IS AM ARE
สมุ ด บั น ทึ ก ความดี เสริ ม คุ ณ ธรรมจากครู สู ่ เ ด็ ก
ณัฐชาฏา สุทธิสอาด กระผมไม่ ใ ช่ ค นของนั ก การเมื อ ง กระผมเป็ น ข้ า ราชการของในหลวง
หม่อมหลวง ปนัดดา ดิศกุล
ฉบับที่ 100 พฤษภาคม 2559 www.fosef.org
เว็ปไซต์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดี ๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช่ จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี
www.fosef.org 2
IS AM ARE www.ariyaplus.com
“ถ้าท�ำงานด้วยความตั้งใจที่จะให้เกิดผลอันยิ่งใหญ่ คือความเป็นปึกแผ่นของประเทศชาติ ด้วยความสุจริตและด้วยความรู้ความสามารถด้วยจริงใจ ไม่นึกถึงเงินทองหรือนึกถึงผลประโยชน์ใดๆ ก็เป็นการท�ำหน้าที่โดยตรงและได้ท�ำหน้าที่โดยเต็มที่” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่ ศึกษาธิการจังหวัดทั่วประเทศ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๑๑
3 issue 100 may 2016
Editorial
ฉบับเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๙ ถึงวันนี้นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง มีอายุครบ ๙ ปี เป็น ๙ ปี แห่งการก้าวย่างอย่างมั่นคง พวกเราเดินทีละก้าว เดินไปพร้อมๆ กับการสร้างเครือข่าย “ครอบครัวพอเพียง” พุทธศักราช ๒๕๕๙ นี้เป็นปีแห่งการก่อก�ำเนิด “ศูนย์ ครอบครัวพอเพียง” ในปีนี้จะมีโรงเรียนมากกว่า ๑๐๐ แห่งประกาศเป็น “ศูนย์ครอบครัวพอเพียง” หรืออาจจะมากกว่าที่เราคิด ผู้ใหญ่หลายท่านถามดิฉันว่า “ศูนย์ครอบครัวพอเพียง” เปิดมาเพื่ออะไร เพื่อใครและใครได้ ประโยชน์ ดิฉันจึงตอบท่านว่า ศูนย์ ครอบครัวพอเพียงเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ การเผยแพร่ การแสดงผลของการน�ำหลักคิดในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ประสบความ ส�ำเร็จและเกิดคุณค่า เห็นเป็นมรรคผล เป็นรูปธรรมแก่นักเรียน ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในสถานศึกษา เช่น ภารโรง แม่ค้าขายอาหารในโรงเรียน คนท�ำความสะอาดและพนักงานรักษาความปลอดภัยหรือลุงยาม ตลอดจนการขยายผลสู่ชุมชนใกล้เคียงซึ่ง รวมถึงหน่วยงานราชการ เช่น ข้าราชการทหาร ข้าราชการต�ำรวจ เป็นต้น ซึ่งคณะกรรมการมูลนิธิครอบครัวพอเพียงเป็นผู้คิดโครงการและเป็นผู้ด�ำเนินการโดยมีน้องๆ คณะอนุกรรมการฝ่ายกิจกรรมของ มูลนิธิครอบครัวพอเพียงซึ่งเป็นแกนน�ำจิตอาสาครอบครัวพอเพียงมานานกว่า ๔ ถึง ๗ ปีและมีจ�ำนวนกว่า ๕๐ คนเป็นส่วนเสริมและการ ใช้เทคโนโลยี สื่อที่ทันสมัยเป็นเครื่องมือ ถ้าจะยกตัวอย่างซึ่งเป็นเรื่องใกล้ตัว เช่น จากสภาวะในปัจจุบันตามที่เราได้ยินจากสื่อต่างๆ มีนักเรียนที่ต้องลาออกกลางคัน คือ เรียนไม่จบในชั้นประถมหรือมัธยม , อาชีวศึกษาและแม้แต่ระดับ อุดมศึกษา รวมกันแล้วหลายแสนคน ดิฉันเน้นนะคะว่าหลายแสนคน หรือเกือบหลักล้านในปัจจุบัน และถ้าถามหาสาเหตุว่าท�ำไมเด็กไทยจึง ไม่เรียน ไม่เรียนเพราะไม่อยากเรียนหรือไม่ เรียนเพราะไม่มีปัญญาที่จะเรียน หรือมีปัญหาอะไรที่ท�ำให้เด็กไม่ได้เรียน และกับนโยบายของผู้บริหารประเทศที่มีความเกี่ยวข้องกับการศึกษาที่ว่า นักเรียนได้รับ การสนับสนุนให้เรียนฟรีจนจบมัธยมและได้รับค่าเสื้อผ้าและอุปกรณ์การเรียน ดิฉันตอบตรงนี้ เลยว่า ค่าการศึกษาต่อเทอมนะฟรีจริง แต่ทุกโรงเรียนมีการเรียกเก็บค่าการศึกษาพิเศษต่างๆ หรือแม้กระทั่งค่าไฟฟ้าส�ำหรับห้องที่ติดเครื่องปรับอากาศ ผู้ปกครองก็ต้องจ่าย และค่าเสื้อผ้า นักเรียนหรืออุปกรณ์การศึกษา ดิฉันก็ยังมานั่งนึกว่า คนที่ออกกฏนี้ ท่านคงเป็นมนุษย์ยุค ๒๕๐๐ กระมัง ประเภทว่าค่าชุดนักเรียนราคาประมาณ ๕๐ ถึง ๘๐ บาทต่อชุดเพราะอะไร ก็เพราะ ทุนที่ให้นั้นสามารถซื้อเสื้อผ้าส�ำหรับเรียนได้แค่ค่ากระโปรงตัวเดียว เสื้อนักเรียนยังซื้อไม่ได้เลย เอาล่ะ ถ้าอนาคตคือการศึกษา ผู้ปกครองทุกคนก็ต้องมีความพยายามกันมากขึ้นเพื่อ ให้ลูกได้ส�ำเร็จการศึกษาและมีงานท�ำ เด็ก หลายคนอยู่ในสภาพของการที่ต้องยืนอยู่บนปลายสุดของหน้าผาสูงเพื่อเอื้อมมือ คว้าดาว คว้าในสิ่งที่ตนเองอยากที่จะเป็น บางคนคว้าได้ส�ำเร็จ บางคนคว้าไม่ได้หรือบางคน คว้าได้แต่ก็ไม่สามารถน�ำสิ่งที่ได้มานั้นท�ำให้ตนเองประสบความส�ำเร็จได้ เกิดมาเป็นคนก็ต้องดิ้นรนกันไป แต่การดิ้นรนนั้นต้องมีแนวทางหรือการวางแผนการด�ำเนินชีวิตให้รอด ปลอดภัยและเป็นสุข จุดเริ่มต้นของกระดุมเม็ดแรกของชีวิตที่จะประสบความส�ำเร็จและพบความสุขได้จริงคือ ต้องมีศรัทธา ความเชื่อจากจิตส�ำนึก ยอมรับ และปรับความคิด เปลี่ยนพฤติกรรมและเมื่อค้นพบสิ่งนั้นก็ไม่หยุดหรือเก็บไว้กับตัว เพราะการเผยแพร่หรือการบอกต่อคือการตอกย�้ำให้ เราก้าวย่างอย่างมั่นคง “ครอบครัวพอเพียง ไม่มีวันตาย” ความคิดนี้ได้ถูกถ่ายทอดมาตั้งแต่การด�ำเนินโครงการในปีแรก คือ พ.ศ. ๒๕๕๐ ด้วยศรัทธา และเชื่อมั่น ที่มาของศูนย์ครอบครัวพอเพียง.
4 IS AM ARE www.ariyaplus.com
Contributors
มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล พลเอก ดร.ศรุต นาควัชระ ดร.เทอดศักดิ์ เจียมกิจวัฒนา นางสุชานี แสงสุวรรณ นายณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ ดร.วรวุฒิ แสงเฟือง นางสาวเอื้อมพร นาวี นายเอกรัตน์ คงรอด ผศ.ดร.ปรีชาพร สุวัฒโนดม นายอภีม คู่พิทักษ์ นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ นางอรปภา ชาติน�้ำเพ็ชร นางรจนา สินที นายธงชัย วรไพจิตร นายภูริวิทย์ จงนิรักษ์
ประธานกิตติมศักดิ์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและเลขาธิการ กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
นิตยสารครอบครัวพอเพียง ประธานกิตติมศักดิ์ : คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ : พล.อ.จรัล กุลละวณิชย์ ประธานด�ำเนินการ : ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล บรรณาธิการ : กรวิก อุนะพ�ำนัก กองบรรณาธิการ : อภีม คู่พิทักษ์
ศิลปกรรม : ส�ำนักงาน :
โทรศัพท์ : โทรสาร : เว็ปไซต์ :
Let’s
Start
พิชัยยุทธ ชัยไธสง เอกรัตน์ คงรอด นิตยสารครอบครัวพอเพียง 663 ซอยพหลโยธิน35 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 0-2939-5995 0-2939-5996 www.ariyaplus.com www.fosef.org
and Enjoy!
5 issue 100 may 2016
Hot Topic
56
งานส่งเสริม สุขภาพจิตและหน้าที่ของ นักสังคมสงเคราะห์ ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ (พิเศษ)อรอนงค์ อินทรจิตร
48
สมุ ดบันทึกความ ดีเสริมคุณธรรม จากครู สู่เด็ก ณัฐชาฎา สุทธิสอาด ผู ้อ�ำนวยการ ช� ำนาญการพิเศษ โรงเรียนราชบพิธ
26
กระผมไม่ใช่ คนของนักการเมือง กระผมเป็ นข้าราชการของในหลวง เรื่องเล่าจากหม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล
Don’t miss
12
16 20 72 6 IS AM ARE www.ariyaplus.com
18
Table Of Contents
กระผมไม่ใช่คนของนักการเมือง กระผมเป็นข้าราชการของในหลวง
หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล รัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี 7 issue 100 may 2016
ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หมอต้นน�้ำ (บทเรียนจากแคนนาดา) เด็กก่อนค่าย เด็กหลังค่าย ตัวไกล...หัวใจอยู่ใกล้ สหรัฐอเมริกาอาจมีประธานนาธิบดีหญิง หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน Dhamma Today ปฏิสัมพันธ์ดี ก็มีความสุข กระจกส่งใจ รัก vs เซ็กซ์ Cartoon Cover Story กระผมไม่ใช่คนของนักการเมือง กระผมเป็นข้าราชการของในหลวง เรื่องเล่าจาก หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล Is Am Are ต�ำบลทุ่งโป่ง จังหวัดขอนแก่น ร่วมแรงร่วมใจพัฒนา พึ่งพาตนเอง ได้อย่างยั่งยืน สัมภาษณ์พิเศษ สมุดบันทึกความดีเสริมคุณธรรมจากครู สู่เด็ก ณัฐชาฎา สุทธิสอาด ผู้อ�ำนวยการช�ำนาญการพิเศษ โรงเรียนราชบพิธ Let’s Talk งานส่งเสริมสุขภาพจิตและหน้าที่ นักสังคมสงเคราะห์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์(พิเศษ) อรอนงค์ อินทรจิตร มูลนิธิชัยพัฒนา บทบาททางวิชาการของอุทยานการอาชีพ ชัยพัฒนาฯ ความคาดหวังที่ไม่ไกลเกินเอื้อม Wheel Of Life บทความพิเศษ การเขียนสุมดบันทึกความดี Round About
8 12 16 18 20 24
28
40
50
56 62 68 72 80
หมอต้นน�้ำ (บทเรียนจากแคนาดา)
ประเทศแคนาดาเป็ น ประเทศที่ ก ว้ า งใหญ่ ไ พศาลในทวี ป อเมริ ก าเหนื อ ที่ ค นไทยไม่ ค ่ อ ยคุ ้ น เคยนั ก ประเทศนี้ มี ป ระชากรแค่ 35 ล้ า นคน มี ทั้ ง กลุ ่ ม ที่ พู ด ฝรั่ ง เศสและอั ง กฤษปะปนกั น แต่ มี เ นื้ อ ที่ ใ หญ่ ก ว่ า ประเทศไทย ถึ ง 20 เท่ า ตั ว เป็ น ประเทศที่ มี ท รั พ ยากรธรรมชาติ อุ ด มสมบู ร ณ์ ม าก แต่ อ ย่ า งหนึ่ ง ที่ โ ดดเด่ น คื อ การ มี ร ะบบดู แ ลสุ ข ภาพที่ ดี ทั้ ง ในแง่ ก ารเข้ า ถึ ง , คุ ณ ภาพบริ ก าร และการจั ด สรรทรั พ ยากรอย่ า งเป็ น ธรรมและ ทั่ ว ถึ ง คนอเมริ กั น บางครั้ ง ถึ ง กั บ ข้ า มไปใช้ บ ริ ก ารในฝั ่ ง แคนาดาเพราะบริ ก ารดี ก ว่ า
8 IS AM ARE www.ariyaplus.com
นพ. วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ ที่ปรึกษาส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การคุ้มครองผู้บริโภค ยังไม่ค่อยดีเท่าที่ ควร ท�ำให้เกิดการเจ็บป่วยจากอาหาร เป็นจ�ำนวนมาก 6 . ก า ร มี ง า น ท� ำ แ ล ะ ส ภ า พ ที่ ท� ำ ง า น ค น ที่ ท� ำ ง า น ใ น โร ง ง า น อุตสาหกรรม ก้มๆเงยๆอยู่ตลอด ย่อม มีพยาธิสภาพความเจ็บป่วยแตกต่างจาก คนที่ท�ำงานส�ำนักงาน 7.เครื อ ข่ า ยความปลอดภั ย ทาง สั ง คม ประเทศที่ มี อ าชญากรรมสู ง มี เงื่ อ นไขทางสั ง คมที่ ส� ำ คั ญ มี อ ยู ่ ความรุ น แรงสู ง ย่ อ มส่ ง ผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพ และคุ ณ ภาพชี วิ ต ของคนใน 10 ประการ อั น ได้ แ ก่ 1.รายได้ คนจนย่ อ มมี เ งิ น น้ อ ย ด้ า นลบมากกว่ า ประเทศที่ มั่ น คง และ กว่า หรือไม่เพียงพอที่จะซื้ออาหารดีๆ ปลอดภัย 8.การกี ด กั น และแบ่ ง แยกทาง บริโภค คนรวยย่อมมีโอกาสเข้าถึงหมอ เก่งๆ เทคโนโลยีทันสมัยล่าสุดในวงการ สั ง คม บางประเทศมี ป ั ญ หาความแบ่ ง แยกและกีดกันทั้งเรื่องการจ้างงาน ราย แพทย์ได้มากกว่า 2.พั ฒ นาการวั ย เด็ ก เด็ ก ที่ มี ได้ และระบบสวั ส ดิ ก ารรั ฐ ในกลุ ่ ม โอกาสเล่นกีฬาและมีการเสริมสร้างของ ประชากรหลากเชื้ อ ชาติ หลากภาษา กระดูกและกล้ามเนื้อดีกว่าเด็กที่เอาแต่ ประเทศไทยเรามี ป ระสบการณ์ ที่ เจ็ บ เรียนหนังสือ เด็กที่อยู่กับปู่ย่า ตายาย ปวดมาแล้วในเรื่องนี้จากกรณี 3 จังหวัด โดยพ่อแม่ไม่ได้อยู่ด้วย มักมีพัฒนาการ ชายแดนภาคใต้ 9.เพศ ในประเทศกลุ ่ ม อั ฟ ริ ก า บางด้านสู้เด็กปกติไม่ได้ 3.ระดับการศึกษา คนด้อยการ หรือ อาหรับ ผู้หญิงจะได้รับการปฏิบัติ ศึกษา จะมีความรู้พื้นฐานด้านการดูแล จากสังคมที่แตกต่างจากผู้ชายโดยชัดเจน สุขภาพ (Health Literacy) ต�่ำกว่าคน ประเทศไทยโชคดีที่เราแทบไม่มีปัญหา ที่มีการศึกษา ท�ำให้มีพฤติกรรมสุขภาพ ในด้านนี้ลย 10.การเป็ น ประชาคม (Comที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน 4.สภาพบ้านเรือน คนที่บ้านแตก munity belonging) ชุมชนที่คนมีความ สาแหรกขาด หรือบ้านอยู่ในสลัมแออัด ผูกพัน มีความสัมพันธ์กัน เอื้อเฟื้อเอาใจ ย่อมมีพัฒนาการของร่างกายและจิตใจ สู้ ใส่ดูแลกัน พบว่าส่งผลต่ออัตราการเจ็บ คนที่อยู่ในบ้านที่มั่นคงแข็งแรง ครอบครัว ป่วยแตกต่างอย่างชัดเจน รวมทั้งความ ยืนยาวของอายุขัยด้วย อบอุ่นไม่ได้ การท�ำให้คนมีสุขภาพดี จึงควร 5.ความปลอดภัยและความมั่นคง ด้านอาหาร ประเทศไทยแม้จะมีอาหาร เริ่มต้นจาก “โจทย์วิถีชีวิต หรือโจทย์ การกินอุดมสมบูรณ์ แต่ปัญหาเรื่องสิ่ง สังคม” แล้วได้สุขภาพดีเป็นผลลัพธ์ จะ ปนเปื้อน สารเคมี และการเฝ้าระวังด้าน เอื้อประโยชน์และเป็นธรรมชาติมากกว่า แพทยสมาคมของแคนาดา ได้ ท�ำการศึกษาและระบุว่าสาเหตุแห่งความ เจ็ บ ป่ ว ยของประชาชนมาจากเงื่ อ นไข ทางสังคม (Social Determinants) ถึง ร้ อ ยละ 50 ที่ เ หลื อ เกิ ด จากปั จ จั ย ทาง ชีววิทยา (เชื้อโรค, กรรมพันธุ์) 15% เกิด จากสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวเรา 10% และ เกิ ด จากระบบบริ ก ารสุ ข ภาพแค่ 25% เท่านั้นเอง
9 issue 100 may 2016
www.nhso.go.th
การใช้โจทย์สุขภาพเป็นจุดเริ่มต้น นี่คือ ข้ อ คิ ด ที่ แ พทยสมาคมแห่ ง แคนาดาใช้ เป็นปรัชญาในการดูแลสุขภาพของคนใน ประเทศ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เกือบทุก วิชาชีพส่วนใหญ่มักจะรออยู่ที่ปลายน�้ำ ช่วยคนตกน�้ำมิให้จมน�้ำตาย (ให้บริการ ตั้งรับ เน้นการรักษาพยาบาลเป็นหลัก) การจะไปที่ต้นน�้ำเพื่อช่วยป้องกันไม่ให้ คนถูกพลักตกน�้ำ (ท�ำให้คนสุขภาพดี ไม่ เจ็บป่วย ลดความเหลื่อมล�้ำ ดูแลความ เป็นธรรมในการเข้าถึงบริการ) เป็นเรื่อง ที่ อ งค์ ก ารอนามั ย โลกได้ ห ยิบ ยกเอามา เป็นประเด็นส�ำคัญถึงขนาดประกาศว่า ปั จ จั ย ทางสั ง คมเป็ น เรื่ อ งชี้ น� ำ สุ ข ภาพ มาหลายปีแล้ว แม้กระทั่งการประกาศ ใช้ Sustainable Development Goal (SDE) ขอ WHO ในปี 2015 ที่ผ่านมา ก็ สื่อว่าถ้าไม่ใส่ใจเรื่องต้นน�้ำ ก็เป็นการยาก ที่จะเอาชนะเรื่องโรคภัยไข้เจ็บได้ ...หมอไทยจึ ง ควรใส่ ใ จ และให้ ค ว า ม ส� ำ คั ญ กั บ ก า ร จั ด ก า ร ที่ “ต้ น น�้ ำ ” ในหลากมิ ติ ดั ง กล่ า ว เพื่ อ ให้ ร ะบบการพั ฒ นาสุ ข ภาพ ของประชาชนสมบู ร ณ์ แ บบมาก ขึ้ น ...
บริการข้อมูล ให้ค�ำปรึกษาการใช้ สิทธิหลักประกันสุขภาพ ตรวจสอบสิทธิการรักษาพยาบาล รับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ ประสานงานส่งต่อผู้ป่วยเพื่อเข้ารับการรักษา
“การมีเสรีภาพนั้น เป็นของที่ดีอย่างยิ่ง แต่เมื่อจะใช้ จ�ำเป็นต้อง ใช้ด้วยความระมัดระวัง ตามความรับผิดชอบมิให้ล่วงละเมิด เสรีภาพของผู้อื่นที่เขามีอยู่เท่าเทียมกัน ทั้งมิให้กระทบกระเทือนถึง สวัสดิภาพและความเป็นปกติสุขของส่วนร่วมด้วย” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ๙ กรกฎาคม ๒๕๑๔
10 IS AM ARE www.ariyaplus.com
กว่า 8 ปีที่ผ่านมา IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง ได้น�ำบทความ บท สั ม ภาษณ์ สรรสาระที่ ม ากด้ ว ยความรู ้ และความบั น เทิ ง ความสุ ข มากมายที่ ได้ รั บ จากการอ่ า นนิ ต ยสารเพื่ อ สั ง คม ฉบั บ นี้ เพื่ อ เป็ น การตอบแทนท่ า นผู ้ อ่านและสมาชิกที่น่ารักทุกท่าน ตั้งแต่ฉบับนี้เป็นต้นไป บก.จะ แจกของสมนาคุณเล็กๆแก่ผู้ที่ตอบแบบสอบถามกันเข้ามา ของ สมนาคุณที่ว่าคือ ปากกา SHEEFER จ�ำนวน 3 รางวัล พร้อมสลัก ชื่อ-นามสกุลเรียบร้อย ซึ่งค�ำถามในฉบับนี้คือ ความรู้ที่ได้จาก บทความ “หมอต้นน�้ำ” หน้า 8-10 จากส�ำนักงานหลักประกัน สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ ในฉบั บ ที่ ปรากฏ แล้ ว ตั ด ส่ ง มากั น นะ ค่ะ ในฉบับหน้าของสมนาคุณ อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามค�ำ เรียกร้องของคนขี้เหงา ซึ่งน่า จะเป็น Furby เพื่อนช่างคุย ของเราเอง แล้ ว พบกั น ใหม่ ฉบับหน้านะค่ะ
ร่วมตอบค�ำถามชิงปากกา SHEFFER
ส่งมาที่นิตยสารครอบครัวพอเพียง เลขที่ 663 ซอยพหลโยธิน 35 แยก 9 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 02-939-5995 www.ariyaplus.com แบบประเมินความพอใจผู้อ่าน 1. เนื้อหาเรื่อง หมอต้นน�้ำ
1
2
3
4
5
-ให้ความรู้และมีสาระตามที่คาดหวัง -บทความมีความน่าสนใจและเป็นประโยชน์ -บทความจุดประกายความคิดสร้างสรรค์ -บทความสร้างความตระหนักในเรื่องคุณธรรม 2.รูปเล่ม -มีการออกแบบที่สวยงาม ทันสมัย -จัดจัดเนื้อหาเป็นหมวดหมู่ อ่านง่าย -ภาพประกอบและการน�ำเสนอน่าสนใจ 3.ข้อเสนอแนะ
สายตรง กรมสงเสริมการสงออก
1.ไม่เป็นที่พอใจ 2. ควรปรับปรุง 3. พอใช้ 4.ดี/น่าสนใจ 5. ดีมาก/พอใจมาก 11 issue 100 may 2016
1169
โดย : ป้ามุข
เด็ ก ก่ อ น...ค่ า ย เด็ ก ..หลั ง ค่ า ย เล่ ม นี้ เ ป็ น เรื่ อ งเล่ า ของ ประธานกลุ ่ ม แกนน� ำ ครอบครั ว พอเพี ย ง โรงเรี ย นสตู ล วิ ท ยา จั ง หวั ด สตู ล รุ ่ น ที่ ๑ ผู ้ ช ายร่ า งเล็ ก แต่ ค วามคิ ด และใจของเขาใหญ่ ม าก ใจของการ ให้ เพื่ อ ผู ้ อื่ น จะ ได้ รั บ โดยไม่ ห วั ง สิ่ ง ตอบแทน และบทความนี้ เ ป็ น ความตั้ ง ใจที่ น้ อ งโอม หรื อ นายสหรั ฐ จั น ทสุ ว รรณ์ จะเขี ย นบอกเล่ า ให้ พ วกเราได้ รั บ รู ้ “ฉั น ก็ เ ป็ น เด็ ก กิ จ กรรมที่ ส ร้ า งผลงานให้ กั บ โรงเรี ย น มากมายหลากหลาย แต่ยังไม่มีกิจกรรมที่น่าสนใจและจริงจัง และก็ มี กิ จ กรรมที่ น ่ า สนใจเข้ า มามากมาย ทั้ ง กิ จ กรรมสภา นักเรียน ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ฉันสนใจมาตั้งแต่ เรียน มัธยม ๓ ได้ มีการวางแผนกับเพื่อนไว้มากมายแต่ผลสุดท้ายก็ต้องยกเลิกไป เนื่องจากเหตุผลหลายอย่าง หลังจากนั้นไม่นานมูลนิธิครอบครัว พอเพียงก็เข้ามาในโรงเรียน วินาทีแรกที่เห็นก็คิดว่าเป็นกิจกรรมที่น่าเบื่อ แต่เมื่อฟัง การบรรยายจากท่านวิทยากรจบลง ท�ำให้ฉันได้มองเห็นภาพ กิจกรรมต่างๆ
เห็นปณิธานอันตั้งใจของในหลวง มันกระตุ้นในจิตใจของ ฉันขึ้นมาทันทีว่า ฉันต้องเข้าร่วมกับกิจกรรมนี้ ฉันอยากท�ำกิจกรรมนี้อย่างจริงจังและยอมอุทิศตน เพื่อ กิจกรรมนี้ และเมื่อสิ้นสุดการบรรยาย ท่านวิทยากรประกาศหา ผู้สมัครใจเข้าร่วมโครงการ “ฉันรีบวิ่งอย่างไม่คิดชีวิตเข้าไปใน แถว จึงเป็นก้าวแรกของชีวิตที่เริ่มรับใช้แผ่นดิน” และค่ายแรกของชีวิตที่จะได้พบกับเพื่อนใหม่ที่มาจาก ทั่วประเทศ Friend Camp@Bangkok ครั้งที่ ๔ ก็เกิดขึ้น “จาก 12
IS AM ARE www.ariyaplus.com
เด็ ก ..ก่ อ นค่ า ย เด็ ก ..หลั ง ค่ า ย
ทีแรกพอรู้ว่า ฉันได้เข้าร่วมโครงการนี้ ฉันตื่นเต้นมากและคิด ว่าน่าจะเป็นอะไรที่สนุกสนานและเราจะมีเพื่อนๆ หลากหลาย จากทั่วประเทศ ครู แ ละฉั น ในฐานะประธานรุ ่ น พร้ อ มประธานกลุ ่ ม และสมาชิกครอบครัวพอเพียงได้วางแผนและชี้แจง ท�ำความ เข้าใจแก่ผู้เข้าร่วมทุกคนอย่างสม�่ำเสมอ และเมื่อถึงเวลาไปค่าย พวกเราเดินทางไปกรุงเทพฯ โดยทางรถไฟ จากสถานีชุมทาง หาดใหญ่ สู่สถานีหัวล�ำโพง “ยอมรับเลยว่าฉันเหนื่อยและร้อนมาก” เพราะรถไฟ มาช้ า กว่ า เวลาที่ ก� ำ หนดเกื อ บสามชั่ ว โมงและอากาศที่ ร ้ อ น อบอ้าว แต่ก็ให้ก�ำลังใจตัวเองเสมอว่ามันต้องได้เจอในสิ่งที่ดี อย่างแน่นอนและเมื่อได้ขึ้นรถไฟทุกคนก็ต่างเหนื่อยล้าแต่ก็ยัง ไม่หลับ ด้วยความตื่นเต้นพวกเราก็พูดคุยกันสนุกสนานท�ำให้ดู อบอุ่นและไม่ตึงเครียดในการเดินทางครั้งนั้น เราต้องผ่านทั้งยามเย็นที่ร้อนระอุและคืนอันหนาวเหน็บ แต่ทุกคนก็ได้ชมบรรยากาศที่ไม่เคยพบเจอมาก่อน แสงอาทิตย์ ยามเย็นระหว่างรอยต่อสงขลาและพัทลุง หรือจะเป็นไอหมอก ยามเช้าเย็นสบายเมื่อมาถึงจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์นับเป็นเสน่ห์ ของการเดินทางทางรถไฟขนานแท้ที่พาดผ่านการด�ำรงชีวิตของ แต่ละพื้นที่ท่ีมีความแตกต่างกัน สุดท้ายพวกเราก็เดินทางมาถึง ณ สถานีรถไฟหัวล�ำโพงกรุงเทพฯ ทุกคนต่างอิดโรยและเหนื่อยล้าและต้องแบกกระเป๋า ไปผิ ด ที่ เพราะการสื่ อ สารกั บ พี่ ผู ้ ดู แ ลไม่ ต รงกั น นั บ เป็ น ประสบการณ์ที่เหนื่อยและก็แอบฮาได้ในเวลาเดียวกัน
เมื่อไปถึงค่าย คือ โรงเรียนสตรีวิทยา เราก็ได้ท�ำความ รู้จักกับเพื่อนใหม่ๆ มาจากหลากหลายภาคตั้งแต่เหนือ อีสาน กลางและที่พูดคุยกันอย่างสนุกสนานคือภาคใต้ เราได้มีการแบ่ง กลุ่มกันเป็นสีๆ ซึ่งฉันได้อยู่สีแดง ซึ่งในสีล้วนเป็นประธานกลุ่ม แกนน�ำประจ�ำจังหวัด ค่ า ย Friend Camp @ Bangkok เป็ น ค่ า ยที่ มี วัตถุประสงค์เพื่อให้พวกเราได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติ ศาสนา และการปกครองจากของจริงที่ปรากฏ คือพิพิธภัณฑ์ต่างๆ และ พวกเรายังได้เรียนรู้ “งานที่ในหลวงทรงท�ำ ท�ำเพื่อประชาชน ของพระองค์” สิ่งที่ประทับใจมากเลยก็คือการไปเยี่ยมชมโครงการส่วน พระองค์ สวนจิตรลดา ของพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งท�ำให้ฉันเข้าใจ พระองค์ท่านว่าท่านทรงท�ำทุกสิ่งทุกอย่างให้ประชาชนของ ท่านได้อยู่ดีกินดีและรับสิ่งดีๆ กลับไปทรงคิดค้นทรงปฏิบัติตน เป็นแบบอย่างจนได้รับการยอมรับจากทั่วทุกมุมโลกโดยที่ไม่ ต้องสงสัย ค่ า ยครั้ ง นี้ ไ ม่ ใช่ มี แ ต่ ค วามสนุ ก เพี ย งอย่ า งเดี ย ว แต่ ค่ายนี้สอนความเป็นผู้น�ำที่ดี ต่อการแก้ปัญหา สร้างความกล้า และสร้างความสามัคคี อยากให้ทุกคนมาค่ายนี้ ถึงบางครั้งจะมี อุปสรรค ติดขัดบ้างแต่ในทุกๆ อย่างย่อมสอนเราเสมอ. 13
issue 100 may 2016
จากโรงเรียนนราธิวาส ฉันและปาล์มก็พูด คุยกันดีถือว่าเป็นก้าวแรกของการสร้าง มนุษย์สัมพันธ์ที่ดี และวั น ต่ อ มาฉั น จึ ง ได้ พ บเพื่ อ น ที่ จ ะไปค่ า ยครั้ ง นี้ ทั้ ง สี่ ค นจาก จั ง หวั ด ประจวบฯ ยะลา สงขลาและนราธิวาส เราได้ ไ ปทานอาหารเช้ า พร้ อ มกั น ตอน นั้ น ฉั น กดดั น มากเพราะสี่ ค นนั้ น สนิ ท สนมกั น หมดเหลื อ เราที่ ม าใหม่ แ ต่ ก็ ต้ อ งใจดี สู ้ เ สื อ ไว้ แ ละเราก็ เริ่ ม พู ด คุ ย กั น สร้ า งความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี ต ่ อ กั น ไปอย่ า ง รวดเร็ ว จนกระทั่ ง เดิ น ทางถึ ง ศาลา ว่ า การกรุ ง เทพมหานครและเราได้ พ บ กับเพื่อนใหม่ที่เรียนในกรุงเทพมหานคร และนั ก เรี ย นจากโรงเรี ย นเตรี ย มทหาร โรงเรียนนายเรือ โรงเรียนนายร้อย เมื่ อ เข้ า ปฐมนิ เ ทศเราก็ ไ ด้ เ พื่อน คนแรกคื อ ข้ า ว สาวน้ อ ยจากสาธิ ต สวนสุ นั น ทาเราก็ พู ด คุ ย กั น อย่ า งเป็ น กันเอง จนวันเข้าค่ายซึ่งเดินทางโดยรถไฟ และจากการที่ ฉั น เป็ น ประธาน กลุ่มแกนน�ำครอบครัวพอเพียงนี้ คณะ กรรมการมู ล นิ ธิ ยั ง ให้ โ อกาสฉั น ได้ ไ ป ค่ายอาสา ที่มูลนิธิรัฐบุรุษพลเอกเปรม ติ ณ สู ล านนท์ จั ด ขึ้ น ที่ อ� ำ เภอกุ ย บุ รี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เมื่ อ มี ห นั ง สื อ แจ้ ง มาที่ โรงเรี ย น ให้ฉันเข้ารับการปฐมนิเทศ เพื่อเข้าร่วม ค่ายนี้ฉันรู้สึกเป็นเกียรติและตื่นเต้นที่สุด เพราะไม่เคยมีใครส่งหนังสือเชิญเราแบบ เจาะจงแบบนี้มาก่อน ในตอนนั้ น ใจฉั น มี ทั้ ง ความกล้ า และความกลัวในเวลาเดียวกัน เมื่อพี่ ซึ่ง เป็นกรรมการมูลนิธิครอบครัวพอเพียง เดิ น ทางมารั บ เขาก็ ต ้ อ นรั บ ฉั น อย่ า ง อบอุ่น ซึ่งฉันไม่เคยรู้จักพี่ๆ เขามาก่อน เลย และมารู้จักชื่อภายหลัง คือพี่โอมและ พี่ไอซ์ พี่ๆ ทั้งสองน่ารักมาก
สิ่ ง ที่ ป ระทั บ ใจมากเลยก็ คื อ การไปเยี่ ย มชมโครงการสวนพระองค์ สวน จิ ต รลดา ของพระเจ้ า อยู ่ หั ว ซึ่ ง ท� ำ ให้ ฉั น เข้ า ใจพระองค์ ท ่ า นว่ า ท่ า นทรง ท� ำ ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งให้ ป ระชาชนของท่ า นได้ อ ยู ่ ดี กิ น ดี แ ละรั บ สิ่ ง ดี ๆ กลั บ ไปทรงคิ ด ค้ น ทรงปฏิ บั ติ ต นเป็ น แบบอย่ า งจนได้ รั บ การยอมรั บ จากทั่ ว ทุ ก มุ ม โลกโดยที่ ไ ม่ ต ้ อ งสงสั ย พี่ได้พาฉันไปส่งยังที่พักในจังหวัด นครปฐม พี่ ห นึ่ ง ก็ ไ ด้ ใ ห้ กุ ญ แจห้ อ งกั บ ฉั น มาและได้ ชี้ แจงการเดิ น ไปห้ อ งพั ก วินาทีนั้นฉันนึกว่าเราพักคนเดียวสบายๆ เดินลั้นลามาเต็มที่แต่ต้องชงัก เพราะมี กระเป๋าใครก็ไม่รู้อยู่ในห้องของเรา เราก็ เลยเดินมาจากห้องและไปหาพี่หนึ่งโดย ทันทีด้วยความสงสัยว่า ใครคือผู้ที่นอน ร่วมห้องกับเรา และจึงได้พบกับเพื่อน ใหม่ มีชื่อว่าปาล์ม นักเรียนจากโรงเรียน ประจวบวิทยาลัยและเพื่อนร่วมการเดิน ทาง ที่มากับเราอีกคนมีชื่อว่ามาน ซึ่งมา 14 IS AM ARE www.ariyaplus.com
เมื่อถึงสถานีรถไฟทุกคนเร่งรีบช่วยกันใน การเตรียมกระเป๋าขึ้นรถไฟ ถึงจังหวัดประจวบฯ ก็ต้องนั่งรถ ต่ อ ไปยั ง โรงเรี ย นย่ า นซื่ อ ผ่ า นทั้ ง ขึ้ นเขา ลงควนฝุ่นคลุ้งตอนแรกอยากกลับบ้าน ใจจะขาด แต่เมื่ออยู่ไปเกิดความผูกพันธ์ ในค่าย ความสมัครสมานสามัคคีและก่อ เกิดความรักในหมู่พี่น้องตั้งแต่มัธยมจน กระทั่งมหาวิทยาลัย ค่ายนี้ไม่ได้สอนแค่ ให้เราท�ำอาหาร เดินดูวิถีชาวบ้าน สร้าง ฝายกั้นน�้ำ ขัดล้างท�ำความสะอาดหรือ สอนดูแลเด็กๆ แต่มันเป็นการพัฒนาชีวิต
ให้เข้าใจมากขึ้น สอนความเป็นผู้ให้มากขึ้นและยกระดับชีวิต ของเราเข้าสู่โลกกว้างมากขึ้นด้วย ตลอดเวลาอยู่ค่ายนั้นมันคือ ความสุขที่ฉันหาไม่ได้จากที่ไหนเลย จนถึงวันที่ต้องลาจากกัน ด้วยความทรงจ�ำที่ดี ที่มีต่อกันและความคิดถึงอาวรณ์กัน ฉัน คิดว่าถึงตัวเราจะห่างกันไกลแสนไกลแต่หัวใจของพวกเรานั้น ใกล้กันเสมอ... สุดท้ายนี้ทั้งสองค่ายสอนหลายๆ สิ่งหลายๆ อย่างให้ ฉั น มากมายมหาศาล ต้ อ งขอบพระคุ ณ โรงเรี ย นสตู ล วิ ท ยาที่ เปิดโอกาสและอนุญาตให้ได้ร่วมกิจกรรมในค่ายนี้ขอบคุณพี่ หนึ่ง พี่ไอซ์ พี่โอม พี่ออยและพี่ๆ อีกหลายๆ คนของครอบครัว พอเพียงที่ดูแลฉันตลอดเวลาเป็นอย่างดีและที่ขาดไม่ได้เลย ขอบพระคุณป้ามุก ถ้าไม่มีป้า ฉันคงไม่ได้รับอะไรดีๆ กลับไป และขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงส�ำหรับรองเท้าผ้าใบ ที่ป้าซื้อ ให้ ป้าเป็นผู้ใหญ่คนนึงที่ฉันเคารพที่สุด ฉันจะสานงานของ ครอบครัวพอเพียงอย่างเต็มความสามารถและสติก�ำลังตลอด ไป รักและคิดถึงทุกคนเสมอ. “ประสบการณ์ไม่มีขาย อยากได้ต้องคว้าเอาเอง”
15 issue 100 may 2016
โดย : ดร.ไสว บุญมา
สหรัฐอเมริกาอาจมีประธานาธิบดีสตรี ปลายปี นี้ ฮิ ล ลารี คลิ น ตั น มี โ อกาสสู ง ที่ จ ะเป็ น ตั ว แทนของพรรคเดโมแครตเข้ า ช่ ว งชิ ง ต� ำ แหน่ ง ประธานาธิ บ ดี ของสหรั ฐ อเมริ ก าและถ้ า เธอชนะการเลื อ กตั้ ง เธอจะเป็ น ประธานาธิ บ ดี ส ตรี ค นแรกของประเทศนั้ น แต่ นั่ น ไม่ มี ค วามส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บ บทความนี้ เ นื่ อ งจากผมจะเล่ า เรื่ อ งราวน่ า สนใจของฮิ ล ลารี ก ่ อ นที่ เ ธอจะผั น ตั ว มา เป็ น นั ก การเมื อ ง ชี วิ ต กระแสหลั ก ของชาว อเมริ กั น โดยทั่ ว ไปซึ่ ง ผม น�ำมาเล่าไว้ในหนังสือชื่อ เสื อ สิ ง ห์ กระทิ ง แรด (ดาวน์ โ หลดได้ ที่ เว็ บ ไซต์ ของมูลนิธินักอ่านบ้านนา www.bannareader.com) ความคิ ด และ กิจกรรมของเธอซึ่งเป็นเรื่องราวที่เกรียวกราวที่สุดเกิดขึ้นในพิธี ประสาทปริญญาที่เธอเป็นหนึ่งในบรรดาผู้รับ พิธีนั้นเชิญบุคคล ส�ำคัญ ๆ มาร่วมรวมทั้งองค์ปาฐกซึ่งเป็นวุฒิสมาชิกในรัฐสภา ของรัฐบาลกลาง เขามีความโดดเด่นเป็นพิเศษเพราะเป็นคนผิว ด�ำที่มีความอาวุโสทางการเมืองสูงสุดในสหรัฐและเป็นตัวแทน
ผมเรียนปริญญาตรีในช่วงเดียวกับฮิลลารีซึ่งเรียนอยู่ที่ วิทยาลัยเวลล์สลีย์ในรัฐแมสซาชูเซตส์ แม้ผมจะเรียนอยู่คนละ ฟากประเทศกั บ เธอ แต่ ใ นช่ ว งนั้ น บริ บ ทของสั ง คมอเมริ กั น เหมือนกันไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน กล่าวคือ คนหนุ่มสาวนับล้านต่อ ต้านการท�ำสงครามในเวียดนามและการด�ำเนินชีวิตกระแสหลัก ของชาวอเมริกันอันได้แก่การมุ่งแสวงหาความร�่ำรวยและการ บริโภคแบบสุดโต่ง ในกระบวนการต่อต้านนั้นเกิดปรากฏการณ์ อั น เป็ น การเคลื่ อ นไหวของเยาวชนที่ มั ก รู ้ จั ก กั น ในนามของ “ฮิปปี้” เยาวชนกลุ่มนี้มีลักษณะโดดเด่นเป็นพิเศษที่มักแต่ง กายด้วยเสื้อผ้าปอน ๆ ไว้ผมยาว หนวดเครารุงรัง จ�ำนวนมาก สูบกัญชาและจ�ำนวนหนึ่งติดยาเสพติดชนิดอื่น ฮิลลารีมิได้เข้าร่วมกระบวนการฮิปปี้ แต่ในหลาย ๆ กรณีเธอมีแนวคิดและท�ำกิจกรรมแบบตรงข้ามกับการด�ำเนิน 16
IS AM ARE www.ariyaplus.com
ตั ว ไกล..หั ว ใจอยู ่ ใ กล้ ของรั ฐ แมสซาชู เซตส์ ในพิ ธี ฮิ ล ลารี ขึ้ น กล่ า วปาฐกถาหลั ง And Other Lessons Children Teach Us (มีบทคัดย่อภาษา วุฒิสมาชิกผู้นั้นในฐานะตัวแทนของนักศึกษาที่เข้ารับปริญญา ไทยอยู่ในเว็บไซต์ของมูลนิธินักอ่านบ้านนา) หนังสือขายดีมาก เนื่องจากเธอเป็นหัวหน้าชั้นและเรียนจบด้วยคะแนนโดดเด่น และฮิลลารีบริจาครายได้ให้แก่องค์กรการกุศล ปาฐกถาของเธอสร้างความตระหนกตกใจให้กับผู้ใหญ่ในพิธีจน หลังพิมพ์มา 20 ปี หนังสือเล่มนี้กลับมาเป็นที่กล่าว เป็นข่าวใหญ่ที่นิตยสาร Life น�ำไปตีแผ่ ขวัญกันอีกครั้ง ทั้งนี้เพราะแนวโน้มบ่งว่าฮิลลารีอาจได้เป็น ฮิลลารีพูดสองอย่างที่สร้างความสั่นสะเทือนต่อผู้ฟัง ประธานาธิบดีสตรีคนแรกของสหรัฐ ผู้สนใจในที่มาและเนื้อหา และสังคมอเมริกัน นั่นคือ เธอเริ่มพูดด้วยการตอบโต้ปาฐกถา ของหนังสือมองกันไปต่าง ๆ นานาว่าฮิลลารีคิดอย่างไรในการ ของวุฒิสมาชิกผู้นั้นว่าไม่มีแก่นสารส�ำหรับแก้ปัญหาของสังคม เขียนหนังสือและแนวคิดนั้นจะมีผลต่อนโยบายอย่างไรหากเธอ การตอบโต้นี้ไม่มีอยู่ในข้อคิดที่เธอเตรียมมา ในตอนลงท้าย เธอ ได้เป็นประธานาธิบดี ผมมองว่า ในบรรดาแนวคิดทั้งหลาย สิ่ง ท้าทายและดูแคลนผู้ใหญ่ทั้งในและนอกสถานที่นั้นด้วยการอ่าน ที่คนไทยน่าจะให้ความใส่ใจเป็นพิเศษได้แก่ต้นตอของแนวคิดที่ กลอนซึ่งตอนหนึ่งถอดความได้ว่า เธอน�ำมาใช้เป็นชื่อหนังสือ นั่นคือ It takes a village to raise “ฉันก้าวออกนอกประตูไปสู่โลก a child ประโยคนี้เป็นสุภาษิตของชาวแอฟริกันซึ่งคงแปลตรง ๆ ไม่เศร้าโศกห่วงใยหรือไร้หวัง ว่า “ต้องใช้ทั้งหมู่บ้านในการเลี้ยงดูเด็ก” และอาจใช้ได้กับ หญิงงมงายชายโฉดจงโปรดฟัง หลายบริบท ส�ำหรับเมืองไทย ผมเห็นว่าบริบทของการศึกษา คนล้าหลังโลกยุคใหม่ไม่ต้องการ” น่าจะเหมาะสมที่สุดเนื่องจากการศึกษาของไทยประสบปัญหา จากนั้น ฮิลลารีไปเรียนต่อด้านกฎหมายที่มหาวิทยาลัย ถึงกับบางคนประเมินว่าล้มเหลวโดยสิ้นเชิง เยล หลังเรียนจบกฎหมายเธอมีโอกาสสูงมากที่จะสร้างความ ส� ำ หรั บ ผม ความล้ ม เหลวในด้ า นการศึ ก ษาของไทย สะท้อนปัญหาในสังคมไทยโดยรวมซึ่งจะมองแบบแยกส่วนไม่ ได้ ผมเคยเรียนวิชาครู แม้จะมิได้ประกอบอาชีพครู แต่มีโอกาส ได้คลุกคลีกับวงการศึกษามาเกือบ 20 ปี ผมมีความประทับใจ ว่าเมื่อเอ่ยถึงการศึกษา แทบทุกคนมองว่าเป็นเรื่องของโรงเรียน อันเป็นการมองแบบแยกส่วนอีกระดับหนึ่งซึ่งผิดอย่างมหันต์ เนื่องจากการเรียนรู้เกิดขึ้นตลอดเวลาไม่ว่าจะที่ไหน ฉะนั้น สมาชิกทุกคนในสังคมรอบด้าน หรือ “หมู่บ้าน” ดังที่อ้างถึง จึงมีบทบาทส�ำคัญในการให้การศึกษาแก่เยาวชนซึ่งมักท�ำตาม ต้นแบบ ในปัจจุบัน สังคมไทยมีต้นแบบที่เลวร้ายกระจัดการ จายอยู่ทั่วทุกหัวระแหง ความเลวร้ายทั้งหลายมักเกิดจากราก เหง้าเดียวกัน นั่นคือ ความฉ้อฉลซึ่งมีอยู่ทั่วไปรวมทั้งในสถาบัน การศึกษาไม่ว่าจะเป็นการโกงเวลาและงบประมาณ หรือการ ท�ำงานเพียงเพื่อหวังสร้างภาพและขอไปที ด้วยเหตุนี้ ถ้าเรา แก้ปัญหาความฉ้อฉลในสังคมไม่ได้ก็อย่าคิดว่าจะแก้ปัญหาใน ด้านการศึกษาส�ำเร็จ ร�่ำรวยด้วยการรับงานในส�ำนักงานกฎหมายใหญ่ ๆ เช่นเดียวกับ ฮิ ล ลารี มั ก คิ ด และท� ำ อะไรออกไปนอกกรอบ เพื่อนนักศึกษาที่จบจากมหาวิทยาลัยดัง ๆ เช่นเยล แต่เธอกลับ รอบ ๆ ตั ว มาตั้ ง แต่ ค รั้ ง ยั ง เป็ น เด็ ก ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ที่ ไปรับต�ำแหน่งที่มีรายได้เพียงจ�ำกัดในองค์กรเอกชนที่ก่อตั้งขึ้น ท� ำ ให้ เ ธอเป็ น เช่ น นั้ น ได้ แ ก่ วิ ธี ก ารการเลี้ ย งดู ข องพ่ อ เพื่อสนับสนุนเด็กโดยเฉพาะเด็กด้อยโอกาสพร้อมกับท�ำงานด้าน แม่ การแก้ ป ั ญ หาการศึ ก ษาของไทยคงต้ อ งอาศั ย สิทธิของสตรี ต่อจากนั้น ฮิลลารีติดตามบิล คลินตัน ไปอยู่ในรัฐ การคิ ด และท� ำ แบบนอกกรอบที่ ท� ำ กั น มานมนานแล้ ว อาร์คันซอซึ่งยากจนที่สุดรัฐหนึ่งเพื่อสนับสนุนเขา เธอท�ำหน้าที่ เช่ น กั น ส่ ว นจะท� ำ อะไรบ้ า งนั้ น เราต้ อ งระดมสมอง นั้นอยู่กว่า 20 ปีจึงเขียนหนังสือออกมาชื่อ It Takes a Village: กั น อย่ า งเร่ ง ด่ ว น 17 issue 100 may 2016
ปฏิสัมพันธ์ดี
ก็มีความสุข
๑. โลกนี้ มี มิ ต รอยู ่ ๓ ประเภท ๑)บาปมิ ต ร เพื่ อ นชั่ ว จงอย่ า คบ ๒)กั ล ยาณมิ ต ร เพื่ อ นดี จงคบ ๓)พั น ธมิ ต ร เพื่ อ นที่ ผู ก พั น กั น ด้ ว ยผลประโยชน์ จงระวั ง ๒. ต่ อ ความร้ า ยด้ ว ยความดี ต่ อ ความตระหนี่ ด ้ ว ยการให้ ต่ อ ความโกรธด้ ว ยความเมตตา ต่ อ ความเท็ จ ด้ ว ยความสั ต ย์ ต่ อ ผู ้ มี คุ ณ ด้ ว ยความกตั ญ ญู ๓. ดี ต่ อ เขาเท่ า กั บ ดี ต่ อ ตั ว เอง ร้ า ย ต่ อ เขาเท่ า กั บ ร้ า ย ให้ ตั ว เอง ยิ้ ม ให้ กั บ เขาเท่ า กั บ ยิ้ ม ให้ ตั ว เอง เราแสดงออกต่ อ เขาอย่ า งไร เขาก็ ส ะท้ อ นมาอย่ า งนั้ น ๔. ลดความรู ้ สึ ก ลง เพิ่ ม ความรู ้ ใ ห้ ม ากขึ้ น ลดความเป็ น ฝั ก ฝ่ า ยลง เพิ่ ม ความสามั ค คี ใ ห้ ม ากขึ้ น ลดความรุ น แรงลง เพิ่ ม สั น ติ วิ ธี ใ ห้ ม ากขึ้ น คนที่ เ ห็ น แตกต่ า งจากเรา ไม่ ไ ด้ ห มายความว่ า เขาเป็ น คนไม่ ดี
18 IS AM ARE www.ariyaplus.com
Dhamma Today
๕. บุ ค ลิ ก ภาพของเราคื อ สิ่ ง ที่ ก� ำ หนดคนที่ เ ข้ า มาหาเรา ผู ้ ยิ้ ม ย่ อ มได้ รั บ การยิ้ ม ตอบ ผู ้ โ กรธย่ อ มได้ รั บ การโกรธตอบ เราเป็ น อย่ า งไร เขาก็ เ ป็ น อย่ า งนั้ น ๖. “อย่ า ท� ำ ให้ ค นที่ อ ยู ่ ข ้ า งหน้ า คุ ณ เจ็ บ ” เพราะมนุ ษ ย์ จ ดจ� ำ คนที่ ท� ำ ให้ เ กลี ย ด ยาวนานกว่ า จดจ� ำ คนที่ ท� ำ ให้ เ รารั ก หนึ่ ง ค� ำ พู ด ที่ ดี มี ค ่ า ยิ่ ง กว่ า ทองพั น ชั่ ง หนึ่ ง อ้ อ มกอดที่ เ ปี ่ ย มไมตรี จิ ต ติ ด ตราตรึ ง ใจไปถึ ง สามฤดู ห นาว ๗. มี ศั ต รู ห นึ่ ง คนนั บ ว่ า มากเกิ น พอ มี เ พื่ อ น ๕๐๐ คนยั ง น้ อ ยเกิ น ไป วิ ธี ท� ำ ลายศั ต รู ที่ ดี ที่ สุ ด คื อ จงเปลี่ ย นศั ต รู ม าเป็ น มิ ต ร (ที่มา : มหัศจรรย์แห่งชีวิต ๗ หลักคิดจาก ว. วชิรเมธี, จัดพิมพ์โดย สถาบันวิมุตตยาลัย, พิมพ์ครั้งแรก พฤศจิกายน ๒๕๕๑, หน้า ๒๕-๒๙)
19 issue 100 may 2016
กระจกส่ อ งใจ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (พิเศษ) อรอนงค์ อินทรจิตร
“รัก VS เซ็กซ์ ”
“ดิ ฉั น คบกั บ คนรั ก มาห้ า ปี ก ว่ า เคยเลิ ก กั น ไปหลายครั้ ง แต่ ก็ ก ลั บ มาคบกั น ใหม่ มี ค รั้ ง หนึ่ ง ฉั น เคยเลิ ก กั บ เขา แล้ ว ไปมี แ ฟนใหม่ แ ล้ ว ดิ ฉั น ก็ ไ ปมี อ ะไรกั บ แฟนคนที่ ส องทั้ ง ที่ ยั ง คบกั น ได้ แ ค่ ส องสามเดื อ น ด้ ว ยความรู ้ สึ ก เหงา และคงเพราะความมั ก ง่ า ยของดิ ฉั น เอง ดิ ฉั น มี อ ะไรกั บ คนที่ ส องเพี ย งครั้ ง เดี ย วเท่ า นั้ น ต่ อ มาดิ ฉั น ก็ เริ่ ม รู ้ ตั ว แล้ ว ว่ า แฟนคนที่ ส องคนนี้ ไ ม่ ใ ช่ ค นที่ ดิ ฉั น รั ก จริ ง ๆ ไม่ ใ ช่ ค นที่ ใ ช่ ส� ำ หรั บ ดิ ฉั น 20 IS AM ARE www.ariyaplus.com
ดิฉันจึงกลับไปคบกับแฟนคนแรก เพราะใจของดิฉัน ยังรักและคิดถึงเขาอยู่มาก พอเรากลับมาคบกัน เขาก็เสียใจที่ ระหว่างที่เราเลิกกัน ดิฉันไปคบกับคนอื่น จึงท�ำให้เขาเสียใจ มาก แค่เขาไม่เคยไปคบกับใครเลย ซึ่งดิฉันก็พยายามท�ำให้ เขายอมกลับมาคืนดีจนได้ เรากลับมาคบกันอีกครั้ง ความรัก สดใสมากกว่าเดิม เรามีความสัมพันธ์กันอย่างลึกซึ้ง ดิฉันรัก เขามาก และเขาก็รักดิฉันมากเช่นกัน แต่มันก็ยังเกิดความรู้สึก ค้างคาใจของเขา ว่าดิฉันเคยมีอะไรเกินเลยกับแฟนคนที่สอง หรือไม่ ดิฉันได้แต่ปฏิเสธไปอย่างหน้าด้านๆ ว่าไม่เคย ดิฉันคิด ว่าเขาคงไม่มีทางรู้เรื่องนี้เป็นแน่ ดิฉันอยากให้ความลับนั้นตาย ไปกับดิฉัน แต่แล้วความลับก็ไม่มีโลก ดิฉันได้คุยกับแฟนคนที่สอง ในเฟสบุ๊ค แล้วลืมลบข้อความที่คุยกัน แฟนคนที่สองคุยเรื่อง ที่ เ ราเคยมี อ ะไร กั น แล้ ว บั ง เอิ ญ ว่ า แฟนคนแรก ของดิ ฉั น รู ้ ร หั ส ผ่ า นของเฟสบุ ๊ ค จึ ง เข้ า ไปเจอ เขาจึ ง รู ้ ค วามจริ ง ว่ า ดิ ฉั น เคยมี อ ะไรกั บ คนอื่ น นอกจากเขา ซึ่งท�ำให้เขารับไม่ได้และเสียใจมากที่ดิฉันโกหกเขา มาตลอด เขาจึงบอกเลิกดิฉัน เพราะตัวดิฉันเองที่ท�ำให้เขาต้อง ท�ำเช่นนี้ เขาเสียใจมากเช่นกัน เขาบอกว่าระหว่างเราคงกลับไป เป็นเหมือนเดิมไม่ได้อีกแล้ว ดิฉันเสียใจมาก รู้สึกว่าดิฉันเป็นคน ที่เลวมาก ที่ท�ำลายความรักความภักดีของผู้ชายคนหนึ่งได้ลง ดิฉันเสียใจและละอายใจมาก เกินกว่าที่จะฉุดรั้งเขาไว้ได้ แต่ก็ ไม่รู้ว่าดิฉันควรจะท�ำอย่างไรต่อไปกับชีวิต ดิฉันขาดเขาไม่ได้ เขาคือทุกสิ่งทุกอย่างของชีวิต เขาคือคนที่ดิฉันรักมากที่สุดเช่น กัน แต่ดิฉันกลับท�ำทุกอย่างให้พังทลายไปด้วยความเลว ความ ใจง่ายของดิฉันเอง ดิฉันไม่อยากมีชีวิตอยู่ต่อไปอีกแล้ว ชีวิตดิฉัน ไม่เหลืออะไรแล้ว ดิฉันเสียใจมาก ท�ำใจไม่ได้เลย ไม่รู้ว่าจะท�ำ อย่างไรต่อไป ดิฉันรักเขามาก แต่ดิฉันกลับท�ำลายเขาเองกับมือ ดิฉันควรท�ำอย่างไรต่อไปดี?” ตลอดกว่าสามสิบปีของงานบริการให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ ของมูลนิธิศูนย์ฮอทไลน์ เราได้เห็นความเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ ในสังคมไทย ทั้งพฤติกรรม ทัศนคติและความเชื่อที่เปลี่ยนไป ตามแรงหมุนของโลก ในขณะที่ประเทศไทย คนไทยยังไม่มีความ พร้อมในการรองรับความเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะในเรื่องของ ความสัมพันธ์หญิงชาย ในอดีตผู้หญิงไทยอยู่ในสถานภาพที่ด้อย กว่าผู้ชาย เพราะโอกาสทางการศึกษามีน้อย สิทธิในการตัดสิน ใจด้วยตนเองแทบไม่มี ผู้ชายเป็นผู้น�ำในการก�ำหนดบทบาท
ถูกผิดภายในครอบครัว สังคม และการเมือง ในฐานะที่ควบคุม อ�ำนาจทางเศรษฐกิจไว้ในมือ หลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติลงได้ไม่นาน แต่เป็นการ เริ่มต้นของสงครามเวียตนามและอีกหลายประเทศในอาเซีย ถึงแม้ว่าประเทศไทยจะไม่ได้เป็นคู่สงครามกับใคร แต่ก็ถูกดึง เข้าไปเกี่ยวข้องต้องรองรับฐานทัพอเมริกา ทหารอเมริกันทะลัก เข้ามาประเทศไทยพร้อมกับความหอมหวานของค�ำว่า “สิทธิ เสรีภาพและความเสมอภาคระหว่างเพศ” ผ่านทางสื่อภาพ ยนตร์ฮอลลิวูดที่คนไทยมองว่าเป็นความศิวิไลซ์ที่ต้องไขว่คว้าไว้ ท่ามกลางการพัฒนาเปลี่ยนแปลงจากการได้ชื่อว่าเป็นประเทศ กสิกรรมเพื่อเข้าสู่การเป็นประเทศอุตสาหกรรมเหมือนประเทศ ทางตะวันตกที่พัฒนาแล้ว ที่ส�ำคัญ หลายสิบปีก่อนหน้านั้น คนไทยส่วนใหญ่ยังขาด ความรู้ความเข้าใน เรื่ อ งเพศสั ม พั น ธ์ หรื อ ที่ เราเรี ย กกั น ว่ า “เซ็ ก ซ์ ” อั น หมายถึง “กิจกรรม ทางเพศ” ด้วยความเชื่อที่ว่า “เซ็กซ์ ไม่ใช่เรื่องที่คนดีๆ น�ำมา พูดกัน” ผู้ปกครองหรือพ่อแม่ก็ไม่มีความรู้ความเข้าใจมากพอ จะน�ำมาอบรมสั่งสอนลูก วิธีที่ง่ายที่สุดที่ท�ำกันเรื่อยมาคือเมื่อ ลูกชายเข้าสู่วัยรุ่นก็พาไป “ขึ้นครู!” ตามสถานบริการทางเพศ ส่วนครูจริงๆ ก็สอนอย่างอึกอักตะกุกตะกัก บ้างก็ว่า “...ยาม เช้าผึ้งตัวผู้บินไปดูดน�้ำหวานที่เกสรดอกไม้....แล้วบินจากไป ต่อมาผึ้งตัวเมียก็มาดูดน�้ำหวานและคลุกเคล้าตัวเองบนเกสร ดอกไม้ แล้วจึงกลับรัง ไม่นานผึ้งตัวเมียก็ตั้งท้องและวางไข่!” นักเรียนที่ก�ำลังตั้งใจฟัง (หูผึ่ง) เรื่องเพศสัมพันธ์ถึงกับอ้าปาก ค้าง...” แล้วมันจะมีเพศสัมพันธ์กันตอนไหนครับครู?” ครูบอก ว่า “...ก็มันมีไปแล้วล่ะ!” ครูจากโรงเรียนมัธยมชื่อดังที่สุดของเมืองไทยอีกคน อธิบายเรื่องเพศสัมพันธ์ว่า “.....หญิงชายแต่งงานกัน ...อยู่ด้วย กัน...(นิ่งไปชั่วครู่) ต่อมาก็มีลูก!” จบว่าด้วยความรู้เรื่องเพศ ศึกษา เพราะฉะนั้นความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศสัมพันธ์ระหว่าง หญิงชายในสังคมไทยจึงไม่ค่อยจะราบรื่นนัก! ….แล้วความรักหวานแหววที่แสดงออกอย่างเปิดเผย ก็มาพร้อมกับรายการ “มิวสิควีดีโอ” ภาพยนตร์สั้นสะท้อน ความสัมพันธ์หรือความรักของหนุ่มสาวผ่านทางเสียงเพลง..... ภาพวิวประกอบฉากหลังสวยๆ หนุ่มสาวมาพบกันโดยบังเอิญ ร้องเพลงเกี้ยวกัน....สบตากัน ปิ้งกัน.....เดินจูงมือกัน แล้วภาพ ก็ตัดต่อไปที่ห้องนอน....ภาพก่ายกอดพลอดรักระหว่างหญิง 21
issue 100 may 2016
เกี่ยวข้อง ขอเพียงให้มีเธอกับฉันเท่านั้นก็พอ! เพราะฉะนั้นเมื่อทุกอย่างเริ่มอย่างง่ายๆ ระหว่างคน สองคน เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นเรื่องก็จะจบลงอย่างง่ายๆ โดยฝ่าย ที่เสียใจ ทุกข์ใจ รับไม่ได้มักเป็นฝ่ายหญิง โดยเฉพาะเมื่อมีเรื่อง “เซ็กซ์” เข้ามาเป็นเงื่อนไขฝ่ายหญิงมักจะโทษตนเองและมอง ว่าตัวเองเป็นฝ่ายผิด มักง่าย ไม่ตอบสนองต่อความต้องการของ ฝ่ายชาย ไม่ท�ำให้ผู้ชายมีความสุข จนถึงเป็นผู้ท�ำลายความรัก ของฝ่ายชาย เธอจึงรู้สึกเหมือนตัวเอง “ไม่มีคุณค่า” จนไม่รู้จะ มีชีวิตอยู่ต่อไปได้อย่างไร เพราะการกระท�ำของตัวเอง! และนี่คือความรู้สึกขัดแย้ง หรือปัญหาบุคลิกภาพขัด แย้ง ที่เกิดขึ้นกับคนรุ่นใหม่ในสังคมสมัยใหม่ที่ถูกพัดพา(แทน การพัฒนา) หรือลมเพลมพัดตามวัฒนธรรมตะวันตกที่น�ำเสนอ เพียงด้านเดียว คนไทยจึงมองเห็นและคัดลอกเฉพาะด้านเดียว ที่ฉาบฉวย เช่น เข้าใจว่าสิทธิความเสมอภาคทางเพศ หมายถึง ผู้หญิงผู้ชายสามารถแสดงออกของพฤติกรรมทางเพศได้เหมือน กัน โดยไม่ตระหนักรู้หรือท�ำความเข้าใจในรายละเอียดของ วัฒนธรรมประเพณีไทย ที่แตกต่างจากวัฒนธรรมความเชื่อและ สถานการณ์ในประเทศตะวันตกนั้นๆ โดยเฉพาะ “ภาษา” ที่ใช้ เช่น “ความเสมอภาคทาง เพศ...เพศในที่นี้ไม่ได้หมายความถึงกิจกรรมทางเพศ หรือ เพศสัมพันธ์ แต่หมายรวมถึงความเสมอภาคหรือสิทธิที่เท่า
ชาย...สุ ด ท้ า ยเมื่ อ ความรั ก จางจื ด หรื อ มี บุ ค คลที่ ส ามเข้ า มา เกี่ยวข้อง ความเข้าใจผิด ความโกรธ เสียใจ แล้วคนสองคนก็ เดินหันหลังให้กัน.....เพลงโศกเศร้าสะท้อนอารมณ์สูญเสีย..... กลายเป็ น บรรยากาศที่ ป ระทั บ ใจ สื่ อ สะท้ อ นความสั ม พั น ธ์ ระหว่างชายหญิงรุ่นใหม่ โดยมีเนื้อหารายละเอียดมากมายถูก ตัดหายไป ด้วยเหตุผลที่ว่า “สื่อโทรทัศน์หรือภาพยนตร์” เหล่า นี้ มีเวลา (ราคาแพง) ที่จ�ำกัด จึงจ�ำเป็นต้องตัดทอนบางส่วน (ที่ส�ำคัญ) ออกไป แต่เนื้อหาที่สื่อออกมาสู่สายตาคนรุ่นใหม่ใน ประเทศไทย คือการแสดงออกของความรักว่าเป็นเรื่องธรรมดา การเดินจูงมือกันตามถนน บนศูนย์ การค้าต่างๆ หรือการกอด จูบตามสวนสาธารณะเป็นพฤติกรรมของคนรักกัน ตลอดจน การมีเพศสัมพันธ์เมื่อคบหากันเป็นเรื่องของธรรมชาติ โดยไม่ ได้ระแวดระไวถึงปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมที่อาจเกิดขึ้นและ ตามมา และนั่นคือพัฒนาการของความสัมพันธ์ระหว่างเพศใน สังคมไทยที่เน้นเรื่องเพศสัมพันธ์ หรือกิจกรรมทางเพศ (เซ็กซ์) เป็นส�ำคัญ ดังในกรณีของหญิงชายข้างบนนี้ นั่นคือ....ทั้งสองคบหากันรักกันและมีเพศสัมพันธ์กัน ด้วยความสมัครใจ โดยไม่ต้องปิดบังหรือเก็บง�ำพรหมจรรย์ไว้ จนถึงวันเวลาที่สมควร ซึ่ง “เซ็กซ์” อาจจะเป็นเงื่อนไขหลัก ส�ำหรับคนรุ่นใหม่ที่ไม่ต้องอาศัย “เสน่ห์ปลายจวัก” หรือ “จะ ดูช้างให้ดูหาง จะดูนางให้ดูที่แม่..” ไม่จ�ำเป็นต้องมีผู้ใหญ่มา 22
IS AM ARE www.ariyaplus.com
เทียมกันระหว่างผู้หญิงผู้ชายหรือเพศ หญิ ง เพศชาย” ที่ ส� ำ คั ญ คื อ ในความ เสมอภาคระหว่างหญิงชาย จ�ำเป็นต้อง มีความเคารพในการตัดสินใจของทั้งสอง ฝ่าย เมื่อฝ่ายชายคิดว่าตนเองมีเกียรติ มี ศั ก ดิ์ ศ รี ก็ ต ้ อ งเข้ า ใจว่ า ฝ่ า ยหญิ ง ก็ มี เกียรติมีศักดิ์ศรีด้วยเช่นกัน หากมีความ ผิดพลาดบกพร่องในกรณีที่เหมือนกัน ก็ ต้องได้รับการยอมรับที่เสมอกัน กรณีหนุ่มสาวคู่นี้ ระหว่างที่รัก และคบหากันมีเพศสัมพันธ์กัน ยอมรับ กันและกันได้ แล้วก็เลิกร้างกันโดยที่ต่าง ก็ไม่รู้ว่า ทั้งสองคนจะหันกลับมาคบหา กันอีก การจากกันครัง้ นีใ้ นหลายกรณีฝา่ ย ชายมักเป็นคนไปมีใหม่ แต่ไม่ใช่กรณีนี้ที่ ฝ่ายหญิงกลับเป็นฝ่ายพบชายใหม่ แล้ว มี เ พศสั ม พั น ธ์ กั น ไม่ ต ่ า งจากที่ เ คยมี กั บ คนแรก นั่นคือเมื่อไม่รู้อนาคต และการ คบหามีเพศสัมพันธ์กัน ฝ่ายหญิงสาวคิด ว่าเป็นเรื่องธรรมดา จึงถือเป็นเรื่องปกติ ไม่ใช่การหลอกลวง ทรยศ หรือไม่ซื่อตรง ต่อคนแรก จนเมื่อเธอตัดสินใจเลิกคนที่ สองกลับมาหาคนแรกและคบหากันใหม่ ก็เหมือนการเริ่มต้นใหม่ ฝ่ายชายจึงต้อง ให้ความเคารพในการตัดสินใจของฝ่าย หญิ ง ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งไปค้ น หาความผิ ด ของฝ่ายหญิง โดยเฉพาะเมื่อรู้ว่าเธอมี เซ็กซ์กับคนที่สอง ก็เป็นเรื่องความสมัคร ใจส่วนตัวของเธอและได้ยุติความสัมพันธ์ ไปแล้วไม่ใช่คบหากับทั้งสองชายในเวลา เดียวกัน แต่เหตุการณ์กลายเป็นว่าฝ่าย ชายโกรธและท� ำ ใจยอมรั บ ฝ่ า ยหญิ ง ไม่ ได้ นั่ น สะท้ อ นความเชื่ อ ของฝ่ า ยชาย ในเรื่ องที่ ตั ว เขาต้องการเป็น “คนแรก และคนสุดท้าย” ส�ำหรับฝ่ายหญิง จะ เห็ น ว่ า ทั้ ง สองคนแสดงพฤติ ก รรมที่ ดู “น�ำสมัย” หรือพฤติกรรมที่คนรุ่นใหม่มี ความเชื่อ คือการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการ แต่งงานเป็นเรื่องธรรมดา แต่เมื่อผู้หญิง เคยมีความสัมพันธ์กับชายอื่น(คนที่สอง)
มาแล้ว ฝ่ายชายกลับขัดแย้งในสิ่งที่ตน แสดง คือรับไม่ได้! ฝ่ า ยหญิ ง ก็ เช่ น กั น เธอลื ม มอง ไปว่ า เธอเองมี สิ ท ธิ ใ นการตั ด สิ น ใจว่ า จะมีเพศสัมพันธ์กับคนแรก เมื่อแรกคบ กัน และเลิกร้างกันไป ต่อมาจึงมีความ สัมพันธ์กับชายคนที่สองด้วยความสมัคร ใจและด้ ว ยความพอใจในการตั ด สิ น ใจ ของตนเองในช่วงที่ไม่มีคนแรกแล้ว ซึ่ง ชายคนที่ ส องก็ ไ ม่ ไ ด้ ล ะเมิ ด ความเป็ น ส่วนตัวด้วยการไปค้นหาความผิดของเธอ เพราะฉะนั้นชายคนแรกก็ต้องให้เกียรติ ฝ่ายหญิงและเคารพในการตัดสินใจของ เธอด้วยเช่นกัน ฝ่ายหญิงจึงไม่จ�ำเป็นต้องไปรับ ผิ ด หรื อ กล่ า วหาลงโทษว่ า ตั ว เองไม่ ดี เพราะเธอไม่ ไ ด้ ท� ำ ลายความรั ก ความ ภั ก ดี ของผู ้ ช ายคนนี้ การที่ เขาปฏิ เ สธ เธอสะท้อนให้เห็นว่า เขาให้ความส�ำคัญ กั บ เซ็ ก ซ์ ห รื อ กิ จ กรรมทางเพศกั บ เธอ มากกว่าคุณความดีหรือความสัมพันธ์ที่ ดีระหว่างเขาและเธอ หากความสัมพันธ์ ระหว่ า งหญิ ง ชายเริ่ ม ต้ น ด้ ว ยการไม่
23 issue 100 may 2016
เคารพในเกียรติและศักดิ์ศรีของกันและ กั น โดยเฉพาะกรณี ที่ ฝ ่ า ยหญิ ง รู ้ สึ ก ว่ า ฝ่ายชายยอมรับอดีตของเธอไม่ได้ในตอน นี้ โอกาสที่เธอจะตกเป็นจ�ำเลยของเขา ในอนาคตและในเรื่องอื่นๆ ยังรออยู่ข้าง หน้าอีกมาก แน่ น อน เธอรู ้ สึ ก เสี ย ใจและ ละอายใจในสิ่ ง ที่ ตั ว เองได้ ท� ำ ไป แต่ พฤติกรรมนั้นเกิดขึ้นในช่วงที่เธอมีอิสระ ในช่วงที่เธอไม่ได้มีคนรักแรก เธอไม่ได้ ทรยศไม่ได้หักหลัง เธอเป็นผู้ใหญ่ตัดสิน ใจได้ เ องแล้ ว ว่ า จะมี เซ็ ก ซ์ กั บ ใคร และ เธอยุติความสัมพันธ์กับชายคนที่สองแล้ว เมื่อกลับมาหาเขาเพื่อเริ่มต้นกันใหม่...... ทว่า....การที่เขาไม่ต้องการเธอใน วันนี้ ไม่ได้หมายความว่าเธอกลายเป็นคน ไร้ค่า คุณค่าของเธอยังคงอยู่ เพียงแต่เธอ จะต้องท�ำใจให้กล้าหาญ และก้าวต่อไป ให้ได้อย่างทรนง แม้ว่าจะต้องเจ็บปวด จนหัวใจแทบแหลกสลาย แต่...จงบอก กับตัวเองไว้เสมอว่า “....หากใครไม่เห็น คุณค่าของตัวเรา เขาก็ไม่ควรจะต้องมี เรา ก็....เท่านั้นเอง!”
24 IS AM ARE www.ariyaplus.com
Cartoon
25 issue 100 may 2016
26 IS AM ARE www.ariyaplus.com
27 issue 100 may 2016
Cover Story
“...กระผมไม่ใช่คนของนักการเมือง... กระผมเป็นข้าราชการของในหลวง” เรื่องเล่าจาก
หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล ร้ อ ยเอก หม่ อ มหลวงปนั ด ดา ดิ ศ กุ ล ปั จ จุ บั น เป็ น รั ฐ มนตรี ป ระจ� ำ ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี อายุ 59 ปี ประธาน กรรมการคณะกรรมการขั บ เคลื่ อ นยุ ท ธศาสตร์ ก ารบู ร ณาการการพั ฒ นาปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง อดี ต ปลั ด ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี อดี ต รองปลั ด กระทรวงมหาดไทย อดี ต ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด นครปฐมและ เชี ย งใหม่ เป็ น บุ ต รชายคนเดี ย วของพลตรี หม่ อ มราชวงศ์ สั ง ขดิ ศ ดิ ศ กุ ล อดี ต เอกอั ค รราชทู ต ไทยประจ� ำ หลายประเทศ และนางมั ณ ฑนา ดิ ศ กุ ล ณ อยุ ธ ยา ปั จ จุ บั น สมรสกั บ นางอั ม พร ดิ ศ กุ ล ณ อยุ ธ ยา มี บุ ต ร ชายคนเดี ย ว คื อ นายวรดิ ศ ดิ ศ กุ ล ณ อยุ ธ ยา
28 IS AM ARE www.ariyaplus.com
29 issue 100 may 2016
ความเป็ น มาของหม่ อ มหลวงปนั ด ดา อุ ด มไปด้ ว ย ประสบการณ์ ชี วิ ต ทั้ ง ในไทยและต่ า งประเทศ บุ ค ลิ ก ที่ เ ห็ น ได้ ชั ด เจนจากท่ า นคื อ รอยยิ้ ม และความอ่ อ นน้ อ มถ่ อ มตน เสมอต้นเสมอปลาย ไม่ว่าท่านจะด�ำรงต�ำแหน่งเป็นข้าราชการ ชั้นผู้น้อยหรือชั้นผู้ใหญ่ก็ตาม เรื่องราวจากบทสัมภาษณ์ต่อไปนี้ เชื่อว่าท่านผู้อ่านจะได้ท�ำความรู้จักหม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะเรื่องราวในวังวรดิศ ซึ่งท่านเอ่ยว่าเป็น บ่อเกิดแห่งความซาบซึ้งในเรื่องของความพอเพียง ชี วิ ต วั ย เด็ ก เริ่ ม ต้ น การศึ ก ษาจากโรงเรี ย นอะไร ? กระผมเป็นลูกชายคนเดียวครับ ตั้งแต่ปฐมวัยจริงๆ อยู่ โรงเรียนสมประสงค์ เป็นโรงเรียนอนุบาลและประถมต้นของ หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา คุณแม่ของหม่อมราชวงศ์สุขุม พั น ธุ ์ เป็ น โรงเรี ย นที่ก ่อตั้งขึ้น เพื่อให้ลูก หลานได้เข้าเรี ย นใน กรอบของโรงเรียนอนุบาลสมัยใหม่ ตามแนวคิดของรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น ก็คือหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล หลังจากโรงเรียนสมประสงค์ซึ่งปัจจุบันไม่มีแล้ว เพราะ ว่าปิดไปนานแล้ว กระผมได้ย้ายมาศึกษาที่โรงเรียนประถม และก็มัธยมสาธิต ประสานมิตร ซึ่งปัจจุบันก็คือโรงเรียนสาธิต ศรีนครินทรวิโรฒ อยู่ที่ถนนอโศก ก็เป็นเรื่องของความผูกพัน รุ่งเรืองของประเทศ กระผมเรียนต่างประเทศตลอดจนกระทั่งกระผมเรียน เพราะว่าตั้งแต่ครั้งเรียนหนังสือ เพื่อนฝูงทั้งหลายตราบจนวัน นี้ซึ่งอายุ 60 ปีเป็นส่วนใหญ่ ในรุ่นก็ยังมีความรักสมัครสมาน จบปริญญาโททางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่สหรัฐอเมริกา ก็ยังเป็นความทรงจ�ำ เพราะตอนที่เรียนจบคุณพ่อคุณแม่รวมทั้ง ในวั ย เรี ย นอาศั ย อยู ่ ต ่ า งประเทศ ได้ เ ห็ น หรื อ ได้ แ บบ คุณป้าท่านหนึ่ง กระผมกล่าวถึงท่านว่าเป็นคุณป้า เพราะว่า รักกับคุณพ่อคุณแม่ของกระผมมาก คือคุณ สังวรณ์ ไกรฤกษ์ อย่ า งอะไรมาจากคุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ ? คุณพ่อคุณแม่ของกระผมเดินทางไปต่างประเทศตั้งแต่ ปัจจุบันมีชีวิตอยู่ อายุท่าน 100 ปีแล้ว ท่านเคยเป็นภรรยา กระผมยั ง เป็ น เด็ ก ก็ ว ่ า ได้ เป็ น เรื่ อ งที่ ใช้ ชี วิ ต เดิ น ทางเยอะ ของอดีตเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงไคโร ประเทศสาธารณรัฐ มาก คุณพ่อสุดท้ายรับราชการสนองพระมหากรุณาธิคุณเป็น อาหรับอียิปต์ ท่านผู้นี้เป็นแรงบันดาลใจ ท�ำให้กระผมมีความ เอกอัครราชทูต ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ แล้วก็ไปอยูส่ มาพันธรัฐสวิส รักและความผูกพันในเรื่องของการศึกษาวิชาการทูต ก็พยายาม กรุงเบิร์น แล้วก็ส�ำนักวาติกัน หรือนครรัฐวาติกันที่เรียกกันอย่าง น�ำเอาเรื่องวิชาการทูตมาผสานเข้ากับแนวทางการรับราชการ เป็นทางการ ดังนั้น ในช่วงเวลาที่เป็นวัยศึกษา ในวัยหนุ่มต้อง ฝ่ายปกครอง ก็คือมหาดไทยซึ่งผมมีความรักความผูกพันมา ใช้ค�ำนั้น ก็เป็นเวลาที่กระผมจดจ�ำจารึกได้เป็นอันมากเพราะว่า ตลอดชีวิต ได้ติดตามครอบครัว ติดตามพ่อและแม่ในฐานะบุตรของนักการ ทูต ก็ได้เห็นการแสดงออกของบุพการี เรื่องของการรักษา ด�ำรง ขณะศึ ก ษาในระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย เคยคิ ด ว่ า จะมาเป็ น เกียรติยศของประเทศชาติ ความรักหวงแหนแผ่นดิน อัตลักษณ์ นั ก การทู ต เหมื อ นคุ ณ พ่ อ ไหม ? เคยขบคิดอยู่เหมือนกันครับ แต่ว่าพ่อให้คติธรรมค�ำ ของชนชาติไทยที่ท่านพยายามน�ำเอาไปเผยแพร่ให้นานาอารยะ ประเทศได้เรียนรู้ถึงประเทศไทย เหมือนกับสิ่งที่ท่าน ดร.สุเมธ สอนไว้ บอกว่าเรารับราชการโดยศึกษาจากพ่อเป็นตัวอย่าง ตั น ติ เวชกุ ล ได้ ก ล่ า วปรารภอยู ่ บ ่ อ ยครั้ ง ว่ า เอกลั ก ษณ์ ข อง บอกว่า “เป็นนักการทูตมันเหงานะ” คืออยู่ต่างประเทศเราไม่ ชนชาติไทย หรือชนชาติใดก็ตาม นั่นคือความเจริญรุ่งเรืองของ เหงาจริงอยู่ เราได้ท�ำหน้าที่ปฏิบัติภารกิจราชการต่างพระเนตร ประเทศชาติ ชาติที่มีเอกลักษณ์ ชาติที่มีวัฒนธรรม คือความ พระกรรณสนองพระบรมราชโองการ เป็ น เอกอั ค รราชทู ต 30 IS AM ARE www.ariyaplus.com
วิสามัญผู้มีอ�ำนาจเต็ม นั่นคือชื่อที่เรียก อย่ า งเป็ น ทางการ แต่ พ อพ้ น จากต่ า ง ประเทศแล้ว ซึ่งกระผมเข้าใจว่าคุณพ่อ คงจะหมายถึ ง เมื่ อ เกษี ย ณอายุ เ มื่ อ ไหร่ กลับบ้านมันจะเหงา เพราะว่าเพื่อนฝูง ที่ เ คยคบหาสมาคมเราห่ า งไกลกั น มาก เพราะไปใช้ ชี วิ ต อยู ่ ใ นต่ า งแดน อย่ า ง สมาคมข้ า ราชการบ� ำ นาญจะสั ง เกต เห็ น ของหลายๆ กระทรวงเขามี ผู ้ ค น มากมาย เพราะเขาคบกั น ในลั ก ษณะ ซึ่งเป็นธรรมชาติ ไม่ต้องอะไรอื่น ของ มหาดไทยรวมกัน ทีม ากมายหลายท่าน คือเกษียณไปแล้ว 10-20 ปีท่านก็ยังมา รวมวงพบปะกั น เป็ น ประจ� ำ พ่ อ จึ ง ได้ แนะน�ำว่าขบคิดดูให้ดีว่างานมหาดไทย น่าจะอยู่ในส�ำนึกของเรา
เริ่ ม รั บ ราชการครั้ ง แรกที่ ไ หน ? ก ร ะ ผ ม รั บ ร า ช ก า ร แ ต ่ แร ก เป็ น อาจารย์ ที่ ส ่ ว นการศึ ก ษากองวิ ช า กฎหมายและสังคมศาสตร์ โรงเรียนนาย ร้อยพระจุลจอมเกล้า กระผมรับราชการ ทหารไต่เต้าขึ้นมา สุดท้ายกระผมยศร้อย เอกเต็มขั้น ถ้าหากว่าต่ออีกสัก 4 เดือน จะได้ยศพันตรีแต่ พล.อ.สิทธิ จิรโรจน์ รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงมหาดไทยใน ขณะนั้น บอกว่า “ปนัดดา เราอยู่ที่ไหน ก็รับใช้กองทัพได้ เราจะไปรับราชการที่ กระทรวงไหน อย่างไรก็ตามแต่ยังหวน กลับมารับใช้โรงเรียน จปร.ได้เสมอ” ผมได้ ก ราบถวายบั ง คมลาสมเด็ จ พระ เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งทรงรับราชการเป็นองค์ผู้บังคับบัญชา อยู่ที่กองวิชาเดียวกัน ที่ส่วนการศึกษา
รร.นายร้อย จปร. เมื่ อ ก่ อ นผมตั ว เล็ ก (สมั ย รั บ ราชการทหาร) เอวเล็กเอวบาง (หัวเราะ) แทบจะจ�ำตัวเองไม่ได้ แล้วก็ออกก�ำลัง กาย รูปร่างจะไม่ปล่อยให้ตัวใหญ่เหมือน ทุกวันนี้ (หัวเราะ) กระผมรั บ ราชการเป็ น ทหาร อาชีพ เพราะว่าอยู่เหล่าทหารม้า ได้เข้า เรียนหลักสูตรชั้นนายร้อยของเหล่าทหาร ม้า ที่ ศูนย์การทหารม้า ค่ายอดิศร ก็ยัง ได้กราบเรียนท่านประธานองคมนตรีและ รัฐบุรุษ ซึ่งท่านรู้จักคุณพ่อคุณแม่กระผม ดี ท่ า นยั ง บอกว่ า รั บ ราชการทหารอยู ่ ดีๆ ท�ำไมมาอยู่พลเรือนเสียเพราะว่าเล่า เรี ย นมาทางด้ า นนี้ ด ้ ว ยไม่ ใช่ ห รื อ แล้ ว ต่ อ ออสเตรเลี ย ที่ โรงเรี ย นเตรี ย มทหาร คิ ง ส์ ท่ า นเคยถามกระผม (โรงเรี ย น เตรียมทหารคิงส์ พารามัตตา นครซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย)เป็นโรงเรียนเดียว กับที่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม มกุ ฏ ราชกุ มาร ได้ เ สด็ จ เข้ าทรงรับ การ ศึ ก ษาก่ อ นหน้ า ที่ พ ระองค์ ท ่ า นจะทรง เข้ า ศึ ก ษาต่ อ ที่ โรงเรี ย นนายร้ อ ยทหาร บกดันทรูน ที่กรุงแคนเบอร์รา ดังนั้นใน ช่วงที่คิงส์สคูลก็ได้มีโอกาสได้เข้าเฝ้าทูล ละอองพระบาทถวายงานรับใช้พระองค์ ท่านด้วยความจงรักภักดี บ ร ร ย า ก า ศ ใ น ก า ร รั บ ร า ช ก า ร ใหม่ ๆ ขณะเป็ น อาจารย์ ส อนอยู ่ ห ม ว ด วิ ช า เ ดี ย ว กั บ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เทพ ? อยู ่ ก องที่ พ ระองค์ ท ่ า นทรง เป็ น ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาเลย เมื่ อ ก่ อ นวิ ช า ประวั ติ ศ าสตร์ ยั ง ไม่ ไ ด้ แ ยกเป็ น กอง วิ ช าประวั ติ ศ าสตร์ เ หมื อ นกั บ ในช่ ว ง หลั ง ตอนหลั ง โรงเรี ย น จปร.แยกวิ ช า ประวั ติ ศ าสตร์ เ ป็ น กองหรื อ เป็ น คณะที่ เรี ย กกั น ในมหาวิ ท ยาลั ย จึ งรวมอยู่กับ กองวิชากฎหมายและสังคมศาสตร์ ซึ่ง
31 issue 100 may 2016
กระผมรั บ ฟั ง การปาฐกถาพิ เ ศษของสมเด็ จ พระราชาธิ บ ดี แห่ ง ภู ฏ าน ในขณะนั้ น ท่ า น เป็ น มกุ ฏ ราชกุ ม าร เสด็ จ เยื อ นประเทศไทย ท่ า นบอก “ท� ำ ไมคนไทยต้ อ งไปหาต� ำ รั บ ต� ำ รามาจากแดนไกลเพื่ อ มาเป็ น ทิ ศ ทางในการพั ฒ นาประเทศไทย ในเมื่ อ ค� ำ ตอบมี อ ยู ่ ใกล้ ตั ว ที่ สุ ด ค� ำ ตอบที่ ข ้ า พเจ้ า กล่ า วถึ ง นี้ คื อ องค์ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ของ ปวงชนชาวไทยที่ ข ้ า พเจ้ า มี ค วามรั ก และเทิ ด ทู น พระองค์ ท ่ า นเป็ น ที่ ย่ิ ง ”
32 IS AM ARE www.ariyaplus.com
กระผมเข้ารับราชการปีเดียวกับพระองค์ท่าน ยังจ�ำได้ว่าปีนั้น ลงข่าวหนังสือพิมพ์หน้าหนึ่งเลยพร้อมกับคณาจารย์ที่บรรจุใหม่ ทุกท่านเลย แล้วมีองค์ทูลกระหม่อมสมเด็จพระเทพรัตน์ประทับ ตรงกลาง ก็เป็นความภาคภูมิใจ เหมือนเมื่อวันวานทั้งๆ ที่ผ่าน ไปตั้งประมาณ 35 ปี ที่ได้มีโอกาสถวายงานรับใช้พระองค์ท่าน ถือว่าเป็นความฝันอันสูงยิ่งของชีวิตตนเองตราบจนทุกวันนี้
เพราะท่านเมตตาสอนงานมากมายหลายอย่าง และทางด้าน งานวิเทศสัมพันธ์งานด้านต่างประเทศท่านช�่ำชองมาก ท่านมี ความสามารถเก่งกล้ามากในเรื่องของการทูตการต่างประเทศ ซึ่งก็เป็นเรื่องที่กระผมได้รับคล้ายๆ สืบสานต่อสิ่งที่พ่อเคยสอน ไว้ เห็นจากที่พ่อเคยปฏิบัติหน้าที่ราชการทางด้านการทูตมา เห็นท่านวีระชัย ก็กลายเป็นภาคสอง แต่ว่าเป็นภาคสองของเรา เวลาท�ำงาน ทุกวันนี้ก็นึกถึงท่านอยู่ถึงแม้ท่านจะจากเรา ไปแล้ว ก็มารับราชการสังกัดกองการข่าวและการต่างประเทศ ตอนนั้นมีทั้งงานความมั่นคง งานกิจการผู้อพยพอินโดจีน งาน
แรกเริ่ ม รั บ ราชการมี ใ ครเป็ น แบบอย่ า งในดวงใจ บ้ า งไหม ? พลเอกสิ ท ธิ จิ ร โรจน์ เ ป็ น รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวง มหาดไทยในดวงใจของชาวมหาดไทย ไม่ใช่เฉพาะกระผม เรา พู ด กั น เป็ น เสี ย งเดี ย วว่ า ท่ า นมี เ มตตาธรรม ท่ า นเป็ น ทั้ ง นั ก บริหาร นักปกครอง เป็นบุคคลซึ่งต้องใช้ค�ำว่าเป็น โรล-โมเดล (แบบอย่ า งพ่ อ แม่ ใ ห้ ลู ก ท� ำ ตาม) เป็ น แบบอย่ า งในเรื่ อ งของ คุณงามความดี ดังนั้นหากถามกระผมว่า รัฐมนตรีมหาดไทย ในดวงใจตั้งแต่แรกเริ่มต้นเข้ารับราชการก็คงจะเป็นใครอื่นไป ไม่ได้ นอกจากท่าน ก็ในความเคารพท่าน ตราบจนทุกวันนี้ก็ ไม่เคยลืมในค�ำสอนชีวิตต่างๆ ที่ท่านให้ไว้เป็นตัวอย่างในการ ท�ำงาน เมื่อก่อนคนไทยไม่ต้องพูดกันเลยเรื่องธรรมมาภิบาล เรื่องความซื่อสัตย์สุจริต เรื่องความอ่อนน้อมสุภาพ ไม่ต้องพูด มันเป็นธรรมชาติของคนไทย ซึ่งเกิดขึ้นเองตั้งแต่ออกมาจาก ครรภ์คุณแม่ของเราทุกคน คล้ายๆ กับที่สมเด็จฯ กรม พระยาด�ำรงราชานุภาพท่านสอนว่า ความดีเกิดขึ้นมา พร้อมตัวเราทุกคน แต่มาถูกเปลี่ยนด้วยสิ่งแวดล้อม ซึ่งถ้าหาก ผู้ใดมีเรื่องจริยธรรมที่เข้มแข็ง ผู้นั้นก็จะสามารถด�ำรงสิ่งซึ่งเรียก ว่าเป็นธรรมชาติของคุณความดีไว้ได้ แต่หากผู้ใดอ่อนแอลง ตามกาลเวลา หรือว่าไม่มุ่งมั่นในค�ำสอนของบุพการีตนเอง ก็ กลายเป็นแพ้ภัยตนเอง ก็ต้องรักษาไว้ให้ได้ ฉะนั้น พอเอกสิทธิ จิรโรจน์ เป็นผู้บังคับบัญชาอีกท่านซึ่งกระผมร�ำลึกถึงท่านมาก ในเรื่องของความสม�่ำเสมอในการที่ท่านจะปฏิบัติให้ผู้ใต้บังคับ บัญชาให้ข้าราชการมหาดไทยได้เห็นในเวลานั้น ว่าคุณงามความ ดีนั้นค�ำนิยามคืออะไร
ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ไม่ ไ ด้ เ ป็ น เรื่ อ งที่ พู ด กั น เฉพาะภายใน ประเทศไทย แม้ ก ระทั่ ง ในนานาอารยะประเทศเขาก็ กล่ า วขานชื่ น ชมโสมนั ส
ส่วนกลางเชื่อมโยงภูมิภาค ทางด้านต่างประเทศ คณะทูตานุทูต ผู้แทนฝ่ายกงสุลจะเข้าพบรัฐมนตรี เข้าพบปลัดกระทรวง ได้ รับมอบหมายให้ท�ำหน้าที่เป็นล่ามประจ�ำตัวรัฐมนตรีอยู่หลาย สมัยซึ่งกระผมภูมิใจมากเลย พาคณะอาคันตุกะต่างประเทศไป เยือนราชการส่วนภูมิภาค ไปพบผู้น�ำท้องถิ่น ก็ต้องจัดโปรแกรม ก�ำหนดการ ให้เกิดความเรียบร้อย ให้เป็นที่พึงพอใจทั้งฝ่ายผู้มา เยือนทั้งฝ่ายเจ้าภาพ คือผู้บังคับบัญชา ให้เห็นว่าการมาเยือน นั้นจะเกิดมรรคเกิดผลอย่างไร ไม่ใช่เขามาเที่ยวเตร่สนุกสนาน อย่างเดียว แต่จะต้องให้เกิดสิ่งซึ่งเรียกว่ารูปธรรมในเรื่องของ การบริหารจัดการ โต๊ะเราตั้งแต่เด็กๆ ข้าราชการพลเรือนก็เหมือนทหาร ต�ำรวจ ตั้งแต่ข้าราชการผู้น้อยโต๊ะก็อยู่ข้างหน้า ตั้งแต่ระดับ C3 C4 C5 ซีเลื่อนขึ้นโต๊ะก็เลื่อนมาเรื่อย (หัวเราะ) เลื่อนมาด้านหลัง เรื่อยๆ ไม่ใช่ซีน้อยไปอยู่หลังซีมากไปอยู่หน้าไม่ใช่ นี่เรียกตาม ระบบเดิม ผู้เป็นผู้บังคับบัญชา หัวหน้างาน หัวหน้าฝ่าย ท่าน นั่งด้านหลัง ฉะนั้นกว่าจะพบท่านก็จะผ่านขั้นตอนมา อย่างสมัยก่อนนี้เข้มงวด น้องๆ รับราชการรุ่นใหม่ๆ คง ไม่ทราบ บางทีเราเป็นผู้ใต้บังคบบัญชา จะไปเข้าห้องน�้ำเพียง บรรยากาศในการรั บ ราชการใหม่ ๆ สมั ย ยั ง เป็ น ประเดี๋ยวประด๋าวยังต้องขออนุญาตหัวหน้างาน ทั้งๆ ห้องน�้ำ ข้ า ราชการชั้ น ผู ้ น ้ อ ยเป็ น อย่ า งไร ? ไม่ได้อยู่ไกล แต่คล้ายๆ จะลุกออกไปจากโต๊ะท�ำงานไม่ใช่ลุก กระผมไต่ เ ต้ า ขึ้ น มาตั้ ง แต่ เข้ า รั บ ราชการก็ เ ป็ น ตั้ ง แต่ ออกไปตามอ�ำเภอใจ ข้าราชการมีระเบียบวินัย ในอดีต พี่น้อง ระดับ C3-C4 ก็ยังจ�ำได้ว่ามาอยู่ที่กองการข่าวและการต่าง ประชาชนถึงให้ความเชื่อมั่นศรัทธา ถ้าจะลุกไปไหนทีไม่ใช่ลุก ประเทศ มี ผู ้ อ� ำ นวยการกองคื อ นายวี ร ะชั ย แนวบุ ญ เนี ย ร ไปพร้อมกัน ต้องเทค-เทอน คือถึงเวลาจะลุก ลุกไปขออนุญาต ถื อ เป็ น ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาในความทรงจ� ำ กระผมเช่ น เดี ย วกั น หัวหน้างาน ก็มีข้าราชการหญิงท่านหนึ่ง ไปขออนุญาตไม่พอ 33 issue 100 may 2016
มากมาย จะพยามน�ำเสนอในสิ่งที่เรียกว่า ผู้ฟังจะได้เรียนรู้ ได้เข้าใจ ว่าภาครัฐท�ำ อะไร หากท่านมีความไม่พอใจเรื่องหนึ่ง เรื่ อ งใดจะได้ ส ะท้ อ นกลั บ มาซั ก ถาม ก็ จะพยายามเป็นโฆษกที่อยู่ในกรอบของ ความเป็นข้าราชการยึดมั่นระเบียบวินัย
ยังมาฝากงานกระผมด้วย (หัวเราะ) บอก ฉันไม่อยู่ที่โต๊ะ เผื่อมีอะไรจะได้ท�ำแทน กัน นี่เป็นความรับผิดชอบที่แลดูเหมือน เป็นความเคร่งครัดเข้มงวด แต่นี่แหละคือ ท�ำให้ประเทศไทยเกิดความเป็นที่ยอมรับ นั บ ถื อ โต๊ ะ กระผมก็ เ ลื่ อ นมาเรื่ อ ย จน สุดท้ายได้เป็นหัวหน้างาน C6 แล้วก็ได้ เป็นหัวหน้าฝ่ายระดับ C7 หลังจากนั้น ชีวิตก็แปรเปลี่ยน ไปเป็นผู้อ�ำนวยการส่วนนโยบาย การเมื อ งการปกครองและการบริ ห าร ของส� ำ นั ก นโยบายและแผนมหาดไทย ไปเป็นหัวหน้าส�ำนักงานรัฐมนตรี สมัย พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ เป็นรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทย กระผมร�ำลึก ถึงท่าน ความเด็ดเดี่ยวเด็ดขาด ความ จงรักภักดี เรื่องสถาบันพระมหากษัตริย์ นี่ ท ่ า นพู ด เสมอ “ที่ ห นึ่ ง แห่ ง ชี วิ ต ของ ข้าพเจ้า”ทั้งๆ ท่านเป็นนักการเมือง ท่าน พูดจาชัดเจนมาก ฉะนั้น ใครจะมาพูดจา ไม่ไพเราะ ลบหลู่ดูหมิ่น ความศักดิ์สิทธิ์ ของแผ่นดินไทยนี่ เพราะว่าท่านเป็นผู้ บริหารในอดีต ท่านยอมไม่ได้เลย ท่าน ไม่ใช่ท�ำลักษณะแบบผิวเผิน คือท�ำจริง ปฏิบัติจริง พูดจริง รักษาค�ำมั่นสัญญา
หลั ง จากเป็ น หั ว หน้ า ส� ำ นั ก งาน รัฐมนตรี กระผมได้เป็นรองผู้ว่าราชการ จั ง หวั ด แห่ ง แรกที่ ส มุ ท รสาคร แล้ ว ก็ ย้ายไปเรื่อย จนกระทั่งได้เป็นที่ปรึกษา ด้ า นความมั่ น คง (C10) กลั บ มาส่ ว น กลางเป็ น อยู ่ ห ลายปี พ ร้ อ มๆ กั บ ได้ เป็ น โฆษกฝ่ า ยข้ า ราชการประจ� ำ ของ กระทรวงมหาดไทย แต่จะเป็นโฆษกที่ ไม่ได้พูดจารวดเร็ว จะพูดตามค�ำสั่งของ ผู้บังคับบัญชา แล้วก็จะไม่ออกนอกกรอบ
34 IS AM ARE www.ariyaplus.com
เริ่ ม รั บ ราชการเป็ น ผู ้ ว ่ า ราชการ จั ง หวั ด ที่ ไ หน ? กระผมได้เป็นผู้ว่าราชการจังหวัด นครปฐมเป็นจังหวัดแรก ซึ่งผูกพันอย่าง มากเพราะว่า โดยส่ วนตั วชี วิตคุ ณยาย เป็นคนอ�ำเภอนครไชยศรี 1 ใน 7 อ�ำเภอ ของจังหวัดนครปฐม ผมรักมากนครปฐม ยังบอกกับตัวเองว่านึกไม่ถึงเลย ตอนแรก เห็นลือกันตามสไตล์ข้าราชการกว่าค�ำสั่ง จะออกได้ จะไปจังหวัดโน้น จังหวัดนี้ แต่ ที่จริงนครปฐมในเวลานั้นไม่เคยอยู่ในใจ ไม่ได้เคยคิดว่าจะได้ไป เพราะว่าถึงเป็น จังหวัดปริมณฑลก็จริง แต่ก็เป็นจังหวัด ใหญ่ เป็ น จั ง หวั ด เกี ย รติ ย ศที่ ใ นอดี ต ผู ้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด เป็ น ผู ้ อ าวุ โ สทั้ ง สิ้ น หลายๆ ท่านอาจจะถึงกับไปเกษียณอายุ ที่นครปฐมก็มี แต่กระผมยังไม่ถึงเวลานั้น แต่ก็ไม่ใช่หนุ่มอะไร ก็ถือว่าอายุกว่า 50 แล้วทั้งสิ้น ไปอยู่นครปฐมแล้วก็มีความ
สุขมากผู้คนมีไมตรีจิต ข้าราชการมีความแข็งขัน ขณะที่ก�ำลังมีความสุขอยู่เนี่ย พี่น้องประชาชนเมตตา กรุ ณ า หั ว หน้ า ส่ ว นราชการ ผู ้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น ก� ำ นั น ผู ้ ใ หญ่ บ้าน โอชาปราศรัย โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัยเป็นโรงเรียน ตัวอย่าง เพราะว่าพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ พระราชทานก�ำเนิดขึ้น เป็นเรื่องที่เราได้ศึกษาเกี่ยวกับพระปฐม วิทยาลัยควบคู่กับที่มาของจังหวัดนครปฐม ที่ได้ชื่อว่าเป็นปฐม นครแห่งความจงรักภักดี และความเจริญรุ่งเรือง ตามที่สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพได้ประทานสอนไว้ เรื่องขององค์ พระปฐมเจดีย์ที่เป็นต�ำนานเล่าขานสืบมาจากที่พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ได้เสด็จพระราชด�ำเนิน ทรงค้นเจอ
ข้าราชการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่เรามีความภาค ภูมิใจ สุดท้ายค�ำพูดค�ำจาระหว่างกันฉันท์ญาติพี่น้อง ซึ่งกระผม พูดอยู่เป็นประจ�ำว่าเราเป็นญาติกันทั้งประเทศ ข้าราชการก็ มาท�ำงานให้กับท่าน ผมได้กล่าวกับพี่น้องชาวนครปฐมด้วย เชียงใหม่ด้วย ว่ากระผมไม่ได้เป็นข้าราชการของพรรคการเมือง กระผมเป็นข้าราชการของในหลวง กระผมมาเป็นผู้ว่าราชการ จังหวัดตามพระบรมราชโองการที่ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่ อ มแต่ ง ตั้ ง กระผมไม่ ใช่ ค นของพรรคการเมื อ ง ฉะนั้นพี่น้องประชาชนมีอะไรก็พูดจากับผม เราเป็นญาติกัน ทั้งแผ่นดิน ผมก็จะน�ำเสนอรัฐบาลซึ่งเป็นฝ่ายการเมืองให้ได้ เกิ ด ความเข้ า ใจว่ า หน้ า ที่ ข ้ า ราชการนั้ น คื อ อะไร หน้ า ที่ ข อง ข้าราชการส่วนภูมิภาคคืออะไรในความหมายของ 76 จังหวัด เชื่อมโยงสู่ราชการส่วนกลางก็คือรัฐบาล เพื่อท�ำงานให้เกิดคุณ เกิดประโยชน์กับพื้นที่ อย่างเชียงใหม่ ปัญหาหมอกควัน บางคนบอกว่าเราไป ฉีดน�้ำพ่นน�้ำ ไปขึ้นรถดับเพลิง ไปในระดับที่สูงเท่ากับอาคาร 7-8 ชั้น จะเกิดประโยชน์หรือ ค�ำตอบจากผู้ว่าราชการจังหวัดในขณะ นั้นก็คือ ในเมื่อทุกสิ่งที่เราพยายามท�ำกันอย่างครบวงจร แต่มัน อาจจะมีปัญหาในเรื่องของประเภทของพืชพันธุ์ เหมือนกับที่ ท่านนายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ ได้กล่าวที่จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันวาน (27 เม.ย.) ก็ต้องอาศัยเวลา อย่างเช่นถ้าจะไม่ให้ ปลูกข้าวโพดหรือปลูกพืชพันธุ์อื่นๆ เพื่อจะได้ไม่มีการเผาตอ
จากนครปฐมแล้ ว ไปที่ ไ หนต่ อ ? กระผมกราบลาปฐมนครแห่งความจงรักภักดีไปเป็นผู้ ว่าฯ เชียงใหม่ ซึ่งถือว่าเป็นความฝันสูงยิ่งครั้งที่สอง หลังจาก นครปฐมก็ไปอยู่เชียงใหม่ในเวลาที่บ้านเมืองมีความขัดแย้งมาก กระผมได้รับก�ำลังใจจากผู้คนจ�ำนวนมาก รวมทั้งชาวเชียงใหม่ เอง กระผมคิดว่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์มีอยู่จริง ใครไม่เชื่อก็อย่าลบหลู่ เป็นเรื่องซึ่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์ท่านได้มองเห็น ว่าพวกเราข้าราชการ ไม่เคยเหิมเกริม เราไปปฏิบัติหน้าที่ที่ไหน เราไปด้วยค�ำสั่งของ ราชการ เราเป็นข้าราชการต่างพระเนตรพระกรรณ เราเป็น 35
issue 100 may 2016
จากที่มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง วันนี้กระผมไม่ได้กราบ ลาพี่น้องชาวนครปฐม หรือกราบลาพี่น้องชาวเชียงใหม่ แต่ผม กราบลาพี่น้องข้าราชการมหาดไทย ไปอยู่ที่ส�ำนักนายกรัฐมนตรี มาเป็นปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรีอยู่ประมาณเป็นเวลา 1 ปี ก็เป็น ไปตามแนวคิดของคณะรัฐมนตรีที่ไม่อยากจะให้ปฏิบัติหน้าที่ซ�้ำ ซ้อน สองต�ำแหน่งสามต�ำแหน่งในเวลาเดียวกัน กระผมได้ลา ออกจากต�ำแหน่งปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ต�ำแหน่งข้าราชการ ประจ�ำ แล้วมาด�ำรงต�ำแหน่งรัฐมนตรีเพียงต�ำแหน่งเดียว
ซังให้เกิดหมอกเกิดควันที่เป็นปัญหา เราก�ำลังพูดกันถึงจังหวัด ภาคเหนือตอนบนทั้งหมด รวมจังหวัดตากด้วย เราก�ำลังพูดถึง ประเทศเพื่อนบ้านซึ่งเราอาจจะไม่มีสิทธิ์ไปวิพากษ์วิจารณ์เขา เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ทางการทูต ปีนี้ อย่างจุดที่มีการเผา ผลาญก็จะเห็นได้ว่ามาจากบริเวณชายแดนไม่น้อย แต่ในบ้าน เราก็ต้องพยายามท�ำให้ดีที่สุดพร้อมกันไป ฉะนั้ น จากการที่ ผู ้ ว ่ า ไปฉี ด น�้ ำ รดน�้ ำ ก็ เ ป็ น การเรี ย ก ว่าเป็นก�ำลังใจร่วมกันกับพี่น้องประชาชน ไม่ใช่เป็นค�ำตอบ เพื่อจะแก้ปัญหาทุกอย่างได้อย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ต้องกราบ เรียนว่ากระผมได้รับความร่วมมือร่วมใจจากทุกภาคส่วน จาก
ท่ า นน� ำ ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งไปใช้ ใ นการ บริ ห ารงานอย่ า งไร? กระผมคิดว่าเป็นนโยบายท่านนายก ความมั่นคง มั่งคั่ง อยากให้ ลู ก หลานเยาวชนไทยช่ ว ยกั น สื บ สานความดี งามที่ บ รรพบุ รุ ษ ของเราทุ ก คนได้ สั่ ง สมไว้ ทั้ ง เรื่ อ ง ยั่งยืน แล้วก็ประชารัฐ คือการท�ำงานร่วมกันระหว่างภาครัฐ เอกลั ก ษณ์ ข องชนชาติ ไ ทย ความมี ไ มตรี จิ ต ความ ทั้งราชการ ทั้งรัฐวิสาหกิจ ทั้งเอกชน ค�ำตอบอยู่ในตัวอยู่แล้ว ก็คือความรักสมัครสมานที่จะต้องเกิดขึ้น ไม่มีอะไรดีเท่าค�ำ สุ ภ าพ ความอ่ อ นน้ อ มถ่ อ มตน ตอบที่พระองค์ท่านพระราชทานไว้ก็คือ ความพอเพียงในชีวิต ท่านป้องกันบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด จากท่านนายแพทย์ ตัวกระผมโชคดีได้เห็นแบบอย่างที่มีชีวิตที่บ้านตั้งแต่เกิด ก็คือ สาธารณสุขจังหวัด จากทางเทศบาล จาก อบจ. ก็ท�ำงานกันเป็น บุพการี ผมไม่เคยเห็นความฟุ้งเฟ้อของท่านแม้แต่ครั้งเดียว ทีม ทีมงานของข้าราชการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เรา พยายามนึ กก็ ค ้ น ไม่ เจอ จะเป็ นเรื่ อ งที่ ท ่ า นเป็ น ตัว อย่ างของ มีความส�ำนึกร่วมกันเช่นนั้น การด�ำรงชีวิตที่เรียบง่าย ความอ่อนน้อมถ่อมตน ความมีสัมมา คารวะ ความมีอัธยาศัยไมตรี ท่านสอนอยู่เสมอว่าเงินที่เราใช้ จากเชี ย งใหม่ ไ ปรั บ ราชการที่ ไ หนต่ อ ? ต้องให้เหลือ เหมือนหยอดกระปุกออมสินแบบที่คนไทยพูด เชียงใหม่กระผมอยู่ได้ 2 ปีเต็ม ด้วยความรักความผูกพัน เมื่อก่อนว่าธนาคารออมสินที่เป็นสุภาษิตสอนเรา “ออมวันนี้ไว้ กระผมกราบลาพี่น้องชาวเชียงใหม่มาด�ำรงต�ำแหน่งเป็นรอง เพื่อใช้วันหน้า”ยังจ�ำได้ (หัวเราะ) นี่ท่านพูดอย่างนั้นเสมอ ซึ่ง ปลัดกระทรวงมหาดไทย ซึ่งที่จริงเป็นต�ำแหน่งที่ผมภูมิใจ เพราะ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ว่าในอดีตผู้บังคับบัญชาของกระผมซึ่งเป็นรองปลัดกระทรวง ไม่ได้เป็นเรื่องที่พูดกันเฉพาะภายในประเทศไทย แม้กระทั่งใน มหาดไทย ต้องใช้ค�ำว่าครูบาอาจารย์ทั้งสิ้น เราจะเข้าพบท่าน นานาอารยะประเทศเขาก็กล่าวขานชื่นชมโสมนัส อย่างเช่นครั้ง ทีสมัยก่อนเรารู้สึกทั้งเกรงทั้งกลัวท่าน ท่านจะให้ค�ำแนะน�ำค�ำ หนึ่งกระผมรับฟังการทรงแสดงปาฐกถาพิเศษของสมเด็จพระ สอนในการปฏิบัติราชการบ�ำบัดทุกข์บ�ำรุงสุข อะไร อย่างไร ราชาธิบดี แห่งภูฏาน ในขณะนั้นท่านเป็นมกุฏราชกุมาร เสด็จ ท่านเป็นเสมือนทั้งผู้บังคับบัญชา เป็นเสมือนทั้งญาติผู้ใหญ่ เป็น เยือนประเทศไทยท่านบอก “ท�ำไมคนไทยต้องไปค้นคว้าหา ครูบาอาจารย์ที่เราเกรงอกเกรงใจท่าน ต�ำรับต�ำรามาจากแดนไกลเพื่อมาเป็นทิศทางในการพัฒนา พอมารั บ หน้าที่นี้ซะเอง ก็พยายามบอกกับ ตัว เองว่ า ประเทศไทย ในเมื่อค�ำตอบและต�ำรามีอยู่ใกล้ตัวที่สุดต�ำราที่ “เราจะท�ำได้ดีเหมือนกับท่านหรือ” เพราะว่าหลายๆ ท่าน ข้าพเจ้ากล่าวถึงนี้คือองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ของ ที่ ผ ่ า นมาที่ ก ระผมเคารพรู ้ จั ก ท่ า นตั้ ง แต่ ท่ี ท ่ า นเป็ น รองปลั ด ปวงชนชาวไทยที่ข้าพเจ้ามีความรักและเทิดทูนพระองค์ท่าน กระทรวงไม่ว่าจะเป็นท่านอารีย์ วงศ์อารยะ ซึ่งสุดท้ายท่าน เป็นที่ยิ่ง” เป็นปลัดกระทรวง ท่านชนะศักดิ์ ยุวบูรณ์ ท่านเจริญจิตต์ ณ สงขลา ท่านสมพร กลิ่นพงษา เป็นต้น ความพอเพี ย งกั บ ภาครั ฐ ในการบริ ห ารประเทศ สามารถไปด้ ว ยกั น ได้ ไ หม ? ก้ า วสู ่ ต� ำ แหน่ ง ปลั ด ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี ? เรื่ อ งของความพอเพี ย งหากภาครั ฐ ทุ ก ส่ ว นช่ ว ยกั น กระผมได้รับค�ำสั่งเมื่อ พฤษภาคม ปี พ.ศ.2557 หลัง อดออม แล้วก็บริหารจัดการในทุกๆ เรื่องด้วยความรอบคอบ 36 IS AM ARE www.ariyaplus.com
เมื่ อ ก่ อ นคนไทยไม่ ต ้ อ งพู ด กั น เลยเรื่ อ งธรรมมาภิ บ าล เรื่ อ ง ความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต เรื่ อ งความอ่ อ นน้ อ มสุ ภ าพ ไม่ ต ้ อ งพู ด มั น เป็ น ธรรมชาติ ข องคนไทย ซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น เองตั้ ง แต่ อ อกมาจาก ครรภ์ คุ ณ แม่ ข องเราทุ ก คน
37 issue 100 may 2016
จุลดิศมาถึงคุณชายสังขดิศ (พ่อ) แล้วก็ มาถึงกระผม ปั จ จุ บั น ท่ า นพั ก ที่ วั ง วรดิ ศ ? เป็นบ้านเล็กๆ อยู่ด้านข้าง แต่ตัว ต�ำหนักที่ประทับคือตัววังจะเปิดเฉพาะ การนัดหมายเข้าชม เปิดเป็นมิวเซียมที่มี ชีวิตเลย คือเป็นมิวเซียมที่เข้าไปแล้วจะ เหมือนกับสมเด็จยังประทับอยู่ เหมือน กั บ ทรงพระด� ำ เนิ น อยู ่ กั บ ผู ้ ไ ปเข้ า เยี่ ย ม ชม เราจะพยายามอธิบายให้เห็นสิ่งซึ่ง สมเด็ จ ทรงใช้ พ ระจริ ย วั ต รในแต่ ล ะวั น มีอะไรบ้างในแต่ละห้อง แต่ละหับ ห้อง ถี่ถ้วนก็คิดง่ายๆ เงินของเราที่ไหน ที่เรา บริหารจัดการอยู่ เงินของแผ่นดิน เงิน ของพี่น้องประชาชน เงินของคุณพ่อคุณ แม่เรา ผู้หลักผู้ใหญ่ ผู้อาวุโส ต้องเกรงใจ เขา มีสิทธิ์อะไรจะไปใช้แบบมากมาย เกิน ตัวหรือสุดโต่ง จะไปแจกไปมอบใครเป็น คะแนนนิยมอะไรทั้งหลาย โดยข้อเท็จ จริงท�ำไม่ได้ทั้งสิ้น ทุกอย่างต้องเกิดขึ้น ภายใต้ความรอบคอบ ต้องมีค�ำอธิบาย ที่ ม าที่ ไ ปในการใช้ จ ่ า ย สิ่ ง นี้ นั่ น เองที่ กระผมคิ ด มาโดยตลอดตั้ ง แต่ เ ด็ ก ขอ อนุ ญ าตยกตั ว อย่ า งที่ เ ป็ น ส่ ว นตั ว คุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ ก ระผมรั ก ษาพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ส ม เด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ อยู่ ที่ถนนหลานหลวง ก็คือวังวรดิศ ที่ละคร สุภาพบุรุษจุฑาเทพให้เกียรติกระผมไป เป็นครูที่ปรึกษาแก่ดาราน�ำผู้เป็นคุณชาย ทั้ง 5ในพิธีเปิดกล้อง วังที่นี่ผมรับมาโดยศักดิ์และสิทธิ์ (ที่วังวรดิศคือบ้านของท่าน?) ใช่ครับ พ่อ ของกระผมเป็นผู้รับตามพระพินัยกรรม คุณพ่อคือ หม่อมราชวงศ์สังขดิศดิศกุล เป็นหลานชายคนโต ผู้สืบทอดรักษาวัง วรดิศต่อจากท่านปู่ของกระผม ซึ่งเป็น พระโอรสองค์ ใ หญ่ ข องสมเด็ จ ฯ กรม
ความพอเพี ย งในชี วิ ต ตั ว กระผมโชคดี ไ ด้ เ ห็ น แบบอย่ า งที่ มี ชี วิ ต ที่ บ ้ า น ตั้ ง แต่ เ กิ ด ก็ คื อ บุ พ การี ผมไม่ เ คยเห็ น ความฟุ ้ ง เฟ้ อ ของท่ า นแม้ แ ต่ ค รั้ ง เดี ย ว พยายามนึ ก ก็ ค ้ น ไม่ เ จอ จะเป็ น เรื่ อ งที่ ท ่ า นเป็ น ตั ว อย่ า งของการ ด� ำ รงชี วิ ต ที่ เ รี ย บง่ า ย ความอ่ อ นน้ อ มถ่ อ มตน ความมี สั ม มาคารวะ ความมี อั ธ ยาศั ย ไมตรี พระยาด�ำรงราชานุภาพ ก็คือหม่อมเจ้า จุลดิศ แต่ที่มีรีสอร์ทที่เขาใหญ่ไม่ใช่ของ เรานะครับ (หัวเราะ) แต่ว่าคนที่สร้าง เขาชื่นชมพระนามหรือชื่อของท่าน เขา ก็มาคุยกับคุณพ่อของกระผมบอกว่าจะ ขอน�ำไปใช้จะได้ไหม คุณพ่อของกระผม ตอบว่า “โถ...เราไม่มีสิทธิ์ห้ามท่านนะ ชื่อเสียงเรียงนามเดี๋ยวนี้ซ�้ำกันเยอะแยะ มากมาย หากท่านเห็นว่าเป็นนามที่จะ เกิดผลดีต่อการประกอบการของท่านก็ สุดแล้วแต่ท่านจะให้เกียรติและไปใช้” จุลดิศสะกดเหมือนกันเลย หม่ อ มเจ้ า จุ ล ดิ ศ เป็ น องคมนตรี ในรัชกาลที่ 7 น่าจะเป็นดิศกุลท่านเดียว ที่ได้เป็นองคมนตรีของพระเจ้าแผ่นดิน ก็ เ ป็ น พระโอรสองค์ ใ หญ่ ข องสมเด็ จ ฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ซึ่งโดยศักดิ์ กระผมก็ ก ล่ า วถึ ง พระองค์ ท ่ า นว่ า เป็ น สมเด็จทวด ฉะนั้นจากท่านปู่หม่อมเจ้า 38 IS AM ARE www.ariyaplus.com
ทรงพระอักษร ห้องที่ประทับเสวย มื้อ ที่เรียบง่าย ส่วนมื้อที่รับรองอาคันตุกะ ต่างประเทศ หรือพระบรมวงศานุวงศ์ชั้น ผู้ใหญ่ก็เป็นอีกห้องหนึ่ง ห้องที่เคยทรง ถูกจับกุม เช้าวันที่ 4มิถุนายน 2475 วัน เปลีย่ นแปลงการปกครอง วันนัน้ ถูกจับตัว ไปเป็นตัวประกันโดยคณะผู้ก่อการ ส่งตัว แทนเข้าไปจับกุมท่านพร้อมกับสมเด็จเจ้า ฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เสด็จไป พร้อมกันทั้งสองพระองค์ ผู้คนร้องไห้กัน แต่ก็ไปเป็นตัวประกันอยู่เพียง 4 วัน ที่ พระที่นั่งอนันตสมาคม เหตุ ที่ จั บ คณะราษฎร์ ก็ ค งมี เหตุผลเหมือนกัน เพราะว่าแต่แรกเกรง ว่ า พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้ า อยู ่ หัวจะไม่ทรงยินยอม เพราะประทับอยู่ที่ วังไกลกังวล หัวหิน เพราะมีข่าวว่ากอง ก�ำลังนอกพระนครจะช่วยพระเจ้าอยู่หัว เพื่อต่อสู้กับคณะผู้ก่อการ แต่กลายเป็น
ความตรงข้าม พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตรัส ว่า คนไทยต้องรักสมัครสมานไม่ท�ำร้ายกันเอง พระองค์ท่าน ทรงยินยอมทุกอย่าง ที่ต�ำหนักใหญ่ที่วังวรดิศก็จะเปิดเฉลี่ยแล้วเดือนหนึ่งก็ หลายครั้ง ส่วนใหญ่เป็นคณะข้าราชการ กระทรวงที่มีความรัก ความผูกพันกับสมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ อย่างเช่น ส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย กองทัพ ต�ำรวจ แล้ว ก็สถาบันการศึกษา อันนี้มาเยอะ แม้แต่สวนกุหลาบวิทยาลัยที่ พระองค์ท่านทรงก่อตั้งขึ้นถวายรัชกาลที่ 5 เป็นผลส�ำเร็จ เรา จะไปเข้าเป็นแพคเกจเปิดทุกวันคงไม่ไหว เพราะตัววังก็จะทรุด โทรมเร็วขึ้น ก็ขอเปิดให้เฉพาะคณะที่ให้ความสนใจ แต่เรามีหอ สมุดด�ำรงราชานุภาพอยู่ด้านหน้า อันนั้นเปิดทุกวันเวลาราชการ ทางกรมศิลปากรช่วยในการบริหารจัดการ ด้วยวังนี้ที่คุณพ่อได้รักษาไว้ด้วยความดุลยภาพ ทั้งๆ ที่จริงมีคนมาติดต่อขอซื้อขอเช่า แต่พ่อไม่เคยคิด เคยพูดไว้ว่า “เพียงคิดก็ผิดแล้ว” คุณพ่อไม่เคยโลภโมโทสัน สมเด็จพระ ศรีนครินทราบรมราชชนนีกับสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้า กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้พระราชทาน พระเมตตาให้กับคุณพ่อและคุณแม่กระผมมาก พระราชทาน ชมเชยว่า “สังขดิศไม่โลภโมโทสัน” แต่รักษาวังไว้เพื่อให้เป็น แหล่งเรียนรู้ นี่แหละครับที่มาที่ท�ำให้กระผมมีความซาบซึ้งใน เรื่องของความพอเพียงในชีวิตตราบวันนี้
ของหลายๆ ครอบครัวนะครับ เท่าที่ผมได้มีโอกาสไปเยี่ยม สถานศึกษามา พอถามเขาอยากเข้ารับราชการไหม ? แปลก ดีเมื่อก่อนจะยกมือกันเยอะ เดี๋ยวนี้ไม่ค่อยยกมือกัน ไม่ทราบ ว่าเพราะเหตุผลอะไร คงคาดเดาไม่ได้ เดี๋ยวจะรอให้เขาเรียน จบบริบูรณ์จริงๆ แล้วค่อยช่วยกันขบคิดอีกที กระผมเชื่อมั่นว่า ทุกสาขาอาชีพมีคุณค่าทั้งสิ้นแก่สังคม คนดีมีความซื่อสัตย์อยู่ ที่ไหนก็ยังเป็นเช่นนั้น
ลู ก ชายคนเดี ย วใช้ ค� ำ น� ำ หน้ า ว่ า นาย เป็ น คนแรก ? มีลูกชายคนเดียวชื่อ วรดิศ ดิศกุล ณ อยุธยา เป็นเด็ก ชายคนแรกของที่วังวรดิศ คุณพ่อได้พูดไว้เช่นนี้ ปัจจุบันเป็นนาย นะ ก็ถือว่าเป็นนายคนแรก อายุ 25 ปี ก�ำลังจะเรียนจบในเดือน หน้าจากมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ชื่อเล่นชื่อ โหลน กระผมชื่อเล่น ชื่อ เหลน โหลนหรือวรดิศนี่ต้องถือว่าได้รับพระราชทานพระ มหากรุณาธิคุณอย่างสุดพรรณนา สมเด็จพระศรีนครินทราบ รมราชชนนี สมเด็จย่าได้ทรงพระเมตตาโหลนตั้งแต่โหลนแรก เกิด ได้พระราชทานนามให้ชื่อวรดิศ เพราะบอกว่าเป็นเด็กชาย คนแรกของที่วัง หมายถึงจากคุณพ่อของกระผมหม่อมราชวงศ์ มาถึงหม่อมหลวงแล้วก็มาเป็นเด็กชาย ก็เป็นเด็กชายคนแรก “ให้เขาชื่อวรดิศ” รับสั่ง เพื่อจะได้มีความรับผิดชอบอันใหญ่ หลวง เพื่อรักษาวังวรดิศนี้ให้สถิตย์สถาพรสืบไป“ขอให้วรดิศ มีความสุขความเจริญ”ได้พระราชทานเป็นลายพระราชหัตถ์ไว้
ฝากถึ ง เยาวชนและครอบครั ว ไทย ? กระผมใคร่ ข อน� ำ กราบเรี ย นในเชิ ง แลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ข่าวสารระหว่างกันในฐานะที่เราเป็นญาติกันทั้งประเทศไทย อยากให้ ลู ก หลานเยาวชนมี ค วามรั ก คุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ ครู บ า อาจารย์ อยากให้ลูกหลานเยาวชนไทยช่วยกันสืบสานความดี งามที่บรรพบุรุษของเราทุกคนได้สั่งสมไว้ ทั้งเรื่องเอกลักษณ์ของ ชนชาติไทย ความมีไมตรีจิต ความสุภาพ ความอ่อนน้อมถ่อม ตน ไม่อยากให้ใช้ถ้อยค�ำอะไรที่เป็นค�ำหยาบคาย อย่างเช่นผ่าน โซเชียลเน็ตเวิร์คต่างๆ เพราะว่าการใช้โซเชียลเน็ตเวิร์ค เฟซบุ๊ค หรือไลน์ ถ้อยค�ำต่างๆ ก็จะขยายออกไป ไม่ได้อยู่เฉพาะตัวท่าน แต่จะเป็นเรื่องของผู้คนเป็นจ�ำนวนมากจะได้ช่วยกันให้สังคม ไทยเรากลับมาเป็นสังคมของความรับผิดชอบ เสมือนในอดีต เสมือนเมื่อครั้งที่พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งในเวลานั้นประเทศไทยได้รับการกล่าวขานชื่นชมอย่างมาก ว่าเป็นแบบอย่างให้กับนานาประเทศในภูมิภาค.
มี แ นวทางให้ บุ ต รกลั บ มาเข้ า รั บ ราชการไหม ? ก็พยายามปลูกฝังอยู่ เดี๋ยวนี้คงไม่ต่างกับลูกสาวลูกชาย 39
issue 100 may 2016
40 IS AM ARE www.ariyaplus.com
41 issue 100 may 2016
สภาพแวดล้อม
ชุมชนน่าอยู่ ย่อมน�ำไปสู่สังคมคุณภาพด้วยความใส่ใจของชุมชนและความร่วมมือภายใต้จิตส�ำนึกของการพัฒนาจากการ พลิกฟื้นผืนป่าการมีผู้น�ำที่เข้มแข็งและการร่วมแรงร่วมใจกันเพื่อแก้ปัญหาจึงเป็นสิ่งส�ำคัญที่ท�ำให้ต�ำบลทุ่งโป่งมีความเปลี่ยนแปลง ไปในทางที่ดีจนสามารถจุดประกายสู่ความคิดริเริ่มของแนวคิดเพื่อก้าวไปสู่การพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน ต�ำบลทุ่งโป่งตั้งอยู่ในเขตอ�ำเภออุบลรัตน์ห่างจากจังหวัดขอนแก่นประมาณ 45 กิโลเมตรพื้นที่ในต�ำบลทุ่งโป่งอุดมด้วย ทรัพยากรธรรมชาติอันหลากหลายแผ่นดินมีความอุดมสมบูรณ์เหมาะในการตั้งถิ่นฐานลักษณะพื้นที่ส่วนใหญ่ของหมู่บ้านร้อยละ 70 เป็นพื้นที่ลาดชันและเป็นพื้นที่ราบลุ่มเหมาะส�ำหรับการเพาะปลูก ข้าวนาปี นาปรัง อ้อย และมันส�ำปะหลังโดยลักษณะดินร้อย ละ 70 เป็นดินร่วนปนทรายเหมาะส�ำหรับการท�ำการเกษตรกรรมในต�ำบลมีล�ำน�้ำพองซึ่งเป็นแหล่งน�้ำ ธรรมชาติ รวมทั้งยังมีแหล่ง น�้ำที่สร้างขึ้น เพื่อเอื้อประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพ อีกทั้งยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่งดงามภายใต้การดูแลของอุทยาน แห่งชาติน�้ำพองมีจุดชมวิวและถ�้ำ เช่น ถ�้ำช้างรวมถึงหินที่มีลักษณะรูปร่างต่างๆ เช่น หินแอวขันและหินอีโต้ เป็น ต้นต�ำบลทุ่งโป่งแบ่งการปกครองออกเป็น 10 หมู่บ้านมีจ�ำนวนประชากรประมาณ 5,300 คนส่วนใหญ่มีอาชีพท�ำนาด้วย การปลูกข้าวเหนียวมากกว่าข้าวเจ้าท�ำไร่อ้อยไร่มันส�ำปะหลังและเลี้ยงสัตว์ชาวทุ่งโป่งใช้ภาษาอีสานเป็นภาษาถิ่นมีการละเล่นพื้น เมืองที่สืบทอดมาจนถึงปัจจุบันคือ หมอล�ำกลอนชาวบ้านส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีการปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมประเพณี ของพระพุทธศาสนา โดยนับถือตามฮีต 12 คลอง 14 เช่น งานบุญบั้งไฟ งานบุญข้าวจี่ งานบุญข้าวประดับดิน งานบุญเบิกบ้าน งานบุญออกพรรษา 42 IS AM ARE www.ariyaplus.com
แก่โรงเลื่อยในช่วงปี พ.ศ. 2510 -2520 ท�ำให้ป่าไม้อันอุดม สมบูรณ์ลดน้อยลงและส่งผลกระทบต่อชุมชนและสัตว์ป่าต่อ มาในปี พ.ศ. 2525 กลุ่มแกนน�ำต�ำบลทุ่งโป่งได้ริเริ่มฟื้นฟูป่า ไม้โดยร่วมมือกับชุมชนเพื่ออนุรักษ์ผืนป่าภูพานค�ำด้วยการปิด ต�ำบลทุ่งโป่ง เริ่มต้นการด�ำเนินงาน พัฒนาโดยร่วม ป่าเพื่อฟื้นฟูพันธ์ไม้ ท�ำให้สภาพป่าไม้ค่อยๆ สบบูรณ์ขึ้นต่อมา กั บ มู ล นิ ธิ พั ฒ นาชุ ม ชนอย่ า งยั่ ง ยื น เพื่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต จั ง หวั ด มีการจัดตั้งอุทยานแห่งชาติน�้ำพอง จึงได้มีการส�ำรวจป่า และ ขอนแก่นภายใต้การน�ำของ นายแพทย์อภิสิทธิ์-แพทย์หญิง ปลูกต้นไม้ใหญ่ในป่าเพิ่ม ผลจากการการบุกรุกผืนป่าครั้งนั้น ทานทิพย์ ธ�ำรงวรางกูรผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลอุบลรัตน์ (ใน ถือเป็นการท�ำลายป่าต้นน�้ำ ส่งผลให้เกิดปัญหาการขาดแคลน ขณะนั้น) ในช่วงเวลาดังกล่าวต�ำบลทุ่งโป่งเป็นเพียงหมู่บ้าน น�้ำส�ำหรับท�ำเกษตรกรรมชาวบ้านจึงแก้ปัญหาด้วยการขุดคลอง หนึ่งที่ขึ้นกับต�ำบลเขื่อนอุบลรัตน์ การพัฒนาชุมชนจึงอยู่ภาย ส่งน�้ำเพื่อการเกษตรที่บ้านหนองผือ เป็นหมู่บ้านแรกต่อมาในปี ใต้การด�ำเนินการร่วมกันระหว่างกลุ่มชาวบ้านที่ยังไม่มีรูปธรรม พ.ศ. 2539 มีการขยายการขุดคลองส่งน�้ำเพิ่มเติมที่หมู่บ้านทุ่ง ที่ชัดเจน แต่ด้วยการสนับสนุนจากนายแพทย์อภิสิทธิ์ ธ�ำรงวรา โป่ง ท�ำให้การท�ำนาข้าวของชาวบ้านเกิดความตื่นตัว กระจาย งกูร ที่ต้องการให้อ�ำเภออุบลรัตน์เป็นพื้นที่น�ำร่องในด้านการพึ่ง กันปลูกทั้งต�ำบล ควบคู่ไปกับการผลิตพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นๆ ตนเอง ภายหลังเมื่อมีการจัดตั้งต�ำบลทุ่งโป่งอย่างเป็นทางการ เช่น อ้อยและมันส�ำปะหลัง เป็นต้น พื้นที่จึงเป็นพื้นที่น�ำร่องที่ส�ำคัญของอ�ำเภออุบลรัตน์ โดยมีการ พัฒนาการจนเกิดการพัฒนาเปลี่ยนแปลงและสามารถสรุปเป็น พ.ศ. 2540 – 2551 ยุ ค เรี ย นรู ้ ง านพั ฒ นาเชื่ อ มโยงเครื อ ข่ า ย ยุคต่างๆ ดังนี้ ในช่วงนี้ทางต�ำบลทุ่งโป่งได้มีประสบการณ์การท�ำงาน พัฒนาร่วมกับภาคีหลากหลายทั้งภาครัฐและเอกชน ทั้งด้าน พัฒนาการต�ำบลพ.ศ. 2510 – 2539 การจัดการน�้ำและป่าด้านการเกษตรชีวภาพและการพึ่งตนเอง ยุ ค แห่ ง การจั ด การป่ า และน�้ ำ โดยชุ ม ชน ผื น ป่ า ภู พ านค� ำ อั น อุ ด มสมบู ร ณ์ เป็ น ที่ อ ยู ่ อ าศั ย และ จึงเป็นจุดเริ่มต้นให้ชาวทุ่งโป่งรวมกลุ่มกันเพื่อแก้ไขปัญหาที่ แหล่ ง อาหารของสั ต ว์ ป ่ า นานาชนิ ด รวมถึ ง แหล่ ง อาหาร เกิดขึ้นในชุมชน เช่น การพัฒนาระบบสาธารณสุขมูลฐาน ในปี ธรรมชาติของมนุษย์ถูกท�ำลาย อันมีสาเหตุมาจากการบุกรุก พ.ศ.2540 และการตั้งกลุ่มอนุรักษ์วังปลา ในปี พ.ศ.2541 การ ผื น ป่ า เพื่ อ ขยายที่ ท� ำ กิ น การลั ก ลอบตั ด ไม้ เ พื่ อ น� ำ ไปขายให้ ส่งเสริมการพึ่งตนเองของมูลนิธิพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืนในปี บุญเข้าพรรษาและงานบุญคูนลาน เป็นต้น ซึ่งจะมีการ จัดตามก�ำหนดที่บรรพบุรุษเคยท�ำมา
ความเป็นมา
43 issue 100 may 2016
44 IS AM ARE www.ariyaplus.com
พ.ศ. 2542 และโครงการปลูกป่า 72 พรรษาเฉลิมพระเกียรติ ที่ป่าภูพานค�ำในปี พ.ศ.2547 รวมถึงการ จัดตั้งธนาคารขยะ โครงการอยู่ดีมีสุขปี พ.ศ. 2550 และถัดมาในปี พ.ศ. 2551 ได้เกิดมีรูปธรรมการ พึ่งพาตนเองในด้านการเกษตรผสมผสานหลากหลาย เป็นเหตุผลให้ทางต�ำบลจึงได้เข้าร่วมกับโครงการ รักษ์ป่า สร้างคน 84 ต�ำบลวิถีพอเพียง
ทุนต�ำบล
ด้วยฐานเดิมของทุนด้านการพัฒนาที่เข้มแข็ง เป็นเครื่องบ่งชี้ให้เห็นถึงประสบการณ์การท�ำงาน ด้านพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนซึ่งยาวนานกว่า 40 ปี จนก่อเกิดเป็นรูปธรรมความส�ำเร็จ ไม่ ว่าจะเป็นการขุดคลองส่งน�้ำเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนน�้ำ การอนุรักษ์ฟื้นฟู ทรัพยากรป่าและน�้ำการ ก่อตั้งธนาคารขยะเพื่อจัดการสิ่งแวดล้อม รวมถึงการท�ำกิจกรรมเพื่อการพึ่งพาตนเอง เช่นการปลูกผัก สวนครัวการเลี้ยงเป็ด เลี้ยงไก่ การเลี้ยงปลา และการท�ำเกษตรผสมผสาน ฯลฯ รูปธรรมเหล่านี้เกิดจากความร่วมมือร่วมใจของภาคีหลายภาคส่วนทั้งหน่วยงานภายในและ หน่วยงานภายนอกชุมชน ที่เข้ามาสนับสนุนทั้งความรู้งบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ให้ชาวทุ่งโป่งพร้อม ที่จะด�ำเนินงานและพัฒนาตนเองในการใช้ชีวิตตามหลักแนวคิดแบบเศรษฐกิจพอเพียง
ก้าวเดินด้วยความพอเพียง
ต�ำบลทุ่งโป่งเข้าร่วมโครงการรักษ์ป่า สร้างคน 84 ต�ำบล วิถีพอเพียง ในระยะที่ 2 เมื่อประมาณ ปลายปี พ.ศ. 2551 โดยมี ค�ำมุก อ่อนเหลา เป็นแกนหลักในการประสานงานหน่วยงานภาคีในต�ำบล ได้แก่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งโป่ง สถานีอนามัย โรงเรียน วัด รวมถึงแกนน�ำในชุมชน อาทิ ผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน ก�ำนัน ในการด�ำเนินงาน เช่นการสร้างความเข้าใจในวัตถุประสงค์โครงการฯ การเตรียมความพร้อมต�ำบล การจัดท�ำแผนต�ำบลวิถีพอเพียง การคัดเลือกเจ้าหน้าที่ประจ�ำต�ำบล การ จัดตั้งกรรมการโครงการฯ ประจ�ำต�ำบล รวมทั้งการคัดเลือกครัวเรือนพอเพียงอาสาที่สนใจเข้าร่วม โครงการเพื่อให้โครงการฯ ขับเคลื่อนไปได้ด้วยดี ซึ่งโครงสร้างคณะกรรมการด�ำเนินโครงการนั้น ได้มี การจัดสรรฝ่ายต่างๆ ตามเอกสาร MOU ที่ทางโครงการฯ ก�ำหนดมาเพื่อสร้างระบบธรรมาภิบาลใน การบริหารงานโครงการฯ ได้แก่ ฝ่ายบริหารแผนงานและกิจกรรม ฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายติดตาม และประเมินผลและฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง
45 issue 100 may 2016
ทุนทางทรัพยากรท้องถิ่น
ทรัพยากรดิน สภาพดินโดยทั่วไปของต�ำบลทุ่งนางโอก มีลักษณะระบายน�้ำเร็ว เป็นดินร่วนปนทราย ไม้อุ้มน�้ำ เนื้อดินเป็นสีน�้ำตาลน�้ำเข้มหรือสีน�้ำตาลแดงมีสภาพเป็นกรดถึงปานกลาง(pH 4.4-7.0) มีความ อุดมสมบูรณ์ต�่ำควรปรับปรุงบ�ำรุงดินโดยการใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก เพื่อเพิ่มธาตุอาหารในดินจากสภาพของ ดิน ท�ำให้ประชาชนส่วนใหญ่ปลูกข้าว เป็นพืชหลักในพื้นที่ส่วนพืชชนิดอื่นเช่น ผักต่างๆ ก็ปลูกเสริมบ้าง ทรัพยากรแหล่งน�้ำ แหล่งน�้ำที่ส�ำคัญของต�ำบลทุ่งนางโอก มีทั้งแหล่งน�้ำทางธรรมชาติ และแหล่งน�้ำ ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ในภาคการเกษตรของต�ำบลทุ่งนางโอก ประกอบด้วยล�ำห้วย 2 สาย ได้แห่ง ล�ำห้วยทุ่ง นางโอก และ ล�ำห้วยหนองไม่ตาย นอกจากนี้ยังมีบึงและหนองน�้ำขนาดเล็ก 15 แห่ง ได้แก่ หนองฮุ้ หนอง ไม้ตาย หนองบัว หนองเสือเผิน หนองบุญมา หนองแหน หนองจาน หนองขาม หนองป้า หนองตอน้อย หนองดอน ปู่ตา หนองผักขา หนองรัง และหนองคอกควาย ส�ำหรับใช้ในการเกษตรเป็นส่วนใหญ่ ล�ำห้วย ทุ่งนางโอกเป็นแหล่งน�้ำที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติซึ่งมีน�้ำตลอดทั้งปี ทรัพยากรป่าไม้ ต�ำบลทุ่งนางโอกมีทรัพยากรธรรมชาติที่ส�ำคัญ ได้แก่ 1 ป่าชุมชนหนองเป้าซึ่งเป็น ที่สาธารณะของชุมชนหนองเป้า หมู่ที่ 4 และ 9 มีเนื้อที่ 120 ไร่ และดอนปู่ตาย 4 ไร่ 4) บ้านหนองตอ ป่า เพื่อเป็นอาหาร และเป็นที่เคารพสักการะของคนในชุมชน อีกทั้งเป็นป่าที่คอย ป้องกันไม่ให้ลมพายุเข้ามาในหมู่บ้านและยังช่วยกรองอากาศบริสุทธิ์เข้ามาใน หมู่บ้านอีกด้วย
ทุนทางศักยภาพชุมชนและการพัฒนา
ชาวต� ำ บลทุ ่ ง นางโอกได้ รั บ การส่ ง เสริ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละผลั ก ดั น โดย องค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งนางโอกเพื่อให้มีการรวมกลุ่มและผลิตงานจักสาน เป็นสินค้าเพื่อส่งออกนอกพื้นที่ ซึ่งในต�ำบลทุ่งนางโอก มีการรวมกลุ่มกันครั้ง แรกที่ หมู่ 3 โดยเริ่มจากการระดมหุ้นๆ ละ 40 บาท มีผู้เข้าร่วม 30 คน ท�ำให้ กลุ่มมีเงินทุน 1200 บาทเพื่อด�ำเนินกิจกรรมการจักสาน และเพิ่มรายได้ให้กับ ครัวเรือน มีการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมกันในรูปแบบต่างๆ เช่น กระติบข้าวสาน ลายตัวหนังสือ กระเป๋าสตางค์ กล่องกระดาษทิชชู แจกัน และกล่องใส่โทรศัพท์ ปัจจุบันมีสมาชิก 80 คน และมีกล่องย่อยกระจายแต่ละหมู่บ้านอีกรมทั้งสิ้น 9 กลุ่มย่อย ศูนย์การเรียนรู้ข้าวชุมชนต�ำบลทุ่งนางโอก เริ่มต้นจากการที่ส่วนราชการ เข้ามาเห็นการเพาะปลูกข้าวของชาวบ้าน และผลผลิตที่ได้ไม่ดีเท่าที่ควร ท�ำให้มี การส่งเสริมปลูกข้าวของชาวบ้าน และผลิตภัณฑ์ที่ได้ไม่ดีเท่าที่ควร ท�ำให้มีการ ส่งเสริมการปลูกข้าวหอมมะลิ ศูนย์ข้าวได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาลเพื่อจัดตั้ง
46 IS AM ARE www.ariyaplus.com
ศูนย์กลางของชุมชนในการเก็บเมล็ดพันธ์ุ โดยเน้นเรื่องการท�ำ นาอินทรีย์เพื่อขยายพันธ์ุข้าวศูนย์ข้าวคุณธรรมชุมชนทุ่งนาง โอก ชุมชนมีการวางแนวทางร่วมกับเจ้าหน้าที่เกษตรอ�ำเภอที่ เข้ามาส่งเสริม คือ ปีแรกมีการส่งเสริมการปลูกข้าวโดยมีเมล็ด พันธ์ุให้เริ่มต้น 3 ตัน โดยให้ปลูกในพื้นที่ประมาณ 200 ไร่ ปีที่ สอง จากเมล็ดพันธ์ุเดิมที่มีกระบวนการคัดเมล็ดพันธ์ร่วมกันใน กลุ่ม แล้วน�ำเมล็ดพันธ์ุที่ได้จากปีแรกมาแจกจ่ายขยายพันธ์ต่อ โดยให้มีเนื้อที่เฉพาะปลูกทั้งหมด 1000 ไร่ ปีที่สาม ใช้วิธีการ เดียวกันแต่ให้ได้พื้นที่เพิ่มเป็น 4000 ไร่ เมื่อถึงปี 2550 ทางเจ้าหน้าที่เกษตรอ�ำเภอ ได้สนับสนุนเมล็ดพันธ์เพิ่มเติมอีก 3 ตัน เพื่อน�ำไปสู่การขยาย ผลในกลุ่มโดยกระบวนการสนับสนุนจากหน่วยงานรัฐจะมีขั้น ตอนจากการสนับสนุนจากหน่วยงานรัฐจะมีขั้นตอนการแจก จ่ายเมล็ดพันธ์ให้อย่างต่อเนื่อง แต่จะลดปริมาณลงเพื่อให้เกิด กระบวนการคัดเลือกพันธ์ที่เหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ
เป็นการสร้างทีมคนท�ำงาน ส�ำหรับเทคนิคและวิธีการท�ำงาน เหล่านี้ เจ้าหน้าที่ประจ�ำต�ำบลได้เรียนรู้มาจากการถ่ายทอดชุด ประสบการณ์ท�ำงานจากเจ้าหน้าที่ประจ�ำภาค และที่ปรึกษา ภาคที่คอยท�ำหน้าที่ให้ค�ำแนะน�ำวิธีการท�ำงานจากเจ้าหน้าที่ ประจ�ำภาค และที่ปรึกษาภาคที่คอยท�ำหน้าที่ให้ค�ำแนะน�ำวิธี การท�ำงานและสนับสนุนการท�ำงานในพื้นที่ เจ้าหน้าที่ประจ�ำภาค มีบทบาทหน้าที่ในการวางกลยุทธ์ ที ม งานภาคสนาม ปตท. ถื อ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของกลไก ในการท�ำงานตามแผนงานที่ก�ำหนดโดยชุมชน โดยการสร้าง ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ การขั บ เคลื่ อ นงานภายใต้ แ นวทางการท� ำ โอกาสให้เกิดการพูดคุยแลกเปลี่ยนของคนท�ำงานทุกระดับ ไม่ โครงการ ให้มีความคล่องตัวและบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วาง ว่าจะเป็นวงพูดคุยของครัวเรือนพอเพียงอาสา วงประชุมคณะ กรรมการโครงการฯ และภาคี นอกจากนั้นยังออกแบบการ ไว้ เจ้ า หน้ า ที่ ป ระจ� ำ ต� ำ บล คั ด เลื อ ดจากบุ ต รหลานของ ท�ำงานให้มีกลไกการขับเคลื่อนงานถึงระดับหมู่บ้าน โดยใช้ คนในพื้นที่ มีความรู้ความเข้าใจในบริบท สังคม วัฒนธรรม เงื่อนไขการออมมาเป็นเครื่องมือมาเชื่อมร้อยให้ครัวเรือนพอ ประเพณี และมีความสัมพันธ์กับคนในพื้นที่เป็นอย่างดีมีบทบาท เพียงอาสาเข้ามาเรียนรู้ร่วมกันที่ปรึกษาภาค มีบทบาทหน้าที่ หน้าที่ประสานความร่วมมือกับคณะกรรมการ โครงการฯ โดย ด้านการบริหารจัดการ โดยขับเคลื่อนงานให้เป็นไปตามนโยบาย ในช่วงแรก เป็นการสร้างความเข้าใจ เป้าหมายและแนวทาง โครงการฯ และความต้องการขอบคุณของชุมชน เป็นบุคคลที่ การท�ำงานกับแกนน�ำชาวบ้าน ผู้น�ำชุมชน และภาคีในท้องถิ่น มีเข้ามามีบทบาทตั้งแต่เริ่มต้น ในการพิจารณาคัดเลือกพื้นที่ ช่วงที่สอง เป็นการสร้างความเชื่อมั่นในแนวทางการท�ำงาน รวมไปถึงการคัดเลือกเจ้าหน้าที่ประจ�ำต�ำบลและน�ำขบวนการ ของโครงการ และตัวของเจ้าหน้าที่โครงการฯ ส่วนช่วงที่สาม ท�ำงานของโครงการฯ โดยการวางแผนการขับเคลื่อนงานใน แต่ละเดือนให้สอดคล้องกันนโยบายของโครงการฯในแต่ละ ช่วงเวลา และพิจาณาประเมินความเป็นไปได้ ของแผนต�ำบล วิถีพอเพียงตามศักยภาพของชุมชน อีกทั้งให้ค�ำแนะน�ำปรึกษา ปัญหาที่เกิดจากการท�ำงานของโครงการฯ พร้อมทั้งถ่ายทอด ชุ ด ความรู ้ ป ระสบการณ์ ก ารท� ำ งานพั ฒ นาในเวที ป ระชุ ม ทุ ก เดือน ตลอดจนออกแบบการประชุมให้เจ้าหน้าที่โครงการฯ ได้มีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การท�ำงานในแต่ละพื้นที่ร่วม กัน ทีมงานภาคสนาม ปตท. ทั้ง 3 ระดับมีความส�ำคัญ ต่ อ การขั บ เคลื่ อ นงานในพื้ น ที่ ใ นระยะเริ่ ม ต้ น เป็ น อย่ า งมาก เนื่ อ งจากต้ อ งเป็ น คนที่ น� ำ แนวทางและหลั ก การท� ำ งานของ
ทีมงานภาคสนาม ปตท.
47 issue 100 may 2016
48 IS AM ARE www.ariyaplus.com
โครงการฯมาตี ค วามหมายแล้ ว น� ำ ไปออกแบบการ ท� ำ งานให้ เ หมาะสมกั บ บริ บ ทพื้ น ที่ ข องต� ำ บลทุ ่ ง นาง โอก เพื่อพัฒนาต�ำบลให้เป็นไปในทิศทางแห่งความ พอเพียง เมื่อมีการเข้าไปใช้ทรัพยากรในป่ามากขึ้น ความ อุดมสมบูรณ์ของป่า ก็ลดลง เนื่องจากไม่มีกฎระเบียบ กติกาในการเข้าไปใช้ทรัพยากรในป่า มีเพียง การน�ำ ความเชื่อในผีปู่ตามาถือปฏิบัติในการรักษาป่า เมื่อโครง การฯได้ก�ำหนดแผนในการจัดการป่าดอนปู่ตาเริ่มจาก การพาตัวแทนคณะกรรมการไปร่วมแลกเปลี่ยนเรียน รู้การจัดการทรัพยากรกับเครือข่ายภาคอีสานทั้ง๒๒ ต�ำบลที่ต�ำบลไทยสามัคคี อ�ำเภอวังน�้ำเขียว จังหวัด นครราชสีมา จากนั้น ก็มีการจัดเวทีพูดคุยสร้างความ ร่วมมือในการจัดการป่าชุมชน โดยเชิญ ตัวแทนของ ครู นักเรียน อบต. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ผู้น�ำ ชุมชน ปราชญ์ด้านพิธีกรรมและแกนน�ำ ของคนในชุมชน ร่วม หาแนวทางในการจั ด การป่ า ให้ เ หมาะสม ทุ ก คนได้ ร่วมกับวางแผนการพัฒนาป่าดอนปู่ตาร่วมกันโดยได้ ก�ำหนดเป็นกิจกรรมที่ท�ำต่อเนื่องเป็นประจ�ำเน้นการมี ส่วนร่วมของคนในชุมชน และกิจกรรมสร้างการเรียน รู้ของคนในชุมชน นอกจากนี้ยังมีการด�ำ เนินงานตามแผนงานการ ปลู ก ต้ น ไม้ เ สริ ม ในพื้ น ที่ ว ่ า ง ในบริ เวณป่ า ซึ่ ง ได้ รั บ ความร่วมมือเป็นอย่างดีจากทุกภาคส่วนในชุมชน เช่น กลุ่มเด็กและเยาวชน กลุ่มผู้น�ำ กลุ่มผู้บริหารท้องถิ่น กลุ่ม อสม.และคณะครูจากโรงเรียนในพื้นที่ โดยสร้าง
กิจกรรมให้ครูและเยาวชนเข้า ส�ำรวจและศึกษา พรรณไม้ สัตว์ป่าและการเข้าไปใช้ประโยชน์ในป่า ดอนปู่ตาร่วม กับผู้รู้ และสืบค้นความเป็นมาของ ป่าจากผู้รู้ในชุมชน แล้วรวบรวมข้อมูลที่ได้ มา ท�ำ เป็นท�ำเนียบป่าและจัดท�ำสื่อการเรียนรู้ร่วม กับผู้รู้และคณะกรรมการป่า จากนั้นจัดตั้งเป็น จุดเรียนรู้ท�ำเป็นห้องเรียนป่าชุมชนและแต่งตั้งผู้ ดูแลจุดเรียนรู้จะเห็นว่าต�ำบลทุ่งนางโอกได้มีการ ด�ำ เนินงานด้านทรัพยากรป่าไม้มาอย่างต่อเนื่อง เพื่อหวังให้คนในชุมชนร่วมมือกันอนุรักษ์ป่าให้มี ความสมบูรณ์อย่างยั่งยืนต่อไป
49 issue 100 may 2016
50 IS AM ARE www.ariyaplus.com
สั ม ภาษณ์ พิ เ ศษ
‘สมุดบันทึกความดี’
โดย : อภีม คู่พิทักษ์
เสริมคุณธรรมจากครู สู่เด็ก
ณัฐชาฎา สุทธิสอาด ผู้อ�ำนวยการช�ำนาญการพิเศษโรงเรียนราชบพิธ ผู ้ อ� ำ นวยการ ณั ฐ ชาฎา สุ ท ธิ ส อาด ถื อ เป็ น ผอ.อี ก ท่ า น ที่ ผ ่ า นประสบการณ์ ม ามากมายในการรั บ ราชการครู จากโรงเรี ย นเล็ ก ๆ ในพื้ น ที่ กั น ดาร สู ่ ต� ำ แหน่ ง ผู ้ อ� ำ นวยการ โรงเรี ย นราชบพิ ธ อั น เป็ น ที่ รู ้ จั ก ของประชาชน ทั่ ว ไป ทั้ ง นี้ ท ่ า นได้ ท� ำ ทุ ก ทางเพื่ อ เสริ ม สร้ า งให้ นั ก เรี ย นในสั ง กั ด ได้ รู ้ จั ก และมี คุ ณ ธรรมติ ด ตั ว ก่ อ นออกไปสู ่ สั ง คมภายนอก เสมื อ นว่ า ยิ ง ปื น นั ด เดี ย วได้ น กสองตั ว หากจะเสริ ม คุ ณ ธรรมให้ นั ก เรี ย นก็ เ ลี่ ย งไม่ ไ ด้ ที่ จ ะ เสริ ม ให้ แ ก่ คุ ณ ครู ก ่ อ น เพื่ อ ผลลั พ ท์ ที่ ยั่ ง ยื น อย่างไรก็ตาม สมุดบันทึกความดี ถูกพูดถึงและน�ำมาเป็นเครื่องมือในการ ให้เด็กได้เรียนรู้ซึมซับคุณธรรมทั้งภายใน และนอกโรงเรียน ภายใต้ค�ำแนะน�ำของผู้ คิดค้น คือ ดร.วรวุฒิ แสงเฟือง เรื่องราว โรงเรี ย นคุ ณ ธรรม และเครื่ อ งมื อ อย่ า ง สมุดบันทึกความดี นี้เป็นอย่างไร ท�ำไม โรงเรี ย นราชบพิ ธ ถึ ง เลื อ กใช้ ใ นการบ่ ม เพาะนักเรียน เชิญผู้อ่านติดตามได้ในบท สัมภาษณ์ครับ เรื่ อ งราวในอดี ต เริ่มต้นจากวัยเด็กและครอบครัว ก่ อ นนะคะ ส่ ว นตั ว มาจากครอบครั ว ระดั บ ปานกลาง ซึ่ ง คุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ ส อน ให้ ช ่ ว ยเหลื อ ตั ว เองและฝึ ก ความรั บ ผิ ด ชอบตั้งแต่เด็ก สิ่งหนึ่งที่ติดตัวมาตลอด คือความเสียสละ เพราะในครอบครัวจะ มีพี่น้องอยู่ด้วยกันทั้งหมด 5 คน ดิฉัน
จะเป็นคนที่ 2 และเป็นลูกสาวเพียงคน เดียว ชีวิตประจ�ำวันส่วนใหญ่เราต้องช่วย เหลือกันทั้งพี่ทั้งน้อง เพราะฉะนั้นเราจะมี ความเสียสละซึ่งกันและกัน โดยมีคุณแม่ เป็นแบบอย่าง คุ ณ แม่ เ ป็ น คนเสี ย สละให้ กั บ น้องๆ (คุณน้า) อยู่เสมอ เช่น เรื่องการ เรียนก็ให้ตนเองเรียนไม่สูงมาก แต่ว่าให้ น้องๆ ได้เรียนแล้วตัวเองก็ท�ำหน้าที่ใน การดูแลเรื่องภายในบ้านทั้งหมด เพื่อที่ น้องๆ จะได้ไปเรียนหนังสือ พอเรามาถึงรุ่นเรา ก็มีการช่วย เหลือน้องๆ พี่ๆ ที่จะให้สามารถเรียนได้ จนทุกคนประสบความส�ำเร็จ สิ่งหนึ่งที่ ดิฉันได้มาจากการดูแลครอบครัวคือเรา กลายเป็นคน “ชอบบริการ” ไม่ว่าคน นั้นจะเป็นใคร (ยิ้ม) ไม่ว่าจะเป็นผู้ใหญ่ กว่าหรือเด็กกว่า เรารู้สึกว่าเราเป็นห่วง เราอยากบริการให้ 51 issue 100 may 2016
แล้วก็อีกงานที่รู้สึกขาดไม่ได้ เข้า บ้านทีไรเป็นต้องท�ำ คือชอบกวาดบ้าน เห็นฝุ่นเห็นอะไรไม่ได้เลย ไม่ได้เป็นคน สะอาดอะไรมากมายนะคะ แต่ถ้าได้เห็น ฝุ่นหรืออะไรจะขออนุญาตว่า ขอช่วยตรง นี้หน่อยอะไรอย่างนี้นะคะ ส่วนงานที่รับ ผิดชอบในตอนเด็กๆ ก็จะมีกวาดบ้านถู บ้านอะไรอย่างนี้ ถือเป็นท�ำหน้าที่หลัก ก่อนท�ำอย่างอื่น การศึกษาเล่าเรียนก็ไม่เคยที่จะ ต้องเรียนพิเศษ ไม่ได้เรียนดีจนได้ที่หนึ่ง หรืออะไร ไม่เคยสอบได้ที่หนึ่งด้วยซ�้ำ มี ทั้งสอบได้เลขตัวเดียว สองตัวก็มีมาโดย ตลอด แต่ด้วยความที่เข้าใจว่าไม่อยาก ให้คุณพ่อคุณแม่เสียค่าใช้จ่ายสูง เพราะ ฉะนั้นเราก็จะท�ำหน้าที่ที่สามารถจะช่วย ได้ก็จะท�ำตั้งแต่เรื่องของในบ้านรวมไป ถึงเรื่องต่างๆ
จิ ต วิ ญ ญาณความเป็ น ครู การเป็นครูครั้งแรกรับราชการบรรจุเป็นข้าราชการครู ที่อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งเป็นถิ่นทุรกันดารมาก (ในสมัยนั้น) ก็ถือได้ว่านี่เป็นส่วนหนึ่งในการพิสูจน์ตัวเองเหมือน กัน เพราะเนื่องจากว่าบ้านเรามีรากฐานอยู่ที่กรุงเทพมหานคร ตอนแรกคุ ณ แม่ ก็ เ ป็ น ห่ ว งว่ า ไปแล้ ว จะอยู ่ ไ ด้ อ ย่ า งไร แต่ ใ น ความเชื่อของเราว่า “ใครเป็นข้าราชการต้อ งเสีย สละเพื่ อ ประชาชน” ก็เลยมีความรู้สึกว่า “ต้องไปแล้ว” ในสมัยที่เรียนอยู่ระดับมหาวิทยาลัยก็เคยได้สัมผัสการ ออกค่ายอาสาพัฒนาอยู่บ่อยครั้ง เราก็เลยมีความรู้สึกว่าเราเอง มีความสามารถหลายด้าน พร้อมที่จะวิ่งลุยกับทุกเรื่อง การไป บรรจุราชการที่ต่างจังหวัดจึงเป็นสิ่งท้าทายมาก วันแรกที่ไปถึงที่นั่น เราสัมผัสได้ถึงความเป็นเป็นถิ่น ทุรกันดารจริงๆ ถนนที่รถวิ่งเข้าไปยังเป็นเส้นทางลูกรังกว่า 50 กิโลเมตร หากแต่เป็นความกันดารที่เต็มไปด้วยความโชค ดี เนื่องจากคนท้องถิ่นที่ อ.กบินทร์บุรี ในสมัยนั้นส่วนใหญ่เป็น คนที่ย้ายมาจาก จ.ลพบุรี ทั้งยังเป็นคนใจดีมาก เมื่อเราไปบรรจุ เป็นครูก็จะมีคนมาเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เราตลอด โรงเรียนที่เราไปอยู่นั้น เราต้องใช้ความสามารถทั้งหมดที่ มี เพราะเด็กมีอยู่ทั้งหมด 152 คน แต่ครูมีอยู่ 7 คน บางวันครู คนเดียวต้องสอนทั้งโรงเรียน เพราะบางครั้งคุณครูต้องกลับ ภูมิล�ำเนา เช่น ชลบุรี ฉะเชิงเทรา แต่เราอยู่กรุงเทพซึ่งเดินทาง
ล�ำบาก เราก็เลยต้องอาศัยอยู่ที่บ้านพักครู ดังนั้นในทุกวันศุกร์ ช่วงบ่ายเราจึงไม่ได้กลับบ้านเหมือนกับครูท่านอื่นเขา เราก็จะ อยู่กับเด็กๆ ทั้งโรงเรียน โดยที่เราก็ต้องมีกิจกรรมกับน้องกับ ลูกๆ ได้ท�ำร่วมกัน การที่อยู่ตรงนั้นมา 2 ปี ท�ำให้เราค้นพบว่าจริงๆ เด็ก ต่างจังหวัดมีทั้งอัจฉริยะ บางคนทักษะกีฬาโดยไม่ต้องสอน แต่ น่าเสียดายที่เด็กทุกคนมีโอกาสไม่เท่ากัน จาก อ.กบิ น ทร์ บุ รี ก็ ไ ด้ ย ้ า ยกลั บ มาบรรจุ ที่ โรงเรี ย น ประชานิเวศน์ กรุงเทพมหานคร ก็มาเจองานหนักอีก โรงเรียน ประชานิ เวศน์ ถื อ ว่ า เป็ น โรงเรี ย นประถมที่ ส ร้ า งครู ที่ เข้ มแข็ง โรงเรียนหนึ่งนะคะ ส่วนตัวดิฉันได้ประสบการณ์จากประชา นิเวศน์เยอะมากในเรื่องของการฝึกเป็นครูที่ดี จากตรงนั้นเราได้ฝึกประสบการณ์ทุกเรื่องจากงานที่ เราท�ำหรือหน้าที่ที่เรารับผิดชอบเป็นตัวหล่อหลอมเราให้มีวัน 52 IS AM ARE www.ariyaplus.com
นี้ จึงเป็นคนที่มีเหตุผลคิดบวกแล้วก็สนใจ ความรู้สึกของคนอื่นว่าเขาจะมีเหตุและ ผลอย่างไร แล้วก็คิดว่าจะเอาตัวเองไป ช่วยเขาทุกสถานการณ์ ถ้าเขามีอะไรที่ เขาท�ำไม่ได้เรารู้สึกว่าเราเป็นรุ่นพี่ที่เคย ผ่านตรงนี้มาก่อน เรารู้สึกว่าให้เราช่วย ไหมจะท�ำอย่างไร ผู ้ บ ริ ห ารหญิ ง ไฟแรง เรามีอุดมการณ์ของเราคือ “ถ้า เป็ น ครู ก็ ต ้ อ งเป็ น ครู ที่ ดี ที่ สุ ด คื อ สอน ให้เด็กเป็นเด็กดี” เราก็มีความรู้สึกว่าที่ ประชานิเวศน์นั้น เขามีการแนะน�ำว่าใคร เป็นครูดีแล้วก็ควรจะก้าวไปเป็นผู้บริหาร จะเป็นผู้อ�ำนวยการหรือเป็นรองผู้อ�ำนวย การก็ได้ เพื่อที่จะไปพัฒนาครูอีกที เราก็ท�ำตามมีอุดมการณ์ว่าหาก เป็ น ครู เราก็ จ ะสามารถพั ฒ นาได้ เ พี ย ง นักเรียนกลุ่มหนึ่ง แต่ถ้าเราพัฒนาครู ครู ไปพัฒนาเด็ก เราจะได้หลายกลุ่มมากขึ้น มองแล้วเป็นโอกาสที่จะท�ำประโยชน์ได้ มากกว่าเดิม จึงผันบทบาทตัวเองเป็นผู้ บริ ห ารตั้ ง แต่ ร ะดั บ ผู ้ ช ่ ว ยอาจารย์ ใ หญ่ มาเป็นผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการแล้วก็ถึงมาเป็น ผู้อ�ำนวยการ เป้ า หมายสู ่ โ รงเรี ย นคุ ณ ธรรม ชั้ น น� ำ เรามาถึ ง ที่ นี้ เราก็ ดู บ ริ บ ทก่ อ น บริบทที่นี่เป็นอย่างไร โรงเรียนราชบพิธ เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก พื้นที่ 374 ตาราง วา ลักษณะของเขาเป็นอย่างไร ที่โรงเรียน นี้เขามีการระดมสมองกัน มีปรัชญาคือ “ด�ำรงความเป็นไทยใส่ใจธรรมะ” ติด ไว้ทุกที่ มีวิสัยทัศน์ติดไว้ทุกที่ แสดงว่าเขา ใช้ได้ในเรื่องของการค�ำนึงถึงเป้าหมายที่ จะพัฒนาเด็กไปให้ถึงเป้าหมาย เราก็เลยคิดว่าเมื่อเขาท�ำไว้อย่าง ดีแล้ว มีวิสัยทัศน์ มีปรัชญา เราก็จะต้อง ช่วยเอาตรงจุดนี้เดินหน้าต่อไป เพราะว่า
ถ้ า เราท� ำ กิ จ กกรมแบบฉาบฉวยมั น ไม่ ไ ด้ อ ะไร เพราะว่ า กิ จ กรรมตรง นั้ น มั น ต้ อ งเห็ น อะไร บอกอะไร มั น ไม่ ใ ช่ แ ค่ ท� ำ กิ จ กรรมเสร็ จ แต่ จ ะท� ำ อย่ า งไรให้ ลู ก ๆ ของเราเติ บ โตไปเป็ น พลเมื อ งที่ มี คุ ณ ภาพพอที่ จ ะสร้ า ง ให้ สั ง คมไทยอยู ่ ไ ด้ อ ย่ า งเข้ ม แข็ ง และยั่ ง ยื น เขาท�ำไว้เราก็ต้องช่วยเขาเดิน ต่อมาเราก็ ต้องดูว่าคุณครูเป็นอย่างไร คุณครูที่นี่มี ครู คศ.3 (หรือครู ช�ำนาญการพิเศษ) ที่เป็นหลัก 5 คน คือ พูดง่ายๆ อยู่ในรุ่นเรา เป็นรุ่นเดียวกันเลย พูดกันรู้เรื่อง ส่วนใหญ่ดิฉันจะไม่ได้คิดว่า เราเป็นผู้อ�ำนวยการ เป็นพี่เขา เพราะบาง คนอายุมากกว่าเราด้วยซ�้ำ แต่เราจะคิด ว่าเราเป็นทีมเดียวกัน ปัจจัยต่อมาคือนอกจากเรามีครู 53 issue 100 may 2016
คศ.3 แล้วเราก็มีครู คศ.2 (ครูช�ำนาญ การ) ซึ่งเขาเป็นทีมงาน สิ่งหนึ่งที่เห็นก็ คือเขาคิดบวกกันทุกคน แล้วเป็นคนรับ ผิ ด ชอบหน้ า ที่ มุ ่ ง มั่ น ในการท� ำ งานและ ทุ่มเทด้วย ที่นี่ไม่มีใครกลับบ้านเร็ว ทุก คนกลับบ้านมืดกันหมด ไม่ได้ขอให้กลับ เราตามใจ เราอยากจะให้ อ งค์ ก รที่ เราไป ท� ำ งานอย่ า งมี ค วามสุ ข ไม่ ได้บ อกให้มี ความสุขเฉยๆ แต่อยากให้ท�ำงานอย่าง
เรามี อุ ด มการณ์ ข องเราคื อ “ถ้ า เป็ น ครู ก็ ต ้ อ งเป็ น ครู ท่ี ดี ที่ สุ ด คื อ สอนให้ เ ด็ ก เป็ น เด็ ก ดี ” เราก็ มี ค วาม รู ้ สึ ก ว่ า ที่ ป ระชานิ เ วศน์ นั้ น เขามี ก ารแนะน� ำ ว่ า ใคร เป็ น ครู ดี แ ล้ ว ก็ ค วรจะก้ า วไปเป็ น ผู ้ บ ริ ห าร จะเป็ น ผู ้ อ� ำ นวยการหรื อ เป็ น รองผู ้ อ� ำ นวยการก็ ไ ด้ เพื่ อ ที่ จ ะ ไปพั ฒ นาครู อี ก ที
ค�ำพูดแรกที่เขาแนะน�ำว่าเป็นโรงเรียนคุณธรรม เราเองก็ ไม่รู้ว่าจะเกิดขึ้น แต่อยากเข้าร่วมก็ยกมือเลย ว่าราชบพิธขอเข้า ร่วม เราถือว่าให้โอกาสโรงเรียนราชบพิธ เราและบุคลากรพร้อม ที่จะท้าทายในการท�ำพร้อมอยากทดลองท�ำด้วยความต้องการที่ อยากจะท�ำให้ลูกๆ ของเรา เราเริ่มต้นจากว่าทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เข้ามา ช่วยงบประมาณเรา ส่วนทางโรงเรียนราชบพิธซึ่งเป็นโรงเรียน มีความสุขทุกเรื่อง ในทุกๆ วันเราจะได้ยินเสียงเขาหัวเราะใน พระมหากษัตริย์เรามีชื่อพระมหากษัตริย์เป็นตราโรงเรียนตรา การท�ำงาน แต่เขาจะไม่โดนดิฉันต�ำหนิว่าเสียงดังมากเกินไป พระเกี้ ย วและหยดน�้ ำ เพราะฉะนั้ น เราเป็ น คนไทยที่ รั ก ชาติ นะ ไม่ถูกต้องแล้ว ศาสนาและพระมหากษัตริย์ แล้วเราก็เลยชูประเด็นนี้ขึ้นมา เวลากระจายงานเราถูกฝึกเรื่องงานมาแบ่งหน้าที่รับผิด พอชูเสร็จท�ำอย่างไร ชอบ ฟังความเห็นเขาก่อน เขาจะท�ำยังไงเรามีหน้าที่สนับสนุน อยากได้ทรัพยากรไหม เราจัดให้หมดเพื่อสนับสนุนให้งานราบ สมุ ด บั น ทึ ก ความดี เ สริ ม สร้ า งคุ ณ ธรรม รื่น ทุกครั้งก็อยู่เป็นก�ำลังใจซึ่งกันและกัน เพราะฉะนั้นทีมงาน หน้ า ที่ ข องเราที่ จ ะท� ำ ให้ ทุ ก คนเห็ น ในด้ า นที่ เ ป็ น จริ ง ค่อนข้างดี เข้าใจ แล้วก็เป็นคนไวเขาเรียกใฝ่รู้ใฝ่เรียน อุทิศ ไม่ใช่ด้านที่หลอกลวงตัวเองเพราะเราเชื่อว่าวิจารณญาณของเรา เวลามุ่งมั่น ถ้าได้ฐานแค่นี้เราเรียกว่าเราได้ปัจจัยค่อนข้างเข้ม นั้นถูกต้อง รู้ว่าคนไหนดี คนไหนไม่ดี ไม่ต้องมาบอกเรา ไม่ต้อง แข็ง มาใส่หู ไม่ต้องมาให้เหตุผล เพราะว่าเราฟันธงแล้วว่าพระเจ้า บังเอิญโครงการโรงเรียนคุณธรรมเข้ามา โดยส�ำนักงาน อยู่หัวฯ เราดีที่สุดในคนเดินดินแบบพวกเรา ดีกว่าเราแน่นอน เขตพระนคร ร่วมกับ บมจ.เทเวศประกันภัย บริษทั ของส�ำนักงาน เพราฉะนั้นเราก็เลยบอกว่า เราต้องปลูกฝังลูกๆ เรา ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ มีท่าน ดร.วรวุฒิ แสงเฟือง รอง ไม่ใช่ว่าลูกๆ เราสนใจแต่เรื่องสิ่งต่างๆ จนโตขึ้นเขากลายเป็น ประธานมูลนิธิครอบครัวพอเพียง เป็นที่ปรึกษาโครงการ คนเห็นแก่ตัวแล้วจะท�ำอย่างไร ตอนแรกก็ไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นจาก 54 IS AM ARE www.ariyaplus.com
จุดไหน
จนกระทั่ ง ดร.วรวุ ฒิ น� ำ สมุ ด บั น ทึ ก ความดี ม าให้ ลู ก ๆ ท� ำ ท่ า นก็ ใ ห้ ท�ำแบบบันทึกไปเลย ไม่บอกว่าท�ำยังไง เรากับคณะครูก็หนักใจว่าให้ท�ำอะไรไม่รู้ ให้ เ ด็ ก ไปท� ำ วิ ธี ข องท่ า นกั บ เราคนละ วิธีกัน ท่านต้องการทราบว่าเด็กๆ มีพื้น ฐานอะไร พื้นฐานคุณครูมีอะไรแล้วท่าน ก็มาเฉลยทีหลัง แต่ ใ นใจเรากลั บ คิ ด ว่ า จะเอา ยังไงล่ะ ท่านอุตสาห์ออกแบบมาอย่าง ดี สวยด้วย ท�ำอย่างไรเราจะน�ำไปใช้ให้ เกิดประโยชน์กับลูกๆ เราทันที ท่านก็ไม่ ยอมบอกวิธีใช้ บอกมาแค่ว่า “บันทึกไป ก่อนท่าน ผอ.” เด็กก็บันทึกไปสักระยะหนึ่ง ผ่าน ไป 2-3 สัปดาห์ ท่านจึงขอดู พออ่านเสร็จ ท่านก็บอกเด็กคนนี้เป็นอย่างนี้ เด็กคนนี้ เป็นอย่างนั้น เขาใช้การอ่านชิ้นงานอ่าน ผลงานของเด็กแล้วดูพฤติกรรมของเด็ก แต่ ก ารท� ำ อย่ า งนี้ ต ้ อ งใช้ ป ระสบการณ์ ถ้าคนไม่มีประสบการณ์ดูก็เฉยๆ ขนาด ตั ว เราเองตรวจค� ำ ถู ก ค� ำ ผิ ด ยั ง ผ่ า นเลย แล้วก็ตรวจเฉยๆ ก็เซ็นชื่อ คือเราไม่รู้ว่า จะเอาไปใช้อะไร ท่าน ดร.วรวุฒิ จึงบอกให้เราไป ประชุมครู จากนั้นก็แจกกระดาษให้ทุก คนเลย ช่วยดูบันทึกของลูกๆ ของห้อง ท่านหน่อย ครูพิเศษไม่มีก็ไปขอห้องที่มี ดู เสร็จแล้วกรุณาเขียนความรู้สึกที่ทุกคนได้ อ่าน เมื่อทุกคนดูเสร็จแล้วช่วยพรีเซนต์ ให้ฟังด้วย เราก็ยอมเสียเวลา 3 ชั่วโมงกว่า ให้ คุ ณ ครู พู ด ที ล ะคนเลย ผลที่ อ อกมา ท� ำ ให้ เราต้ อ งทึ่ ง เพราะว่ า สิ่ ง แรกที่ ค รู ทุกคนพูดคือ “สงสารลูก” พอถึงจุดนั้น คุณธรรมออกมาเลย แสดงว่าครูทุกคนมี คุณธรรม แค่ฟังครูทุกคนครบทั้งโรงเรียน เรารู้เลยว่าคนไทยทุกคนมีคุณธรรม แล้ว แค่ครูดูบันทึกความดีที่เด็กท�ำ เด็กเขียน
เด็กเรียนรู้ จะดีไม่ดี จะมีวินัยไม่รับผิด ชอบ หรื อ อะไรก็ ต าม แต่ ที่ จ ริ ง เด็ ก มี คุณธรรม เพียงแต่ว่าอยากให้มีเยอะต้อง เสริมเยอะๆ อันนั้นคือสิ่งที่ค้นพบทันที ดร.วรวุ ฒิ บอกเอาไว้ ว ่ า ถ้ า กิจกรรมนั้นท�ำแล้วไม่ส่งผลให้เกิดผลทาง จริ ย ธรรมหรื อ พฤติ ก รรมมั น จะเหมื อ น กิจ กรรมที่ เราท� ำ ไปเหมื อ นทุ ก ๆ ปี ท� ำ
55 issue 100 may 2016
กันมาตั้งแต่ประถมจนหลายคนเรียนจบ แล้ว ถ้าเราท�ำกิจกกรมแบบฉาบฉวยมัน ไม่ได้อะไร เพราะว่ากิจกรรมตรงนั้นมัน ต้องเห็นอะไร บอกอะไร มันไม่ใช่แค่ท�ำ กิจกรรมเสร็จ แต่จะท�ำอย่างไรให้ลูกๆ ของเราเติบโตไปเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ พอที่จะสร้างให้สังคมไทยอยู่ได้อย่างเข้ม แข็งและยั่งยืน.
Let’s talk
งานส่งเสริมสุขภาพจิต และหน้าที่นักสังคมสงเคราะห์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (พิเศษ) อรอนงค์ อินทรจิตร “งานด้ า นสุ ข ภาพจิ ต ส� ำ หรั บ นั ก สั ง คมสงเคราะห์ ยั ง ท� ำ น้ อ ยมาก หรื อ แทบจะไม่ ไ ด้ ท� ำ เลย ตรงนี้ เ ป็ น เรื่ อ งที่ จะต้ อ งหั น กลั บ มาพิ จ ารณาว่ า จริ ง ๆ แล้ ว คุ ณ ใช้ อ ะไรเป็ น มาตรฐานในการที่ จ ะบอกว่ า คุ ณ ได้ ท�ำ หน้ า ที่ ข องนั ก สั ง คมสงเคราะห์ อ ย่ า งเต็ ม ที่ แ ล้ ว ” ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ (พิ เ ศษ) อรอนงค์ อิ น ทรจิ ต ร นั ก สั ง คมสงเคราะห์ ดี เ ด่ น ประจ� ำ ปี 2558 ประเภทสั ง คมสงเคราะห์ อ าสาสมั ค ร ผู ้ ก ่ อ ตั้ ง และประธานกรรมการบริ ห าร มู ล นิ ธิ ศู น ย์ ฮ อทไลน์ วั ย 69 ปี ตั้ ง ค� ำ ถามถึ ง นั ก สั ง คมสงเคราะห์ ใ นประเทศไทย ซึ่ ง เป็ น นั ก วิ ช าชี พ ที่ ท� ำ งาน “เพื่ อ คน” และ “กั บ คน” มี ห น้ า ที่ โ ดยรวม 3 ประการหลั ก คื อ 1.ให้ ก ารศึ ก ษา(Educating) 2.บริ ห ารจั ด การ (Managing) 3.ให้ ค� ำ ปรึ ก ษาแนะน� ำ (Counseling) เช่ น เดี ย วกั บ นั ก จิ ต วิ ท ยา แพทย์ พยาบาล และครู แนะแนว และนั ก วิ ช าชี พ ในการบริ ก ารมนุ ษ ย์ อื่ น ๆ 56 IS AM ARE www.ariyaplus.com
นอกจากหน้าที่ 3 ประการหลักแล้ว อาจารย์อรอนงค์ มองว่า งานของนักสังคมสงเคราะห์ไม่ได้หยุดอยู่ที่การให้บริการ กั บ คนโดยตรงทางสวั ส ดิ ก ารทางกายภาพ และงานบริ ห าร จัดการในสังกัดที่ได้รับมอบหมายเท่านั้น ยังมีงานด้านการช่วย เหลือทางด้านจิตใจซึ่งส�ำคัญไม่แพ้กัน สอดรับกับประเทศไทย ที่ยังมีประชาชนอีกมากมายซึ่งประสบปัญหาทางด้านจิตใจจาก ผลกระทบทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง รวมถึงชุมชนและ ครอบครัว เขาเหล่านั้นจะหันหน้าไปพึ่งใคร ? แน่นอนว่า หากหันหน้าไปพึ่งจิตแพทย์ได้ย่อมเป็นทาง เลือกที่ดี แต่ค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง คิดเป็นรายชั่วโมง ส�ำหรับ ผู้มีรายได้น้อยอาจจะเข้าถึงได้ยาก จนมีค�ำพูดติดตลกว่า “มี แต่คนรวยกับคนบ้าเท่านั้นที่เข้าถึงจิตแพทย์ได้” หากลอง วิเคราะห์จากค�ำพูดเสียดสีนี้ก็พบความจริงบางประการ กล่าว คือ ย้อนไปราว 35-40 ปีที่แล้ว ประเทศไทยมีประชากรประมาณ 50 ล้านคน มีจิตแพทย์ทั้งหมดราว 300 คน จนกระทั่งประชากร ในปัจจุบันมีเกินกว่า 65 ล้านคน ขณะที่จิตแพทย์มีจ�ำนวนไม่ถึง 600 คนโดยประมาณ หมายความว่า หากประชาชนต้องการรับ บริการทางด้านสภาพจิตใจจากจิตแพทย์ในจ�ำนวนที่มีอยู่ ตัวเลข นี้อาจไม่เพียงพอต่อความต้องการ ดังนั้น นักสังคมสงเคราะห์ที่มี อยู่ทั้งหมดประมาณ 1,700 คน จึงมีความส�ำคัญในการให้บริการ ทางด้านสภาพจิตใจต่อประชาชนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ “นักสังคมสงเคราะห์อาจจะคิดว่าคุณท�ำงานบริหาร จัดการเรื่องการเงิน เรื่องสวัสดิการสังคม และงานบริการ ต่างๆ ในส�ำนักงานของคุณ อย่างศูนย์บริการสาธารณสุข ในกรุงเทพมีถึง 60 สาขา นักสังคมสงเคราะห์อย่างน้อยก็ 5 คนต่อหนึ่งที่ คนเหล่านี้เขาคิดว่าเขาท�ำหน้าที่ของตัวเอง แล้ว แต่ที่เรามองเห็นก็คือคุณท�ำอยู่ 2 ส่วน คืองานบริหาร ในศูนย์บริการสาธารณสุขของคุณ กับการให้บริการโดยตรง เช่น การอนุมัติจัดสวัสดิการ การดูแลคนไข้ที่เป็นผู้ป่วย หรือ คนที่มาขอบริการจากคุณ แต่คุณยังไม่ได้ท�ำหน้าที่ในส่วน ของการให้ค�ำแนะน�ำ หรือการส่งเสริมสภาพจิตใจ การดูแล หรือบ�ำบัดเยียวยาสภาพจิตใจของประชาชนหรือคนในชุมชน นั้นมากเพียงพอ หรือคุณอาจท�ำแต่ยังไม่เพียงพอ เพราะว่า ความต้องการที่จะได้รับความช่วยเหลือทางสภาพจิตใจของ ประชาชนนับวันจะมีมากขึ้นเรื่อยๆ” ย้อนดูตัวเลขผู้เขียนจดหมายขอค�ำปรึกษาปัญหาชีวิต โต้ตอบกับนักจิตวิทยาในเว็บไซต์ www.hotline.or.th ของมูล นิธิศูนย์ฮอทไลน์ซึ่งเปิดให้บริการตั้งแต่ปี 2552 ผ่านไปปีเดียว ยอดผู้ขอค�ำปรึกษามากกว่า 24,000 ราย (สิงหาคม 2553) และ อีกมากมายจนมาถึงนัจจุบัน ซึ่งเป็นผู้ใช้บริการที่ไม่ประสงค์ออก
นาม ยังไม่รวมผู้ที่โทรขอค�ำปรึกษาด้วยตัวเองอีกตลอด 30 ปีที่ ผ่านมา แสดงให้เห็นว่า ปัญหาชีวิตที่ส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจ คนไทยบางส่วนยังต้องการบริการด้านค�ำปรึกษาอย่างเงียบๆ ซึ่งพวกเขาเองก็ไม่รู้จะหันหน้าไปพึ่งใครเช่นกัน เพราะหน่วย งานที่ให้บริการทางด้านจิตใจหรือจิตแพทย์ในประเทศไทยยัง มีไม่มากนัก ซึ่งอาจารย์อรอนงค์ตั้งข้อสังเกตว่า “ผู ้ ที่ เรี ย นจบด้ า นจิ ต วิ ท ยาส่ ว นใหญ่ จบจิ ต วิ ท ยา สาขาคลินิก คือเป็นผู้ช่วยจิตแพทย์ท�ำงานด้านการวิเคราะห์ และตรวจสอบพฤติกรรมของผู้มีปัญหา ต้องรอค�ำสั่งจาก จิ ต แพทย์ ไม่ ส ามารถท� ำ งานเป็ น อิ ส ระตามสายวิ ช าชี พ โดยตรงได้ โดยเฉพาะจ�ำนวนผู้จบจิตวิทยาด้านการให้ค�ำ ปรึกษาแนะน�ำ (Counseling) มีน้อยหรือแทบไม่มี หากจะมี ในบางมหาวิทยาลัย แต่เพราะขาดการฝึกภาคปฏิบัติที่ถูกต้อง ชัดเจน ท�ำให้ขาดประสบการณ์ และความช�ำนาญในการให้ บริการปรึกษาแนะน�ำหรือท�ำ Counseling ไม่เป็น ขาดความ เข้าใจในประโยชน์ของการให้บริการปรึกษาแนะน�ำที่ชัดเจน ส่วนใหญ่เมื่อจบมาจึงได้เข้าสู่อาชีพอื่นแทน เช่น ท�ำงานเป็น ฝ่ายบุคคล ประชาสัมพันธ์ หรือท�ำงานธุรการ” กระบวนการให้ ค� ำ ปรึ ก ษาแนะน� ำ หรื อ Counseling ไม่ ใ ช่ ค วามช� ำ นาญของจิ ต แพทย์ การสนั บ สนุ น โดยจิ ต แพทย์ ด ้ า นบริ ก ารให้ ค� ำ ปรึ ก ษาแนะน� ำ หรื อ Counseling อย่ า งถู ก ต้ อ งเป็ น กระบวนการจึ ง ไม่ เ กิ ด ขึ้ น “จ�ำนวนจิตแพทย์ในประเทศไทยมีอยู่อย่างจ�ำกัด ใน แต่ละปีจิตแพทย์จบใหม่มีจ�ำนวนเพียงเข้ามาแทนที่จิตแพทย์ ที่ปลดเกษียณไปเท่านั้น นั่นคือจ�ำนวนจิตแพทย์ในแต่ละปี ประมาณ 350-400 คนต่อปีตลอด 30 ปีที่ผ่านมาจนปัจจุบัน ท�ำให้กิจกรรมและการบริการของจิตแพทย์เน้นไปที่การรักษา หรือดูแลรักษาคนป่วยไข้มากกว่าการป้องกันและบ�ำบัด นั่น คือเหตุผลที่ท�ำให้ประชาชนไม่กล้า ไม่อยากไปพบจิตแพทย์ เพราะเข้าใจว่า จิตแพทย์มีไว้รักษาคนบ้าเท่านั้น!” “เราเป็นประเทศหนึ่งซึ่งพัฒนามากกว่าหลายประเทศ ในเอเชีย แต่ว่าเรายังไม่ไปไหนเลยในเรื่องของการบริการต่อ สังคม ต่อชุมชนของเรา ฉะนั้นจุดบกพร่องของเราอยู่ตรง ไหน จิตแพทย์ก็ไม่พอแล้ว นักจิตวิทยาก็มีไม่มาก และนัก สังคมสงเคราะห์ซึ่งดูเหมือนมีมากที่สุดก็มีไม่ถึง 2,000 คน (นักจิตวิทยาคลีนิค 500 คน รวมนักจิตวิทยาสาขาอื่นแล้ว ไม่เกิน 1,000 คน, จิตแพทย์ 518 คน, นักสังคมสงเคราะห์ 57
issue 100 may 2016
สั ง คมสงเคราะห์ ไ ทยที่ ยั ง คงต้ อ งพั ฒ นาต่ อ ไปให้ ต รงตามจุ ด ประสงค์ในวิชาชีพตนเองมากกว่าที่ผ่านมา สายด่ ว น 1300 ของกระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและ ความมั่ น คงของมนุ ษ ย์ เป็ น หน่ ว ยงานหนึ่ ง ที่ ผ ่ า นการอบรม การให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ หรือการท�ำ Counseling จากมูลนิธิ ศูนย์ฮอทไลน์ ก่อนออกให้บริการแก่ประชาชนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 จนถึงปัจจุบัน และดูเหมือนจะเป็นสายด่วนหมายเลข เดียวที่ประชาชนหวังพึ่งค�ำปรึกษาบริการด้านจิตใจและสิทธิ จากหน่วยงานรัฐนอกเหนือจากสายด่วน 02-277-8811 และ 02-277-7699 ของมูลนิธิศูนย์ฮอทไลน์ที่ให้บริการมาตั้งแต่ ปี 2527 จนถึงปัจจุบัน ล่าสุด ศูนย์ช่วยเหลือสังคม 1300 กระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์พบสถิติผู้โทรขอค�ำปรึกษาจาก ทุกภาคทั่วประเทศถึง 23,799 ราย ภายในระยะเวลาตั้งแต่ ตุลาคม ปี 2558 ถึง มีนาคม 2559 ตลอดระยะเวลา 6 เดือนมี ผู้ใช้บริการเฉลี่ย 132 คน/วัน จ�ำแนกตามกลุ่มเป้าหมาย เป็น เด็กและเยาวชน 3,320 คน สตรี 1,723 คน ผู้สูงอายุ 1,568 คน คนพิการ 1,418 คน โดยแบ่งเป็นประเด็นปัญหาคนขอทาน/ ไร้ที่พึ่ง 1,588 คน ผู้ถูกกระท�ำความรุนแรงในครอบครัว 831 คน และกระท�ำความรุนแรงนอกครอบครัว 414 คน ทั้งนี้ยังมี
1,700 คน) ฉะนั้ น เราคงจะต้ อ งพั ฒ นาศั ก ยภาพของนั ก สังคมสงเคราะห์ให้ทัดเทียม หรือว่าให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชน สังคมไทยเรา ให้คุ้มกับสิ่งที่เขาเรียนมารึเปล่า ตรงนี้ก็เป็นส่วน หนึ่งที่เราต้องหันกลับมามอง” สอดคล้องกับมูลนิธิศูนย์ฮอทไลน์ ซึ่งนอกจากจะให้ค�ำ ปรึกษาแนะน�ำปัญหาด้านสุขภาพจิต ชีวิต และโรคเอดส์แก่ ประชาชนทุกระดับแล้ว ยังมีส่วนโดยตรงในการส่งเสริมวิชาชีพ ทางด้านให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ ซึ่งให้บริการโดยนักวิชาชีพทาง สังคมจิตวิทยาหรือนักวิชาชีพทางการแพทย์สาธารณสุข ให้เป็น ที่ยอมรับของผู้คนในสังคม โดยสนับสนุนทั้งทางด้านข้อมูล การ ศึกษาวิจัย และการฝึกอบรม ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายในกลุ่มวิชาชีพ ทางสังคมจิตวิทยา เช่น นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ นัก สังคมศาสตร์ รวมถึงกลุ่มวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุข ทางการศึกษา และกระบวนการยุติธรรม อาจารย์ อ รอนงค์ ม องว่ า นั ก สั ง คมสงเคราะห์ ที่ จ บ โดยตรงจะเน้นท�ำงานด้านเอกสาร การให้บริการด้านสวัสดิการ สังคม มีพื้นความรู้ด้านการให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำหรือ Counseling ยั ง ไม่ เ พี ย งพอจะท� ำ งานด้ า นสุ ข ภาพจิ ต โดยตรงได้ เมื่ อ ท� ำ งานด้ า นเอกสารไปนานๆ สุ ด ท้ า ยไม่ ส ามารถท� ำ งาน ให้บริการปรึกษาแนะน�ำต่อไปได้ นี่อาจเป็นจุดอ่อนของนัก
“จ� ำ นวนจิ ต แพทย์ ใ นประเทศไทยมี อ ยู ่ อ ย่ า งจ� ำ กั ด ใน แต่ ล ะปี จิ ต แพทย์ จ บใหม่ มี จ� ำ นวนเพี ย งเข้ า มาแทนที่ จิ ต แพทย์ ที่ ป ลดเกษี ย ณไปเท่ า นั้ น นั่ น คื อ จ� ำ นวน จิ ต แพทย์ ใ นแต่ ล ะปี ประมาณ 350-400 คนต่ อ ปี ปัญหาตั้งครรภ์ไม่พร้อม/ไม่พึ่งประสงค์ถึง 293 คน ปัญหาเงิน เยียวยาทางการเมือง 57 คน และปัญหาการค้ามนุษย์ 94 คน โดยเขตพื้นที่ที่มีผู้โทรใช้บริการมากที่สุดคือ กรุงเทพมหานคร จ�ำนวน 14,696 คน จากตัวเลขทั้งหมดมีประชาชนโทรขอค�ำปรึกษาแนะน�ำ ทั้งสิ้น 19,786 คน และรับการส่งต่อไปยังหน่วยงานต่างๆ อีก 4,013 คน ตัวเลขดังกล่าวแสดงถึงความส�ำคัญในการให้ค�ำ ปรึกษาปัญหาต่างๆ ผ่านสายด่วนแก่ประชาชน ซึ่งดูเหมือนว่า ประเทศไทยโดยเฉพาะหน่วยงานรัฐจะมีให้บริการไม่มากนัก รวมถึงคุณภาพในการให้บริการหากยังไม่อยู่ในระดับมืออาชีพ อาจท�ำให้ประชาชนไม่ได้รับค�ำปรึกษาแนะน�ำในทุกเรื่องอย่าง มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร อย่างไรก็ตาม ตลอด 30 ปีในการท�ำงานบุกเบิกด้าน การให้ค�ำปรึกษาปัญหาชีวิตภายใต้ชื่อ ศูนย์ฮอทไลน์ อบรม 58
IS AM ARE www.ariyaplus.com
เกี่ยวกับการท�ำงานด้านการให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำแก่หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและ เอกชน อาจารย์อรอนงค์พบว่า หน่วย งานของรัฐยังขาดบุคลากรด้านสุขภาพ จิตที่มีประสบการณ์จริง ในขณะที่กลุ่ม แพทย์ โดยเฉพาะด้านจิตเวชส่วนใหญ่ ให้ความส�ำคัญเฉพาะด้านการแพทย์ ยัง ไม่เข้าใจงานบริการด้าน Counseling จริงๆ อีกทั้งยังไม่ชัดเจน และไม่มีข้อมูล เกี่ ย วกั บ ปั ญ หาสิ ท ธิ ส ตรี สิ ท ธิ ม นุ ษ ย ชน หรื อ บทบาทหญิ ง ชาย (Gender) ซึ่ ง เป็ น พื้ น ฐานของปั ญ หาครอบครั ว ปัญหาสังคมไทยในทุกๆ ด้าน ที่ส�ำคัญ จิตแพทย์ไม่ได้มองว่า นักจิตวิทยา และ นักสังคมสงเคราะห์ สามารถจะท�ำงาน เป็นมืออาชีพได้ด้วยตนเอง ดังเช่น นัก วิชาชีพอื่นๆ ซึ่งในประเทศตะวันตกนั้น นักจิตวิทยาและนักสังคมสงเคราะห์ไม่ ได้อยู่ในอาณัติของจิตแพทย์หรือระบบ แพทย์ ดั ง ที่ เ ห็ น กั น อยู ่ ใ นประเทศไทย ปัจจุบัน “สถาบั น การศึ ก ษาส่ ว นใหญ่ ครู อ าจารย์ ผู ้ ส อนวิ ช าด้ า นจิ ต วิ ท ยามี ความรู้เชี่ยวชาญทฤษฏีตะวันตก ที่มัก แปลมาจากภาษาต่างประเทศ น�ำมา ใช้เป็นต�ำรา แต่ขาดประสบการณ์ความ จริงในสังคมไทย นักศึกษาจึงเรียนรู้แต่ ทฤษฎี แต่เมื่อมีภาคปฏิบัติไม่เพียงพอ การท�ำหน้าที่ในการท�ำงานจึงท�ำเท่าที่ ท�ำได้ ไม่ได้เข้าใจในหลักการให้บริการ ปรึ ก ษาแนะน�ำ ท� ำ ให้ ข าดการพั ฒ นา ทักษะและความช�ำนาญเป็นมืออาชีพ ต่อไปได้” “ระบบการแพทย์ ส าธารณสุ ข ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ใ ห ้ ค ว า ม ส� ำ คั ญ กั บ ‘แพทย์’ เป็นส�ำคัญ แพทย์หรือ จิ ต แพทย์ จึ ง เข้ า ใจว่ า ปั ญ หาสุ ข ภาพ จิต หรือปัญหาสุขภาพกายเป็นความ ช�ำนาญของแพทย์ และแพทย์ต้องเป็น ผู้รู้ผู้ออกค�ำสั่งเท่านั้น ทั้งที่กระบวนการ
ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ หรือ Counseling ไม่ใช่ความช�ำนาญของจิตแพทย์ การ สนับสนุนโดยจิตแพทย์ด้านบริการให้ ค� ำ ปรึ ก ษาแนะน� ำ หรื อ Counseling อย่ า งถู ก ต้ อ งเป็ น กระบวนการจึ ง ไม่ เกิดขึ้น” การถือก�ำเนิดของสายด่วน 1300 โดยกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ อาจารย์อรอนงค์ กล่าว ว่าเป็นการน�ำรูปแบบการให้บริการของ มูลนิธิศูนย์ฮอทไลน์ ซึ่งเริ่มก่อตั้งโดยได้ รับการสนับสนุนจากองค์การต่างประเทศ และเปิดให้บริการฟรีมาตั้งแต่ ปี 2527 แต่ในขณะเดียวกันก็ขาดการสนับสนุน เอ็นจีโอผู้ริเริ่มด้านงบประมาณ หรือเปิด โอกาสให้ ใช้ ป ระสบการณ์ ข องตนเอง ถ่ า ยทอดสู ่ ค นของรั ฐ ให้ เ ป็ น มื อ อาชี พ อย่างเต็มที่ เพื่องานบริการด้านค�ำปรึกษา อย่างมีคุณภาพ และเป็นการพัฒนาร่วม กันระหว่างภาครัฐและเอกชน “เมื่ อ หน่ ว ยงานภาครั ฐ ได้ เริ่ ม ต้นให้บริการตามแนวทางของศูนย์ฮอท ไลน์ ประมาณปี พ.ศ. 2531 เรื่อยมา ท�ำให้งานบริการให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ ของมูลนิธิศูนย์ฮอทไลน์ กลายเป็นงาน 59 issue 100 may 2016
ซ�้ำซ้อนกับหน่วยงานของรัฐ และเข้า ข่ายรัฐไม่สามารถให้การสนับสนุนงบ ประมาณกับบริการของศูนย์ฮอทไลน์ ซึ่งเป็นเอ็นจีโอได้” อาจารย์อรอนงค์กล่าวต่อไปว่า “การลอกเลี ย นรู ป แบบการให้ บ ริ ก าร ไม่ใช่ความผิด แต่เป็นความเข้าใจผิด ของฝ่ายบริหารของหน่วยงานภาครัฐ ที่ลอกเลียนแต่รูปแบบ แต่ไม่ได้เข้าใจ อุดมการณ์และความมุ่งมั่นที่มูลนิธิศูนย์ ฮอทไลน์ต้องการจะด�ำเนินการให้ดีท่ีสุด เพื่อพัฒนาสังคมและประเทศชาติ โดย เฉพาะหน่ ว ยงานของรั ฐ ยั ง ขาดความ เข้าใจว่า การให้บริการปรึกษาแนะน�ำ ทางโทรศั พ ท์ (Telephone counseling) ต้องใช้ทักษะที่เป็นทั้งศาสตร์ และศิลป์ และมีการสะสมประสบการณ์ ท�ำงานอย่างเป็นกระบวนการ!” เ มื่ อ ภ า ค รั ฐ ไ ม ่ ไ ด ้ ส นั บ ส นุ น โครงการเอ็ น จี โ อที่ ซ�้ ำ ซ้ อ นกั บ บริ ก าร ของรั ฐ ในขณะที่ อ งค์ ก ารเงิ น ทุ น ต่ า ง ประเทศยุติความช่วยเหลือเอ็นจีโอไทย นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2540 ท�ำให้ศูนย์ฮอทไลน์ อ่อนแอลงเรื่อยมา แม้จะได้บุกเบิกสะสม ประสบการณ์จากเริ่มต้นจนถึงปัจจุบัน
รวมกว่า 30 ปี แต่มูลนิธิศูนย์ฮอทไลน์ ก็ต้องค่อยๆ ลดบทบาทงานบริการและ กิจกรรมเพื่อสังคม ตั้งแต่ปิดสาขาในต่าง จั ง หวั ด ปิ ด บ้ า นพั ก ชั่ ว คราวส� ำ หรั บ ผู ้ หญิงและเด็กที่เชียงใหม่ (The House of Tomorrow) และลดบริการให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำทางโทรศัพท์ตลอดจนบริการนัด มาพบที่ส�ำนักงานลง แต่ประชาชนก็ยัง สามารถโทรปรึกษา หรือขอค�ำแนะน�ำ ผ่านทางเว็บไซต์ ซึ่งปัจจุบันได้รับความ นิยมเพิ่มขึ้น ที่ ส� ำ คั ญ ความขาดแคลนงบ ประมาณจะส่งผลกระทบต่อมูลนิธิโดย รวม ท�ำให้บริการให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ ทางโทรศั พ ท์ ต ้ อ งลดวั น เวลาให้ บ ริ ก าร ลง แต่ จ ากการสะสมประสบการณ์ อั น ยาวนาน ท�ำให้ทีมนักวิชาชีพของมูลนิธิ ศู น ย์ ฮ อทไลน์ มี ค วามช�ำนาญในการฝึก อบรมทั ก ษะการให้ ค� ำ ปรึ ก ษาแนะน� ำ ในทุกระดับ และทุกกลุ่มเป้าหมาย ใน ขณะที่ ป ระชาชนเริ่ ม ต้ อ งการและมอง เป็นความส�ำคัญของงานบริการปรึกษา แนะน�ำมากยิ่งขึ้น มู ล นิ ธิ ไ ด้ เ ริ่ ม โครงการพั ฒ นา ทั ก ษะการให้ ค� ำ ปรึ ก ษาแนะน� ำ แก่ ผู ้ ที่
ความจริ ง นั ก สั ง คมสงเคราะห์ ส ามารถสร้ า งประโยชน์ ใ ห้ แ ก่ สั ง คมได้ มากมายทั้ ง ทางร่ า งกายและจิ ต ใจ โดยเฉพาะปั ญ หาด้ า นจิ ต ใจเป็ น บ่ อ เกิ ด ของพฤติ ก รรมเลวร้ า ยหรื อ อาชญากรรมต่ า งๆ ได้ วั น นี้ ป ระชาชน ในประเทศไทยพุ ่ ง สู ง ขึ้ น เกิ น 65 ล้ า นคน สนใจ โดยเฉพาะผู้ที่จบการศึกษาในกลุ่ม สาขาสังคมจิตวิทยา และสนใจจะพัฒนา ตนเองเป็นมืออาชีพทั้งในหน่วยงานของ เอ็ น จี โ อ และภาครั ฐ ดั ง กรณี ข องเจ้ า หน้าที่จากสายด่วน 1300 ของกระทรวง การพั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คงของ มนุษย์ ซึ่งการขาดทักษะการให้บริการ ปรึ ก ษาแนะน� ำ อย่ า งเป็ น กระบวนการ การขาดมืออาชีพในการท�ำงาน ท�ำให้ไม่ สามารถตอบสนองต่อความต้องการของ ประชาชนอย่ า งเต็ ม ที่ ซึ่ ง นั บ วั น ปั ญ หา สั ง คมจะซั บ ซ้ อ นและรุ น แรงมากยิ่ ง ขึ้ น การพัฒนาคุณภาพนักสังคมสงเคราะห์ จึงเป็นเรื่องจ�ำเป็น อ ย ่ า ง ไร ก็ ต า ม ทั ก ษ ะ ก า ร ให้ ค� ำ ปรึ ก ษาแนะน� ำ นั้ น อาจแบ่ ง ได้ กว้ า งๆ เป็ น สามระดั บ คื อ ระดั บ ต้ น การสนั บ สนุ น อารมณ์ (Emotional Support) ให้ บุ ค ลากรที่ ท� ำ งานกั บ คน โดยตรง เช่น เจ้าหน้าที่ต�ำรวจ พยาบาล 60 IS AM ARE www.ariyaplus.com
ครูแนะแนว นักกฎหมาย หรือนักพัฒนา สั ง คมทั่ ว ไปสามารถได้ รั บ การพั ฒ นา เพื่ อ ท� ำ งานสุ ข ภาพกายและใจในระดั บ นี้ ไ ด้ ระดั บ ที่ ส อง คื อ นั ก จิ ต วิ ท ยาและ นักสังคมสงเคราะห์ที่ผ่านการฝึกอบรม ทักษะการให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำอย่างมือ อาชีพ เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายสามารถ ให้ ค วามร่ ว มมื อ ในการพั ฒ นาเปลี่ ย น ตนเองต่อไปได้ ส่ ว นระดั บ ที่ ส ามก็ คื อ การท� ำ จิ ต บ� ำ บั ด อาจให้ บ ริ ก ารโดยนั ก บ� ำ บั ด หรือจิตแพทย์ผู้ท�ำหน้าที่บ�ำบัดและรักษา ผู ้ ป ่ ว ยด้ า นจิ ต เวช นั่ น คื อ มี อ าการป่ ว ย ทางใจที่ความช่วยเหลือจากนักจิตวิทยา และนักสังคมสงเคราะห์ไม่เพียงพอ ต่อ ไปจิตแพทย์อาจต้องพิจารณาใช้ยาหรือ มีอุปกรณ์เครื่องมือในการบ�ำบัดรักษา ทั้งนี้เป็นที่น่าสังเกตว่า ประชาชน ส่วนใหญ่เมื่อมีปัญหาครอบครัว ปัญหา สุ ข ภาพจิ ต มั ก เข้ า ใจว่ า จะต้ อ งไปพบ
จิตแพทย์เท่านั้น และเมื่อไตร่ตรองพิจารณาไปมา ก็มักจะเลือก ที่จะไม่ไปจนกว่าจะมีอาการเกินควบคุม คนไทยส่วนใหญ่ยังมอง นักจิตวิทยาและนักสังคมสงเคราะห์ ว่าเป็นภาพของเจ้าหน้าที่ ผู้แจกอาหาร ผ้าห่ม หรือสิทธิการเบิกจ่ายการสงเคราะห์และ สวัสดิการ แต่ไม่เข้ารับการบริการด้านสุขภาพจิตหรือการให้ค�ำ ปรึกษาแนะน�ำจากนักวิชาชีพเหล่านี้เลย ทั้งที่ในหน่วยงานภาค รัฐ ตั้งแต่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงยุติธรรม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข มีบุคลากรในวิชาชีพเหล่านี้ปฏิบัติอยู่ทั่วไป ถึงแม้จะมีจ�ำนวน จ�ำกัดก็ตาม หากที่ผ่านมากว่า 30 ปี ของประสบการณ์มูลนิธิศูนย์ ฮอทไลน์ หน่วยงานภาครัฐไม่ได้มองเห็นความส�ำคัญของนัก วิชาชีพด้านสังคมจิตวิทยา ซึ่งต้องการให้มาช่วยแบ่งเบาภาระ ของบุ ค ลากรทางการแพทย์ แ ละสั ง คมอื่ น และช่ ว ยพั ฒ นา ประเทศไทย ท่ า มกลางความผั น ผวนแปรเปลี่ ย นทั้ ง สั ง คม เศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อมตลอดจนเทคโนโลยีทั้งภายใน และภายนอกประเทศ แล้วรูปแบบการด�ำเนินชีวิตของคนไทย จะเป็นอย่างไรต่อไป การป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมด้วยการ ส่งเสริมให้มีจิตอาสา เป็นเรื่องที่ดีและจ�ำเป็น แต่การสร้างและ พัฒนานักวิชาชีพเพื่อรองรับปัญหาทางสังคมจิตวิทยาที่เกิดขึ้น จากหลายสถานการณ์ที่ผ่านมาและที่จะเกิดขึ้นต่อไป เป็นเรื่อง ที่จ�ำเป็นยิ่งกว่า เพราะต้องใช้ระยะเวลาในการสร้างและสะสม ประสบการณ์ หากเราไม่เริ่มต้นตั้งแต่วันนี้แล้วจะเริ่มเมื่อไร จะ ใช้แต่มือสมัครเล่นเท่านั้นเองหรือ? สุ ด ท้ า ย ก่ อ นบทสนทนาจะยุ ติ ล ง อาจารย์ อ รอนงค์ อินทรจิตรกล่าวยิ้มๆ อย่างอารมณ์ดีว่า “ตั้งแต่มีรัฐบาล คสช. เกี่ยวข้องแล้วนั้น เพื่ออธิบายถึงปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นทุกวัน นี่ เราส่ ง หนั ง สื อ ถึ ง ท่ า นผู ้ ใ หญ่ ห ลายระดั บ ในกระทรวงที่ นี้ และอยากให้รัฐบาลส่งเสริมสนับสนุนให้นักวิชาชีพด้าน สังคมจิตวิทยาสามารถท�ำงานได้อย่างมืออาชีพ พัฒนาแล้ว ก็ต้องขยับขยายระบบราชการให้คนเหล่านี้ได้ท�ำงานบริการ ประชาชนโดยตรง อย่าเอาไปเก็บไว้แต่ในกระทรวง หวังว่า เขาจะเข้าใจกันนะ แต่หนังสือที่ตอบกลับมา มักจะบอกว่า ยัง ไม่มีงบประมาณ! เราเลยยิ่งไม่เข้าใจมากขึ้นว่า 30 ปีที่ผ่านมา เราก็งงพอสมควรแล้วนะ ทุกวันนี้ได้ยินจากข่าวโทรทัศน์ทุก วันว่ารัฐบาลมีการอนุมัติสร้างโน่นท�ำนี่เป็นแสนแสนล้านบาท เราเลยสงสัยว่า เรากับเขานี่พูดเรื่องเดียวกันหรือเปล่า ท�ำไม รัฐบาลไทยจากอดีตถึงปัจจุบันจึงสนใจแต่จะพัฒนาวัตถุ แต่ ไม่สนใจพัฒนาคุณภาพของคนจริงๆ แล้วเขารู้กันหรือเปล่า ว่า การที่หน่วยงานของรัฐอ่อนแออย่างที่เห็นทุกวันนี้ ก็เพราะ คุณภาพของคนในระบบราชการนั่นเอง?” 61 issue 100 may 2016
62 IS AM ARE www.ariyaplus.com
63 issue 100 may 2016
64 IS AM ARE www.ariyaplus.com
65 issue 100 may 2016
66 IS AM ARE www.ariyaplus.com
67 issue 100 may 2016
ปี ชวด
การงานการงาน-เกื้อหนุนกัน โอกาสที่จะก้าวหน้ามาถึงแล้ว แต่คุณ กลับพบว่าพลังงานของคุณลดต�่ำลง ดาวแห่ง โรคภัยท�ำให้คุณล้มป่วยได้ง่ายขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเพราะแพ้อากาศ ไข้หวัด อาหารเป็นพิษ และอื่นๆอีกสารพัด คุณต้อง พยายามใช้ชีวิตอย่างถูกสุขลักษณะ อย่าฝืนหากเริ่มรู้สึกว่าไม่ค่อยสบายทางที่ดีควรพักผ่อนเต็มที่ ธุรกิจ-ส่งเสริมลูกน้อง คุณมีโชคด้านการเงินที่ดีเยี่ยมในเดือนนี้จึงควรทุ่มเทพลังงานให้กับด้านนี้ มุ่งไปที่การเก็บเงิน ในด้านการปฏิบัติ งาน ควรส่งเสริมพนักงานและผู้จัดการของคุณโดยมอบหมายความรับผิดชอบให้มากขึ้น อนุญาติให้พนักงานของคุณมีส่วนร่วมใน กระบวนการตัดสินใจเพื่อให้เขารู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่งของทีม ความรักธ์-สดใส โชคด้านความรักสดใสส�ำหรับคนปีชวดในเดือนนี้ นี่คือช่วงเวลาที่ดีที่จะพัฒนาความสัมพันธ์ไปสู่ขั้นตอนต่อไป ทั้งยัง เป็นมงคลส�ำหรับการหมั้นหมาย แต่งงาน และย�้ำค�ำมั่นแห่งรัก การศึกษา-จัดเวลาให้ดี คุณอาจพบว่าตัวเองเหนื่อยง่ายและยิ่งแย่เมื่อมีความเครียดผสมโรงเข้ามา ด้วยเหตุนี้คุณจึงควรวางแผนให้ดี และท�ำงานที่ได้รับมอบหมายให้ตรงตามเวลา เริ่มลงมือท�ำงานตั้งแต่อาจารย์สั่งอย่ามัวรอจนกระทั่งใกล้ก�ำหนดส่งแล้วจึงค่อยเร่งปั่น ไม่ควรนอนดึกหลายคืนเกินไป เพราะถ้าคุณล้มป่วยคุณจะต้องหยุดพักไประยะหนึ่ง
ปี ฉลู
การงาน–ควบคุมทุกอย่างให้ได้ ความคิดเห็นของคุณในที่ท�ำงานอาจถูกต่อต้านจากคนที่ไม่ได้ผลประโยชน์จาก ความคิดเห็นพวกนั้น บรรยากาศอาจน่าล�ำบากใจเมื่อผู้อื่นเร่งรัดให้คุณลงมือท�ำงาน ตัดสินใจ และอื่นๆ อีกสารพัด อย่ายอมให้ตัวคุณถูกดึงออกจากสิ่งที่คุณคุ้นเคย ตอนนี้ไม่ใช่เวลาดีที่จะยอมถูกพัดพาไปตามสถานการณ์ดีร้าย ธุรกิจ – รักษาและเสริมความแข็งแกร่ง ตอนนี้อาจเป็นช่วงเวลาที่ตึงเครียด แม้ว่าทุกสิ่งดุเหมือนจะด�ำเนินไปอย่างราบรื่น แต่โชค ชะตาที่เล่นตลกกะทันหันอาจโยนอุปสรรคใหม่เข้ามา อย่าท้อแท้เพราะปัญหาที่เกิดเพียงชั่วคราว เดินหน้าต่อไปอย่าหวั่นไหวและหา เวลาคิด ปลอดภัยไว้ก่อนหากไม่แน่ใจ ตอนนี้ไม่ใช่เวลาที่จะเสี่ยง ความรักและความสัมพันธ์ – รักสุดใจ หากความรักคือสิ่งที่คุณไขว่คว้า คุณจะไม่ผิดหวังแน่นอนในเดือนนี้ มีโอกาสมากมายที่คุณจะ แสดงความรักหมดหัวใจแต่หากคิดจะหาใครสักคนที่คุณจะร่วมอนาคตด้วยได้ นั่นก็เป็นอีกเรื่อง คนปีฉลูที่มีความสัมพันธ์แล้วควรระวัง อย่าให้ความรักที่เกิดขึ้นกับคนนอกมาท�ำลายสิ่งที่มีค่าอย่างแท้จริงส�ำหรับคุณ
ปี ขาล
การงาน – ปรับปรุงทักษะ เดือนนี้อาจเป็นช่วงเวลาที่อันตราย ยิ่งหากคุณท�ำงานในสภาพแวดล้อมที่ขับเคี่ยวกันดุ เดือดคุณจะถูกบีบให้ต้องท�ำในสิ่งที่ไม่ช�ำนาญตลอดเวลา และแม้ว่าคุณจะไม่พอใจ แต่ก็ไม่มีทางเลือก เพราะการ ยอมแพ้ไม่ว่าในเรื่องใดก็อาจท�ำลายโอกาสการเลื่อนขั้นเมื่อมีเข้ามาได้หาทางจัดเวลาให้ดี ธุรกิจ – ท้าทายตัวเอง อุปสรรคที่เกิดขึ้นชั่วคราวอาจขัดขวางงานคุณ แต่เพราะมีเส้นตาย คุณจึงอาจจ�ำเป็นต้องหาทางออกอื่นแทนที่ จะวางมือท้าทายตัวเองให้เอาชนะปัญหาให้ได้ด้วยปัญญา อย่าท�ำเป็นไม่ใส่ใจและยอมแพ้ คุณต้องคิด เดือนนี้จะกลายเป็นเดือนที่สร้าง แรงจูงใจให้คุณได้อย่างวิเศษหากคุณไม่ยอมแพ้และพร้อมรับความท้าทายอย่างกระตือรือร้น ความรัก – ไม่ว่างจะสนใจ มีหลายสิ่งหลายอย่างเกิดขึ้นในชีวิตคุณ จึงเป็นไปได้ว่าคุณแทบไม่มีเวลาที่จะเล่นกับความรัก หากคุณไม่ ไล่ตามคนที่คุณสนใจอย่างสุดตัว คุณก็อาจท�ำให้คนที่คุณคบหาดูใจด้วยรู้สึกไม่มั่นใจเพราะคุณดูไม่ใส่ใจ แต่ที่จริงเป็นเพราะคุณยุ่งมาก และชีวิตของคุณก็ดูเหมือนจะเต็มอิ่มในตอนนี้ หากความรักคือสิ่งที่คุณก�ำลังมองหา การศึกษา – ไม่มีใจ คุณมีความคิดเต็มหัวและท�ำได้ดีเมื่อได้อภิปรายในหัวข้อที่คุณสนใจ เด็กปีขาลบางคนอาจวอกแวกไปกับความสน ใจอื่นๆนอกห้องเรียน อย่ายอมให้งานอดิเรกที่ต้องใช้เวลามากระทบต่อการเรียนของคุณ คุณต้องหาทางสายกลางที่ลงตัว 68 IS AM ARE www.ariyaplus.com
Wheel Of Life
ปี เถาะ
การงาน – พลังทีมพลังของเดือนนี้หนักไปที่เรื่องของความสัมพันธ์ ยิ่งคุณติดต่อกับผู้คนที่คุณร่วมงานด้วยมากเท่า ไหร่ คุณก็จะยิ่งมีความสุขมากขึ้นเท่านั้น คุณจะเป็นสมาชิกทีมที่ดีเยี่ยม ทั้งผู้อื่นก็สนุกที่ได้ท�ำงานกับคุณ แม้ว่าคน ปีเถาะจะฃอบที่ได้รับความดีความชอบตามสมควร ธุรกิจ – พันธมิตรเชิงกลยุทธ์ สิ่งต่างๆ จะพร้อมใจกันเข้ามาหาคุณ พันธมิตรเชิงกลยุทธจะน�ำโอกาสใหม่ๆ ที่จะขยายธุรกิจมาให้ ลอง มองหาหุ้นส่วนแบบนี้ ที่มาของโชคด้านความมั่งคั่งของคุณจะเป็นการท�ำสัญญาอย่างฉลาดกับคนที่เหมาะสม เมื่อต้องการแบ่งเวลา เผื่อเวลาให้มากพอที่จะท�ำสิ่งที่คุ้มค่าต่อการท�ำให้ส�ำเร็จ ความรักและความสัมพัธ์ – รักเบ่งบาน ความสัมพันธ์ทุกรูปแบบแข็งแกร่งขึ้น คุณจะพบว่าคุณชอบอยู่กับผู้อื่น เพื่อนๆ ก็มีเวลาให้ เหลือเฟือ ในด้านชีวิตรัก คุณจะโหยหาสัมผัสทางกาย แม้แต่คนปีเถาะที่สนใจเรื่องอื่นก็ยังอาจรู้สึกว่าตัวเองโหยหาคนที่เป็นมากกว่า เพื่อน พยายามขึ้นกับการคบหาดูใจพบปะกับผู้คนใหม่ๆ การศึกษา – ก้าวหน้าดีเยียม เดือนที่ดีส�ำหรับเด็กปีเถาะ คุณจะได้พบกับอะไรมากมาย ดาวแห่งการศึกษาน�ำโชคดีด้านการเรียนมา ให้ คุณจึงเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ได้อย่างง่ายดาย และหากคุณพยายามเพิ่มขึ้นอีกสักนิด คุณก็จะสามารถก้าวหน้าได้อย่างดีเยียม
ปี มะโรง
การงาน-เกินจะรับไหว ชีวิตการงานอาจท�ำให้คุณไม่พอใจได้เหมือนเดิม และคนปีมะโรงบางคนอาจถึงกับคิดจะเปลี่ยน งาน ความเครียดอาจเพิ่มขึ้นส�ำหรับบางคนที่ได้รับมอบหมายงานซึ่งคุณรู้สึกว่าอยู่เหนือขอบเขตความถนัดของคุณ แม้ว่าโดยบุคลิกแล้ว คนปีมะโรงมักพร้อมรับความท้าทายทุกรูปแบบ แต่เดือนนี้อาจรู้สึกว่าประสบความส�ำเร็จน้อยลง ธุรกิจ-อย่าเสี่ยง โชคด้านธุรกิจและความมั่งคั่งดิ่งลง ดังนั้นโดยรวมแล้วคุณจึงควรใช้เวลาในเดือนนี้ไปอย่างเงียบๆ อย่าท�ำตัวเด่นและ คอยหลบให้พ้นจากความสนใจที่ไม่เป็นผลดี พยายามหาทางปรับปรุงระบบการท�ำงานภายในดีกว่า ไม่ควรเสี่ยงในทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะ เป็นเรื่องเงินหรือเรื่องอื่นๆ ตอนนี้ไม่ใช่เวลาดีส�ำหรับการลงทุน ความรัก-ยอมรับทุกอย่างที่เกิดขึ้น ลดความคาดหวังลงบ้าง เมื่อคุณตั้งมาตรฐานไว้สูงเกินไป คนอื่นอาจไม่สามารถท�ำตามนั้นได้ แล้ว คุณก็จะพบแต่ความผิดหวัง ซึ่งจะกระทบต่อความสัมพันธ์รักอื่นๆที่คุณจะพยายามจะสร้างขึ้นท�ำตัวตามสบายและอย่าจริงจังเกินไป การศึกษา-พักสักหน่อย คนที่ก�ำลังศึกษาอยู่อาจพบว่าตัวเองก�ำลังหักโหมเกินไป หรือไม่อาจตั้งสมาธิได้ ก็ควรใช้เวลาพักผ่อนสมอง บ้าง ท�ำงานอดิเรกหรือกีฬา หรือหาเวลาไปสังสรรค์กับเพื่อนๆ ปกติแล้วการขยันเรียนให้ผลดี แต่ตอนนี้การพักน่าจะเป็นผลดีมากกว่า
ปี มะเส็ง
การงาน-อ่อนไหวเกินไป คุณอาจรู้สึกว่าคู่แข่งในที่ท�ำงานก�ำลังพยายามจะท�ำลายการลงแรงของคุณ แต่แทนที่จะ ยอมแพ้และสงสารตัวเอง ลองใช้เหตุการณ์นี้เป็นแรงผลักดันให้คุณท�ำงานให้ดียิ่งขึ้น อาจมีการเผชิญหน้าที่น่าอึดอัด ในที่ท�ำงาน ทั้งยังมีการชิงดีชิงเด่น แต่จงเชื่อมั่นในความสามารถของคุณไว้ เมื่อคุณเริ่มเชื่อว่าศัตรูเหนือกว่าคุณจะแพ้ ธุรกิจ-ประเมินสถานการณ์ ดาวร้ายก�ำลังเล่นงานคุณหนัก คนปีมะเส็งที่ท�ำธุรกิจจะรู้สึกถึงผลกระทบด้านลบไม่ควรเสี่ยงรักษาผล ประโยชน์ของคุณไว้ด้วยการหาทางปกป้องสถานภาพของคุณไว้ทุกทาง ไม่ควรจัดประชุมที่ส�ำคัญในเดือนนี้ การท�ำธุรกิจใหม่ที่เริ่มต้น ตอนนี้ยากจะส�ำเร็จ ความรัก-ความรู้สึกเปราะบาง ความเข้าใจผิดเล็กน้อยอาจท�ำลายสิ่งต่างๆ ในความสัมพันธ์ของคุณ คุณจะเข้าใจผิดกับคู่ครองบ่อย ขึ้น ท�ำให้คุณหดหู่และหงุดหงิดหากมีประเด็นใดที่ท�ำให้คุณและคู่ครองหัวเสีย จงหลีกเลี่ยงเสีย เงียบไว้ดีกว่าพยายามพูดคุยหารือจน จบด้วยการทะเลาะเบาะแว้ง การโต้เถียงมีแนวโน้มจะลุกลามกลายเป็นเรื่องใหญ่ การศึกษา-เรียนคนเดียวดีกว่า แม้ว่าคุณจะหวังดี แต่เพื่อนๆอาจไม่ใจกว้างเช่นเดียวกับคุณเมื่อต้องแบ่งปันความรู้กัน และเมื่อคุณเริ่ม รู้สึกเช่นนั้น ความไม่พอใจก็อาจจะเกิดขึ้น คบหาเพื่อนๆไว้เฉพาะเรื่องสังคมแต่ในเรื่องเรียน บินเดี่ยวจะดีกว่า 69 issue 100 may 2016
ปี มะเมีย
การงาน-น่าเชื่อถือ หากเดือนก่อนต้องคอยติดเบรกให้การกระท�ำของคุณ ตอนนี้คุณจะปล่อยเบรกได้และให้ สัญชาตญาณของคุณพาคุณแล่นไปสู่เป้าหมายที่ต้องการ คุณมีพลังแห่งโชคดี จึงลงมือได้อย่างกล้าหาญและเชื่อมั่น จงมั่นใจเมื่อแสดงความคิดเห็นให้ทีมงานและเจ้านายรับฟัง ธุรกิจ-จับธุรกิจใหม่ได้ส�ำเร็จ ช่วงเวลาที่ให้ผลมากมายในธุรกิจ คุณจะท�ำอะไรได้มากกว่าที่คุณเชื่อ ทั้งผู้คนจ�ำนวนมากก็พร้อมจะช่วย เหลือคุณ คุณมีโชคกุ้ยเหรินในปีนี้ ซึ่งเสริมให้แข็งแกร่งขึ้นได้โดยพกเครื่องรางกุ้ยเหริน ส�ำหรับผู้ประกอบการปีมะเมียที่ยังเยาว์วัย โชค ดีนี้จะน�ำผู้ชี้น�ำ อ�ำนาจจะเปิดประตูช่วยคุณทลายอุปสรรค ความรักและความสัมพันธ์-การเปลี่ยนแปลง อาจมีการเปลี่ยนแปลงในเรื่องความรัก คนปีมะเมียบางคนจะพัฒนาความสัมพันธ์ไปสู่ ขั้นต่อไป ส่วนบางคนก็อาจมาถึงจุดจบของความสัมพันธ์กับคู่ในปัจจุบัน อย่าฝืนอนาคตหากเห็นชัดว่าบางอย่างไม่ใช่ ใจของคุณก็จะรู้ เอง แล้วคุณก่อจะตัดสินใจเลือกทางที่เหมาะสมได้ แต่หากอะไรที่ไม่ใช่ ไม่ช้าคุณก่อจะรู้เอง
ปี มะแม
การงาน – ดุเดือด แม้ว่าสิ่งต่างๆ อาจดุเดือดขึ้นในที่ท�ำงาน เพราะคุณมักมีความเห็นไม่ลงรอยกับเพื่อนร่วมงาน แต่ โชครหัสเหอถูในผังดวงชะตาของคุณกลับบ่งชี้ว่า คุณแทบไม่ต้องกังวลกับเรื่องนี้เลย คุณจะเป็นฝ่ายชนะในที่สุด แต่ดาว หมายเลย 3 ก็อาจเล่นตลกได้ ทางที่ดีจึงควรหลีกเลี่ยงการทะเลาะมีเรื่อง อย่าปล่อยให้เรื่องเล็กน้อยลุกลามเป็นเรื่องใหญ่โต ธุรกิจ – ขัดกับสามัญส�ำนึก จุดเด่นของคุณในเดือนนี้คือความสามารถที่จะมีอิทธิพลเหนือผู้คนมากมาย เดือนนี้จึงเป็นเวลาดีที่จะเร่ง ท�ำงานประชาสัมพันธ์ และท�ำให้บริษัท/ตัวคุณเป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น แต่ดาวแห่งการทะเลาะวิวาทหมายเลข 3 ก็น�ำความขัดแย้งมาให้ เมื่อต้องติดต่อกับผู้อื่น ความรักและความสัมพันธ์ – เสน่ห์ยังแรง ความรักอาจดับวูบลงง่ายๆ เมื่อดาวหมายเลข 3 จรมาเยือนแม้ว่าเสน่ห์ของคุณจะไม่หาย ไปไหน แต่ก็ยากที่จะทนอยู่กับคุณได้ คุณไม่ใช่คนที่น่าอยู่ใกล้ด้วยเลย หากคุณคบหากันมานาน แต่ส�ำหรับคนปีมะแมที่ก�ำลังหาทาง เริ่มต้นความสัมพันธ์ใหม่ เสน่ห์ของคุณจะเหลือร้ายทีเดียว การศึกษา – โชคด้านการเป็นผู้น�ำ จะประสบความส�ำเร็จในเดือนนี้ คุณมีอิทธิพลที่จะโน้มน้าวคนกลุ่มใหญ่และรณรงค์ได้อย่างไม่ เหน็ดเหนื่อย นี่อาจเป็นเป้าหมายที่คุ้มค่าเพื่อท�ำให้ชีวิตการเรียนของคุณสมบูรณ์ขึ้นและท�ำให้ประวัติการศึกษาดูดี
ปี วอก
การงาน-มุมมองที่แตกต่าง มิตรภาพกับเพื่อนร่วมงานที่คุณคิดว่ามีอยู่อาจพังทลายในเดือนนี้ ยากที่คุณจะเห็นพ้อง กับคนอื่นและความคิดเห็นที่ต่างกันอาจกลายเป็นความบาดหมางระหว่างคุณกับเพื่อนร่วมงานบางคน อย่ายอมให้ ความสัมพันธ์แย่ลง เดินหนีไปหากมีปากเสียงกัน หรือยอมหากจ�ำเป็น ธุรกิจ-เรื่องวุ่นๆกับกฎหมาย ระวังคดีความกับปัญหาทางกฎหมายไว้ให้ดี ในเดือนนี้คุณต้องระวังเป็นพิเศษเมื่อเซ็นสัญญาและข้อตกลง ต่างๆไม่ใช่เวลาดีเลยที่จะเข้าร่วมหุ้นส่วนหรือสัญญาใหม่ หรือแม้แต่เริ่มต้นนี้ทีละนิดแทนที่จะเสี่ยงเดินไปในทิศทางที่ไม่รู้หรือไม่คุ้นเคย อย่าท�ำผิดกฎหมาย เพราะตอนนี้คุณจะท�ำผิดกฎหมายได้ง่ายกว่าที่คุณคิด ความรัก-อ่อนไหว ไม่ใช่เวลาที่ง่ายส�ำหรับคนที่มองหารัก คุณเสี่ยงต่อสุขภาพอารมณ์ที่ปั่นป่วน แม้ว่าการผิดใจกันส่วนใหญ่จะเกิด จากพลังแห่งการทะเลาะวิวาทของคุณ แต่เรื่องราวก็ไม่ได้ง่ายขึ้นเมื่อคุณมีเรื่องกัน คุณมีแนวโน้มที่จะอ่อนไหวกว่าปกติ จึงได้รับผล จากความคิดของคนอื่นได้ง่ายๆ การศึกษา-เป็นที่หนึ่ง คุณมีโชคด้านชื่อเสียงที่โดดเด่นในเดือนนี้ หากคุณก�ำลังอยู่ในช่วงปิดเทอมฤดูร้อน ลองท�ำสิ่งที่คุณอาจไม่มีเวลา ท�ำที่โรงเรียนหากคุณอยู่ในช่วงเปิดเทอมควรตั้งใจเรียนเพราะโชครหัสเหอถูจะน�ำโชคแห่งความเป็นเลิศมา 70 IS AM ARE www.ariyaplus.com
Wheel Of Life
ปี ระกา
การงาน – ขยันขันแข็ง คุณอาจมีโอกาสได้ใช้ทักษะที่หลากหลายของคุณกับงานในเดือนนี้ ท�ำให้ชีวิตการงานคุณดู หลากหลายยิ่งขึ้นและท�ำให้คุณมีโอกาสได้แสดงความสามารถด้านอื่นๆ ของคุณด้วยสภาพแวดล้อมทางธุรกิจเปลี่ยน ไป และสิ่งที่องค์กรและนายจ้างต้องการคือพนักงานที่ปรับตัวได้ ธุรกิจ – ระบบและความคิดใหม่ๆ โชคด้านการเงินดีมากในเดือนนี้ หากคุณมีธุรกิจที่มั่งคง และระบบด�ำเนินไปเองเป็นปกติจนยากจะ มีนวัตกรรมหรือความคิดใหม่ๆ เกิดขึ้น ตอนนี้คือเวลาดีที่จะน�ำกลยุทธ์หัวก้าวหน้ามาใช้บ้าง คุณยังสามารถได้ประโยชน์จากระบบที่มี ประสิทธิภาพที่คุณใช้อยู่ต่อไปได้ ความรัก – เปิดกว้าง เดือนที่ยอมเยียมส�ำหรับความรักและทุกเรื่องที่เกี่ยวกับหัวใจคุณรู้สึกโรแมนติกและโหยหาคนที่จะแบ่งปันความ รักร่วมกับคุณหากคุณมีคนที่หมายตาอยู่แล้วก็ควรเลิกเก็บซ่อนความรู้สึกเสียที ตอนนี้เป็นเวลาดีที่จะซื่อสัตย์กับความรู้สึกที่มีคนปีระกา ที่คบหาดูใจกันมาสักระยะอาจต้องการพัฒนาความสัมพันธ์ไปสู่ขั้นต่อไป นี้คือเดือนที่ดีส�ำหรับวางแผนแต่งงานหมั้นหมาย การศึกษา – เติบโต เด็กปีระกาจะรู้สึกมีพลัง และสิ่งที่ท�ำให้คุณตื่นเต้นได้มากที่สุดคือความสามารถที่จะแสดงความคิดเห็น นิสัยที่ช่างซัก ถามของคุณจะให้ผลดีท่ีสุดเมื่อคุณร่วมเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมแม้ว่าคุณจะมีเพื่อนดีๆ ในวัยเดียวกัน แต่คุณก็ไม่ต้องถูกมองว่าเป็นเด็ก
ปี จอ
การงาน-ทางสายกลาง คุณอาจมีโอกาสที่ก้าวหน้าในด้านอาชีพ แต่หนทางอาจไม่ค่อยน่ารื่นรมย์นัก เพราะเมื่อคุณ มุ่งมั่นหาทางท�ำให้เจ้านายไว้ใจ คุณอาจท�ำให้เพื่อนร่วมงานบางคนไม่พอใจ คุณอาจต้องใช้สายกลางเพื่อรักษา มิตร ภาพพร้อมๆ กับก้าวหน้าไปด้วยโดยนิสัยแล้วคนปีจอไม่ใช่คนโหดเหี้ยม เล่ห์เหลี่ยมชิงดีไม่เข้ากับนิสัยของคุณ ธุรกิจ-ควบคุมทุกอย่างเอง ในการท�ำธุรกิจ อาจมีช่วงเวลาที่คุณต้องเด็ดขาดบ้างในเดือนนี้คุณอาจต้องตัดสินใจบางอย่างที่น�ำไปสู่ ความส�ำเร็จที่ยิ่งใหญ่เกินจินตนาการของคุณ การรวมตัวของดาวในผังดวงชะตาของคุณท�ำให้คุณสร้างสรรค์และมั่นใจในตัวเอง จงใช้ คุณลักษณะนี้เพื่อเดินหน้าอย่างมั่นคงในเรื่องที่คุณท�ำอยู่ ความรัก-เรียบง่าย แม้ว่าจะมีอะไรดีๆ มากกว่าที่ตาเห็นในตอนนี้ แต่คุณก็ยังมีสิ่งดีๆบางอย่างให้คุณคาดหวังได้ในเดือนนี้จะเป็นเรื่อง ของความอบอุ่นใจมากกว่าความรักเร่าร้อน คุณจะได้รับความสุขสบายใจจากความสัมพันธ์ แต่บางทีคุณอาจโหยหามากกว่านั้น อันที่ จริงมากกว่านั้นอาจท�ำให้คุณกลัวเองก็ได้ การศึกษา-บินขึ้นสูง เมื่อคุณก้าวหน้าด้วยดี คุณอาจไม่เห็นด้วยกับครูในทุกเรื่องและอาจคิดต่างจากเพื่อนร่วมชั้น แต่เมื่อคนอื่นตระหนัก ได้ว่าคุณคิดอย่างไร พวกเขาจะมองดูคุณด้วยความเคารพอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน เดือนนี้คุณจะได้บินขึ้นสูง
ปี กุน
การงาน–ไม่เป็นมิตร อาจมีเหตุการณ์ที่ท�ำให้คุณต้องกังวลในที่ท�ำงาน มิตรอาจกลายเป็นศัตรูเมื่อความจ�ำเป็นเปลี่ยน ไป จึงไม่ควรเก็บมาคิดเสียใจ หากคนที่คุณคิดว่าเป็นเพี่อนท�ำร้ายคุณเพื่อประโยชน์ของตนเอง เดือนนี้ไม่ใช่เวลาที่ น่ารื่นรมย์ส�ำหรับคนปีกุนทื่ท�ำงานให้ธุรกิจหรือองค์กรที่มีการแข่งขันขับเคี่ยวกันอย่างเอาเป็นเอาตาย ธุรกิจ–วางแผนส�ำหรับระยะยาว พยายามสร้างความสัมพันธ์กับพนักงานและหุ้นส่วนให้ดียิ่งขึ้นตอนนี้ไม่ควรจ้างคนใหม่หรือร่วมเป็น หุ้นส่วนใหม่กับคนที่คุณยังไม่รู้จักดี เวลานี้ไม่ดีเลยส�ำหลับการท�ำสัญญาและร่างข้อตกลงใหม่ เพราะอาจมีการเข้าใจผิดได้ในทุกราย ละเอียด ทั้งคุณยังเสี่ยงต่อการถูกโกง ความรัก-เสี่ยงต่อการนอกใจ คนปีกุนที่แต่งงานอย่างมีความสุขหรือมีความสัมพันธ์ที่น่าพอใจอาจได้พบเดือนที่แสนสุขรออยู่ แต่หาก คุณห่างเหินจากคู่และใช้เวลาร่วมกันน้อยลงทุกทีก็มีความเสี่ยงที่จะเกิดการนอกใจ มือที่สามอาจเข้ามาท�ำให้เรื่องราววุ่นวายยิ่งขึ้น อันตรายอาจเกิดจากตัวคุณหรือคู่ของคุณก็ได้ การศึกษา – ระบายออกมา อาจมีความคิดที่ขัดแย้งที่รบกวนคุณมาระยะหนึ่งแล้ว หากคุณไม่แน่ใจเรื่องใด ทางที่ดีควรพูดออกมาดี กว่าเก็บไว้ให้อัดอั้นใจ ซึ่งจะช่วยให้คุณมองจากมุมมองที่ดีขึ้นได้ และเมื่อคุณได้ระบายออกมาแล้ว คุณก็จะรู้สึกดีขึ้นมาก 71 issue 100 may 2016
บทความพิ เ ศษ
การเขียน“สมุ ดบันทึกความดี” ขั้ น ตอนส� ำ คั ญ ของการท� ำ ระเบี ย นความดี 1.คิดหาความดีที่อยากท�ำ? รูปแบบ i’m Hero 1-4 2.นึกถึงแรงบัลดาลใจ (คติพจน์ คุณธรรม ค�ำพ่อสอน) 3.ความหวังที่จะเกิดอะไรดี ๆ ในชุมชนและสังคมเราจาก การท�ำความดีของเรา? 4.เขียนเป็นผังมโนทัศน์หรือ mind map รูปแบบความ ดีของเรา 5.รูปแบบการท�ำความดี 1 รูปแบบใช้เวลา 3 เดือน ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน 12 วิธีการ 2 การติดตาม 6.ใน 1 ขั้นตอนใช้เวลา 1 เดือน ใน 1 วิธีการใช้เวลา 1 สัปดาห์ 7.ลงมือท�ำและเรียนรู้เอง “ดีที่ได้ท�ำ” จะบอกเราว่า ท�ำอะร ท�ำที่ไหน ท�ำกับใคร ส่วน “ดีที่ได้รู้” จะบอกเราว่าได้ เรียนรู้อะไร รู้สึกอย่างไร และคุณธรรมที่ได้จากการท�ำความดี ตามรูปแบบของเรา 8.สรุปเรื่องดี ๆ ที่อยากเขียน ความดีที่ปรากฎ ให้เห็น เป็นรูปธรรม 9.พิ จ ารณาดู อี ก ที ว ่ า มี พ ฤติ ก รรมอะไรของเราที่ เปลี่ยนแปลงไป
เป้ า หมาย เพื่อใช้ระเบียนความดีเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทักษะ ทางการคิดด้านคุณธรรม เพื่อใช้ระเบียนความดีเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทักษะ ชีวิต เพื่อใช้ระเบียนความดีเป็นเครื่องมือในการตั้งเป้าหมาย ชีวิต ทั ก ษะชี วิ ต มี อ ะไรบ้ า ง การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น การคิด วิเคราะห์ ตัดสินใจและแก้ปัญหา การจัดการอารมณ์และความเครียด การสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น
72 IS AM ARE www.ariyaplus.com
73 issue 100 may 2016
74 IS AM ARE www.ariyaplus.com
75 issue 100 may 2016
76 IS AM ARE www.ariyaplus.com
77 issue 100 may 2016
78 IS AM ARE www.ariyaplus.com
79 issue 100 may 2016
UHC YOUNG CAMP 2016
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง ร่วมกับ ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.) จัดกิจกรรมค่าย “UHC YOUNG CAMP 2016 พลเมืองใหม่ หลักประกันสุขภาพ” ระหว่างวันที่ 21 - 22 เมษายน 2559 ณ โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม อ.เมือง จ.พิษณุโลก โดยมี น้องๆ เยาวชนครอบครัวจ�ำนวน 120 คน จากทั้งในส่วนภูมิภาคในการดูแลของสปสช.เขต2(พิษณูโลก) และน้องๆจากกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลเข้าร่วมกิจกรรม โดยได้มีกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านสถานการณ์จ�ำลองในการใช้สิทธิ์หลักประกันสุขภาพแห่งชาติเพื่อให้เด็ก และเยาวชนได้รับความรู้อย่างเป็นรูปธรรม
ขอขอบคุณผู ้ใหญ่ใจดี บริษัท อาหารยอดคุณ จ�ำกัด
ในช่วงงาน Friend’s camp @ Bangkok ที่โรงเรียนสตรีวิทยา พวกหนู 600 คน ขอขอบพระคุณท่านผู้ใหญ่ใจดี บริษัท อาหาร ยอดคุณ จ�ำกัด ที่ได้สนับสนุน “คุกกี้” แสนอร่อยมาให้พวกหนูรับประทานกันในครั้งนี้ จากค่ายนี้หนูได้ประสบการณ์มากมาย ได้ทาน คุกกี้อร่อยๆ (ซึ่งเพื่อนบางคนยังไม่เคยได้ทาน) มีเพื่อนใหม่ๆจากหลายจังหวัด....... 80 IS AM ARE www.ariyaplus.com
Round About
ค่าย “รู ้ค่าตน พ้นภัยยา” มู ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพี ย งได้ รับทุนสนับสนุนจากส�ำนักงานป้องกัน และปราบปรามยาเสพติดจัดกิจกรรม ค่าย “รู้ค่าตน พ้นภัยยา” ซึ่งเป็น กิจกรรมที่ให้ความรู้แก่น้องๆ เยาวชน ครอบครัวพอเพียง จ�ำนวน 150 คน ให้ รู ้ ถึ ง โทษและภั ย ของยาเสพติ ด ที่ ร้ายแรง และผลกระทบที่ตามมาในมิติ ต่างๆ โดยผ่านการเรียนรู้ในรูปแบบ ของกิจกรรมกลุ่มและการศึกษาดูงาน ชุมชนปลอดยาเสพติดในพื้นจังหวัด พิษณุโลก ในระหว่างวันที่ 22 - 23 เมษายน 2559 ที่ผ่านมา
โครงการพี่สอนน้อง “ปลูกปั ญญา พร้อมมอบความอบอุ ่น” เข้าสู่โรงเรียนที่ 51
โครงการพี่สอนน้อง “ปลูกปัญญา พร้อมมอบความอบอุ่น” โดยมูลนิธิอินเตอร์ลิ้งค์ให้ใจ ได้ด�ำเนินการต่อเนื่องเป็นโรงเรียน ที่ 51 ซึ่งมีนางชลิดา อนันตรัมพร กรรมการผู้จัดการ กลุ่มบริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) เป็นประธานมูลนิธิอิน เตอร์ลิ้งค์ให้ใจ และ นายกก่อตั้งสโมสรซอนต้ากรุงเทพ 10 โดยครั้งนี้นายวรา เกยุรินทร์ ผู้จัดการภาคใต้ บริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอม มิวนิเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) เป็นตัวแทนในการกล่าวเปิดโครงการ พร้อมทั้งผนึกก�ำลังพนักงานจิตอาสาจากกลุ่มบริษัทอินเตอร์ลิ้งค์ ร่วมจัดกิจกรรม ณ โรงเรียนบ้านเกาะใหญ่ หมู่ 8 ต�ำบลบางเหรียง อ�ำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา เมื่อเร็วๆนี้ 81 issue 100 may 2016
“ผู้หนักแน่นในสัจจะ พูดอย่างไรท�ำอย่างนั้น จึงจะได้รับความส�ำเร็จ พร้อมทั้งความศรัทธาเชื่อถือ และความยกย่องสรรเสริญจากคนทุกฝ่าย การพูดแล้วท�ำ คือพูดจริงท�ำจริงจึงเป็นปัจจัยส�ำคัญ ในการส่งเสริมเกียรติคุณของบุคคลให้เด่นชัด” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๔๐
82 IS AM ARE www.ariyaplus.com
83 issue 100 may 2016
84 IS AM ARE www.ariyaplus.com