IS AM ARE MAY 2561_2

Page 1

IS AM ARE

“รักเพื่อน เคารพพี่ บู ชาครู กตัญญู พ่อแม่ ดูแลน้อง สนองคุณแผ่นดิน”

อ�ำนวย จันทร์หอม

รองผู ้อ�ำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

“...ภูมิคุ้มกันของผมคือเราคิดถึงพ่อแม่ คิดถึงครอบครัว อันนี้คือสิ่งส�ำคัญ…”

ดร.สุกิจ นิตินัย

อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุ งเทพ

ฉบับที่ 124 พฤษภาคม 2561 www.fosef.org


2 IS AM ARE www.fosef.org


“การพั ฒ นาประเทศจ� ำ เป็ น ต้ อ งท� ำ ตามล� ำ ดั บ ขั้ น ต้ อ งสร้ า งพื้ น ฐานคื อ ความพอมี พ อกิ น พอใช้ ของประชาชนส่ ว นใหญ่ เ ป็ น เบื้ อ งต้ น ก่ อ น โดยใช้ วิ ธี ก ารและใช้ อุ ป กรณ์ ที่ ป ระหยั ด แต่ ถู ก ต้ อ งตามหลั ก วิ ช า เมื่ อ ได้ พื้ น ฐานมั่ น คงพร้ อ มพอควรและปฏิ บั ติ ไ ด้ แ ล้ ว จึ ง ค่ อ ยสร้ า งเสริ ม ความเจริ ญ และฐานะเศรษฐกิ จ ชั้ น ที่ สู ง ขึ้ น โดยล� ำ ดั บ ต่ อ ไป”

พระบรมราโชวาทในพิ ธี พ ระราชทานปริ ญ ญาบั ต รของมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น 20 ธั น วาคม 2516

3 issue 124 MAY 2018


Editorial

ฉบับนี้ ไม่ได้นั่งเขียนในห้องท�ำงาน เพราะต้องเดินทางมาภาคใต้ และบังเอิญไปพบบทความนี้จึงอยากน�ำมาลงให้ท่าน สมาชิกได้อ่านกัน หลวงพี่รูปหนึ่งนั่งสมาธิอยู่ริมน�้ำ..ได้ยินเสียงดิ้นรนในน�้ำก็ลืมตาขึ้น..เห็นแมงป่องตกอยู่ในน�้ำ...ท่านก็ใช้มือช้อนมันขึ้นมา... ขณะเดียวกันแมงป่องก็ชูหางขึ้นแล้วต่อยไปที่มือท่าน ท่านปล่อยแมงป่องลงที่ฝั่งแล้วหลับตาท�ำสมาธิต่อ ผ่านไปสักครู่ก็ได้ยินเสียงดิ้นรนในน�้ำอีก ท่านก็ลืมตาขึ้น เห็นแมงป่องตกลงไปในน�้ำอีก ก็เอามือช้อนมันขึ้นมาอีก...แน่นอน แมงป่องก็ต่อยไปที่มือท่านอีกท่านก็หลับตาท�ำสมาธิต่อ ผ่านไปสักครู่...เหตุการณ์ก็ได้เกิดขึ้นซ�้ำอีก หลวงตาที่อยู่ข้างๆก็พูดขึ้น.. “ท่านไม่รู้หรือว่าแมงป่องมันต่อยคน?” หลวงพี่ตอบว่า...“รู้โดนมันต่อยสามครั้งแล้ว” หลวงตาพูดว่า...“แล้วท�ำไมยังจะช่วยมันอีก” หลวงพี่ตอบว่า...“การต่อยคนเป็นสัญชาตญานของมัน. แต่ความเมตตาเป็นสัญชาตญาณของเรา สัญชาตญานของมัน... ไม่สามารถมาเปลี่ยนสัญชาตญานของเรา” ขณะนั้นเองก็ได้ยินเสียงดิ้นรนในน�้ำอีก...แมงป่องตัวเดิมนั่นแหละ...หลวงพี่ไม่รีรอ เตรียมที่จะน�ำมือที่บวมเป่ง ยื่นไป ช่วยมัน ขณะเดียวกัน...หลวงตาก็ยื่นกิ่งไม้ให้กับหลวงพี่...ท่านก็น�ำกิ่งไม้ช้อนแมงป่องขึ้นมา หลวงตายิ้มและพูดว่า... “ความเมตตานั้นดี...ในเมื่อมีความเมตตาต่อแมงป่องก็ต้องมีความเมตตาต่อตัวเองด้วย...ฉะนั้น ความเมตตาต้องมีวิธีการของความเมตตา...ต้องดูแลตัวเองให้ดี ถึงจะมีสิทธิไปช่วยผู้อื่น” ใช่แล้ว!..สัญชาตณานของคนดีคือท�ำความดี...แต่ผู้ถูกช่วยอาจจะไม่ใช่คนดี...และผลกระทบของการช่วยคนก็อาจจะไม่ เกิดผลดี เหมือนกับที่หลวงตาให้ข้อคิดไว้ว่า... “เมตตาต้องมีวิธีการของความเมตตา”... “ความเมตตานั้นจะดี ในเมื่อจะเมตตา ต่อแมงป่อง...ก็ต้องเมตตาต่อตัวเองด้วย” สัญชาตญาณ...นั้นย่อมมีความแตกต่าง...สัญชาตญาณของสิ่งมีชีวิตหนึ่ง...จะไม่สามารถมาเปลี่ยนสัญชาตญาณของ สิ่งมีชีวิตอื่น” “จงอย่าทอดทิ้งความดีของเรา...เพราะความเลวของผู้อื่น” หลายๆคนมักพูดว่า... การเป็นคนดีนั้นยาก...นั้นอาจเป็นเพราะเราให้ความเลวของผู้อื่นมามีอิทธิพลกับความดี ของเรา...ยอมให้การกระท�ำและวาจาของผู้อื่นมามีผลต่อจิตใจและการกระท�ำที่ดีของเรา ผู้ที่มีปัญญาสามารถควรควบคุมอารมณ์ของตนเองได้...แต่ผู้โง่เขลาเบาปัญญานั้น อารมณ์ของตนจะขึ้นอยู่กับพฤติกรรมและวาจาของผู้อื่น เป็นอย่างไรคะ บทความสะท้อนปัญญา หวังว่าเมื่อทุกท่านได้อ่านจะเสริมสร้าง ภูมิคุ้มกันให้กับตนเองมากขึ้น กว้างขั้น นะคะ พบกันฉบับหน้าค่ะ

4 IS AM ARE www.fosef.org


Contributors

มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง

พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี ประธานโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ นายธนพร เทียนชัยกุล นายณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ นายมนตรี เหมือนแม้น นายภูวนาถ เผ่าจินดา นายวรจักร ณ เชียงตุง นางชวนชื่น พีระพัฒน์ดิษฐ์ นายไพรัช มณฑาพันธุ์ นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา นางสาวเอื้อมพร นาวี ผศ.ดร.ปรีชาพร สุวัฒโนดม นายเอกรัตน์ คงรอด นายอภีม คู่พิทักษ์ นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ นางสาวเยาวมาลย์ จ้อยจุฬี นางสุมาลี โฆษิตนิธิกุล นางสาวกันยาวีร์ พ้องพงษ์ศรี นายธงชัย วรไพจิตร นายภูริวิทย์ จงนิรักษ์ นายชวลิต ใจภักดี นางสาวหนึ่งฤทัย คมข�ำ นายภิญโญ ทองไชย นายพิชัยยุทธ ชัยไธสง นางศิรินทร์ เผ่าจินดา

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ดร.เชิดศักดิ์ ดร.กัมปนาท ดร.นฤมล ดร.อ�ำนาจ ดร.ชลพร ดร.กาญจนา ดร.ปิยฉัตร ดร.คุณานันท์

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ and Enjoy! กรรมการ กรรมการ กรรมการ บรรณาธิการ : กรรมการ กองบรรณาธิการ : ผู้จัดการมูลนิธิ ศิลปกรรม :

Let’s

Start

ส�ำนักงาน :

ศุภโสภณ บริบูรณ์ พระใหญ่ วัดจินดา กองค�ำ สุทธิเนียม กลิ่นสุวรรณ ทยายุทธ

โทรศัพท์ : โทรสาร : เว็ปไซต์ : 5 issue 124 MAY 2018

กรวิก อุนะพ�ำนัก ภูวรุต บุนนาค ชนกเนตร แจ่มจ�ำรัส ศตวรรษ เจือหนองแวง นิตยสารครอบครัวพอเพียง 663 ซอยพหลโยธิน 35 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 0-2939-5995 0-2939-5996 www.fosef.org


Hot Topic

8

ตามรอยยุ วกษัตริย์

28

“รักเพื่อน เคารพพี่ บู ชาครู กตัญญู พ่อแม่ ดูแลน้อง สนองคุณ แผ่นดิน” อ�ำนวย จันทร์หอม รองผู ้อ�ำนวยการโรงเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย

14

“...ภูมิคุ้มกันของผมคือเราคิดถึง พ่อแม่ คิดถึงครอบครัว อันนี้คือ สิ่งส�ำคัญ…” ดร.สุกิจ นิตินัย อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุ งเทพ

Don’t miss

46

56 62

66

76 6 IS AM ARE www.fosef.org


Table Of Contents

ดร.สุกิจ นิตินัย

อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุ งเทพ

7 issue 124 MAY 2018

ตามรอยยุวกษัตริย์ ข่าวสารครอบครัวพอเพียง cover story “...ภูมิคุ้มกันของผมคือเราคิดถึงพ่อแม่ คิดถึงครอบครัว อันนี้คือสิ่งส�ำคัญ…” ดร.สุกิจ นิตินัย อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคกรุงเทพ Cartoon ครูของแผ่นดิน “รักเพื่อน เคารพพี่ บูชาครู กตัญญู พ่อแม่ ดูแลน้อง สนองคุณแผ่นดิน” อ�ำนวย จันทร์หอม รองผู้อ�ำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย มูลนิธิชัยพัฒนา สุขของพ่อคือลูกพอเพียง สัมภาษณ์พิเศษ น.ส.จิณจุฑา จุ่นวาที สัจธรรมแห่งแนวพระราชด�ำริ ตัวอย่างพระราชกรณียกิจ ความจริงของชีวิต พ่อแม่ยุคใหม่ ดวงตา เยาวชนของแผ่นดิน ประสบการณ์ท�ำให้หนูอึดกว่าคนอื่น สุรชาติ อินทร์สุวรรณ 70 เส้นทางตามรอยพระบาท โดย ททท. จังหวัดกาญจนบุรี Round About

8

14 24

28 38 46 56 62 66 70 76 78


มองผ่าน “หน้าต่างชี วิต” สวิตเซอร์แลนด์

8 IS AM ARE www.fosef.org


ตามรอยยุ ว กษั ต ริ ย ์ การตะลอนส่ อ งชี วิ ต ชาวเมื อ ง ทิ ว ทั ศ น์ อั น สวยสดงดงามของประเทศสวิ ต ฯ ผ่ า นเลนส์ ก ล้ อ งคู ่ ใ จของเรา ทั้ ง เมื อ งหลวงอย่ า งเบิ ร ์ น โลซานน์ เจนี ว า เป็ น เรื่ อ งมี ค วามสุ ข ยิ่ ง นั ก ตู้โชว์สินค้าของแต่ละประเทศ คือ “หน้าต่างชีวิต” ของ ผู้คนในเมืองนั้นๆ การตกแต่งตู่โชว์สินค้าของแต่ละประเทศ จะสะท้อนให้เห็นทั้งพัฒนาการแห่งการออกแบบ สภาพศิลป วั ฒ นธรรม ที่ ส� ำ คั ญ ยิ่ ง ...หากพิ นิ จ ให้ ลึ ก ซึ้ ง จะเห็ น ถึ ง สภาพ เศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของผู้คนประเทศนั้นๆ อีกด้วย การเดินชมตู้โชว์สินค้าห้างร้านตามแหล่งท่องเที่ยว จึง กลางเป็นเสน่ห์แห่งการเดินทางอีกอย่างหนึ่ง ส�ำหรับบรรดา นักเดินทางข้ามชาติไปโดยปริยาย ตู ้ โชว์ สิ น ค้ า ที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วสนใจและขายดี เ ป็ น พิ เ ศษ อันดับต้นๆ เป็นสินค้าของฝากที่มีชื่อเสียงและผลิตในประเทศ สวิตฯ เป็นสินค้นชิ้นเล็กๆ ราคาไม่แพงมากนัก สินค้าที่ระลึกชิ้น แรกคือมีดพก ที่ท�ำจากเหล็กเนื้อดี คม-ทน บางแบบออกแบบให้ มีประโยชน์ใช้สอยหลายอย่าง คือ มีทั้งพวงกุญแจมีด ไม้แคะหู ไขควง ฯลฯ ในงานชิ้นเดียว เรียกว่าใช้งานได้อย่างเอนกประสงค์ เชียวแหละ สินค้ามีดของสวิสนนี้มีขายแทบทุกร้านค้า และ ตกแต่งตู้โชว์กันอย่างสวยงามเป็นพิเศษบางร้านถึงขนาดมีมีด ตู้โชว์แฟชั่นของชาวสวิสก็น่าสนใจ มีวิธีตกแต่งชวนให้ ยักษ์ตั้งประดับตู้โชว์กันเลยทีเดียว สินค้ามีดและของที่ระลึก สวิสนั้นมักใช้สีแดงสดสวยสะดุดตา มีสัญลักษณ์กากบาทของ กระเป๋าฉีกเหมือนกัน ที่น่าดูก็ตู้โชว์สินค้าประเภทโคมไฟ การ ออกแบบสวยแปลกดี การประดับจัดวาง เปิดไฟแต่ละโคม ท�ำให้ ประเทศสวิตฯ ติดอยู่ในสินค้าทุกชิ้น เกิดสีแสงน่าดูน่าสนใจมากเป็นพิเศษ แต่ที่ไอเดียเก๋สุดๆ เห็นจะ ตู ้ โ ชว์ สิ น ค้ า ของแต่ ล ะประเทศ คื อ “หน้ า ต่ า งชี วิ ต ” เป็นตู้โฆษณาเล็กๆ ติดระดับสายตาตามเสาตึก ที่ออกแบบเป็นก ของผู ้ ค นในเมื อ งนั้ น ๆ การตกแต่ ง ตู ่ โ ชว์ สิ น ค้ า ของ ล่องง่ายๆ แต่เท่ถูกใจคนสัญจรไปมายิ่งนัก การจัดวางสินค้าหน้าร้าน ก็เป็นอีกหนึ่งวิธีการดึงดูด แต่ ล ะประเทศ จะสะท้ อ นให้ เ ห็ น ทั้ ง พั ฒ นาการแห่ ง ความสนใจ เพราะผู้คนที่เดินไปมามักหยุดมอง ก่อนจะเดิน การออกแบบ สภาพศิ ล ปวั ฒ นธรรม ที่ ส� ำ คั ญ ยิ่ ง เข้าไปดูสินค้าในร้านที่มีโชว์มากกว่า การเดินทางมาครั้งนี้ เราค้นพบบริการบางอย่างที่น่าจะ ท�ำเงินได้ในบ้านเรา และยังไม่เห็นใครท�ำการค้าชนิดนี้ นั่นคือ การให้บริการเข้าเล่มสมุดสวยงาม ที่มีทั้งสมุดเขียนหนังสือ สมุด บันทึก สมุดวันเกิด โดยร้านเข้าเล่มนี้จะมีหน้าปกสวยๆ กระดาษ หลายแบบหลายสี ทั้งมีเส้นและไร้เส้น มากขนาดมากรูปแบบไว้ บริการลูกค้า โดยลูกค้าเลือกกระดาษและปกตามต้องการแล้ว ทางร้านจะเข้าเล่มให้ เรียกว่าเข้าร้านเข้าเล่มสมุดแล้ว เป็นต้อง เสียเงินซื้อสมุดติดไม้ติดมือออกมาอย่างแน่นอน จะเห็นได้ว่า ตู้โชว์สินค้า คือ “หน้าต่างชีวิต” ที่น่า ยลยิ่งนัก อย่างไรก็ตามเดี๋ยวนี้ในเมืองไทยเรา...ตู้โชว์สินค้าก็ พัฒนาจนสวยไม่แพ้ต่างชาติแล้ว... 9 issue 124 MAY 2018


กิจกรรมสร้างแรงบัลดาลใจ

ทุกๆ วันเสาร์เยาวชนจากมูลนิธิครอบครัวพอเพียงจะรวมตัวกันเพื่อไปท�ำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม นอกจากจะ เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แล้ว ยังเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนจากโรงเรียนต่างๆ ให้แน่นแฟ้นขึ้นโดยไม่มีรั้วโรงเรียน ใดมาจ�ำกัดมิตรภาพ ท�ำให้เยาวชนหลายคนมีเพื่อนใหม่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เมื่อเข้าสู่ระดับมหาวิทยาลัยพวกเขาจึงพบเพื่อนจากโรงเรียน ต่างๆ ซึ่งเคยท�ำกิจกรรมร่วมกันมาได้ไม่ยาก กิจกรรมต่างๆ ที่มูลนิธิครอบครัวพอเพียงจัดขึ้นก็เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนในอนาคต เยาวชนหลายคนค้นพบตนเอง ระหว่างท�ำกิจกรรม ตามความใฝ่ฝันในอาชีพต่างๆ เช่น บางคนอยากเป็นครูก็ได้ลองสอนหนังสือเด็กในชุมชนตึกแดง บางซื่อ บาง คนอยากเป็นหมอเป็นพยาบาลก็ได้ลองสัมผัสกับการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้นที่โรงพยาบาลจุฬาฯ บางคนอยากเป็นนักสังคมสงเคราะห์ ก็ได้ลองสัมผัสกับงานอาสาในสถานสงเคราะห์ต่างๆ เช่น ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านบางแค เป็นต้น เหล่านี้ คือแรงบัลดาลใจให้เยาวชนค้นพบความชอบของตนเองผ่านงานจิตอาสาก่อนที่จะก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย ส�ำหรับเยาวชนคนใดอยากจะใช้เวลาว่างลองสัมผัสงานด้านต่างๆ เพื่อค้นหาตนเองก็สามารถเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของมูลนิธิ ครอบครัวพอเพียงได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น

10 IS AM ARE www.fosef.org


ข่ า วสารครอบครั ว พอเพี ย ง

11 issue 124 MAY 2018


12 IS AM ARE www.fosef.org


13 issue 124 MAY 2018


cover story

“...ภูมิคุ้มกันของผมคือเราคิดถึงพ่อแม่ คิดถึงครอบครัว อันนี้คือสิ่งส�ำคัญ…”

ดร.สุกิจ นิตินัย

อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุ งเทพ หลั ง จากขึ้ น รั บ ต� ำ แหน่ ง อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลกรุ ง เทพ เมื่ อ วั น ที่ 8 กั น ยายน 2560 ดร.สุ กิ จ นิ ติ นั ย ประกาศนโยบายให้ บุ ค ลากรและผู ้ บ ริ ห ารยึ ด หลั ก ปรั ช ญา ของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งในการด� ำ เนิ น งานทุ ก ด้ า น และน� ำ ถ่ า ยทอดสู ่ นั ก ศึ ก ษา ทั้ ง นี้ นอกจากจะ เป็ น การปรั บ ตั ว ตามยุ ค สมั ย แล้ ว ส่ ว นหนึ่ ง ยั ง สอดคล้ อ งกั บ ชี วิ ต ในวั ย เด็ ก ของท่ า นซึ่ ง ถู ก ปลู ก ฝั ง จากครอบครั ว ในเรื่ อ งของความพอเพี ย งจนเป็ น นิ สั ย ติ ด ตั ว มาถึ ง ปั จ จุ บั น

14 IS AM ARE www.fosef.org


15 issue 124 MAY 2018


ในยุคที่ทุกคนมีสื่อของตนเองอยู่ในมือ สามารถค้นหา ความรู้ได้มากมายรอบด้าน ดร.สุกิจ นิตินัย ย�้ำว่า การอบรม สั่งสอนนักศึกษาจากครูอาจารย์ยังส�ำคัญอยู่เสมอในแง่ของการ สร้างสัมพันธ์ที่ดี กล่าวคือ วิชาความรู้ทั้งหลายต้องควบคู่ไป กับจรรยาบรรณและคุณธรรมความดีงาม จะขาดอย่างใดอย่าง หนึ่งไปไม่ได้ อย่างไรก็ตาม แนวคิดและวิธีการด�ำเนินชีวิตของ ดร.สุกิจ คือภาพสะท้อนให้เยาวชนได้เห็นถึงความมานะอดทน ความพยายาม บนพื้ น ฐานของความพอเพี ย งได้ เ ป็ น อย่ า งดี สามารถใช้เป็นต้นแบบให้เยาวชนได้ไม่น้อย พื้ น เพชี วิ ต อาจารย์ มี ค วามเป็ น มาอย่ า งไรคะ ? ผมเป็นคนจังหวัดชลบุรีครับ ในต�ำบลแสนสุข อ�ำเภอ เมืองชลบุรี ครอบครัวผมมีพี่น้อง 6 คน ผมเป็นคนสุดท้อง ครับ มีพี่ผู้หญิง 2 คน พี่ผู้ชาย 3 คน เดิมทีครอบครัวของผม ไม่ ไ ด้ สุ ข สบายนั ก แต่พอหลังจากผมเกิด มาแล้ว ครอบครั ว ก็ ค่อยๆ พอมีกินไม่เดือดร้อนมากนัก ฉะนั้น ทางแม่กับเตี่ย(ลูก คนจีน)จะยึดถือวิถีปฏิบัติเดิมที่ว่า ครอบครัวเราเป็นครอบครัว ยากจนมาก่อนนะ การจะใช้จ่ายด�ำเนินงานต่างๆ ต้องประหยัด อดออม ต้องท�ำงาน ตื่นเช้าทุกคนต้องมีหน้าที่ท�ำงานกันทุกคน ไม่ว่าจะจัดโต๊ะกินข้าวหรืองานบ้านต่างๆ ผมเป็นลูกคนสุดท้อง ก็ต้องท�ำ ยอมรับครับว่า การเป็นลูกคนสุดท้องบางทีก็นึกน้อยใจ ยึ ด หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาใช้ ใ นการ ตัวเอง ใช้อะไรก็ต้องใช้ของพี่หมด เสื้อผ้า หนังสือต่างๆ ใช้ต่อ บริ ห ารมหาวิ ท ยาลั ย และจะปลู ก ฝั ง ให้ กั บ นั ก ศึ ก ษา จากพี่ทุกอย่าง ที่จริงเป็นเรื่องปกตินะ พอเรามาคิดย้อนดูก็เข้าใจ และบุ ค ลากรทุ ก คนในมหาวิ ท ยาลั ย นโยบายตรง ว่าไม่เห็นต้องไปซื้อใหม่เลย ชุดนักเรียนมันก็ยังใช้ได้ดี แต่นั่น นี้ จ ะถ่ า ยทอดลงไป กิ จ กรรมทุ ก อย่ า งผมจะบอก เป็นความรู้สึกสมัยเด็กๆ ครับ ผมถูกปลูกฝังมาเรื่องการใช้ชีวิต ผู ้ บ ริ ห ารทุ ก คนเจ้ า หน้ า ที่ ทุ ก คนว่ า ต่ อ ไปนี้ ทุ ก อย่ า ง เรื่องความพอเพียงทุกๆ ด้าน หากจะซื้อหาอะไรก็ตามต้องดู ให้ ยึ ด หลั ก ที่ ใ นหลวงให้ ไ ว้ เรื่องความคุ้มค่าและเหตุผลความจ�ำเป็นเป็นหลัก ซึ่งต่างจาก เด็กยุคนี้ เราจะเห็นว่าในเรื่องการจะได้มาซึ่งอะไรก็ตาม จะได้ มาซึ่งความพอใจเป็นหลัก ผมเข้ามาเรียนต่อในกรุงเทพฯ หลังจากจบมัธยมศึกษา ปีที่ 3(มศ.3)จากโรงเรียนชลราษฎรอ�ำรุง ซึ่งเป็นโรงเรียนประจ�ำ จังหวัดชลบุรี ถือว่าการเรียนของผมอยู่ในเกณฑ์ที่ดี แต่ผมไม่ได้ คิดเรียนต่อในสายสามัญ ตอนนั้นคิดอย่างเดียวว่าชอบทางช่าง ก็เลยไปเรียนต่อที่เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เรียน สาย ปวช. ช่างยนต์ การเดินทางในสมัยนั้นไม่ได้สะดวกเหมือน สมัยนี้นะครับ จะเห็นได้ว่าโอกาสของนักศึกษาปัจจุบันเรื่อง การเดินทางเรื่องโอกาสต่างๆ มีมากกว่าสมัยก่อนเยอะ ระหว่างเรียนในกรุงเทพฯ ผมมาอยู่หอกับเพื่อนๆ พี่ๆ ครั บ อยู ่ ร วมกั น สมั ย ก่ อ นเรี ย กว่ า มาจากบ้ า นนอกคนเดี ย ว 16 IS AM ARE www.fosef.org


นึกถึงตนเองอยู่เสมอว่า “เราชื่ออะไร เรานามสกุลอะไร” พ่อ เราชื่ออะไร แม่เราชื่ออะไร “เรามาท�ำอะไรที่นี่” ผมจะบอกกับ นักศึกษาตลอดนะครับ ส่วนเขาจะจ�ำได้ขนาดไหนไม่ทราบ ถ้า คุณคิดอะไรไม่ออกให้คิดว่าเราชื่ออะไร นามสกุลอะไร พ่อแม่เรา ชื่ออะไร แล้วเรามาท�ำอะไร ให้คิดถึงจุดนี้ตลอด เตือนสติตัวเอง ว่าหน้าที่เราคืออะไร หลั ง จากเรี ย นจบช่ า งยนต์ แ ล้ ว อาจารย์ เ ลื อ กเรี ย น ด้ า นไหนต่ อ คะ ? หลังจากเรียนจบ ปวช.แล้ว ผมเรียนต่อปริญญาตรีที่ เดิมครับ(มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ในปัจจุบัน) เรียนต่อด้านวิศวกรรมอยู่ในระดับดีพอสมควรครับ หลังจากจบแล้วก็คิดจะเรียนต่อปริญญาโท แต่ตอนนั้นมีความ คิดอย่างหนึ่งว่าเราก็เรียนมาเยอะ เราอยากท�ำงานให้มีรายได้ ไม่อยากใช้เงินทางบ้านแล้ว คิดว่าทางบ้านส่งเสียมาตลอด 7 ปี ปวช. 3 ปี ปริญญาตรีอีก 4 ปี ก็เลยคิดว่าถ้าเราพอที่จะหาราย ได้ได้แล้วก็น่าจะลองหารายได้ดู เพื่อนๆ ก็ท�ำงานกันหมด แต่ ความคิดเรียนต่อยังมีอยู่ เลยมองหาว่ามีอาชีพอะไรที่จะศึกษา ทุกอย่างก็ต้องดูแลตัวเองทั้งหมด ซักเสื้อผ้าเอง รีดเอง ขึ้นรถเมล์ เรียนต่อได้ ตรงนี้ก็เลยคิดว่าจะรับราชการครูนั่นเอง เองทุกอย่าง พระนครเหนือสมัยก่อนเขาเรียกว่าบ้านนอก แต่ ถ้ า เรารั บ ราชการครู อ าจจะมี ทุ น ให้ เราได้ ไ ปเรี ย นต่ อ เราก็ผ่านจุดนั้นมาได้ตามปกติครับ ตามประสาชีวิตเด็กหอ ช่องทางนี้ก็น่าจะเป็นการหาประสบการณ์อย่างหนึ่งส�ำหรับ เรา ในสมัยนั้นรุ่นที่เรียนจบมาด้วยกันทางวิศวกรรมไม่ค่อยมี สมั ย ที่ เ รี ย นช่ า งยนต์ ตั ว อาจารย์ เ องมี เ หตุ ตี กั น ใครอยากเป็นครูหรือรับราชการ มีก็น้อยมาก เพราะอย่างที่ เหมื อ นปั จ จุ บั น บ้ า งไหม ? ทราบค่าตอบแทนหรือรายได้จะเทียบกับทางเอกชนไม่ได้ อาจ ไม่มีครับ ในเรื่องอบายมุขต่างๆ ถ้าจะพูดว่าเคยลองไหม จะ 1 ต่อ 2 ถึง 1 ต่อ 3 เลย แต่ผมก็คิดถึงเรื่องการเรียนต่อ เคยลองสูบบุหรี่ตามเพื่อนๆ ครับ แต่ปรากฏว่าพอสูบแล้วระบบ ด้วยเหมือนกัน เราอยากมีความรู้เพิ่มเติม ถ้าไปทางเอกชนเรา ทางเดินหายใจของผมมีปัญหา มันไม่เหมาะกับเราแน่นอนแม้ ก็คงไม่มีโอกาสเรียนต่อแน่นอน โอกาสคงน้อยมาก ซึ่งก็เป็นจริง จะพยายามสูบแค่ไหน ผมเลยคิดว่าจะสูบไปท�ำไม สูบไปแล้ว เพราะเพื่อนหลายคนกว่าจะได้เรียนต่อก็อีกหลายปี ไม่เห็นจะสบายอะไรเลย ในสมั ย นั้ น เรื่ อ งการดื่ ม สุ ร าก็ มี บ ้ า งครั บ แต่ ไ ด้ อาจารย์ เ ริ่ ม รั บ ราชการครู ที่ ไ หนคะ ? ประสบการณ์ กั บ ตั ว เองเนื่ อ งจากเป็ น สายช่ า ง สมั ย นั้ น รุ ่ น พี่ ผมไปเป็ น ข้ า ราชการครู ที่ วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี แ ละ รุ่นน้องก็ต้องมาดื่มแอลกอฮอล์กันแหละครับ ผมก็ดื่มกับเขา อาชีวศึกษา วิทยาเขตพระนครเหนือ(ชื่อเก่า) พอดีครูเขาขาดเขา ครั้งหนึ่งตอนเข้ามาใหม่ๆ เมามากครับ อาเจียน ตั้งแต่นั้นมา เปิดรับสมัคร ผมก็ไปสมัครแล้วก็สอบติด เพราะสมัยนั้นคนที่จบ สาบานกับตัวเอง ไม่เอาอีกแล้วมันทรมานจริงๆ ถ้าหากดื่มก็ ทางนี้แล้วมารับราชการครูไม่ค่อยมี ผมท�ำงานมาระยะหนึ่ง เงิน ดื่มนิดหน่อย แต่ไม่ได้ถือเป็นสาระอะไรมากมาย เพราะเจอ เดือน 2,765 บาท สามเดือนแรกยังไม่ได้เงินนะครับ ต้องรอกว่า ประสบการณ์กับตัวเองมาแล้ว เขาจะบรรจุเสร็จ แต่ทางราชการให้เงินเดือนมาใช้ก่อนเดือนละ ส่วนเรื่องตีกันในสมัยนั้นก็มีบ้างครับ เพื่อนๆ ผมที่ตีกัน 2,000 บาท ได้เงินเดือนๆ แรกรู้สึกภูมิใจครับ เราสามารถหาราย แต่ผมไม่ได้ร่วมกับเขาด้วย ภูมิคุ้มกันของผมคือ เราคิดถึงพ่อแม่ ได้ด้วยตนเองได้แล้ว ส่วนหนึ่งก็กลับไปให้พ่อแม่ เป็นธรรมชาติ คิดถึงครอบครัว อันนี้คือสิ่งส�ำคัญ ผมพยายามสอนนักศึกษาทุก ไม่รู้ว่าเด็กสมัยนี้เป็นอย่างนั้นรึเปล่า คนให้ตระหนัก พยายามบอกพวกเขาว่า พวกคุณที่มากันต้อง 17 issue 124 MAY 2018


ผมรั บ ราชการครู อ ยู ่ ที่ วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี แ ละ อาชีวศึกษา วิทยาเขตพระนครเหนือได้ระยะหนึ่ง ทางวิทยาเขต เทเวศร์เขาเปิดสอนระดับปริญญาตรีอยู่ เขาต้องการครูสอน ระดับปริญญาตรีเพิ่ม เพื่อนอาจารย์บอกว่า ท�ำไมไม่ลองไปสอน ระดับที่สูงกว่าที่เดิม โอกาสจะใช้ความรู้ความสามารถก็มากขึ้น โอกาสที่จะศึกษาต่อก็จะมีมากขึ้น มีโอกาสได้รับทุนการศึกษา มากขึ้น ผมเลยย้ายไปอยู่ที่วิทยาเขตเทเวศร์ เมื่ อ ย้ า ยมาสอนในระดั บ ปริ ญ ญาตรี แ ล้ ว อาจารย์ มี โอกาสเรี ย นต่ อ ตามที่ ค าดไว้ ห รื อ ไม่ ค ะ ? ช่วงนั้นท�ำงานได้ระยะหนึ่ง ทางวิทยาลัยเทคโนโลยีและ อาชีวศึกษามีโครงการพัฒนาบุคลากรของทางสถาบัน โดยการ ส่งไปศึกษาต่อโดยใช้เงินของวิทยาลัยเอง ผมเป็นรุ่นแรกที่เข้าไป สมัคร การไปสมัครตรงนั้นต้องมีการทดสอบและมีการเตรียม การเรื่องภาษาเพราะต้องไปเรียนต่อต่างประเทศ สอบแข่งกัน มีการคัดคน ปรากฏว่าผมได้คัดเลือกได้รับทุนของวิทยาลัยฯ ใน สมัยนั้นไปศึกษาต่อที่ต่างประเทศ ผมส�ำนึกในบุญคุณตรงนี้ของหน่วยงานมาตลอดว่า ถ้า ไม่ได้ทุนผมก็คงไม่ได้มาเรียนต่อ ซึ่งวิทยาลัยเทคโนโลยีและ อาชี ว ศึ ก ษา ปั จ จุ บั น ก็ คื อ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล นั่นเอง

หลั ง จากไปศึ ก ษาต่ อ ปริ ญ ญาโทด้ า นวิ ศ วกรรม การเกษตรที่ประเทศสหรัฐอเมริกาแล้ว ทางต้นสังกัดอนุญาต ให้ศึกษาต่อปริญญาเอกได้ ผมก็เลยศึกษาต่อที่นั่น มหาวิทยาลัย โอคลาโฮมา(University of Oklahoma) ผมจบปริ ญ ญา โทวิ ศ วกรรมการเกษตรเนื่ อ งจากว่ า วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี แ ละ อาชีวศึกษายีต้องการจะเปิดคณะเกษตร และจบปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมทั่วไป

พอกลั บ มาจากอเมริ ก า อาจารย์ ไ ด้ ไ ปสอนอยู ่ ที่ ไ หน คะ ? ผมถู ก ปลู ก ฝั ง มาเรื่ อ งการใช้ ชี วิ ต เรื่ อ งความ พอกลับมาแล้ว คณะเกษตรที่เปิดใหม่เขามีอาจารย์ครบ พอเพี ย งทุ ก ๆ ด้ า น หากจะซื้ อ หาอะไรก็ ต ามต้ อ งดู อยู่แล้ว ผมกลับมาเป็นอาจารย์ประจ�ำที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ เรื่ อ งความคุ ้ ม ค่ า และเหตุ ผ ลความจ� ำ เป็ น เป็ น หลั ก ซึ่งตอนนั้นย้ายไปอยู่ที่วิทยาเขตธัญบุรี ก่อนผมไปอเมริกาผม ซึ่ ง ต่ า งจากเด็ ก ยุ ค นี้ เราจะเห็ น ว่ า ในเรื่ อ งการจะได้ ท�ำงานอยู่ที่วิทยาเขตเทเวศร์ พอกลับมาเขาไปสร้างศูนย์กลาง มาซึ่ ง อะไรก็ ต าม จะได้ ม าซึ่ ง ความพอใจเป็ น หลั ก สถาบันที่ธัญบุรี ผมกลับมาก็เลยไปประจ�ำที่นั่นเพราะเขาย้าย จากเทเวศร์ไป, ท�ำงานอยู่ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ตั้งแต่อาจารย์ ประจ�ำ แล้วก็เป็นหัวหน้าภาควิชา แล้วก็เป็นรองคณบดีฝ่าย วิชาการของคณะวิศวกรรมศาสตร์ ในขณะนั้ น ประมาณปี 2549 ทางมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลได้ แ ยกออกจากกั น เป็ น 9 แห่ ง ผมก็ เลยโอนย้ า ยมาท� ำ งานที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล กรุ ง เทพ ตั้ ง แต่ ป ี 2549 ในต� ำ แหน่ ง รั ก ษาการคณบดี ค ณะ วิศวกรรมศาสตร์ แล้วก็เป็นคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ พอปี 2552 ทางอธิการบดีท่านก็เชิญมาร่วมงานเป็นรองอธิการบดี แล้วก็ท�ำงานมาตลอดจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ผมเป็นอธิการบดี เมื่อ 8 กันยายน 2560

18 IS AM ARE www.fosef.org


19 issue 124 MAY 2018


หลั ง จากเป็ น อธิ ก ารบดี อาจารย์ เ น้ น นโยบายเรื่ อ ง ใดคะ ? ยึ ด หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาใช้ ใ นการ บริ ห ารมหาวิ ท ยาลั ย และจะปลู ก ฝั ง ให้ กั บ นั ก ศึ ก ษาและ บุคลากรทุกคนในมหาวิทยาลัย นโยบายตรงนี้จะถ่ายทอดลงไป กิจกรรมทุกอย่างผมจะบอกผู้บริหารทุกคนเจ้าหน้าที่ทุกคนว่า ต่อไปนี้ทุกอย่างให้ยึดหลักที่ในหลวงให้ไว้ ไปคิดดูว่าตรงไหนที่ เป็นปรัชญาของในหลวง ต้องด�ำเนินการให้ได้ ให้ท�ำจนกระทั่ง เป็นนิสัย ในสิ่งต่างๆ ที่ในหลวงท�ำเป็นตัวอย่างให้กับเรา อย่างไร ก็ตาม สิ่งที่อยากจะปลูกฝังนักศึกษาก็คือว่า ถ้าเขาด�ำรงชีวิต หรือใช้ชีวิตอย่างเศรษฐกิจพอเพียง เขาก็สามารถที่จะเรียนจบ การศึกษาได้ ตรงนี้ทางมหาวิทยาลัยมีนโยบายที่พยายามให้ นักศึกษามีจิตส�ำนึก ให้เขาใช้ชีวิตได้อย่างถูกต้อง ให้เขาเห็นว่า มีคนท�ำได้จริง และประสบผลส�ำเร็จจริงๆ

สื่อไหน ในการวิเคราะห์สื่อที่เขารับมาเพราะมันหลากหลายมาก ว่าสื่อไหนที่จะเป็นประโยชน์กับเขา อาจารย์ ใ ห้ ส ติ นั ก ศึ ก ษายั ง ไงให้ เ ขารู ้ คุ ณ ค่ า ในตั ว เอง ? ปั จ จุ บั น มี นั ก ศึ ก ษาจบไปปี ล ะประมาณปี ล ะ 2,8003,000 คน แต่ละปีอาจจะไม่เท่ากัน ที่เรียนไม่ประสบผลส�ำเร็จ ตามเกณฑ์มีประมาณ 10-15 เปอร์เซ็นต์ ตอนนี้ผมสอนนักศึกษา ปีสุดท้ายครับ โชคดีอย่างนักศึกษาปีสุดท้ายเขาจะมีความคิด เป็นผู้ใหญ่มากขึ้น แต่มีประเด็นหนึ่งในนักศึกษาปีสุดท้ายของ เราส่วนใหญ่จะจบไม่หมด อาจจะประสบอุบัติเหตุ ผมพยายาม เตือนเขาว่าเราปีสุดท้ายแล้ว มูลค่าของตัวเรานั้นวัดค่าไม่ได้แล้ว มหาศาล ตั้งแต่ปี 1 ปี 2 ปี 3 เรามีมูลค่าในตัวเองมากขึ้น หัว ของเราคุณคิดดูมูลค่าเท่าไหร่ ถ้าคุณขี่จักรยานยนต์ เทียบกับ ราคาหมวกที่พวกคุณใช้กัน คุณคิดว่าหัวคุณมีมูลค่าเท่าไหร่ คุณ จะใช้หมวกใบละ 100 บาทไหม หรือใบละเท่าไหร่ คุณคิดว่า มูลค่าของหัวคุณเมื่อมาถึงปี 4 แล้วมีมูลค่าเท่าไหร่ ก็พยายาม เตือนสติเขาอย่างนี้ แล้ ว ที่ อ โคจร อย่ าไป คุ ณ ยิ่ ง ใกล้ วั น ที่ ก� ำ ลั ง จบ ต้ อ ง ระมัดระวังทุกย่างก้าว ก้าวแต่ละก้าวของคุณตอนนี้ต้องคิดให้ ดีก่อนที่จะไปไหน คุณจะจบแล้ว ยิ่งใกล้วันที่จะจบคุณยิ่งต้อง

อาจารย์ มี ค วามหนั ก ใจเรื่ อ งใดในเยาวชนที่ เ ข้ า มา เรี ย นบ้ า งคะ ? เรื่องสื่อฯ ครับ ขณะนี้ข้อมูลข่าวสารเนื่องจากว่าเยาวชน ปัจจุบันเข้าถึงได้หมด แล้วมันหลากหลายมาก เรื่องวิธีการเชื่อ ถือสื่อที่เขาได้รับ จะมีวิธีการวิเคราะห์สังเคราะห์ยังไง อันนี้ผม ว่าต้องเป็นหลักในการสอนต่อไปเลย ว่าจะเชื่อสื่อไหนไม่เชื่อ 20

IS AM ARE www.fosef.org


21 issue 124 MAY 2018


พ่อแม่ ลูกของผม 2 คนก็เคยผ่านมาแบบนั้นเหมือนกัน ปัจจุบัน เขาเรียนจบมีงานท�ำกันหมดแล้วครับ แต่ผมเข้าใจครับ เพราะว่าขณะผมเป็นครูอยู่ ผู้ปกครอง ก็มาหาผมบอกให้ช่วยนะครับ ลูกเขาเองเขาว่ากล่าวตักเตือน ไม่ได้ อยากให้ครูอาจารย์ช่วย ผมก็บอกว่าช่วยอยู่แล้วไม่ต้อง ห่วง แต่ท่านต้องช่วยดูแลตอนที่เขาอยู่ที่บ้านด้วย เราดูแลเขา ได้เฉพาะในขณะที่เขาอยู่ในโรงเรียนหรือในสถานศึกษา กลับ ไปบ้านท่านต้องช่วยร่วมกัน นี่คือเรื่องส�ำคัญ อาจารย์ทุกท่าน ไม่สามารถดูแลลูกท่านได้ตลอดเวลา พ่อแม่ครอบครัวที่บ้าน ต้องให้ความรักความอบอุ่น ต้องช่วยกัน

นึกเสมอว่า ตรงไหนไม่ควรไปอย่าไปเด็ดขาด อย่าไปเปิดโอกาส ความเสี่ยงของเรา อย่าไปคิดว่าไม่มีอะไร ถ้าเพื่อนชวนก็บอก ให้เขาไปเถิด เราไม่ว่าง เรามีภาระของเรานะ ผมก็พยายาม เตือนเขาได้เท่าที่ท�ำได้ แต่จะบอกเขาทุกรุ่น ว่าปี 4 ใกล้จบแล้ว พยายามอย่าเสี่ยงนะ อันนี้คือสิ่งที่ติดฝังใจตั้งแต่ผมเรียนมาตลอดว่า ผมคิดถึง ครอบครัว คิดถึงพ่อแม่ เนื่องจากว่า “ครอบครัวเป็นสิ่งส�ำคัญ” ถ้าเขาระลึกถึงครอบครัวนึกถึงพี่น้อง เขาจะคิดถึงความอบอุ่น ตรงนี้เป็นหลักว่ายังมีครอบครัวอยู่นะ เราอย่าเสี่ยงเลย อย่าน�ำ หน้าเลย อย่าออกตัว หน้าที่ของเราคือมาแล้วท�ำอะไร อันนี้เป็น สิ่งที่ผมคิดว่าครอบครัวเป็นหลักที่ส�ำคัญที่สุด เป็นประสบการณ์ จากตัวเอง

ในระดั บ การท� ำ งาน ชื่ อ เสี ย งของนั ก ศึ ก ษาที่ นี่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ไม่ น ้ อ ยเรื่ อ งคุ ณ ภาพ ? พยายามจะกระตุ้นเขาครับ นักศึกษาปัจจุบันผมเข้าใจว่า อย่ า งที่ ผ มเคยพู ด ว่ า เวลาคุ ณ เรี ย นผ่ า นไปปี ห นึ่ ง มู ล ค่ า ในตั ว คุ ณ มากขึ้ น แล้ ว นะ ฉะนั้ น ให้ ร ะมั ด ระวั ง เขามีสื่อที่หลากหลายมากขึ้น ฉะนั้น การเรียนในห้องดูเหมือน เวลาจะท� ำ อะไร ต้ อ งบอกเขา ไม่ อ ย่ า งนั้ น เขาไม่ รู ้ สึ ก ว่าเขาไม่ค่อยสนใจ อันนี้เป็นธรรมชาติของการเรียนรู้ที่เปลี่ยน ตั ว นึ ก ว่ า เข้ า มาเรี ย นผ่ า นไปแล้ ว ก็ เ หมื อ นเดิ ม เขามี ไป บรรยากาศที่เปลี่ยนไป ผู้สอนเองจะรู้สึกว่าเหมือนเขาไม่ สนใจในการเรียน เพราะเขาอาจจะคิดว่าสื่อการสอนปัจจุบัน คุ ณ ค่ า ในตั ว มากขึ้ น หาได้ง่ายมาก สื่ออยู่รอบตัวเขาหาได้หมด ไม่เหมือนสมัย 2030 ปีที่แล้วต้องไปจองหนังสือ ต้องไปเข้าคิว เล่มนี้ผมขอจอง การที่ เ ด็ ก คนหนึ่ ง จะมี อ นาคตที่ ดี ไ ด้ อาจารย์ ม องว่ า นะ ถ้าไม่จองเดี๋ยวจะไม่ได้อ่าน เดี๋ยวนี้ไม่ต้องห่วงแล้วครับ เขา อาจจะเตรียมอ่านมาหมดแล้ว หรือครูสอนแล้วเขาเสิร์ชหาเพิ่ม อะไรคื อ ส่ ว นส� ำ คั ญ ? ผมมองว่า ในสังคมของเราครอบครัวก็เป็นส่วนหนึ่ง เติมได้ทันที อันนี้จึงเป็นบรรยากาศที่เปลี่ยนไปในการเรียนการ แต่ ค นรอบข้ า งและสิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ มาก ไม่ ใช่ สอน ฉะนั้น นักศึกษาในปัจจุบันบางทีอาจจะเห็นได้ว่าความ ครอบครัวหรือคนใกล้ตัวต้องช่วยกันเท่านั้น แม้แต่สื่อต่างๆ ก็ สัมพันธ์ระหว่างครูกับลูกศิษย์น้อยลง นี่อาจจะเป็นสิ่งที่ท�ำให้ ต้องช่วย เพราะเยาวชนของเราดูส่ือต่างๆ ทุกวัน ถ้าสื่อไม่มี ห่างเหิน ตรงนี้ผมพยายามจะกระตุ้นให้อาจารย์กับลูกศิษย์มี ความรับผิดชอบก็จะน�ำเสนอแต่สิ่งเย้ายวน หลอกล่อให้เขา ความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมากขึ้น ก็เพื่อคุณภาพของตัวนักศึกษา หลงทาง ตรงนี้ ถ้าเขาซึมซับทุกวันๆ เขาก็ต้องเปลี่ยน จะบอก เองเวลาที่เขาออกไปท�ำงาน ว่าคุณเป็นพ่อแม่ผู้ปกครองคุณก็สอนลูกคุณสิ แต่ถ้าข้างนอก ไม่ช่วยกัน โอกาสที่เยาวชนของเราจะฟังแต่พ่อแม่และปฏิบัติ มหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง นี้ มี ทุ น การศึ ก ษารองรั บ ส� ำ หรั บ ผู ้ ตามนั้นมีน้อย สิ่งแวดล้อมรอบข้างหรือสังคมรอบข้างต้องช่วย ที่ ข าดแคลนทุ น ทรั พ ย์ ? เรามีแหล่งทุนการศึกษาพอสมควร มีผู้ใหญ่ใจดีหลาย กันด้วยครับ เท่าที่ผมเคยผ่านมา ในประเทศที่เจริญแล้ว สื่อของ คนนะครับที่คอยสนับสนุนการศึกษาให้กับนักศึกษาที่ยากจน เขามีการควบคุมในบางเรื่องราว ว่าอะไรก็ตามที่ท�ำให้เยาวชน ทุนการศึกษาหลักของเราผมอยากจะบอกขอบคุณนะครับ ก็คือ ของเขาจะไปในทิศทางที่ไม่ดีเขาก็ดูแลกันเองไม่น�ำเสนอ ด้วย คุณทองมา วิจิตรพงษ์พันธ์ ประธานกรรมการของบริษัทพฤกษา จรรยาบรรณของเขา เขาจะไม่น�ำเสนอในเรื่องที่ไม่เป็นผลดี ท่านบริจาคให้เราปีละประมาณ 1 ล้านบาทติดต่อกันมา 3 ปีแล้ว กับเยาวชน อันนี้ผมคิดว่าสังคมต้องช่วยกันด้วย เพราะคนใน อีกที่หนึ่งคือบริษัททีพีไอ บริจาคทุนการศึกษาไม่ต�่ำกว่าปีละ 2 ครอบครัวต้องช่วยกันอยู่แล้ว แม้แต่ลูกผมเองเราก็สอน แต่ ล้านบาท เพื่อเป็นทุนการศึกษา ซึ่งตรงนี้เป็นส่วนต่อให้นักศึกษา บางทีลูกเราเองเราใกล้ชิดเกินไป อันนี้เรื่องส�ำคัญ “เขาจะเชื่อ ของเราประสบความส�ำเร็จ เราก็จะมีการคัดเลือกผู้รับทุน ที่จริง ฟังครูมากกว่า” ครูเป็นสิ่งที่เยาวชนในบางขณะเขาฟังมากกว่า นักศึกษาทุกคนสมควรจะได้ แต่เพราะทุนมีจ�ำกัด ก็จะต้องเลือก 22 IS AM ARE www.fosef.org


เฉพาะคนที่มีความจ�ำเป็นมากกว่า แค่นั้นเองครับ ผมอยากจะเล่าประวัติของคุณทองมา วิจิตรพงษ์พันธ์ ให้ฟังนะครับ ตอนที่ผมไปรับมอบทุนมา ท่านเล่าให้ฟังว่าที่จริง ท่านไม่ได้ให้ทุนผมที่เดียวครับ ท่านให้มูลนิธิอีกหลายที่ ทางด้าน ศาสนา การศึกษาและวัฒนธรรม ปีหนึ่งท่านบริจาคไม่ต�่ำกว่า 10 ล้านบาท ผมประทับใจตรงที่ท่านเล่าให้ฟังว่า สมัยที่ท่าน เป็นนักศึกษาที่จุฬาฯ ที่ท่านเรียนจบมาได้ก็เพราะทุนการศึกษา ส�ำหรับนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ท่านพูดอย่างนี้ ท่านจบ มาได้เพราะตรงนี้ ซึ่ ง นั ก ศึ ก ษาที่ ข าดแคลนทุ น ทรั พ ย์ ไ ม่ ไ ด้ ห มายความ ว่าเขาจะไม่มีความสามารถ เขาอาจจะไปท�ำกิจการเพื่อสร้าง เศรษฐกิจให้แก่ประเทศในอนาคตต่อไปได้ ผมก็พยายามเล่า ให้นักศึกษาฟังอยู่เรื่อยๆ ว่าถ้าได้รับทุนการศึกษาไปแล้ว เรา ก็ควรจะขอบคุณเจ้าของทุน แล้วท�ำหน้าที่เราให้สมกับเจ้าของ ทุนที่เขาให้

ในประเทศที่ เ จริ ญ แล้ ว สื่ อ ของเขามี ก ารควบคุ ม ใน บางเรื่ อ งราว ว่ า อะไรก็ ต ามที่ ท� ำ ให้ เ ยาวชนของเขาจะ ไปในทิ ศ ทางที่ ไ ม่ ดี เ ขาก็ ดู แ ลกั น เองไม่ น� ำ เสนอ ด้ ว ย จรรยาบรรณของเขา เขาจะไม่ น� ำ เสนอในเรื่ อ งที่ ไ ม่ เป็ น ผลดี กั บ เยาวชน

ดู เ หมื อ นว่ า อาจารย์ เ น้ น วิ ช าความเป็ น คนควบคู ่ ไ ป กั บ ด้ า นวิ ช าการ ? ก็พยายามจะบอกอาจารย์ทุกท่านว่า อย่างน้อยเข้าสอน ไปแล้วก็แบ่งเวลาวันละเล็กวันละน้อยอบรมนักศึกษานอกเหนือ จากการเรียนการสอนบ้าง เราหนีไม่พ้นยังไงก็ต้องอบรมเขา ถ้าพูดภาษาโบราณเรียกว่าสั่งสอน อย่างที่ผมเคยพูดว่าเวลา คุณเรียนผ่านไปปีหนึ่งมูลค่าในตัวคุณมากขึ้นแล้วนะ ฉะนั้น ให้ ระมัดระวังเวลาจะท�ำอะไร ต้องบอกเขา ไม่อย่างนั้นเขาไม่รู้สึก ตัว นึกว่าเข้ามาเรียนผ่านไปแล้วก็เหมือนเดิม เขามีคุณค่าในตัว มากขึ้น ฉะนั้น เวลาท�ำอะไรให้นึกถึงตัวเอง ที่อโคจรอย่าไป อย่า พยายามไปเสี่ยง ต้องพยายามเตือนเขาเรื่อยๆ ครับ

ฝากข้ อ คิ ด ถึ ง เยาวชน ? สิ่งที่เราท�ำทุกวัน ท�ำสิ่งที่ดี ท�ำความดีแล้วไม่ต้องกลัว ไม่มีใครเห็น ท�ำความดีเราได้ดีทันที ไม่ต้องกลัวว่าท�ำดีแล้วท�ำไม ไม่ได้ดีสักที เราท�ำดีแล้วเราก็ได้ดีในขณะที่เราท�ำเรียบร้อยแล้ว คนที่เห็นก็คือตัวเราเองเห็นคนแรก แล้วก็คนที่อยู่บนฟ้ามอง เห็นเราตลอดเวลา

23 issue 124 MAY 2018


24 IS AM ARE www.fosef.org


Cartoon

25 issue 124 MAY 2018


26 IS AM ARE www.fosef.org


27 issue 124 MAY 2018


28 IS AM ARE www.fosef.org


ครู ข องแผ่ น ดิ น

“รักเพื่อน เคารพพี่ บูชาครู กตัญญู พ่อแม่ ดูแลน้อง สนองคุณแผ่นดิน”

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

“ อั ต ลั ก ษ ณ ์ ” ที่ โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ยึ ด ถื อ ม า ย า ว น า น คื อ “ รั ก เ พื่ อ น เ ค า ร พ พี่ บู ช าครู กตั ญ ญู พ ่ อ แม่ ดู แ ลน้ อ ง สนองคุ ณ แผ่ น ดิ น ” โดยเฉพาะระบบรุ ่ น พี่ รุ ่ น น้ อ งที่ เ หนี ย วแน่ น ไม่ ว ่ า อายุ จ ะห่ า งกั น กี่ ป ี กี่ รุ ่ น ก็ ต าม ถ้ า บอกว่ า เรี ย นโรงเรี ย นสวนกุ ห ลาบฯ เมื่ อ ไหร่ นั่ น หมายถึ ง เป็ น พี่ น ้ อ งกั น ทั น ที อ� ำ นวย จั น ทร์ ห อม รองผู ้ อ� ำ นวยการ โรงเรี ย นสวนกุ ห ลาบวิ ท ยาลั ย วั ย 59 ปี สะท้ อ นถึ ง แนวทางการ ปลู ก ฝั ง นั ก เรี ย นรุ ่ น ต่ า งๆ ให้ ค งอั ต ลั ก ษณ์ ดั ง กล่ า วไว้ สามารถเป็ น ตั ว อย่ า งให้ โ รงเรี ย นอื่ น ๆ ได้ กล่ า ว คื อ ความรู ้ รั ก สามั ค คี เ กิ ด จากการหล่ อ หลอมตั้ ง แต่ ชั้ น ม.1 ใช้ เ วลา ใช้ ค วามจริ ง ใจ และศิ ษ ย์ เ ก่ า ที่ จ บไป ก็ มี ส ่ ว นส� ำ คั ญ ในการดู แ ลรุ ่ น น้ อ งต่ อ ไปในภายภาคหน้ า อั ต ลั ก ษณ์ แ ละความเป็ น สวนกุ ห ลาบวิ ท ยาลั ย จะเป็ น อย่ า งไร รองผู ้ อ� ำ นวยการพร้ อ มสะท้ อ นภาพ ทั้ ง ในอดี ต และปั จ จุ บั น จากประสบการณ์ ค วามเป็ น ครู ม ากกว่ า 30 ปี

29 issue 124 MAY 2018


ค ว า ม เ ป ็ น ค รู ใ น มุ ม ม อ ง ข อ ง อ า จ า ร ย ์ เ ป ็ น อย่ า งไร ? ในความคิดผมเริ่มตั้งแต่บุคลิก การแต่งกาย ความ ประพฤติ ที่ ส� ำ คั ญ คื อ เรื่ อ งคุ ณ ธรรม ถ้ า ครู มี คุ ณ ธรรม แล้วผมเชื่อมั่นว่าการสอนจะท�ำให้เด็กพัฒนาไปสู่คนที่ มีคุณภาพ ครูต้องมีคุณธรรม ไม่ว่าจะเมตตา กรุณา ข้อ ส�ำคัญอีกประการคือ ครูต้องมีความอดทน ต้องไม่เบื่อ ในการฝึกอบรมหรือฝึกสอนเด็ก เพราะถ้าเบื่อเมื่อไหร่ แปลว่ า เขาสอนไม่ ไ ด้ ฉะนั้ น ครู ยุ ค ใหม่ อ าจขาดตรงนี้ เรื่องความอดทน เพราะครูยุคใหม่ถูกผลิตมาโดยการใช้ สื่อฯ นวัตกรรม เทคโนโลยี แต่ครูรุ่นเก่าจะสอนได้นาน อดทนมาก พูดกับเด็กใช้จิตวิทยาสูงมาก อาจเป็นเพราะ ประสบการณ์ ที่ ส ะสมมาอย่ า งยาวนาน คนรุ ่ น ใหม่ ประสบการณ์อาจจะน้อย ความอดทนไม่พอ ต้องไม่เบื่อ กับการพร�่ำบ่นว่าอะไรถูกผิด เพราะต้องเป็นครูตลอดชีวิต ต้องเข้าใจจิตวิทยาเด็กด้วย โดยเฉพาะปัจจุบันครูต้องเข้าใจว่าเด็กไม่เหมือน เดิม เพราะว่าสังคมเปลี่ยน ในเรื่องนวัตกรรม เทคโนโลยี เข้ามามีบทบาท บางทีห่างค�ำสอนไปบ้าง ตรงนี้ส�ำคัญ มากเรื่ อ งความอดทนในการชี้ แ นะ ท� ำ ความเข้ า ใจกั บ นักเรียน

ในเรื่ อ งการใช้ ชี วิ ต ของครู นั้ น ส� ำ คั ญ เพราะว่ า การใช้ ชี วิ ต ของครู อ ย่ า งที่ ใ นหลวงบอก ต้ อ งรู ้ จั ก ความพอเพี ย ง ส� ำ คั ญ มาก การใช้ จ ่ า ยของครู มั น กระทบการจั ด การ เรี ย นการสอน

ว่าเขาไม่ใช่คนดี? กลับกัน ถ้าให้เขาอยู่ในโรงเรียนเรายังหล่อหลอม เขาได้ ต้องเข้าใจว่าเขาเป็นแบบนี้เพราะอะไร ครอบครัวแตกแยก หรือสภาพจิตบกพร่อง ต้องเข้าใจเขา สิ่งแรกต้องรู้ส่วนลึกของเด็กว่า ตัวตนของเขาคืออะไร แล้วเขามีปัญหาอะไรที่แสดงพฤติกรรมแบบ นี้ ถ้าเราพบว่าพฤติกรรมแสดงออกในทางลบแล้วมีปัญหาต่างๆ เช่น ครอบครัวแตกแยก หรือว่าพ่อแม่ไม่แตกแยกแต่อาจไม่เอาใจใส่ ร�่ำรวย มากก็จริงใช้เงินอย่างเดียวขายความรักความเข้าใจความอบอุ่น หรือ การอบรมสั่ ง สอนนั้ น ยากกว่ า การให้ เ ด็ ก ออก ว่าบางทีเป็นการบกพร่องทางสภาพจิต บางทีไฮเปอร์ สมาธิสั้น บางที จากโรงเรี ย นเพื่ อ ตั ด ปั ญ หา ตรงนี้ อ าจารย์ พ่อแม่เขาเป็นแบบนั้น แล้วเขาก็มาแสดงออกที่โรงเรียน ถ้าเราเข้าใจ มองยั ง ไง ? เรียนรู้เขาในส่วนตนแล้วมาแก้ไขปัญหา ต้องอดทนใช้ระยะเวลา บาง ผมจะเล่าประสบการณ์ในโรงเรียนให้ฟัง บางคน ครั้งบอกให้เขาเปลี่ยนเขาเปลี่ยนไม่ได้หรอก แต่เราก็ต้องใช้กลยุทธ์ ไม่เข้าใจถึงปัญหา คิดว่าเด็กคนนี้ถูกพักออกไปแล้วแสดง เทคนิคอื่นๆ มาช่วย ให้ค�ำชมบ้าง ดุบ้าง มอบหมายภารกิจให้เขาท�ำ ภารกิจที่แสดงความเป็นตัวตนให้เขาเป็นผู้น�ำมันก็ช่วยละลายหายไป ได้ แต่ต้องอดทน บางทีจะตัดสินแบบนี้ จะลงโทษแบบนี้ไม่ได้ ต้องยกให้เขา เราจะตัดสินให้ได้แบบที่เราคาดหวังเป็นไปไม่ได้ บางทีเด็กบางคนใช้ กติกาเดียวกันตัดสินไม่ได้ เพราะสภาพจิตใจแต่ละคนต่างกัน ถ้าเข้าใจ แบบนี้เมื่อไหร่เด็กเขาจะเดินมาหา พอมีปัญหาก็เดินมาหาถ้าครูเข้าใจ เขา ไว้วางใจ มีความอบอุ่นใจ ปัญหามันก็น้อยลง การผลักภาระเด็ก ไปนอกระบบไม่ควรมีในระบบโรงเรียน ถ้ามีก็ต้องมีให้น้อยมากที่สุด แต่ว่าถ้าเด็กคนนี้อยู่แล้วอาจส่งผลกระทบต่อส่วนรวมมาก เช่น เรื่อง ยาเสพติด เป็นผู้จ�ำหน่ายขายยาเสพติดก็ไม่ควรจะอยู่ใช่ไหมครับ แต่ ถ้าเขาเป็นผู้เสพ เราผลักเขาออกไปไม่ได้ ต้องบ�ำบัดต้องส่งต่อถือว่า เป็นผู้ป่วยต้องดูแล 30 IS AM ARE www.fosef.org


โลกจะเปลี่ยนอย่างไร ต้องรักษาไว้เรื่องการแต่งกาย ด�ำรงไว้ซึ่ง วัฒนธรรมและจรรยาบรรณความเป็นครูด้วย ในเรื่องการใช้ชีวิตของครูนั้นส�ำคัญ เพราะว่าการใช้ชีวิต ของครูอย่างที่ในหลวงบอก ต้องรู้จักความพอเพียง ส�ำคัญมาก การใช้จ่ายของครูมันกระทบการจัดการเรียนการสอน เช่น เงิน ไม่พอต้องสอนพิเศษ ไปซื้อรถซื้อมือถือ บางทีก็หงุดหงิดมาสอน มันส่งผลกระทบต่อเด็ก

ไม่ใช่ว่าเด็กไม่ตั้งใจเรียน ติดศูนย์มาก แล้วก็บอกให้เขา ไปเรียนโรงเรียนอื่นมันไม่ใช่ ต้องเรียกมาซ่อม เรียกมาถามว่า ท�ำไมถึงไม่เรียน ท�ำไมไม่สอบซ่อมเพราะอะไร บางทีอาจขี้เกียจ บางทีเด็กบอกติดต่อครูยาก บางทีสื่อสารกับครูไม่รู้เรื่องเขาก็ ไม่อยากจะซ่อม ก็ต้องถามให้เข้าใจถึงจะแก้ได้ บางทีเด็กเจอ ปัญหาเยอะเขาก็ตัดสินง่ายๆ ไม่เอาเสียดื้อๆ เวลาเด็กสอบซ่อม ครูก็ต้องเข้าใจงานที่ให้เด็กท�ำ บางทีเด็กพวกนี้ท�ำไม่ได้ครูต้อง ปรับงานใหม่ เช่น ให้ท�ำข้อสอบคณิตศาสตร์ไป 10 ครั้ง เด็กก็ ตก 10 ครั้ง แต่ถ้าท�ำอย่างอื่นได้ไหมที่เขาพอท�ำได้ ปรับเปลี่ยน กติกาใหม่บ้าง

เด็ ก สวนกุ ห ลาบในอดี ต กั บ ในวั น นี้ แ ตกต่ า งกั น มาก ไหม ? ไม่มากครับ ในอดีตสิ่งแวดล้อมไม่เหมือนปัจจุบัน เมื่อ ก่อนไม่มีโซเชียลฯ ยังพูดกันง่ายกว่า ทุกวันนี้ปัญหาต่างๆเกิด จากโซเชียลฯ เยอะ บางทีครูกับเด็กยังทะเลาะกันเลย ส่งผ่าน โซเชียลฯ ไม่ว่าการส่งงาน การต�ำหนิ การว่ากล่าวตอบโต้กัน ครูกับนักเรียนโกรธกันในไลน์ในเฟสบุ๊ค เพราะฉะนั้นมันแตก ต่างกัน เด็กในปัจจุบันต้องใช้จิตวิทยาสูงในการจัดการเรียนรู้ เพราะมีเรื่องสิทธิเด็ก สมัยก่อนครูเอาแปรงขว้างได้พ่อแม่ไม่ ว่าอะไร เขกกบาลได้ สมัยผมเรียนมาผมถูกตีหน้าเสาธง แต่ทุก วันนี้ท�ำได้ไหม? ระเบียบเปลี่ยนแปลงไปมาก ลงโทษนักเรียนไม่

โลกภายนอกเปลี่ ย นแปลงเร็ ว มาก ในฐานะครู ป รั บ ตั ว อย่ า งไร ? ต้องปรับตัวเรื่องวิธีการสอน ถ้าเป็นครูยุคเก่าๆ ไม่ใช้ นวัตกรรมเทคโนโลยีเลยไม่ได้ ต้องปรับตัวเรื่องกระบวนการ เรียนการสอน การจัดการเรียนรู้ให้เด็ก อย่างน้อยต้องเข้าหา สื่อต่างๆ ที่ทันสมัยขึ้น สามารถท�ำได้ เรียนรู้ได้ มันจะสร้างแรง จูงใจในการสอน ถ้าโลกปรับตัวมากๆ ครูปรับตัวเรื่องการสอน ไม่พอ ต้องปรับตัวเรื่องการด�ำเนินชีวิตของความเป็นครูด้วย แม้

31 issue 124 MAY 2018


ได้ ต้องเรียนรู้เรื่องจิตวิทยา ต้องรู้กฎหมายด้วย เช่น ไป ด่าเขามากๆ ไม่ได้ ท�ำร้ายจิตใจเขา ผิดวินัย ถูกลงโทษถ้า เป็นเรื่องเป็นราว แต่สมัยก่อนให้สิทธิครูเต็มที่ พ่อแม่เขา บอกจะท�ำอะไรก็ได้ ที่เป็นข่าวทุกวันนี้ เช่น ผู้อ�ำนวยการตบเด็ก เด็ก ถ่ายคลิปร้องเรียนเป็นข่าว หรือว่าครูให้วิ่งไม่กี่รอบเด็ก ตายยังเป็นข่าวเลย แล้วในการเรียนรู้เรื่องกฎหมายครู จะต้องเข้าใจสิทธิเด็กว่าเป็นอย่างไร วัฒนธรรมองค์กร เป็นอย่างไร แล้วเรียนรู้เด็กเป็นรายบุคคลว่าสภาพจิตใจ เขาเป็นอย่างไร มันจะช่วยลดปัญหาต่างๆ ลง ครูต้อง รู้ทันต้องเลือกใช้วิธีที่เหมาะสมจริงๆ บางครั้งตีได้เพราะ พ่อแม่สนิทกันและชอบวิธีการแบบนี้ ตัวเด็กก็เข้าใจแล้ว ยอมรับ แต่บางคนแตะไม่ได้ ตีก็ไม่ได้พ่อแม่ไม่ยอม ครู ต้องเลือกใช้วิธีให้ถูก ครูต้องประเมินแล้วว่าเด็กกลุ่มนี้ อย่ า งล่ า สุ ด เรื่ อ งทรงผม เด็ ก บอกมั น ไม่ ผิ ด หรอกเพราะว่ า เราใช้ไม้แข็งได้หรือไม่ มีความสนิทสนมยินยอมอย่างไร ระเบียบกระทรวงฯ บอกให้ไว้แบบนี้ เราบอกว่าไม่ได้ เพราะเป็น เพราะมีกฎหมายก�ำหนดไว้ นักเรียน ม.ต้น ส่วนนักเรียน ม.ปลายให้ไว้รองทรง แต่เด็กค้านว่าไม่ ได้ ระเบียบกระทรวงฯ โรงเรียนไม่ปฏิบัติตามกระทรวงฯ เห็นไหมเด็ก ยิ่ ง ทั ก ษะชี วิ ต ในเรื่ อ งจิ ต อาสาเป็ น เรื่ อ งส� ำ คั ญ หัวหมอขึ้น ต้องใช้จิตวิทยาถึงจะสยบอยู่ ไปใช้อารมณ์ไม่ได้นะ การ มั น เกิ ด ทั ก ษะชี วิ ต ได้ ก็ ต ่ อ เมื่ อ มี ค วามรู ้ ค วาม ดูแลกันยากขึ้นกว่าเดิม การด�ำรงชีพสมัยก่อนไม่เคยมีปัญหาแต่ทุกวันนี้มีปัญหามาก เข้ า ใจ เหมื อ นทุ ก วั น นี้ ข องสวนกุ ห ลาบดี อ ย่ า ง หนึ่ ง จั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนไม่ พ อ อย่างเรื่องคะแนน คะแนนลูกเขาหายไปคะแนนเดียวจะได้เกรด 4 ยัง ยั ง จั ด กิ จ กรรมประเภทฝึ ก ความเป็ น ผู ้ น� ำ ให้ เป็นเรื่องเลย มาขอดูว่าท�ำไมไม่ให้ ส่งช้าตัดไปกี่คะแนน ให้กี่คะแนน เด็ ก มี ชุ ม นุ ม ต่ า งๆ ให้ เ ด็ ก ไปท� ำ งานเองคล้ า ย ขอดูหมด สมัยก่อนได้เท่าไหร่เท่านั้น ตกคือตก เดี๋ยวนี้ไม่ได้เพราะว่า เด็กแข่งขันกันมาก เปลี่ยนไปเยอะแข่งขันกันสูง แข่งขันกันเองด้วย มหาวิ ท ยาลั ย เปรียบเทียบกันด้วย ซึ่งจริงๆ ถ้าบอกว่ากระบวนการจัดการเรียนรู้เรา ต้องการให้คนเกิดทักษะชีวิตมากกว่าความเก่ง ถ้าเด็กเก่งวิทยาศาสตร์ อย่างเดียว เก่งคณิตศาสตร์อย่างเดียวแต่ทักษะชีวิตไม่มี เด็กจะด�ำรง ชีพอยู่ได้ไหม? จะเป็นคนที่อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขไม่ได้ เพราะ เขาจะต้องเอาของเขาชนะคนอื่น เด็กก�ำลังขาดทักษะชีวิตขาดจิต อาสาจริงๆ ต้องคอยเติมเต็มตลอด บางคนกวาดห้องไม่เป็นตักขยะ ไม่ได้เก็บขยะไม่ได้-ไม่ยอมท�ำ อย่ า งที่ อ าจารย์ บ อกสมั ย นี้ ตี ไ ม่ ไ ด้ ข้ อ ห้ า มเยอะขึ้ น มั น สะท้ อ นถึ ง ความอดทนของเด็ ก สมั ย นี้ น ้ อ ยลงรึ เ ปล่ า ? ตีได้ แต่ต้องรายบุคคล ต้องสร้างความไว้วางใจก่อน แล้ว คนที่จะตีต้องมีคุณธรรมพอสมควร อย่าตัดสินเด็กด้วยใจ ต้องให้เขา ยอมรับในสิ่งที่เขาผิด ตราบใดที่เขาไม่ยอมรับอย่าลงโทษ เพราะเรา ก็ไม่รู้ว่าผิดจริงหรือไม่ เช่น ถามว่าเธอกร้าวร้าวครูเขาจริงไหมครูเขา บอกมา เด็กตอบผมไม่ได้กร้าวร้าว ผมพูดไปแบบนี้ ผมไม่คิดว่านี่คือ 32 IS AM ARE www.fosef.org


33 issue 124 MAY 2018


นี้จริงหรือไม่ ไม่ใช่ลงโทษอย่างเดียว บางทีต้องยอเขาด้วยซ�้ำว่าเห็นใจ นะว่าเป็นแบบนี้ แต่ว่าไม่ใช่สิ่งที่ดี ถ้าอนาคตที่ดีมันควรเป็นอย่างไร บอกเขา โทษครั้งนี้ครูไม่ถือ เธอไปปรับตัวใหม่ อย่างนี้เด็กก็มีความ สุข เด็กก็พัฒนา ต้องใช้จิตวิทยาและประสบการณ์ เด็กบางคนตีได้ ผมตีอยู่คนเดียว แต่การตีต้องมีเทคนิค ตีใน ที่รองรับ ตีในที่มิดชิด อย่าไปเปิดเผย อย่าไปประจาน เราให้สิทธิเขา ไม่ใช่ไปตีสุ่มสี่สุ่มห้า เด็กก็จะยินยอม ครูก็มีความสุข นักเรียนก็ยอมรับ การลงโทษ ตียังไงก็ได้แต่อย่าไปเปิดเผยให้เด็กอาย เคารพสิทธิเขาด้วย อาจารย์ ม องว่ า ทั ก ษะชี วิ ต ส� ำ คั ญ กว่ า วิ ช าการ ? ส�ำคัญมาก ยิ่งทักษะชีวิตในเรื่องจิตอาสาเป็นเรื่องส�ำคัญ มัน เกิดทักษะชีวิตได้ก็ต่อเมื่อมีความรู้ความเข้าใจ เหมือนทุกวันนี้ของสวน กุหลาบดีอย่างหนึ่ง จัดกิจกรรมการเรียนการสอนไม่พอ ยังจัดกิจกรรม ประเภทฝึกความเป็นผู้น�ำให้เด็ก มีชุมนุมต่างๆ ให้เด็กไปท�ำงานเอง คล้ายมหาวิทยาลัย เด็กไปเป็นประธานเองเลือกตั้งกรรมการบริหาร เอง ท�ำงานเอง ไม่ต้องให้ครูมาชี้นิ้ว เด็กไปคิดโครงการ คิดงาน เรา ฝึกการเป็นผู้น�ำ เริ่มตั้งแต่กระบวนการแรกต้องท�ำหนังสือเอง ร่างเอง หาทุนเอง ชุมนุนต่างๆ ที่เด็กตั้งขึ้นมาเขาจะหาเงินเอง แต่งตั้งบริหาร อยากบอกครู รุ ่ น ใหม่ ว ่ า เวลาจะตั ด สิ น นั ก เรี ย น จัดการเอง เท่าที่สัมผัสมาจากประสบการณ์ความเป็นครู โรงเรียนสวน ควรสร้ า งความคุ ้ น เคยกั บ เด็ ก ให้ เ ด็ ก พู ด แต่ ความจริ ง จากใจเขาว่ า ท� ำ ไมท� ำ แบบนี้ มั น เป็ น กุหลาบเป็นตัวอย่างที่ดีเรื่องการจัดการศึกษา ทั้งเรื่องวิชาการและ แบบนี้ จ ริ ง หรื อ ไม่ ไม่ ใ ช่ ล งโทษอย่ า งเดี ย ว กิจกรรมสร้างสรรค์ เขาไม่เอาวิชาการอย่างเดียวนะ ต้องสร้างสรรค์ บางที ต ้ อ งยอเขาด้ ว ยซ�้ ำ ว่ า เห็ น ใจนะว่ า เป็ น กิจกรรมด้วย เพราะถือว่ากิจกรรมสร้างคนให้เป็นคน ฝึกการเป็นผู้น�ำ ผู้ตาม แล้วไปสู่สังคมด้วย ซึ่งไปสอดคล้องกับอัตลักษณ์ของโรงเรียน แบบนี้ แต่ ว ่ า ไม่ ใ ช่ สิ่ ง ที่ ดี คุณเรียนจากที่นี่อัตลักษณ์ประจ�ำตัวคุณคือต้องรักเพื่อน จบไปกี่รุ่น ความกร้าวร้าว มันก็ต้องมามองอีกว่าเราจะลงโทษเขาได้ ไหม แต่ถ้าเขาบอกว่าผมกร้าวร้าวจริง อย่างนั้นฉันลงโทษ เธอนะ ปัญหาก็ไม่เกิด แต่จะตีตรงนั้นเลยก็ไม่ได้ จะถามต่อหน้าผู้อื่นก็ ไม่ได้ เวลาสืบสวนสอบสวนถามครู ครูว่าอย่างนี้ เราต้อง ไปถามเด็กอีกว่าเป็นยังไง แล้วเรามาประมวลอีกที การ ประมวลต้องไม่เอนเอียง ถ้าเราตัดสินผิดเด็กจะอคติเราจน ชั่วชีวิต ตราบใดที่เขามีความรู้สึกว่ามีความยุติธรรมเขาจะ ยอมรับ อย่าให้เกิดอคติ เพราะอคตินิดเดียวเกิดน้อยเนื้อ ต�่ำใจ ผูกคอตาย ฆ่าตัวตาย ท�ำร้ายตัวเอง อันนี้เป็นเรื่อง ส�ำคัญ เป็นเรื่องละเอียดอ่อน อยากบอกครูรุ่นใหม่ว่าเวลา จะตัดสินนักเรียน ควรสร้างความคุ้นเคยกับเด็ก ให้เด็ก พูดแต่ความจริงจากใจเขาว่าท�ำไมท�ำแบบนี้ มันเป็นแบบ 34 IS AM ARE www.fosef.org


ต้องรักกัน รุ่นพี่รุ่นน้องที่นี่รักกันเหนียวแน่นที่สุด รักเพื่อน นับถือ พี่ เคารพครู มาที่หนึ่งเลย ลูกศิษย์จะพาครูที่เกษียณอายุราชการไป เที่ยว ดูแลจัดงานรดน�้ำด�ำหัว พาครูไปกินข้าว ไปดูแลสุขภาพตรวจ สุขภาพให้หมด ใช้ วิ ธี อ ะไรให้ เ ขานั บ ถื อ กั น รั ก กั น จากรุ ่ น สู ่ รุ ่ น อย่ า งเหนี ย ว แน่ น ? เราปลูกฝังมาตั้งแต่ ม.1 ตั้งแต่เรียนปรับพื้นฐาน โรงเรียนสวน กุหลาบจัดเรียงเรื่องราวความเป็นมาเป็นฐานๆ ให้เด็กเข้าใหม่ได้เรียน รู้ก่อน โรงเรียนเรามีตึกยาวเป็นสัญลักษณ์ มีห้องสมุด มีห้องทะเบียน วัดผล มีห้องกุหลาบเพชรส่งเสริมเชิดชูคนที่เป็นเลิศด้านต่างๆ ให้เขา ทราบถึงชื่อเสียงที่ผ่านมา จากนั้นเด็ก ม.1 ต้องไปเข้าค่ายที่ชลบุรี เป็นค่ายของโรงเรียน เอานักเรียน ม.1 ไปฝึกอัตลักษณ์ที่ผมบอก “รักเพื่อนนับถือพี่ เคารพ ครู ดูแลพ่อแม่ ดูแลน้อง สนองคุณแผ่นดิน” จัดกิจกรรมเป็นฐานๆ รุ่น พี่ก็ต้องไปประมาณ 70-80 คน ไปดูแลน้อง ครูก็ดูอยู่ห่างๆ แล้วรุ่นพี่ ต้องดูแลน้องแบ่งออกเป็น 6 สี ไปอ�ำนวยความสะดวกให้น้อง น้อง นอน น้องกินอาหาร น้องท�ำกิจกรรม อันนี้ความรักพี่รักน้องรักเพื่อน ก็เกิดแล้ว รวมประมาณ 400 กว่าคน พอกลับมาโรงเรียน รุ่นพี่ ม.6

ครู รุ ่ น ใหม่ เ ขามี ค วามรู ้ สู ง กว่ า ครู รุ ่ น เก่ า นะ เขาใช้ น วั ต กรรมเทคโนโลยี เ ก่ ง ถ้ า เขาใช้ เ พื่ อ ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น จ ะ ส ร ้ า ง ค ว า ม สมบู ร ณ์ ไ ด้ ม าก แต่ สิ่ ง ที่ เ ขาต้ อ งเพิ่ ม คื อ เขา ไม่ ค ่ อ ยมุ ่ ง เน้ น เรื่ อ งวั ฒ นธรรมหรื อ ระเบี ย บ วิ นั ย ยังต้องจัดกิจกรรมให้น้องท�ำตามอัตลักษณ์แต่ละฐาน รวม ถึงจัดพิธีไหว้ครูด้วย ที่น่าประทับใจคือตรงนี้เราปลูกฝังกัน มาเรื่อยๆ แล้วรุ่นพี่ที่รับหน้าที่ดูแลน้อง ม.1 ต้องเป็นอาสา สมัครนะครับ ไม่ได้บังคับ เปิดรับเด็กก็มาสมัครแล้ว เขา อยากไปแลดูน้องในค่าย เราต้องคัดเลือกคนที่มีคุณสมบัติ มากที่สุดไป คุณสมบัติก็คือ ต้องเป็นคนที่มีจิตใจเมตตา มีความ อดทน มีบุคลิกความเป็นผู้น�ำ เพราะว่าเราจะไปฝึกการ เป็นผู้น�ำ เด็กสวนกุหลาบต้องเป็นผู้น�ำ รักเพื่อน นับถือ พี่ เคารพครู ดูแลพ่อแม่ ดูแลน้อง สนองคุณแผ่นดิน เรา คัดคนไป ต้องเสียสละ ตากแดด ตากฝน ยุงกัด ก็ต้อง

35 issue 124 MAY 2018


ดูแลตัวเองต้องดูแลน้องให้ดีที่สุด น้องกินไม่อิ่มไม่ได้ น้องต้อง กินก่อนพี่ พี่ต้องกินทีหลัง น้องจึงประทับใจพี่ นับถือพี่จะเป็น จะตาย ที่นี่ปลูกฝังแบบนี้ รุ่นพี่จะบอกน้องว่า เมื่อเข้ามาเป็นสวนกุหลาบแล้ว สิ่ง ที่ส�ำคัญที่สุดของเราก็คือการแปลอักษร เพราะการแปลอักษร ต้องใช้ความอดทน ตื่นแต่เช้ายันมืด ลุกไปไหนไม่ได้ขับถ่ายต้อง มีถุงใส่ ลงไปเข้าห้องน�้ำไม่ได้ เพราะจะแปลไม่ชนะเขาสิ แข่ง กัน 4 โรงเรียน เทพศิรินทร์ อัสสัมชัญ กรุงเทพคริสเตียน สวน กุหลาบ โรงเรียนชายล้วนแข่งกัน ต้องสู้กันฝนตกฟ้าร้องก็ต้องนั่ง อยู่นั่นแหละ คือความอดทนหลอมคนจริงๆ เด็กจะท�ำกิจกรรม กันตลอด โรงเรียนนี้ไม่มีวันปิด ช่วงที่เด็กมาเรียนปรับพื้นฐาน รุ ่ น พี่ จ ะพาเข้ า ห้ อ งเรี ย น พาเข้ า แถว สร้ า งความผู ก ผั น คื อ กิจกรรมต้องไม่ตาย กิจกรรมต้องอัดฉีด เพราะฉะนั้น การสอน เด็กที่ดีมีคุณภาพแบบนี้เป็นต้นแบบให้ที่อื่นๆ ได้ รักโรงเรียน รักกัน รักสถาบัน แล้วต้องมีอัตลักษณ์ รักเพื่อน เคารพพี่ บูชา ครู กตัญญูพ่อแม่ ดูแลน้อง สนองคุณแผ่นดิน สุดท้ายแล้วเด็ก จบไปเป็นผู้น�ำชาติบ้านเมือง เรามีผู้ว่าราชการถึง 17 จังหวัด อาจารย์ ม องว่ า กิ จ กรรมมี ส ่ ว นสร้ า งคนได้ ม าก ? ในปัจจุบัน มีส่วนเยอะมาก ทุกวันนี้เวลาเด็กสวนกุหลาบไปเจอกัน ไอ้น้องไม่ต้องเรียกลุง รุ่นพี่ รุ่น 98 อายุ 70-80 แล้ว ไอ้น้องยัง ตัวเล็กอยู่เลย แล้วเวลาแข่งขันกีฬา รุ่นพี่อายุ 70-80 นั่งรถไป เชียร์รุ่นน้องเป็นหมื่นๆ คน ศิษย์เก่ายังเหนียวแน่น เดี๋ยวเปิด เรียนวันที่ 15 พฤษาคม นี้ ศิษย์เก่ารุ่น 87 จะเข้ามาโรงเรียนแต่ง ชุดนักเรียน ใส่เสื้อ ส.ก.มา ถือกระเป๋ามาหาน้องมาร้องเพลงชาติ มาสวดมนต์ ร้องเพลงโรงเรียน มาพบน้องพูดกับน้อง แนะแนว กันหน่อยว่าพี่ต�ำแหน่งอะไร เป็นอธิบดีที่ไหน เป็นปลัดที่ไหน ฯลฯ มาเป็นตัวอย่าง มาเข้าแถวกับน้องๆ เดินผ่านซุ้มเกียรติยศ เข้ามาเลย มาเยี่ยมโรงเรียนไม่พอ ยังให้เงินให้ของที่ระลึกกับ น้องด้วย เป็นตัวอย่างให้น้อง แล้วก็พูดให้ก�ำลังใจ น้องก็แสดง ความเคารพแล้วก็ร้องเพลง “กุหลาบคืนสวน” ร�ำลึกถึงความ หลัง แล้วศิษย์เก่าจะเดินเข้ามาตลอดเวลาทั้งวัน แนะน� ำ ครู รุ ่ น ใหม่ เ ป็ น แนวทางในอาชี พ ที่ ยั่ ง ยื น ? ครู รุ ่ น ใหม่ เขามี ค วามรู ้ สู ง กว่ า ครู รุ ่ น เก่ า นะ เขาใช้ นวัตกรรมเทคโนโลยีเก่ง ถ้าเขาใช้เพื่อประกอบการเรียนการ สอนจะสร้างความสมบูรณ์ได้มาก แต่สิ่งที่เขาต้องเพิ่มคือ เขา ไม่ค่อยมุ่งเน้นเรื่องวัฒนธรรมหรือระเบียบวินัย ขาดระเบียบ วินัย เช่น การตรงต่อเวลาบ้าง การแต่งกายบ้าง การใช้จิตวิทยา การใช้ค�ำพูด ฉะนั้น ครูรุ่นใหม่เก่งอยู่แล้ว แต่ให้เขาเติมเต็ม เรื่องของวัฒนธรรมความเป็นครู การพูด การแต่งกาย การ เรียนการสอน 36 IS AM ARE www.fosef.org


แต่ไม่ถึงกับทุรนทุลาย แต่บางคนก็เสียคนไปเหมือนกัน เล่นเกม ไม่สนใจครอบครัว เกมแต่ละเกมก็เข่นฆ่ากันในเกมไม่พอ ออก มาท�ำร้ายกันข้างนอกเกมอีก การใช้สติในเรื่องการบริโภคสื่อก็ดี หรือรู้จักการใช้ก็ดี ไม่ ให้ร้ายผู้อื่นสังคมจะมีความสุข ตรงนี้ส�ำคัญ อีกเรื่องที่อยากฝาก ไว้ก็คือ สิ่งที่เป็นปัญหาของประเทศชาติก็คือเรื่องสิ่งแวดล้อม เพราะประเทศไทยอยู่ได้ด้วยสิ่งแวดล้อม ถ้าสิ่งแวดล้อมไม่ดีการ ท่องเที่ยวก็อยู่ไม่ได้ ตัวคนก็อยู่ไม่ได้ ฉะนั้นการจะไปดูแลเรื่องสิ่ง แวดล้อม จิตอาสาก็ต้องมี และที่ผมย�้ำมาตลอดก็คือ ความเป็น คนมีวินัย ถ้ามีวินัยเมื่อไหร่ทุกเรื่องก็จะตามมา เรื่องการจราจร ฝากถึ ง เยาวชน ? สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดคือ อย่าลืมเรื่องวัฒนธรรมของความเป็น เรื่องการด�ำเนินชีวิต เรื่องการเรียน เยาวชนต้องไม่ทิ้งเรื่องการ คนไทย เรื่องที่สองคืออยากให้ตระหนักเรื่องการบริโภคสื่อต่างๆ มีวินัย จึงจะเป็นคนที่สมบูรณ์ ไม่ก่อปัญหาให้กับสังคมโดยรวม ต้องมีความรู้ความเข้าใจ ต้องมีเหตุมีผลมากขึ้น วัฒนธรรมเราก็ ที่นี่จะให้ความส�ำคัญเรื่องวินัย จะอยู่ได้ ถ้างมงายในสื่อเมื่อไหร่จะเสียคน เหมือนติดสารเสพติด ที่ส�ำคัญอีกประการคือ ต้องใช้ชีวิตอย่างพอเพียง ไม่งั้น ครูรุ่นใหม่ก็จะมีรถ มีบ้าน มีนั่นมีนี่ไม่จบสิ้น พยายามจะไขว่ คว้าหา ในขณะที่ครูรุ่นเก่าได้รับเงินเดือนแล้วก็แล้วกัน สอน อย่างเต็มที่ แต่ครูรุ่นใหม่จะทะเยอทะยาน แข่งขันกัน ครูรุ่น เก่าๆ เสื้อผ้าปอนๆ แต่ครูรุ่นใหม่ไม่ได้แล้วนะ เสื้อผ้ากระเป๋า ต้องดี กลายเป็นไปสร้างหนี้สิน ส่งผลต่อสภาพจิต แล้วก็ส่งผล ต่อเด็กไม่รู้ตัว ฉะนั้นครูรุ่นใหม่เติมเต็มเรื่องเหล่านี้นิดหน่อยก็ สมบูรณ์แล้ว

37 issue 124 MAY 2018


38 IS AM ARE www.fosef.org


สุขของพ่อคือลูกพอเพียง จวบจนวั น นี้ ความเศร้ า โศกร�่ ำ ไห้ แ ม้ จ ะเบาบางลงไปบ้ า ง แต่ สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ยั ง คงอบอวลหนาแน่ น อยู ่ ใ นความ รู ้ สึ ก ก็ คื อ ความคิ ด ถึ ง อั น มากมายที่ ไ ม่ เ คยจางหาย และได้ เ พี ย รพยายามจะแปรเปลี่ ย นทุ ก ความคิ ด ถึ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ให้ เ ป็ น พลั ง เป็ น แรงผลั ก ดั น อย่ า งที่ พ ่ อ หวั ง ให้ เ ราเป็ น ไม่ บ ่ อ ยนั ก ที่ เ ราจะได้ ยิ น พระบาทสมเด็ จ พระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเอ่ยถึงความสุขของพระองค์ เอง แต่มีครั้งหนึ่ง ที่พระองค์ได้พระราชทานพระราชวโรกาส ให้คณะเอกอัครราชทูตและกงสุลใหญ่ไทย ที่ปฏิบัติราชการอยู่ ในต่างประเทศ พร้อมด้วยคณะผู้บริหารระดับสูงของกระทรวง การต่ า งประเทศ เฝ้ า ทู ล ละอองธุ ลี พ ระบาท เมื่ อ วั น ที่ 29 สิงหาคม 2550 และได้มีเอกอัครราชทูต กราบบังคมทูลถาม ว่า เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา มีพระราชประสงค์สิ่งใดที่คนไทยจะร่วมกันทูลเกล้าฯ ถวายให้ พระองค์มีความสุข พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้ มีพระราชด�ำรัสตอบว่า “...ความสุขที่มี ก็คือพอเพียงนั่นเอง ก็อย่างที่บอก พูด ถึงพอเพียง เพราะว่า ถ้าคนเขาพอเพียง คนเขามีความสุข และ เราก็มีความสุข ถ้าคนที่อยากได้โน้น อยากได้นี่มาก เราเห็นแล้ว ไม่พอเพียง เราไม่มีความสุข ความสุขของคน แสดงออกมาด้วย ความพอเพียง ส�ำคัญตรงนี้ ให้ท�ำตัวเองให้พอเพียง...” ผู้เขียนเคยได้ฟังอยู่หลายครั้ง และอ่านซ�้ำไปซ�้ำมาอยู่ หลายหน รู้สึกซาบซึ้งใจอย่างบอกไม่ถูก “...ถ้าคนเขาพอเพียง เขามีความสุข เราก็มีความสุข...” เป็นถ้อยค�ำที่เรียบง่ายและกินใจ ไม่ได้ทรงขอให้ท�ำ แต่ ทรงบอกว่าถ้าเราท�ำ แล้วเราจะมีความสุข เมื่อเรามีความสุข พระองค์ก็ทรงมีความสุขด้วย เป็นความสุขที่เกิดขึ้น ด้วยผู้อื่น มีความสุข เป็นความสุขที่แท้จริง ครั้ ง หนึ่ ง ดร.สุ เ มธ ตั น ติ เวชกุ ล เลขาธิ ก ารมู ล นิ ธิ ชั ย พัฒนา ได้เล่าถึงสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี ไว้ว่า “ทรงถอดแบบอย่างมาจากสมเด็จพระบรมชนกนาถโดย แท้จริง ในแง่ของการด�ำเนินงาน และการด�ำเนินชีวิตที่เรียบง่าย 39 issue 124 MAY 2018


การเสียสละเวลาและการทุ่มเทพระวรกายในการปฏิบัติพระราช กรณียกิจที่มากมาย โดยเฉพาะการทรงงานเพื่อพัฒนาคุณภาพ ชีวิตให้แก่ประชาชนที่ยากไร้และขาดหนทางท�ำมาหากิน ให้ คนเหล่านั้นสามารถพึ่งพาตนเองและเลี้ยงครอบครัวได้อย่าง พอเพียง” ทั้งสองพระองค์ทรงงานอย่างหนักเพื่อให้คนไทยที่มีไม่ พอ ได้พอมีพอกิน ส่วนคนที่มีเกินพอมีพอกิน หากรู้จัก “พอดี” ก็จะมีความสุข อย่างไรคือ “พอดี” พอดีคือพอประมาณ ไม่มากหรือ น้ อยจนเกิ น ไป ต้ องไม่เบียดเบียนตนเอง และไม่ท�ำ ให้ ผู ้ อื่ น

เดือดร้อน อยากมีของราคาแพง ย่อมมีได้ แต่อย่าให้เกินก�ำลัง เมื่อ มีแล้ว จงพอใจ อย่าต้องดิ้นรนจนเหนื่อยอ่อน ด้วยความอยาก มีอยากได้ต่อไปไม่สิ้นสุด ลองมองย้อนกลับมา ในวันนี้เราได้ท�ำอะไรเพื่อพระองค์ ท่านอย่างจริงจังบ้าง เพื่อตอบแทนคุณที่พระองค์ได้ทรงท�ำ เพื่อพวกเราคนไทยมาทั้งชีวิต การรู้จักพอ พอดี พอเพียง ถึง แม้พระองค์ท่านจะรับสั่งว่าถ้าทุกคนปฏิบัติ ก็เป็นสิ่งที่ท�ำให้ พระองค์ท่านมีความสุข แต่เหนือสิ่งอื่นใด ทรงปรารถนาให้เรา ทุกคนมีความสุข ด้วยความพอใจในสิ่งที่เรามี 40

IS AM ARE www.fosef.org


41 issue 124 MAY 2018


42 IS AM ARE www.fosef.org


Sufficiency:

Our Father’s Happiness

It has been almost two hundred days. The sorrow has somewhat subsided but I still miss His Majesty so very much in my heart and mind. So, I am trying to transform this feeling into new energy to guide and drive my actions as His Majesty would probably wish to see. It is not often for us to hear His Majesty King Bhumibol Adulyadej speak of his own happiness. However, there was this one time, on 29 August 2007, when His Majesty gave a royal address to a delegation of Thai ambassadors and consul-generals, along with high-level executives of the Ministry of Foreign Affairs, and this ambassador asked what His Majesty would like to receive from the Thai people on the occasion of His Majesty’s 80th birthday anniversary. What would make His Majesty happy?

To that, His Majesty replied; “Sufficiency is my happiness as I mentioned when speaking on the topic of sufficiency. When a person feels sufficient, he is happy. I am also happy. But if a person always wants to have more of this and that, I can say that he does not feel sufficient. Then, I am not happy. A person’s happiness is reflected through the feeling of sufficiency. So, it is important to ensure that one makes himself feel sufficient…” I have listened to this many times and read it over again and again. It touches me with an indescribable feeling. “…When a person feels sufficient, he is happy. I am also happy…” These words are simple yet touching. His Majesty did not ask us to do anything. His Majesty only said that if we did this, we would be happy and when we are happy, His Majesty would also be happy. It is the kind of happiness that you feel when others are happy. It is true happiness. 43

issue 124 MAY 2018


Dr. Sumet Tantivejkul, Secretary-General of the Chaipattana Foundation, once told us about Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn; “Her Royal Highness is just like Her Majesty the Queen in terms of working style, simple way of life, and hours of sacrifice and devotion of efforts on endless royal activities, especially in improving the quality of life for poor and desperate people so that they can become self-reliant and are able to sufficiently provide for their families.” Both Her Majesty and Her Royal Highness work very hard for the underprivileged Thais to ensure that they have enough to eat and live. For those of us who have more than enough to eat and live, if we can just feel “sufficient”, we will be happy. What is “sufficient”? Sufficiency is moderation – having neither too much nor too little and without causing troubles for oneself and others. It is alright to want expensive things but one should not overspend. Then, once we have acquired such things, we should learn to be content. We should not give in to the temptation of wanting more and more…of never-ending desires. Looking back, what have we really done for His Majesty to show our gratitude for His Majesty’s lifelong devotion for the Thai people? For us to feel sufficient – that is what His Majesty said would bring him happiness. But above all, His Majesty wanted us to be happy with the feeling of sufficiency in the things that we have. 44 IS AM ARE www.fosef.org


45 issue 124 MAY 2018


“...หนูเป็นโรคกระดูกเปราะโดยก�ำเนิด ตั้งแต่แม่ท�ำแท้งหนู...”

น.ส.จิณจุ ฑา จุ ่นวาที 46 IS AM ARE www.fosef.org


สั ม พาษณ์ พิ เ ศษ เมื่ อ ใดที่ ข าดหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งในชี วิ ต ว่ า ด้ ว ย 5 ค� ำ 5 ข้ อ ที่ พ ่ อ สอน ได้ แ ก่ การมี ค วามรู ้ การมี คุ ณ ธรรม การมี เ หตุ ผ ล การมี ค วามพอประมาณ และการมี ภู มิ คุ ้ ม กั น เมื่ อ นั้ น ก็ ย ากที่ จ ะควบคุ ม ชี วิ ต คน เราให้ ด� ำ เนิ น ไปอย่ า งปกติ สุ ข ได้ ดั ง เช่ น นางสาวจิ ณ จุ ฑ า จุ ่ น วาที หรื อ น้ อ งจ๊ ะ จ๋ า นั ก วิ ช าการอุ ต สาหกรรม กรมส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม วั ย 24 ปี เธอเกิ ด จากมารดาชาวไทยที่ พ ยายามท� ำ แท้ ง โดยการกิ น ยาขั บ เลื อ ด และติ ด สารเสพติ ด ส่ ว นบิ ด าซึ่ ง เป็ น ชาวจี น ก็ ไ ม่ ส ามารถอุ ป การะเลี้ ย งดู ไ ด้ เ ท่ า ที่ ค วรจะเป็ น ตั้ ง แต่ จ� ำ ความ ได้ เ ธอก็ พ บตั ว เองอยู ่ กั บ “แม่ บุ ญ ธรรม” ซึ่ ง เป็ น คนเดี ย วที่ ดู แ ลเธอมาตลอด “หนูมีพี่ชายหนึ่งคน และน้องสาวน้องชายอีกสองคน เราทุกคนมีพ่อคนเดียวกันหมดยกเว้นหนูคนเดียวเป็นลูกนอก บ้าน พ่อเล่าว่าหนูเป็นโรคกระดูกเปราะโดยก�ำเนิดตั้งแต่แม่ ท�ำแท้งหนู พอกินยาขับเลือดมากๆ เราก็เลยเป็นแบบนี้ หลัง จากนั้นพ่อก็รับหนูมาเลี้ยงที่บ้านจึงได้มาเจอแม่บุญธรรม ซึ่งพ่อ มีศักดิ์เป็นหลานเขยของแม่บุญธรรมคนนี้” อย่ า งไรก็ ต าม แม่ บุ ญ ธรรมของเธอก็ ท นไม่ ไ ด้ ที่ เ ห็ น เธอไม่ ไ ด้ รั บ การดู แ ลอย่ า งจริ ง จั ง เท่ า ที่ ค วร ด้ ว ยโรคประจ� ำ ตัว ของเธอซึ่งไม่สามารถเลี้ยงดูตามปกติเหมือนเด็กทั่ว ไปได้ แม่บุญธรรมจึงตัดสินใจพาเธอออกมาจากบ้านหลังนั้นเพื่อมา ดูแลเธออย่างใกล้ชิด จ๊ะจ๋ากล่าวว่า แต่เดิมเธอยังปั่นจักรยาน และวิ่งเล่นได้ตามปกติ พอเติบโตขึ้นเรื่อยๆ กระดูกก็ยิ่งเปราะ และหักง่าย จนเธออายุ 10 ขวบ ก็ต้องนั่งวีลแชร์มาตลอดจนถึง ปัจจุบันโดยมีแม่บุญธรรมที่เธอเรียกว่า “แม่” คอยอยู่ในสายตา ตลอดเวลา จ๊ะจ๋ายอมรับว่า เธอทราบดีที่มารดาพยายามท�ำแท้ง เธอ เพราะเธอรับรู้เรื่องราวสภาพของตนเองและครอบครัว เป็นอย่างดีมาตั้งแต่เด็กโดยไม่มีใครปิดบัง นั่นถือเป็นการฝึก ให้เธอยอมรับความจริงและยอมรับสภาพที่เป็นโดยธรรมชาติ ตั้งแต่เด็กจนโต ท�ำให้เธอไม่มีความน้อยใจหรือรู้สึกแปลกกับ ชีวิตมากนัก เพราะเธอเติบโตมาอย่างนี้ตั้งแต่แรกและคุ้นชิน กับมันเหลือเกิน

“เรายอมรับสภาพมาตั้งแต่เด็ก มันเป็นเรื่องที่เราได้ยิน มาตั้งแต่เด็กว่าเราเป็นอย่างนี้เพราะอะไร มันก็เลยไม่มีความ เปลี่ยนแปลงอะไร ถ้าอย่างพิการภายหลังเขาก็ต้องมายอมรับ สภาพตัวเอง แต่อย่างหนูเป็นมาตั้งแต่แรก เราก็เลยคุ้นชินกับ มัน เราก็ด�ำเนินชีวิตของเรามาเรื่อยๆ ไม่ต้องมาท�ำใจยอมรับ อะไรมากในภายหลัง” สิ่งที่แม่ปลูกฝังจ๊ะจ๋ามาตลอดคือ ความเป็นคนรักการ อ่าน ตั้งแต่เด็กแม้เธอจะอ่านหนังสือไม่ออกแต่แม่ก็พาเข้าห้อง สมุดอยู่เป็นประจ�ำ เมื่อถึงวัยที่จะต้องเข้าเรียนชั้นอนุบาลปรากฏ ว่าไม่มีโรงเรียนไหนรับ ท�ำให้จ๊ะจ๋าต้องใช้วิธีไปเรียนกับครูที่สอน พิเศษนักเรียนตอนเย็นหลังเลิกเรียน จนชั้น ป.1 เธอถึงจะได้ เรียนอย่างเป็นทางการที่โรงเรียนสุเหร่าทับช้าง หลังจากย้าย โรงเรียนมา 3 แห่ง เพราะบางโรงเรียนไม่อนุญาตให้ผู้ปกครอง มาเฝ้าหน้าห้องเรียนตลอดเวลา แต่แม่ของเธอเข้าใจดีว่าหากไม่ อนุญาตให้เฝ้าเธอขณะอยู่ในโรงเรียน เธออาจมีโอกาสกระดูกหัก จากอุบัติเหตุเล็กๆ น้อยๆ ได้ 47

issue 124 MAY 2018


“หนูมาเรียน ป.1 อย่างเป็นทางการที่โรงเรียนสุเหร่าทับ ช้าง เพราะที่นั่นอนุญาตให้แม่น่ังเฝ้าในสายตาตลอด โดยแลกกับ ให้แม่ช่วยสอนทักษะชีวิตให้นักเรียน เช่น การนวดแผนโบราณ และการงานอาชีพต่างๆ แต่หนูต้องใช้ไม้ค้�ำยัน ใช้จักรยานใน การเคลื่อนที่ในโรงเรียน ส่วนใหญ่เพื่อนจะช่วยยกจักรยานขึ้น ห้องเรียนให้แล้วแม่ก็อุ้มหนูขึ้นไปเรียน จนถึง ป.4 แม่หนูอุ้มไม่ ไหวแล้ว เพราะยิ่งเรียนสูงขึ้นก็ยิ่งต้องย้ายห้องบ่อย แม่ก็เลยให้ ไปเรียนที่โรงเรียนศรีสังวาลย์ ที่นั่นหนูต้องนั่งวีลแชร์เอง แล้วหนู ก็นั่งมาตลอดตั้งแต่ 10 ขวบ” เมื่อจบชั้น ม.3 จ๊ะจ๋าเริ่มมีความคิดว่าจะต้องดูแลตัวเอง ให้ได้ ด้วยค�ำถามคาใจที่ว่า “หากไม่มีแม่จะท�ำยังไง” เพราะ ที่ผ่านมาเธอยังผวากับการถูกทอดทิ้งจากบิดามารดาที่แท้จริง ถึงขนาดตื่นมาไม่เจอแม่ก็ร้องไห้เพราะคิดว่าตัวเองจะถูกทิ้งไป อีกครั้ง แต่เมื่อมาอยู่ที่โรงเรียนศรีสังวาลย์ จ๊ะจ๋าพบว่า ไม่ได้มี แต่เพียงเธอเท่านั้นที่ล�ำบาก แต่ยังมีผู้พิการด้านอื่นๆ อีกหลาย คนที่ล�ำบากกว่าเธอและขอให้เธอช่วยเรื่องต่างๆ ด้วยซ�้ำ ความ ฝังลึกเกี่ยวกับปมภายในใจนี้จึงผลักดันให้เธอคิดที่จะอยู่ให้ได้

หากไม่มีใครดูแลจริงๆ จากนั้นมาจ๊ะจ๋าจึงเข้าเรียนต่อ ม.4 ที่ โรงเรียนปากเกร็ด และขอแม่ว่าไม่ต้องมาเฝ้าเธอที่โรงเรียนอีก แล้วจนกระทั่งเธอเรียนจบชั้น ม.6 ด้วยเกรดเฉลี่ย 3.1 และ ตัดสินใจสอบเข้ามหาวิทยาลัยต่อทันที “หนูคิดว่าเราเรียนไปตามเกณฑ์ของเราปกติ บางคน ชอบคิดว่าเรามีความมานะพยายามกว่าคนอื่นซึ่งมันไม่ใช่ มัน เป็นหน้าที่ที่เราต้องรับผิดชอบ ไม่เกี่ยวว่าเราพิการพ่อแม่ทิ้งแล้ว เราจะไม่เรียนหนังสือ ไม่ใช่เหตุผลที่ดี เพราะที่ผ่านมาแม่ปลูกฝัง หนูเรื่องการเรียนมาโดยตลอด ถึงวัยเรียนก็พาหนูไปเรียน ไปเฝ้า ไปดูแลคอยอุ้มหนูขึ้นห้องเรียน เข้าไปนั่งในห้องเรียนข้างๆ หนูก็ เคยมาแล้ว เราไม่ได้โฟกัสว่าเรียนเพื่อปริญญาหรือประสบความ ส�ำเร็จในชีวิต แต่เราถูกปลูกฝังเรื่องการเรียน ตามปกติแล้วคน เราก็ควรได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาตนเอง” 48 IS AM ARE www.fosef.org


49 issue 124 MAY 2018


จ๊ ะ จ๋ า สอบติ ด คณะบริ ห ารการตลาด มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคล ธัญญบุรี แม้จะผิดหวังจากคณะสื่อสาร มวลชนที่คาดหวังไว้อันดับหนึ่ง แต่เธอก็พอใจที่มีโอกาสได้เรียน จากความสามารถของตนเอง ชีวิตในมหาวิทยาลัยแม้จะถูกมอง ด้วยสายตาไม่เข้าใจบ้าง แต่เธอก็ผ่านความยากล�ำบากกว่านี้มา แล้ว เธอได้พบเพื่อนๆ ที่มีน�้ำใจคอยช่วยเหลือให้เธอในด้านต่างๆ “หนูเป็นคนพิการคนแรกที่สอบเข้ามาเรียนภาคปกติ อยู่หอใน เรียนร่วมกับเพื่อนทุกอย่าง ชีวิตในมหาวิทยาลัยสอน หนูว่าถ้ามีเพื่อนที่ดีควรรักษาไว้ให้ดีที่สุด เพราะกระทั่งคนปกติ ด้วยกันยังไม่ค่อยจริงใจต่อกันเลย เราก็ต้องดูแลตัวเองไม่ใช่คอย แต่ให้คนอื่นช่วยเหลือ ต้องแบ่งเวลาให้ดีและมีระเบียบ อันไหน เวลาอ่านหนังสือ อันไหนเวลาอยู่กับเพื่อน อันไหนเวลาเรียน อันไหนเวลาท�ำกิจกรรม บางคนไม่เข้าใจว่าศักยภาพของเราไป ได้แค่ไหน กิจกรรมบางอย่างเขาไม่เปิดโอกาสให้เราลองท�ำ จึง ท�ำให้เราคิดว่ายังมีเส้นกั้นอยู่ส�ำหรับคนพิการ แต่เราแค่คิด และ ยอมรับ ไม่เคยโต้เถียง” จ๊ะจ๋ามีผลการเรียนถึง 3.5 แต่เมื่อจบปี 3 เธอต้องหยุด เรียนไปหนึ่งปีเพราะต้องผ่าตัดต้นขาเพื่อดูแลอาการกระดูก เปราะที่ นั บ วั น ยิ่ ง รุ ่ น แรงสวนทางกับ สภาพร่างกายที่อ ่ อ นแอ ลง ท�ำให้เธอต้องเข้าเฝือกตั้งแต่หน้าอกไปจนถึงข้อเท้า และ ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญญบุรี ลงความเห็น นอนอยู่อย่างนั้นตลอดเวลา การเรียนดูเหมือนจะมองไม่เห็น ตรงกันว่า “มันไม่ใช่ความผิดของเธอที่เธอไม่ไปเรียน แต่เป็น ฝั่งเพราะเธอไม่สามารถไปเรียนได้ แต่ผู้บริหารและคณาจารย์ เหตุสุดวิสัย” “ทางมหาวิทยาลัยอนุญาตให้หนูเรียนและอ่านหนังสือ สอบอยู่ที่หอ โดยใช้ส่ือโซเชียลเข้าช่วยในการเรียนการสอน มี อ าจารย์ แ ละเพื่ อ นๆ คอยมาเยี่ ย มและคอยแนะน� ำ ความรู ้ เกี่ ย วกั บ การเรี ย นให้ ห นู ต ลอดเวลาที่ ห นู ใ ส่ เ ฝื อ ก จนกระทั่ ง ถอดเฝือกก็พอดีกับช่วงเวลาที่หนูต้องเข้าฝึกงาน แต่แผลยัง ไม่หายดี อาจารย์เลยให้หนูฝึกงานในมหาวิทยาลัย จนจบการ ศึกษา” จ๊ะจ๋าท�ำคะแนนได้ไม่ดีนักขณะหยุดรักษาตัว จากเกรด เฉลี่ย 3.5 ลดลงเหลือ 2.5 จึงเป็นเรื่องที่เธอต้องท�ำใจยอมรับ ให้ได้ แม้ความหวังของเธอคือตั้งใจจะเรียนให้ได้เกียรตินิยม ให้ สมกับที่ได้มีโอกาสเรียน ดูเหมือนว่าชีวิตที่เธอด�ำเนินมาอย่าง คนปกตินั้นคอยสอนให้เธอเข้มแข็งขึ้นเรื่อยๆ จากความผิดหวัง มากมายที่ไม่สามารถควบคุมได้ “หนูชอบเรียนหนังสือที่สุด เพราะเป็นสิ่งที่หนูท�ำได้ดี ที่สุด หนูขอบคุณแม่ที่ปลูกฝังเรื่องการอ่านให้หนูตั้งแต่เด็ก จน หนูอ่านหนังสือได้ทั้งวัน เปิดโลกกว้างให้ตัวเอง หนูชอบอ่าน หนังสือแปลต่างๆ เช่น แฮร์รี่ พอตเตอร์ หนูอ่านจบทุกเล่ม ปี หน้าถ้าร่างกายยังไหวหนูจะเรียนปริญาโทต่อ” 50 IS AM ARE www.fosef.org


ปัจจุบัน น้องจ๊ะจ๋าท�ำงานนักวิชาการอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้ 3 เดือนแล้ว จากนโยบายเปิดโอกาสให้ คนพิการมีสิทธิ์สอบเข้าท�ำงานราชการในกรมอุตสาหกรรม และเธอก็สอบเข้าได้ตามระเบียบการ นั่นจึงเป็นความภาคภูมิใจที่สุด ยิ่งกว่ารางวัลใดๆ ที่เธอได้รับมา และคนที่ภาคภูมิใจไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าเธอก็คือแม่ของเธอนั่นเอง ผู้เป็นเหมือนสายลมใต้ปีกพยุง เธอให้ถึงฝั่งโดยไม่มีข้อแม้ใดๆ ทั้งสิ้น ท้ายที่สุด ชีวิตของจ๊ะจ๋า หรือคนพิการคนหนึ่งต้องมาพบเจอความล�ำบากมากมายในชีวิตนั้น ต้นเหตุเกิดจากความ ไม่รู้จักพอประมาณในความรักของหญิงและชายคู่หนึ่งเท่านั้นเอง หากส่งผลต่อคนๆ หนึ่งไปตลอดชีวิต ฉะนั้น หากเราวิเคราะห์ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หรือ 5 ค�ำ 5 ข้อที่พ่อสอนอย่างแท้จริงจะพบว่า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเหมือน ประทีปส่องน�ำให้กับชีวิตของทุกคน แม้ว่าเราจะเลือกเกิดไม่ได้ก็ตาม

51 issue 124 MAY 2018


52 IS AM ARE www.fosef.org


เผยผิ ว ใสไร้ ริ้ ว รอย ด้ ว ย สบู ่ ว ่ า นหางจระเข้ ภั ท รพั ฒ น์ คุ ณ ค่ า จากว่ า นหางจระเข้ ที่ ช ่ ว ยลดรอยแดงจากการอั ก เสบของผิ ว ที่ โ ดนแดด ลดเลื อ นริ้ ว รอย ฝ้ า กระ จุ ด ด่ า งด� ำ เพิ่ ม ความชุ ่ ม ชื่ น ให้ ผิ ว ไม่ แ ห้ ง กร้ า น เมื่ อ ใช้ เ ป็ น ประจ� ำ ผิ ว หน้ า กระจ่ า งใสขึ้ น อย่ า งเป็ น ธรรมชาติ สามารถหาซื้อได้ที่ร้านภัทรพัฒน์ทุกสาขาหรือสั่งซื้อออนไลน์ได้ทาง Facebook/Patpat9 ภัทรพัฒน์สินค้าจากมูลนิธิชัยพัฒนา และ www.patpat9.com 53 issue 124 MAY 2018


บนเส้นทางคุณธรรมพุทธฉือจี้ ประเทศไต้หวัน

ขยะสร้างคน คนสร้างเมือง

“บ้ า นเมื อ งเขาสะอาดเป็ น ระเบี ย บจั ง เลย” อาจารย์ ท ่ า นหนึ่ ง ในคณะซึ่ ง ร่ ว มเดิ น ทางไปกั บ มู ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพี ย งในนาม “ซู เ ปอร์ ค รู ” ผู ้ อุ ทิ ศ แรงกายแรงใจให้ กั บ การขั บ เคลื่ อ นหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง สู ่ ส ถานศึ ก ษา กล่ า วบนรถทั ว ร์ น� ำ เที่ ย วขณะก� ำ ลั ง เดิ น ทางไปศึ ก ษาดู ง านที่ “มู ล นิ ธิ พุ ท ธฉื อ จี้ ” ประเทศไต้ ห วั น ระหว่ า งวั น ที่ 25-28 เมษายน พ.ศ.2560

54 IS AM ARE www.fosef.org


เส้ น ทางธรรมพุ ท ธฉื อ จี้

แน่นอนว่าความสะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อยใน บ้านเมือง ย่อมต้องใช้ “กฎหมาย” มาบังคับใช้ส�ำหรับ คนหมู่มาก ที่ไต้หวันมีมาตรการจัดการขยะอย่างได้ผล จนเป็นต้นแบบให้กับหลายประเทศที่ต่างเดินทางเข้ามา ศึกษาดูงานและน�ำไปปรับใช้กับองค์กรของตนเองอย่าง แพร่หลาย กล่าวคือ แต่ละบ้านหรือร้านค้าต่างๆ ต้อง ออกมายืนรอรถขยะหน้าบ้านตนเองตามเวลานัดหมาย แล้วโยนขยะขึ้นรถเองเสร็จสรรพ เพราะที่นี่มีแต่รถขน ขยะ ไม่มีพนักงานขนให้ ทุกคนต้องน�ำขยะของตนเอง ใส่ถุงด�ำให้เรียบร้อยโดยผ่านการตรวจจากเจ้าหน้าที่บน รถ กฎหมายก�ำหนดราคาค่าเก็บขยะถุงเล็ก ถุงกลาง ถุง ใหญ่แตกต่างกัน ดังนั้น คนไต้หวันจึงแยกขยะก่อนให้เหลือปริมาณ น้อยที่สุดเพื่อลดค่าใช้จ่ายให้เหลือเพียง “ถุงเล็ก” ในการ ส่งขยะให้รถเก็บแต่ละครั้ง เช่น กระดาษหนังสือพิมพ์ ขวด น�้ำเปล่า เสื้อผ้า กล่องกระดาษ เศษพลาสติก หรือถ้วยใส่ นอกจากการคิดค่าทิ้งขยะแล้ว ประเทศไต้หวันยังมีองค์กร อาหารส�ำเร็จรูปที่ไม่เปรอะเปื้อนอาหาร ถูกแยกออกต่าง สาธารณกุศลคือ “มูลนิธิพุทธฉือจี้” ซึ่งมองว่า “ขยะคือเงินทอง” หาก แล้วน�ำไปขายหรือบริจาค ท�ำให้ขยะที่เป็นขยะจริงๆ โดยริเริ่มการแยกขยะอย่างเป็นระบบ ละเอียด ถี่ถ้วน ถือเป็นแรง เหลือน้อยมาก บวกอี ก ปั จ จั ย หนึ่ ง นอกเหนื อ จากที่ ก ฎหมายบั ง คั บ ท� ำ ให้ ร ้ า นรวง ต่างๆ ในประเทศไต้หวันน�ำวิธีการแยกขยะเข้ามาใช้ในองค์กรตัวเอง อย่างเป็นระบบ เช่น ร้านอาหารแบบบุฟเฟต์ จะให้จาน ถ้วย และ ช้อนส้อมกับตะเกียบเฉพาะคน เมื่อรับประทานเสร็จต้องยกไปวางที่ เคาน์เตอร์ แยกจาน ช้อนส้อม กระดาษไว้ต่างหาก แบบโรงอาหาร ในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยบางแห่งของประเทศไทย ฉะนั้น เครื่อง มือรับประทานอาหารจากร้านค้าจะมีให้เพียงชุดเดียว ไม่มีการเปลี่ยน จาน หรือเปลี่ยนถ้วยน�้ำชา ซึ่งช่วยลดการเกิดขยะ รวมถึงลดปริมาณ ขยะเปียก เมื่อร้านค้าต่างๆ พากันคัดแยกขยะ หรือเห็นขยะเป็นเงินทอง แบบมูลนิธิพุทธฉือจี้แล้ว ประชาชนในไต้หวันจึงหันมาใช้ถุงผ้า เพราะ ร้านสะดวกซื้อต่างๆ ไม่มีถุงพลาสติกให้ ผู้ซื้อต้องเตรียมมาเอง จึง ท�ำให้ระบบการเก็บขยะที่ไต้หวันวางไว้ได้ผลทั้งในด้านสิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยว เศรษฐกิจและด้านสังคม ทั้งยังส่งผลถึงความสัมพันธ์ ระหว่างเพื่อนบ้านซึ่งมีโอกาสพบปะพูดคุยช่วยเหลือกันระหว่างรอ ส่งขยะขึ้นรถ ดู เ หมื อ นเรื่ อ งขยะส� ำ หรั บ ประเทศไต้ ห วั น จะ “ไม่ ใ ช่ สิ่ ง ไร้ ค่ า ” อี ก ต่ อ ไป โปรดติ ด ตามตอนต่ อ ไป 55 issue 124 MAY 2018


ตัวอย่างพระราชกรณียกิจ การจะเข้าไปพัฒนาชุมชนใดๆ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงยึดหลัก “ภูมิสังคม : ดิน น�้ำ ลม ไฟ” ที่ให้ความส�ำคัญกับสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัวคน รวมทั้งทรงท�ำประชาพิจารณ์ให้ประชาชน ได้เข้ามา “มีส่วนร่วม” โดยทรงเน้นอธิบายถึงความจ�ำเป็นและผลที่จะเกิดจากโครงการ เพื่อหลีกเลี่ยง ความขัดแย้ง รวมทั้งสอบถามความเห็นว่ามีความพร้อมและยินดีที่จะร่วมด�ำเนินการพัฒนานั้นๆ หรือ ไม่ เพื่อให้เป็นการ “ระเบิดจากข้างใน” โดยยึด “ประโยชน์สูงสุดของส่วนรวมและประเทศชาติ” โดย หากได้ผลดีแล้วจึงขยายผลออกไปในวงกว้างต่อไป ดังพระราชกรณียกิจและโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริมากมายกว่า ๔,๓๕๐ โครงการ ที่ล้วนเป็นการทรงงานเพื่อมุ่งประโยชน์สุขแก่ประชาชน และประเทศชาติเป็นหลักใหญ่ โดยทรงเริ่มตั้งแต่การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่เป็นปัจจัยส�ำคัญในการ ด�ำรงชีวิต เพื่อให้พสกนิกรของพระองค์มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จนถึงการวางรากฐานการพัฒนาที่มั่นคง และยั่งยืนโดยแยกออกเป็นประเภทต่างๆ ได้ ๘ ประเภท คือ การพัฒนาแหล่งน�้ำ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม การเกษตร การส่งเสริมอาชีพ การคมนาคม สื่อสาร สาธารณสุข สวัสดิการสังคม และ โครงการส�ำคัญอื่นๆ 56 IS AM ARE www.fosef.org


สั จ ธรรมแห่ ง แนวพระราชด� ำ ริ • การพั ฒ นาแหล่ ง น�้ ำ โครงการพัฒนาแหล่งน�้ำอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ส่วนใหญ่ มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยแก้ไขปัญหาหรือบรรเทาความ เดื อ นร้ อ นเกี่ ย วกั บ น�้ ำ จนสามารถตอบสนองความต้ อ งการ พื้นฐานของราษฎรได้เป็นหลัก และมีหลายโครงการที่มีวัตถุ ประสงค์หลายๆ อย่างไปพร้อมกัน เพื่อให้มีการใช้น�้ำอย่างคุ้ม ค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด โดยแบ่งเป็น ๕ ประเภท คือ (๑) การพัฒนาแหล่งน�้ำเพื่อการเพาะปลูกและอุปโภคบริโภค อาทิ การท�ำฝนเทียมหรือฝนหลวง โครงการก่อสร้างอ่างเก็บน�้ำและ ฝายทดน�้ำ (๒) การป้องกันและบรรเทาปัญหาอุทกภัย อาทิ การก่อสร้างคันกั้นน�้ำและคลองผันน�้ำ การปรับปรุงสภาพล�ำน�้ำ การระบายน�้ำออกจากพื้นที่ลุ่ม และโครงการแก้ม ลิง (๓) การ แก้ไขปัญหาคุณภาพน�้ำ เช่น การแก้ไขปัญหาน�้ำเค็มรุกล�้ำล�ำน�้ำ ท� ำ ความเสี ย หายแก่ พื้ น ที่ เ พาะปลู ก การใช้ คุ ณ ภาพน�้ ำ ดี ช ่ ว ย บรรเทาน�้ำเน่าเสียในล�ำคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานคร การ บ�ำบัดน�้ำเสียด้วยผักตบชวา และโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนา สิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย จังหวัดเพชรบุรี เป็นต้น (๔)โครงการ • ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม พัฒนาแหล่งน�้ำเพื่อการอนุรักษ์ต้นน�้ำล�ำธาร โดยการสร้างฝาย โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริส่วนใหญ่ ต้นน�้ำล�ำธารหรือฝายชะลอความชุ่มชื้น และ (๕) โครงการ เป็ น วิ ธี ก ารท� ำ นุ บ� ำ รุ ง และปรั บ ปรุ ง สภาพทรั พ ยากร พัฒนาแหล่งน�้ำเพื่อการผลิตไฟฟ้า และสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น อาทิ การอนุรักษ์และพัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติ ดิน น�้ำ และป่าไม้ ซึ่งมีสาระโดย ในหลวงรั ช กาลที่ ๙ ทรงให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ งาน สรุป ได้แก่ (๑) การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรดินได้ สาธารณสุ ข เป็ น อย่ า งยิ่ ง ดั ง จะเห็ น ได้ ว ่ า โครงการ พระราชทานพระราชด�ำริในการแก้ปัญหาเรื่องดิน ทั้ง ที่ พ ระราชทานให้ กั บ ประชาชนในระยะแรกๆ เป็ น การ ในแง่ของการแก้ปัญหาดินที่เสื่อมโทรม ขาดคุณภาพ พระราชทานพระราชทรั พ ย์ ส ่ ว นพระองค์ ใ นการ และการขาดแคลนที่ดินท�ำกินส�ำหรับเกษตรกร อาทิ ก่ อ สร้ า งสถานบริ ก ารสาธารณสุ ข และระยะต่ อ มา สนับสนุนให้เกษตรกรเรียนรู้และเข้าใจวิธีการอนุรักษ์ เป็ น โครงการพั ฒ นาสุ ข ภาพอนามั ย ให้ แ ก่ ป ระชาชน ดินและน�้ำ การจัดสรรและปฏิรูปที่ดิน (๒) การอนุรักษ์ ทรั พ ยากรแหล่ ง น�้ ำ อาทิ พระองค์ ไ ด้ พ ระราชทาน พระราชด� ำ ริ เ กี่ ย วกั บ การพิ จ ารณาสร้ า งฝายชะลอ ความชุ่มชื้น เพื่อสร้างระบบวงจรน�้ำแก่ป่าไม้ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด (๓) การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ อาทิ การปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก ป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง และป่าชายเลน • การเกษตร แ น ว พ ร ะ ร า ช ด� ำ ริ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร พั ฒ น า ประสิทธิภาพการผลิตทางเกษตรที่ส�ำคัญคือ การที่ ทรงเน้นในเรื่องของการค้นคว้า ทดลอง และวิจัยหา พันธุ์พืชต่างๆ ใหม่ๆ ทั้งพืชเศรษฐกิจ เช่น ข้าว หม่อน 57 issue 124 MAY 2018


ไหม ยางพารา ฯลฯ พืชเพื่อการปรับปรุงบ�ำรุงดิน และพืชสมุนไพร ตลอดจนการศึกษาเกี่ยวกับแมลง ศัตรูพืชรวมทั้งพันธุ์สัตว์ต่างๆ ที่เหมาะสม เช่น โค กระบือ แพะ พันธุ์ปลา และสัตว์ปีกทั้งหลาย เพื่อ แนะน� ำ ให้ เ กษตรกรน� ำ ไปปฏิ บั ติ ไ ด้ ร าคาถู ก ใช้ เทคโนโลยีที่ง่ายและไม่สลับซับซ้อน และทรงเห็น ว่าการพัฒนาการเกษตรที่จะได้ผลจริงนั้น ต้อง ลงมือทดลองค้นคว้า ปฏิบัติอย่างค่อยเป็นค่อยไป มุ่งใช้ประโยชน์จากธรรมชาติให้มากที่สุด • การส่ ง เสริ ม อาชี พ ส�ำหรับการส่งเสริมอาชีพนั้น หากเป็นโดย ทางอ้อมแล้ว โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ส่วนใหญ่ เมื่อได้ด�ำเนินการบรรลุวัตถุประสงค์ของ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริแล้วจะท�ำให้ เกิดการส่งเสริมอาชีพแก่ราษฎรในพื้นที่ใกล้เคียง โดยเฉพาะศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก พระราชด� ำ ริ ทั้ ง หลาย จุ ด มุ ่ ง หมายที่ ส� ำ คั ญ ของ การจัดตั้งขึ้นมาเพื่อที่จะให้มีการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิ จั ย เพื่ อ แสวงหาแนวทางและวิ ธี ก าร พัฒนาด้านต่างๆ ที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม

และการประกอบอาชีพของราษฎรที่อาศัยในภูมิภาคนั้นๆ เพื่อ ให้ราษฎรสามารถน�ำไปปฏิบัติได้อย่างจริงจัง ส่วนโครงการประเภทการส่งเสริมอาชีพโดยตรงนั้นมี จ�ำนวนไม่น้อย ทั้งนี้เพื่อเป็นการช่วยเหลือให้ประชาชนสามารถ พึ่งตนเองได้ ดังเช่น โครงการศิลปาชีพทั่วประเทศโครงการฝึก อบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรในหมู่บ้านรอบศูนย์ ศึกษาการพัฒนาฯ โครงการส่งเสริมอุตสาหกรรมน�้ำมันปาล์ม ขนาดเล็ก โครงการศูนย์บริการการพัฒนาขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ ผลบ้านไร่ จังหวัดเชียงใหม่ และโครงการอื่นๆ อีกมาก

พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ ้ า อ ยู ่ หั ว ท ร ง ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ค ว า ม ส� ำ คั ญ แ ล ะ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข องภู มิ สั ง คม ได้ แ ก่ ทรั พ ยากร ธรรมชาติ สิ่ ง แวดล้ อ ม และมนุ ษ ย์ ที่ จ ะ ต้ อ งด� ำ เนิ น ชี วิ ต อยู ่ ร ่ ว มกั น อย่ า งยั่ ง ยื น

• การคมนาคม/สื่ อ สาร โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริด้านคมนาคม การ สื่อสารและเทคโนโลยีจะเกี่ยวกับการปรับปรุงถนนหนทางทั้งใน ชนบทที่อยู่ห่างไกลความเจริญ เพื่อใช้สัญจรไปมาและน�ำสินค้า ออกมาจ�ำหน่ายภายนอกได้โดยสะดวก รวมถึงโครงการขยาย ถนน สร้างสะพานต่างๆ ที่ได้พระราชทานแนวพระราชด�ำริ เพื่อ แก้ไขปัญหาการสัญจรของประชาชนในกรุงเทพมหานครให้ได้ รับความสะดวกยังส่งผลสู่ความเจริญเติบโตทั้งด้านสังคมและ เศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศ 58 IS AM ARE www.fosef.org


59 issue 124 MAY 2018


• สาธารณสุ ข พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้ความส�ำคัญกับงาน สาธารณสุขเป็นอย่างยิ่ง ดังจะเห็นได้ว่าโครงการที่พระราชทาน ให้กับประชาชนในระยะแรกๆ เป็นการพระราชทานพระราช ทรั พ ย์ ส ่ ว นพระองค์ในการก่อสร้างสถานบริก ารสาธารณสุ ข และระยะต่ อ มาเป็ น โครงการพั ฒ นาสุ ข ภาพอนามั ย ให้ แ ก่ ประชาชน เมื่อประชาชนมีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงจะน�ำไป สู่สุขภาพจิตที่ดี และส่งผลให้การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดี ตามไปด้วย • สวั ส ดิ ก ารและสั ง คม โครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ ด ้ า นสวั ส ดิ ก าร สังคม เป็นโครงการเพื่อช่วยเหลือราษฎรให้มีที่อยู่อาศัย ที่ท�ำกิน และได้รับสิ่งอ�ำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐานที่จ�ำเป็นในการด�ำรง ชีวิต ทั้งนี้เป็นการส่งเสริมให้ราษฎรมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น โดย จัดหาที่อยู่อาศัยและที่ท�ำกินให้แก่ราษฎร ตลอดจนสิ่งจ�ำเป็น ขั้นพื้นฐานที่ประชาชนพึงจะได้รับ เช่น แหล่งน�้ำเพื่อใช้ในการ โครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ ส ่ ว นใหญ่ เ ป็ น วิ ธี ก ารท� ำ นุ บ� ำ รุ ง และปรั บ ปรุ ง สภาพทรั พ ยากรและ สิ่ ง แวดล้ อ มให้ ดี ขึ้ น อาทิ การอนุ รั ก ษ์ แ ละพั ฒ นา ทรั พ ยากรธรรมชาติ ดิ น น�้ ำ และป่ า ไม้ อุปโภคบริโภค เพื่อให้มาตรฐานความเป็นอยู่ของราษฎรดีขึ้น พออยู่ พอกิน ด�ำรงชีวิตอยู่ด้วยความผาสุก • โครงการพระราชด� ำ ริ ที่ ส� ำ คั ญ อื่ น ๆ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริที่ส�ำคัญอื่นๆ ได้แก่ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำรินอกเหนือจากโครงการทั้ง ๘ ประเภทที่ระบุมาแล้วข้างต้น เช่น โครงการก่อสร้างเขื่อน ป้องกันน�้ำทะเลกัดเซาะอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัด เพชรบุ รี และโครงการด้ า นการศึ ก ษา การวิ จั ย การจั ด และ พัฒนาที่ดิน เป็นต้น “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” : หลักการพัฒนาเพื่อความสุข ของปวงประชาอย่างยั่งยืน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักถึงความ ส� ำ คั ญ และความสั ม พั น ธ์ ข องภู มิ สั ง คม ได้ แ ก่ ทรั พ ยากร ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และมนุษย์ ที่จะต้องด�ำเนินชีวิตอยู่ร่วม กันอย่างยั่งยืนทรงชี้แนะถึงความส�ำคัญของการอนุรักษ์และ พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมควบคู่ไปกับการ 60 IS AM ARE www.fosef.org


พัฒนาคน ดังนั้น ความเสื่อมโทรมและการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดการใช้อย่างฟุ่มเฟือยไม่ยั้งคิด ขาดความระมัดระวังนั้น จ�ำเป็นที่จะต้องมีการสร้างเสริมขึ้นมาทดแทน เพื่อมิให้เกิดผลกระทบต่อวงจร ชีวิตของการอยู่ร่วมกันของสรรพสิ่งในระบบนิเวศ ซึ่งเป็นไปตามแนวพระราชด�ำริในเรื่อง “การพัฒนา อย่างยั่งยืน” ดังพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๒๓ ความตอนหนึ่งว่า “...การจะพัฒนาทุกสิ่งทุกอย่างให้เจริญขึ้นนั้น จะต้องสร้างและเสริมขึ้นจากพื้นฐานเดิมที่มีอยู่ ก่อนทั้งสิ้น ถ้าพื้นฐานไม่ดีหรือคลอนแคลนบกพร่องแล้ว ที่จะเพิ่มเติมเสริมต่อให้เจริญดีขึ้นไปอีกนั้น ยากที่จะท�ำได้ จึงควรเข้าใจให้แจ้งชัดว่านอกจากจะมุ่งสร้างความเจริญแล้วยังจะต้องพยายามรักษาพื้น ฐานให้มั่นคงไม่บกพร่องพร้อมๆ กันไปด้วย...” 61 issue 124 MAY 2018


ความจริงของชีวิตที่เจริญงอกงาม ขึ้นมาจากใจตนเองอย่างเป็นธรรมชาติ

สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ เ กิ ด มาในโลก แม้ มี รู ป ลั ก ษณะอย่ า งหลากหลาย อี ก ทั้ ง ยั ง มี พื้ น ฐานที่ ม าแตกต่ า งกั น แต่ บ นพื้ น ฐานธรรมชาติ ข องมนุ ษ ย์ แ ต่ ล ะคน หากรู ้ ไ ด้ ถึ ง ความจริ ง ย่ อ มพบเองว่ า ทุ ก ชี วิ ต ต่ า งก็ มี ค วามส� ำ คั ญ ในด้ า น คุ ณ ค่ า เท่ า เที ย มกั น หมด เมื่อคิดถึงเรื่องต้นไม้ จากผลงานเกี่ยวกับกล้วยไม้เท่า ที่ฉันมุ่งมั่นปฏิบัติมาแล้วอย่างแน่วแน่ มีผลท�ำให้คนส่วนใหญ่ ในสังคมนี้มองด้วยความรู่สึกว่าฉันเป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องต้นไม้! แม้ความสนใจที่มุงธรรมชาติ ก็มักมีแนวโน้มมองไปยังป่าเขา ล� ำ เนาไพรและต้ น ไม้อีก เช่น กัน ดังเช่น ที่มัก ได้ยิน ค�ำ ปรารภ บ่อยๆ ว่า เพราะอาจารย์ระพี อยู่กับต้นไม้สวยๆ งามๆ จึง เป็นคนใจเย็น มาถึงช่วงนี้ ความรู้สึกอัดอั้นตันใจซึ่งเกิดจากการมอง ภาพดังกล่าวโดยคนส่วนใหญ่ที่เข้าไม่ถึงแก่นแท้ ท�ำให้ฉันต้อง

ขออนุ ญาตใช้ โ อกาสนี้ เปิ ด เผยความในใจให้ ทุ ก คนได้ ท ราบ ความจริง หากใครคิดว่า ตลอดชีวิตที่ผ่านพ้นมาแล้ว ฉันมุ่งมั่น ค้นคว้าหาความจริงที่ต้นไม้ ตนคงต้องยอมรับ แต่ใคร่ขอชี้แจง ต่อไปอีกว่า ต้นไม้ซึ่งฉันมุ่งมั่นนั้นคือพันธุ์อะไรและมีถิ่นก�ำเนิด เกิดมาจากไหน? แต่ละคนควรค้นหาความจริงได้เอง ชีวิตฉันล่วง 82 ปี เข้าปีนี้แล้ว แต่ก็ยังจ�ำได้ดีกว่า ตน เริ่มต้นเพาะเมล็ดต้นไม้พันธุ์ที่ฉันรักมากที่สุดลงบนแผ่นดินถิ่น เกิดตั้งแต่ยังเป็นเด็กเล็กๆ คนหนึ่ง 62

IS AM ARE www.fosef.org


ความจริ ง ของชี วิ ต หลังจากเห็นว่า มียอดและใบอ่อนผลิออกมาอย่างมีชีวิต ชีวา ฉันก็ได้เฝ้าฟูมฟักรักษาอย่างฝังจิตฝังใจมาตลอด หลายครั้ง หลายหน ตนจ�ำต้องต่อสู้กับกระแสอิทธิพลจากกิเลสมนุษย์ที่ยืน อยู่อีกด้านหนึ่ง ซึ่งต้องการท�ำลายชีวิตต้นไม้พันธุ์ที่ฉันรักมาก ที่สุด เพราะหวังประโยชน์ส่วนตนเป็นใหญ่ ช่วยให้ต้นไม้ซึ่งฉันมั่นหมายที่จะรักษาไว้จากใจจริง มี โอกาสเจริญงอกงาม ผลิดอกออกผลสวยสดงดงามให้ผู้คนทั่ว โลกได้ชื่นชมสมใจ ท�ำให้ฉันบังเกิดความสุขลึกซึ้งยิ่งขึ้น ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ฉันรู้ดีว่า ต้นไม้พันธุ์ที่คนส่วน ใหญ่มองเห็นกันนั้นมันเป็นพันธุ์ธรรมดา ซึ่งแต่ละคนสามารถ เห็นได้ไม่ยาก นอกจากนั้น ฉันยังเห็นว่าพันธุ์เหล่านั้น แม้จะ มีดอกสวยงามและให้รสชาติถูกใจแค่ไหน แต่หลังจากนั้น ดอก ก็ย่อมเหี่ยวเฉาร่วงโรยไป แม้มีผล หากไม่ถูกคนและการบริโภค ย่อมร่วงหล่นลงดินไปในที่สุด ฉั น เชื่ อ มั่ น ว่ า ต้ น ไม้ พั น ธุ ์ นี้ มี เ พี ย งหนึ่ ง เดี ย วและ เจริ ญ เติ บ โตขึ้ น มาจากหั ว ใจ โดยถื อ วิ ญ ญาณที่ ผู ก พั น อยู ่ กั บ พื้ น ดิ น อั น เป็ น ถิ่ น ก� ำ เนิ ด และคงไม่ มี วั น จะเหี่ ย วเฉาร่ ว งโรยหรื อ สู ญ หายไปไหน

แต่ต้นไม้พันธุ์ที่ฉันปลูกและเฝ้าท�ำนุบ�ำรุงอย่างฝังจิต ฝังใจมาตลอดชีวิตอันยาวนานนั้น มันหาใช่พันธุ์ซึ่งผู้คนจ�ำนวน มากมองเห็นจนกระทั่งเกิดความเคยชินไม่ ฉั น จึ ง ขออนุ ญ าตตั้ ง ชื่ อ ต้ น ไม้ พั น ธุ ์ นี้ ว ่ า “ความรั ก ใน สัจธรรม ซึ่งฉันปลูกไว้ในหัวใจตนเองและรักษาไว้อย่างสุดชีวิต ฉันได้มอบดอกที่บานสวยงามซึ่งมีอยู่แล้วในใจตนเอง” ให้กับ เพื่อนมนุษย์ทุกคนอย่างปราศจากการเลือกที่รักมักที่ชัง เพียง แต่ว่า ใครมีรากฐานจิตใจใกล้ชิดฉันมากที่สุดย่อมได้รับก่อนคน อื่นอย่างเป็นธรรมชาติ ฉันเชื่อมั่นว่า ต้นไม้พันธุ์นี้มีเพียงหนึ่งเดียวและเจริญ เติบโตขึ้นมาจากหัวใจ โดยถือวิญญาณที่ผูกพันอยู่กับพื้นดินอัน เป็นถิ่นก�ำเนิด และคงไม่มีวันจะเหี่ยวเฉาร่วงโรยหรือสูญหาย ไปไหน หากยังคงอยู่อย่างมั่นคงตลอดไปเป็นอมตะ ถ้าผู้เป็น เจ้าของด�ำรงชีวิตอยู่ต่อไปโดยไม่ประมาท 63 issue 124 MAY 2018


64 IS AM ARE www.fosef.org


นอกจากนั้น ยังมีโอกาสสืบทอดสายพันธุ์ต่อไป สู่รากฐานจิตใจชนรุ่นหลังผู้มีใจรักในสิ่งเดียวกัน โดยที่รู้สึก ได้เองอย่างเป็นธรรมชาติว่า เป็นพันธุ์ซึ่งมีคุณค่าที่สุดส�ำหรับชีวิตตน เมื่อใดที่ฉันรู้สึกว่า ตนก�ำลังจะสูญเสียต้นไม้พันธุ์นี้ไปจากวิญญาณที่มั่นหมาย เมื่อนั้นอาจต้องถึงขั้นสังเวยด้วย น�้ำและปุ๋ย ซึ่งหมายถึง ชีวิตตัวเองอันถือเป็นสิ่งหวงแหนเหนืออื่นใดทั้งหมด ดังที่หลักธรรมได้ชี้น�ำไว้ว่า จงสละชีวิตเพื่อรักษาธรรมะ สิ่งนี้คือสัจธรรมซึ่งมีอยู่ในดวงวิญญาณฉันมาตลอด อีกทั้งนับวันก็ยิ่งหยั่งรากลงสู่พื้นดินลึกซึ้งยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม ฉันเชื่อในความจริงว่า บนวิถีทางอันเป็นธรรมชาติ คงไม่มีสิ่งใดเป็นร้อยทั้งร้อย อย่างน้อยหนึ่งเดียว ที่เหลืออยู่ ก็ยังช่วยให้ก�ำลังใจฟื้นคืนมาได้ ถ้ารู้จักอดทนรอคอยด้วยความหวังอย่างปราศจากการยึดติดอยู่กับกาลเวลา คงมีแต่การมุ่งมั่นน�ำปฏิบัติทุกรูปแบบอย่างดีที่สุด จึงขอสรุปไว้ ณ โอกาสนี้ว่า ความจริงซึ่งธรรมชาติได้มอบให้มาภายในรากฐานจิตใจของแต่ละคนผู้มีโอกาส เกิดมาสู่โลก หากสามารถรู้ได้ถึงคุณค่า และรักษาไว้อย่างมั่นคงตลอดมา อีกทั้งมุ่งมั่นท�ำงานเริ่มต้น จากสิ่งใดก็ได้ ที่สร้างแรงดลใจ โดยมีความรัก ความสนใจเรียนรู้ ความจริงจากเพื่อนมนุษย์ทุกคน จากใจตนเองอย่างอิสระ รวม ถึงทุกสิ่งซึ่งพบได้ ในวิถีการด�ำเนินชีวิตของตนอย่างปราศจากกรอบก�ำหนดธรรมชาติ ในรากฐานจิตใจตน ย่อมน�ำ ชีวิตให้มุ่งไปสู่ความสุขความส�ำเร็จเองได้ ทุกเรื่องในที่สุด 65 issue 124 MAY 2018


ดวงตา เป็นหน้าต่างสู่ความทรงจ�ำต่อโลกกว้าง เรื่องโดย : พญ.จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ

ฉบั บ นี้ เ ราจะคุ ย กั น ต่ อ เรื่ อ ง “การมองเห็ น ” เช่ น เดี ย วกั บ การได้ ยิ น การมองเห็ น มี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ พั ฒ นาการของเด็ ก ทุ ก ด้ า น ด้ ว ยการมองเห็ น เด็ ก เล็ ก จะท� ำ ความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ มิ ติ ระยะ ขนาด รู ป ร่ า ง การมองเห็ น มี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ การเรี ย นรู ้ สิ่ ง แวดล้ อ ม มี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ การฝึ ก ใช้ ก ล้ า มเนื้ อ เช่ น การปี น ป่ า ย ลุ ก ยื น ขึ้ น และลงบั น ได การวาดภาพ ใช้ นิ้ ว มื อ หยิ บ ของเล็ ก ๆ เช่ น เดี ย วกั บ การได้ ยิ น หลั ง อายุ 3 เดื อ น เราจะสั ง เกตพบปั ญ หาการมองเห็ น ได้ ง ่ า ยขึ้ น แต่ บางกรณี ก็ อ าจปรากฏชั ด เจนในช่ ว งขวบปี ที่ ส อง สิ่ ง ที่ พ ่ อ แม่ ค วรเฝ้ า สั ง เกตหากเกิ ด อาการ เช่ น นี้ เ ป็ น เวลายาวนาน ก็ คื อ ตาเข หั น หั ว ไปข้ า งใดข้ า งหนึ่ ง กระพริ บ ตาถี่ ๆ ไม่ ต อบสนอง เมื่ อ อยู ่ ก ลางแสงแดด มองไม่ เ ห็ น วั ต ถุ เ ล็ ก ๆ เด็ ก จะไม่ ส ามารถพั ฒ นาการพู ด ได้ หากมองไม่ เห็ น สิ่ ง ต่ า ง ๆ ชั ด เจน

66 IS AM ARE www.fosef.org


พ่ อ แม่ ยุ ค ใหม่ คุณพ่อคุณแม่ต้องตระหนักว่า การมองเห็นเกิดขึ้นได้ก็ คือ เด็กต้องมีดวงตาปกติ จอรับภาพภายในตาปกติ มีการส่ง สัญญาณภาพไปที่สมองปกติ เพื่อเด็กจะมีข้อมูลความทรงจ�ำ ของภาพต่าง ๆ ซึ่งในเวลาต่อมา เด็กจะเข้าใจภาพที่มองเห็น เชื่อมโยงไปกับการสอนของเราว่า สิ่งนั้นสิ่งนี้เรียกว่าอย่างไร หากเด็กมีการรับภาพผิดปกติ เช่น เด็กมีภาวะต้อกระจกตั้งแต่ ก�ำเนิด จะไม่สามารถมองภาพชัดเจนได้ เด็กจะเห็นเป็นภาพ ลาง ๆ เบลอไปหมด หากไม่ได้รับการผ่าตัดแก้ไขต้อกระจก ก่อนอายุ 3 ปี อาการตาบอดจะยังคงอยู่แม้ว่าจะผ่าตัดแก้ไข ต้อกระจกในภายหลัง เนื่องจากไม่มีข้อมูลภาพที่ชัดเจนในสมอง ต้องตระหนักว่า ระยะของการพัฒนาการมองเห็นของเด็กสั้น มากเพียงช่วง 3 ปีแรกของชีวิตเท่านั้น จึงจะมีโอกาสแก้ไขให้ กลับมาปกติได้ นอกจากนี้ การมองเห็นยังเป็นปัจจัยส�ำคัญของการสร้าง ความทรงจ�ำต่อสิ่งต่าง ๆ รอบตัว เราลองมาดูว่า นักวิทยาศาสตร์ เข้าใจเรื่องความทรงจ�ำอย่างไร ความทรงจ�ำเป็นส่วนส�ำคัญยิ่งต่อพัฒนาการสติปัญญา ของมนุษย์ และสัมพันธ์กับการเรียนรู้อย่างแนบแน่น สติปัญญา หรือ ความสามารถในการ “เข้าใจ และคิด” อยู่บนฐานของ ข้อมูลที่มนุษย์บันทึกไว้ในสมองของเรา หากมีมากก็จะเพิ่มพูน ความสามารถในการคิดมากขึ้น ซับซ้อนขึ้น ความทรงจ�ำของ มนุษย์มีอย่างน้อย 3 ระบบ คือ

• ความทรงจ�ำที่เกี่ยวเนื่องกับการรับสัมผัส (มองเห็น ภาพ ได้ยินเสียง ได้กลิ่น ลิ้มรส การสัมผัสทางผิวหนัง และความ รู้สึกภายใน) เป็นส่วนส�ำคัญอย่างยิ่งของพัฒนาการในช่วงเด็ก เล็ก เด็กเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัวผ่านประสาทสัมผัส และจะน�ำ ไปเก็บไว้เป็นข้อมูลเพื่อท�ำความรู้จัก และเข้าใจสิ่งต่าง ๆ แต่เมื่อ โตเป็นผู้ใหญ่จะลดความส�ำคัญลง • ความทรงจ�ำระยะสั้น เป็นระบบที่เราใช้ในชีวิตประจ�ำ วันมากที่สุด ในห้วงเวลาหนึ่ง ๆ คนเราจะใช้ข้อมูลหรือดึงข้อมูล จากความทรงจ�ำได้จ�ำกัด เกิดขึ้นทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ คุณพ่อคุณ แม่ควรใส่ใจเรื่องนี้ ที่จะค่อย ๆ ฝึกสอนให้ความทรงจ�ำกับเด็ก ทีละน้อย ไม่ต้องเร่งรัด เด็กต้องการเวลาสะสมและใช้ประโยชน์ จากสิ่งที่เรียนรู้ทีละเรื่อง ทีละน้อย • ความทรงจ�ำระยะยาว เกี่ยวเนื่องกับสิ่งที่เราเรียนรู้ เกี่ยวกับโลกที่เราอาศัยอยู่ เริ่มตั้งแต่การเรียนรู้ภาษา เพื่อสื่อสาร ท�ำความเข้าใจคนรอบข้าง รู้จักสิ่งต่าง ๆ และค่อย ๆ มากขึ้น ไปถึงการเข้าใจความซับซ้อนของกฎธรรมชาติ วิทยาศาสตร์ อันเป็นรากฐานส�ำคัญในการด�ำรงชีวิตเมื่อก้าวสู่การเป็นผู้ใหญ่ เป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ ที่ เราใช้ ใ นการพิ จ ารณาตั ด สิ น ใจด� ำ เนิ น ชี วิ ต 67

issue 124 MAY 2018


ด้านสมองกับการเรียนรู้ได้ค้นพบข้อมูลใหม่ ๆ ที่ท�ำให้เราเข้าใจ เรื่องการเรียนรู้มากขึ้นทั้งในระดับพฤติกรรมที่เห็นภายนอก และ กระบวนการทางเคมีและไฟฟ้าที่เกิดขึ้นภายในสมองของเรา และตอกย�้ำให้เราเข้าใจความส�ำคัญของการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ เอื้อต่อการเรียนรู้ให้แก่เด็ก ๆ ดังนี้ 1.ความถี่ หรือ การฝึกฝนซ�้ำ ๆ นั่นเอง วงจรในเซลล์ สมองของมนุษย์ทุกคนเหมือนกัน ก็คือ ต้องการเรียนรู้และฝึกฝน ซ�้ำ ๆ ซ�้ำ ๆ เช่น ถ้าเราอ่านหนังสือมากเท่าไร ก็จะอ่านหนังสือ เก่งขึ้นเท่านั้น หมายถึง อ่านได้เร็วขึ้น จับประเด็นง่ายขึ้น มาก ขึ้น เข้าใจเรื่องที่อ่านลึกซึ้งขึ้น เช่นเดียวกับการฝึกฝนกล้ามเนื้อ ร่างกายของเรา ถ้าเราอยากรูปร่างสวย หุ่นดี ออกก�ำลังกายให้ กล้ามเนื้อกระชับทุกวัน หุ่นก็จะดีอย่างที่เราหวัง แต่ถ้าเอาแต่นึก ฝันไม่ท�ำอะไรเลย ก็ไม่มีทางได้รูปร่างอย่างที่ใจหวัง 2.ความเข้มข้น การเรียนรู้หรือการสร้างวงจรได้จาก ประสบการณ์ซ�้ำ ๆ และมากเพียงพอ เมื่อเด็กเรียนรู้ที่จะหัด แปรงฟัน ในระยะแรกวงจรความทรงจ�ำเกี่ยวกับวิธีการแปรง ฟันจะเกิดเป็นวงจรในสมอง (ทั้งด้านขั้นตอน ตั้งแต่การรู้จัก แปรงสีฟัน การจับแปรงสีฟัน) เล็ก ๆ แล้วค่อยหนาแน่น ใหญ่ ขึ้นหากคุณแม่ฝึกลูกให้หัดแปรงฟันทุกวัน จนถึงวันหนึ่งเมื่อ การเรียนรู้มีมากพอ ลูกของคุณก็จะสามารถแปรงฟันได้ด้วย ตัวเอง เรื่องอื่น ๆ ก็เช่นเดียวกัน เด็ก ๆ จะไม่สามารถเข้าใจ “คณิตศาสตร์” และ มีความรักต่อคณิตศาสตร์ได้ ต่อเมื่อเด็ก มีความเข้าใจอย่างชัดเจน จดจ�ำได้ว่า จ�ำนวนนับ (นิ้วมือ 1 นิ้ว ต่างจาก 2 นิ้วอย่างไร หรือ ช้อน 3 คัน ต่างจากช้อน 5 คัน

วิธีที่เราตอบสนองต่อโลกขึ้นกับข้อมูลที่เราเก็บไว้ในความทรง จ�ำระยะยาว ทั้งสามระบบต่างเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน และเสริมซึ่ง กันและกัน ความทรงจ�ำนอกเหนือจากใช้เก็บข้อมูลที่มีความ หมายต่อชีวิตของเราแล้ว ยังเป็นที่เก็บข้อมูลเกี่ยวกับสัญลักษณ์ ต่าง ๆ ทั้งสิ่งของ ผู้คน และ เหตุการณ์ เชื่อว่า เด็กเริ่มจัดระบบ ความทรงจ�ำระยะยาวตั้งแต่อายุ 9 เดือน แต่เราจะเริ่มสังเกตได้ ชัดเจนประมาณอายุ 18 เดือน แต่โดยมาก พ่อแม่มักมีเรื่องเล่า เกี่ยวกับความทรงจ�ำของลูก ๆ ก่อนอายุนี้แล้ว เมื่อเข้าสู่วัยขวบ ครึ่ง เด็กจะมีความสามารถในการเข้าใจสัญลักษณ์ของสิ่งรอบ ตัวพอสมควร และความทรงจ�ำนี้จะเพิ่มพูนมากขึ้น ๆ เมื่อครบ 3 ขวบ จะพัฒนาระบบความทรงจ�ำระยะสั้น ในขอบเขตความ สามารถด้านภาษาของเด็ก นั่นหมายความว่า ถ้าลูกมีพัฒนาการ ภาษา คือ การเข้าใจ สื่อสารค�ำพูดต่าง ๆ ได้มาก ก็จะมีข้อมูล ในความทรงจ�ำมากเท่านั้น รู ้ จั ก ความทรงจ� ำ ของเรา คุณแม่คุณพ่อ คงจะพอจ�ำได้ว่า กระบวนการเรียนรู้ ภายในสมองของเรา ก็คือ การที่เซลล์สมองสร้างวงจรเชื่อม โยงซึ่งกันและกันอย่างหนาแน่น ยิ่งวงจรใดหนาแน่นมาก การ เรียนรู้ก็จะดีมาก มีความทรงจ�ำเกี่ยวกับเรื่องนั้นมาก นักวิจัย 68

IS AM ARE www.fosef.org


อย่ า งไร) จ� ำ นวนนั บ คื อ พื้ น ฐานส� ำ คั ญ ยิ่งต่อการเข้าใจเรื่องการบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน และ ต่อมาเป็นเรื่องกฎ เกณฑ์หรือทฤษฎีคณิตศาสตร์ที่ยากขึ้น เช่น การใช้บัญญัติไตรยางศ์อย่างง่ายใน การหาตั ว เลขจากโจทย์ ที่ ย ากขึ้ น หรื อ ถ้ า คุ ณ ที่ เ ป็ น ผู ้ ใ หญ่ ส นใจจะเข้ า ร่ ว มวิ่ ง มิ นิ ม าราธอน คุ ณ ต้ อ งการเวลาในการ ฝึกฝนการวิ่งอย่างน้อยหลายเดือนกว่า คุณจะเข้าไปวิ่งระยะทาง 42 กิโลเมตร ได้โดยไม่เป็นลมเป็นแล้งไปก่อน 3.ฝึกหลายกิจกรรมเพื่อเรียนรู้ ซ�้ำ ๆ การสร้างความทรงจ�ำต้องท�ำให้เกิด วงจรในสมองอย่างหนาแน่นทั้งในวงจร อย่ า งเดี ย วกั น และ ข้ ามหลายส่ ว นใน สมอง เพราะฉะนั้นหากได้ฝึกจากหลาย กิจกรรมมากเท่าไร ก็จะยิ่งเพิ่มวงจรการ เรียนรู้มากขึ้น ๆ เช่น คุณสามารถท�ำให้ ลู ก เข้ า ใจจ� ำ นวนนั บ มิ ใช่ จ ากการตั้ ง ใจ สอนให้ลูกนับอย่างเดียว แต่สามารถเพิ่ม วงจรมากขึ้ นในกิจกรรมอื่น ๆ ของลูก เวลาอาบน�้ำ ตักน�้ำใส่ในอ่าง หรือ ออก

จากตุ่ม นับจ�ำนวนขันที่คุณตักน�้ำลงใน อ่างหรือจากตุ่ม แล้วให้ลูกหัดนับไปด้วย ฝึกให้ลูกหยิบขันตักเองบ่อย ๆ นอกจาก จะฝึ ก ให้ ลู ก หยิ บ และตั ก น�้ ำ เองได้ แ ล้ ว (รวมไปถึงตักข้าวใส่ปาก ก็อย่าลืมนับไป ด้วยค่ะ) ลูกก็จะคุ้นเคยกับจ�ำนวนนับไป ด้วยตลอดทุกกิจกรรม 4.ใส่ ใจและยื ด หยุ ่ น การเรี ย น รู ้ ทุ ก เรื่ อ งต้ อ งใส่ ใ จและยื ด หยุ ่ น คุ ณ แม่ ต ้ อ งเฝ้ า สั ง เกตลู ก อย่ า งใส่ ใจว่ า สิ่ ง ที่ เราตั้ ง ใจสอนนั้ น ลู ก ท� ำ ได้ ม ากน้ อ ย เพียงไร ลูกติดขัดอย่างไร เพื่อสามารถ ปรั บ ปรุ ง วิ ธี ก ารฝึ ก ลู ก ให้ ยื ด หยุ ่ น ตาม สภาพที่คุณแม่สังเกตเห็นได้ เช่น เมื่อฝึก ให้ลูกแปรงฟัน แล้วสังเกตว่า ลูกยังไม่ สามารถจับแปรงสีฟันได้ถูกต้อง มั่นคง ไม่ต้องใจร้อนค่ะ ค่อย ๆ ฝึกต่อไป โดย เพิ่มเติมการฝึกกล้ามเนื้อมัดเล็กที่บังคับ นิ้วมือ คือ นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้ โดยหัด คี บ เม็ ด ถั่ ว (ระวั ง ลู ก เอาแหย่ เข้ า รู จ มู ก หรือ รูหู ต้องคอยดูแลใกล้ ๆ) หรือ ฝึก จับบล็อกก้อนขนาดย่อม ๆ ต่อเป็นรูป 69 issue 124 MAY 2018

ร่างต่างๆ อย่าลืมว่า ทักษะการใช้นิ้วมือ หากยิ่งฝึกได้ดีมากเท่าไร การแปรงฟันก็ จะกลายเป็นเรื่องง่ายส�ำหรับลูก รวมไป ถึงเรื่องอื่น ๆ ที่จะตามมา 5.สร้างแรงจูงใจ และ ฝึกความ ตั้งใจ ซึ่งจะเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ท�ำให้เด็ก อยากเรียนรู้ตลอดเวลา ไม่เบื่อหน่าย ต้อง สังเกตว่ากิจกรรมใดที่ลูกชอบ เชื่อมโยง กับกลิ่น รสของอาหาร ความสนใจอยาก รู้อยากเห็นของลูก เป็นแรงจูงใจส�ำคัญที่ ท�ำให้ลูกสนใจสิ่งที่เราจะฝึกสอน ถ้าลูก ตั้งค�ำถาม ต้องใส่ใจว่าค�ำถามอะไรที่ลูก ชอบถามบ่อย ๆ ซึ่งแสดงความสนใจและ แรงจูงใจในการเรียนรู้ ใช้เรื่องนั้นน�ำไปสู่ เรื่องที่เราอยากฝึกสอน เช่น อยากสอน ให้ลูกรักการอ่าน เวลาลูกถามค�ำถาม แม้ จะรู้ค�ำตอบอยู่แล้ว แต่ลองบอกว่า “เอา ค�ำถามลูกนี่ แม่ไม่รู้นะจ๊ะ เราลองไปเปิด หนังสืออ่านกันหน่อยดีกว่า” หาหนังสือ ที่มีภาพสวย ๆ อธิบายเรื่องต่าง ๆ แบบ ง่าย ๆ จะเป็นแรงจูงใจส�ำคัญส�ำหรับการ ปลูกฝังการอ่านจนติดไปจนโต


70 IS AM ARE www.fosef.org


เยาวชนของแผ่ น ดิ น

“ประสบการณ์สอนให้หนูอึดกว่าคนอื่น”

เจด้า สุรชาติ อินทร์สุวรรณ เพลง “ผู ้ ส าวขาเลาะ” สามารถอธิ บ ายชี วิ ต วั ย เด็ ก ของ เจด้ า สุ ร ชาติ อิ น ทร์ สุ ว รรณ ได้ ดี ผิ ด กั น แต่ ว ่ า ชี วิ ต ในวั ย เด็ ก ของเจด้ า ไม่ ไ ด้ มี แ ต่ ค วามสนุ ก สนานเหมื อ นในเพลงเพี ย งอย่ า งเดี ย ว หากต้ อ งอาศั ย อยู ่ กั บ ปู ่ ย ่ า ในแถบถิ่ น ชนบทของจั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ตั้ ง แต่ เ ล็ ก ๆ ช่ ว ยหาบเร่ ข ายไก่ ย ่ า งเพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ จุ น เจื อ ครอบครั ว โดยไม่ ท ราบเลยว่ า พ่ อ กั บ แม่ ที่ อ ยู ่ ก รุ ง เทพฯ จะมี โ อกาสกลั บ มาอยู ่ พ ร้ อ มหน้ า พร้ อ มตากั น อี ก ครั้ ง เมื่ อ ไหร่ “ตั้ ง แต่ จ� ำ ความได้ รู ้ เ ลยว่ า ตั ว เองเป็ น ตุ ๊ ด แล้ ว ก็ ท า ลิปสติกแม่ ใส่ชุดผู้หญิงมาโดยตลอด” เจด้ายอมรับว่ามีเพศ สภาพไม่ตรงกับจิตใจตั้งแต่เด็ก ทั้งยังชื่นชอบหมอล�ำเป็นพิเศษ เรียกว่าบ้านไหนมีหมอล�ำที่นั่นมีเจด้า ถึงขนาดสมัครตัวเป็น หางเครื่องของวงดนตรีในขณะที่ตนเองเรียนอยู่เพียงชั้น ม.2 ที่ โรงเรียนโพธิ์ไทรพิทยาคาร “ถ้าพรุ่งนี้มีสอบ แต่คืนนี้มีหมอล�ำ หนูเลือกหมอล�ำ วันไหนไม่มีหมอล�ำหนูก็จะขับรถทั่วตามหา เผื่อบ้านไหนมีงานสนุกสนานรื่นเริง หนูเป็นคนชอบสนุกสนาน ที่สุด ชอบเต้น” ในสมัยนั้นวงดนตรีหมอล�ำในแถบที่เจด้าอาศัยอยู่มักมี เรื่องตีกัน ท�ำร้ายกันบาดเจ็บจนถึงตาย แต่เจด้าก็ไม่กลัว เธอ เที่ยวตระเวนขี่มอเตอร์ไซค์ไปตามงานต่างๆ ยามค�่ำคืน คิดแต่ ว่าคืนนี้จะไปสนุกที่ไหน โดยไม่รู้ว่าสิ่งที่เจด้าเป็นและท�ำอยู่นั้น พ่อกับแม่ของเธอเฝ้าดูอยู่ตลอด “เหมือนเป็นช่วงวัยหัวเลีย้ วหัวต่อ แม่ทราบว่าพฤติกรรม ของเราก�ำลังอยู่ในขั้นเสี่ยง และปู่กับย่าก็ไม่สามารถดูแลได้ทั่ว ถึง เขาจึงตัดสินใจให้เรามาเรียนต่อ ม.3 ในโรงเรียนเอกชนแห่ง หนึ่งในกรุงเทพฯ จากนั้นมาหนูก็อยู่กับพ่อแม่ที่กรุงเทพฯ มา โดยตลอด” ที่โรงเรียนเอกชนนี้เอง สร้างความอึดอัดใจให้กับเจด้า เป็นอย่างมาก เธอไม่กล้าเปิดเผยตนเองว่าเป็นเพศที่สามเพราะ กลัวโดนล้อ ในฐานะเด็กต่างจังหวัดที่เข้ามาเรียนกลางคัน ทั้งยัง

ต้องแสดงออกว่าเป็นผู้ชายทั่วไปซึ่งขัดกับธรรมชาติของตนเอง เมื่อครั้งอยู่กับปู่ย่าที่จังหวัดอุบลราชธานีโดยสิ้นเชิง แต่นั่นกลับ กลายเป็นเบ้าหลอมหนึ่งที่สอนให้เธอรู้จักอดทนท�ำหน้าที่เรียน หนังสือให้ดี เพราะจะว่าไปแล้ว คุณพ่อประกอบอาชีพขับรถ แท็กซี่ คุณแม่รับจ้างเย็บเสื้อผ้า รายได้ในครอบครัวของเธอจึง มีไม่มาก ทั้งยังต้องส่งเสียพี่สาวอีกคนหนึ่งด้วย เมื่อจบ ม.3 เจด้าเข้าเรียนต่อ ม.4 ที่โรงเรียนสันติราษฎร์ วิทยาลัย ที่น่ีเองท�ำให้เจด้ากลับมาเป็นตัวเองอีกครั้ง ราวกับ ชุบชีวิตให้เธอเกิดใหม่อีกครั้ง เธอพบเพื่อนชาวอีสานมากมาย พบเพื่อนที่เป็นเพศที่สามเหมือนกัน เธอไม่โดดเดี่ยวอีกแล้ว เจด้ากลับมามีพลังในตัวเอง และใช้พลังทั้งหมดไปกับการเรียน และกิจกรรมต่างๆ ในโรงเรียน ชนิดที่ว่าพ่อกับแม่ของเธอหาย ห่วง “เรามาอยู่กรุงเทพฯ เราเห็นว่าเด็กกรุงเทพฯ เขาเก่ง พอ เรามาเรียนที่กรุงเทพฯ เราต้องขยันกว่าเขาหลายเท่า การบ้าน จากเด็กที่เก่งที่สุดในห้องกลายเป็นมาลอกหนู ภาษาอังกฤษของ หนูจากศูนย์กลายมาเป็นห้าสิบและขยับมาเรื่อยๆ เพราะว่าพอ หนูกลับบ้านไปหนูไม่ท�ำอะไรเลย หนูท�ำการบ้านก่อน ท�ำการ บ้านเสร็จหนูเปิดยูทูปดูเรื่องการสอนพิเศษ สอนเรื่องการท�ำ กรวยจีบด้วยผ้า การตัดผ้ากรวย แล้วหนูก็ไปเรียนเพิ่มให้ลึก เข้าไปอีก อาจารย์เห็นเราท�ำได้ก็ชม เราก็ดีใจ”

71 issue 124 MAY 2018


เจด้าจบชั้นมัธยมปลายด้วยเกรดเฉลี่ย 3.22 พร้ อ มสิ ท ธิ ใ นการรั บ ทุ น เรี ย นฟรี โ ดยไม่ ต ้ อ งใช้ คื น ในคณะนิ เ ทศศาสตร์ สาขาสื่ อ การตลาดดิ จิ ทั ล มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และเธอก็ไม่ท�ำให้เสีย ชื่อโรงเรียนเก่าด้วยผลการเรียน 4.00 ในเทอมแรก ของชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย ปัจจุบันเจด้าอยู่ชั้นปีที่ 1 “เวลาหนูเรียนหนูจะไม่บ่นว่าเพื่อนว่าท�ำไม ไม่ช่วยท�ำงานส่งอาจารย์ ไม่ว่าจะงานกลุ่มหรืองาน เดี่ยวหนูจะไม่โทษเพื่อน ใครไม่ท�ำหนูจะท�ำ และจะ ท�ำเกินกว่าที่อาจารย์สั่ง จะได้คะแนนน้อยหรือมาก หนูขอแค่ได้ท�ำในสิ่งที่ตัวเองอยากท�ำ งานที่หนูส่ง อาจารย์จะเห็นได้ถึงความแตกต่าง หนูเรียนในคณะ ที่ชอบแล้วหนูก็ท�ำงานอย่างมีความสุข หนูได้คะแนน เพื่อนก็ได้คะแนนด้วย เราจะได้ผ่านไปด้วยกัน หนู คิดอย่างนี้” เมื่อความเป็นตัวเองของเจด้ากลับมาอีกครั้ง เธอเปิด รับทุกอย่างในโรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัย ไม่ว่าอาจารย์ท่าน ใดจะให้ช่วยเหลือเรื่องกิจกรรมใด เจด้าไม่เคยปฏิเสธ ไม่เคย เห็นเป็นเรื่องเหนือบ่ากว่าแรง ไม่ว่าจะแข่งขันแกะสลัก แข่งขัน เต้นวงลูกทุ่ง แข่งขันกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด ฯลฯ ภายใน ระยะเวลาหนึ่งปีเจด้าสะสมเกียรติบัตรได้มากกว่าสิบแผ่น ได้ พอร์ตโฟลิโอสะสมส�ำหรับเข้ามหาวิทยาลัยอีกแฟ้มใหญ่ โดยที่ ตนเองยังไม่ทันคิดถึงเรื่องเข้ามหาวิทยาลัย หากท�ำด้วยใจและ ความสนุก “ยิ่งท�ำแล้วเรายิ่งชอบค่ะ ถ้าอันไหนที่เราท�ำแล้วมีตัวตน แล้วมีความสุขเรายิ่งจะท�ำ จะท�ำเรื่อยๆ แล้วเราก็มีเพื่อนมีน�้ำใจ ด้วย ในขณะที่เราไปท�ำกิจกรรมของโรงเรียนเพื่อนก็จะคอยช่วย เหลือเรื่องการบ้านเรื่องงาน คอยตามให้เราตลอด” ครูที่โรงเรียนเคยเตือนเจด้าว่าการท�ำกิจกรรมเยอะๆ หรือท�ำอะไรหลายๆ อย่างในเวลาเดียวกันอาจท�ำให้ไม่ประสบ ผลส�ำเร็จเลยสักอย่าง นั่นคือค�ำสอนที่เธอจ�ำขึ้นใจจนจบมัธยม ปลาย ขณะเดียวกันเมื่อมีทุนการศึกษาเข้ามาในโรงเรียน เจด้า จึงเป็นตัวเลือกอันดับหนึ่งที่ครูหมายตาไว้แล้วว่าเธอสมควรได้ รับ เพราะท�ำงานให้โรงเรียนมาแล้วมากมายโดยไม่เคยบ่นสัก ค�ำ เมื่อถามว่าเพราะอะไรคุณครูถึงเลือกให้ทุนเรียนฟรีในระดับ มหาวิทยาลัยแก่เจด้า เธอตอบว่าเป็นผลพวงของความดีที่ได้ท�ำ ที่ได้ช่วยเหลือโรงเรียน เธอท�ำกิจกรรมชนิดที่ว่าสามารถเก็บเงิน ช่วยพ่อแม่ส่งเสียค่าเรียนของตัวเองจากการลงประกวดแข่งขัน ต่างๆ ที่คุณครูชักชวน

ชี วิ ต คนเราอาจมี ป มด้ อ ย อาจมี จุ ด บอด แต่ มั น ไม่ ไ ด้ ห มายความว่ า เราจะแพ้ หรื อ ต้ อ ง แพ้ เจด้ า ก� ำ ลั ง บอกเยาวชนหลายคนว่ า ภู มิ คุ ้ ม กั น ในชี วิ ต คนเราก็ คื อ การกระท� ำ ของ เราเอง หากเป็ น นั ก รบเธอก็ ก� ำ ลั ง สู ้ ยิ บ ตา เพื่ อ ไขว่ ค ว้ า หาอนาคตของตนเอง

72 IS AM ARE www.fosef.org


เมื่ อ เข้ า มาอยู ่ ใ นมหาวิ ท ยาลั ย เจด้ า ยิ่ ง แข็ ง แรงในเรื่ อ งการท� ำ กิ จ กรรม เพราะเธอมี รุ ่ น พี่ ที่ เ ป็ น สาวประเภทสองคอยสนั บ สนุ น หลายคน กลายเป็ น กลุ ่ ม เพื่ อ นที่ เ หนี ย วแน่ น รวมพลั ง กั น ท� ำ เพื่อมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นงานเบื้องหน้าหรือ เบื้องหลังเจด้าก็ไม่ยอมปฏิเสธเหมือนเดิม จนเป็น ที่ ก ล่ า วขานของคณะผู ้ บ ริ ห ารและคณาจารย์ ใ น มหาวิทยาลัย “หนู เ ป็ น คนที่ ถ ้ า ช่ ว ยใครแล้ ว จะช่ ว ยยิ่ ง กว่า-ให้ถึงที่สุดตลอด ยิ่งไปเรียนในมหาวิทยาลัยเรา มีเพื่อนๆ ที่เป็นกะเทยเหมือนกัน แล้วพวกเขาไม่ได้ เป็นกะเทยที่ห่วงสวย เป็นสายลุยไม่ว่าจะงานอะไร ขอให้บอก เราโชคดีที่มีเพื่อนๆ กลุ่มที่ลุยเหมือนกัน ถ้ า อั น ไหนที่ เ ราท� ำ แล้ ว มี ตั ว ตนแล้ ว มี ค วามสุ ข เรายิ่ ง จะท� ำ จะท� ำ เรื่ อ ยๆ แล้ ว เราก็ มี เ พื่ อ นมี น�้ ำ ใจด้ ว ย ในขณะที่ เ ราไปท� ำ กิ จ กรรมของโรงเรี ย นเพื่ อ นก็ จ ะคอยช่ ว ยเหลื อ เรื่ อ งการบ้ า น เรื่ อ งงาน คอยตามให้ เ ราตลอด

73 issue 124 MAY 2018

อย่างเช่นงานรับปริญญารุ่นพี่,ที่ผ่านมาก็จะมีรุ่นน้อง มาบูมให้รุ่นพี่ธรรมดา แต่ปีนี้กลุ่มหนูเป็นกลุ่มเด็กทุน ก็นัดกันใส่ชุดราตรีเพื่อมาบูมให้รุ่นพี่โดยเฉพาะ สร้าง สีสันให้กับมหาวิทยาลัย” เจด้ายึดวิธีปฏิบัติตนจากโรงเรียนเดิมตลอด เมื่ อ มาอยู ่ ใ นรั้ ว มหาวิ ท ยาลั ย คื อ ท� ำ ทุ ก อย่ า งที่ มหาวิทยาลัยต้องการให้ช่วยเหลือควบคู่ไปกับการ เรียน “ก่อนหน้านี้หนูบอกแม่มาตลอดว่าหนูจะช่วย หาเงินส่งค่าเทอมของหนูด้วยอีกแรงหนึ่ง ตอนนั้นยัง ไม่รู้ว่าจะได้รับทุนเรียนฟรีแบบนี้ พอได้ทุนหนูโทร ไปบอกแม่ แม่หนูร้องไห้ คือมันเป็นสิ่งที่มีค่ามาก ส�ำหรับครอบครัวที่ไม่ได้มีรายได้มากมายอะไร แม่ บอกว่ารู้ไหมว่าก�ำลังคุยกับคุณพ่ออยู่ว่าจะหาเงิน จากไหนมาส่งหนูเรียน”


เด็ ก ๆ แล้ ว ก็ เ ปิ ด ดู ใ นยู ทู ป ของบล็ อ กเกอร์ ฝ รั่ ง ที่ เขารี วิ ว แต่ ง หน้ากัน เราก็เริ่มแต่งให้คนนั่นบ้างคนนี้บ้าง เริ่มทีละอย่างจาก การกรีดอายไลเนอร์ การเขียนขอบตา ค่อยๆ ซื้อทีละอย่าง แต่งไปเรื่อยๆ จนมาเริ่มรับงานครั้งแรกตอน ม.6 ได้เงินหรือ ไม่ได้เงินหนูก็เอา หนูขอแค่ประสบการณ์ บางทีได้ 200 บาท ไปแต่ ง หน้ า ถึ ง คลองหลวง เราคิ ด อย่ า งเดี ย วว่ า เราจะได้ ฝ ึ ก ประสบการณ์” เจด้ากล่าวว่า ฝึกแต่งหน้าลองผิดลองถูกมา 6 ปี กว่า จะรับงานได้ อุดมการณ์เล็กๆ ของเธอคือ “ถึงแม้เราจะไม่มี เงินซื้อเครื่องส�ำอางราคาแพง แต่เราใช้ฝีมือเข้าช่วย ท�ำให้ลูกค้า ยอมรับ” จากเด็กน้อยที่ออกหาประสบการณ์ กลายเป็นช่างแต่ง หน้าที่มีทักษะไปถึงการแต่งสีผิว-พอกผิว และการจัดแต่งทรงผม ส�ำหรับนางงามขึ้นเวทีประกวด ที่สุดแล้วการแต่งหน้ากลายเป็น อาชีพเสริมสร้างรายได้ให้เธอจากหัวละ 200 บาท กลายเป็นหัว ละ 3,000 บาท ในปัจจุบัน ความมุ่งหวังของเจด้าคือ เมื่อเรียนจบแล้วอยากท�ำงาน ตามสายที่ ต นเองเรี ย นมา นั่ น คื อ การคิ ด ออกแบบโฆษณา

เหตุ ผ ลลึ ก ๆ ที่ เจด้ า ก้ า วมาถึ ง จุ ด นี้ ไ ด้ เธออธิ บ ายว่ า ครอบครัวเป็นสิ่งส�ำคัญ เธอทราบฐานะของครอบครัวมาตลอด ว่าพ่อแม่ต้องออกไปท�ำงานหาเงินที่กรุงเทพฯ เพื่อจะส่งเงินให้ เธอและใช้หนี้ให้หมด หนี้สินที่พอกพูนขึ้นทุกวันด้วยดอกเบี้ย สิ่งที่เธอท�ำได้คือดูแลตัวเองและประพฤติปฏิบัติตนให้ดีที่สุด เพียงแค่ไม่ให้ครอบครัวต้องเดือดร้อนเพิ่ม นั่นจึงเป็นที่มาให้ เธอท�ำทุกอย่างเพื่อบรรเทาภาระครอบครัวในแบบของเธอเอง “หนูเคยไลฟ์สดในเฟสบุ๊คขายเครื่องส�ำอางหาเงินได้ สูงสุดวันละหกหมื่น ท�ำตั้งแต่หนึ่งทุ่มถึงตีสอง วันละ 2-3 รอบ รอบละ 4 ชั่วโมง ลูกค้าประมูลเซทละ 1-2 หมื่น หนูได้เงินมา หวังอย่างเดียวจะเอาไปใช้หนี้ให้แม่” ทักษะหนึ่งที่เจด้าไม่เคยลืมและศึกษาเพิ่มเติมมาตลอด คือเทคนิคการแต่งหน้า สาวประเภทสองคงเข้าใจดีว่าการแต่ง หน้าคือชีวิตจิตใจเพียงใด เจด้าก็คือหนึ่งในนั้น จากเด็กน้อยที่ แอบเอาลิปสติกของแม่มาทาเล่น กลายเป็นทักษะชีวิตที่ไม่มี ทางจางหาย หากติดตัวมาถึงปัจจุบันสร้างรายได้ให้เธออีกแรง “เราเป็นกะเทยเราก็ชอบแต่งหน้าอยู่แล้ว ชอบตั้งแต่

74 IS AM ARE www.fosef.org


ชีวิตคนเราอาจมีปมด้อย อาจมีจุดบอด แต่มันไม่ได้ หมายความว่าเราจะแพ้ หรือต้องแพ้ เจด้าก�ำลังบอกเยาวชน หลายคนว่า ภูมิคุ้มกันในชีวิตคนเราก็คือการกระท�ำของเราเอง หากเป็นนักรบเธอก็ก�ำลังสู้ยิบตาเพื่อไขว่คว้าหาอนาคตของ ตนเองโดยไม่มัวโทษคนอื่น หรือโทษโชคชะตา หากเมื่อเงยหน้า มองโลกรอบๆ ก็พบว่ายังมีทางอีกมากมายให้เลือกเดิน เจด้าไม่ พูดมากถึงเรื่องการเรียนหนังสือแม้จะได้เกรดเฉลี่ยถึง 4.00 แต่ เธอมักจะพูดถึงกิจกรรมต่างๆ ที่สร้างประสบการณ์ให้เธอรู้จัก เรียน รู้จักเล่น รู้จักสนุก โดยให้ความส�ำคัญกับค�ำว่าชีวิตและ ครอบครัวมากกว่าอื่นใด เวลาหนู เ รี ย นหนู จ ะไม่ บ ่ น ว่ า เพื่ อ นว่ า ท� ำ ไมไม่ ช ่ ว ย ท� ำ งานส่ ง อาจารย์ ไม่ ว ่ า จะงานกลุ ่ ม หรื อ งานเดี่ ย ว หนู จ ะไม่ โ ทษเพื่ อ น ใครไม่ ท� ำ หนู จ ะท� ำ และจะท� ำ เกิ น กว่ า ที่ อ าจารย์ สั่ ง จะได้ ค ะแนนน้ อ ยหรื อ มากหนู ข อ แค่ ไ ด้ ท� ำ ในสิ่ ง ที่ ตั ว เองอยากท� ำ การเป็นครีเอทีฟ การใช้ความคิดสร้างสรรค์ผลงานต่างๆ ออก ทางหน้าจอทีวี เธอมองย้อนไปถึงชีวิตในวัยเด็ก จากเด็กที่ชอบ หมอล�ำซิ่ง ชอบเต้นชอบสนุก กลายมาเป็นนักศึกษาทุนเรียนฟรี ด้วยความอดทนต่อการโดนล้อ อดทนต่อเพศสภาพที่หลายคน ยังไม่ยอมรับ เจด้าก�ำลังพิสูจน์ตัวเองให้ทุกคนเห็นว่า กะเทย ไม่ ใช่ ค วามผิ ด พลาดหรื อ ความผิ ด ปกติ หากเป็ น ธรรมชาติ ที่ ติดตัวมาตั้งแต่เกิด “กิจกรรมมันให้อะไรหลายๆ อย่างกับตัวหนูมาก มัน ให้ความเข้าใจผู้อื่น เข้าใจเพื่อน ให้มุมมองหลากหลาย บางครั้ง งานในคณะตัวเองแท้ๆ แต่เพื่อนหลายคนก็ไม่ยอมช่วย ขณะ ที่เรามีงานขายของ มีงานของมหาวิทยาลัยอีกมากมายที่ต้อง ท�ำ มันท�ำให้เราเข้าใจในความแตกต่าง เพราะเขาไม่ได้ผ่านจุด ที่ยากล�ำบากมาแบบเรา สิ่งที่เราผ่านมาท�ำให้เราแข็งแกร่งเกิน กว่าจะไปต่อว่าผู้อื่น ใครที่เรียกหนูว่ากะเทยหรือตุ๊ดอะไรต่างๆ นานา หนูภูมิใจ ไม่เคยไปว่าใครตอบ หนูดีใจด้วยซ�้ำที่หนูเกิดมา เป็นกะเทย สาเหตุที่หนูต้องย้ายจากอุบลฯ มาเรียนกรุงเทพฯ ก็ เพราะวัยรุ่นรอบข้างหนูแปดสิบเปอร์เซ็นต์ติดยาหมดเลย แล้ว ถ้าหนูเป็นผู้ชายในวันนั้น แล้วหนูเกเรในวันนั้นชีวิตหนูจะเป็น ยังไง หนูเป็นกะเทยแต่หนูไม่อายที่จะหาบไก่ย่างขายในตลาด ไม่อายที่จะตะโกนเรียกลูกค้า ตื่นตั้งแต่ตีห้ามาย่างไก่ พอหก โมงก็ออกไปขาย หนูถือถาดไก่ตะโกน ‘เอาไก่บ่ค่า’ ‘เอาไก่บ่ ค่า’ นั่นแหละ กิจกรรมต่างๆ ประสบการณ์ต่างๆ ในชีวิตมัน บ่มสอนหนูมาให้อึดกว่าคนอื่น” 75 issue 124 MAY 2018


พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชจังหวัด

จังหวัดกาญจนบุ รี 76 IS AM ARE www.fosef.org


70 เส้ น ทางตามรอยพระบาท โดย ททท. ใครหลายคนที่ได้ศึกษาประวัติศาสตร์ไทย คงจะมีภูมิ ความรู้เกี่ยวกับพระเกียรติของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็น อย่างดี ในท้องที่ดอนเจดีย์ จังหวัดกาญจนบุรีนั้นเป็นอีกพื้นที่ หนึ่งที่นักวิชาการหลายฝ่าย เชื่อกันว่าเป็นสนามรบยุทธหัตถี ศึกครั้งส�ำคัญของชาติไทยในยุคโบราณ เนื่องจากมีการขุดค้น พบวัตถุโบราณหลายชิ้น อาทิศาสตราวุธ กระดูกช้างม้า พร้อม กับเครื่องประดับ อีกทั้ง ลูกปืนต่างๆ ท�ำให้พื้นที่ดอนเจดีย์ แห่ ง นี้ ไ ด้ รั บ เลื อ กให้ ส ร้ า ง พระบรมราชานุ ส าวรี ย ์ ส มเด็ จ พระนเรศวรมหาราช เมืองกาญจนบุรีนั้น มีสถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญมากมาย ทั้ ง การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ธรรมชาติ แ ละประวั ติ ศ าสตร์ ส� ำ หรั บ ลานกว้าง ใจกลางต�ำบลดอนเจดีย์แห่งนี้ กลายเป็นจุดนัดพบ ใหม่ ข องเหล่ า นั ก เดิ น ทาง เพราะทุ ก คนต่ า งอยากมาชื่ น ชม พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชขณะก�ำลัง ประทับบนหลังช้างศึก ตั้งอยู่ตรงใจกลางสวนสาธารณะกว้าง ใหญ่ด้านหน้าขององค์เจดีย์ในบริเวณใกล้เคียงยังเป็นที่ตั้งของ เจดีย์เก่าแก่เรียกขานกันว่าเจดีย์ยุทธหัตถี เป็นเจดีย์ศิลปะสมัย อยุธยา ตั้งอยู่ท่ามกลางมวลหมู่ธรรมชาติ แม้ยอดจะหักพังไป บ้าง แต่ยังคงรูปทรงเป็นเจดีย์ที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ นับเป็น ทริปตัวอย่าง 2 วัน 1 คืน เส้ น ทางท่ อ งเที่ ย ว จ.กาญจนบุ รี สถานที่สักการบูชาที่ให้ความรู้สึกผ่อนคลายได้ไม่น้อย วันแรก ช่วงเช้า • วั ด พระแท่ น ดงรั ง วรวิ ห าร วั ด ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชด�ำเนินมาถึง 2 ครั้ง • พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ชม เจดีย์ยุทธหัตถีและพิพิธภัณฑ์ ช่วงกลางวัน • เขื่อนแม่กลอง รับประทานอาหารชมวิวทิวทัศน์ ช่วงบ่าย • เยี่ยมชมวัดเทวสังฆาราม (วัดเหนือ) และวัดถาวรวรา ราม (วัดญวน) ต่อด้วยวัดรัชดาภิเษก วันที่สอง ช่วงเช้า • ชมทัศนียภาพและสวนสวย ที่สวนเวลาร�ำลึกบริเวณ เขื่อนศรีนครินทร์ ช่วงกลางวัน • ชมทัศนียภาพที่เขื่อนวชิราลงกรณ์ แวะกราบขอพร พระพุทธรูป ภปร. ที่วัดทองผาภูมิ 77 issue 124 MAY 2018


78 IS AM ARE www.fosef.org


ช่วงบ่าย • แวะผ่อนคลายที่พุน�้ำร้อนหินดาด และเที่ยวชมน�้ำตก ไทรโยคน้อย • รับประทานอาหารเย็นที่สะพานข้ามแม่น�้ำแคว • เจดีย์ยุทธหัตถีของกาญจนบุรีมีลักษณะเหมือนเจดีย์วัด ช้างของจังหวัดอยุธยา เชื่อกันว่าสร้างในยุคเดียวกัน • วั น ที่ 25 เมษายนของทุ ก ปี จะมี ก ารจั ด งานเทิ ด พระเกียรติฯ นักท่องเที่ยวทุกคนไม่ควรพลาด

• เยี่ยมชมต้นข่อยขนาดใหญ่ที่เชื่อว่ามีความส�ำคัญทาง ประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคพระมหาอุปราชา • เจดีย์ยุทธหัตถีของกาญจนบุรีมีลักษณะเหมือนเจดีย์วัด ช้างของจังหวัดอยุธยา เชื่อกันว่าสร้างในยุคเดียวกัน • วั น ที่ 25 เมษายนของทุ ก ปี จะมี ก ารจั ด งานเทิ ด พระเกียรติฯ นักท่องเที่ยวทุกคนไม่ควรพลาด พระบรมราชานุ ส าวรี ย ์ ส มเด็ จ พระนเรศวรมหาราช ต.ดอนเจดีย์ อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี

ที่ เ ที่ ย วห้ า มพลาด พิพิธภัณฑ์พระราชประวัติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ติ ด ต่ อ เทศบาลต� ำ บลดอนเจดี ย ์ จั ด แสดงโบราณวั ต ถุ ที่ ขุ ด พบจากพื้ น ที่ โ ดยรอบอาคาร โทร. 0-3465-2166 นิทรรศการ จัดแสดงข้อมูลทางประวัติศาสตร์บอกเล่าความ เปิดให้เข้าชม : ทุกวัน 08.00-17.00 น. เป็นมาของศึกรบต่างๆ ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช การเดิ น ทาง กิ จ กรรมห้ า มพลาด จากกาญจนบุรีใช้เส้นทางหลวง หมายเลข 324 จาก • สักการะหลวงพ่อดอกไม้ที่วัดดอนเจดีย์ กาญจนบุรีไป ประมาณ 14 กม. มีทางแยกขวาเข้าสู่พระบรม ราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ระยะทาง 4 กม.

79 issue 124 MAY 2018


กิ จ กรรมสอนหนั ง สื อ น้ อ งในชุ ม ชน ร่ ว มกั บ กลุ ่ ม ซ.อาสา ทุกวันเสาร์เยาวชนครอบครัวพอเพียง เข้าร่วมกิจกรรมสอนหนังสือน้องในชุมชน ร่วมกับ กลุ่ม ซ.โซ่อาสา ณ ชุมชนหัวรถ จักรตึกแดง บางซื่อ กรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เวลาว่างในการแบ่งปันประสบการณ์ ความรู้ และร่วมกิจกรรมนันทนาการกับน้องๆ ในชุมชนอย่างสนุกสนาน

“พฤกษา เชิ ญ จิ ต อาสา บริ จ าคโลหิ ต : ด้ ว ยหั ว ใจ หนึ่ ง คนให้ สามคนรั บ ” และ “ดั ด จั ด สรี ร ะบ� ำ บั ด ออฟฟิ ศ ซิ น โดรม”

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย มีนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างต่อเนื่อง จึงได้ร่วมกับ สภากาชาดไทย จัดโครงการ “พฤกษา จิตอาสา บริจาคโลหิต : ด้วยหัวใจ หนึ่งคนให้ สามคนรับ” ต่อเนื่องเป็นปีที่ 11 โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการจัดหาโลหิต ให้กับศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย เพื่อช่วยเหลือผู้เจ็บป่วยที่ต้องการ โลหิตตามโรงพยาบาลต่างๆ ทั่วประเทศ และร่วมกับวิสาหกิจสุขภาพชุมชนให้บริการ “ดัดจัดสรีระบ�ำบัดออฟฟิศซินโดรม” เพื่อ สร้างงานสร้างอาชีพให้เยาวชนบนดอยมีรายได้และช่วยกันปลูกป่า ในวันที่ 23 พฤษภาคม 2561 เวลา 9.00-15.00 น. ณ อาคาร Pearl Bangkok 80 IS AM ARE www.fosef.org


Round About จิ ต อาสาช่ ว ยงานพยาบาล บริษัท ไทยลักซ์ เอ็นเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด (มหาชน) ด�ำเนิน โครงการ “สานต่อความพอเพียง สู่ประมงโรงเรียนต�ำรวจตระเวน ชายแดนไทย” ปี2/2561 โดยการสนับสนุนอาหารสัตว์น้�ำเพื่อใช้ ในการเพาะเลี้ยง พร้อมถ่ายทอดเทคนิควิธีการเลี้ยงจากทีมงานผู้ เชี่ยวชาญ มุ่งมั่นยกระดับคุณภาพชีวิตเยาวชน ต่อยอดถึงชุมชนใน ท้องถิ่นทุรกันดาร แนวตะเข็บชายแดนไทย ให้พึ่งพาตนเองได้อย่าง ยั่งยืน โดยมีแผนการส่งมอบทั้งหมด 207 โรงเรียน ตชด.ทุกภูมิภาค ทั่วประเทศ โดยคณะผู้บริหาร และทีมงาน ร่วมเดินทางไปส่งมอบ อาหารสัตว์น�้ำ ณ โรงเรียน ตชด.บ้านใหม่พัฒนาสันติ ต.แม่นาจร อ.แม่แจ่ม โรงเรียนล�ำดับที่ 9 ใน 30 โรงเรียน ที่ได้ด�ำเนินโครงการฯ ในปี 2561 โดยได้รับเกียรติเข้าร่วมงานจากทุกภาคส่วน ได้แก่ หน่วย งาน ตชด. น�ำโดย พ.ต.ท.อภิชาติ รักพงษ์ รองผู้ก�ำกับการต�ำรวจ ตระเวนชายแดนที่ 33 ร.ต.ท.บัณฑิต เครือริยะ ครูใหญ่ รร.ตชด.บ้าน ใหม่พัฒนาสันติ พร้อมคณะครูและนักเรียน, หน่วยงานราชการส่วน ท้องถิ่น และตัวแทนคณะกรรมการสถานศึกษา ร่วมพิธีมอบอาหาร สัตว์น�้ำ โดยได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นจากทุกภาคส่วนดังกล่าว เมื่อวันที่ 23 พ.ค. 2561 ลู ก ไม้ ใ นสวน ทุกวันเสาร์เยาวชนจิตอาสาครอบครัวพอเพียงได้ร่วมกันจัดกิจกรรม “ลูกไม้ในสวน” เพื่อให้ความรู้เด็กๆ เกี่ยวกับหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5 ค�ำ 5 ข้อที่พ่อสอน ผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น ท�ำกระปุกออมสิน ระบายสีตัวการ์ตูนครอบครัว พอเพียง ต่อโมเดล ต่อจิ๊กซอเกมส์บันไดงู ณ บริเวณสนามเด็กเล่น สวนสันติภาพ โดยมีเยาวชนจิตอาสาจากโรงเรียนต่างๆ ใน กรุงเทพมหานครมาร่วมท�ำกิจกรรมเพื่อใช้เวลาว่างที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์

81 issue 124 MAY 2018


เว็ปไซต์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดี ๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี

www.fosef.org 82

IS AM ARE www.fosef.org


83 issue 124 MAY 2018


นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง พร้อมเสริพ์ให้ทุกท่านได้อ่านแล้ว!! เพี ย งแค่ ค ลิ ก เข้ า ไปที่ www.fosef.org ท่ า นก็ ส ามารถอ่ า นนิ ต ยสาร IS AM ARE ครอบครั ว พอเพี ย ง ได้ โ ดยไม่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ย เรื่ อ งราว สาระดี ๆ มากมายรอท่ า นอยู ่ หากอ่ า นแล้ ว ถู ก ใจอย่ า ลื ม บอกต่ อ นะครั บ 84 IS AM ARE www.fosef.org


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.