่งในสมาชิกของโรง พยาบาลศรีธัญญา เป็นคนไร้ญาติ ไม่มีใครเอา เขาเองเริ่มส�ำนึก “บทเรี ย นที่ แ ล้ ว มาผมจ� ำ ไปจนวั น ตาย ไม่ เมื่ อ อายุ ม ากขึ้ น ความดื้ อ รั้ น ในวั ย หนุ ่ ม เริ่ ม สะท้ อ นภาพของ กลั บ ไปเอาอี ก แล้ ว ” ต้ อ มกล่ า วทิ้ ง ท้ า ย

28 IS AM ARE www.ariyaplus.com


เรื่องเล่าจากศรีธัญญา

ต้อม ชายผู ้ข้ามผ่านยาเสพติด ตอนที่ 2 29 issue 89 june 2015


let's talk

เรื่องและภาพ : กรวิก อุนะพ�ำนัก

พงษ์สกุล ชาเหลา

จากยีนส์เก่า สู่งานศิลป์มากมูลค่า 30 IS AM ARE www.ariyaplus.com


31 issue 89 june 2015


สตูดิโอศิลปะ V64 (ซ.วิภาวดี 64) เป็นสถานที่ท�ำงาน บาสพูด ถึงความเป็นมาว่า V64 เป็นสถานที่ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษา จบใหม่ได้แสดงงานศิลปะของตัวเองร่วมกับกลุ่มเพื่อนๆ ใน แวดวง ตัวเขาเองก็เริ่มท�ำงานประจ�ำไปด้วยและพยายามสร้าง งานศิลป์ควบคู่กัน แต่ความจริงก็คืองานประจ�ำที่ท�ำอยู่ก็เพื่อ หล่อเลี้ยงงานศิลปะของเขาเท่านั้น ไม่ได้หมายถึงอาชีพที่จะท�ำ ไปทั้งชีวิต V64 จึงเป็นทั้งสถานที่ท�ำงานศิลปะแล้วก็ที่พักอาศัย ไปด้วยในเวลาเดียวกัน “ท�ำงานประจ�ำได้ 3 เดือนออกเลย เพราะเรารู้สึกอึดอัด และไม่ค่อยมีเวลาท�ำงานศิลปะเท่าไหร่ พอออกจากงานเราก็มา อยู่ V64 อยู่ช่วยเขาท�ำร้านอาหาร ร้านกาแฟในตอนเย็นก็ได้ค่า ตอบแทนบ้าง ตอนกลางวันเราก็ท�ำงานศิลปะ ปีหนึ่ง V64 จะ จัดงานแสดงภาพครั้งหนึ่ง พี่ๆ เขาก็จะมาช่วยกันท�ำงานศิลปะ คือทุกคนต้องมีงานแสดงหนึ่งชุด (3-4 ภาพ) บรรยากาศอย่าง นั้นมันก็ท�ำให้เกิดไฟในการท�ำงานขึ้นมา ท�ำยังไงก็ได้ให้เรามี รายได้จากงานศิลปะของเรา ซึ่งเป็นโจทย์ที่ยากส�ำหรับเด็กจบ ใหม่อย่างเรา” บาสพยายามสื่ อ ถึ ง ระบบบริ โ ภคนิ ย มของคนไทยที่ ไม่ ส ามารถซื้ อ ของแบรนด์ เ นมมาใช้ ไ ด้ โดยการแปะ ตราตั ว หนั ง สื อ ยี่ ห ้ อ กางเกงยี น ส์ ป ลอมที่ เ ขาพบเจอ น� ำ มาแฝงในงานศิ ล ปะในรู ป แบบป้ า ยร้ า นค้ า ต่ า งๆ

ท� ำ ยั ง ไงถึ ง จะเป็ น ศิ ล ปิ น ? - ท� ำ งานศิ ล ปะ มั น ดู แ ย่ รึ เ ปล่ า ? ใช่ ห รื อ ไม่ ? - ท� ำ ต่ อ ไป ข้อความภาษาอังกฤษบนท่อนแขนซ้ายที่ถูกสักจารึก เอาไว้ คือความหมายที่ตอกย�้ำตัวเองให้อดทนท�ำงานศิลปะต่อ ไปของ พงษ์สกุล ชาเหลา หรือบาส ศิลปินวัย 27 ปี หลังการ สร้างสรรค์ผลงานจากผ้ายีนส์มือสองของเขามีมูลค่าหลายแสน จนเริ่มเป็นที่สนใจจากคนไทยและชาวต่างชาติมากขึ้นเรื่อยๆ จุดไฟให้เขามีพลังท�ำงานศิลปะต่อไป บาสเป็นคน จ.เลย มีพื้นฐานศิลปะมาจากสมัยเรียนชั้น มัธยมฯ ที่โรงเรียนเลยพิทยาคม ก่อนสอบเข้าเรียนต่อ ปวส.ที่ วิทยาลัยช่างศิลป 3 ปี และเรียนต่อที่สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ในสาขาจิตรกรรมอีก 3 ปี บาสกล่าวว่า เขาเริ่มฝึกวาดรูปจริงจัง ตอน ม.5 ในช่วงที่เพื่อนรุ่นเดียวกันก�ำลังจะแยกย้ายไปเรียน ต่อตามความถนัด ด้วยความชอบในงานศิลปะเขาจึงมุ่งมั่นที่จะ เรียนต่อในสายนี้โดยตรง “ตอนปี 3 ผมเริ่มท�ำงานผ้าเพราะอาจารย์ที่สอนเริ่ม ให้หาเทคนิคใกล้ตัว พอดีที่บ้านเราเป็นร้านตัดเย็บเสื้อผ้า ส่วน ใหญ่ที่บ้านเป็นช่างท�ำงานเกี่ยวกับผ้าหมดเลย ก็เลยเอาเทคนิค นี้มาใช้ น้าก็ให้จักรไปใช้ท�ำงานตอนเรียน” เมื่อเรียนจบบาสเริ่มพัฒนางานศิลปะจากผ้ายีนส์โดยใช้ 32

IS AM ARE www.ariyaplus.com


V64 นอกจากจะเป็นสถานที่ท�ำงานศิลปะแล้ว ยังเป็นแหล่ง รวมงานศิ ล ปะ ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ ส นใจสามารถเข้ า ไปชมและติ ด ต่ อ ซื้ อ ขายกับศิลปินโดยตรงได้ เป็นพื้นที่สร้างรายได้ให้กับศิลปิน “เป็น สตูดิโอ เหมือนเราเดินเข้าไปผนังก็จะแขวนรูป ในล็อค แต่ละล็อคก็ จะมีอุปกรณ์ มีศิลปินท�ำงานอยู่ในนั้น ลูกค้าก็เข้ามา บางทีศิลปินนอน อยู่ลูกค้าเดินข้ามหัวไปเลือกงาน (หัวเราะ) บางทีผมนอนอยู่มีฝรั่งมา ส่อง อุ้ยมีคนนอนตรงนี้ด้วย เขาเรียกเพื่อนมาดู แต่เขาก็ซื้อนะ ก็อยู่ กันอย่างนั้น สนุก ส่วนใหญ่เขาอยู่แกลเลอรี่กัน แต่ตรงนั้นมันแปลก ก็ เสียดายเหมือนกัน พื้นที่มันใหญ่ มันก็ควบคุมทั้งเรื่องระบบ ทั้งเรื่อง ค่าใช้จ่าย เรื่องอะไรอย่างเนี้ย ก็เลยต้องปิดไป 3 ปีครบสัญญาพอดี พี่ เขาก็ปิดไป แต่ว่ายังเคลื่อนไหวทางเว็ปไซต์ ก็รวมกลุ่มกันใหม่ แบบว่า ใครยังสนใจที่จะเอางานมาลงเว็ปไซต์ แล้วก็เพิ่มชื่อมาเป็น V64 แกล เลอรี่ 6 ก็หมายถึงว่า คลอง 6 ก็มาเป็นในเว็ปไซต์ ก็จะมีลูกค้าเก่าๆ เข้ามา” บาสหัวเราะให้กับบรรยากาศใน V64 เมื่อครั้งที่เขาใช้เป็น สถานที่บ่มเพาะงานศิลป์ให้กับตัวเอง การหารายได้จากงานศิลปะแม้ ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่เขาก็หันหลังให้งานประจ�ำมุ่งหน้าท�ำในสิ่งที่ตนเอง รักเป็นระยะเวลา 3 ปี ก่อนที่ V64 แห่งนี้จะปิดตัวลงเพราะขาดเงิน สนับสนุนหล่อเลี้ยง เมื่องานยีนส์ของบาสเริ่มเป็นที่สนใจมากขึ้น ท�ำให้คอลัมน์ 33 issue 89 June 2015


นิสต์ศิลปะประจ�ำนิตยสาร L’Officiel ชาวฝรั่งเศษนามว่า จูลี่ ผู้สนใจในงานของ เขาและเป็นที่รู้จักในวงการศิลปะชักชวน เขาออกไปจัดแสดงงานข้างนอก ประจวบ เหมาะกับที่มาตินร์ผู้จัดการ S Gallry ซึ่ง เป็นชาวฝรั่งเศษด้วยกันก�ำลังมองหางาน ศิลปะมาจัดแสดงพอดี จู่ลี่จึงแนะน�ำงาน ของบาส จากนั้นงานของเขาก็เริ่มเป็น ที่ รั บ รู ้ ใ นวงกว้ า งขึ้ น อี ก เพราะได้ พื้ น ที่ แสดงผลงานเพิ่มมากขึ้นในฐานะศิลปิน รุ่นใหม่ “เราตั้งใจให้งานออกมาล้อเลียน กับรูปถ่ายเลย เราคิดว่าถ้ามันเหมือนได้ แล้วมันลวงคนได้ มันก็สามารถเรียกร้อง อะไรได้จากคนดูงานศิลปะ” บาสอธิบาย ถึงแนวคิดในงานของเขาว่าต้องการใช้ผ้า ยีนส์และสีสันร่องรอยต่างๆ ในยีนส์มา ใช้แทนการระบายสี ใช้เข็มและจักรแทน พู่กัน สร้างสรรค์ให้เหมือนจริงที่สุด โดย เริ่มจากการลงพื้นที่ไปตามแหล่งชุมชนริม น�้ำต่างๆ ในกรุงเทพฯ และพื้นที่ใกล้เคียง เพื่อถ่ายภาพเป็นแบบก่อนจะลงมือตัด เย็บผ้ายีนส์ประกอบเป็นงานศิลปะก่อน จะขึงลงเฟรม วัสดุที่ใช้ 80 % จะเป็น ยี น ส์ มื อ สองจากวั ด สวนแก้ ว ความซี ด ความหนา และร่องรอยที่ผ่านกาลเวลา

ให้สีสันและอารมณ์ของบ้านสังกะสีหรือ ชุมชนเก่าริมน�้ำได้อย่างลงตัว “จริ ต เรามั น ต้ อ งเติ ม โน้ น เติ ม นี่ มันก็เลยดูสนุก พวกป้ายโลโก้อะไรอย่างนี้ แล้วก็มีค�ำที่เราแอบๆ ไว้ ถ้าเข้าไปดูงาน ใกล้ ๆ มั น จะมี แ อบไว้ บางค� ำ ก็ เ สี ย ดสี บ้าง แต่ค�ำพวกนั้นก็ตัดมาจากกางเกง ก็ ประกอบกัน แอบไว้ถ้าคนเข้าไปดูข้างใน ก็จะคิดอะไรต่อไปได้ ปีหนึ่งผมท�ำไม่ต�่ำ

จะเป็นของเลียนแบบก็ตาม “อย่างบางตัวก็ไม่รู้ของจริงของ ปลอม มั น ก็ จ ะมี เรื่ อ งที่ ผ มพู ด ถึ ง เรื่ อ ง บริโภคนิยมด้วย ว่าในฐานะที่เราเป็นคน ระดั บ นี้ ไ ม่ ส ามารถซื้ อ ของแบรนด์ เ นม มาใช้ ส อยได้ อย่ า งบางตั ว ผมเจอ เฮ้ ย อั น นี้ ก็ อ ป wrangler ผมก็ ตั ด มาแปะ โชว์เลย wranger ถ้าคนมาดูสังเกตก็จะ เห็น เฮ้ย อันนี้ของปลอมนี่หว่า ให้เขา คิดต่อไปได้ ของจริง ของปลอม แล้วก็สี ความซีด ความอ่อน ความหนาที่มันถูก ใช้งานมาแล้ว สีมันเข้ากับพวกสังกะสีที่ ชุมชน” อีกนัยหนึ่งที่บาสต้องการจะสื่อก็ คือ บางชุมชนที่เขาเข้าไปหาข้อมูลและ ถ่ายภาพ เป็นเพียงบ้านไม้สังกะสีเล็กๆ ท่ามกลางตึกรามสูงใหญ่ล้อมรอบ กว่า ที่ ง านของเขาจะออกมาเสร็ จ สมบู ร ณ์ ชุ ม ชนนั้ น ก็ ถู ก กลื น หายไปแล้ ว กลาย เป็นตึกมาแทนที่ บาสจึงรู้สึกว่ากางเกง ยี น ส์ แ ท้ จ ริ ง แล้ ว มั น เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ข อง กรรมกรผู้ใช้แรงงาน ความยากจน มันจึง เป็นตัวแทนของผู้ต่อสู้ดิ้นรน

เดิ ม ที ยี น ส์ มั น มาจากทางตะวั น ตก ผลิ ต เพื่ อ ความแข็ ง แรงทนทานต่ อ การใช้ ง าน แต่ ต อนนี้ มั น ถู ก ผลิ ต เยอะมากๆ จนเป็ น แฟชั่ น เราก็ รี ไ ซเคิ ล ด้ ว ยประเด็ น หนึ่ ง แล้ ว เราก็ ห ยิ บ จั บ สิ่ ง ของที่ อ ยู ่ ร อบตั ว เรา เพราะเรา เห็ น มั น อยู ่ ทุ ก วั น ผมเชื่ อ ว่ า อย่ า งน้ อ ยๆ ทุ ก คนต้ อ งมี ยี น ส์ เราก็ เ อา ตรงนั้ น มาท� ำ งาน หมายถึ ง เอาสิ่ ง ของที่ อ ยู ่ ร อบตั ว มาท� ำ งาน เป็ น การ สร้ า งงานศิ ล ปะจากสิ่ ง ของ กว่า 15 ชิ้น” บาสพยายามสื่อถึงระบบบริโภค นิ ย มของคนไทยที่ ไ ม่ ส ามารถซื้ อ ของ แบรนด์เนมมาใช้ได้ โดยการแปะตราตัว หนังสือยี่ห้อกางเกงยีนส์ปลอมที่เขาพบ เจอ น� ำ มาแฝงในงานศิ ล ปะในรู ป แบบ ป้ า ยร้ า นค้ า ต่ า งๆ ซึ่ ง หากผู ้ ช มสั ง เกต เห็ น จะพบว่ า เขาตั้ ง ใจจะสื่ อ ถึ ง ค่ า นิ ย ม คนไทยที่ติดบริโภคของแบรนด์เนม แม้ 34 IS AM ARE www.ariyaplus.com

“เดิมทียีนส์มันมาจากทางตะวัน ตก ผลิตเพื่อความแข็งแรงทนทานต่อการ ใช้งาน แต่ตอนนี้มันถูกผลิตเยอะมากๆ จนเป็นแฟชั่น เราก็รีไซเคิลด้วยประเด็น หนึ่ง แล้วเราก็หยิบจับสิ่งของที่อยู่รอบ ตัวเรา เพราะเราเห็นมันอยู่ทุกวัน ผมเชื่อ ว่าอย่างน้อยๆ ทุกคนต้องมียีนส์ เราก็เอา ตรงนั้นมาท�ำงาน หมายถึงเอาสิ่งของที่อยู่


ข้ามไปสู่โลกที่กว้างขึ้น ที่ส�ำคัญคือท�ำด้วยความอดทนจนกว่า จะส�ำเร็จ เหมือนข้อความบนท่อนแขนของเขาที่ย�้ำเตือนตัวเอง ตลอดเวลาว่า “ให้ท�ำต่อไป” ปัจจุบันบาสยังคงท�ำงานศิลปะในแนวทางที่ตัวเองถนัด งานแต่ละชิ้นกว่าจะขายได้ย่อมเกิดจากความอดทน ฝึกฝน อย่างเอาจริงเอาจัง กว่าจะสร้างรายได้เลี้ยงตัวเองไม่ใช่เรื่อง ง่าย บาสมองย้อนไปเมื่อ 2 ปีที่แล้ว ครั้งที่เขาดิ้นรนแทบจะ ไม่มีเงินใช้หมุนเวียนในชีวิตเพื่อสร้างงานศิลปะเลย เขายกภาพ งานยีนส์ภาพหนึ่งไปแขวนไว้ที่สวนจตุจักร ตามค�ำแนะน�ำของ รุ่นพี่ที่เช่าล็อคไว้ขายภาพแต่ก�ำลังจะเลิกเช่า จึงมีที่ว่างพอให้ บาสได้ลองแขวนภาพขายงาน ซึ่งตัวเขาเองไม่รู้เลยว่าจะมีคน ซื้อหรือไม่ เมื่อแขวนได้ 3 ชั่วโมง ภาพนั้นก็ถูกซื้อไปในราคา 8 พัน บาทโดยชาวอาหรับ แม้ราคาจะไม่ได้สูงเท่างานปัจจุบันนี้ แต่ มันก็เป็นงานชิ้นแรกที่ช่วยต่อเติมเชื้อไฟในตัวเขาให้ลุกโชนขึ้น มา เป็นก�ำลังใจให้คนท�ำงานศิลปะมีแรงต่อสู้ต่อไปตราบจนวันนี้ “ผมไม่ได้ฝีมือดีเลยนะ แค่มันมีโอกาส โชคชะตา แล้วก็ มี V64” บาสกล่าวทิ้งท้าย ผู้สนใจสามารถติดตามข่าวสารได้ที่ www.facebook. com/baspongsakul

รอบตัวมาท�ำงาน เป็นการสร้างงานศิลปะจากสิ่งของ” เมื่อได้ขึ้นไปแสดงงานใน S Gallry ท�ำให้ลูกค้าส่วนใหญ่ ของบาสเป็นชาวต่างชาติ ผลงานชิ้นใหญ่ของเขามีมูลค่าสูงถึง 3 แสนบาท ส่วนชิ้นเล็กมีผู้ซื้อไปราคา 8 หมื่นบาท บาสมองว่า ระบบแกลเลอรี่สามารถช่วยคนท�ำงานศิลปะในเรื่องรายได้ค่อน ข้างมาก แม้จะต้องแบ่งรายได้เป็น 50/50 หรือ 60/40 ก็ตาม แต่ถ้าศิลปินท�ำงานออกมาแล้วไม่มีพื้นที่แสดงงานศิลปะของ ตัวเอง ไม่มีสื่อ ไม่มีคอนเนคชันจากทางแกลเลอรี่เข้าช่วย ก็จะ ท�ำให้งานขายยากและไม่เป็นที่รู้จัก “ผมคิดว่าพื้นที่อย่าง V64 มันเป็นพื้นที่เปิด เราท�ำงาน ศิลปะอะไรก็ได้มันไม่มีคนตัดสิน คนตัดสินคือลูกค้า อันนี้พูด ถึงอาชีพเรื่องการด�ำรงชีวิตอยู่ เขาชอบเขาซื้อ เราแฮปปี้เขา แฮปปี้ ผมว่ามันแฟร์นะ เราก็มีเงินท�ำงานต่อไป อย่างผมก็เริ่ม มีความมั่นใจจากการขายงานได้ มันก็มีแรงพัฒนาไปในตัวของ มัน พื้นที่เหล่านี้ส�ำคัญมันเปิดโอกาสให้ใครก็ได้ ได้เข้าไปแชร์ เข้าไปลอง” ในอนาคตบาสตั้งเป้าจะเอางานไปแสดงที่ต่างประเทศ บาสมองว่าอาชีพที่ท�ำอยู่แม้ยากเย็นที่จะไปถึงฝันได้โดยง่าย แต่ค�ำแนะน�ำของเขาก็คืออยากให้เด็กรุ่นใหม่ที่ชอบแนวทางนี้ ได้ลองท�ำให้เต็มที่ แต่อย่าลืมเรื่องภาษาเพราะมันเป็นสะพาน 35

issue 89 June 2015


36 IS AM ARE www.ariyaplus.com


37 issue 89 June 2015


สภาพแวดล้อม

ต�ำบลห้วยสัตว์ใหญ่มีลักษณะภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสลับกับที่ราบลุ่ม มีแม่น�้ำปราณบุรีเป็นแม่น�้ำสายหลักไหลผ่าน พื้นที่ชุมชนและพื้นที่การเกษตรกรรมชุมชนได้ใช้น�้ำจากแม่น�้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภคเป็นหลักมีชาวกะเหรี่ยงและกะหร่าง อาศัยอยู่เป็นชนเผ่าท้องถิ่นอาศัยอยู่ตามแนวชายแดนไทยติดต่อกับประเทศพม่า ต�ำบลห้วยสัตว์ใหญ่มีความอุดมสมบูรณ์ของ ทรัพยากรธรรมชาติและสัตว์ป่าจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะสัตว์ใหญ่ ได้แก่ ช้าง เสือ และมีความอุดมสมบูรณ์ป่าไม้ ทั้งนี้ยังเป็นเขต อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานอีกด้วย ปัจจุบันจากสภาพแวดล้อมธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์เริ่มเกิดความเสื่อมโทรมขึ้นบ้าง เนื่องจาก การเพาะปลูกพืชเชิงเดี่ยว เช่นสัปปะรด ว่านหางจระเข้ และมะนาว นอกจากนี้ยังมีการตัดไม้ในป่ามาใช้จ�ำนวนมาก ต�ำบลห้วยสัตว์ใหญ่แบ่งการปกครองออกเป็น 11 หมู่บ้าน มีเนื้อที่โดยรวมประมาณ 40,700 ไร่มีประชากรประมาณ 6,000 คน จ�ำนวนครัวเรือนประมาณ 2,000 ครัวเรือน ชุมชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมท�ำปศุสัตว์ ค้าขาย การท่องเที่ยว และ รับจ้างทั่วไป ในด้านวัฒนธรรมประเพณีเนื่องจากมีประชากรที่เป็นชาวไทยภูเขาเผ่า กะเหรี่ยง จึงมีภาษากะเหรี่ยงเป็นภาษาถิ่นของชาวห้วยสัตว์ใหญ่และมีวัฒนธรรม ประเพณีที่สืบทอดมา นอกจากชาวไทยภูเขาเผ่ากะเหรี่ยงแล้วยังมีกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆ ที่หลากหลาย เช่น ชาวเขาเผ่ามูเซอ ขมุ และลาวพวน เป็นต้น

ความเป็นมา

จากพื้นที่ในโครงการพระราชด�ำริ ที่มีชนพื้นเมืองอาศัยอยู่อย่างมากมาย เปลี่ยนมาเป็นการพัฒนาชุมชนของตนเอง จนกลายมาเป็นพื้นที่แห่งความขัดแย้ง 38 IS AM ARE www.ariyaplus.com


39 issue 89 june 2015


“วางแผนใช้ จ ่ า ย รู ้ จั ด การหนี้ สิ น ด้ ว ยการปลู ก อยู ่ ป ลู ก กิ น โดยลดสารเคมี ท� ำ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใช้ เ อง ใส่ ใ จบั ญ ชี ค รั ว เรื อ น ลด ละ เลิ ก อบายมุ ข การพนั น และสิ่ ง ฟุ ่ ม เฟื อ ย สอนลู ก เป็ น คนดี แ ละให้ ก ารศึ ก ษา เพื่ อ สร้ า งครอบครั ว อบอุ ่ น สร้ า งอนาคตที่ ดี ข องชาติ ”

40 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ระหว่ า งคนกั บ สั ต ว์ ป ่ า พั ฒ นาการของ ต�ำบลห้วยสัตว์ใหญ่ แบ่งเป็นยุคต่างๆ ที่ ส�ำคัญได้ดังนี้

พัฒนาการต�ำบล

พ.ศ. 2520 – 2530 ยุ ค เริ่ ม ต้ น สร้ า งชุ ม ชน ในพืน้ ทีเ่ ริม่ มีการจัดตัง้ “โครงการ พระราชด�ำริสหกรณ์การเกษตรห้วยสัตว์ ใหญ่” เนื่องมาจากพื้นที่ดังกล่าวเป็นเขต ชายแดนติ ด กั บ ประเทศพม่ า เป็ น ถิ่ น ที่ อยู่อาศัยของชาวไทยภูเขาเผ่ากะเหรี่ยง และกะหร่ าง ประกอบกับสถานการณ์ ทางความมั่ น คงของพื้ น ที่ แ ละสภาพ พื้ น ที่ เ ป็ น ป่ า เขา ทุ ร กั น ดารไม่ มี ถ นน หนทางติ ด ต่ อ สั ญ จร ท� ำ ให้ ต� ำ บลห้ ว ย สั ต ว์ ใ หญ่ เ ป็น พื้น ที่สีแ ดงในเขตอิทธิพล ทางการเมื อ งของพรรคคอมมิ ว นิ ส ต์ แห่งประเทศไทย ต่อมาประชากรขยาย ตั ว จึ ง ได้ รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ จาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ให้พื้นที่ ของต� ำ บลห้ ว ยสั ต ว์ ใ หญ่ เ ป็ น พื้ น ที่ ต าม โครงการพระราชด�ำริที่ส่งเสริมให้ชุมชน ประกอบอาชี พ เกษตรกรรมและเลี้ ย ง โคนมจนมีการรวมกลุ่มจัดตั้งในรูปแบบ สหกรณ์การเกษตร และจัดสรรพื้นที่ให้ กั บข้ าราชการและชาวบ้านที่เข้ามาอยู่ อาศัย ต่อมามีการส่งเสริมการประกอบ อาชีพทางการเกษตร โดยการให้กู้ยืมเงิน มาลงทุนในการประกอบอาชีพปลูกพืช เศรษฐกิจเชิงเดี่ยว เช่นข้าวโพดและถั่ว เหลือง ในยุคนั้นที่สภาพพื้นที่ยังคงอุดม สมบูรณ์อยู่มาก แต่ต่อมาราคาข้าวโพด ตกต�่ำ ท�ำให้เกษตรกรขาดทุนเกิดหนี้สิน ต้ อ งหนี อ อกนอกพื้ น ที่ แ ละโอนหนี้ ข าย สิทธิที่ดินของตัวเอง

พ.ศ. 2531-2549 ยุ ค การเข้ า มาของกระแส ความเจริ ญ กลุ่มสหกรณ์การเกษตรห้วยสัตว์ ใหญ่ได้ปิดตัวลงเพราะขาดทักษะในการ บริ ห ารจั ด การ ท� ำ ให้ เ กษตรกรมี อิ ส ระ ทางการเพาะปลู ก จึ ง มี ก ารปลู ก พื ช หลากหลายขึ้นทั้งมะนาว กล้วย ฝ้ายและ สับปะรด ควบคู่กับการเลี้ยงไหม ปลูก หม่ อ น จึ ง ไม่ ค ่ อ ยมี ป ั ญ หาเรื่ อ งผลผลิ ต แต่ ส่ิ ง เหล่ า นี้ ก็ เ ป็ น การเรี ย นรู ้ จ ากบท เรียนในอดีตที่ถูกบังคับจากสถาบันการ เงิ น ให้ ป ลู ก พื ช เชิ ง เดี่ ย ว โดยในยุ ค นี้ มี ความเจริญต่างๆ เริ่มเข้ามาชุมชนเริ่มมี ไฟฟ้าพลังน�้ำเอาไว้ใช้ ผู้คนจากที่อื่นเริ่ม มาจับจอง มีการซื้อขายแลกเปลี่ยนที่ดิน กันเป็นการใหญ่ การเติบโตของชุมชน ท�ำให้มีการบุกรุกแผ้วถางป่ามากขึ้น เกิด ความแห้งแล้ง ขาดความอุดมสมบูรณ์ อีก ทั้งการเกษตรเชิ ง เดี่ ย วที่ ต ้ อ งการผลผลิ ตมากๆ และใช้สารเคมีได้ส่งผลร้ายและ ท�ำลายความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่อย่าง ต่อเนื่อง ส่งผลกระทบต่อสัตว์ป่า เช่น ช้างป่า ออกมาหากินบริเวณไร่ของชาว บ้าน จนเกิดความขัดแย้งระหว่างชาวไร่ กับช้างป่า พ.ศ. 2550 – 2551 ยุ ค พึ่ ง พาตนเอง จากสภาพที่ เ ผชิ ญ อยู ่ ชุ ม ชนจึ ง เริ่มมีการรวมกลุ่ม หันหน้ามาประชุมพูด คุยกัน มองถึงการพัฒนาที่ไม่ต้องรอคอย หรือร้องขอจากใคร เน้นเริ่มที่ตัวเราเอง โดยเริ่ ม ต้ น จากกลุ ่ ม เยาวชน และกลุ ่ ม อนุ รั ก ษ์ ช ้ า ง แต่ ห ลั ง จากด� ำ เนิ น การไป ได้สักระยะหนึ่งยังไม่ประสบความส�ำเร็จ มากนัก เพราะผู้คนยังไม่มีประสบการณ์ การท�ำงานกลุ่ม ต่อมาได้รับงบประมาณ การสนั บ สนุ น การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ 41 issue 89 June 2015

(สสส.) แกนน� ำ ชุ ม ชนได้ มี โ อกาสเห็ น การท� ำ งานพั ฒ นาชุ ม ชนจากภายนอก จนสร้ า งแรงบั น ดาลใจ เกิ ด การฉุ ก คิ ด ค้ น ประยุ ก ต์ น� ำ กลั บ มาด� ำ เนิ น การใน พื้นที่ สามารถคิดค้นประยุกต์ น�ำกลับ มาด�ำเนินการในพื้นที่ สามารถชักชวน กลุ่มชาวบ้านมาเข้าร่วมมากขึ้น โดยพลิก ฟื้นกลับมาปลูกต้นไม้หลากหลายให้พอ กิน พออยู่ พอใช้ก่อน เหลือ แลก แจก ค้าขายใกล้บ้าน ค้าขายกันเองในชุมชน แปรรูป รวมกลุ่ม โดยยึดหลักความพอ ประมาณความมี เ หตุ ผ ล ด้ ว ยการปลู ก ต้นไม้ สร้างบ�ำนาญชีวิต การเลี้ยงชีพตาม หลักเศรษฐกิจพอเพียง

ทุนต�ำบล

จากพื้นที่ป่าที่เป็นชายแดนไทย – พม่า มีชาวเขาอาศัยอยู่ได้ปรับเปลี่ยน เป็นพื้นที่ชุมชนคนไทย และได้รับพระ มหากรุ ณ าที่ คุ ณ จากพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ฯ ที่ ท รงพระราชทาน โครงการในพระราชด� ำ ริ และแนวคิ ด แนวทางให้ ชุ ม ชนเกิ ด การพึ่ ง พาตนเอง จนเกิดการรวมตัวกลุ่มจัดตั้งเป็นสหกรณ์ การเกษตร และสหกรณ์โคนม พร้อมกับ พัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว จนมีผู้คนที่ หลั่ ง ไหลเข้ า มาจั บ จองที่ ดิ น ท� ำ กิ น และ ขยายกลุ่มมากมายโดยชุมชน นับเป็นต้น ทุ น ต� ำ บลที่ ส� ำ คั ญ ทั้ ง กลุ ่ ม อนุ รั ก ษ์ ช ้ า ง กลุ่ม อสม. กลุ่มอาชีพ กลุ่มแม่บ้านและ ต่อมาเกิดกลุ่มเครือข่ายชุมชนเป็นสุขป่า ละอูในปี พ.ศ. 2543 ที่มีบทบาทชัดเจน ในการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาคุณภาพ ชีวิตของคนในต�ำบล ตั้งแต่เรื่องปัญหา หนี้สิน เกษตรเชิงเดี่ยว งานพัฒนาการ กลุ่มเด็กเยาวชน การพึ่งพาตนเองด้าน อาหาร การส่งเสริมวนเกษตร และงาน พัฒนาศักยภาพผู้น�ำ


ก้าวเดินด้วยความพอเพียง

กลไกลการขับเคลื่อน

ปี พ.ศ. 2552 กลุ่มเครือข่ายชุมชนเป็นสุขป่าละอูได้รับ การชักชวนจากเครือข่ายกลุ่มเยาวชนรักษ์เขาชะเมา จังหวัด ระยอง ให้เข้าร่วมโครงการรักษ์ป่า สร้างคน 84 ต�ำบล วิถี พอเพียง โดยบริษัท ปตท. จ�ำกัด(มหาชน) ซึ่งมีเป้าหมายการ ท�ำงานเรื่องการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง เครือข่ายชุมชนเป็นสุขป่าละอูจึงเข้าร่วมโครงการฯ ในระยะที่ 3 เพราะเห็นว่าน่าจะโอกาสให้ชุมชน ความรู้ของ เครือข่ายในเรื่องการพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งการสร้างอาชีพ ของประชาชนให้มั่นคง การแก้ปัญหาความยากจนหนี้สินของ เกษตรกร ให้เกิดการพึ่งพาตนเองของชุมชนได้มากขึ้นด้วยการ เน้นแนวคิดเรื่องการพัฒนาชุมชนเข้มแข็ง โดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้ง ผ่านกิจกรรมต่างๆ เป็นตัวน�ำ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและสร้าง การเรียนรู้ การขับเคลื่อนชุมชนให้เข้มแข็ง

การขั บ เคลื่ อ นงานต� ำ บลห้ ว ยสั ต ว์ ใ หญ่ นั้ น มี พื้ น ฐาน งานพัฒนาอยู่แล้ว คือ เครือข่ายชุมชนเป็นสุขที่ป่าละอู ที่เกิด จากการรวมกลุ่มคนท�ำงานพัฒนา ผู้น�ำจิตอาสาและกลุ่มคนที่ ต้องการเรียนรู้เพื่อแก้ไขปัญหาชีวิตของตนเอง โดยมีเครือข่ายฯ เป็นศูนย์ประสานงาน โดยร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายที่เป็น ขบวนการขับเคลื่อนงานระดับจังหวัดของสถาบันพัฒนาองค์กร ชุมชน (พอช.) เยาวชนกลุ่มรักษ์เขาชะเมา และกลุ่มไม้ขีดไฟมา ช่วยขับเคลื่อนงานในพื้นที่ จนกระทั่งโครงการฯ เข้ามาต่อยอด อุดหนุนเสริมกระบวนการกลุ่มและมีการขยายกลุ่มใหม่เข้ามา คือ กลุ่มธนาคารต้นไม้ ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากศึกษาดูงานบ้านวิวัฒน์ ศัลยก�ำธร และบ้านด�ำเดื่อง ภาษี ซึ่งเป็นต้นแบบการเรียนรู้และ ขยายภายในต�ำบล คณะกรรมการโครงการฯ มาจากฐานเครือข่ายชุมชน เป็ น สุ ข ป่ า ละอู แ ละครั ว เรื อ นพอเพี ย งอาสาหรื อ ผู ้ มี ใจเข้ า มา เรียนรู้และมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนแผนงาน แบ่งออกเป็น ฝ่าย 42

IS AM ARE www.ariyaplus.com


จากโครงสร้ า งคณะกรรมการโครงการฯ ดั ง กล่ า วที่ เกิดขึ้นทางชุมชนยังคงยึดหลักโครงสร้างบริหารจัดการโครงการ ของเครือข่ายชุมชนเป็นสุขป่าละอูอ ยู่ แต่ก็ต้องใช้กรอบของโครง การฯ ด�ำเนินงานด้วยซึ่งนับว่าเป็นการเรียนรู้การขยายการมีส่วน ร่วมให้มากขึ้นตามความต้องการเดิม และทางกลุ่มแกนน�ำก็เห็น ความส�ำคัญของงานนี้ตั้งแต่แรกแล้วว่าโครงการฯ ต้องขยายฐาน คนที่จะเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ทีมหรือกลุ่มแกนน�ำที่บริหารจัดการโครงการฯ ระดับต�ำบลได้จัดสรรคณะกรรมการโครงการฯ ให้คลอบคลุมพื้นที่ เพื่อเป็นตัวแทนในแต่ละหมู่บ้านประสานงานการขับเคลื่อนกิจกรรม โดยมีเจ้าหน้าที่ประจ�ำต�ำบลช่วยหนุนเสริมการท�ำงาน และประสาน ในด้านอื่นๆ 43 issue 89 June 2015


นายเสริมสกุล คล้ายแก้ว ผู ้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 44 IS AM ARE www.ariyaplus.com


นายเสริมสกุล คล้ายแก้ว

ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค คนที่ 13 กับ 4s 12 กลยุทธ์

ตั้งปณิธาน บริหารงานด้วยความซื่ อสัตย์ โปร่งใสยึดหลักธรรมาภิบาล ผู ้ ว ่ า การการไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าค กล่ า วว่ า ตนมี ป ณิ ธ านที่ จ ะท� ำ งานด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ โปร่ ง ใส ยึ ด หลั ก ธรรมาภิ บ าลในการบริ ห ารงาน มุ ่ ง ขั บ เคลื่ อ นการไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าคไปสู ่ อ งค์ ก รชั้ น น� ำ ที่ ทั น สมั ย เชื่ อ ถื อ ได้ ให้ บ ริ ก ารพลั ง งานไฟฟ้ า อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพื่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต เศรษฐกิ จ และสั ง คมที่ ยั่ ง ยื น ส� ำ หรั บ แนวทางในการบริ ห ารและพั ฒ นาการไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าคหรื อ PEA ได้ น� ำ นโยบายของรั ฐ บาล นโยบายของกระทรวงมหาดไทย กระทรวงพลั ง งาน กระทรวงการคลั ง และนโยบายของคณะกรรมการ PEA รวมถึ ง แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ 11 มาเป็ น ปั จ จั ย น� ำ เข้ า ในการบริ ห ารและ พั ฒ นาการไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าค โดยก� ำ หนดนโยบายไว้ ด ้ ว ยกั น 4s 12 กลยุ ท ธ์ ได้ แ ก่ Strengthening เสริ ม สร้ า งความมั่ น คง • Capability Building สร้าง กฟภ. ให้เป็นองค์กร ที่มีขีดสมรรถนะสูง (High Performance Organization) ที่ขับเคลื่อนโดยบุคลากรที่มีคุณภาพ ท�ำงานอย่างมีความสุข และมุ่งมั่นในการท�ำงาน สร้างคุณภาพชีวิตที่ดีและส่งเสริม บรรยากาศที่ท�ำงานร่วมกันอย่างมีความสุข (Happy Workplace) ปรับปรุงระบบการท�ำงาน การประเมินผล การให้รางวัล อย่างเป็นธรรมและโปร่งใส สร้างระบบการบริหารจัดการคนเก่ง และพัฒนาเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากร • Strong Grid มุ่งเน้นการเสริมสร้างระบบไฟฟ้าให้มี ความมั่นคงมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบไฟฟ้าส�ำหรับเมืองใหญ่ และอุตสาหกรรม รวมถึงพื้นที่ส�ำคัญ พื้นที่เศรษฐกิจ และพื้นที่ ยุทธศาสตร์ของประเทศ ให้มีประสิทธิภาพ มั่นคง ครอบคลุม ทั่วถึงลูกค้าทุกกลุ่ม เพื่อพัฒนา กฟภ. ให้เป็น “Super PEA” • Renewable Energy and Energy Efficiency Partnership (REEP) ส่งเสริม สนับสนุน และลงทุน ด้าน พลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน สร้างระบบไฟฟ้า และพัฒนา Smart Grid รองรับโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน ส่ง

เสริมและสนับสนุนการจัด Zoning โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน ให้บริการจัดการพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ (Energy Efficiency) พัฒนาศักยภาพของบุคลากรด้านการลงทุนและการ ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน Standardizing สร้ า งมาตรฐานที่ เ ป็ น เลิ ศ • PEA Standard มีมาตรฐานด้านระบบจ�ำหน่าย ไฟฟ้ า ที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ในระดั บ ภู มิ ภ าค ปรั บ ปรุ ง พั ฒ นา มาตรฐานระบบจ� ำ หน่ า ยไฟฟ้ า ของ กฟภ. (PEA Standard) ให้รองรับเทคโนโลยีสมัยใหม่ ยกระดับความเชื่อถือได้ ประสิทธิภาพ ความปลอดภัย และคุณภาพของระบบไฟฟ้า รวมทั้งเผยแพร่มาตรฐาน PEA Standard ให้เป็นที่ยอมรับใน การไฟฟ้ากลุ่มภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขงตอนล่าง (Lower Mekong Subregion : LMS) เพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมภายในประเทศ และการค้าระหว่างประเทศ • Safety Excellence มุ่งสู่ Safety Performance ที่เป็นเลิศ สร้าง Safety Management System ให้เป็น มาตรฐานและมีประสิทธิภาพ ปลูกฝัง PEA Safety Culture ยก 45

issue 89 June 2015


& Hard Skill ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน • Towards Sustainable CSR เติบโตอย่างยั่งยืน ร่วมกับชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจของประเทศ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) กับ หลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักธรรมาภิบาล และการต่อต้าน การทุจริตคอร์รัปชั่น ให้ความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นส่วนหนึ่ง ของการปฏิบัติงานประจ�ำวันทั่วทั้งองค์กร มุ่งเน้นการด�ำเนิน กิจการเพื่อสร้างให้เกิดคุณค่าร่วม (Creating Shared Value : CSV) ระหว่างองค์กรและสังคมไปพร้อมๆกัน ส่งเสริมงานวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อสร้างนวัตกรรมที่เชื่อมโยงกับชุมชน สร้างโรงไฟฟ้าขยะให้แก่ชุมชน สร้างความเท่าเทียมทางสังคม Smart มุ ่ ง สู ่ ค วามทั น สมั ย • Service Excellence มีการบริการลูกค้าที่เป็น โดยเร่งรัดขยายเขตระบบไฟฟ้าให้กับทุกครัวเรือน ส่งเสริมและ เลิ ศ และครบวงจร มุ ่ ง เน้ น การให้ บ ริ ก ารที่ รวดเร็ ว เป็ น สนับสนุนการใช้พลังงานทดแทนเพื่อการท่องเที่ยวและความ มาตรฐาน โปร่งใส โดยมีลูกค้าเป็นศูนย์กลาง และให้บริการ ปลอดภัย • Enhancing Human Capital ส่งเสริมการพัฒนา พลังงานไฟฟ้าที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทีมงานที่มีคุณภาพ พัฒนาและปรับปรุงงานแก้ไฟฟ้าขัดข้องให้ ทุนมนุษย์เพื่อการพัฒนาองค์กรอย่างยั่งยืน สร้างกลไกน�ำ ศักยภาพของพนักงานมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร มีประสิทธิภาพ • Grid Modernization พัฒนาระบบไฟฟ้าให้ทัน พัฒนาทักษะพนักงานสู่การท�ำงานอย่างมืออาชีพ จัดตั้งระบบ สมัยเป็น Smart Grid มุ่งเน้นพัฒนาระบบไฟฟ้าและระบบ ICT คลังสมอง (Think Tank) ริเริ่มก่อตั้งสถาบันวิชาการ กฟภ. รองรับโครงการ Smart Grid ที่ทันสมัย ส่งเสริมการใช้มาตรฐาน (PEA Academy) ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมและขยายผลการ IEC 61850 ส�ำหรับการท�ำงานร่วมกันได้ (Interoperability) ใช้งานอย่างเป็นระบบ ส่งเสริมกระบวนการ KM สู่การปฏิบัติ ของอุปกรณ์ต่างๆ ในสถานีไฟฟ้า ส่งเสริมงานวิจัยและพัฒนา งานประจ�ำวัน สร้างการเรียนรู้ นวัตกรรม และสนับสนุนการ บุคลากรด้าน Smart Grid เร่งรัดโครงการพัฒนาโครงข่ายไฟฟ้า ด�ำเนินงานขององค์กรให้มี Productivity สูงขึ้น อัจฉริยะ (Smart Grid) ในพื้นที่เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี • Smart Organization พัฒนาระบบสารสนเทศ การพั ฒ นาและยกระดั บ คุ ณ ภาพการให้ บ ริ ก ารที่ ดี สู ่ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการด� ำ เนิ น การขององค์ ก ร พั ฒ นาโครง ประชาชน ด้ ว ยการปรั บ ปรุ ง กระบวนการท� ำ งานเชิ ง ข่ายสื่อสารสมัยใหม่ (Next Generation Network : NGN) รุ ก มากขึ้ น ด้ ว ยเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย สามารถตรวจ สนับสนุนการใช้ระบบ Cloud ที่มีมาตรฐานและปลอดภัย ส่ง สอบได้ ทุ ก ขั้ น ตอน เสริมการใช้ระบบ ICT อย่างเต็มประสิทธิภาพ สนับสนุนงาน ICT ของภาครัฐด้านความมั่นคงและสาธารณภัย พัฒนาบุคลากร แผนงานเร่ ง ด่ ว น ด้านสารสนเทศรองรับ Digital Economy • โครงการ “สว่างไสวทั่วไทย จ่ายไฟทุกครัวเรือน” ขยายเขตระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้าระดับครัวเรือนอย่างทั่วถึง ซึ่งจาก Sustainable เติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น • Excellence in Governance มีการก�ำกับดูแล การส�ำรวจเมื่อต้นปี 2558 ยังมีสถานะครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟ้าใช้ กิจการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล พัฒนาและส่งเสริมการก�ำกับ อีกจ�ำนวน 72,059 ครัวเรือน อยู่ระหว่างจัดสรรเข้าโครงการ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ต ามหลั ก ธรรมาภิ บ าล ด� ำ เนิ น งานด้ ว ยความ จ�ำนวน 31,117 ครัวเรือน อยู่ในพื้นที่หวงห้าม เช่น เขตป่าสงวน โปร่งใส ปราศจากการทุจริตคอรัปชั่น มีมาตรฐานทางจริยธรรม เขตอุทยาน พื้นที่ปกครองทหาร ต้องขออนุญาตหน่วยงานที่ และจรรยาบรรณในวิชาชีพ สร้างต้นแบบการไฟฟ้าโปร่งใสและ เกี่ยวข้องจ�ำนวน 36,199 ครัวเรือนและไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ PEA ขยายผลไปยังการไฟฟ้าต่างๆ พัฒนาบุคลากรทั้งด้าน Soft Skill อีกจ�ำนวน 4,743 ครัวเรือน

ระดับความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของบุคลากรและลูกค้า จัดซื้อจัดหาอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติงานให้มีความปลอดภัยทั้ง ระดับบุคคลและหน่วยงาน จัดฝึกอบรมและถ่ายทอดองค์ความ รู้ด้านความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง • Operational Excellence มุ ่ ง เน้ น การเพิ่ ม ประสิทธิภาพและพัฒนากระบวนการท�ำงานอย่างต่อเนื่อง ปรับปรุงกระบวนงานให้มีความชัดเจน ลดขั้นตอนความยุ่งยาก และลดระยะเวลาด�ำเนินการ ส่งเสริมการบริหารแบบมีส่วนร่วม พัฒนาระบบงานทั้ง Front Office และ Back Office บริหาร จัดการตามกรอบระบบประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ

46 IS AM ARE www.ariyaplus.com


• ส น อ ง น โ ย บ า ย ก ร ะ ท ร ว ง มหาดไทยเร่ ง รั ด สร้ า งโรงไฟฟ้ า ขยะ ต้นแบบของประเทศไทย • สร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ส ่ ง เ ส ริ ม พ ลั ง ง า น ท ด แ ท น เร ่ ง รั ด กระบวนการรั บ ซื้ อ พลั ง งานทดแทน ตามนโยบายรัฐบาลในส่วนที่ กฟภ. รับ ผิดชอบ พร้อมพัฒนาระบบไฟฟ้ารองรับ พลังงานทดแทน • จั ด ตั้ ง ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารต่ อ ต้ า น การทุจริตการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค สร้าง การไฟฟ้ า โปร่ ง ใสน� ำ ร่ อ ง และขยาย ผลการด� ำ เนิ น การไปทุ ก การไฟฟ้ า ส่ ว น ภูมิภาคเขต • เสริมสร้างระบบคุณธรรมและ น�ำบริการที่ดีสู่ประชาชน ด้วยเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย สามารถตรวจสอบได้ทุก ขั้น ตอน ทั้ ง นี้ ผู ้ ว ่ า การการไฟฟ้ า ส่ ว น ภูมิภาค ยังฝากถึงประชาชนผู้ใช้ไฟฟ้า ในพื้นที่ของ กฟภ. ว่าในสภาพอากาศที่ แปรปรวนของประเทศไทย อาจท� ำ ให้ ระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วน ภูมิภาคได้รับความเสียหาย เกิดปัญหาไฟ ดับในบริเวณกว้าง อาจก่อให้เกิดอันตราย ต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ซึ่ง ตนได้ สั่ ง การไปยั ง การไฟฟ้ า ต่ า งๆ ทั่ ว

ประเทศให้หมั่นตรวจสอบดูแลเฝ้าระวัง และจัดให้มีมาตรการป้องกันเป็นพิเศษ และให้การประชาสัมพันธ์แก่ประชาชน ได้รับทราบถึงข้อควรระวังเกี่ยวกับความ ปลอดภัยและอันตรายจากกระแสไฟฟ้า “อีกประการหนึ่ง การไฟฟ้าส่วน ภู มิ ภ าคขอความร่ ว มมื อ ประชาชนผู ้ ใช้

บริการ หากพบเห็นการให้บริการหรือ การกระท� ำ ที่ อ าจส่ อ ไปในทางทุ จ ริ ต ประพฤติ มิช อบของพนั ก งานการไฟฟ้า ส่ ว นภู มิ ภ าค กรุ ณ าแจ้ ง เบาะแสได้ ที่ ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต การ ไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โทร 1129 PEA Call center”

ประวั ติ ข องนายเสริ ม สกุ ล คล้ า ยแก้ ว อายุ 56 ปี ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษา วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในปี 2523 การ จัดการภาครัฐ และเอกชน มหาบัณฑิตรุน่ ที6่ สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ ปี 2545เริ่มบรรจุ เข้าท�ำงานที่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคตั้งแต่ปี 2524 ในต�ำแหน่ง วิศวกรอันดับ 1 ฝ่ายวิศวกรรม ต่อมาได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้บริหารใน ระดับสูงขึ้นตามล�ำดับโดย ได้รับแต่งตั้งต�ำแหน่งรองผู้ว่าการทรัพยากรบุคคล ในปี 2558 และด�ำรงต�ำแหน่งผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค คนที่ 13 ในวันที่ 3 มิถุนายน 2558 ในระหว่ า งการปฏิ บั ติ ง านที่ ก ารไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าค นายเสริ ม สกุ ล คล้ายแก้ว ได้ศึกษาอบรมหลักสูตรต่างๆ จากสถาบันชั้นน�ำทั้งในและต่างประเทศ หลายแห่ง อาทิ ศึกษาดูงานเทคโนโลยีบรอดแบนด์ ณ ประเทศญี่ปุ่น ศึกษาดู งานด้านระบบรถไฟฟ้าความเร็วสูง ณ ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี และ เนเธอร์แลนด์ ประชุมหารือความร่วมมือทางวิชาการและศึกษาดูงานกับการไฟฟ้า KEPCO ณ โรงไฟฟ้าพลังงานลม ประเทศญี่ปุ่น ร่วมประชุม HAPUA Working Group on Human Resource ณ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ประชุม หารือการพัฒนาบุคลากรพร้อมศึกษาดูงานการไฟฟ้าและบริษัทที่ด�ำเนินการด้าน Smart Grid ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา หลักสูตร Management of Electric Power Utilities ณ ประเทศราชอาณาจักรสวีเดน หลักสูตร Improvement of Operation of Electric Power ณ ประเทศญี่ปุ่น 47 issue 89 June 2015


48 IS AM ARE www.ariyaplus.com


นานา...ทั ศ นะ

ดอกล�ำดวน ว่าตนเองโชคดีที่มีลูกชายคอยดูแล พามานั่งเล่นบริเวณนี้เป็น ประจ�ำ ผู้เฒ่าได้มองชีวิตอื่นๆ ผ่านไปมาภายใต้สถานที่ที่มีคน แก่มารวมกันท�ำกิจกรรมตามที่ตนเองถนัด แม่เฒ่าคนนั้นยังคง นั่งประดิษฐ์ดอกล�ำดวนสัญลักษณ์ของผู้สูงอายุอย่างสงบ หวัง เพียงผู้มาเยือนได้ชื่นชมและซื้อติดมือไปเป็นที่ระลึก แกมีลูก ศิษย์เป็นเพื่อนรุ่นราวคราวเดียวกันหลายคน เจ้าของผลงานจะ ได้ส่วนแบ่ง 70 % แต่บางดอกคงไว้เพียงผลงานเท่านั้น เจ้าของ จากโลกนี้ไปนานแล้ว ปีกว่าๆ ที่ผู้เฒ่าเฝ้ามานั่งเก้าอี้ตัวเดิมจนเดินเองไม่ไหว ต้องขอให้เจ้าหน้าที่ช่วยเข็นมา เป็นอย่างนี้ทุกวันจนวันสุดท้าย ของชีวิต แกสิ้นลมอย่างสงบที่ริมสระน�้ำใต้ต้นล�ำดวน “ฝากไว้ให้เขาด้วย เผื่อเขากลับมา” ดอกล�ำดวนฝีมือ คุณตาและจดหมายน้อยในกระเป๋าเสื้อยังคงอ้างว้างอยู่กับเจ้า หน้าที่รุ่นแล้วรุ่นเล่า ไร้ผู้มารับมันไป

ผู้เฒ่านั่งริมสระอย่างสบายอารมณ์ที่เก้าอี้ตัวเดิม หลาย วันมานี้ลูกชายให้เวลาแกเป็นพิเศษ พามานั่งสูดอากาศบริสุทธิ์ ทุกเย็น พบเพื่อนผู้ชราด้วยกัน ได้คุยถึงความหลังเมื่อครั้งยังมี แรงในบรรยากาศอันเงียบสงบ ดอกล�ำดวนยืนต้นแผ่ร่มเงาอยู่ที่ริมสระ กลีบดอกแข็ง แรงไม่ร่วงง่าย ไม้อายุยืนชนิดนี้ให้ร่มเงาตลอดปี นกน้อยได้ อาศัยพักพิงยามเหนื่อยล้า เมื่อหายเหนื่อยก็พากันบินจากไป ดุจพ่อแม่ผู้แก่ชรา ผู้ต่อสู้ชีวิตมาจนเรี่ยวแรงถดถอยเพื่อให้ลูก หลานได้อยู่เย็นเป็นสุข เป็นตัวอย่างการกระท�ำแก่คนรุ่นต่อไป “คุณตายังไม่กลับบ้านหรือคะ ลูกชายไปไหนแล้ว” เจ้า หน้าที่ไถ่ถามด้วยความเป็นห่วงเพราะบ้านบางแคก�ำลังจะปิด แล้ว หล่อนพยายามไม่คิดถึงเรื่องเศร้าที่เกิดขึ้นซ�้ำแล้วซ�้ำเล่า ในสถานที่แห่งนี้ แต่ลึกๆ ก็อดไม่ได้ ผู้เฒ่ายังคงนั่งอยู่ที่โต๊ะหินอ่อนริมสระน�้ำ วันเวลาท�ำลาย ความจ�ำแกเสียสิ้น เงียบงัน กลายเป็นคนหลงลืม แกมักจะพูด

กรวิ ก อุ น ะพ� ำ นั ก

49 issue 89 june 2015


“ข้าวซอย” เมนูที่ถูกประยุกต์จนกลายเป็นไทย

ในช่ วงกลางยุ คศตวรรษที่ 19 ชาวจีนฮ่อ(ชาวจีนที่นับถือศาสนาอิสลาม)เข้ามามีบทบาทในการค้าขายบนแผ่นดิน สิบสองปั นนาจนถึงมณฑลยู นนาน และยังมีบางส่วนที่อพยพมายังแถบภาคเหนือของประเทศไทยและประเทศลาว ท�ำให้ผู้คนแถบภาคเหนือของไทยได้รู้จักกับเมนูอาหารที่เรียกว่า “ข้าวซอย” จนเป็นอาหารประจ�ำภาคเหนือของไทย ในปั จจุ บัน

50 IS AM ARE www.ariyaplus.com


eat am are

เดิมทีเมนูนี้มีชื่อว่า “ก๋วยเตี๋ยวฮ่อ” ซึ่งมาจากชาวจีนฮ่อนั่นเอง เป็นอาหารอิสลาม ก๋วยเตี๋ยวฮ่อมีลักษณะน�้ำใส ก่อนจะถูก ดัดแปลงให้เข้ากับความชอบของคนพื้นที่ต่างๆ ในส่วนของคนไทยภาคเหนือน�ำมาดัดแปลงโดยการใส่กะทิลงไป เหตุที่เรียกว่า “ข้าว ซอย” ในปัจจุบัน เพราะสมัยโบราณยังไม่มีเครื่องจักรในการผลิตเส้นบะหมี่ จึงต้องผลิตโดยการใช้แป้งข้าวสาลี เกลือ ไข่ และน�้ำ มานวดผสมจนเข้ากันแล้วรีดให้เป็นแผ่น ก่อนจะใช้มีดซอยให้แผ่นแป้งกลายเป็นเส้นในที่สุด ปัจจุบันข้าวซอยกลายเป็นอาหารพื้นเมืองของชาวเหนือ มีการประยุกต์ใส่เนื้อสัตว์หลากหลายชนิด คนไทยอาจไม่ทราบ ว่าความจริงแล้วสิ่งที่เรียกว่าของไทยนั้น แท้จริงมีพื้นฐานที่มาอันหลากหลาย ดัดแปลงจนเข้ากับความต้องการของคนในพื้นที่นั้นๆ มันจึงไม่มีสูตรตายตัว ท่านผู้อ่านสามารถดัดแปลงตามความชอบของตนได้เพื่อความหลากหลาย วิ ธี ท� ำ

ส่ ว นผสม 1.น่องไก่ 2.เส้นข้าวซอย 3.น�้ำมันพืช 4.กะทิ

1 1/2 1 3

กิโลกรัม กิโลกรัม ถ้วย ถ้วย

เครื่ อ งแกง 1.พริกแห้ง 2.กระเทียม 3.หอมแดง 4.ผิวมะกรูด 5.กระชาย 6.ขมิ้น 7.ตะไคร้ซอย 8.น�้ำตาลปี๊บ 9.กะปิ 10.ผงกะหรี่

10 10 10 1 5 2 2 2 3 1

เม็ด กลีบ หัว ลูก หัว ชิ้น ช้อนโต๊ะ ช้อนโต๊ะ ช้อนโต๊ะ ช้อนโต๊ะ

1. โขลกเครื่องแกงรวมกันให้ละเอียด 2. ตั้งน�้ำกะทิประมาณ 1 ถ้วย พอเดือด 3. ใส่เครื่องแกงผัดจนหอม 4. ใส่ผงกะหรี่ละลายน�้ำเล็กน้อย 5. ใส่ไก่ ผัดให้เข้ากัน เติมน�้ำเล็กน้อย ใส่น�้ำตาลปี๊บ แล้วเติมกะทิ เคี่ยวต่อจนไก่นุ่ม 6. ตั้งกระทะใส่น�้ำมันพืช พอร้อนใส่เส้นข้าวซอยที่ คลี่ออกจากกันแล้ว ทอดพอเหลืองกรอบ เพื่อท�ำเส้นกรอบ ส�ำหรับโรยหน้า 7. ลวกเส้นข้าวซอยกับน�้ำเดือดประมาณ 1 นาที แล้ว น�ำมาลวกในน�้ำเย็น เคล็ ด ลั บ ในการปรุ ง /เลื อ กส่ ว นผสม ข้าวซอยปรุงได้ทั้งเนื้อไก่ เนื้อวัว ส�ำหรับการท�ำข้าว ซอยเนื้อ ส�ำหรับการท�ำข้าวซอยเนื้อควรหั่นเป็นชิ้นพอค�ำ ต้ม ให้เปื่อยก่อน แล้วน�ำไปเคี่ยวกับเครื่องแกง เคล็ ด ลั บ ในการเลื อ กส่ ว นผสม การเลือกเนื้อไก่ ควรเลือกน่องและสะโพก ส�ำหรับข้าว ซอยเนื้อ ควรใช้เนื้อสันคอ

เครื่ อ งเคี ย ง 1.พริกป่นผัดน�้ำมัน 2.หอมแดง 3.ผักกาดดอง 4.มะนาว 5.ผักชี 6.ต้นหอม

51 issue 89 June 2015


cover story

ตามรอยแพทย์อาสากับ

นายแพทย์พิษณุ มณีโชติ รองเลขาธิการมูลนิธิ พอ.สว.

“จิ ต อาสาผมว่ า ต้ อ งไปเน้ น ถึ ง การลดความเหลื่ อ มล�้ ำ อย่ า ไปคิ ด ว่ า รอให้ เขาดั้ น ด้ น ทุ ก ข์ ย ากแสนสาหั ส แล้ ว เราไปช่ ว ยโดยการบริ จ าค ซึ่ ง อั น นั้ น ช่ ว ย ประเดี๋ ย วประด๋ า ว เราต้ อ งช่ ว ยให้ เ ขาเข้ า ถึ ง บริ ก ารอย่ า งเท่ า เที ย ม เป็ น ธรรม แล้ ว ก็ ส ามารถที่ จ ะอยู ่ ใ นสั ง คมต่ อ ไปได้ ”

52 IS AM ARE www.ariyaplus.com


53 issue 89 june 2015


๑. สายฝนยังคงกระหน�่ำรุนแรงกลางป่าเขา บนเส้นทางสาย ทุรกันดารไม่มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกใดเข้าถึง พวกเขายังคงเดิน เท้า แบกทั้งสัมภาระ ยารักษาโรค เครื่องมือแพทย์ และอาหาร เท่าที่จ�ำเป็น บางช่วงที่น�้ำป่าไหลหลากขวางเส้นทางพวกเขาจ�ำ ต้องหยุดรอให้น�้ำลดลง ก่อนจะเดินทางต่อในรุ่งเช้า ทากน้อยๆ พากันรุมเกาะติดแข้งขาดูดเลือดจนตัวบวม เปล่ง มันเป็นเลือดของผู้เสียสละ ผู้ละวางประโยชน์ส่วนตัวไว้ ข้างหลัง มุ่งหน้าให้การรักษาเพื่อนมนุษย์ที่ไม่สามารถเข้าถึง บริการของรัฐได้โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน ในนาม “หน่วยแพทย์ เคลื่อนที่เดินเท้า พอ.สว.” “ฝนตก ทางลื่น หน้าฝนสิ่งที่เผชิญก็คือทาก เวลาเดิน เท้าจะมีปัญหาเรื่องทาก แล้วก็น�้ำ หน้านี้ต้องเดินสะพานข้ามน�้ำ แล้วก็จะเจอฝนนะ เดินตามไหล่เขาไปตามหย่อมบ้านต่างๆ” นายแพทย์ พิ ษ ณุ มณี โชติ รองเลขาธิ ก ารมู ล นิ ธิ แ พทย์ อ าสา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี บอกเล่าประสบการณ์ การเป็นแพทย์อาสาเดินเท้าเข้าไปยังหมู่บ้านต่างๆ ในพื้นที่ ห่างไกล ตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา

ใกล้ที่สุดได้ก็กินเวลาอย่างน้อย ๘ ชั่วโมงหรือ ๑ วัน ยิ่งป่วยหนัก โอกาสรอดก็มีน้อย เป็นเหตุผลให้หน่วยแพทย์เคลื่อนที่เดินเท้า พอ.สว. ต้องดั้นด้นขึ้นไปช่วยเหลือ “บางพื้นที่เดินไม่ได้เพราะดินสไลด์ แล้วก็มีต้นไม้โค่น ล้มขวางทาง” เป็นสิ่งที่รองเลขาฯ พบเจอระหว่างการเดินเท้า ซึ่งจะมีอาสาสมัครในสาขาอาชีพต่างๆ ร่วมเดินไปกับหน่วย แพทย์เคลื่อนที่เดินเท้า พอ.สว. ด้วย ส่วนใหญ่เป็นอาสาสมัคร ที่มาจากส่วนกลางคือกรุงเทพมหานคร หรือจังหวัดอื่นๆ ที่ยัง ไม่มีหน่วยแพทย์ พอ.สว.จัดตั้งขึ้น, ปัจจุบันมีจังหวัด พอ.สว. ๕๕ จังหวัด จังหวัดล่าสุดคือ มหาสารคาม ปัจจุบันมีสมาชิก อาสาสมัคร พอ.สว. ทั่วประเทศเกือบ ๑ แสนคน ๒. ฤดูฝนบนถิ่นทุรกันดารเป็นเสมือนบททดสอบของเหล่า อาสาสมัครผู้ต้องการช่วยเหลือ แบ่งปันสิ่งที่เกินจ�ำเป็นของตัว เองแก่เพื่อนมนุษย์ที่ยากไร้กว่า บางคนเตรียมเสื้อผ้า แว่นสายตา ไปแจกเด็กๆ ชาวไทยภูเขาด้วย รวมระยะเวลาการเดินเท้าไม่ต�่ำ กว่า ๕ วัน นายแพทย์พิษณุย�้ำว่าไม่ใช่อาสาสมัครทุกคนจะได้ เดินเท้าไปกับหน่วยแพทย์เคลื่อนที่เดินเท้า พอ.สว. สิ่งส�ำคัญ ที่สุดคือต้องมีความพร้อมทั้งทางร่างกาย และมีจิตใจ

ฝนตก ทางลื่ น หน้ า ฝนสิ่ ง ที่ เ ผชิ ญ ก็ คื อ ทาก เวลา เดิ น เท้ า จะมี ป ั ญ หาเรื่ อ งทาก แล้ ว ก็ น�้ ำ หน้ า นี้ ต ้ อ ง เดิ น สะพานข้ า มน�้ ำ แล้ ว ก็ จ ะเจอฝนนะ เดิ น ตามไหล่ เขาไปตามหย่ อ มบ้ า นต่ า งๆ ปัจจุบันนายแพทย์พิษณุอายุ ๖๗ ปี เดิมทีเคยท�ำหน้าที่ ในต�ำแหน่ง ผอ.โรงพยาบาลต่างๆ ทั้งในจังหวัดสุราษฏร์ธานี ยะลา นราธิวาส รวมระยะเวลา ๑๖ ปีก่อนเกษียณอายุราชการ ด้ ว ยประสบการณ์ แ ละความตั้ ง ใจท� ำ งาน เขาจึ ง ได้ รั บ ความ เมตตาจากนายแพทย์ยุทธ โพธารามิก เลขาธิการมูลนิธิแพทย์ อาสาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ให้เข้าช่วยงานอาสา ท�ำงานการกุศลช่วยเหลือผู้อื่นต่อไป ซึ่งเป็นความตั้งใจเดิมของ นายแพทย์พิษณุอยู่แล้ว พื้ น ที่ ที่ ห น่ ว ยแพทย์ เ คลื่ อ นที่ เ ดิ น เท้ า พอ.สว. และ จิตอาสาจะเข้าไปช่วยเหลือ คือพื้นที่ที่เกินกว่าทีมแพทย์เดิมใน พื้นที่นั้นๆ จะเข้าถึงได้ในช่วงหน้าฝน เป็นความต้องการให้ช่วย เหลือของคนในพื้นที่เอง จากเดิมที่การคมนาคมล�ำบากอยู่แล้ว พอฤดูฝนทางจะไม่สามารถสัญจรด้วยยานพาหนะได้ ผู้ที่อยู่บน ป่าเขาจะถูกตัดขาดจากโลกภายนอก ตัดขาดจากบริการของรัฐ โดยเฉพาะผู้ป่วยบนภูเขาซึ่งกว่าจะเดินเท้าลงมาสถานีอนามัยที่ 54

IS AM ARE www.ariyaplus.com


การมี ร ่ า งกายที่ พ ร้ อ มเป็ น เรื่ อ ง จ� ำ เป็ น เพราะหน่ ว ยแพทย์ เ คลื่ อ นที่ เดิ น เท้ า พอ.สว. และอาสาสมั ค ร อาชี พ อื่ น ๆ ต่ อ หนึ่ ง สายมี จ� ำ นวนถึ ง ๖๐ คนโดยประมาณ นอกจากอาสา สมัครแล้ว ยังมีลูกหาบ เจ้าหน้าที่ ตชด. คอยรักษาความปลอดภัย และผู้สื่อข่าว เป็นต้น ในขณะที่เส้นทางล้วนเต็มไปด้วย อุปสรรคและความเหนื่อยล้า หากใครคน หนึ่งร่างกายไม่พร้อมย่อมส่งผลต่อผู้อื่น ทันที และแม้ร่างกายฟิตพร้อมแต่จิตใจ ยังมีห่วง ก็ไม่ควรเข้าร่วม เพราะการเดิน ทางตลอด ๕ วัน นายแพทย์พิษณุมอง ว่า จิตใจเป็นเรื่องส�ำคัญ ส�ำหรับใครที่ยัง เป็นห่วงทางบ้าน หรือมีภาระ ไม่ควรไป จะท�ำให้ทุกข์เปล่าๆ “เวลาไปทุกครั้ง ทุกคนก็อยากไป สิ่ ง ที่ พ บก็ คื อ ทุ ก คนมี ค วามอิ่ ม เอิ บ ใจ ได้ท�ำบุญท�ำกุศล แต่ว่าคนต้องแข็งแรงนะ อันตรายจริงๆ ถ้าไม่แข็งแรงเป็นผลกระ ทบต่อตัวเอง สองเป็นภาระคนอื่น เราเดิน

ทุ ก ครั้ ง ที่ อ อกเดิ น ทางพวกเขาเหล่ า แพทย์ อ าสาจากทั่ ว ประเทศมี ค วาม ปลอดภั ย กลั บ มาหาครอบครั ว ได้ เ สมอ พร้ อ มกั บ ความสุ ข ที่ ไ ด้ รั บ จากการช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ด ้ อ ยโอกาสบนป่ า เขา คนเหล่ า นั้ น ก็ คื อ คนไทย ผู ้ มี สิ ท ธิ์ ก ารใช้ บ ริ ก ารของรั ฐ อย่ า งเท่ า เที ย ม ไม่มีการย้อนกลับ เพราะว่าเส้นทางบางที กลับไม่ได้นะ ถ้ากลับทางเดิมต้องเสียคน มาเดินเป็นเพื่อน หรือคนน�ำทาง ต้องเดิน ไปข้างหน้าครับ การสื่อสารส่วนใหญ่ใช้ไม่ ได้ ยิ่งไปช่วงแรกๆ ใช้ไม่ได้เลยครับ ทุก คนต้องตัดขาดจากทางบ้าน ดังนั้นคนไป ถ้ามีภาระผูกพันกับครอบครัวมากๆ จะ ล�ำบาก มีลูกมีอะไรก็ต้องคิดถึง ไม่ได้ ไป แล้วต้องมีใจ จะพะวักพะวงไม่ได้ มันไม่มี ความสุขหรอก มันทรมาน ๕ วัน บาง พื้นที่กลางคืนไฟจ�ำกัด ส่วนใหญ่เขาใช้ไฟ โซล่าเซลล์ ซึ่งบางพื้นที่โซล่าเซลล์ก็ใช้ได้ ไม่ค่อยดีเท่าไหร่ เพราะใช้มานานแล้ว แบตเตอร์รี่ก็ไม่มีพอบ้าง อาหารเอาไป มากก็ไม่ได้ เพราะเป็นภาระ ก็เอาไปเท่า ที่จ�ำเป็น” 55 issue 89 June 2015

สิ่งที่หน่วยแพทย์เคลื่อนที่เดินเท้า พอ.สว. ยึดถืออย่างหนึ่งก็คือ พวกเขา จะท� ำ อาหารกิ น กั น เอง ตามวั ต ถุ ดิ บ ที่ เตรียมไป นอกจากพืชผักของชาวบ้าน แล้ว จะไม่มีการฆ่าสัตว์ตัดชีวิตของชาว บ้านเด็ดขาด การใช้ชีวิตในพื้นที่ยึดถือ ตามสภาพความเป็ น จริ ง ทั้ ง สถานที่ อาบน�้ำ ห้องน�้ำ อาศัยน�้ำจากธรรมชาติ หรือน�้ำที่ต่อท่อลงมาจากภูเขา เรียกว่า ประปาภูเขา “ต้ อ งยอมรั บ ว่ า ความล� ำ บากมี แน่ ความสบายไม่มี ทุกคนไปต้องท�ำใจ ไปแล้วจิตใจไม่ผ่องใสจะเป็นภาระของผู้ อื่น แต่ทุกคนไปทุกคนจะมีความตั้งใจ มี ความสนุกสนาน คืออารมณ์ก็สนุกไปด้วย อาจเป็นเพราะได้อิ่มบุญ ท�ำกุศล”


56 IS AM ARE www.ariyaplus.com


๓. แม้จะมีความล�ำบากอย่างไรก็ตาม จ�ำนวนผู้สมัครเข้า มาเป็นจิตอาสากับ พอ.สว.กลับเกินโควต้าและเพิ่มขึ้นในทุกปี หลายคนไปแล้วต้องไปอีก ได้ค้นพบว่าการให้โดยไม่หวังสิ่งตอบ แทนจริงๆ สร้างความอิ่มเอิบใจได้อย่างไร ต่างคนต่างอายุช่วย กันท�ำหน้าที่ตามก�ำลังและความถนัดของตนเอง เหมือนค�ำพูด ที่ว่า “อาสาสมัครไม่มีวันเกษียณ” เส้ น ทางส่ว นใหญ่ที่เดิน เท้าเข้าไปคือหมู ่ บ้ า นชาวเขา ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน น่าน ตาก แม่สะเรียง การเดินในพื้นที่หนึ่งแบ่งเป็น ๒-๔ สาย หนึ่งสายใช้อาสาสมัคร ราว ๕๐-๖๐ คน เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่ทุกหมู่บ้าน เพราะ พื้นที่เหล่านั้นจะไม่มีแพทย์ประจ�ำอยู่เลย มีแต่ครูที่ไปประจ�ำ อยู่บนนั้น นานทีจะมีสาธารณสุขอ�ำเภอขึ้นไปบ้างในวันเวลาที่ สภาพอากาศเอื้ออ�ำนวย ตลอดการเดินเท้าหน่วยแพทย์เคลื่อนที่เดินเท้า พอ.สว. จะไปแวะพักค้างคืนที่ ศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขาแม่ฟ้า หลวง จัดตั้งขึ้นโดยสมเด็จย่า ที่นั่นมีครูคอยสอนภาษาไทยและ สิ่งที่จ�ำเป็น เช่น การดูแลสุขภาพ ให้ชาวเขาทั้งเด็กและผู้ใหญ่ บางรายที่แพทย์ได้ช่วยเหลือทันท่วงทีก็สามารถกลับ “บางครั้งเราเห็นเด็กเขาอยู่กับน�้ำก็จริง แต่การอาบน�้ำ การ มาใช้ชีวิตตามปกติได้ เช่นคนไข้ที่มีรกค้างหลังจากคลอดบุตร แปรงฟัน สระผม บางทีเขาท�ำไม่เป็น ไม่น่าเชื่อ เราก็ต้องไปสอน หมายความว่ารกออกไม่หมด นายแพทย์พิษณุระบุว่าหากเอา เขาเพื่อสุขภาพอนามัยที่ดี ถ้าไม่มีอาสาสมัครก็ไม่มีใครขึ้นไป ออกไม่ได้อาจมีการตกเลือดถึงแก่ชีวิต แต่รายนี้แพทย์เดินเท้า เข้าช่วยเหลือได้ทันจึงหายเป็นปกติ ต้ อ งยอมรั บ ว่ า ความล� ำ บากมี แ น่ ความสบายไม่ มี “บางครั้งมีคนไข้ที่เป็นเด็ก เป็นโรคปอดบวมในบางช่วง ทุ ก คนไปต้ อ งท� ำ ใจ ไปแล้ ว จิ ต ใจไม่ ผ ่ อ งใสจะเป็ น เราไปเราก็ช่วยรักษาได้ทันเวลา บางรายเราก็จะไปเอาคนไข้ที่มี ภาระของผู ้ อื่ น แต่ ทุ ก คนไปทุ ก คนจะมี ค วามตั้ ง ใจ มี ประสบอุบัติเหตุล้มลงไปในกองไฟ เอาหน้าล้มลงไป ตั้งแต่อายุ ความสนุ ก สนาน คื อ อารมณ์ ก็ ส นุ ก ไปด้ ว ย อาจเป็ น ๕ ขวบ ตอนที่เราไปเจอ เราก็เอาเขามารักษาจนกระทั่งแก้ความ เพราะได้ อิ่ ม บุ ญ ท� ำ กุ ศ ล พิการได้ดี อันนี้ถือว่าเป็นผลประโยชน์ที่เราเข้าไป” ๔. “อาชีพแพทย์นั้นมีเกียรติ แพทย์ที่ดีจะไม่ร�่ำรวย แต่ก็ ไม่อดตาย ถ้าใครอยากร�่ำรวย ก็ควรเป็นอย่างอื่นไม่ใช่แพทย์ อาชีพแพทย์นั้นจ�ำต้องยึดมั่นในอุดมคติ เมตตากรุณา คุณ”

นอกจากเขาลงมาเอง จริงๆ เขามีบัตรประชาชนและบัตรประกัน สุขภาพบัตรทอง ๓๐ บาท แต่เขาจะลงมาใช้ตามโรงพยาบาล ชุมชนหรือสถานีอนามัยที่ใกล้ที่สุด แต่ใกล้ที่สุดธรรมดาถ้าเขา มีมอเตอร์ไซค์เขาก็เอาลงมาได้ แต่ถ้าฝนตกใกล้ที่สุดใช้เวลา ๘ ชั่วโมง เดินเท้านะครับ บางหมู่บ้านเฉลี่ยแล้วก็ประมาณนั้น” โรคที่พบคือ โรคทางเดินอาหาร โรคทางเดินหายใจ โรค ผิวหนัง และโรคกล้ามเนื้อในผู้ใหญ่ที่ใช้แรงงาน - เด็กๆ ที่ขาด สารอาหาร / การให้วัคซีนจะได้ครบตามก�ำหนด การเข้าไป หาประชาชนชาวไทยภูเขาท�ำให้ตระหนักได้ว่า ประเทศไทยมี ความเจริญมากมายหลายด้าน เคยได้รับยกย่องว่าเป็นอู่ข้าว อู่น�้ำ แต่ความจริงก็คือเรายังมีเด็กที่ป่วยเป็นโรคขาดสารอาหาร อีกมากมายในพื้นที่ห่างไกล

“ขอให้ถือประโยชน์ส่วนตน เป็นที่สอง ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์ เป็นกิจที่หนึ่ง ลาภ ทรัพย์ และเกียรติยศ จะตกแก่ท่านเอง ถ้าท่านทรงธรรมมะแห่งอาชีพ ไว้ให้บริสุทธิ์” พระอนุศาส์นของสมเด็จพระบรมราชชนก 57

issue 89 June 2015


ข้อความดังกล่าวของสมเด็จพระ มหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรม ราชชนก พระราชบิ ด าแห่ ง การแพทย์ ไทย คื อ หลั ก ที่ น ายแพทย์ พิ ษ ณุ แ ละ เหล่ า แพทย์ พอ.สว.ต่ า งยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ เพราะการท�ำงานของแพทย์ที่แท้จริงนั้น จ�ำเป็นต้องเห็นความทุกข์ของผู้อื่นเป็น สิ่งส�ำคัญกว่าตัวเองเสมอ นอกเหนือจาก การเดินเท้าแล้ว การท�ำหน้าที่ของแพทย์ ยังมีอีกมากมายในพื้นที่ต่างๆ ยังมีหน่วย แพทย์ จั ง หวั ด ที่ จ ะออกตรวจในพื้ น ที่ ทุรกันดารทุกวัน ซึ่งเราสามารถติดตาม การท�ำงานได้จากสถานีวิทยุกระจายเสียง แห่งประเทศไทยในช่วงเวลา ๖ โมงเช้า ซึ่งจะทราบว่าวันนี้หน่วยแพทย์ พอ.สว. จะออกไปพื้นที่ใดใน ๕๕ จังหวัด และมี หน่วยทันตกรรมเคลื่อนที่เพื่อประชาชน ผู้ด้อยโอกาสในเขตท้องถิ่นทุรกันดารซึ่ง ออก ๘ เดือนใน ๖ จังหวัด เช่น น่าน เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา เป็นต้น

“อี ก หน่ ว ยหนึ่ ง คื อ กิ จ กรรม รถทันตเคลื่อนที่ พอ.สว. ๑ ปีออกหน่วย ประจ� ำ ทุ ก เดื อ นตามแผนของจั ง หวั ด พอ.สว. แล้ ว เราส่ ง ที ม ไป อย่ า งหน่ ว ย ทั น ตกรรมเคลื่ อ นที่ เ พื่ อ ประชาชนด้ อ ย โอกาสในเขตท้องถิ่นทุรกันดารเรามีทีม ทันตแพทย์อาสาจากกรุงเทพฯ หรือต่าง จังหวัดก็ตามร่วมทีมไป ถ้าทันตแพทย์ พื้นราบเรามีรถบริการทันตกรรมเคลื่อนที่ ไปในจังหวัด มี ๒ คัน เรามีเจ้าหน้าที่คน ขับรถ และเจ้าหน้าที่ทันตกรรม ๑ คน แต่ทันตแพทย์เป็นของจังหวัด เขาเตรียม พื้นที่คือเราไปสนับสนุน” “จริงๆ แล้วผมคิดว่าคนเราเมื่อ ท� ำ งานทุ ก อย่ า ง จิ ต อาสาเป็ น พื้ น ฐาน

ของมนุ ษย์ ” เมื่ อถามถึง การมี จิต อาสา นายแพทย์พิษณุมองว่า ทุกคนอยากช่วย เหลือเพื่อนมนุษย์ แต่ต้องช่วยด้วยจิตใจ ที่ บ ริ สุ ท ธิ์ จิ ต ใจที่ มี คุ ณ ธรรม สิ่ ง เหล่ า นี้ จ ะเกิ ด ขึ้ น เองโดยไม่ มี ก ารบั ง คั บ หรื อ โฆษณาชวนเชื่อ แต่หลายคนอาจไม่ทราบ ว่ า จะช่ ว ยเหลื อ เพื่ อ นมนุ ษ ย์ ไ ด้ อ ย่ า งไร ทั้ ง ที่ ค วามจริ ง แล้ ว ยั ง มี เ พื่ อ นมนุ ษ ย์ ที่ ต้องการความช่วยเหลือ ยังด้อยโอกาส อีกมากมาย โดยเฉพาะในประเทศไทย ยังมีพื้นที่ที่ความเจริญเติบโตยังเข้าไม่ถึง ประชาชนยังเข้าไม่ถึงบริการของรัฐอย่าง เท่าเทียมกัน การช่วยให้ผู้ที่ด้อยโอกาส เข้ า ถึ ง บริ ก ารของรั ฐ ได้ โ ดยทางใดทาง หนึ่งก็ถือเป็นจิตอาสา

จิ ต อาสาผมว่ า ต้ อ งไปเน้ น ถึ ง การลดความเหลื่ อ มล�้ ำ อย่ า ไปคิ ด ว่ า รอให้ เขาดั้ น ด้ น ทุ ก ข์ ย ากแสนสาหั ส แล้ ว เราไปช่ ว ยโดยการบริ จ าค ซึ่ ง อั น นั้ น ช่ ว ยประเดี๋ ย วประด๋ า ว เราต้ อ งช่ ว ยให้ เ ขาเข้ า ถึ ง บริ ก ารอย่ า งเท่ า เที ย ม เป็ น ธรรม แล้ ว ก็ ส ามารถที่ จ ะอยู ่ ใ นสั ง คมต่ อ ไปได้ 58 IS AM ARE www.ariyaplus.com


นายแพทย์พิษณุเล่าว่า ทุกครั้งที่ออกเดินทางพวกเขา เหล่าแพทย์อาสาจากทั่วประเทศมีความปลอดภัยกลับมาหา ครอบครัวได้เสมอ พร้อมกับความสุขที่ได้รับจากการช่วยเหลือ ผู้ด้อยโอกาสบนป่าเขา คนเหล่านั้นก็คือคนไทย ผู้มีสิทธิ์การใช้ บริการของรัฐอย่างเท่าเทียม เพียงแต่ภูมิประเทศที่เขาอาศัยอยู่ ไม่สามารถเข้าถึงได้โดยง่าย จึงเป็นสิ่งที่จิตอาสาควรตระหนักถึง ความด้อยโอกาสทางสังคมตรงนี้ ประสบการณ์ที่ผ่านพบมา นายแพทย์พิษณุและแพทย์ อาสาต่างๆ เชื่อว่าเป็นเพราะพระบารมีของสมเด็จย่าที่คอย คุ้มครองพวกเขาให้รอดพ้นจากอันตรายต่างๆ ทั้งยังเป็นก�ำลัง ใจให้พวกเขาท�ำงานอาสาต่อไป “กระผมในนามของมู ล นิ ธิ ในฐานะรองเลขาธิ ก าร มู ล นิ ธิ พอ.สว. พวกเราทุ ก คนมี ส มเด็ จ ย่ า อยู ่ ใ นใจมาตลอด ถึ ง แม้ พ ระองค์ ท ่ า นจะสิ้ น พระชนม์ ไ ปแล้ ว ด้ ว ยบารมี แ ละ ปณิธานของสมเด็จย่า เราทุกคนอาสาสมัคร พอ.สว. ไม่เคยลืม และก็จะสืบสานปณิธานนี้ต่อไป โดยตั้งแต่องค์ประธานต่อจาก สมเด็จย่าคือสมเด็จพระพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรม หลวงนราธิ ว าสราชนคริ น ทร์ และองค์ ประธานองค์ป ัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษ์ อัครราชกุมารี พระองค์ท่านก็มีปณิธานแน่วแน่ที่จะดูแลพี่น้องประชาชนตามที่ ยากไร้ ฉะนั้นผมมีหน้าที่ถวายงานต่อองค์ประธาน ก็มีความตั้งใจ “บางครั้งเขาเข้าไม่ถึงแล้วเรามีอ�ำนาจหน้าที่ที่จะต้อง และจะท�ำงาน พอ.สว. นี้ด้วยความตั้งใจและทุ่มเทที่สุดครับ” ท�ำในสิ่งนั้นต่อประชาชน โดยเฉพาะทุกคนมันต้องตอบแทน ในวัย ๖๗ ปี ของนายแพทย์พิษณุ มณีโชติ เขายังคง บุญคุณแผ่นดินอย่างที่บอก โดยการไปช่วยเพื่อนมนุษย์ที่ด้อย เดินเท้าเข้าไปในพื้นที่ทุรกันดารทุกๆ ปี พร้อมกับเหล่าจิตอาสา โอกาส หรือประชาชนในแผ่นดินนี้นะครับ ซึ่งทุกคนสามารถ ผู้ไม่ยี่หระต่อความยากล�ำบาก เพื่อเติมเต็มให้กับประชาชน ช่วยได้ เพราะว่าเดี๋ยวนี้สื่อโซเชียลทั้งหลายมีให้ช่วยมาก แต่ว่า คนไทยที่ด้อยโอกาสกว่า การท�ำจิตอาสาในลักษณะนี้ต้องมี เราอย่าไปเพิกเฉย มีความตระหนักรับรู้เสมอว่ายังมีบุคคลที่ด้อย ขนาดหัวใจที่ใหญ่พอสมควร วันนี้หน่วยแพทย์เคลื่อนที่เดินเท้า โอกาสกว่าเราและรอคอยความช่วยเหลือ ซึ่งเรามีส่วนเกินอันใด พอ.สว. ยังคงเดินหน้าท�ำตามปณิธานของตนเองต่อไป คือช่วย ที่เราจะช่วยได้ก็พยายามช่วย เหลือเพื่อนมนุษย์ผู้ยากไร้ ซึ่งดูเหมือนว่าจะไม่มีวันหมดไปจาก จิตอาสาผมว่าต้องไปเน้นถึงการลดความเหลื่อมล�้ำ อย่า ประเทศไทยเสียที ไปคิดว่ารอให้เขาดั้นด้น ทุกข์ยากแสนสาหัสแล้วเราไปช่วยโดย เพลงพลังใจ การบริจาค ซึ่งอันนั้นช่วยประเดี๋ยวประด๋าว เราต้องช่วยให้เขา ดั ง สายลมที่ พั ด ผ่ า นลานป่ า เข้าถึงบริการอย่างเท่าเทียม เป็นธรรม แล้วก็สามารถที่จะอยู่ พาใบไม้ พ ลั ด ถิ่ น ในสังคมต่อไปได้” ดั่ ง สายน�้ ำ ที่ ไ หลริ น พั ด พา ๕. น� ำ ดวงใจฉั น มาใกล้ เ ธอ เส้ น ทางบางเส้ น ทางเต็ ม ไปด้ ว ยอั น ตราย คื อ ความหวั ง ดี ที่ เ ธอให้ สั ง คม สถานการณ์จริงที่หน่วยแพทย์เคลื่อนที่เดินเท้า พอ.สว. ต้องเต ฉั น ชื่ น ชมเธอเสมอ รี ย มรั บ มื อ ในขณะเดิ น เท้ า ไม่ มี ใ ครบอกได้ ว ่ า วั น ที่ พ วกเขา เพื่ อ พี่ น ้ อ งผู ้ ที่ ย ากไร้ ลงพื้นที่จะต้องพบเจอกับคนไข้รายใด และจะเจอเหตุการณ์ รวมดวงใจของเราฟั น ฝ่ า อะไรบ้าง เพลงโดย : พงษ์ เ ทพ กระโดนช� ำ นาญ 59 issue 89 June 2015


ปี ชวด

การงาน คุณมีดาวแห่งโชคในเดือนนี้ จึงเป็นเวลาดีที่จะแสดงตัวให้ปรากฎในที่ท�ำงาน อย่ามัวแต่รอให้เจ้านายมอบ หมายหน้าที่ คุณสามารถสร้างอาชีพคุณได้เอง ยิ่งคุณเป็นฝ่ายรุกมากเท่าไหร่ คุณก็ยิ่งก้าวหน้าเร็วขึ้นบนเส้นทาง อาชีพ คนปีชวดที่เชื่อมั่นตัวเองอย่างเต็มที่จะมีโอกาสก้าวหน้าครั้งส�ำคัญในอีกสามเดือนข้างหน้า ธุรกิจ การติดต่อธุรกิจจะไปได้สวย และยังมีโชคด้านผู้ชี้น�ำมาให้ในรูปของบุคคลที่มีอ�ำนาจหรืออิทธิพลซึ่งสามารถท�ำให้ชีวิตของคุณ เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ไม่ว่าคนผู้นี้จะเป็นคนที่คุณไปขอค�ำแนะน�ำ หรือคนที่มีลักษณะเป็นพี่ใหญ่ที่หาทางช่วยเหลือคุณได้ ก็ควรรับ ข้อเสนอด้วยความซาบซึ้ง ความรัก ไม่ว่าคุณจะโสด มีคนรัก หรือแต่งงานแล้วก็ตาม นิสัยที่ดีของคุณท�ำให้ผู้อื่นอยากคบหา แม้ว่าคุณจะชอบอยู่เงียบๆ ตอนกลางคืน อย่าปฎิเสธค�ำเชิญไปงานเลี้ยงสังสรรค์หรืองานสังคม โอกาสรอคุณอยู่ข้างนอก การศึกษา เด็กปีชวดจะได้รับประโยชน์จากโชคด้านผู้ชี้น�ำ คนที่มีอาจารย์ ครู หรือใครก็ตามที่มีลักษณะเช่นนี้เป็นตัวแบบและให้ ค�ำแนะน�ำมีแนวโน้มจะได้เปรียบคนที่ไม่มี คนที่ต้องตัดสินใจเรื่องส�ำคัญควรปรึกษาทางเลือกของคุณกับคนอื่นนอกจากเพื่อนและ กลุ่มคนรุ่นราวคราวเดียวกัน

ปี ฉลู

การงาน การมองโลกในแง่ดีของคุณท�ำให้คุณมีความสุขกับทุกอย่างที่ท�ำ คุณจะพบว่าตัวคุณเป็นที่ชื่นชอบในหมู่ เพื่อนร่วมงานมากขึ้น พยายามผูกมิตรรายใหม่ หรือตั้งใจท�ำความรู้จักกับเพื่อนร่วมงานบางคนให้ดีกว่าเดิม โชค ด้านมิตรภาพดีมากส�ำหรับคนปีฉลูในเดือนนี้ ธุรกิจ คุณมีโอกาสจะได้พบคนรู้จักเก่าแก่ อาจน�ำคุณไปพบกับเส้นทางที่น่าสนใจ โอกาสใหม่ๆ ปรากฎขึ้นในแบบที่ไม่คาดคิดและ จากแหล่งที่คาดไม่ถึง ก่อนที่คุณจะเมินความคิดที่ดูเหมือนเป็นไปไม่ได้ ข้อตกลงที่ท�ำก�ำไรงามอาจอยู่ใกล้คุณแค่เอื้อม จนคุณอาจ เสียใจที่พลาดโอกาสเมื่อมองย้อนกลับไป จงกล้าหวังให้สูง ความรัก หากรักคือสิ่งที่คุณก�ำลังเสาะหา ตอนนี้คุณจะได้รับอย่างจุใจ คนโสดปีฉลูจะมีทางเลือกมากมายจนคุณเริ่มสับสน หากคุณ ได้เลือกใครสักคนที่คุณชอบแล้ว เดินหน้าลุยได้เลย มิฉะนั้นโอกาสอาจผ่านเลยไป เดือนนี้คุณสามารถแสดงความรู้สึกได้มากเท่าที่ ใจอยากโดยไม่ต้องกังวลสายตาคนอื่น ความปลอดภัย เด็กปีฉลูบางคนอาจเริ่มทบทวนสิ่งที่คุณได้เรียนรู้ ตอนนี้จึงเป็นเวลาที่ดีมากส�ำหรับการสอบ การสมัครชิงทุนหรือ แข่งขันในทางด้านวิชาการ คุณมีโชคด้านการศึกษาอยู่ในมือ ควรกระตือรือร้นและกระตุ้นตัวเองในด้านการเรียนไว้เสมอ

ปี ขาล

การงาน คือเวลาเป็นมงคลส�ำหรับคนปีขาลที่พร้อมจะลุยไปข้างหน้า คุณมีความเหมาะสมที่จะรับผิดชอบงานมากขึ้น โดยเพื่อนร่วมงานไม่รู้สึกอยากแข่งขันด้วย คุณจัดการความสัมพันธ์กับเจ้านายและเพื่อนร่วมงานได้ดี ท�ำให้เจ้านาย ประทับใจโดยไม่ท�ำให้คู่แข่งต้องอิจฉา จงรักษาความซื่อตรง ยิ่งคุณใจกว้างมากเท่าไหร่ยิ่งได้รับมากเท่านั้น ธุรกิจ มีโอกาสพบเพื่อนเก่าที่พาไปรู้จักเพื่อนใหม่ๆ ที่สามารถช่วยธุรกิจของคุณได้ สานสัมพันธ์ผู้คนใหม่ๆให้เต็มที่ เพื่อสร้างเครือข่าย ที่ส�ำคัญในอนาคตอันใกล้นี้ โชคด้านธุรกิจจะมากับความสามารถในการเข้ากับผู้คนที่หลากหลายได้อย่างดี พลังด้านบวกของคุณคือ ทรัพย์สมบัติที่ดีที่สุดในตอนนี้ ความรัก คุณเข้ากับทุกคนได้และยังเข้าใจกันลึกซึ้งได้อย่างรวดเร็ว คุณมีชีวิตชีวาตามธรรมชาติและควบคุมพลังงานให้เข้ากับสถานการณ์ ได้ ด้วยเหตุนี้คุณจึงมีเสน่ห์ดึงดูดที่ไม่เหมือนใคร ท�ำให้ผู้อื่นอดไม่ได้ที่จะหลงใหลคุณ จงใช้เวลานี้เพื่อบ่มเพาะมิตรภาพหรือพัฒนาความ สัมพันธ์ให้ลึกซึ้งจริงจังยิ่งขึ้น การศึกษา ตอนนี้เป็นเวลาดีส�ำหรับการสอบสมัครชิงทุน หรือแข่งขันชิงรางวัลด้านวิชาการ สวมจี้ 4 สัญลักษณ์แห่งวิชาการไว้ เพื่อเสริม พลังให้ดาวแห่งการศึกษาในผังดวงชะตาของคุณในเดือนนี้ 60 IS AM ARE www.ariyaplus.com


wheel of life

ปี เถาะ

การงาน เป็นเดือนส�ำหรับการมองไปข้างหน้าบนเส้นทางอาชีพ อาจเป็นเวลาที่จะก้าวไปสู่งานในระดับใหม่และยาก ขึ้น ท�ำความรู้จักกับเพื่อนร่วมงานให้ดี หาทางท�ำให้เจ้านายประทับใจด้วยการท�ำตัวให้น่าไว้วางใจคุณต้องท�ำงาน แทนเพื่อร่วมงานบ้าง เพื่อการช่วยเหลือกลับในอนาคต ธุรกิจ เป็นเวลาที่ดีส�ำหรับเริ่มต้นกิจกรรมหรือโครงการใหม่ๆ การเป็นหุ้นส่วนกับคนที่เหมาะสม หรือวางตลาดผลิตภัณฑ์ใหม่ เป็นเวลาที่ดีในการเจรจาประเด็นที่ส�ำคัญ เพราะมีโอกาสมากที่การต่อรองจะเข้าข้างคุณ หากมีข้อเสนอจะยื่นให้ใครสักคนควร วางแผนลงมือในเดือนนี้ ความรัก ผู้ที่มีคนพิเศษจะมีความสุขกับเวลาที่ใช้ร่วมกัน คุณจะมีความสุขที่สุดเมื่อได้อยู่กับคนรัก คนที่ก�ำลังคบหาใครอยู่ มีโอกาส สูงมากจะพัฒนาความสัมพันธ์ไปสู่ระดับใหม่ ตอนนี้เป็นเวลามงคลส�ำหรับหมั้นหมาย แต่งงาน คนโสดจะพบคนที่คุณจะรักได้ไม่ยาก และจะมีความสุขที่สุดเมื่อได้ลงเอยกัน การศึกษา เป็นเดือนที่ยอดเยี่ยมส�ำหรับนักเรียน คนที่ก�ำลังจะสอบสามารถท�ำคะแนนได้ดีเยี่ยม อย่าโหมอ่านต�ำราในนาทีสุดท้าย ตั้งใจเรียนอย่างสม�่ำเสมอ คุณจะได้มีเวลาเหลือพอจะพักผ่อนให้เต็มที่ก่อนสอบแต่ละครั้ง คุณมีความสามารถในหลายด้าน ไม่ควร จ�ำกัดตัวเองอยู่แต่ในเรื่องการเรียน

ปี มะโรง

การงาน คุณพร้อมที่จะลุย จนผู้อื่นมองว่าตัวเองท�ำงานช้ากว่าคุณ คุณต้องเข้าใจเพื่อนร่วมงานของคุณบ้าง เพราะพลัง ทีมเป็นสิ่งที่ค่อนข้างส�ำคัญต่อความส�ำเร็จ อย่าท�ำให้เพื่อนร่วมงานเลิกสนับสนุนเพราะความใจร้อนของคุณ ต้องยอมรับ ว่าทุกคนท�ำงานเร็วช้าไม่เท่ากัน คนเก่งคือคนปรับความต่างให้กลายเป็นพลังของทีมที่ยิ่งใหญ่ หากเจ้านายหนุนหลังคุณ อาจมีคนอิจฉาเพิ่ม ธุรกิจ โชคดีมากในเรื่องธุรกิจ เป็นเวลากระชับความสัมพันธ์กับผู้ร่วมธุรกิจให้ลึกซึ้ง และเป็นเวลาดีที่จะขยายวงเครือข่ายของคุณ จะมีพัฒนาการที่น่าตื่นเต้นรออยู่ มีโอกาสใหม่ๆ เข้ามา จึงไม่ใช่เรื่องยากที่คุณจะก้าวไปตามสถานการณ์และคว้าสิ่งต่างๆ ที่เข้ามา ความรัก ทุกสิ่งทุกอย่างดูรวดเร็วไปหมดส�ำหรับคนปีมะโรง ช่วงเวลาที่แสนสนุกสนานรอคุณอยู่แต่คุณจะมีความสุขมากน้อยเพียง ใด ขึ้นอยู่กับท่าทีและความปรารถนาของคุณ จงตัดสินใจตามสถานการณ์ของคุณ อย่าคาดหวังว่าใครบางคนจะรอคุณได้ตลอดไป การศึกษา แม้ว่าคุณจะมีพลังมากมาย แต่ก็คงไม่ดีนักที่จะท�ำหลายสิ่งหลายอย่างมากเกินไป จงตั้งใจท�ำไม่กี่อย่าง แล้วท�ำให้ดีไปเลย ดีกว่า

ปี มะเส็ง

การงาน บุคลิกที่โดดเด่นและโชคในเดือนนี้สามารถสร้างความเชื่อมั่นได้ มีผู้คนยกย่องทั้งเจ้านายและผู้ที่มีต�ำแหน่ง สูงกว่าต่างสะดุดตาคุณ เพื่อนร่วมงานก็ทึ่งในตัวคุณ คุณเป็นที่ต้องการในทุกทางโดยเฉพาะด้านการงาน ใช้ประโยชน์ จากเดือนนี้ให้เต็มที่เพื่อสร้างความประทับใจที่ยั่งยืน ธุรกิจ การท�ำประชาสัมพันธ์และการส่งเสริมการขายในเดือนนี้จะได้ผลดีในระยะยาว เป็นเวลาดีที่จะท�ำตัวให้เด่นขึ้น สติปัญญาของ คุณแหลมคมและคุณก็มีความกล้าอย่างน่าอิจฉา ท�ำให้ผู้อื่นมั่นใจในตัวคุณ ผู้ที่สามารถช่วยคุณได้ก็พร้อมรับฟังคุณ ลองหากลยุท์ที่ ชัดเจนและให้ผลดีแก่ทุกฝ่าย ความรัก หากคุณยังโสด คุณอาจไม่โสดอีกต่อไปในช่วงปลายเดือน คุณจะพบว่าตัวเองตกหลุมรักอย่างง่ายดายโดยไม่คาดคิด คนปี มะเส็งมีอ�ำนาจควบคุมความสัมพันธ์อยู่มาก คนที่แต่งงานแล้ว ต้องพยายามเติมรสชาติให้ความสัมพันธ์ ก่อนเกิดการนอกใจขึ้นได้

61 issue 89 June 2015


ปี มะเมีย

การงาน งานของคุณอาจเครียดเพราะการนินทาว่าร้ายมากเกินไป พยายามอย่าเข้าไปร่วมวงสร้างข่าวลือ อย่าใกล้ ชิดกับเพื่อนร่วมงานมากเกินไป อย่าพูดคุยถึงเรื่องส่วนตัวมากเกินไปในที่ท�ำงาน ควรแยกเรื่องที่บ้านออกจากเรื่อง ที่ท�ำงานเพื่อไม่ให้คู่แข่งเก็บอาวุธมาเล่นงานคุณได้ อย่าหักโหม ไม่ควรท�ำงานติดต่อกันหลายชั่วโมงเกินไป เพราะความผิดพลาดมีสูง ธุรกิจ ในเดือนนี้ควรอยู่เงียบๆ ไว้ ไม่ควรจัดงานใหญ่ เลื่อนการเปิด การวางตลาด และการลงนามในข้อตกลง หรือเหตุการณ์ส�ำคัญ ต่างๆ ออกไปจนกว่าจะถึงเดือนหน้า ทางที่ดีควรรักษาสภาพการณ์ที่คุณสร้างมาก่อนไว้ แทนที่จะพยายามเปลี่ยนเส้นทางในตอนนี้ คิด เสียว่าช่วงนี้คือเวลาเสริมความแกร่งและวางแผนส�ำหรับอนาคต จงใช้เวลานี้เพื่อสร้างทีมหากคุณอยู่ในธุรกิจที่มีการแข่งขันสูง ความรัก อาจมีความผิดหวัง มีอันตรายจากการนอกใจ ยิ่งหากคุณสนใจสิ่งอื่นมากเกินไป อาจท�ำให้คู่ของคุณห่างเหินกัน หากยังอยู่ ในขั้นคบหาดูใจแต่สิ่งต่างๆ เริ่มทุลักทุเลเกินไป ก็อาจได้เวลาต้องจากลากัน ผู้ที่แต่งงานแล้วพยายามกันเวลาจากเรื่องงานและชีวิตคู่ ของคุณ อดทนกับคู่ครองของคุณให้มากขึ้น การศึกษา เด็กปีมะเมียจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องพักผ่อนให้เพียงพอ แม้ว่าอาจมีอะไรมากมายที่คุณต้องท�ำให้ส�ำเร็จก็ตาม คุณจะท�ำงาน ได้มีประสิทธิภาพมากขึ้นและได้ผลลัพธ์ที่ดีขึ้นด้วย หากคุณมีเวลาในการให้อาหารสมองและร่างกายได้พักผ่อนอย่างเต็มที่ในแต่ละคืน

ปี มะแม

การงาน เดือนนี้ค่อนข้างหนักในเรื่องการงาน คนที่ต้องปั่นงานให้ทันเส้นตายอาจพบการผิดพลาดบ้าง และยังมีเรื่อง ต่างมากมายให้คิด พยายามจัดล�ำดับความส�ำคัญของงานทีละชิ้น อย่ากลัวปริมาณงานที่มาก หากคุณจัดล�ำดับเพียง คุณรู้ว่าสิ่งส�ำคัญใดอยู่อันดับแรก คุณก็จะบริหารเวลาได้ดีมากขึ้น ธุรกิจ เดือนนี้ต้องรอบคอบ การเสี่ยงอาจเป็นผลเสียต่อคุณ คุณไม่มีโชคในเดือนนี้จึงควรเลือกทางที่ปลอดภัยกว่าทุกครั้งที่ตัดสินใจ ยึดมั่นกับสิ่งที่คุณรู้จักดีแล้วและท�ำให้ดีที่สุด ให้ความส�ำคัญกับการปฎิบัติงานในองค์กรและปรับปรุงด้านนี้แทนที่จะพาตัวเองไปสู่สิ่ง ที่คุณไม่รู้จักเลย ความรัก คุณอาจไม่มีเวลาพอที่จะตามใจตัวเองในเรื่องหัวใจ ชีวิตรักจึงอาจตกเป็นรองเรื่องงาน ชีวิตมีแต่ต้องเลือก และคุณอาจต้อง ตัดสินใจเรื่องความสัมพันธ์ด้วยความกล�้ำกลืน หากไม่มีเวลาให้คนรักเท่าที่ต้องการ ก็ควนใช้เวลาเท่าที่มีให้มีความหมาย เพราะเดือน ไม่ดีนักในเรื่องความรัก หลีกเลี่ยงการหมั้นหมาย และแต่งงานจนกว่าจะถึงเดือนหน้า

ปี วอก

การงาน การงานของคุณอาจไม่รื่นรมณ์ เพราะพลังที่ไม่เป็นมิตร มีความเสี่ยงต่อการทรยศหักหลัง ต้องระวังการ ลอบกัด อย่าไว้ใจคนอื่นง่ายไป ควรไว้ใจตัวเองมากกว่า ระวังคู่แข่งในที่ท�ำงาน อาจเพิ่มขึ้นในช่วงนี้ แม้จะไม่มีใคร ตั้งใจให้เกิด แม้แต่คนที่เคยร่วมงานกับคุณด้วยดีในอดีตก็อาจภายด้านมืดออกมา อย่าโอ้อวดความส�ำเร็จของคุณ ธุรกิจ อย่าเสี่ยงในเดือนนี้ คุณไม่มีโชคในความเป็นไปได้ แม้โอกาสจะเข้าข้างคุณแต่คุณก็อาจเสียดั้ ปลอดภัยไว้ก่อนและเน้นการเสริม ความแกร่ง แทนที่จะมองหาความเติบโต รักษาสิ่งที่คุณมีอยู่แล้ว อย่าพาตัวเองไปสู่สถานการณ์ที่คุณไม่รู้จัก ไม่ใช่เวลาที่ดีที่จะท�ำข้อ ตกลงใหม่หรือร่วมหุ้นใหม่ ปลอดภัยไว้ก่อน อดทนรอเวลาของคุณ ความรัก ชีวิตส่วนตัวคุณอาจมีความส�ำคัญน้อยกว่าเรื่องงาน ส่งผลให้ความสัมพันธ์ของคุณมีปัญหา คุณจะพบทางเลือกที่ตัดสินใจได้ ยากในเดือนนี้ บางทีอาจไม่ใช่เวลาที่ดีส�ำหรับการคบหากัน เพราะคนที่คุณคบอาจรู้สึกว่าคุณไม่ใส่ใจ คุณต้องใช้เวลาที่มีอยู่หล่อเลี้ยง ความรักให้คุ้มค่า คนแต่งงานแล้วอย่าหว่านเสน่ห์ในที่ท�ำงานถ้าไม่อยากให้ครอบครัวล้ม การศึกษา มีช่วงติดขันในชีวิตการเรียน ต้องพยายามมากขึ้นกับการเรียนในตอนนี้ แม้จะมีเรื่องต่างๆ มารบกวนใจ ท�ำให้ยากที่จะจดจ่อ อยู่กับการเรียน แต่คุณต้องตั้งสติให้ได้ยิ่งหากคุณก�ำลังจะมีการสอบที่ส�ำคัญ 62 IS AM ARE www.ariyaplus.com


wheel of life

ปี ระกา

การงาน ที่ท�ำงานจะเต็มไปด้วยความท้าทาย ส่วนใหญ่เป็นเรื่องการเข้ากับคนอื่นให้ได้ การท�ำงานกับผู้อื่นไม่ใช่จุด เด่นของคุณในเดือนนี้ ควรใช้เวลาประชุมหารือหรือท�ำงานเป็นทีมให้น้อยที่สุด พยายามไม่แสดงความคิดเห็นหาก คุณไม่สามารถพูดอย่างสุภาพเป็นมิตรได้ เป็นเวลาที่คุณต้องการเพื่อนมากกว่าศัรตู จงระวังทุกย่างก้าว ธุรกิจ คุณต้องระวังอย่าท�ำผิดกฎหมาย ต้องรอบคอบเป็นสองเท่าเมื่อร่างข้อตกลงต่างๆ ไม่ควรท�ำสัญญาหรือข้อตกลงใหม่ หากมี ปัญหาทางกฎหมายเกิดขึ้นควรชะลอกระบวนการต่างๆ ไปจนกว่าจะถึงเดือนหน้า รักษาสภาพที่มีอยู่เดิมไว้ก่อน ควรระวังเมื่อติดต่อ กับคนภายนอก โดยเฉพาะคนหน้าใหม่ ความรัก อย่าคาดหวังว่าความสัมพันธ์จะราบรื่นในเดือนนี้ บรรยากาศเต็มไปด้วยความก้าวร้าวรุนแรง จึงยากที่จะแก้ไข คนที่เริ่มต้น ความสัมพันธ์ใหม่ราบรื่นกว่าคนที่แต่งงานแล้ว แต่ก็อาจมีเรื่องระหองระแหงได้ ไม่ควรเดินหน้าเร็วเกินไปกับความสัมพันธ์ใหม่ ที่จริง สิ่งต่างๆ อาจดีขึ้นถ้าคุณไม่พบกันสักระยะ ให้แต่ละฝ่ายได้มีพื้นที่ส่วนตัว การศึกษา ไม่ใช่เดือนที่สบายเลยในทุกด้าน เด็กๆ จะพบความยากล�ำบาก คุณอาจมีเรื่องขัดแย้งกับทุกคน แม้แต่ครู เก็บความไม่พอใจ ไว้แล้วตั้งใจเรียนต่อไป ใช่ว่าทุกคนจะชอบในสิ่งที่คุณท�ำตลอดเวลา แต่หากคุณทุ่มเทให้กับงานคุณจะท�ำส�ำเร็จ

ปี จอ

การงาน คุณมีโชคด้านการงาน แต่อุปสรรคเกิดขึ้นจากปัญหาสุขภาพ คุณจะรู้สึกเหนื่อยง่ายกว่าปกติ จึงต้องระวังอย่า รับงานมากจนท�ำไม่ไหว แบ่งเวลาให้เหมาะสมแทนที่จะลุยท�ำงานไปเรื่อยๆ คุณจะพบโอกาสดีๆ เข้ามา แต่หากคุณลา ป่วยหรือรู้สึกไม่ค่อยสบายอาจเห็นโอกาสหลุดลอยไป สิ่งส�ำคัญที่สุดคือรักษาสุขภาพให้ดี ธุรกิจ โชคด้านธุรกิจอยู่ในเกณฑ์ดี การท�ำธุรกิจร่วมกันอาจน�ำไปสู่โอกาสที่ดีในระยะยาว พลังในเดือนนี้ให้ผลดีกับการร่วมทีม แต่ต้อง กับคนที่เหมาะสมเท่านั้น จงเชื่อสัญชาตญาณในการตัดสินใจคนที่จะมาเป็นหุ้นส่วน หากรู้สึกไม่ชอบมาพากลควรถอนตัว มีโอกาสที่ คุณจะได้พบหุ้นส่วนที่เป็นเพื่อนกันได้นอกที่ท�ำงาน ความรัก คนที่มีคู่แล้วจะพบว่าอีกฝ่ายให้การสนับสนุนเป็นอย่างดี คุณโชคดีที่อยู่เป็นคู่มากกว่าตัวคนเดียว คนที่ยังโสด คุณจะดึงดูดคน ให้มาตกหลุมรักได้ไม่ยาก ปัญหาอย่างเดียวคือคุณมีแนวโน้วไม่มีแรงไปคบหากับใคร นอกจากเวลาต่างๆ จะเกิดขึ้นโดยคุณเองไม่ต้อง ใช้ความพยายามมากนัก คุณต้องคอยเปิดใจไว้ การศึกษา การเรียนเป็นเรื่องง่ายส�ำหรับคนที่ไม่มีไฟ แต่โดยรวมพลังงานของคุณต�่ำลง ควรมีสมาธิที่จะท�ำไม่กี่อย่างให้ดี แล้วคุณจะ ประสบความส�ำเร็จ ตอนนี้เป็นเวลาดีที่จะคบหาเพื่อนใหม่ คุณจะพบว่าการเรียนเป็นกลุ่มให้ผลดีและสนุกกว่า ลองดูสิ

ปี กุน

การงาน คนตั้งใจท�ำงานมีโอกาสเข้าตาบุลคลส�ำคัญ แม้จะพบการแข่งขันที่ไม่คาดคิด แต่ความมั่นใจของคุณจะเพิ่ม ขึ้นจากค�ำชม จงใช้ความฮึกเหิมพลักดันตัวเองต่อไป ความคิดของคุณมีพลังมากควรใช้ให้เกิดประโยชน์ สุปสรรคใน การท�ำงานจะเกิดจากปัญหาสุขภาพ คุณอาจรู้สึกเหนื่อยง่าย จึงอย่าให้ค�ำสัญญาหรือรับงานมากเกินไป ธุรกิจ พลังในเดือนนี้เอื้อต่อการร่วมธุรกิจกับหุ้นส่วนที่เหมาะสม หากคุณมีบุคคลที่เหมาะสมแล้ว คุณจะประสบความส�ำเร็จดั้อย่าง งดงาม ปล่อยตัวตามสถานการณ์บ้าง ตอนนี้เป็นเวลาดีที่จะส�ำรวจทิศทางใหม่ๆ สิ่งส�ำคัญคือต้องมีคนที่เหมาะสม คุณเชื่อสัญชาตญาณ ของตัวเองได้ในการตัดสินใจ ความสัมพันธ์ที่ดีจะสร้างหุ้นส่วนที่ให้ผลดีแก่คุณ ความรัก คนที่ยังโสดจะพบช่วงเวลาแห่งความสุข สนุกกับการคบหาดูใจพอๆ กับการผูกพันจริงจังในที่สุดอย่าตกลงปลงใจเร็วเกินไป ปล่อยให้ความรักค่อยๆ เติบโตอย่างมั่นคง คนที่แต่งงานแล้วคู่ครองของคุณจะให้การสนับสนุนและเป็นเพื่อนที่ดี เป็นเวลาที่ดีส�ำหรับ เที่ยวพักผ่อน แต่ต้องระวังคนนอกสร้างความวุ่นวายให้ชีวิตคู่ การศึกษา อาจเป็นเรื่องยากที่จะตั้งสมาธินานๆ เพิ่มความสามารถของคุณให้เต็มที่ด้วยการพักผ่อนเป็นระยะ แบ่งเวลาเรียนและเล่น ให้สมดุล ช่วงเวลาสอบอย่าโหมอ่านหนังสือทั้งคืนจนนาทีสุดท้ายก่อนสอบ การพักผ่อนให้เต็มที่ก่อนสอบส�ำคัญกว่า 63 issue 89 June 2015


ประสบการณ์สอนชีวิต

จากน�้ำตาและความเจ็บปวด 64 IS AM ARE www.ariyaplus.com


เรื่ อ งเล่ า ...เยาวชน

บาง

นั้นและหวังว่ามันจะเป็นแค่ความฝัน แต่มันกลับเป็นความจริง คงไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้นกับตัวเองใช่ไหมคะ? ประสบการณ์ ค รั้ ง นี้ เ ป็ น ประสบการณ์ ที่ มี ค ่ า มาก ที่ สุ ด เพราะต้ อ งแลกด้ ว ยน�้ ำ ตา ความเจ็ บ ปวด และการ สู ญ เสี ย ก็ อ ย่ า งที่ บ อกไปตอนต้ น ค่ ะ ประสบการณ์ บ าง ประสบการณ์แค่ฟังจากคนบอกเล่าก็พอไม่ต้องรอให้มันเกิด กับตัวเองหรอกค่ะ และประสบการณ์ครั้งนี้สอนให้รู้ว่า ไม่มีใคร สามารถล่วงรู้อนาคตที่จะเกิดได้ นาฬิกาของเราและคนที่เรารัก ต่างเดินไม่เท่ากัน ใครจะรู้ในขณะที่เวลาของเราก�ำลังเดินไปข้าง หน้า แต่ของคนที่เรารักอาจจะก�ำลังเดินถอยหลังอยู่ก็ได้ และเรา ไม่มีทางรู้ว่ามันจะหยุดลงเมื่อไหร่ สิ่งเดียวที่เราสามารถท�ำได้ คือ การท�ำให้ทุกวันเป็นเหมือนวันสุดท้ายของชีวิต ท�ำชีวิตให้มี คุณค่า บอกรักและทดแทนบุญคุณของผู้มีพระคุณของท่านแล้ว ท่านจะไม่รู้สึกเสียใจหรือเสียดายหากวันนั้นมาถึงจริงๆ เพราะ เวลาเมื่อผ่านแล้วจะไม่สามารถหมุนกลับไปเริ่มใหม่ได้

ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ เ กิ ด ขึ้ น จ า ก ก า ร ที่ เ ร า สัมผัสเอง บางประสบการณ์เกิดขึ้นจากการ บอกเล่าของคนอื่น บางประสบการณ์เราอยากให้มันเกิดขึ้น บาง ประสบการณ์เราไม่อยากให้เกิดขึ้นเลย ส�ำหรับประสบการณ์ ที่ดิฉันจะเล่าครั้งนี้มันเป็นประสบการณ์ที่ดิฉันไม่เคยอยากให้ มันเกิดขึ้น และไม่คิดว่ามันจะเกิดขึ้นรวดเร็วอย่างนี้ ต้องขอเกริ่นเรื่องก่อนนะคะ ว่าดิฉันเกิดในครอบครัว single mom แม่ดิฉันเป็นผู้เลี้ยงดิฉันผู้เดียวมาตลอด 16 ปี และ มีน้องชายอยู่ 1 คน ตอนนั้นก็ยังอายุ 6 ขวบเป็นน้องชายคนละ พ่อค่ะ ตอนนี้ดิฉันอายุ 19 ปีและน้องก็ 9 ปีแล้วค่ะ เข้าเรื่องกัน ดีกว่า คุณเคยคิดเรื่องการทดแทนพระคุณพ่อแม่ผู้ให้ก�ำเนิดกัน ไหมคะ? ถามแปลกใช่ไหมคะ ทุกคนก็ต้องตอบว่าคิดอยู่แล้ว ล่ะ แล้วเมื่อไหร่ล่ะ? บางคนก็คงตอบว่า รอโตก่อน รอมีงาน ท�ำก่อน รอพ่อแม่แก่ก่อน รอๆๆ แล้วคุณแน่ใจได้อย่างไรว่าจะ มีวันนั้นจริงๆ? เมื่อสามสี่ปีก่อนดิฉันก็มีความคิดเช่นเดียวกับพวกคุณ นั่นแหละค่ะ แต่เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2555 ท�ำให้ดิฉันต้อง ล้มเลิกความคิดนี้ไปเลย คุณแม่ดิฉันเข้าโรงพยาบาลเพราะเกิด อาการเจ็บตรงซี่โครงด้านขวา และผลออกมาว่า คุณแม่เป็น มะเร็งปอด นั่นยังคงไม่น่าตกใจเท่าบอกว่า เป็นระยะสุดท้าย คุณแม่เป็นมะเร็งปอดขั้นสี่ค่ะ ตอนที่ทราบเรื่องดิฉันรู้สึกเหมือน โลกก�ำลังพังทลาย อนาคตที่หวังจะดูแลทดแทนบุญคุณแม่ถูก ท� ำ ลาย ท� ำ ไมเรื่ อ งเหล่ า นี้ ต ้ อ งเกิ ด ขึ้ น กั บ ครอบครั ว ของดิ ฉั น ท�ำไมต้องเป็นพวกเราที่ต้องเจอเรื่องร้ายๆ อย่างนี้ ความสับสนเริ่มเข้ามา ดิฉันควรจะท�ำอย่างไรต่อไปดี แม่ ต้องรักษาอะไรบ้าง แม่จะหายไหม เราพยายามท�ำทุกวิธีที่จะ ท�ำให้แม่ดีขึ้น ไม่ว่าจะเป็นคีโม เคมีบ�ำบัด ฉายแสง หรือแม้แต่ ไปหาพระดังๆ ที่เคยมีคนบอกว่าไปแล้วดีขึ้น แต่ทุกอย่างที่ท�ำ กลับไม่ดีขึ้นเลย แม่ของดิฉันอาการทรุดลง เพียงผ่านมา 3 เดือน เท่านั้น ในวันที่ 26 มกราคม 2556 แม่ก็จากพวกเราไป มันเร็ว มากๆ เลยค่ะ เร็วมากจริงๆ ตอนนั้นดิฉันไม่อยากรับรู้อะไรทั้ง

(น้องชายบวชให้แม่ในวันในวันที่ 26 มกราคม 2556) โดย นางสาว ภิชญาภัค คงธนธ�ำรง (มุก) โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

65 issue 89 June 2015



67 issue 89 June 2015


68 IS AM ARE www.ariyaplus.com


69 issue 89 June 2015


70 IS AM ARE www.ariyaplus.com



72 IS AM ARE www.ariyaplus.com


73 issue 89 June 2015


74 IS AM ARE www.ariyaplus.com


75 issue 89 June 2015


The best way to predict the future is to invent it. “วิ ธี ที่ ดี ที่ สุ ด ในการท� ำ นายอนาคตก็ คื อ การสร้ า งมั น ขึ้ น มา” อ่านต่อ : www.thaiquip.com

76 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ให้พอเพียงนี้ก็หมายความว่า มีกินมีอยู่ ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่หรูหราก็ได้ แต่ว่าพอ พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่คณะบุคคลต่างๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคล เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต วันศุกร์ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑

77 issue 89 June 2015


78 IS AM ARE www.ariyaplus.com


10 ค�ำสอนของหลวงพ่อคูณ

1

ยิ่ ง เอามั น ยิ่ ง อด ยิ่ ง สละให้ ห มด มั น ยิ่ ง ได้

4 6

2

กู ใ ห้ พ วกมึ ง รู ้ จั ก พอเพี ย ง

กู ไ ม่ เ คยยิ น ดี ยิ น ร้ า ย ในลาภยศสรรเสริ ญ

เงิ น เป็ น ทาสกู กู ไ ม่ ย อมเป็ น ทาสเงิ น

8 10

5 7

3

กู ท� ำ ดี เขาจึ ง ให้ ของดี กู ม า

กู ดี ใ จที่ เ กิ ด มาเป็ น คนจนเพราะได้ ส ร้ า ง ทานบารมี ถ้ า กู เ กิ ด มาเป็ น คนรวยป่ า นนี้ ค� ำ ว่ า บุ ญ ก็ ไ ม่ รู ้ จั ก กั น

การท� ำ ตั ว ให้ เ ป็ น ผู ้ ยิ่ ง ใหญ่ นั้ น ง่ า ย แต่ จ ะสร้ า ง สมบุ ญ ให้ มี บ ารมี นั้ น เป็ น เรื่ อ งยาก ต้ อ งเป็ น ผู ้ ใ ห้ ด้ ว ยธรรมอั น บริ สุ ท ธิ์ จ ริ ง

9

กู จ ะท� ำ ให้ ช าวบ้ า น เพื่ อ ตอบแทนข้ า วน�้ ำ ที่ เ ขาให้ กู กิ น ทุ ก วั น

เกิ ด มาแล้ ว …รั ก ความสงบ ให้ มี ศี ล ธรรมไว้ ป ระจ� ำ ใจทุ ก ๆ คน โลกจะได้ อ ยู ่ ชุ ่ ม กิ น เย็ น

พระไม่ ไ ด้ อ ยู ่ กั บ คนชั่ ว แต่ อ ยู ่ กั บ คนดี ให้ นึ ก ว่ า พระมากั บ เราจะท� ำ ชั่ ว ไม่ ไ ด้ อย่ า ท� ำ ตั ว ผิ ด ศี ล ธรรม ผิ ด จารี ต ประเพณี โดยเฉพาะการท� ำ ผิ ด กฎหมายบ้ า นเมื อ ง ให้ ตั้ ง อยู ่ ใ นความ ไม่ ป ระมาท

79 issue 89 June 2015


ทรู คอฟฟี่ ย�้ำความแรงเครื่องดื่มนิชิโอะมัทฉะ ชวนลัดฟ้าสู่ดินแดนชาเขียว สัมผัสประสบการณ์พรีเมียม ชง ชิ ม ชิ ลล์6 วัน 4 คืน ที่ญ่ีปุ่น ทรูคอฟฟี่ โดยนายวิรัตน์ เตชะนิรัติศัย ผู้จัดการ ทั่วไป บริษัท ทรู ไลฟ์สไตล์ รีเทล จ�ำกัดจับรางวัลให้กับ ลูกค้าที่ร่วมสนุกในแคมเปญ “โอไฮโย นิชิโอะ” ตอกย�้ำ ความส�ำเร็จจากยอดขายของเครื่องดื่มนิชิโอะมัทฉะ มอบ รางวัลแพ็คเก็จทัวร์ประเทศญี่ปุ่น 6 วัน 4 คืน พาลูกค้า ทรูคอฟฟี่ผู้โชคดีไปสัมผัสบรรยากาศไร่ชาเขียวถึงเมืองนิชิ โอะ ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นหนึ่งในแหล่งผลิตชาเชียวเกรด พรีเมี่ยมที่ดีที่สุด ที่ทรูคอฟฟี่ใช้เป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต เครื่องดื่มนิชิโอะ มัทชะ จ�ำนวน 2 รางวัล รางวัลละ 2 ที่ รวมมูลค่า 360,000 บาท และยังมีรางวัลอื่นๆ อีกมากมาย โลตัส สาขาลพบุรี เมื่อเร็วๆนี้

เปิ ดตัวซุ ปเปอร์ เซรั่ม เอสพีเอฟ 50 กันแดดเนื้อบางเบาจากนีเวียซั น วิศัลยา เจริญรักษ์ (ที่สามจากซ้าย) ผู้จัดการฝ่าย ประชาสัมพันธ์ ผลิตภัณฑ์นีเวีย บริษัท ไบเออร์สด๊อรฟ ประเทศไทย (จ�ำกัด) และภัทรา โดร์มันน์(ที่สามจาก ขวา) ผู้จัดการกลุ่มผลิตภัณฑ์ปกป้องแสงแดด นีเวีย ซัน จัดงาน “How the Sun Sees youby NIVEA SUN” เปิดตัวนวัตกรรมการฉายความจริงใต้ผิวจากภัยร้ายขอ งแสงแดดที่คุณไม่เคยได้เห็นมาก่อนด้วยกล้องยูวีของจ ริง พร้อมแนะน�ำการปกป้องสมบูรณ์แบบในทุกวันด้วย นีเวียซันซุปเปอร์ เซรั่ม เอสพีเอฟ 50ผลิตภัณฑ์กันแดด เนื้อเซรั่มหนึ่งเดียวในตลาด เพื่อความสดชื่น บางเบา ไม่ อุดตันรูขุมขน โดยมี พญ. พิรญาณ์ ธ�ำรงธีระกุล(ซ้าย)โมนา- วิภาวี คอมันตร์(ที่สองจากขวา) และออร์แกน- ราศีวัชราพลเมฆ(ที่สองจาก ซ้าย)ร่วมงานด้วย ณ ร้าน 99 เรสซิเดนซ์ เมื่อวันก่อน ศ.ดร.อภินันท์ โปษยานนท์ ปลัดกระทรวง วัฒนธรรม และ นายฐาปน สิริวัฒนภักดี กรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จ�ำกัด (มหาชน) พร้อมด้วย กรุงเทพมหานคร การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และหน่วย งานภาคเอกชน ร่วมแถลงข่าวการจัดงาน “Water Festival เทศกาลวิถีน�้ำ...วิถีไทย” ซึ่งก�ำหนดจัดขึ้น ใน 7 พื้นที่ริมโค้งน�้ำเจ้าพระยา ระหว่างวันที่ 13-15 เมษายน นี้ โดยงานแถลงข่าวจัดขึ้นอย่างเป็นทางการ ณ ท่ามหาราช เมื่อวันก่อน 80 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Round about

ครอบครัวพอเพียงเปิ ดตัวกิจกรรมใหม่ “ข้ามรัว้ สร้างชาติ ต่อต้านคอรัปชั น”

โครงการใสสะอาดพอเพียงเพื่อ พ่ อ สู ่ ส ถานศึ ก ษาและชุ ม ชน เปิ ด ตั ว กิจกรรมใหม่ประจ�ำปีการศึกษา 2558 “กิจกรรมข้ามรั้วสร้างชาติ ต่อต้าคอรัป ชัน” มุ่งเน้นการสร้างเครือข่ายต่อต้าน คอรั ป ชั น ในรู ป แบบของสถานศึ ก ษา คู่มิตร เพื่อตอกย�้ำการปลูกฝังเด็กและ เยาวชนในการร่วมแสดงพลังต่อต้านการ คอรัปชันอย่างเป็นรูปธรรม

เทสโก้ โลตัส ชวนคนไทยเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพฯ ด้ ว ยการพาน้ อ งไปโรงเรี ย นด้ ว ย ธนาคารกรุงไทยจัดประกวด Viral Clip : ธนาคารกรุงไทย รองเท้าคู่ใหม่ น�ำโดย นายธัญญพงศ์ ธรรมาวรานุคุปต์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ เทสโก้ โลตัส เปิดตัวโครงการ “พาน้องไปโรงเรียน” เพื่อจัดหารองเท้านักเรียนคู่ใหม่ 16,000 คู่ให้กับน้อง ๆ ใน ถิ่นทุรกันดาร ในเครือโรงเรียนพระดาบสจังหวัดชายแดนภาค ใต้ เพื่อให้น้อง ๆ อย่างน้อย 16,000 คนได้มีรองเท้าใหม่ ใส่ ไปโรงเรียนอย่างมีความสุขในวันเปิดเทอมที่จะถึงนี้ โดยความดีที่ ร่วมกันท�ำครั้งนี้จะเป็นการร่วมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558

ธุรกิจรายย่อยและเครือข่าย (คนกลาง) ร่วมด้วยทีมผู้บริหาร จัดงาน แถลงข่าว “โครงการประกวดคลิปสั้น Share Smile With KTB” เปิด โอกาสให้ประชาชนทั่วไป ได้ร่วมสร้างสรรค์ผลงานแชร์ประสบการณ์ ที่ ดี กั บ ธนาคารกรุ ง ไทย ในรู ป แบบคลิ ป สั้ น เนื้ อ หาเกี่ ย วกั บ ความ ประทับใจในการใช้บริการของธนาคารกรุงไทย โดยเงินรางวัลรวม 150,000 บาท โดยมี นายบรรจง สินธนมงคลกุล (ที่ 2 จากซ้าย) ผู้ก�ำกับ และนักแสดง “อเล็กซ์ - อเล็กซานเดอร์ ไซม่อน เรนเดลล์” (ที่ 1 จากขวา) มาร่วมเล่าประสบการณ์และแชร์ไอเดีย ณ ศูนย์การค้า เซ็นทรัลเวิลด์ วันก่อน ติดตามข่าวสารกิจกรรมได้ที่ www.ktbthebest story.com / facebook page : KTB Care

81 issue 89 June 2015


The beautiful thing about learning is nobody can take it away from you.” - B.B. King“สิ่ ง ที่ วิ เ ศษสุ ด ส� ำ หรั บ การเรี ย นรู ้ คื อ ไม่ มี ใ ครสามารถเอามั น ไปจากคุ ณ ได้ . ” -บี . บี . คิ ง - (นั ก แต่ ง เพลง นั ก กี ต าร์ ชาวอเมริ กั น )

ภาพ : www.flickr.com/photos/11213139@N05/12521345413/”>Evert-Jan Hielema


83 issue 89 June 2015


84 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.