IS AM ARE NOV61

Page 1

IS AM ARE

ความภูมิใจในสถาบันของตน

ปรีดา จันทจิตต์

โรงเรียนมหาวชิ ราวุ ธสงขลา ชี วิตบราเดอร์

ภราดา ดร.บัญชา แสงหิรัญ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเอแบค


2 IS AM ARE www.fosef.org


“ถ้ า ท� ำ งานด้ ว ยความตั้ ง ใจที่ จ ะให้ เ กิ ด ผลอั น ยิ่ ง ใหญ่ คื อ ความเป็ น ปึ ก แผ่ น ของประเทศชาติ ด้ ว ยความสุ จ ริ ต และด้ ว ยความรู ้ ค วามสามารถด้ ว ยจริ ง ใจ ไม่ นึ ก ถึ ง เงิ น ทองหรื อ นึ ก ถึ ง ผลประโยชน์ ใ ดๆ ก็ เ ป็ น การท� ำ หน้ า ที่ โ ดยตรงและได้ ท� ำ หน้ า ที่ โ ดยเต็ ม ที่ ”

พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ ๙ พระราชทานแก่ ศึ ก ษาธิ ก ารจั ง หวั ด ทั่ ว ประเทศ ๑๓ ธั น วาคม ๒๕๑๑

3 issue 130 NOVEMber 2018


Editorial ทักทายกันเดือน ๑๒ น�้ำนองเต็มตลิ่ง ปีนี้ขนบธรรมเนียมประเพณีของคนไทยที่มีมาอย่างยาวนานหลายร้อยปี ตามประวัติศาสตร์ ตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยที่มีทั้งภาพ และชื่อของพระนาง ในนามต่างๆ ที่ปรากฏ เพื่อการระลึกถึงและเพื่อ การศึกษา ลอยกระทงปีนี้ บก. ก็ได้ไปลอยกระทงเหมือนในทุกปี แต่ไปเร็วและกลับบ้านเร็ว ส่วนสาเหตุที่ไปเร็วกลับเร็ว ก็ เพราะระหว่างนั่งรถจะไปลอยกระทง ได้ฟังนักจัดรายการทางวิทยุ จัดรายการและจับประเด็นให้ประชาชนมาออกความ คิดเห็นกันว่า ลอยกระทงปีนี้จะใช้วัสดุอะไรเพื่อท�ำกระทง ฟังวิทยุได้สักพักเริ่มสนุก เพราะความคิดเห็นของประชาชนที่เข้า มามีความหลากหลายมากจริงๆ ตั้งแต่ ใช้วิธีการน�ำธูป เทียน มัดกันและปักให้อยู่กับที่ด้วยดินน�้ำมัน ลงในขันที่มีน�้ำเกือบ เต็ม น�ำไปแช่แข็งในตู้เย็น ข้ามคืน แน่นอนว่า วันรุ่งขึ้น กระทงที่หลายคนคิด จึงออกมาเป็นรูปร่างของน�้ำแข็งก้อน ที่ตรง กลางมีธูปและเทียนอยู่ตรงกลาง ใช้ผ้าห่อ หรือใส่ถุงพลาสติก แล้วน�ำไปลอยเป็นกระทงน�้ำแข็ง และมีบางบ้านใช้กะลามะพร้าว ผูกเรียงติดด้วยเส้นเอ็นตามจ�ำนวนของคนในครอบครัวมีแสงเทียนอยู่กลางกะลา เรียกว่า ลอยกะลา และอีกหลายๆ บ้าน หลายๆ วิธี ที่จะคิดได้เพื่อสืบทอดขนบธรรมเนียมประเพณี การลอยกระทง แต่ที่ท�ำให้ต้องรีบกลับบ้านแล้วมานั่งฟังวิทยุอย่างตั้งใจ ก็เพราะความเห็นของ NGO บางคน พูดว่า ให้ยกเลิกการ ลอยกระทง เพราะมองว่า ท�ำให้สภาพแวดล้อมเต็มไปด้วยขยะ ขยะเต็มเมือง พอได้ยินแบบนี้มานั่งถามตัวเองว่า วันหนึ่งในบทเรียนหรือการบอกเล่าถึงประวัติศาสตร์ จะไม่มีการพูดถึงเรื่อง วันลอยกระทง และนึกเลยไปถึงเสียงเพลงวันลอยกระทง ไม่ใช่เฉพาะเสียงร้องของคนไทยนะ แต่เป็นเสียงของคนต่างชาติ ทั่วโลกที่ร้องเพลงนี้ได้ ร้องกันทุกที่ ถามตัวเองแล้วตอบ ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามของชาติ ต้องรักษา ส่วนการที่จะจัดการกับสิ่งที่เป็นผลหลังจาก เสร็จสิ้นประเพณี ซึ่งเป็นวิธีการที่สามารถจัดการให้หมดไปได้โดยไม่ท�ำให้ธรรมชาติต้องเสียหายมากนัก ระหว่างกระทงกับขวดน�้ำพลาสติกที่คนทุกคนดื่ม คนหนึ่งคนดื่มมากกว่า ๔ ขวดต่อวัน ขยะที่เกิดขึ้นทุกวินาที ทุกที่ ทั่วโลก ช่วยกันรณรงค์หยุดดื่มน�้ำจากขวดพลาสติกและหยุดใช้วัสดุที่ใช้เพียงครั้งเดียวแล้วทิ้งกันดีกว่าไหม

4 IS AM ARE www.fosef.org


Contributors

มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง

พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี ประธานโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ นายธนพร เทียนชัยกุล นายณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ นายภูวนาถ เผ่าจินดา นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา นางสาวเอื้อมพร นาวี ผศ.ดร.ปรีชาพร สุวัฒโนดม นายเอกรัตน์ คงรอด นายอภีม คู่พิทักษ์ นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ นายธงชัย วรไพจิตร นายภูริวิทย์ จงนิรักษ์ นางศิรินทร์ เผ่าจินดา

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก กรรมการ กรรมการ กรรมการ ผู้จัดการมูลนิธิ

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ดร.เชิดศักดิ์ ดร.กัมปนาท ดร.นฤมล ดร.อ�ำนาจ ดร.ชลพร ดร.กาญจนา ดร.ปิยฉัตร ดร.คุณานันท์

ศุภโสภณ บริบูรณ์ พระใหญ่ วัดจินดา กองค�ำ สุทธิเนียม กลิ่นสุวรรณ ทยายุทธ

Let’s

Start and Enjoy!

ส�ำนักงาน :

โทรศัพท์ : โทรสาร : เว็ปไซต์ :

5 issue 130 NOVEMber 2018

นิตยสารครอบครัวพอเพียง 663 ซอยพหลโยธิน 35 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 0 2939 5995 0 2939 5996 www.fosef.org


Hot Topic

8

วังแห่งโครงการ การเกษตรเพื่อประชาชน

30

ความภูมิใจในสถาบัน ของตน ปรีดา จันทจิตต์ โรงเรียนมหาวชิ ราวุ ธสงขลา

18

ชี วิตบราเดอร์ ภราดา ดร.บัญชา แสงหิรัญ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเอแบค

Don’t miss

62

76

70 6 IS AM ARE www.fosef.org

36 38


Table Of Contents

ดร.บัอธิกญ ชา แสงหิ ร ั ญ ารบดีมหาวิทยาลัยเอแบค

7 issue 130 NOVEMber 2018

เกร็ดการทรงงาน วังแห่งโครงการ การเกษตรเพื่อประชาชน Cover Story ชีวิตบราเดอร์ ภราดา ดร.บัญชา แสงหิรัญ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเอแบค Cartoon ความเป็นคนความเป็นครู ความภูมิใจในสถาบันของตน ปรีดา จันทจิตต์ โรงเรียนมหาวชิราวุธสงขลา ข่าวสารครอบครัวพอเพียง อาชีพทางเลือก การผลิตกระเทียมดอง สัจธรรมแห่งแนวพระราชด�ำริ ท�ำตามล�ำดับขั้น ชัยพัฒนา ย้อนหลังวันวารครั้งแรกที่เกิดขึ้น ในมูลนิธิชัยพัฒนา Let’s Talk พระพุทธเจ้าและค�ำสอนในมุมมอง รองศาสตราจารย์ สุเชาวน์ พลอยชุม เยาวชนของแผ่นดิน การเรียนเกษตรในมุมมองคนรุ่นใหม่ ภัทรศักดิ์ หิรัญนนทวัฒน์ 70 เส้นทางตามรอยพระบาท โดย ททท. โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเกาะและทะเลไทย ภาคตะวันออก จังหวัดชลบุรี Round About

8

18 26

30 36 38 40 48 62 70

76 78


วังแห่งโครงการ การเกษตรเพื่อประชาชน

สวนจิ ต รลดาอาจเป็ น วั ง พระมหากษั ต ริ ย ์ อ งค์ เ ดี ย วในโลกนี้ ที่ เ ป็ น สถานที่ ท ดลองโครงการนั บ ไม่ ถ ้ ว น เพื่ อ ผลประโยชน์ ข องราษฎร 8 IS AM ARE www.fosef.org


เกร็ ด การทรงงาน พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน (Chitralada Villa Royal Residence) เป็ น พระต� ำ หนั ก ในพระราชวั ง ดุ สิ ต หรื อ ที่ ชาวบ้านทั่วๆ ไปมักเรียกกันว่า “สวนจิตรลดา” สร้างขึ้นเมื่อ ปี 2456 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ บริเวณทุ่งส้มป่อย ซึ่งเป็นทุ่งนาระหว่างพระราชวังสวนดุสิต กับวังพญาไท โดยโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามทุ่งส้มป่อยว่า สวนจิตรลดา และพระราชทานนามพระต�ำหนักว่า “พระต�ำหนัก จิตรลดารโหฐาน” ในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว โปรดเกล้าฯ ให้ประกาศยกสวนจิตรลดาเป็นพระราชฐานอยู่ใน เขตพระราชวังดุสิต ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล อดุลยเดชโปรดเกล้าฯ ให้ใช้พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐานเป็น ที่ประทับถาวร โปรดเกล้าฯ ให้สร้างโรงเรียนจิตรลดา เมื่อ ปี 2501 เป็นสถานศึกษาชั้นต้นส�ำหรับพระโอรส พระธิดาและ บุตรหลานข้าราชส�ำนัก โปรดเกล้าฯ ให้สร้างศาลาดุสิดาลัย เป็นศาลาอเนกประสงค์

จุ ด เริ่ ม ต้ น ของโครงการส่ ว นพระองค์ ส วนจิ ต รลดา เป็ น การศึ ก ษา ค้ น คว้ า ทดลอง และวิ จั ย เพื่ อ แก้ ไ ข ปั ญ หาที่ ต ้ น เหตุ ด้ ว ยการสร้ า งฐานความรู ้ ด ้ ว ย การมอง วิ เ คราะห์ และทดลองแก้ ไ ขปั ญ หาด้ ว ย ปั ญ ญา ความพิเศษหนึ่งเดียวในโลกนี้ของพระต�ำหนักจิตรลดา คือ ในสถานที่แห่งนี้เป็นแหล่งทดลอง แหล่งวิจัย โครงการ ตามพระราชด�ำริทางด้านการเกษตรเพื่อประโยชน์ของชาวไทย คือ ภายในพระต�ำหนัก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรด เกล้าฯ ให้เป็นสถานที่ทดลองโครงการทดลองส่วนพระองค์เกี่ยว กับการเกษตร เพื่อน�ำผลการศึกษาพระราชทานแก่ประชาชน นับไม่ถ้วนโครงการ จุ ด เริ่ ม ต้ น ของโครงการส่ ว นพระองค์ ส วนจิ ต รลดา เป็ น การศึ ก ษา ค้ น คว้ า ทดลอง และวิ จั ย เพื่ อ แก้ไขปัญ หาที่ ต้นเหตุ ด้วยการสร้างฐานความรู้ด้วยการมอง วิเคราะห์ และ ทดลองแก้ไขปัญหาด้วยปัญญา ซึ่งสามารถน�ำไปสู่การปฏิบัติได้ จริง หัวใจของโครงการคือมุ่งหวังให้ที่นี่เป็นแหล่งเรียนรู้ที่เข้าถึง ได้ง่าย สามารถน�ำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้จริง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเริ่มจากสิ่งที่เป็นหัวใจ ส� ำ คั ญ ของประเทศ นั่ น คื อ การแก้ ไขปั ญ หาให้ แ ก่ เ กษตรกร ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ เช่น การปลูกข้าวต้องมีองค์ความ รู้ พระองค์ท่านทรงรวบรวมองค์ความรู้ผสมผสานเทคโนโลยี อย่างง่ายและเครื่องจักรกลสมัยใหม่เข้ากับวัฒนธรรมดั้งเดิม เป็นต้น ทุกกิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในโครงการส่วนพระองค์สวน จิตรลดา จึงด�ำเนินไปด้วยความสอดคล้องกับหัวใจของโครงการ ที่มุ่งหวังให้ที่นี่เป็นแหล่งเรียนรู้ที่เข้าถึงได้ง่าย สามารถน�ำความรู้ ไปประยุกต์ใช้ได้จริง และที่ส�ำคัญ ยังเป็นการเรียนรู้ท่ีมีรากฐาน ดั้งเดิมมาจากภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทยอย่างแท้จริง

พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน ภาพอดีต

พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน ปัจจุบัน 9

issue 130 NOVEMber 2018


วั น ที่ 7 พฤศจิ ก ายน 2496 พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จ พระราชด�ำเนินทรงปล่อยปลาหมอเทศซึ่งโปรดเกล้าฯ ให้จับจาก บ่อเลี้ยงส่วนพระองค์ในบริเวณพระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน

โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ดังนี้

1. โครงการที่ ไ ม่ ใช่ ธุ ร กิ จ เป็ น โครงการที่ ไ ด้ รั บ การ สนับสนุนจากหน่วยงานราชการต่างๆ ที่สนองแนวพระราชด�ำริ เกี่ยวกับการพัฒนากิจกรรมทางการเกษตร 2. โครงการกึ่ ง ธุ ร กิ จ เป็ น โครงการทดลองแปรรู ป ผลิตภัณฑ์จากการเกษตร ที่มีการบริหารการเงินครบวงจร โดย ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ให้แก่ผู้บริโภคในราคาที่ไม่หวังผล ก�ำไร

พระที่นั่งอัมพรสถาน แล้วได้พระราชทานพันธุ์ปลาหมอเทศ (Tilapia mossambica) ให้กับผู้ใหญ่และก�ำนันทั่วประเทศน�ำ ไปเลี้ยงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2495 1.1.2 ป่าไม้สาธิต (ปี 2503-2504) ในฤดูร้อนเกือบ ทุกปีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชด�ำเนินแปร พระราชฐานไปประทับ ณ วังไกลกังวล อ�ำเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ เมื่อเสด็จฯ ผ่านอ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี สองข้างทางมีต้นยางขนาดใหญ่ปลูกอยู่มากมาย จึงได้มีพระ ราชด�ำริที่จะสงวนบริเวณป่ายางนี้ไว้ให้เป็นสาธารณะ แต่ไม่ สามารถด�ำเนินการจัดถวายตามพระราชประสงค์ได้ เพราะ มีราษฎรมาท�ำสวนท�ำไร่ในบริเวณนั้นมาก และจะต้องใช้จ่าย เงิ น ทดแทนในการจั ด หาที่ ท� ำ กิ น ใหม่ แ ก่ ร าษฎรเหล่ า นั้ น ใน อัตราที่ไม่สามารถจะจัดได้ จึงได้ทรงทดลองปลูกต้นยางด้วย พระองค์เอง ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้น�ำพันธุ์ไม้ ต่างๆ ทั่วประเทศมาปลูกในบริเวณพระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน ในลักษณะป่าไม้สาธิต 1.1.3 น� ำ ข้ า วทดลอง (ปี 2504) พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมการข้าวมา จัดท�ำนาข้าวทดลองปลูกข้าวพันธุ์ต่างๆ ซึ่งทางราชการได้ขอ พระราชทานข้าวเปลือกที่ปลูกได้ส่วนหนึ่งไปใช้เป็นข้าวพิธีใน

1. โครงการที่ ไ ม่ ใ ช่ ธุ ร กิ จ เป็นโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานราชการ ต่างๆ ซึ่งสืบเนื่องมาจากการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนพระทัยในการเกษตร ทรงปลูกต้นไม้หลายชนิดบนพระ ระเบียงชั้นบนพระต�ำหนักที่ประทับ ทรงสนพระทัยและทรง ทดลองการใช้ปุ๋ย ทั้งปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยวิทยาศาสตร์ทุกชนิดด้วย พระองค์เองมาตลอดรวมถึงการเพาะพันธุ์ปลา จึงท�ำให้โครงการ ต่างๆ เกิดขึ้นหลายโครงการในสวนจิตรลดา นับตั้งแต่ปี 2495 เป็นต้นมา โดยจัดแบ่งเป็นกลุ่มกิจกรรมดังนี้

1.1 กิจกรรมด้านการเกษตร

1.1.1 ปลาหมอเทศ (ปี 2495) พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว ทรงเลี้ยงปลาหมอเทศ (Tilapia mossambica) โดยเริ่มจากทรงเลี้ยงในสระว่ายน�้ำหน้าพระที่นั่งอุดรในบริเวณ 10

IS AM ARE www.fosef.org


1.1.6 ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารเพาะเลี้ ย งเนื้ อ เยื่ อ พื ช วั น ที่ 9 พฤษภาคม 2528 มี พ ระราชกระแสให้ อ นุ รั ก ษ์ ต ้ น ขนุ น หลั ง พระที่ นั่ ง ไพศาลทั ก ษิ ณ ในพระบรมมหาราชวั ง จึ ง ได้ จั ด ท� ำ โครงการพั ฒ นาเทคโนโลยี ก ารเก็ บ รั ก ษาพั น ธุ ์ พื ช เอกลั ก ษณ์ โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ซึ่งมีขนุนไพศาลทักษิณ มณฑายี่หุบ พุดสวน ในพระบรมมหาราชวังและสมอไทย ในพระที่นั่งอัมพร สถาน นอกจากนี้ ยังมีการอนุรักษ์พรรณไม้เก่าแก่ ซึ่งเป็นพื้น ฐานในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรม พืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 1.1.7 สวนพืชสมุนไพร (ปี 2529) โดยมีวัตถุประสงค์ ที่ จ ะเป็ น แหล่ ง ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ สายพั น ธุ ์ วิ ธี ก ารขยายพั น ธุ ์ และเป็นพื้นฐานในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ จากพืชสมุนไพร ตลอดจนเผยแพร่คุณประโยชน์ของสมุนไพรแก่ผู้สนใจเข้าชม กิจการ 1.1.8 โครงการหวาย (ปี 2530) ได้จัดท�ำโครงการ “การ ขยายพันธุ์หวายที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจบางชนิด โดยวิธีการ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ” และ “การรวบรวมพันธุ์หวายและการศึกษา การเจริญเติบโตของหวายที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจบางชนิด” 1.1.9 โครงการทดลองปลู ก พื ช โดยปราศจากดิ น (ปี 2530) ได้ท�ำการทดลองปลูกพืชต่างๆ โดยปราศจากดิน เช่น พืชผัก ไม้ดอก ไม้ประดับ ซึ่งเป็นวิธีการปลูกพืชในพื้นที่ที่มีปัญหา พระราชพิธีพืชมงคล และพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ และมีเนื้อที่จ�ำกัดให้ได้ผลผลิตสูง 1.1.10 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก แจกให้กับชาวนาและเกษตรกร และให้พระยาแรกนาหว่าน ข้าวในแปลงนาทดลอง หลังจากงานพระราชพิธีจรดพระนังคัล ค ว า ม พิ เ ศ ษ ห นึ่ ง เ ดี ย ว ใ น โ ล ก นี้ ข อ ง พ ร ะ ต� ำ ห นั ก แรกนาขวัญเป็นประจ�ำทุกปี 1.1.4 ปลานิล (ปี 2508) ในวันที่ 25 มีนาคม 2508 จิ ต รลดาคื อ ในสถานที่ แ ห่ ง นี้ เ ป็ น แหล่ ง ทดลอง สมเด็จพระจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น ขณะด�ำรงพระยศเป็นมกุฎราช แหล่ ง วิ จั ย โครงการตามพระราชด� ำ ริ ท างด้ า น การเกษตรเพื่ อ ประโยชน์ ข องชาวไทย กุมารเจ้าชายอากิฮิโตะ ได้ทูลเกล้าฯ ถวายพันธุ์ปลา 1.1.5 ข้าวไร่ (ปี 2517) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ มีพระราชปรารภว่า ชาวนิคมช่วยตนเองจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กราบบังคมทูลว่า ผลผลิตจากข้าวไร่น้อยมากไม่เพียงพอกับค่า ครองชีพ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์น�ำปลานิลจากประเทศญี่ปุ่น (Tilapia nilotica) จ�ำนวน 50 ตัว ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเลี้ยงไว้ในบ่อปลา ในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา และได้พระราชทานพันธุ์ ปลานิลที่เพาะพันธุ์จากบ่อแก่กรมประมงเพื่อน�ำไปขยายพันธุ์ ทั่วประเทศทดลองปลูกข้าวไร่ (ข้าวหยอดหลุม) ขึ้นในบริเวณ โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ซึ่งสามารถผลิตข้าวได้ใน อัตราไม่ต�่ำกว่า 20 ถังต่อ 1 ไร่ 11 issue 130 NOVEMber 2018


ปี 2535 1.1.12 ธนาคารข้อมูลพันธุกรรมพืช (ปี 2537) เป็นการ ด�ำเนินงานต่อเนื่องของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่อง มาจากพระราชด�ำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ซึ่งมีพระราชด�ำริว่า “การท�ำศูนย์ข้อมูลพันธุกรรมพืช โดยมีคอมพิวเตอร์นั้น ควรให้มีโปรแกรมที่สามารถแสดงลักษณะ ของพืชออกมาเป็นภาพสีได้ เพื่อสะดวกในการอ้างอิงค้นคว้า” 1.1.13 โครงการทดลองปลูกพืชพรรณ : งานศึกษา ทดลองปลูกมะกอกโอลีฟ (Olea europaea L.) ในประเทศ (ปี 2539) จากที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชปรารภ กั บ นายแก้ ว ขวั ญ วั ช โรทั ย เลขาธิ ก ารพระราชวั ง ในฐานะ ผู้อ�ำนวยการโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา ถึงเรื่องมะกอก โอลีฟว่ามีคุณค่าและประโยชน์ในหลายๆ ด้าน อีกทั้งมีพระราช กระแสกับหลายหน่วยงาน ในการนี้ เลขาธิการพระราชวัง จึง มอบหมายให้ โ ครงการอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช อั น เนื่ อ งมาจาก พระราชด�ำริ ศึกษาและด�ำเนินการทดลองปลูกมะกอกโอลีฟใน ประเทศไทย 1.1.14 แปลงหญ้าทดลองนอกวัง (ปี 2537 - 2540) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้

พระราชด�ำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (ปี 2535) สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระราชด�ำริที่จะอนุรักษ์พืชชนิดต่างๆ ที่หายากและมีความ ส�ำคัญทางเศรษฐกิจโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา ฝ่าย วิ ช าการได้ ด� ำ เนิ น โครงการสนองตามพระราชด� ำ ริ มาตั้ ง แต่ ปี 2535 ในปี 2539 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่อง มาจากพระราชด�ำริฯ ได้จัดตั้งห้องแสดงพิพิธภัณฑ์พืช เพื่อจัด แสดงงานตัวอย่าง และนิทรรศการด้านพฤกษศาสตร์ อนุกรม วิธานพืช และปรับโครงสร้างเป็นหน่วยงานขึ้นตรงกับเลขาธิการ พระราชวัง ในฐานะผู้อ�ำนวยการโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ 1.1.11 ธนาคารพืชพรรณ (ปี 2536) ส�ำนักงานคณะ กรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระ ราชด�ำริได้สนับสนุนงบประมาณให้กับโครงการส่วนพระองค์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อการจัด สร้างอาคารธนาคารพืชพรรณ เป็นที่เก็บรักษาพันธุกรรมพืช ทั้ง ในรูปเมล็ดและเนื้อเยื่อ อันเป็นงานต่อเนื่องของโครงการส่วน พระองค์ สวนจิตรลดา ฝ่ายวิชาการ ซึ่งได้สนองพระราชด�ำริใน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มาตั้งแต่ 12

IS AM ARE www.fosef.org


น้ อ มเกล้ า ฯ ถวายพื้ น ที่ ว ่ า งเปล่ า ที่ ยั ง มิ ไ ด้ ใช้ ป ระโยชน์ ข อง สถานีฯ จ�ำนวนประมาณ 70 ไร่ ให้กับโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา เพื่อใช้ท�ำแปลงหญ้าทดลองส�ำหรับหญ้าสด และ หญ้าแห้งคุณภาพดี เพื่อเลี้ยงโคนมของโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา และศึกษาวิจัยเชิงเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับการท�ำ แปลงหญ้าเลี้ยงโคนม

1.2 กิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อม

1.2.1 โครงการบ�ำบัดน�้ำเสีย (ปี 2528) ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ทดลองปลูกผักตบชวาเพื่อขจัดน�้ำเสียบริเวณพระ ต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต ในเดือนพฤษภาคม 2537 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดท�ำโครงการบ�ำบัดน�้ำเสีย ให้เป็นน�้ำสะอาดสามารถบริโภคได้ โครงการนี้ได้รับความร่วม มือจากการประปานครหลวง และบริษัท อาควา จ�ำกัด 1.2.2 สถานีฝนสวนจิตรลดา (ปี 2535) เนื่องจากใน บริเวณพระต�ำหนักจิตรลดารโหฐานมีการทดลองการเกษตร มากมายหลายสาขา ซึ่งหากได้น�ำข้อมูลอุตุนิยมวิทยาเข้ามา พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงสนพระทั ย ใน ก า ร เ ก ษ ต ร ท ร ง ป ลู ก ต ้ น ไ ม ้ ห ล า ย ช นิ ด บ น พ ร ะ ระเบี ย งชั้ น บนพระต� ำ หนั ก ที่ ป ระทั บ ทรงสนพระทั ย และทรงทดลองการใช้ ปุ ๋ ย ทั้ ง ปุ ๋ ย อิ น ทรี ย ์ และปุ ๋ ย วิ ท ยาศาสตร์ ทุ ก ชนิ ด ด้ ว ยพระองค์ เ องมาตลอด รวมถึ ง การเพาะพั น ธุ ์ ป ลา จึ ง ท� ำ ให้ โ ครงการต่ า งๆ ถังหมักแก๊สรูปโดม และปี 2544 ได้ปรับปรุงถังหมักแก๊สชีวภาพ เกิ ด ขึ้ น หลายโครงการในสวนจิ ต รลดา ทั้งชนิดถังแก๊สลอย และรูปโดม ในปี 2552 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ประยุกต์ด้วยแล้ว จะท�ำให้การทดลองนั้นๆ เป็นวิชาการมากขึ้น ราชกุ ม ารี มี พ ระราชกระแสให้ โ ครงการส่ ว นพระองค์ สวน สามารถน�ำข้อมูลต่างๆ ไปใช้ในการวางแผนปลูกพืชหรือระบบ จิตรลดา และโรงเรียนจิตรลดา ศึกษาและด�ำเนินการการใช้ การใช้น�้ำกรมอุตุนิยมวิทยาจึงได้เข้ามาติดตั้งสถานีฝนที่บริเวณ เศษอาหารจากโรงครัวของโรงเรียนจิตรลดา และมูลโคของโรง โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม โคนม สวนจิตรลดาในการผลิตแก๊สชีวภาพ เพื่อใช้เป็นแก๊ส หุงต้มในโรงครัวของโรงเรียนจิตรลดา 2535 1.3.2 เชื้อเพลิงเขียว (ปี 2530) เชื้อเพลิงจากวัสดุเหลือ ใช้จากการเกษตรเป็นสิ่งซึ่งโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา 1.3 กิจกรรมด้านพลังงาน 1.3.1 การผลิตแก๊สชีวภาพหรือไบโอแก๊ส (แก๊สมูลสัตว์) สนใจพัฒนาต่อจากเชื้อเพลิงแท่ง ซึ่งผลิตจากแกลบบด เศษวัสดุ (ปี 2521) กรมอนามัยและคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัย เหลือใช้ ทั้งชานอ้อย เปลือกส้ม และผักตบชวาจากโครงการ มหิดล ได้น้อมเกล้าฯ ถวายการจัดสร้างบ่อแก๊สชีวภาพ ชนิด ก�ำจัดน�้ำเสีย สามารถน�ำมาผลิตเป็นเชื้อเพลิงเขียวส�ำหรับใช้เป็น ถังแก๊สลอยส�ำหรับใช้เป็นเชื้อเพลิงหุงต้มภายในโรงโคนม สวน แหล่งพลังงานได้ทั้งสิ้น 1.3.3 บ้านพลังงานแสงอาทิตย์ (ปี 2539) กรมการ จิตรลดา และสาธิตประโยชน์ของการใช้มูลโค ซึ่งเป็นวัสดุเหลือ พลั ง งานทหาร ศู น ย์ ก ารอุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศและ ใช้จากโรงโคนม ในปี 2525 ได้จัดสร้างบ่อแก๊สชีวภาพเพิ่มเติมเป็นแบบ พลังงานทหาร ได้น้อมเกล้าฯ ถวายบ้านพลังงานแสงอาทิตย์ 13 issue 130 NOVEMber 2018


สอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะคุณภาพของนมสดและ นมผง 1.4.2 งานห้องปฏิบัติการวิจัยและพัฒนา ศึกษาวิจัยและ พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ โดยหาแนวทางในการน�ำผลผลิตและสิ่ง เหลือใช้จากการเกษตรมาใช้ให้เกิดประโยชน์

1.5 กิจกรรมด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ

1.5.1 ศูนย์คอมพิวเตอร์โครงการส่วนพระองค์ สวน จิตรลดาและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (ปี 2539) ตั้งแต่การ ผลิต คลังเก็บสินค้า การจ�ำหน่าย และระบบบัญชีการเงิน ทั้ง ยังเป็นศูนย์กลางข้อมูลเพื่อการศึกษาวิจัยโดยผ่านระบบเครือ ข่ายคอมพิวเตอร์ 1.5.2 ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (ปี 2539) ซึ่งเป็น เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงข่าวสารจากหน่วยงานต่างๆ ในประเทศไทย ที่มีข้อมูลเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตลอดจนข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทยที่น่าสนใจโดยผ่านระบบ อินเตอร์เน็ต 1.6.1 ศาลามหามงคล (ปี 2530) เพื่ อ ใช้ รั บ รอง ผู้เข้าชมที่มารับฟังบรรยาย และใช้ในการจัดนิทรรศการของ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงเริ่ ม จากสิ่ ง ที่ เ ป็ น หั ว ใจส� ำ คั ญ ของประเทศ นั่ น คื อ การแก้ ไ ขปั ญ หา ให้ แ ก่ เ กษตรกรซึ่ ง เป็ น ประชากรส่ ว นใหญ่ เช่ น การปลู ก ข้ า วต้ อ งมี อ งค์ ค วามรู ้ พระองค์ ท ่ า นทรง รวบรวมองค์ ค วามรู ้ ผ สมผสานเทคโนโลยี อ ย่ า ง ง่ า ยและเครื่ อ งจั ก รกลสมั ย ใหม่ เ ข้ า กั บ วั ฒ นธรรม ดั้ ง เดิ ม เป็ น ต้ น

พร้อมอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อใช้ในการศึกษาทดลองเกี่ยวกับการใช้ พลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานทางเลือก 1.3.4 อาคารควบคุมสภาวะแวดล้อมระบบผลิตน�้ำเย็น โดยใช้พลังงานความร้อนจากแกลบ (ปี 2542) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสาธิตการประยุกต์ใช้วัสดุเหลือใช้จากการเกษตร นอกจาก นั้นความเย็นที่ได้จากพลังงานความร้อนจากแกลบยังสามารถน�ำ ไปใช้กับระบบปรับอากาศของส�ำนักงานข้างเคียงและศาลามหา มงคล ผลพลอยได้จากระบบนี้ คือ เถ้าถ่านจากการเผาไหม้แกลบ สามารถน�ำไปใช้ในการปรับสภาพดินส�ำหรับการเพาะปลูก 1.3.5 การสาธิตการใช้ประโยชน์พลังงานลมเพื่อผลิต พลังงานไฟฟ้า (ปี 2550) บริษัท จีอีเอ็ม โกลบอล อีเนอร์จี แมเนจเมนท์ จ�ำกัด น้อมเกล้าฯ ถวายกังหันลมเพื่อสาธิตการ ใช้ประโยชน์จากพลังงานลมเป็นพลังงานทดแทน เพื่อผลิตไฟฟ้า ขนาด 7.5 กิโลวัตต์ (Kw) เป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีพลังงาน ลมของโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา

โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา โดยน�ำไม้ที่รื้อมาจากสโมสร ข้าราชบริพารในพระองค์หลังเดิม ซึ่งช�ำรุดและหมดสภาพแล้ว มาสร้างและต่อเติมให้สมบูรณ์ขึ้นใหม่ โดยมีขนาดความกว้าง 15 เมตร ยาว 27 เมตร สามารถรองรับผู้มาเยี่ยมสูงสุดแต่ละ ครั้งเป็นจ�ำนวน 500 คน 1.6.2 คลังผลิตภัณฑ์โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา (ปี 2540)

2. โครงการกึ่ ง ธุ ร กิ จ เป็ น โครงการศึ ก ษา ทดลองเกี่ ย วกั บ การแปรรู ป นมและผลผลิ ต ทางการ เกษตร เพื่อน�ำออกจ�ำหน่ายโดยไม่หวังผลก�ำไร และด�ำเนินการ 1.4 กิจกรรมด้านห้องปฏิบัติการและวิจัยพัฒนา 1.4.1 งานควบคุมคุณภาพการผลิตภัณฑ์ สามารถตรวจ โดยมีการบริหารการเงินครบวงจร มีรายได้ รายจ่าย โดยไม่มี 14 IS AM ARE www.fosef.org


โบนัส แต่น�ำรายได้จากการจ�ำหน่ายมาใช้พัฒนาโครงการส่วน พระองค์ สวนจิตรลดาต่อไป โดยแบ่งผลิตภัณฑ์ออกได้ดังนี้ คือ 2.1 กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรม 2.1.1 โรงโคนม สวนจิตรลดา (ปี 2505) ได้มีผู้น้อมเกล้าฯ ถวายโคเพศเมีย 5 ตัว เพศผู้ 1 ตัว จึงได้ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา จัดการเลี้ยงโคนม ร่วมกับเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ ซึ่งโคนมส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ลูกผสม โฮลสโตน์-ฟรีส์เซี่ยน (Holstein-Friesian) มีการจ�ำหน่ายนมสด ที่รีดได้แก่สมาชิกของโรงโคนม สวนจิตรลดา และพระราชทาน ลูกโคเพศผู้เป็นโคพันธุ์แก่เกษตรกรที่ท�ำหนังสือขอพระราชทาน 2.1.2 โรงนมผง สวนดุ สิ ต (ปี 2512) จากสภาวะ นมสดล้ น ตลาด เกษตรกรผู ้ เ ลี้ ย งโคนมได้ ทู ล เกล้ า ฯ ถวาย ฎี ก าขอพระราชทานความช่ ว ยเหลื อ จากพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว ซึ่งได้ทรงจัดตั้งโรงนมผงขึ้น และพระราชทาน ชื่อว่า “โรงนมผง สวนดุสิต” โรงนมผงแห่งนี้ถือเป็น “โรงนมผง แห่งแรกในประเทศไทย” ซึ่งมีการพัฒนาอุปกรณ์เครื่องจักรมา โดยตลอดเพื่อให้คุณภาพนมผงที่ผลิตดีขึ้น สามารถผลิตนมผง ได้ 8 ตันต่อวัน 2.1.3 ศูนย์รวมนม สวนจิตรลดา (ปี 2516) เมื่อการผลิต นมผงในระยะแรกประสบอุปสรรคและการขายขาดทุนอยู่เนืองๆ จึ ง มี ค วามจ� ำ เป็ น ที่ จ ะต้ อ งด� ำ เนิ น กิ จ การอื่ น เพื่ อ เป็ น รายได้ สนับสนุนโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา จึงได้สร้าง “ศูนย์ รวมนม” ขึ้น เพื่อรับซื้อนมจากเกษตรกรในบริเวณชานเมืองและ

จากสหกรณ์ต่างๆ เช่น สหกรณ์โคนมอยุธยา และสหกรณ์โคนม หนองโพราชบุรี จ�ำกัด (ในพระบรมราชูปถัมภ์) มาจัดจ�ำหน่าย โดยผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อพาสเจอร์ไรส์และโฮโมจิไนส์ 2.1.4 โรงนมเม็ด สวนดุสิต (ปี 2527) ได้ปรับปรุงการ ผลิตนมเม็ดขึ้นใหม่อีกครั้งหนึ่ง หลังจากที่ได้เคยทดลองผลิต เมื่อปี 2512 และมีอุปสรรคทางเทคนิคไม่สามารถด�ำเนินการ ต่อไป 2.1.5 โรงนมแข็ง สวนจิตรลดา (ปี 2530) ในวโรกาส มหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษา 5 รอบ โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา ได้จัดท�ำโครงการ ศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตเนยแข็ง เพื่อการค้นคว้าทดลอง และส่งเสริมแนะน�ำเป็นอาชีพต่อไป สมเด็จพระเทพรัตนราช สุ ด าฯ สยามบรมราชกุ มารี พระราชทานชื่ อ “เนยแข็งมหา มงคล” 2.1.6 โรงน�้ำดื่ม สวนจิตรลดา (ปี 2530-2531) ได้ ส่งตัวอย่างน�้ำที่ได้จากการควบแน่นจากชุดระเหยนม ไปตรวจ วิเคราะห์ที่สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพบว่ามีความ เหมาะสมที่จะใช้เป็นน�้ำบริโภค จึงได้ก่อสร้างต่อเติมห้องน�้ำกลั่น เพื่อผลิตน�้ำกลั่นบริโภค 2.1.7 โครงการจั ด ตั้ ง สหกรณ์ โ คนมจั ง หวั ด ชุ ม พร และโรงงานผลิ ต นมพาสเจอร์ ไ รส์ (ปี 2540) โครงการ ส่ ว นพระองค์ สวนจิ ต รลดา ได้ ใ ห้ ค วามร่ ว มมื อ กั บ สถาบั น เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรมปศุสัตว์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ สหกรณ์โคนมหนองโพราชบุรี จ�ำกัด ใน พระบรมราชูปถัมภ์ และจังหวัดชุมพร ด�ำเนินโครงการจัดตั้ง สหกรณ์โคนมจังหวัดชุมพร และโรงงานผลิตนมพาสเจอร์ไรส์ ตามความต้องการของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมในจังหวัดชุมพร ปัจจุบันโรงนมแห่งนี้ดูแลและด�ำเนินงานโดยสถาบันเทคโนโลยี 15

issue 130 NOVEMber 2018


พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2.1.8 โครงการนมฟลูออไรด์ (ปี 2543) เริ่มด�ำเนิน การผลิ ต นมฟลู อ อไรด์ เ ป็ น ครั้ ง แรกในประเทศไทย ภายใต้ โครงการนมฟลูออไรด์ป้องกันฟัน ผุในประเทศไทย สามารถ รองรับน�้ำนมดิบจากเกษตรกรได้มากขึ้นในสถานการณ์วิกฤต น�้ำนมดิบล้นตลาดในช่วงปิดเทอม 2.1.9 โรงน�้ำดื่มวังไกลกังวล (ปี 2545) ได้ก่อสร้าง โรงน�้ำดื่มที่วังไกลกังวล อ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยผลิตน�้ำดื่มชนิดขวด ขนาด 500 มิลลิลิตร ออกจ�ำหน่ายอีก ด้วย โดยในปัจจุบันโรงน�้ำดื่ม วังไกลกังวลอยู่ในการก�ำกับดูแล ของกองงานส่วนพระองค์ ส�ำนักพระราชวัง 2.1.10 โรงงานนมยูเอชที สวนจิตรลดา (ปี 2546) ได้ ก่อสร้างอาคารและติดตั้งเครื่องยูเอชที (Ultra High Temperature) ก�ำลังการผลิต 20 ตันต่อวัน เพื่อให้สามารถช่วยเหลือ เกษตรกรและสหกรณ์โคนม

ไม้ แก่โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา โดยในระยะแรก ได้ ผลิตกระเทียมอบแห้ง ออกมาเป็นผลิตภัณฑ์ออกจ�ำหน่าย ใน ปี 2547 งานผลิตภัณฑ์อบแห้งได้ขยายห้องผลิตภัณฑ์ขนมปัง เพิ่มขึ้นอีก 1 ห้อง โดยทดลองผลิตขนมปังสอดไส้รสต่างๆ และ ผลิตภัณฑ์พายออกจ�ำหน่ายเพิ่มขึ้น 2.2.4 งานอินทรียวัตถุ (ปี 2528) ได้เริ่มโครงการผลิต ปุ๋ย อินทรีย์ โดยศึกษากระบวนการผลิตปุ๋ยหมักจากเศษวัสดุเหลือใช้ ทางการเกษตร ปัจจุบันงานอินทรียวัตถุได้มีการพัฒนาปุ๋ยหมัก ชนิดปุ๋ยอัดเม็ด เพื่อความสะดวกให้แก่ผู้บริโภค 2.2.5 โรงหล่อเทียนหลวง สวนจิตรลดา (ปี 2529) ได้ สร้างโรงหล่อเทียนหลวง สวนจิตรลดา เพื่อผลิตเทียนหลวงใช้ใน ราชการส�ำนักพระราชวังแทนการฟั่นเทียนด้วยมือและด�ำเนิน การหล่อเทียน เพื่อให้ได้เทียนที่มีคุณภาพส�ำหรับใช้ในพระราช พิธีต่างๆ ในราชส�ำนัก 2.2.6 โรงอาหารปลาและสาหร่ายเกลียวทอง (ปี 2529) โรงอาหารปลาและสาหร่ายเกลียวทอง ได้ศึกษาความเป็นไป ได้ในการน�ำน�้ำกากมูลหมัก ซึ่งเป็นผลพลอยได้จากการผลิต แก๊สชีวภาพ เพื่อศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสม และทดลองผลิต อาหารปลาที่มีสาหร่ายเกลียวทองผสมอยู่ด้วย 2.2.7 โรงเพาะเห็ด (ปี 2531) ได้สร้างโรงเพาะเห็ด เพื่อเพาะเห็ดชนิดต่างๆ เช่น เห็ดฟาง เห็ดหูหนู เห็ดนางฟ้า เห็ดนางรม เห็ดเป๋าฮื้อ ฯลฯ โดยใช้เศษวัสดุเหลือใช้ทางการ เกษตร 2.2.8 โรงกระถางผักตบชวา (ปี 2532-2548) พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชด�ำริ เกี่ยวกับการน�ำผักตบชวาไป

2.2 กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรม 2.2.1 โรงสี ข ้ า วตั ว อย่ า ง สวนจิ ต รลดา (ปี 2514) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา จัดตั้งโรงสีข้าวทดลองขึ้น และได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างยุ้งฉางเก็บข้าวเปลือก แบบต่างๆ รวมทั้งยุ้งฉางข้าวแบบสหกรณ์ 2.2.2 งานน�้ำผลไม้พาสเจอร์ไรส์ (ปี 2527) ได้ผลิต น�้ำส้มคั้น และน�้ำอ้อยพลาสเจอร์ไรส์นมสดเดิมเพื่อเป็นโครงการ แนะน�ำชาวไร่ส้มและไร่อ้อย ในการแก้ไขอุปสรรคและปัญหา ด้านการตลาดของส้มและอ้อย 2.2.3 งานผลิตภัณฑ์อบแห้ง (ปี 2528) สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานเครื่องอบผล

16 IS AM ARE www.fosef.org


เผยแพร่กรรมวิธีการผลิตให้กับนิสิต นักศึกษา และผู้ที่สนใจ ปัจจุบันโรงกระดาษสา ได้ด�ำเนินการสาธิตงานหัตถกรรมชนิด ต่าง ๆ 2.2.12 โรงสาหร่ายเกลียวทอง สวนอุไทยธรรม จังหวัด ปทุมธานี (ปี 2547) เพื่อเป็นการขยายก�ำลังการผลิตสาหร่าย เกลียวทองให้ได้ปริมาณมากยิ่งขึ้น 2.3 กลุ ่ ม พลั ง งานทดแทนโครงการส่ ว นพระองค์ สวนจิ ต รลดา มี โ ครงการเกี่ ย วกั บ พลั ง งานทดแทน อี ก หลายหน่ ว ยงาน เช่ น - โรงบดแกลบ (ปี 2518) - งานทดลองผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิง (ปี 2528) - โครงการดีโซฮอล์ (ปี 2540) - โครงการไบโอดีเซล (ปี 2546) จากตัวอย่างโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาเพียง ส่วนหนึ่งเท่าที่ได้กล่าวมานี้ จะเห็นว่าสวนจิตรลดาเป็นยิ่งกว่า ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ หากเป็นสวนที่รวมเรื่องเกือบ ทุ ก อย่ า งในโลกไว้ ที่ เ ป็ น ทั้ ง โรงเรี ย นและห้ อ งทดลองศึ ก ษา ค้นคว้าวิจัย เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ ให้กับคนไทยโดยเฉพาะ สวน จิตรลดามีนับตั้งแต่โรงเรียนชั้นประถมไปจนถึงศูนย์คอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต น�ำเข้าการประมง ป่าไม้ ไปจนถึง โรงงานอุตสาหกรรม ทางด้านเชื้อเพลิงและโคนม ซึ่งล้วนแล้ว แต่สะท้อนถึงน�้ำพระราชหฤทัยของพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ ซึ่ง ใช้ให้เป็นประโยชน์ นอกเหนือจากการน�ำไปท�ำปุ๋ยอินทรีย์และ มีต่อราษฎรที่ทรงห่วงใยและทรงทุ่มเทพยายามคิดแก้ไขปัญหา ให้ตลอดมาอย่างยากที่จะหาพระมหากษัตริย์ในโลกนี้ ทั้งโลก เชื้อเพลิงเขียว เช่น ท�ำกระถางจากผักตบชวา 2.2.9 งานผลิตภัณฑ์น�้ำผึ้ง (ปี 2534) เป็นโครงการ ในอดีตและโลกปัจจุบันจะมาเทียบเทียมได้ ผลิ ต น�้ ำ ผึ้ ง บรรจุ ห ลอดพลาสติ ก และบรรจุ ข วดขนาดต่ า งๆ โดยได้ รั บ ซื้ อ น�้ ำ ผึ้ ง จากสหกรณ์ ผู ้ เ ลี้ ย งผึ้ ง ภาคเหนื อ จั ง หวั ด เชียงใหม่ 2.2.10 งานผลิตภัณฑ์บรรจุกระป๋อง (ปี 2535) ได้ ก่อสร้างโรงงานน�้ำผลไม้บรรจุกระป๋อง เพื่อเป็นโรงงานต้นแบบ ในการผลิตน�้ำผลไม้ต่างๆ ครบวงจร โดยมีการผลิตน�้ำผลไม้ เข้มข้น น�้ำผลไม้บรรจุกระป๋อง เช่น น�้ำมะม่วง น�้ำกระเจี๊ยบ เป็นต้น เพื่อเป็นต้นแบบให้แก่เกษตรกรและผู้ที่สนใจ สามารถ เข้ า มาศึ ก ษาน� ำ ความรู ้ ใ นการผลิ ต น�้ ำ ผลไม้ แ ต่ ล ะชนิ ด ไปใช้ ประโยชน์ต่อไป 2.2.11 โรงกระดาษสา (ปี 2535) ได้ ส ร้ า งอาคาร เฉลิ ม พระเกี ย รติ โรงกระดาษสา เนื่ อ งในวโรกาสที่ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พ ระบรมราชิ นี น าถ มี พ ระชนมพรรษา 5 รอบ เพื่อใช้เป็นสถานที่ผลิตกระดาษสาแบบครบวงจร รวมถึง 17 issue 130 NOVEMber 2018


cover story

ชี วิตบราเดอร์

ภราดา ดร.บัญชา แสงหิรัญ

อธิการบดีมหาวิทยาลัยเอแบค

“ตอนเด็ ก ๆ ไม่ ไ ด้ มี เ หตุ ผ ลอะไรมากนั ก เราอยากรู ้ ว ่ า ชี วิ ต บราเดอร์ เ ป็ น ยั ง ไง เห็ น เขาใส่ ชุ ด สี ข าวๆ” ภราดา ดร.บั ญ ชา แสงหิ รั ญ อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย เอแบค เล่ า ย้ อ นความเป็ น มาในวิ ถี ท างที่ ต นเอง เป็ น คนเลื อ กตั้ ง แต่ เ ด็ ก แตกต่ า งอย่ า งสิ้ น เชิ ง กั บ พื้ น ฐานครอบครั ว ชาวนาที่ เ ขาด� ำ รงอยู ่

18 IS AM ARE www.fosef.org


19 issue 130 NOVEMber 2018


แม้จะเป็นลูกชาวนา แต่ ดร.บัญชา ไม่ได้ท�ำนาตามบิดา มารดา เขามุ่งหน้าเรียนหนังสือด้วยเหตุผล “อยากไปสู่โลกใหม่” โดยเริ่มจากการสมัครตัวเป็นบราเดอร์ฝึกหัดที่โรงเรียนอัสสัมชัญ ศรีราชาพร้อมกับได้รับโอกาสเรียนหนังสือจนกระทั่งจบชั้น ม. 6 ก่อนถูกส่งตัวไปที่โรงเรียนเซนต์คาเบรียล กรุงเทพมหานคร ตาม ล�ำดับขั้น ซีกหนึ่งของชีวิตคือการฝึกหัดตัวเป็นบราเดอร์เช่นเดียว กับการฝึกงาน ขณะเดียวกันเขาก็ได้รับโอกาสให้เรียนหนังสือไป ด้วย กล่าวโดยรวมคือ ดร.บัญชา เริ่ม “ท�ำงาน” ไปพร้อมๆ กับ “เรียนหนังสือ” ตั้งแต่เด็ก ซึ่งเป็นวิถีชีวิตที่แตกต่างจากเด็กส่วน ใหญ่ในสังคมไทย เพราะชีวิตบราเดอร์ต้องถูกหล่อหลอมปลูกฝัง ตามแนวทางคาทอลิกตั้งแต่เด็ก และถูกส่งไปหาประสบการณ์ ดร.บัญชา เป็นคนจังหวัดฉะเชิงเทราโดยก�ำเนิด ตั้งแต่ ทุกคน ไม่เคยได้อยู่กับที่ได้นาน หากออกเดินทางในแวดวงการ เขาก้าวเข้าสู่โลกของบราเดอร์ในโรงเรียนอัสสัมชัญ ชีวิตก็ถูก ศึกษาเพื่อพบเจอความท้าทายต่างๆ อยู่ตลอดเวลา ก�ำหนดให้เดินทางไปตามที่ต่างๆ แล้วแต่จะถูกก�ำหนดให้ไป และมีโอกาสกลับบ้านได้เพียงปีละ 20 วันเท่านั้นในช่วงปิด เทอม สิ่งที่ต้องรักษาไว้มากที่สุดก็คือระเบียบวินัยเพื่อพัฒนา ตนเอง ท�ำให้เขาประทับใจในการท�ำงานอย่างเอาจริงเอาจัง ของครูอาจารย์ “เรามองว่า พอเราอยู่ในคนหมู่มาก จะท�ำอะไรก็ต้อง ไปด้วยกัน ถ้าต่างคนต่างท�ำก็จะท�ำอะไรไม่ได้ ในช่วงนั้นก็คิด แค่นี้ ถ้าไม่ท�ำตามอย่างเขาเราก็ไม่ได้รู้ในสิ่งที่เขาจะให้ท�ำในขั้น ต่อไปเรื่อยๆ เช่น เวลานี้เรียนหนังสือนะ เวลานี้เล่นฟุตบอลนะ เวลานี้ต้องทานอาหารนะ” หลังจาก จบ ม.8 ที่โรงเรียนเซนต์คาเบรียลในสมัยนั้น ดร.บัญชา ถูกส่งเข้าศูนย์ฝึกหัดบราเดอร์อย่างเต็มตัว กล่าว คือ เขาต้องบวชเป็นบราเดอร์และถูกส่งไปที่ประเทศอินเดีย เพราะช่วงนั้นประเทศไทยยังไม่มีหลักสูตรบราเดอร์ กล่าวอีกนัย หนึ่ง ดร.บัญชาถูกส่งไปใช้ชีวิตอย่างยากล�ำบาก ทั้งด้านอาหาร การด�ำรงชีวิต เพื่อฝึกความอดทนในกรอบของระเบียบวินัย “คณะบราเดอร์ของเราเกิดขึ้นที่ฝรั่งเศส จากนั้นก็ขยาย ไปสเปน, แคนาดา ทางเอเชียเข้ามาทีหลัง มาเมื่อตอนที่พวก บราเดอร์ เ ดิ น ทางจากต่ า งประเทศเข้ า มาสอนที่ ใ นกรุ ง เทพฯ ประมาณช่วงสงครามโลก 2485 ช่วงนั้นประเทศไทยไม่มีอะไร เราก็เริ่มทีหลังเขา อินเดียมาก่อนเพราะเขามีคนของเขาเยอะ แล้วก็ตั้งศูนย์ของเขาซึ่งจัดตั้งมาก่อนแล้วล่วงหน้า เราก็เห็นว่า มันใกล้ แต่ก่อนช่วงนั้นพวกบราเดอร์ก็ไปที่ปีนัง และช่วงหลังที่ เป็นทางการก็เป็นที่อินเดีย เราก็ไปที่นั่น เพราะเขามีศูนย์ที่อยู่ ใกล้ไม่ต้องเดินทางไปไกลเสียเงินเสียทอง ไปอยู่ปะปนกับชาว อินเดียที่มาบวช ก็เลยเข้ามาศึกษาวินัย” 20 IS AM ARE www.fosef.org


นบน้ อ ม บริ สุ ท ธิ์ ยากจน ที่ประเทศอินเดีย ดร.บัญชา และบราเดอร์ทุกคนใน สมัยนั้น ต้องเผชิญกับความอดทนอดกลั้น ด้วยสภาพแวดล้อม วัฒนธรรม กระทั่งลักษณะนิสัยของผู้คนซึ่งต่างออกไป สิ่งที่ ต้องท�ำก็คือการควบคุมอารมณ์ต่างๆ ของตนเองให้ได้ เป็น เหมือนด่านทดสอบที่ต้องเผชิญ ดร.บัญชา ถูกส่งไปฝึกอยู่ที่ นั่น 2 ปี ให้รู้จักการเข้าหาคนให้ได้ทุกรูปแบบ ภายใต้กฎ 3 ข้อ ของบราเดอร์ก็คือ ถือความนบน้อม ความบริสุทธิ์ และความ ยากจน ก่อนจะถูกส่งตัวไปฝึกในระดับต่อไป “พอกลับ มาเมืองไทยเขาก็ให้เราไปท�ำ งานที่ โรงเรี ย น อัสสัมชัญระยองเป็นที่แรก ไปสอนภาษาอังกฤษ แต่ต้องสอบ ใบรับรองประกาศนียบัตรพิเศษทางด้านการสอน เราไม่ได้เก่ง แต่เราขยันท่องหนังสือจนสอบได้ “มันท้าทายมาก เพราะเราไม่เคยสอน กระบวนการเรียน การสอนเราก็ไม่มี ความรู้เรามีแค่ ม.8 แต่ก็ยังสูงกว่าเด็ก เรา พยายามสอนในสิ่งที่เรามี มันสอนให้เรารู้ว่าเราต้องช่วยตัวเอง เราต้องฟันฝ่าอุปสรรค เราต้องเรียน จะสอนอะไรเราต้องศึกษา ให้ดี แล้วก็เตรียมตัวให้ดี ถูกฝึกอย่างนี้มาตั้งแต่เล็กๆ” ประสบการณ์จากการสอนในครั้งแรก ดร.บัญชามองว่า พื้นฐานของเด็กทุกคนมีนิสัยที่ดี แตกต่างกันเพียงการแสดงออก

เรามองว่ า พอเราอยู ่ ใ นคนหมู ่ ม าก จะท� ำ อะไรก็ ต ้ อ ง ไปด้ ว ยกั น ถ้ า ต่ า งคนต่ า งท� ำ ก็ จ ะท� ำ อะไรไม่ ไ ด้ ใน ช่ ว งนั้ น ก็ คิ ด แค่ นี้ ถ้ า ไม่ ท� ำ ตามอย่ า งเขาเราก็ ไ ม่ ไ ด้ รู ้ ใ นสิ่ ง ที่ เ ขาจะให้ ท� ำ ในขั้ น ต่ อ ไปเรื่ อ ยๆ เช่ น เวลานี้ เรี ย นหนั ง สื อ นะ เวลานี้ เ ล่ น ฟุ ต บอลนะ เวลานี้ ต ้ อ ง ทานอาหารนะ บางคนซนมาก บางคนซนน้อย บางคนเล่นเก่ง บางคนเรียนเก่ง ไม่เหมือนกัน คนที่เรียนเก่งอยู่แล้วบราเดอร์จะไม่เข้าไปยุ่ง หาก แต่จะสนใจดูแลคนที่นอกลู่นอกทางเป็นพิเศษ ดร.บัญชา ได้รับ รู้ถึงระเบียบวินัยที่ตนเองถูกฝึกมา เพราะจะต้องเอามาใช้เป็น ตัวอย่างให้กับลูกศิษย์ ซึ่งถือระเบียบวินัยและบทลงโทษเป็น ส�ำคัญ “สมัยก่อนผมตีเก่ง ต้องยอมรับ ศิษย์เก่าที่เคยเรียนกับ ผมที่อัสสัมชัญระยองจะทราบดี แต่เราพยายามสร้างระเบียบ วินัยขึ้นมา ให้เด็กจะได้มีความตั้งใจในการเรียนหนังสือ เป้า หมายของเราคือต้องการเปลี่ยนนิสัยของเขา แล้วก็ให้เขาตั้งใจ เรียนหนังสือ ผมอยู่ที่อัสสัมชัญระยอง 2 ปี จากนั้นไปเรียนต่อ ปริญญาตรีที่ประเทศฟิลิปปินส์ (เซนหลุยซ์ยูนิเวอร์ซิตี้) 4 ปี สาขาวิชาคณิตศาสตร์ สมัยนั้นเขาบอกให้เรียนสายวิทย์ แล้วก็ 21

issue 130 NOVEMber 2018


22 IS AM ARE www.fosef.org


ไปเรียนต่อปริญญาโทด้านเศรษฐศาสตร์ แต่ยังไม่ทันจบ ป.โท ทางคณะเรียกกลับ เพราะถือว่าเรียนจบปริญญาตรีแล้ว ช่วงนั้น ก็กลับมาเป็นอธิการบดี โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี อายุประมาณ 30 นิดๆ” ลั ก ษณะการบริ ห ารสถานศึ ก ษา (รร.อั ส สั ม ชั ญ ธนบุ รี ) ในสมั ย ที่ ยั ง ไม่ มี เ ทคโนโลยี อ ย่ า งทุ ก วั น นี้ เ ป็ น อย่ า งไร บ้ า ง ? : ในยุคนั้นยังเป็นวัน แมน โชว์ ต้องอาศัยความสามารถ ของตนเอง แต่เราก็มีการประชุมเรื่องการท�ำงานและระเบียบ วินัยต่างๆ ของครูบาอาจารย์ การท�ำงาน การอุทิศตนของครู ต่อลูกศิษย์ ส่วนมากก็จะเรียนกับผู้ปกครองส�ำหรับเด็กที่ไม่ค่อย อยู่ในระเบียบวินัย เช่น ขาดเรียนบ่อย สมัยนั้นเด็กไม่ค่อยชอบ อาจารย์ ม องว่ า การตี ช ่ ว ยขั ด เกลาเด็ ก ได้ ? : เราจะท�ำโทษใครเราอย่าท�ำด้วยอารมณ์ อธิบายให้ เรียน หนีเรียนไปเที่ยว เบื่อเรียนเพราะการเรียนการสอนสมัย นั้นไม่น่าสนใจอยู่แล้ว ไม่มีเทคโนโลยีเท่าไหร่ แต่เราก็พยายาม เขาเข้าใจก่อนว่า ฉันจะท�ำโทษเธอนะ เพราะอะไร ยินยอมไหม ที่บราเดอร์จะตีเธอ เขาก็จะยืนให้ตี บางครั้งเขาก็บอกตีเบา ท�ำอย่างดีที่สุด ไป เพราะพ่อเขาตีที่บ้านหนักกว่านี้ บางครั้งแม่มาที่โรงเรียน ประสบการณ์ จ ากการสอนในครั้ ง แรก ดร.บั ญ ชา บอกลูกไม่ยอมมาเรียน เราก็คุยกับเด็กต่อหน้าคุณแม่เลย แล้ว มองว่ า พื้ น ฐานของเด็ ก ทุ ก คนมี นิ สั ย ที่ ดี แตกต่ า งกั น ก็ท�ำโทษต่อหน้าคุณแม่ คือเราอย่าไปใช้อารมณ์ ถ้าเราอารมณ์ เพี ย งการแสดงออก บางคนซนมาก บางคนซนน้ อ ย โกรธ ไม่ดี ถือว่าเราโกรธ เราถึงท�ำโทษเขา ตรงจุดนี้เราต้อง บางคนเล่ น เก่ ง บางคนเรี ย นเก่ ง ไม่ เ หมื อ นกั น คนที่ พยายามหักห้ามใจตัวเอง เพราะจุดประสงค์เราต้องการให้เขา เรี ย นเก่ ง อยู ่ แ ล้ ว บราเดอร์ จ ะไม่ เ ข้ า ไปยุ ่ ง หากแต่ จ ะ ได้ดี แล้วเราจะไปโกรธเขาท�ำไม ตรงจุดนี้เราต้องเข้าใจความ สนใจดู แ ลคนที่ น อกลู ่ น อกทางเป็ น พิ เ ศษ เป็นครูของลูกศิษย์ให้ได้ ต้องพูดกับเขาให้เข้าใจให้ได้ ถ้าไปตี ด้วยอารมณ์เขาจะเคียดแค้น ต้องให้เขาอารมณ์เย็นให้เขาเข้าใจ ‘คนเรามั น จะมี วุ ฒิ ภ าวะได้ มั น ต้ อ งรู ้ จั ก มี อิ ส ระใน การตั ด สิ น ใจ’ “บราเดอร์ ต ้ อ งย้ า ยไปเรื่ อ ยๆ ไม่ มี ก ารปั ก หลั ก เรา ต้ อ งสอนที่ ไ หนก็ ไ ด้ ” ถื อ เป็ น วิ ถี ชี วิ ต ก็ ว ่ า ได้ ส� ำ หรั บ คนที่ จ ะ ก้ า วเข้ า มาสู ่ โ ลกของบราเดอร์ เ พื่ อ สอนหนั ง สื อ ดร.บั ญ ชา ก็เช่นกัน จากโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี เป็นเวลา 3 ปี เขาถูกส่งไป ที่มหาวิทยาลัยเอแบค เพื่อสอนวิชาคณิตศาสตร์ ก่อนจะก้าวเข้า สู่ต�ำแหน่งรองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ด้วยประสบการณ์ การสอนที่ผ่านมา “จาก ประถมฯ มา มัธยมฯ คนละอย่างกันเลย มา ถึ ง มหาวิ ท ยาลั ย ผมก็ ต กใจ เวลาเขาจะคุ ย กั บ อาจารย์ เขา นอนคุย ลักษณะนิสัยต่างกันนะ มีความเป็นอิสระสูง การเรียน มหาวิทยาลัยไม่ได้เรียนแบบตรงตามเวลาตายตัว จะเข้าตอนไหน แล้วแต่เวลา ฉะนั้น สิ่งต่างๆ เหล่านี้เราก็แปลกใจ พยายามศึกษา ดู อ่านหนังสือมากขึ้น ‘คนเรามันจะมีวุฒิภาวะได้ มันต้องรู้จัก 23 issue 130 NOVEMber 2018


“อย่างเวลาสอนครั้งหนึ่งเด็กเยอะมาก ร้อยกว่าคนต่อ ห้องหนึ่ง สอนคณิตศาสตร์เพราะเป็นวิชาพื้นฐาน พอเขาสอนก็ จะบอกว่าเธอทุกคนตอนเข้ามาเรียนวันแรกเธอได้เกรดเอหมด แต่ต่อไปนี้มันขึ้นอยู่กับตัวเธอเองว่า จะเรียนอะไรบ้าง จะมีความ ประพฤติอย่างไร ความประพฤติของเธอเองจะท�ำให้เกรดเธอดี ขึ้นหรือลดลง ถ้าบางคนเข้าเรียน บางคนขาดเรียน บางคนเข้า มาก็คุย แทนที่จะตั้งใจฟัง แล้วยิ่งสอนเป็นภาษาอังกฤษด้วย ยิ่งยาก 2-3 เท่าตัว” “มี เ ด็ ก อยู ่ คู ่ ห นึ่ ง แกมาช้ า 30 นาที ธรรมดามาช้ า ขนาดนี้เราไม่ให้เข้าห้องแล้ว แต่เราให้เข้า ไม่ได้บอกอะไรเขา แต่ เราก็สังเกต เห็นเขานั่งคุยต่อ ก็เลยคอมเม้นท์ว่า ถ้าเธอไม่ตั้งใจ เรียนทีหลังก็จะล�ำบาก เกรดจากเอมันก็ค่อยๆ ลดลงไป เราไม่ ได้ไปตัดเขา แต่เวลาสอบจะท�ำไม่ค่อยได้ หลังจากนั้นแกไม่มา หาอีกเลย แกหายตัวไปเลย” “ประสบการณ์หลายอย่างเราสังเกตเห็นในตัวเด็ก เห็น เด็กผู้หญิงตัวเล็กๆ คนหนึ่งนั่งอยู่ตรงบันได แล้วแกก็สูบบุหรี่ สมัยนั้นยังสูบบุหรี่ได้ ก็เลยบอกว่าเดี๋ยวเดินไปหาบราเดอร์ที่ห้อง หน่อยสิ เขาก็แปลกใจ ขณะเดินไปเขาถามว่าหนูท�ำอะไรผิดคะ ก็คุยกับเขา ไม่ได้คุยเรื่องบุหรี่ก่อน ถามว่ามาจากไหนเป็นยังไง

มีอิสระในการตัดสินใจ’ ถ้าหากเขาถูกบังคับมาเรื่อยๆ อยู่แต่ใน แถว โดนบังคับอยู่ตลอด สิ่งเหล่านี้มันจะไม่ติดตัวเขา เราก็เข้าใจ เขาไปอีกแบบหนึ่ง แต่ในระเบียบเราก็ขอร้องเขา ในช่วงนั้นก็ยัง เคร่งอยู่ เด็กบางคนพอเห็นหน้าเราบอกว่าห้ามใส่รองเท้าแตะ มามหาวิทยาลัย เห็นแล้ววิ่งกระเจิงรองเท้าแตะหายหมด สมัย นั้นเรายังดุอยู่ แต่ว่าไม่ได้ไปตี ตั้งแต่เซนต์คาเบรียลก็ไม่ได้ตีแล้ว ตั้งใจแล้วว่าต้องไม่ตีเด็ก “ยิ่งมาที่เอแบคยิ่งไม่ได้พูดถึงเรื่องตีเลย เราก็คุยกับเขา ดีๆ เพราะเด็กมหาวิทยาลัยเขาเคยอยู่โรงเรียนมาก่อน เคยผ่าน ระบบการถูกบังคับมาเขาก็เลยกลัว เราใช้วิธีเจรจา” ในความหลากหลายของมหาวิ ท ยาลั ย อาจารย์ มี วิ ธี หล่ อ หลอมพวกเขายั ง ไง ? : บังเอิญเราเป็นคนโชคดี เพราะได้ไปต่างประเทศมา พอ เรามาอยู่ตรงนี้เราก็ไม่ได้เจอเฉพาะคนไทยอย่างเดียว เราเจอคน ต่างชาติด้วย เราก็ต้องรู้จักเรียนรู้และสังเกต ตัวของบราเดอร์เอง เวลาเห็นใครชอบเป็นคนสังเกตว่าเขาเป็นคนประเภทไหน ไม่ได้ ดูโหงวเฮ้งอะไร เพียงแต่ดูพฤติกรรมของเขาว่าเป็นยังไง พยายาม ดูว่าอะไรดีอะไรไม่ดี อันนี้คือสิ่งที่เราจะต้องคอยดูแล

24 IS AM ARE www.fosef.org


ในใจคิดว่าสมัยก่อนผู้หญิงสูบบุหรี่ต้องเครียด ซึ่งต่างจากสมัยนี้ นะ เราก็คุยกับเขาว่าเป็นยังไงสบายดีไหม แล้วก็ตบท้ายว่า เธอ ไม่ได้ผิดอะไรทั้งสิ้น เธอมีสิทธิ์จะสูบบุหรี่ บราเดอร์ห้ามเธอไม่ได้ หรอก แต่ว่าเธอก�ำลังฆ่าตัวเธอเอง เพราะบุหรี่มันเป็นภัย เธอ อยากจะหายไหม ถ้าอยากจะหายบราเดอร์จะช่วย ก็คุยกับเขา อย่างนี้ ไม่ได้ไปว่าอะไรเขา เขาก็จะจ�ำเรื่องอย่างนี้ได้ ทีหลังเขา ก็จะพยายาม ว่าเขาเองจะเลิกบุหรี่ยังไง อย่าไปห้ามเขา คือเรา ก็ไม่มีสิทธิ์อยู่แล้วโดยตัวของเราเอง เราต้องค่อยๆ คุย ยิ่งเด็กรุ่น ใหม่ต้องค่อยๆ คุย ให้เขามีหลักเหตุและผล” ในระยะเวลา 2 ปี ที่ ห มาวิ ท ยาลั ย เอแบค ดร.บั ญ ชา ถู ก ส่ ง ตั ว ไปเป็ น อธิ ก ารบดี ที่ โรงเรี ย นเซนต์ ค าเบรี ย ลถึ ง 6 ปี เพราะทุกๆ ปี จะมีบราเดอร์โยกย้ายสับเปลี่ยนต�ำแหน่งอยู่ เสมอ จากมหาวิทยาลัย ดร.บัญชา กลับมาดูแลโรงเรียนอีกครั้ง เพื่อรับผิดชอบเรื่องวิชาการและครูอาจารย์ จากนั้นเขาถูกเรียก กลับมาที่มหาวิทยาลัยเอแบคอีกครั้ง เพื่อดูแลเรื่องฝ่ายกิจการ นักศึกษา จนกระทั่งได้ไปเรียนต่อปริญญาโทและปริญญาเอก ด้านบริหารสถานศึกษาที่สหรัฐอเมริกา เมื่อเรียนจบเขาจึงมา รับต�ำแหน่งรองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเอแบค ฝ่ายวิชาการ และก้าวขึ้นเป็นอธิการบดีในที่สุด จนถึงปัจจุบันโดยไม่ได้ย้าย ไปไหนอีกเลย

เข้าใจกันบ้าง หลังจากนั้นพออยู่ไปนานๆ เราก็ได้ไปต่างประเทศ ในมหาวิทยาลัยที่เราผูกพันด้วย เราก็แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ก็น�ำสิ่งเหล่านั้นมาปรับใช้ ต้ น แบบมี ค วามส� ำ คั ญ อยู ่ ที่ เ ราจะเลื อ กมอง ? : ใช่ เราจะมองทางด้านบริหารการเมืองก็ได้ เอามาปรับ ใช้กับตัวเอง ขึ้นอยู่กับตัวเราเอง แต่บราเดอร์อยู่ในมหาวิทยาลัย บราเดอร์รู้จัก ดร.มาร์ติน แกสอนบราเดอร์ตั้งแต่อัสสัมชัญ ศรีราชา เคยเป็นอาจารย์มาก่อน แล้วบราเดอร์มาตินก็เคยเป็น เจ้าคณะมาก่อน ก็เลยท�ำให้เรามองเห็นว่าบราเดอร์เขาท�ำงาน กันอย่างไร แล้วก็เอามาเป็นตัวอย่าง สมัยก่อนเป็นวัน แมน โชว์ กลับมาเป็นเดี๋ยวนี้ไม่ได้แล้ว ต้องเป็นทีมเวิร์ค ต้องอาศัยพลัง หลายๆ ด้านมาช่วย นั่นแหละสิ่งที่เราต้องปรับเปลี่ยน มาเอา ตามใจตัวเองไม่ได้ ต้องหาทีมงานมาช่วย

สมั ย ก่ อ นผมตี เ ก่ ง ต้ อ งยอมรั บ ศิ ษ ย์ เ ก่ า ที่ เ คย เรี ย นกั บ ผมที่ อั ส สั ม ชั ญ ระยองจะทราบดี แต่ เ รา พยายามสร้ า งระเบี ย บวิ นั ย ขึ้ น มา ให้ เ ด็ ก จะได้ มี ความตั้ ง ใจในการเรี ย นหนั ง สื อ เป้ า หมายของเรา คื อ ต้ อ งการเปลี่ ย นนิ สั ย ของเขา แล้ ว ก็ ใ ห้ เ ขาตั้ ง ใจ เรี ย นหนั ง สื อ

“บราเดอร์กลับมาจากอเมริกาประมาณปี 1995 ไปเรียน บราเดอร์ ช ่ ว ยทิ้ ง ท้ า ยเกี่ ย วกั บ หลั ก ในการใช้ ชี วิ ต แก่ ตอนโตแล้ว ส่วนมากพวกบราเดอร์เขาไม่ค่อยให้เรียน เขาใช้งาน เยาวชนหน่ อ ย ? ก่อน พวกบราเดอร์ต้องท�ำงานด้วยเรียนด้วย” : ที่จริงตัวบราเดอร์เองยังอยากจะเดินทางอยู่ เพื่อหา ประสบการณ์ไปเรื่อยๆ เราไม่เลือกที่สอน ไม่เกี่ยงงาน เจ้าคณะ ในยุ ค แรกๆ ของ ม.เอแบค อาจารย์ มี แ ผนในการ ให้ไปช่วยที่ไหนก็ไป มันท�ำให้เราได้เรียนรู้อะไรมากมาย ไม่หยุด ขั บ เคลื่ อ นมหาวิ ท ยาลั ย อย่ า งไร ? นิ่งอยู่กับที่ บราเดอร์ถูกฝึกมาอย่างนั้น หากเยาวชนจะมองจุด : บราเดอร์มีโมเดลอยู่แล้ว คือ บราเดอร์ มาร์ติน แก นี้เป็นตัวอย่างก็ได้ ที่ส�ำคัญ ระเบียบวินัยเป็นเรื่องส�ำคัญมาก เป็นอธิการบดีที่นี่อยู่แล้ว จากการที่เราเห็นแกท�ำงาน แกจะไม่ หากเราไม่มีระเบียบวินัยในตัวเองก็จะไปท�ำงานหรือเข้ากับผู้ สอนตรงๆ แต่ให้เราเข้าไปเกี่ยวข้อง ให้เราเรียนรู้เอง แต่ก็จะ อื่นล�ำบาก อีกประการหนึ่งคือ การเลือกทางเดินชีวิตของตนเอง ถามว่าอย่างนั้นเป็นยังไง อย่างนี้เป็นยังไง ขณะเดียวกัน จาก อยากให้เยาวชนมีความแน่วแน่ มุ่งมั่นกับสิ่งที่ตนเองเลือก ไม่ท้อ ที่เราได้สัมผัสมหาวิทยาลัยที่เป็นเพื่อนเอกชนด้วยกัน ก็พอจะ ไม่ยอมแพ้ แล้วความส�ำเร็จก็จะตามมา 25 issue 130 NOVEMber 2018


26 IS AM ARE www.fosef.org


27 issue 130 NOVEMber 2018


28 IS AM ARE www.fosef.org


29 issue 130 NOVEMber 2018


ความเป็ น คนความเป็ น ครู

ความภูมิใจในสถาบันของตน ปรีดา จันทจิตต์ โรงเรียนมหาวชิ ราวุ ธสงขลา 30 IS AM ARE www.fosef.org


31 issue 130 NOVEMber 2018


ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ค น ที่ จ ะ เ รี ย น สั ง ค ม ต ้ อ ง มี ค ว า ม รู ้ ด้ า นไหนบ้ า ง ? คนที่เรียนจบเอกสังคม ต้องมีความรู้ในการเรียน และ ในเนื้อหาที่เราจะสอน เราจะเรียนทั้งหมด 8 สาขาวิชา คนที่ เรียนเอกสังคมศึกษาจะไม่มีวิชาโทเพราะจะเรียน 8 วิชา มีเรียน ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์แยกอีก ประวัติศาสตร์ ไทย ประวัติศาสตร์สากล ประวัติศาสตร์จีน ประวัติศาสตร์เอเชีย ประวัติศาสตร์ยุโรป เรียนหมด พอเรามาเรียนสังคมก็มีความสุขมากเพราะว่าเราจะได้ คะแนนดีมาก พอเรียนจบโชคดีตรงที่ว่าโรงเรียนระโนดวิทยา เปิดรับเอกสังคม 1 ต�ำแหน่ง ปริญญาตรี ครูก็ไปสมัครเลย แล้ว เขาก็ ใ ห้ ไ ปสมั ค รสอบ ครู อ ่ า นหนั ง สื อ มากจนต้ อ งชี้ แ นะพวก น้องๆ ว่าเธอต้องอ่านให้เหมือนพี่ คืออ่านทั้งวันทั้งคืนไม่ท�ำอะไร ลงมาทานข้าวอย่างเดียว ตรงไหนที่ยากก็ช็อตโน้ตไว้ท่องอยู่ใน หัวสมอง พอไปสอบมีความรู้สึกตอบถูกหมดเลย ยังคิดอยู่เลยว่า ข้อสอบมันง่าย เพราะข้อสอบเราตอบถูกหมด แล้วครูก็เดินทาง ไปโรงเรียนระโนดวิทยาเพื่อไปเป็นครูตอนอายุ 22 ปี ตอนนี้อายุ ราชการ 36 ปี อีก 2 ปีครูก็เกษียนแล้ว เห็นเด็กมามากท�ำให้เรามีประสบการณ์ แค่เธออ้าปาก ครูก็รู้ว่าเธอคิดอะไร เพราะว่าเราสอนเด็กมาทุกระดับ แค่เรา เห็นพฤติกรรมท่าทางเราก็รู้ว่ายังไง คนเป็นพ่อแม่ ก็ยังไม่เห็น เพราะว่าเขาเห็นลูกของเขาคนเดียวแต่เรานี่เห็นลูกคนอื่นด้วย เราเห็นเด็กสภาพแบบนี้เราจะรู้เลยว่าหน้าตาอย่างนั้นเขาเป็น ยังไง เมื่อก่อนเด็กติดยาเสพติดครูมองตาครูก็รู้ ตาจะลอยๆ ครู จะโทรเรียกผู้ปกครองเลย ครูไม่ได้ว่าอะไรนะ ครูบอกผู้ปกครอง ว่าให้พาลูกไปตรวจฉี่หน่อย แต่ถ้าไม่ไปก็แล้วแต่ใจพี่เราพูดด้วย ความรักและเป็นห่วง

ย้ อ นไปเมื่ อ ประมาณ 40 ปี ที่ แ ล้ ว ท� ำ ไมถึ ง เลื อ กที่ จะเป็ น ครู ? ครูเกิดที่เมืองสงขลา เมื่อก่อนไม่เคยอยากเป็นครู อยาก เป็นพนักงานธนาคารเพราะแต่งตัวสวยมาก แล้วครูก็ชอบการ แต่งตัว เลยคิดว่าถ้าเรียนจบฉันจะท�ำงานธนาคาร โดยไม่รู้ว่า คนท�ำงานธนาคารต้องจบสาขาอะไร คิดตามประสาเด็ก แต่ว่า ญาติพี่น้องเป็นครู ส่วนคุณพ่อเป็นต�ำรวจ จนกระทั่งตอนเรียนมัธยมศึกษาที่โรงเรียนวรนารีเฉลิม เป็นโรงเรียนประจ�ำจังหวัด เราถนัดวิชาสังคมศึกษา ได้คะแนน สูงสุดเลย ครูเรียนสายศิลป์ฝรั่งเศส เพื่อนก็เลยชวนไปสอบเรียน ต่อทางครู เราสอบได้ เราก็เริ่มรู้ว่าอาชีพครูเหมาะกับเรา เพียง แต่ว่าเมื่อก่อนไม่ชอบเพราะยังไม่รู้จัก ไปเรียนต่อที่มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ เพราะว่ามีคณะศึกษาศาสตร์ เรียน 4 ปี เดี๋ยวนี้เรียนครูต้อง 5 ปี แต่สมัยครูเรียน 4 ปี สมัยเรียนมัธยมครูเป็นคนถนัดแต่วิชาสังคมศึกษา ท�ำ คะแนนได้สูงสุดทั้งภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์ เมื่อก่อนแยกเรียน มีวิชาประวัติศาสตร์ วิชาภูมิศาสตร์ วิชาศาสนาสากล แต่เดี๋ยว นี้มารวมกันเป็นวิชาสังคมศึกษา มี 5 กลุ่มวิชา อยู่ในสาระ สังคมศึกษา จะมีศาสนาวัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ มีประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ แต่เขาเรียกว่าสังคมศึกษา เพราะ ฉะนั้นผู้ปกครองหรือคนทั่วไปอาจจะไม่รู้ 32

IS AM ARE www.fosef.org


ปั จ จุ บั น รั บ หน้ า ที่ ต รงไหนต� ำ แหน่ ง อะไรบ้ า ง ? หัวหน้ากลุ่มสาระสังคมศึกษา ตอนนี้ก็ยังสอนแต่ครูจะ ไม่สอนสาระหลัก คือหลักสูตรในโรงเรียนจะมีหลักสูตรแกน กลางหลักสูตรที่กระทรวงศึกษาธิการก�ำหนดมาซึ่งโรงเรียนใน ประเทศไทยสามหมื่นกว่าโรงสอนเหมือนกันหมด 8 หลักสูตร กลุ่มสาระ อันนี้เขาเรียกหลักสูตรแกนกลาง แต่ครูไม่ได้สอนตัว นั้นแล้วเพราะว่าครูตอนที่ไปเรียนปริญญาโท ปี 2549 ไปเรียน สาขาหลักสูตรและการสอน ครูอยากสร้างหลักสูตรเอง เรียกว่า หลักสูตรท้องถิ่น เนื่ อ งจากว่ า 2542 เขาออกพระราชบั ญ ญั ติ ก าร ศึกษาแห่งชาติขึ้นมาใหม่ พรบ.ครู เขาก�ำหนดให้โรงเรียนทั่ว ประเทศไทยสร้างหลักสูตรท้องถิ่นขึ้น ผู้ที่จะสร้างหลักสูตรท้อง ถิ่นขึ้นได้ต้องเป็นครู แต่ละโรงเรียนจะสามารถสร้างหลักสูตร ท้องถิ่นได้ เพราะว่าแต่ละท้องถิ่นจะมีความเฉพาะตัว หลักสูตร เฉพาะที่ของถิ่นนั้นๆ ซึ่งจะไม่สามารถเอาไปใช้ที่อื่นได้ เขาเลย เรียกหลักสูตรท้องถิ่น เห็ น เด็ ก มามากท� ำ ให้ เ รามี ป ระสบการณ์ แค่ เ ธออ้ า ปากครู ก็ รู ้ ว ่ า เธอคิ ด อะไร เพราะว่ า เราสอนเด็ ก มา ทุ ก ระดั บ แค่ เ ราเห็ น พฤติ ก รรมท่ า ทางเราก็ รู ้ ว ่ า ยั ง ไง คนเป็ น พ่ อ แม่ ก็ ยั ง ไม่ เ ห็ น เพราะว่ า เขาเห็ น ลู ก ของเขา คนเดี ย วแต่ เ รานี่ เ ห็ น ลู ก คนอื่ น ด้ ว ย เราเห็ น เด็ ก สภาพ ประวัติศาสตร์ยุครัตนโกสินทร์ตอนกลางสมัยรัชกาลที่ 5 เพราะ แบบนี้ เ ราจะรู ้ เ ลยว่ า หน้ า ตาอย่ า งนั้ น เขาเป็ น ยั ง ไง ว่าโรงเรียนเราสร้างตอนสมัยรัชกาลที่ 5 โรงเรียนเราเกิดขึ้น ตอนการปฏิรูปการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5 การบริหารส่วน ภูมิภาคเขามีการยุบเมืองให้ขึ้นกับมณฑลคือในสมัยรัชกาลที่ 5 สอนตามปกติ ก็ ส บายดี อ ยู ่ แ ล้ ว ท� ำ ไมถึ ง อยากสร้ า ง มีการจัดตั้งมณฑลขึ้นมาดูแลเมืองทั่วประเทศ จะมี 18 มณฑล หลั ก สู ต รท้ อ งถิ่ น ของตั ว เองขึ้ น มา ? ก็ คื อ รวมเมื อ งหลายๆ เมื อ งให้ เข้ า เป็ น มณฑล ส่ ว นภาคใต้ ครูมานั่งคิดว่าเราสอนประวัติศาสตร์อยู่แล้ว เรามอง จะมี 5 มณฑล เมื อ งสงขลาจะถู ก รวมเข้ า ไปอยู ่ ใ นมณฑล บริบทของท้องถิ่นเราในต�ำบลบ่อยางของเราซึ่งเป็นที่ตั้งของ นครศรีธรรมราช มณฑลนครศรีธรรมราชก็จะมี นครศรีธรรมราช จังหวัดสงขลา เป็นเมืองประวัติศาสตร์ที่น่าชื่นชมมาก บวกกับ สงขลาแล้วก็พัทลุง เป็นมณฑลนครศรีธรรมราช โรงเรียนเรา โรงเรียนของเราที่มีอายุเก่าแก่, ในปี 2545 ผู้อ�ำนวยการท่านออก อยู่ในมณฑลนี้ แต่ว่าหัวหน้ามณฑลเขาเลือกเมืองสงขลาเป็น ค�ำสั่งมาเลยว่าให้กลุ่มสาระสังคมท�ำหลักสูตรมหาวชิราวุธศึกษา ศูนย์กลางของมณฑลนี้ แต่ชื่อมณฑลนครศรีธรรมราช แต่ไม่ ขึ้น ตอนนั้นครูเป็นรองฝ่ายวิชาการของหมวดสังคม หัวหน้า ได้ไปตั้งที่ท�ำการที่นครศรีธรรมราชเพราะว่ามันมีความส�ำคัญ หมวดเลยมอบหมายให้ เ ป็ น คนท� ำ หลั ก สู ต รมหาวชิ ร าวุ ธ ทางการเมืองสงขลา เมืองนครฯ เด่นตรงมันเป็นเมืองใหญ่แต่ว่า ศึกษา เมืองสงขลาใหญ่น้อยลงมา พัทลุงก็เล็ก แต่ท�ำไมเขาเอามารวม กัน พอรวมกันเขามาตั้งศูนย์กลางที่ว่าการมณฑลอยู่ที่สงขลา โรงเรี ย นมหาวชิ ร าวุ ธ สงขลามี ค วามเป็ น มายาวนาน เราก็ศึกษาลงไปพบว่า เมืองสงขลามีความส�ำคัญเป็นเมืองที่มี ช่ ว ยเล่ า ประวั ติ ใ นแง่ ข องหลั ก สู ต รท้ อ งถิ่ น ? ชายแดนติดกับคาบสมุทรมลายูก็คือมาเลเซีย พอเราศึ ก ษาความเป็ น มาของมหาวชิ ร าวุ ธ เพื่ อ มา แล้วเมืองไทยมีเมืองขึ้นอยู่ที่มลายู 4 รัฐ กลันตัน ตรังกานู เขี ย นเป็ น หลั ก สู ต รพบว่ า โรงเรี ย นเรามี ค วามเกี่ ย วเนื่ อ งกั บ ไทรบุรี และปะลิส ที่เป็นเมืองขึ้นของเรา แล้วสมัยนั้นรัชกาล 33 issue 130 NOVEMber 2018


ที่ 4 เริ่มเข้ายึดมลายูเกือบจะได้แล้ว แล้วก็ได้อย่างสมบูรณ์ใน สมัยรัชกาลที่ 5 อังกฤษก็ประกาศว่าเมื่อเราได้มลายูแล้ว ไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู ปะริท ต้องเป็นของเรา อังกฤษต้องการจะเอา เพราะฉะนั้นรัชกาลที่ 5 ท่านก็เลยเป็นห่วงเมืองตรงนี้ซึ่งมันติด อยู่กับเมืองสงขลาก็เลยต้องส่งเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) มา เป็นข้าหลวงเทศาภิบาลให้ตั้งที่ท�ำการอยู่ที่เมืองนี้เพื่อให้ดูแล 4 เมืองนี้ เจ้าพระยายมราชท่านเป็นครูสอนภาษาไทยให้กับพระ ราชโอรสของรัชกาลที่ 5 เกือบทุกพระองค์ท่ีไปศึกษาต่อในยุโรป รัชกาลที่ 5 ส่งเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ไปยุโรป ไปเป็น ผู้อภิบาลพระราชโอรสแล้วท่านก็ได้โอกาสเรียนภาษาอังกฤษ อยู่ที่นั่นด้วย แล้วก็สอนภาษาไทยให้กับพระโอรส แต่ต้องเรียน ภาษาอังกฤษที่อังกฤษอยู่ 8 ปี ท่านก็สามารถพูดภาษาอังกฤษ ได้ รัชกาลที่ 5 ก็เลยส่งมาที่สงขลาเวลาเจรจากับอังกฤษจะได้ พูดกันได้ เป็นกุศโลบาย ถ้าเอาคนที่ไม่ผ่านต่างประเทศมาก็ พูดไม่ได้ ครูปั้นท่านเป็นครู แต่ตอนหลังรัชกาลที่ 5 ท่านไว้วาง พระทัยมาก ให้ท�ำงานด้านไหนท�ำได้ทุกด้าน แต่พื้นฐานท่าน เป็นครู พอท่านมาเมืองสงขลาท่านก็เห็นว่าเมืองสงขลาไม่มี โรงเรียนสอนเด็กผู้ชาย จึงให้ก�ำเนิดโรงเรียนมหาวชิราวุธขึ้น ถ้ารัชกาลที่ 5 ไม่ส่งเจ้าพระยายมราชมาเป็นข้าหลวงอยู่ที่เมือง สงขลา มหาวชิราวุธจะไม่เกิดขึ้น

จากประสบการณ์ ที่ ผ ่ า นมา ครู แ นะน� ำ ครู รุ ่ น ใหม่ ที่ จ ะ ก้ า วเข้ า มาในโรงเรี ย นมหาวชิ ร าวุ ธ อย่ า งไร ? เดี๋ยวนี้มีครูรุ่นใหม่เข้ามาเยอะ ฝ่ายบุคคลจะเชิญครูไป อบรมให้ความรู้เรื่องวัฒนธรรม ประเพณี ของชาวมหาวชิราวุธ วิธีการสอนของครูก็คือ ครูจะบอกว่า อยากให้คุณครูในโรงเรียน ของเราได้เรียนรู้ว่าการได้เข้ามาเป็นครูในโรงเรียนนี้ ถือว่าคุณมี บุญกุศลมาแต่ปางก่อน ก็เลยอธิบายบอกเล่าเรื่องประวัติศาสตร์ ของมหาวชิราวุธให้เขาได้รับรู้เพื่อให้เขาได้เกิดจิตส�ำนึกว่าเมื่อ คุ ณ ได้ เข้ า มาอยู ่ ที่ นี่ แ ล้ ว คุ ณ ควรจะปฏิ บั ติ ต นอย่ า งไรให้ ส ม ศักดิ์ศรีของการเป็นมหาวชิราวุธ เพราะโรงเรียนของเรามีที่มาไม่ เหมือนโรงเรียนอื่น โรงเรียนเราตั้งขึ้นโดยรัชกาลที่ 5 และสร้าง ตั้งแต่รัชกาลที่ 5 ก็เล่าให้เขาฟัง เขาจะได้เกิดความภาคภูมิใจใน 34

IS AM ARE www.fosef.org


สถาบันที่เขาเข้ามาสอน หรือเข้ามาเรียน นี่เป็นหน้าที่ของครูที่ โรงเรียน พฤติกรรมอย่างนี้แสดงว่าเขามีคุณธรรมด้านจิตอาสา พฤติกรรมมันสะท้อนคุณธรรม ครูจึงคิดว่าโครงการโรงเรียน จะต้องบอก คุณธรรมเป็นโครงการที่ดีมาก ถ้าโรงเรียนรับมาท�ำอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง จะท�ำให้นักเรียนของเราได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ฝากถึ ง เยาวชนและโรงเรี ย นต่ า งๆ ล่ า สุ ด กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารรั บ เอาโครงการโรงเรี ย น ไปในทางที่ดี แล้วจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติแน่นอน คุณธรรมของในหลวงรัชกาลที่ 9 เข้ามาเป็นนโยบายลงสู่สาม หมื่ น กว่ าโรงทั้งหมด ครูไ ด้รับ มอบหมายให้เป็ น หั ว หน้ า ดู แล โครงการนี้ เมื่อไปอบรมพบว่า ในหลวงรัชกาลที่ 9 ตอนที่ท่าน ประชวรอยู่โรงพยาบาลศิริราช ปี 2555 ท่านเป็นห่วงบ้านเมือง ท่านเรียกองคมนตรีมาบอกว่าให้ช่วยสร้างคนดีให้บ้านเมือง เมื่อ มาคิดดูแล้วการที่จะเริ่มสร้างคนดีให้กับบ้านเมืองต้องเริ่มจาก อะไร ก็ต้องเริ่มจากโรงเรียน ก็เลยน�ำเข้ามาสู่โรงเรียน เนื้อหาของโรงเรียนคุณธรรมดีมาก เป็นเรื่องการปลูก ฝังวัฒนธรรมสากลทุกศาสนา เพราะคุณธรรมประกอบไปด้วย ความมีคุณธรรมและจริยธรรม การมีจริยธรรมของคนในสังคม มันจะสะท้อนว่าเขาเป็นคนมีคุณธรรม เช่น มีน�้ำใจ มีจิตอาสา พอเราประกาศรับจิตอาสาในโรงเรียนปุ๊บ นักเรียนสมัครเต็มเลย อยากเป็นเจ้าภาพดูแลต้อนรับเวลามีกิจกรรม มีค่ายต่างๆ ใน

35 issue 130 NOVEMber 2018


กิจกรรม Do for D. เพราะเรามีพ่อคนเดียวกัน

โครงการครอบครั ว พอเพี ย งสู ่ ส ถานศึ ก ษาและชุ ม ชนจั ด กิ จ กรรมสอนหนั ง สื อ น้ อ ง ระบายสี ท� ำ ความ สะอาดสถานที่ บ ริ เ วณรอบบ้ า นหนั ง สื อ สน.พญาไท วั น ที่ 24 พฤศจิ ก ายน 2561 ณ บ้ า นหนั ง สื อ สน.พญาไท มี แ กนน� ำ เยาวชนครอบครั ว พอเพี ย ง ประกอบไปด้ ว ย โรงเรี ย นเบญจมราชาลั ย ในพระบรม ราชู ป ถั ม ภ์ โรงเรี ย นบดิ น ทรเดชา (สิ ง ห์ สิ ง หเสนี ) นนท์ โรงเรี ย นรั ต นาธิ เ บศร์ โรงเรี ย นสั น ติ ร าษฎร์ วิ ท ยาลั ย โรงเรี ย นพรตพิ ท ยพยั ต โรงเรี ย นศึ ก ษานารี โรงเรี ย นบดิ น ทรเดชา (สิ ง ห์ สิ ง หเสนี ) 2 โรงเรี ย น สายน�้ ำ ผึ้ ง ในพระอุ ป ถั ม ภ์ ฯ โรงเรี ย นทวี ธ าภิ เ ศก โรงเรี ย นไตรมิ ต รวิ ท ยาลั ย โรงเรี ย นสตรี น นทบุ รี จ� ำ นวน 32 คน 11 โรงเรี ย น 36 IS AM ARE www.fosef.org


สั ง คมคนดี 1.นางสาวมณีกานต์ ธนูทอง โรงเรียนพรตพิทยพยัด พ อ เ ห็ น ทุ ก ค น ส นิ ท กั น มากๆ แต่เราไม่รู้จักใครเลยก็มา คิดว่าน่าเสียดายที่ไม่ได้ไปหลายๆ ค่ า ย หลายๆ กิ จ กรรม แต่ ห ลั ง จากนี้คงไม่เป็นแบบนั้นแล้ว น้องๆ น่ารักมากค่ะ ถ้าการอ่านของหนูใน วันนี้ท�ำให้น้องคนใดคนหนึ่งได้รู้จัก ค�ำสักค�ำแค่คนเดียวหนูก็ดีใจมากแล้ว 2.นางสาววราลักษณ์ สี่ โรงเรียนสายน�้ำผึ้ง สิ่ ง ที่ ไ ด้ จ ากการ “สอน หนั ง สื อ น้ อ งในชุ ม ชนพญาไท” เป็ น กิ จ กรรมที่ ท� ำ แล้ ว มี ค วามสุ ข อีกกิจกรรมหนึ่ง น้องๆ เป็นเด็กที่ น่ารัก และไร้เดียงสา ให้ท�ำอะไรก็ ท�ำ ดังนั้นเราควรส่งเสริมแต่สิ่งดีๆ ให้ กั บ ผ้ า ขาวบริ สุ ท ธิ์ นี้ นอกจาก เป็นกิจกรรมที่ใช้วันหยุดให้เกิดประโยชน์แล้วยังท�ำให้ตนเอง ผ่อนคลายอีกด้วย

3.นางสาวชิ ธ ษภั ค เถื่ อ นสว่ า ง โรงเรียนศึกษานารี ความรู้สึกของดิฉันที่ไปท�ำ กิจกรรมที่บ้านหนังสือพญาไท ได้ ไปแล้วรู้สึกถึงความสนุกตอนได้ท�ำ กิจกรรมร่วมกับน้องๆ มีทั้งระบาย สี ระบายถุงผ้า พูดคุย รู้สึกได้รับ พลังบวกจากเด็กๆ ท�ำให้รู้สึกว่ามี แรงที่จะท�ำอย่างอื่นต่อค่ะ 4.นางสาวปวันรัตน์ ไกลสิงห์สม โรงเรียนสตรีนนทบุรี การมาเป็ น จิ ต อาสากั บ ครอบครัวพอเพียงครั้งแรกรู้สึกดี มีความสุขน้องๆ น่ารักมากได้มา รู้จักเพื่อนใหม่ ได้มาท�ำความดีใน วันหยุด มีกิจกรรมมากมายและพี่ๆ ที่คุมใจดีมาก

37 issue 130 NOVEMber 2018


การผลิตกระเทียมดอง

กระเที ย มเป็ น พื ช ที่ มี คุ ณ ค่ า ทางอาหารที่ มี ป ระโยชน์ ต ่ อ ร่ า งกายสามารถน� ำ มาประกอบอาหาร และเป็ น ยา รั ก ษาโรคบางชนิ ด และใช้ ป ้ อ งกั น ก� ำ จั ด แมลงศั ต รู พื ช ได้ การดองกระเที ย มเป็ น การถนอมอาหารที่ ดี วิ ธี ห นึ่ ง ในการรั ก ษาคุ ณ ค่ า ของอาหาร เพื่ อ เก็ บ ไว้ รั บ ประทานได้ น านๆ หากจะท� ำ กระเที ย มดองเป็ น อาชี พ ให้ มี ร ายได้ จ ะต้ อ ง รู ้ จั ก การจั ด การและการจ� ำ หน่ า ยไปพร้ อ มๆ กั น 38 IS AM ARE www.fosef.org


อาชี พ ทางเลื อ ก

ปั จจัยจ�ำเป็ นที่ต้องใช้

กระเทียมให้จมอย่าให้กระเทียมลอยขึ้นมาอีก 2 วัน รินน�้ำที่แช่ 1.กระเทียม พันธุ์กระเทียมที่ใช้ปลูกในเมืองไทยขณะนี้ กระเทียมออก เติมน�้ำตาลลงไปประมาณ ½ ถ้วย ตั้งไฟให้เดือด หากแยกตามท้องถิ่นที่ปลูกมีอยู่ด้วยกัน 3 พันธุ์ คือกระเทียม และทิ้งไว้ให้เย็น แล้วใส่กระเทียมที่น�ำออกมาแช่ลงอีกครั้ง ทิ้งไว้ พันธุ์เชียงใหม่ กระเทียมพันธุ์ศรีสะเกษ และกระเทียมจีนแดง อย่างน้อย 1 เดือน จึงจะใช้ได้ ท�ำเช่นนี้ความเผ็ดของกระเทียม 2.วัสดุอุปกรณ์ได้แก่ ขวดโหล หม้อเคลือบ ถ้วยตวง ซ้อง จะหายไป ตวง ผ้าขาวบาง หมายเหตุ ส่วนผสมของการท�ำกระเทียมดอง 1.โรงเรือนผลิต 1.กระเทียม 1 กก. 2.อุปกรณ์การผลิต 2.เกลือ 100 กรัม 3.เครื่องบรรจุภัณฑ์ 3.น�้ำส้มสายชู 1 ขวด 4.เงินทุนหมุนเวียน 4.น�้ำผสมปูนใสพอประมาณ 5.น�้ำ 3 ถ้วยตวง ขัน้ ตอนในการด�ำเนินงาน 6.น�้ำตาลทราย 1 กก. การดองด้ ว ยกระเที ย มแห้ ง 1.การท�ำกระเทียมดองต้องคัดเลือกกระเทียมที่แก่จัด ผลผลิต โดยการบีบหัวกระเทียมแห้ง หากมีใบติดมาด้วยให้สังเกตว่าใบ กระเทียมดอง บรรจุหีบห่อ เป็น 2 แบบคือ จะต้องมีสีเหลืองเข้ม และมีหัวเล็กๆ ติดมาตามก้านใบกระเทียม 1.ขวดโหล อาจมี ข นาดของขวดแตกต่ า งกั น ควรหา ที่แก่จัด เมื่อน�ำมาดองจะได้กระเทียมดองที่กรอบไม่เปื่อยยุ่ย ขวดที่มีลักษณะเหมือนหรือเท่าๆ กันเพื่อดึงดูดความสนใจของ แล้วน�ำกระเทียมที่คัดเลือกแล้วมาแกะกลีบ ปอกเปลือกและ ผู้บริโภค ล้างให้สะอาดน�ำไปแช่ในน�้ำปูนใส ทิ้งไว้ประมาณ 1 ชม. แล้ว 2.ถุ ง พลาสติ ก สามารถบรรจุ ไ ด้ แ ต่ ต ้ อ งปิ ด ปากถุ ง ตักขึ้นมาผึ่งให้สะเด็ดน�้ำ ให้ แน่ น หรื อ ปิ ด ผนึ ก ให้ เรี ย บร้ อ ย มี ฉลากติ ด ข้ า งๆ เพื่อบอก 2.เตรียมน�้ำดอง โดยการน�ำน�้ำตาลทราย น�้ำส้มสายชู รายละเอียดให้ชัดเจน เช่น ราคา แหล่งผลิต และได้ผ่านการ ผสมกัน ต้มให้เดือด ปรุงรสให้กลมกล่อมแล้วน�ำมากรองด้วย ตรวจสอบคุณภาพแล้ว ผ้าขาวบางทิ้งไว้ให้เย็น 3.น�ำกระเทียมที่วางให้สะเด็ดน�้ำปูนใส ใส่ลงในขวดที่ ตลาดและผลตอบแทน เตรียมไว้ (ขวดและฝาขวดต้องน�ำไปลวกในน�้ำร้อนที่เดือดๆ ขายได้ 2 ลักษณะ ก่อนเพื่อฆ่าเชื้อโรค) 1.การขายปลีก จะราคาดีกว่าราคาส่ง เพราะขายจ�ำนวน 4.เทน�้ำผสม และต้มลงไปในขวดให้ท่วมกระเทียม และ น้อย ในการขายปลีกนี้ สามารถวางได้ตามข้างทางบริเวณใกล้ อย่าให้กระเทียมลอย ปิดฝาขวดให้แน่นเก็บไว้ประมาณ 1 เดือน กับแหล่งผลิตของตนเอง โดยใช้วิธีตั้งโต๊ะ ระยะแรกอาจขายได้ รับประทานได้ น้อยเมื่อเป็นที่รู้จักแล้วอาจขายได้มากขึ้น แล้วน�ำไปขายในตลาด ท้องถิ่น และตลาดในเมือง การดองด้ ว ยกระเที ย ม 2.การขายส่ง โดยคิดต่อตามร้านต่างๆ ราคาขายส่งจะ 1.น�ำกระเทียมไปแช่น�้ำประมาณ 2 ชม. จนเปลือยพอง ถูกกว่าราคาปลีก แล้วส่งขึ้นแช่น�้ำเย็นอีก 1 คืน ปอกเปลือกออก หมายเหตุ 2.น� ำ กระเที ย มที่ ป อกเปลื อ กมาผึ่ ง ไว้ บ นตะแกรงให้ 1.กระเทียมโทนดอง ราคาประมาณ กก.ละประมาณ สะเด็ดน�้ำ 90 บาท 3.ต้มน�้ำส้มสายชู น�้ำตาล เกลือ ให้เดือด กรองฝุ่น ด้วย 2.กระเทียมดองปกติ ราคาประมาณ กก.ละประมาณ ผ้าขาวบาง แล้วปล่อยไว้ให้เย็น 35 บาท 4.น�ำกระเทียมที่ผึ่งไว้ลงแช่ในน�้ำดองที่เตรียมไว้ โดยกด 39 issue 130 NOVEMber 2018


40 IS AM ARE www.fosef.org


สั จ ธรรมแห่ ง แนวพระราชด� ำ ริ

ท�ำตามล�ำดับขัน้

ในการทรงงาน พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว จะทรงเริ่ ม ต้ น จากสิ่ ง ที่ จ� ำ เป็ น ที่ สุ ด ของประชาชนก่ อ นจากนั้ น จึ ง ทรงช่ ว ยเหลื อ ในเรื่ อ งอื่ น ๆ ต่ อ ไปตามล� ำ ดั บ ของความจ� ำ เป็ น โดยทรงท� ำ สิ่ ง ที่ ง ่ า ยไปหาสิ่ ง ที่ ย ากท� ำ สิ่ ง เล็ ก ไปหาสิ่ ง ใหญ่ ทรงเน้ น การพั ฒ นาที่ มุ ่ ง สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ แ ก่ ชุ ม ชนในช่ ว งเวลาที่ เ หมาะสมเพื่ อ มุ ่ ง สู ่ การพึ่ ง ตนเองได้ ใ นที่ สุ ด ตามแนวพระราชด� ำ ริ ดั ง นี้ • การทรงงานของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มี ลักษณะเด่นที่การ ท�ำตามล�ำดับขั้น ความเรียบง่าย เป็นไปโดย มีเหตุ ผล และท�ำอย่างเป็นระบบ โดยทรงเริ่มต้นจากสิ่งที่จ�ำเป็น ของประชาชนที่สุดก่อน ได้แก่ สาธารณสุข เมื่อมีร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรงแล้ว ก็จะสามารถท�ำประโยชน์ด้านอื่นๆ ต่อไปได้ ต่อจากนั้นจะเป็นเรื่องสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานและสิ่ง จ�ำเป็นในการประกอบอาชีพ อาทิ ถนน แหล่งน�้ำเพื่อการเกษตร การอุปโภคบริโภค ที่เอื้อประโยชน์ต่อประชาชนโดยไม่ท�ำลาย ทรั พ ยากรธรรมชาติ รวมถึ ง การให้ ค วามรู ้ ท างวิ ช าการและ เทคโนโลยีที่เรียบง่าย เน้นการปรับใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ราษฎร สามารถน�ำไปปฏิบัติและเกิดประโยชน์สูงสุด จากนั้นจึงแก้ไขปัญหาในเรื่องต่อๆ ไป ด้วยทรงตระหนัก ว่าเมื่อร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง จึงสามารถประกอบอาชีพเลี้ยง ตนเอง และเมื่อได้รับ การส่งเสริม ให้สามารถหารายได้ เ ลี้ ย ง ตนเองได้แล้ว จึงขยายไปสู่การพัฒนาสังคมและพัฒนาประเทศ ต่อไป • การพั ฒ นาประเทศ จ� ำ เป็ น ต้ อ งสร้ า งพื้ น ฐานคื อ ความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่ก่อนจึงค่อย สร้ า งเสริ ม ความเจริ ญ และเศรษฐกิ จ ขั้ น สู ง โดยล� ำ ดั บ ต่ อ ไป ดังพระบรมราโชวาท เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2517 ความตอน หนึ่งว่า

“...การพัฒนาประเทศจ�ำเป็นต้องท�ำตามล�ำดับขั้นต้อง สร้างพื้นฐานคือความพอมีพอกินพอใช้ ของประชาชนส่วนใหญ่ เป็นเบื้องต้นก่อนใช้วิธีการและใช้อุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้อง ตามหลักวิชาเมื่อได้พื้นฐานมั่นคงพร้อมพอสมควรและปฏิบัติ ได้แล้วจึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้น ที่สูงขึ้นโดยล�ำดับต่อไป หากมุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญยก เศรษฐกิจให้รวดเร็วแต่ประการเดียวโดยไม่ให้แผนปฏิบัติการ สัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคล้อง ด้วยก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่างๆ ขึ้นซึ่งอาจกลายเป็น ความยุ่งยากล้มเหลวได้ในที่สุดดังเห็นได้ที่อารยประเทศก�ำลัง ประสบปัญหาทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรงในเวลานี้...” • ในการด�ำเนินโครงการพัฒนา หลักส�ำคัญที่พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานอยู่ตลอดเวลาคือ การท�ำสิ่ง ที่ง่ายไปหาสิ่งที่ยาก ท�ำสิ่งเล็กไปหาสิ่งใหญ่ อย่าก้าวกระโดด หรือในแนวทางอนุรักษ์นิยมสุดโต่ง เช่น ไม่เร่งรัดน�ำความเจริญ เข้าไปสู่ชุมชนในภูมิภาคที่ยังมิได้ทันตั้งตัวแต่ให้มีการเตรียม ความพร้อมเพื่อให้มีความสามารถในการรับมือกับสถานการณ์ ของโลกภายนอกได้ ซึ่ง ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิ ชัยพัฒนา ได้บรรยายเรื่อง “แนวพระราชด�ำริ ของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับแนวทางการใช้ชีวิตในอนาคต” เมื่อ 41

issue 130 NOVEMber 2018


ไปพิจารณาไปและปรับปรุงไปไม่ท�ำด้วยอาการเร่งรีบตามความ กระหายที่จะสร้างของใหม่เพื่อความแปลกใหม่เพราะ ความจริ ง สิ่ ง ที่ ใ หม่ แ ท้ ๆ นั้ น ไม่ มี สิ่ ง ใหม่ ทั้ ง ปวง ย่อมสืบเนื่องมาจากสิ่งเก่าและต่อไปย่อมจะต้องเป็นสิ่งเก่า...”

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2544 ว่า สมัยนี้ต้องการรวยและก้าวไป สู ่ ค วามเป็ น สากลอย่ า งรวดเร็ ว จึ ง มี ก ารก� ำ หนดกติ ก าใหม่ ๆ ขึ้นมาและออกแบบเครื่องมือไว้มากมาย โดยลืมหันมาดูพื้นฐาน ของสังคมไทย และความพร้อมของคน สิ่งเหล่านี้ทรงมีพระราช กระแสรับสั่งมานานกว่า 50 ปี ดังพระราชกระแสรับสั่งเกี่ยว กับโครงการ พัฒนาพื้นที่หุบกะพง ความตอนหนึ่งว่า “...ห้ามหน่วยราชการน�ำเครื่องจักรกลเข้าไปด�ำเนินการ เร็วนักเพราะว่าถ้าหากน�ำเครื่องจักรกลเข้าไปด�ำเนินการแล้ว ชาวบ้านจะทิ้งจอบทิ้งเสียมและจะใช้ไม่เป็นและเขาจะช่วยตัว เองไม่ได้ในระยะยาว...” และพระบรมราโชวาทพระราชทานในพิธีพระราชทาน ปริญญาบัตร ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ความตอนหนึ่งว่า “...การสร้ า งความเจริ ญ ก้ า วหน้ า นี้ ค วรอย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะ ค่อยสร้างค่อยเสริมทีละเล็กละน้อยตามล�ำดับ ให้เป็นการท�ำ

• การด�ำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ มุ่งสร้างรากฐานที่มั่นคงก่อน จากนั้นจึงด�ำเนินการเพื่อความ เจริญก้าวหน้าในล�ำดับต่อๆ ไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเน้ น การพั ฒ นาที่ มุ ่ ง สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ แ ก่ ชุ ม ชนก่ อ น แล้วมีการพัฒนาต่อไปให้ประชาชนสามารถพึ่งตนเองได้นั่นคือ ท�ำให้ชุมชนหมู่บ้านมีความเข้มแข็งก่อน แล้วจึงค่อยออกมาสู่ สังคมภายนอก พระองค์มีพระราชประสงค์ที่จะช่วยเหลือราษฎรตาม ความจ� ำ เป็ น และเหมาะสมกั บ สถานภาพเพื่ อ ที่ ร าษฎรเหล่ า นั้ น จะสามารถพึ่ ง ตนเองได้ และออกมาสู ่ สั ง คมภายนอกได้ 42

IS AM ARE www.fosef.org


43 issue 130 NOVEMber 2018


ในลักษณะก้าวกระโดดดังพระราชด�ำรัสพระราชทานแก่คณะ ผู ้ บ ริ ห ารงานเร่ ง รั ด พั ฒ นาชนบท ระดั บ ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2512 ความ ตอนหนึ่งว่า “...ยกตัวอย่างในแผนตอนพื้นฐานนั้นมีตัวอย่างว่าจะ ต้องสร้างถนนสร้างชลประทานไว้ส�ำหรับให้ประชาชนใช้ส�ำหรับ ให้เจ้าหน้าที่ได้เข้าไปปฏิบัติการได้คือไปช่วยประชาชนในทาง บุคคลหรือในทางที่จะพัฒนาให้บุคคลมีความรอบรู้และอนามัย แข็งแรงด้วยการให้การศึกษาและการรักษาอนามัยขั้นที่สามถึง ยอดนั้นก็คือการให้ประชาชนในท้องที่สามารถท�ำการเพาะปลูก หรือท�ำการงานและค้าขายได้สามขั้นนี้อาจต้องกลับหัวกันบ้าง ก็ได้เพราะว่าเหตุการณ์ต่างๆ ไม่เหมือนกันแล้วแต่ท้องที่แล้วแต่ บุคคลที่เราจะไปช่วยจะยกตัวอย่างเช่นว่าการสร้างถนนนั้นอาจ ไม่ใช่เป็นวิธีการพื้นฐานที่ผู้ที่สนใจในเรื่องเร่งรัดพัฒนาที่จะแก้ไข ปัญหาเหล่านี้เคยไปบอกให้ผู้ว่าราชการจังหวัดทั้งนายอ�ำเภอ ทั้งต�ำรวจให้เจ้าหน้าที่ต่อต้านการใช้กฎหมายสนับสนุนผู้ที่จะไป เบียดเบียนประชาชนด้วยการใช้ หลักมนุษยธรรมแท้ๆ หลักของ เมตตาหลักของการปฏิบัติเพื่อส่วนรวมจริงๆ...”

อย่ า งไม่ ย ากล� ำ บากขณะเดี ย วกั น จะต้ อ งอนุ รั ก ษ์ แ ละพั ฒ นา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมความรู้ เทคนิค วิชาการสมัยใหม่พร้อมๆ กันไปด้วย ดังพระราชด�ำรัสในพิธี เปิดการประชุมการสังคมสงเคราะห์แห่งชาติ ครั้งที่ 5 ณ ห้อง ประชุมศาลาสันติธรรม เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2512 ความตอน หนึ่งว่า “...การเข้าใจสถานการณ์และสภาพของผู้ที่เราจะช่วย เหลือนั้นเป็นสิ่งส�ำคัญที่สุดการช่วยเหลือให้เขาได้รับสิ่งที่เขาควร จะได้รับตามความจ�ำเป็นอย่างเหมาะสมจะเป็นการช่วยเหลือที่ ได้ผลดีที่สุดเพราะฉะนั้นในการช่วยเหลือแต่ละครั้งแต่ละกรณี จ�ำเป็นที่เราจะพิจารณาถึงความต้องการและความจ�ำเป็นก่อน และต้องท�ำความเข้าใจกับผู้ ที่เราจะช่วยให้เข้าใจด้วยว่าเขา อยู่ในฐานะอย่างไรสมควรที่จะได้ รับความช่วยเหลืออย่างไร เพียงใดอีกประการหนึ่งในการช่วยเหลือนั้นควรยึดหลักส�ำคัญ ว่าเราจะช่วยเขาเพื่อให้เขาสามารถช่วยตนเองได้ต่อไป...” • การทรงงานที่ด�ำเนินงานตามล�ำดับขั้นตอนนั้น ทรง ค�ำนึงถึงทุกปัจจัยและเงื่อนเวลา ให้มีความพอดี สมดุล รอบคอบ และสอดคล้ องกั บ ลัก ษณะของภูมิสังคม มิใช่ก ารด�ำเนิ น งาน 44 IS AM ARE www.fosef.org


ตัวอย่างพระราชกรณียกิจ

พระราชกรณียกิจที่แสดงถึงการคิดอย่างเป็นองค์รวม ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนั้นมีมากมายขอยกตัวอย่าง พอสังเขป ได้แก่ การพัฒนาแหล่งน�้ำ การบริหารจัดการน�้ำแบบ บูรณาการ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้แนวพระราชด�ำริองค์รวม ในการจัดตั้งและด�ำเนินงานศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมา จากพระราชด�ำริเพื่อให้เป็นต้นแบบในการบริการรวมที่จุดเดียว โดยมีหน่วยงานราชการต่างๆ มาร่วมด�ำเนินการและให้บริการ แก่ประชาชน ณ ที่แห่งเดียว การทรงงานเพื่อพัฒนาประเทศ นั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงท�ำตามล�ำดับขั้นตอนของ ความจ�ำเป็นเร่งด่วน โดยพระราชกรณียกิจที่เห็นเด่นชัดว่าทรง ให้ความส�ำคัญในล�ำดับแรกๆ คือการพัฒนาด้านการแพทย์ และ สาธารณสุข ล�ำดับต่อๆ มา คือการพัฒนาและอนุรักษ์ดินและ น�้ำ นอกจากนี้ทรงให้ความส�ำคัญกับการสร้างและให้ความช่วย เหลือในสิ่งที่จ�ำเป็นของราษฎรก่อน พระราชกรณียกิจแต่ละเรื่อง ดังกล่าว สรุปสาระส�ำคัญได้ ดังนี้

• การพัฒนาแหล่งน�้ำ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงตระหนั ก ถึ ง ความ ส�ำคัญของน�้ำต่อความอยู่รอดของชีวิตทั้งมนุษย์ สัตว์ และพืช เนื่องจากน�้ำเป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตทั้งมวล ดังพระราช ด�ำรัส ณ พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2529 ความตอนหนึ่งว่า “...หลักส�ำคัญว่าต้องมีน�้ำบริโภคน�้ำใช้น�้ำเพื่อการเพาะ ปลูกเพราะว่าชีวิตอยู่ที่นั่นถ้ามีน�้ำคนอยู่ได้ถ้าไม่มีน�้ำคนอยู่ไม่ได้ ไม่มีไฟฟ้าคนอยู่ได้ แต่ถ้ามีไฟฟ้าไม่มีน�้ำคนอยู่ไม่ได้...” พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงทราบความเดื อ ด ร้อนของประชาชนส่วนใหญ่ที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ซึ่ง มั ก ขาดแคลนน�้ ำ เพาะปลู ก และไม่ มี น�้ ำ อุ ป โภคบริ โ ภคอย่ า ง เพี ย งพอในฤดู แ ล้ ง นอกจากนั้ น หลายพื้ น ที่ ยั ง เกิ ด ภาวะน�้ ำ ท่ ว ม ท� ำ ความเสี ย หายแก่ พื ช ผลและทรั พ ย์ สิ น อยู่เนืองๆ ใน ฤดูฝน รวมทั้งการเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ท�ำให้น�้ำตามแหล่ง ชุมชนในเมืองใหญ่ๆ เน่าเสียจนไม่อาจใช้ประโยชน์ได้ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมองการแก้ไขปัญหาในองค์รวมและ พระราชทานพระราชด�ำริในการพัฒนาและบริหารจัดการน�้ำ โดยมีวิธีด�ำเนินงานที่ส�ำคัญ ดังนี้ 1) การพัฒนาแหล่งน�้ำจะเป็นรูปแบบใด มีพระบรมราช วินิจฉัยวางโครงการด้วยแผนที่อย่างเชี่ยวชาญ โดยต้องเหมาะสม กับรายละเอียดของสภาพพื้นที่ และสภาพแหล่งน�้ำธรรมชาติที่มี อยู่ในแต่ละท้องถิ่นเสมอ 2) พิ จ ารณาถึ ง ความเหมาะสมในด้ า นเศรษฐกิ จ และ สั ง คมของท้ อ งถิ่ น ทรงเน้ น การช่ ว ยเหลื อ ชาวนาชาวไร่ ใ น ท้องถิ่นทุรกันดารและแร้นแค้นเป็นล�ำดับแรก หลีกเลี่ยงการ เข้าไปสร้างปัญหาความเดือดร้อนให้กับคนอีกกลุ่มหนึ่งไม่ว่า ประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจเกี่ยวกับการลงทุนนั้นจะมีความ 45

issue 130 NOVEMber 2018


เหมาะสมเพี ย งใดก็ต าม ด้ว ยเหตุนี้จึงมีพระราชด�ำริว่ า การ ท�ำงานโครงการพัฒนาแหล่งน�้ำทุกแห่ง ราษฎรในหมู่บ้านที่ ได้รับประโยชน์ จะต้องด�ำเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องที่ดิน โดย จั ด การช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ที่ เ สี ย ประโยชน์ ต ามความเหมาะสม เพื่ อ ทางราชการจะสามารถเข้าไปใช้ที่ดินท�ำการก่อสร้างได้ ซึ่งเป็น พระบรมราโชบายที่มุ่งหวังให้ราษฎรเข้ามามีส่วนร่วมและช่วย เหลือเกื้อกูลกันภายในชุมชนของตนเอง และมีความหวงแหนที่ จะดูแลบ�ำรุงรักษาสิ่งก่อสร้างนั้นต่อไปด้วย โครงการพัฒนาแหล่งน�้ำอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ มี จุ ด มุ ่ ง หมายเพื่ อ ช่ ว ยแก้ ไขปั ญ หาหรื อ บรรเทาความเดื อ ด ร้อนเกี่ยวกับน�้ำ จนสามารถสนองความต้องการของราษฎรได้ อย่างครอบคลุมในทุกๆ ด้านอย่างเป็นองค์รวมโดยแบ่งเป็น 5 ประเภท ดังนี้ 1) การพัฒนาแหล่งน�้ำเพื่อการเพาะปลูกและอุปโภค บริโภค ได้แก่ การท�ำฝนเทียมหรือฝนหลวง โครงการก่อสร้าง อ่างเก็บน�้ำและฝายทดน�้ำ งานขุดลอกหนองบึง และงานสระ อุปโภคบริโภคเป็นส�ำคัญ แต่มีหลายโครงการที่มีวัตถุประสงค์ เก็บน�้ำ หลายๆ อย่างไปพร้อมกัน เพื่อให้มีการใช้น�้ำอย่างคุ้มค่าและ การทรงงานของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มี เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ โครงการ ลั ก ษณะเด่ น ที่ ก าร ท� ำ ตามล� ำ ดั บ ขั้ น ความเรี ย บง่ า ย พัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ โครงการ เป็ น ไปโดยมี เ หตุ ผล และท� ำ อย่ า งเป็ น ระบบ โดยทรง เขื่อนขุนด่านปราการชล เป็นต้น ซึ่งโครงการพัฒนาเหล่านี้ เริ่ ม ต้ น จากสิ่ ง ที่ จ� ำ เป็ น ของประชาชนที่ สุ ด ก่ อ น ได้ แ ก่ สามารถก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนที่มีสภาพแร้นแค้นให้ สาธารณสุ ข เมื่ อ มี ร ่ า งกายสมบู ร ณ์ แ ข็ ง แรงแล้ ว ก็ อยู่ในฐานะ “พอมีพอกิน” จนถึงขั้น “มีกินมีใช้” และ “เหลือ กินเหลือใช้” ในที่สุด ซึ่งส่งผลประโยชน์ต่อประเทศชาติเป็น จะสามารถท� ำ ประโยชน์ ด ้ า นอื่ น ๆ ต่ อ ไปได้ ส่วนรวมสรุปได้ดังนี้ (1) ช่วยให้พื้นที่การเกษตรมีน�้ำอุดมสมบูรณ์ สามารถ 2) ด้านการป้องกันและบรรเทาปัญหาอุทกภัย ได้แก่ การ ก่อสร้างคันกั้นน�้ำและคลองผันน�้ำ การปรับปรุงสภาพล�ำน�้ำ การ ท�ำการเพาะปลูกได้ตลอดทั้งปี โดยหลายพื้นที่สามารถท�ำการ เพาะปลูกได้มากกว่า 1 ครั้งต่อปี ช่วยให้ได้ผลผลิตมากขึ้นและ ระบายน�้ำออกจากพื้นที่ลุ่มและโครงการแก้มลิง 3) การแก้ไขปัญหาคุณภาพน�้ำได้แก่ การแก้ไขปัญหา ราษฎรมีรายได้เพิ่มขึ้น (2) ช่วยบรรเทาอุทกภัยและปัญหาน�้ำท่วมขังในพื้นที่ น�้ำเค็ม รุกล�้ำล�ำน�้ำ ท�ำความเสียหายแก่พื้นที่เพาะปลูก การ ใช้คุณภาพน�้ำดีช่วยบรรเทาน�้ำเน่าเสียในล�ำคลองในพื้นที่เมือง เกษตรกรรมและในเขตชุ ม ชนเมื อ งใหญ่ ๆ เช่ น พื้ น ที่ ลุ ่ ม น�้ ำ และกรุงเทพฯการบ�ำบัดน�้ำเน่าเสียด้วยผักตบชวาและโดยวิธี เจ้าพระยาตอนล่าง กรุงเทพฯ และปริมณฑล อ�ำเภอหาดใหญ่ การเติมอากาศ และโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อม จั ง หวั ด สงขลา ซึ่ ง ช่ ว ยลดความเสี ย หายต่ อ ระบบเศรษฐกิ จ โดยรวมของประเทศ แหลมผักเบี้ย จังหวัดเพชรบุรี (3) ช่วยให้ราษฎรมีน�้ำเพื่ออุปโภคบริโภคที่สะอาดอย่าง 4) โครงการพัฒนาแหล่งน�้ำเพื่อการอนุรักษ์ต้นน�้ำล�ำธาร โดยการสร้ า งฝายต้ น น�้ ำ ล� ำ ธาร หรื อ ฝายชะลอความชุ ่ ม ชื้ น เพียงพอตลอดปี ส่งผลให้ราษฎรมีสุขภาพพลานามัยดีขึ้น และ ยังสามารถใช้เป็นแหล่งน�้ำส�ำหรับการเลี้ยงสัตว์ด้วย (Check dam) (4) อ่ า งเก็ บน�้ ำ ขนาดต่ า งๆ ได้ เป็ น แหล่ ง เพาะพันธุ์ 5) โครงการพั ฒ นาแหล่ ง น�้ ำ เพื่ อ การผลิ ต ไฟฟ้ า พลั ง น�้ ำ การด� ำ เนิ น งานโครงการพั ฒ นาแหล่ ง น�้ ำ อั น เนื่ อ งมาจาก สัตว์ น�้ำนานาชนิด และแหล่งประมงน�้ำจืดช่วยให้ราษฎรที่อยู่ พระราชด� ำ ริ ส ่ ว นใหญ่ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ การเกษตรและ ใกล้เคียงมีปลาบริโภคในครัวเรือน และมีรายได้เสริมเพิ่มขึ้น 46 IS AM ARE www.fosef.org


(5) โครงการพัฒนาแหล่งน�้ำเพื่อการอนุรักษ์ต้นน�้ำล�ำธารอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริโดยการสร้างฝายกักเก็บน�้ำบริเวณ ต้นน�้ำล�ำธารเป็นชั้นๆ พร้อมระบบกระจายน�้ำจากฝายต่างๆ ไปสู่พื้นที่ 2 ฝั่งของล�ำธารท�ำให้พื้นที่ชุ่มชื้นและป่าเขียวชอุ่มตลอดปี มีลักษณะเป็นป่าเปียกส�ำหรับป้องกันไฟป่าโดยเป็นแนวกระจายไปทั่วบริเวณพื้นที่ต้นน�้ำล�ำธาร ช่วยให้ทรัพยากรธรรมชาติและ ระบบนิเวศมีความอุดมสมบูรณ์ (6) โครงการพัฒนาแหล่งน�้ำเพื่อการผลิตไฟฟ้าพลังน�้ำ เป็นการให้พลังงานทดแทนน�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีความส�ำคัญยิ่งต่อการ พัฒนาประเทศในปัจจุบันและอนาคต (7) การพัฒนาแหล่งน�้ำหลายแห่งสามารถใช้สนับสนุนภาคอุตสาหกรรมในเขตลุ่มน�้ำส่งผลให้เขตเศรษฐกิจในพื้นที่ขยายตัว และยังสามารถช่วยแก้ไขปัญหาคุณภาพน�้ำอีกด้วย (8) เป็นแหล่งท่องเที่ยวและพักผ่อนหย่อนใจซึ่งน�ำไปสู่การสร้างงานและสร้างรายได้ให้กับราษฎรเพิ่มขึ้นจึงกล่าวได้ว่างาน พัฒนาแหล่งน�้ำนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงด�ำเนินการทุกขั้นตอนที่จ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิตของราษฎรอย่างเป็นองค์รวม ที่เห็นเด่นชัดเรื่องหนึ่ง

47 issue 130 NOVEMber 2018


48 IS AM ARE www.fosef.org


49 issue 130 NOVEMber 2018


50 IS AM ARE www.fosef.org


51 issue 130 NOVEMber 2018


52 IS AM ARE www.fosef.org


53 issue 130 NOVEMber 2018


54 IS AM ARE www.fosef.org


55 issue 130 NOVEMber 2018


56 IS AM ARE www.fosef.org


57 issue 130 NOVEMber 2018


58 IS AM ARE www.fosef.org


59 issue 130 NOVEMber 2018


แข่งเรือบก

เล่ น แข่ ง เรื อ บกควรจะมี ผู ้ เ ล่ น อย่ า งน้ อ ยสั ก 10 คนขึ้ น ไปจึ ง จะสนุ ก หาของขนาดที่ พ อก� ำ ไว้ ใ นมื อ ได้ ไ ว้ ซ่ อ นขี ด เส้ น เริ่ ม ต้ น ให้ ห ่ า งจากเส้ น ชั ย 5-6 เมตร หรื อ ตามแต่ ต กลงกั น 60 IS AM ARE www.fosef.org


การละเล่ น ของเด็ ก ไทย

วิ ธี เ ล่ น แบ่งเพื่อนๆ ออกเป็นสองฝ่ายเท่าๆ กัน แต่ละฝ่ายเลือก นายมา 1 คน ทั้งสองฝ่ายนั่งเหยียดขาเรียงแถวต่อกัน ให้ขาชน หลังของคนข้างหน้า แถวทั้ง 2 ควรจะห่างกันอย่างน้อย 2 เมตร เป่ายิงฉุบหาฝ่ายเล่นก่อน นายท้ า ยถื อ ของที่ จ ะซ่ อ นเดิ น จากหางแถวไปหั ว แถว แล้วหาจังหวะหย่อนของไว้ที่เพื่อนคนใดคนหนึ่งโดยอย่าให้อีก ฝ่ายสังเกตเห็น อีกฝ่ายจะต้องทายว่าของอยู่ที่ใคร ถ้าทายไม่ถูก ก็ให้ คนที่อยู่ท้ายสุดของฝ่ายซ่อนของ ไปนั่งข้างหน้าคนหัวแถวแต่

ถ้าทายถูกคนที่อยู่หลังสุดของฝ่ายทายก็ไปนั่งข้างหน้า ผลัดให้ อีกฝ่ายซ่อนและอีกฝ่ายทายไปเรื่อยๆ จนฝ่ายไหนได้ขยับมานั่ง ข้างหน้าจนถึงเส้นชัยก่อนเป็นผู้ชนะ เคล็ ด ลั บ ความสนุ ก น้องๆ ต้องร่วมมือกันท�ำกลอุบายให้อีกฝ่ายหลงกล ไม่ แน่ใจว่าของอยู่ที่ใคร ถ้าเขาทายผิด แถวของเราก็จะรุกหน้าไป เรื่อยๆ จนถึงเส้นชัยก่อน

61 issue 130 NOVEMber 2018


Let’s Talk

พระพุ ทธเจ้าและค�ำสอนในมุ มมอง

รองศาสตราจารย์ สุเชาวน์ พลอยชุม ถ้ า พู ด ถึ ง พระพุ ท ธศาสนา สิ่ ง แรกที่ ค วรพู ด ถึ ง คื อ การตรั ส รู ้ ข องพระพุ ท ธเจ้ า ด้ ว ย เพราะพระพุ ท ธศาสนาเป็ น ผลซึ่ ง เกิ ด จากการตรั ส รู ้ ข องพระพุ ท ธเจ้ า ค� ำ ถามต่ อ มาคื อ “พระพุ ท ธเจ้ า รู ้ อ ะไร” หากแปลตามความหมาย ตรั ส รู ้ หมายความว่ า “รู ้ ” แต่ ค� ำ ว่ า รู ้ ในค� ำ ว่ า ตรั ส รู ้ ไ ม่ เ หมื อ นความรู ้ ข องคนทั่ ว ไป เพราะการรู ้ ข องคนทั่ ว ไปคื อ รู ้ จ ากตาเห็ น รู ้ จ ากหู ฟ ั ง รู ้ จ ากความคิ ด ตามผั ส สะด้ า นต่ า งๆ เท่ า นั้ น

62 IS AM ARE www.fosef.org


63 issue 130 NOVEMber 2018


รศ.สุเชาวน์ พลอยชุม อาจารย์พิเศษประจ�ำบัณฑิต วิทยาลัย อธิบายว่า การรู้ที่เรียกว่า “ตรัสรู้” เป็นการรู้จาก การที่คนๆ หนึ่งฝึกฝนและพัฒนาจิตใจของตนเองจนกระทั่งจิต มีความนิ่ง มีความสงบที่เรียกว่าสมาธิ จนเกิดพลังรู้หรือพลัง ปัญญา พลังรู้และพลังปัญญาเกิดจากจิตสงบและบริสุทธิ์ ตาม พระพุทธศาสนาเรียกว่า “ญาณ” ซึ่งหมายถึงปัญญานั่นเอง แต่ เป็นปัญญาที่เกิดจากจิตที่บริสุทธิ์ เมื่อจิตบริสุทธิ์ จิตมีญาณ จึง สามารถจะใช้ญาณหรือใช้ปัญญาตัวนี้ – รู้ หรือว่าเห็นสิ่งต่างๆ ได้อย่างถูกต้องชัดเจน หรือเรียกง่ายๆ ว่า “รู้จริง” “รู้จริงหมายความว่า รู้เห็นสิ่งต่างๆ ตามสภาพหรือตาม ธรรมชาติที่มันเป็น มันมียังไงก็เห็นอย่างนั้น มันเป็นอย่างไรก็ เห็นอย่างนั้น เรียกว่ารู้จริง เพราะว่าบางทีการรู้อย่างที่คนทั่วไป บอกว่าเรารู้ เช่น รู้ด้วยตามอง บางทีมันมองเห็นไม่รอบด้าน มอง เท่าที่ตาเห็น อาจจะมีอีกหลายส่วนของสิ่งนั้นที่เราไม่เห็น แล้ว ที่เราไม่เห็นจะรู้ได้ไง มันก็ไม่รู้ใช่ไหม ฉะนั้นการเห็นด้วยตามัน ยังรู้ไม่จริง ยังรู้ไม่หมด “แต่ ถ ้ า เห็ น ด้ ว ยจิ ต ที่ มี ญ าณ จิ ต ที่ บ ริ สุ ท ธิ์ มั น รู ้ ห มด หมายความว่า เห็นหมดทุกส่วน ทุกมิติ ของสิ่งนั้น นี่คือเรียก ว่า “รู้แบบตรัสรู้” การตรัสรู้จึงพูดง่ายๆ ว่ารู้จริง ความรู้ของ พระพุทธเจ้าท่านรู้สิ่งต่างๆ ตามที่มันมี ตามที่มันเป็น “แล้ ว ผลจากการรู ้ ข องท่ า น ท� ำ ให้ พ ระพุ ท ธเจ้ า ท่ า น บอกว่ า สิ่ ง ที่ มั น มี ห รื อ สิ่ ง ที่ มั น จริ ง บางอย่ า งก็ มี ป ระโยชน์ บางอย่างก็ไม่มีประโยชน์ (แม้ว่ามันจะจริง) อันนี้ไม่มีใครพูด พระพุทธเจ้าพูด ท่านจึงรู้ว่าความจริงหรือสิ่งที่มันมีอยู่ เรียกว่า

มีความจริงอยู่ 2 แบบ คือ ความจริงบางอย่างก็มีประโยชน์ ความจริงบางอย่างก็ไม่มีประโยชน์ แต่ท่านก็เห็น ท่านก็รู้ว่า ความจริงมันมีอะไรบ้าง ความจริงแบบไหนมีประโยชน์ แบบ ไหนไม่มีประโยชน์ แล้วท่านจึงเลือกเอาความจริงที่มีประโยชน์ เอามาสอนชาวโลก กลายมาเป็นสิ่งที่เรียกว่า พระพุทธศาสนา ส่วนความจริงที่ไม่มีประโยชน์ท่านไม่สอน ท่านเลือกสอนเฉพาะ ความจริงที่มีประโยชน์ อันนี้เป็นประเด็นส�ำคัญของพระพุทธ ศาสนา “ถ้าพูดถึงค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ก็คือ ‘ความจริงที่ เป็นประโยชน์เท่านั้น’ เพราะว่าความจริงที่ไม่มีประโยชน์ท่าน สิ่ ง ที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า เรี ย กว่ า ทุ ก ข์ มั น ก็ อ ยู ่ ใ นธรรมชาติ ไม่พูด ถึงมีคนมาถามท่าน ท่านรู้ ท่านก็ไม่พูด เพราะพูดไปก็ไม่มี นั่ น แหละ ทุ ก ข์ คื อ อะไร ความแก่ แก่ คื อ อะไร ใครไป ประโยชน์ อันนี้คือประเด็นแรกที่ควรจะเข้าใจ” สร้ า งไปสั่ ง ให้ มั น แก่ รึ เ ปล่ า มั น เป็ น ไปตามธรรมชาติ ใช่ ไ หม ความแก่ ความตาย ความผิ ด หวั ง ความ ค� ำ สอนในพระไตรปิ ฎ กเกิ ด ขึ้ น ได้ อ ย่ า งไร? “สิ่งที่พระพุทธเจ้าท่านสอน, บรรดาสาวกทั้งหลายที่ เสี ย ใจ มั น เป็ น ธรรมชาติ ทั้ ง นั้ น เพี ย งแต่ ว ่ า เราจะ ได้รับการสอนจากท่านก็ช่วยกันจ�ำไว้ เริ่มต้นจากจ�ำไว้ก่อน ต่อ มองเห็ น ว่ า มั น เป็ น ทุ ก ข์ รึ เ ปล่ า มาจึงมาจัดให้เป็นระบบ มีการรวบรวม หมายความว่า เวลาจ�ำ อาจจ�ำกันหลายคน คนนี้จ�ำส่วนนี้ คนนี้จ�ำส่วนนั้น ต่างคนต่าง จ�ำ ก็ยังไม่มีการเอามารวมกัน จนมีจังหวะของการที่น�ำเอาสิ่งที่ จ�ำได้ เรียกว่า พุทธานุสรณ์ (การน้อมร�ำลึกถึงพระพุทธเจ้า) คือ เอาค�ำสอนมารวมกัน ภาษาพุทธศาสนาเรียกว่า ‘สังคายนา’ คือ การรวมบรรดาสาวกทั้งหลายของพระพุทธเจ้ามาประชุมร่วมกัน มาเล่าให้กันฟังว่า ใครรู้อะไรจากพระพุทธเจ้าบ้าง ใครจ�ำอะไร จากพระพุทธเจ้าได้บ้าง แล้วก็เอามาจัดให้เป็นระบบ เพื่อที่จะ ได้จ�ำต่อไปได้ง่าย 64 IS AM ARE www.fosef.org


จารึ ก ค� ำ สอนพระพุ ท ธเจ้ า เป็ น ตั ว อั ก ษรครั้ ง แรก? “แล้วต่อมาอีก 200 กว่าปี ได้มีการจารึกเป็นตัวอักษร เริ่ ม ต้ น จากการสั ง คายนาจั ด ระบบก่ อ น จั ด ระบบครั้ ง แรก เรียกว่า 5 นิกาย (ปัญจนิกาย) ต่อมา 200 กว่าปี จึงมีการจัด ระบบใหม่เรียกว่า ไตรปิฎก แล้วอีก 200 กว่าปี จึงมีการจารึก เป็นตัวอักษร จึงเกิดคัมภีร์พระไตรปิฎกขึ้น นี่คือความหมายของ ค�ำว่า ไตรปิฎก “ในพระไตรปิฎกเราพูดกันสั้นๆ ว่าเป็นการจารึกหรือ รวบรวมค�ำสอนของพระพุทธเจ้า แต่ความจริงคือ สิ่งที่จารึกไว้ใน พระไตรปิฎก ไม่ใช่เฉพาะค�ำสอนของพระพุทธเจ้าเท่านั้น ยังรวม ไปถึงเรื่องอื่นๆ ด้วย แต่ว่าเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้า เช่น เรื่องที่ไม่ใช่ค�ำสอนของพระพุทธเจ้า แต่ถูกจารึกไว้ในพระ ไตรปิฎกด้วย เพราะว่าเป็นเรื่องที่บางทีมีคนอื่นเอามาเล่าให้ พระพุ ท ธเจ้ า ฟั ง เช่ น บางคนอาจจะมาถามพระพุ ท ธเจ้ า ว่ า อาจารย์คนนี้สอนอย่างนี้จริงหรือไม่ พระพุทธเจ้าท่านก็จะตอบ ว่า จริงหรือไม่จริง ฉะนั้น จึงมีค�ำสอนของผู้อื่นถูกบันทึกไว้ใน พระไตรปิฎกด้วย “เรื่องราวในพระไตรปิฎกมีเยอะ ค�ำสอนของคนศาสนา อื่ น ค� ำ สอนของเทวดา ค� ำ สอนของฤาษี รวมไปถึ ง ค� ำ สอน ของพระสาวกบางองค์ด้วย ก็ถูกจารึกไว้ในพระไตรปิฎก ก็มา เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้า บรรดาเรื่องทั้งหลายถ้าเราจะดูในราย ละเอียดก็ยังมีอีกเยอะเลย เรื่องที่ไม่ใช่ค�ำสอนก็มี เป็นประวัติ บุคคล ประวัติสถานที่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในยุคนั้น ฉะนั้นจึงมี เรื่องราวมากมายในพระไตรปิฎก พระไตรปิ ฎ กไม่ ไ ด้ มี แ ต่ ค� ำ สอนของพระพุ ท ธเจ้ า เท่ า นั้ น ? “พอเราอ่านพระไตรปิฎกจะเห็นว่ามีเรื่องแปลกๆ บางที อาจจะมีบางคนเวลามาเฝ้าพระพุทธเจ้าก็อาจจะมาเล่าเรื่องให้ พระพุทธเจ้าฟังว่า เห็นคนนั้นท�ำอย่างนั้นอย่างนี้ แล้วก็มาถาม พระพุทธเจ้าว่า ท�ำไมเขาถึงท�ำอย่างนั้น ท�ำแล้วมันผิดหรือมัน ถูกยังไง เรื่องเหล่านี้ถูกบันทึกไว้ “เรื่องที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้ามีอยู่หลายลักษณะ บาง เรื่องเป็นเรื่องที่พระพุทธเจ้าท่านสอนลูกศิษย์ สอนสาวก ไม่ต้อง มีใครมาพูด ไม่ต้องมีใครมาถาม เพียงแต่ว่าท่านแนะน�ำ สอน ศิษย์ที่เป็นพระเป็นเณรบ้าง สอนศิษย์ที่เป็นชาวบ้านบ้าง “แต่บางเรื่องอาจมีคนมาถามพระพุทธเจ้าว่า เรื่องนี้เห็น ว่ายังไง หรือบางคนอาจจะเอาเรื่องราวที่เกิดขึ้นที่เขาได้พบได้ เห็นมาถามว่าท�ำไมถึงเป็นอย่างนั้น พระพุทธเจ้าก็อธิบาย หรือ บางทีบางคนอาจจะถามว่า มีบางคนเขาพูดถึงพระพุทธเจ้าว่า

“จากการจั ด ให้ เ ป็ น ระบบนี้ เรี ย กว่ า ‘สั ง คี ติ ’ หรื อ สังคายนา คือการจัดค�ำสอนที่พระพุทธเจ้าท่านสอนเท่าที่ลูก ศิษย์จ�ำกันได้ มาจัดให้เป็นระบบ “จากสิ่งที่จัดให้เป็นระบบในการสังคายนาครั้งที่ 1 ก็จ�ำ ต่อกันมาจนกระทั่งมาถึง 450 ปี หลังจากพระพุทธเจ้านิพพาน จึงมีการจารึกสิ่งที่พระพุทธเจ้าสอน ตามที่ได้สังคายนากันไว้ มา เป็นคัมภีร์ จึงก่อให้เกิดสิ่งที่เรียกว่า ‘พระไตรปิฎก’ ขึ้น ค�ำว่า พระไตรปิฎกเริ่มมีมาแล้วหลังจากพระพุทธเจ้านิพพานมาแล้ว 200 ปี ก่อนหน้านั้นยังไม่มีค�ำว่าพระไตรปิฎก แต่เรียกว่า ธรรม วินัย มาจนกระทั่งสังคายนาครั้งที่ 3 เมื่อ พ.ศ. 200 จึงมีค�ำว่า ไตรปิฎก เพราะว่ามีการจัดระบบ ค�ำสอนของพระพุทธเจ้า เท่า ที่จัดและจ�ำมา 200 ปี จัดเป็น 3 ปิฎก (ตระกร้า) แต่ก่อนยังไม่ เรียกว่า ปิฎก แต่เรียกว่า นิกายทั้ง 5” (ทีฆนิกาย สังยุตตนิกาย อังคุตตรนิกาย ขุททกนิกาย รวมเรียกว่า ปัญจนิกาย) 65

issue 130 NOVEMber 2018


ท่านเป็นอย่างนั้น ท่านเป็นอย่างนี้ จริงรึเปล่า ฉะนั้นจึงมีเรื่อง หลากหลาย “แล้ ว วิ ธี ก ารบั น ทึ ก วิ ธี ก ารจด วิ ธี ก ารจ� ำ ค� ำ สอน ที่ พระพุทธเจ้าท่านสอน พอเราอ่านพระไตรปิฎกเราจะเห็นว่า เขาไม่ได้จ�ำเฉพาะธรรมะ หรือค�ำสอนของพระพุทธเจ้า จ�ำเรื่อง ราวด้วย จ�ำว่าพระพุทธเจ้าท่านประทับอยู่ที่ไหน ท่านคุยกับใคร สอนเรื่องอะไร พอท่านสอนแล้ว คนรับการสอนเกิดอะไรขึ้น มัน จึงกลายเป็นสิ่งที่เรียกว่า ‘สูตรในพระไตรปิฎก’” “พระสู ต รคื อ เรื่ อ งราวแต่ ล ะเรื่ อ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ พระพุทธเจ้า โดยมีการบอกไว้เสร็จเรียบร้อยว่า สูตรนี้ หรือ เรื่องราวเรื่องนี้ เกิดขึ้นเมื่อพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่ไหน พูด กับใคร สอนกับใคร สอนว่ายังไง สอนแล้วเกิดผลตามมาอย่างไร ฉะนั้น ถ้าเราเป็นคนสนใจอ่านพระไตรปิฎก เราจะเห็นว่า ยิ่งอ่าน ยิ่งสนุก เพราะได้รู้เรื่องแปลกๆ ทุกวันนี้ก็ยังมีเรื่องเหล่านั้นอยู่ เพราะมันเป็นเรื่องของคน ไม่ว่าคนยุคไหนมันก็คือคนเหมือนกัน (หัวเราะ) มีเรื่องราวมีปัญหาเหมือนกัน “เพียงแต่ว่าเรื่องราวที่เกิดขึ้นกับพระพุทธเจ้า ไม่ใช่แค่

เป็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นกับพระพุทธเจ้าเท่านั้น แต่พระพุทธเจ้า ท่านให้ค�ำแนะน�ำเพื่อการแก้ปัญหาด้วย” ก ล ่ า ว ไ ด ้ ไ ห ม ว ่ า พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ไ ม ่ ไ ด ้ ยึ ด ที่ ตั ว ศาสดา? “ประเด็นแรกคือว่า ขึ้นชื่อว่าศาสนาทุกศาสนาต้องมี ศาสดา หรือมีครูอาจารย์ผู้สอนด้วยกันทั้งนั้น พุทธศาสนาก็ เหมือนกัน พุทธศาสนาที่เป็นศาสนาขึ้นมาได้ก็เพราะมีศาสดา หรื อ มี ผู ้ ส อน คื อ พระพุ ท ธเจ้ า โดยลั ก ษณะของคนที่ เ ป็ น 66

IS AM ARE www.fosef.org


ชาวพุทธก็ต้องยอมรับนับถือ 3 สิ่ง จึงจะได้ชื่อว่าเป็นชาว พุทธ หรือ เป็นคนที่นับถือพระพุทธศาสนา สิ่งแรกที่ต้องยอมรับ นับถือก็คือ ตัวพระพุทธเจ้า คือตัวครูและตัวศาสดา สิ่งที่สอง คือ ยอมรับและนับถือสิ่งที่ศาสดาสอน คือ ธรรมะ หรือค�ำสอน ธรรมะคือความจริงที่ศาสดาเป็นผู้สอน สิ่งที่สาม คือ ยอมรับและ นับถือ ผู้ที่ปฏิบัติตามค�ำสอนของศาสดา จนกระทั่งได้ประจักษ์ ความจริง ที่เรียกว่า ได้บรรลุธรรม ถึงธรรม และเรียกว่าเป็น ผู้ประจักษ์ความจริงตามที่พระพุทธเจ้าท่านสอน ได้แก่ พระ สงฆ์ อันนี้เรียกว่าลักษณะของการยอมรับนับถือ “แม้ แ ต่ ศ าสนาอื่ น ก็ เ หมื อ นกั น คนที่ ไ ด้ ชื่ อ ว่ า เป็ น คน นับถือศาสนานั้นๆ ก็ต้องยอมรับศาสดา ยอมรับหลักค�ำสอน คล้ายกับพระพุทธศาสนา ถือว่าการยอมรับนับถือทั้ง 3 สิ่ง ที่ว่า ก็เป็นหลักอันหนึ่งของผู้ที่นับถือศาสนา ถ้าเป็นศาสนาอื่น ก็ยอมรับนับถือสิ่งที่เขาถือว่าส�ำคัญในศาสนานั้นๆ คือลักษณะ ที่เรียกว่ายอมรับนับถือ หรือที่เราเรียกสั้นๆ ว่า ‘ถือ’ เราถือ พระพุทธเจ้า ถือพระธรรม ถือพระสงค์ เป็นสิ่งเคารพ เราก็ได้ ชื่อว่าเป็นชาวพุทธ “แต่ในกรณีของพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าท่านสอน ก่อนที่ท่านจะปรินิพพาน หรือก่อนที่ท่านจะตาย ท่านสอนว่า

‘เมื่อไม่มีท่านอยู่แล้ว ให้ชาวพุทธนับถือธรรมะที่ท่านสอน เป็นศาสดาเหมือนกับเคยนับถือท่าน’ ฉะนั้น พระพุทธศาสนา จึงไม่มีการตั้งประมุขของศาสนาสืบต่อจากพระพุทธเจ้า ไม่ เหมือนศาสนาอื่น จึงจะมีประมุขของศาสนา เป็นตัวแทนของ ศาสดาที่เคยมี พระพุทธเจ้าท่านบอกว่าธรรมะที่ท่านสอน คือ สิ่งที่จะเป็นศาสดาของชาวพุทธต่อไป หมายความว่า ไม่ต้องไป นับถือคนอื่น ให้นับถือธรรมะหรือสิ่งที่ท่านสอนเป็นผู้สอนที่แท้ จริงหรือเป็นศาสดาตัวจริง”

รู ้ จ ริ ง หมายความว่ า รู ้ เ ห็ น สิ่ ง ต่ า งๆ ตามสภาพหรื อ ตามธรรมชาติ ที่ มั น เป็ น มั น มี ยั ง ไงก็ เ ห็ น อย่ า งนั้ น มั น เป็ น อย่ า งไรก็ เ ห็ น อย่ า งนั้ น เรี ย กว่ า รู ้ จ ริ ง เพราะ ว่ า บางที ก ารรู ้ อ ย่ า งที่ ค นทั่ ว ไปบอกว่ า เรารู ้ เช่ น รู ้ ด้ ว ยตามอง บางที มั น มองเห็ น ไม่ ร อบด้ า น มอง เท่ า ที่ ต าเห็ น

ใช่ ห รื อ ไม่ ว ่ า ผู ้ ที่ ส อน หรื อ ค� ำ สอนที่ แ ท้ จ ริ ง ก็ คื อ ธรรมชาติ หรื อ ตั ว ความจริ ง ที่ มี อ ยู ่ แ ล้ ว พระพุ ท ธเจ้ า เป็ น เพี ย งผู ้ ค ้ น พบและบอกต่ อ ? “ถ้าเราจะวิเคราะห์หรือตีความ ก็หมายความว่า ผู้ที่ ให้ค�ำสอน หรือผู้ท่ีสอนเราแท้จริง คือ ตัวความจริง คือ ถึง ไม่มีศาสดา ไม่มีผู้สอน ถ้าเรามีสติปัญญาพอ ก็สามารถเข้าใจ ความจริงเข้าใจธรรมะได้ เพราะความจริงธรรมะก็คือธรรมชาติ เป็นสิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติ เพียงแต่เราจะรู้หรือเห็นมันหรือไม่ เท่านั้นเอง อย่างที่พระพุทธเจ้าท่านบอกว่าท่านตรัสรู้ คือท่าน ก็รู้สิ่งที่มันมีอยู่ตามธรรมชาติ ท่านรู้ท่านเห็นด้วยปัญญาของ ท่าน ท่านจึงน�ำสิ่งที่ท่านรู้ท่านเห็นตามธรรมชาติมาบอกคน อื่น ฉะนั้น สิ่งที่ท่านบอกไม่ใช่สิ่งที่ท่านสร้างขึ้น ไม่ใช่สิ่งที่ท่าน ก�ำหนดขึ้น “หมายความว่า ผู้ที่สอนเราอย่างแท้จริงก็คือธรรมชาติ เพียงแต่ว่าเราจะมองเห็นหรือไม่ จะได้ยินเสียงธรรมชาติไหม มองเห็นตัวธรรมชาติไหม คนทั่วไปสติปัญญาไม่ถึงขั้นที่จะรู้เอง เห็นเอง จึงต้องอาศัยผู้อื่นช่วยบอก “ศาสดาเป็นเพียงผู้บอก เหมือนกับเป็นตัวกลางระหว่าง ธรรมชาติ กับ ชาวโลก ท่านอยู่ตรงกลาง ท่านเป็นคนเห็นแล้ว 67

issue 130 NOVEMber 2018


เรื่ อ งบาปบุ ญ เป็ น เรื่ อ งธรรมชาติ ด ้ ว ยรึ เ ปล่ า ? “เรื่องบาปบุญเป็นเรื่องธรรมชาติ พระพุทธเจ้าท่านไม่ ได้เป็นคนก�ำหนด เพียงแต่ว่าค�ำว่าบาป ค�ำว่าบุญ เป็นภาษาที่ มนุษย์เป็นคนสร้างขึ้นมาเพื่อจะถ่ายทอดความจริงเท่านั้น ความ จริงที่ท่านเรียกว่าบุญเรียกว่าบาปก็เป็นธรรมชาติ ไม่ใช่เป็นสิ่ง ที่พระพุทธเจ้าก�ำหนดว่าอันนี้เป็นบุญอันนี้เป็นบาป เพียงแต่ ท่านเห็นว่าอะไรเป็นบุญอะไรเป็นบาป อะไรดีอะไรชั่วแล้วท่าน ก็มาบอกให้เรารู้ “บุ ญ บาป ดี ชั่ ว ที่ ป รากฏอยู ่ ใ นค� ำ สอน ไม่ ใช่ สิ่ ง ที่ พระพุทธเจ้าท่านก�ำหนดขึ้นมาเอง หรือสร้างขึ้นมา หรือบังคับ มัน ท่านเพียงเป็นผู้เห็นมัน แล้วก็เอามาบอกว่าอะไรเป็นบุญ อะไรเป็นบาป พร้อมทั้งบอกให้เราทราบว่าบุญเกิดขึ้นได้ยังไง

น�ำมาบอก พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า ‘ครูของเราคือธรรมชาติ’ เพียงแต่ว่าเราจะมองเห็นเข้าใจหรือไม่เท่านั้น “ยกตัวอย่าง สิ่งที่พระพุทธเจ้าเรียกว่าทุกข์ มันก็อยู่ใน ธรรมชาตินั่นแหละ ทุกข์คืออะไร ความแก่ แก่คืออะไร ใครไป สร้างไปสั่งให้มันแก่รึเปล่า มันเป็นไปตามธรรมชาติใช่ไหม ความ แก่ ความตาย ความผิดหวัง ความเสียใจ มันเป็นธรรมชาติทั้งนั้น เพียงแต่ว่าเราจะมองเห็นว่ามันเป็นทุกข์รึเปล่า ในขณะที่เรามอง ไม่เห็นหรือเราไม่เข้าใจ สิ่งเหล่านี้มันมีรึเปล่า มันก็มีใช่ไหม นั่น เป็นข้อที่น่าคิดว่าท�ำไมท่านจึงบอกว่า ‘ความจริงนั่นแหละ คือ ศาสดา’ ความจริงคือผู้สอน “และท�ำนองเดียวกัน แม้จะมีคนสอน แม้จะมีครูสอน เรา เช่น ครูก็เอาความจริงมาบอกเรา แต่บางทีแม้ครูสอนเราก็ ไม่รู้ เราก็ไม่เข้าใจ เราก็ไม่เชื่อ เราก็ไม่เห็น ก็เหมือนกัน ความ จริงก็มีอยู่ทุกที่ แต่เราก็ยังมองไม่เห็น ไม่เข้าใจความจริง มันก็ คล้ายๆ กัน “แสดงว่าถ้าเป็นคนมีปัญญา แม้ไม่มีคนสอนก็สามารถ รู้ความจริง เข้าถึงความจริงได้ แต่บังเอิญคนทั่วไปปัญญาน้อย ปัญญาต�่ำ จึงมองไม่เห็นความจริงที่มีให้เราเห็นอยู่ทุกที่ทุกเวลา ต้องอาศัยคนที่รู้ความจริงมองเห็นความจริงมาช่วยชี้”

พระพุ ท ธเจ้ า ท่ า นบอกว่ า ธรรมะที่ ท ่ า นสอน คื อ สิ่ ง ที่ จ ะเป็ น ศาสดาของชาวพุ ท ธต่ อ ไป หมายความ ว่ า ไม่ ต ้ อ งไปนั บ ถื อ คนอื่ น ให้ นั บ ถื อ ธรรมะหรื อ สิ่ ง ที่ ท ่ า นสอนเป็ น ผู ้ ส อนที่ แ ท้ จ ริ ง หรื อ เป็ น ศาสดา ตั ว จริ ง ”

68 IS AM ARE www.fosef.org


“คนทั่วไปอาจจะสับสนแยกไม่ออก ว่าของใครเป็นของ ใคร หรือใครสอนว่ายังไง เพียงแค่ไปเจอค�ำที่มันเหมือนกัน หรือ ค�ำเดียวกัน ก็คิดว่ามันคงเหมือนกันอันเดียวซึ่งไม่ใช่ อันนี้เป็น เรื่องของผู้นับถือหรือผู้ที่ศึกษาเรียนรู้จะท�ำความเข้าใจ” พระพุ ท ธเจ้ า เป็ น ผู ้ ไ ด้ ชื่ อ ว่ า ไม่ ล บล้ า งความคิ ด ใคร แม้ ว ่ า สิ่ ง นั้ น จะถู ก หรื อ ผิ ด ? “ท่านบอกตรงๆ ว่า ใครจะเชื่ออะไรหรือไม่เชื่ออะไรก็ เรื่องของเขา ท่านไม่เกี่ยว หน้าที่ของท่านคือเอาความจริงตาม ที่ท่านรู้มาบอกให้คนอื่นทราบเท่านั้น แม้แต่สิ่งที่ท่านน�ำมาบอก ให้แก่คนทั้งหลายทราบ บอกแล้วคนจะเชื่อหรือไม่เชื่อท่านก็ไม่ ได้ไปเกี่ยวข้อง ไม่ได้ไปบังคับ จะเชื่อก็ได้ ไม่เชื่อก็ได้สุดแล้วแต่ สติปัญญาของเขา ท่านไม่บังคับให้ใครเชื่อ”

ถ้ า เราจะวิ เ คราะห์ ห รื อ ตี ค วาม ก็ ห มายความว่ า ผู ้ ที่ ใ ห้ ค� ำ สอน หรื อ ผู ้ ที่ ส อนเราแท้ จ ริ ง คื อ ตั ว ความจริ ง คื อ ถึ ง ไม่ มี ศ าสดา ไม่ มี ผู ้ ส อน ถ้ า เรามี ส ติ ป ั ญ ญา พอ ก็ ส ามารถเข้ า ใจความจริ ง เข้ า ใจธรรมะได้ เพราะความจริ ง ธรรมะก็ คื อ ธรรมชาติ เป็ น สิ่ ง ที่ มี อยู ่ ต ามธรรมชาติ เพี ย งแต่ เ ราจะรู ้ ห รื อ เห็ น มั น หรื อ ไม่ เ ท่ า นั้ น เอง บาปมันเกิดขึ้นได้ยังไง บุญหรือบาปในเมื่อมันเกิดขึ้นในชีวิตจะ ส่งผลยังไง แล้วมันท�ำอะไรให้แก่ชีวิต แล้วท�ำให้ชีวิตเกิดอะไร ขึ้น ท่านบอกให้เราทราบเท่านั้น “ถ้ า เราไปดู ใ นบางศาสนา จะเห็ น ว่ า ต่ า งไปจากที่ พระพุทธเจ้าท่านสอน บุญบาปมาจากพระเจ้าเป็นผู้ก�ำหนด อาจ จะเข้าใจต่างกัน เพราะบุญบาปก็สอนกันทุกศาสนา เช่น บางสิ่ง ที่พระพุทธเจ้าท่านบอกว่าเป็นบุญ ศาสนาอื่นอาจจะบอกว่าเป็น บาปก็ได้ หรือบางอย่างที่ศาสนาอื่นสอนว่าเป็นบาป พระพุทธเจ้า ท่านอาจจะบอกว่าเป็นบุญก็ได้ อาจจะไม่ตรงกันบ้าง 69 issue 130 NOVEMber 2018


70 IS AM ARE www.fosef.org


เยาวชนของแผ่ น ดิ น

การเรียนเกษตรในมุ มมองคนรุ ่นใหม่ ภัทรศักดิ์ หิรัญนนทวัฒน์ ภั ท รศั ก ดิ์ หิ รั ญ นนทวั ฒ น์ หรื อ ตะวั น ศิ ษ ย์ เ ก่ า จากโรงเรี ย นเทพศิ ริ น ทร์ ผู ้ ที่ เ ลื อ กเรี ย นคณะเทคโนโลยี การเกษตร สาขาพั ฒ นาการเกษตร สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง หลั ง จาก เรี ย นจบระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษา หากมองในแง่ความนิยม หรือ ค่านิยมของคนรุ่นใหม่ การเรียนเกี่ยวกับแวดวงการเกษตรอาจเป็นตัวเลือกท้ายๆ หาก เทียบกับคณะสาขาอื่นๆ แต่ตะวันยอมรับว่าเมื่อก้าวเข้ามาเรียน อย่างจริงจังแล้ว มุมมองในการเรียนเกษตรเปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิง ไม่ใช่อย่างที่หลายคนคิดแม้แต่น้อย แต่จะเป็นอย่างไร ลองไป ถามเจ้าตัวกันเลยดีกว่า เลื อ กเรี ย นเกษตรด้ ว ยเหตุ ผ ลอะไร? จุ ด เริ่ ม ต้ น มาจากที่ บ ้ า นเรามี ห ลายอาชี พ อี ก อย่ า งที่ บ้านก็ท�ำธุรกิจค้าเสื้อผ้า อีกสิ่งเลยก็คือต้นตระกูลท�ำงานด้าน เกษตรอยู่แล้ว ก็เลยรู้สึกว่าพี่ชายเราก็เรียนวิศวะ พี่สาวก็เป็น ครู พี่สาวอีกคนก็เป็นหมอ เลยรู้สึกว่าท�ำไมด้านเกษตรไม่มี ใครมาท�ำหรือสนใจเลย เราก็เลยหาว่าที่พี่ๆ เขาไม่สนใจเกษตร เพราะว่าอะไร แล้วเราก็มองว่าด้านเกษตรน่าจะรุ่ง เลยเลือกที่ จะเรียนด้านนี้

วิทยาศาสตร์ เกษตรเกี่ยวกับการลงแปลง แล้วก็มาเจอที่เรา สนใจ ซึ่งเป็นคณะเทคโนโลยีการเกษตร สาขาพัฒนาเกษตร ที่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ที่ จริงมหาวิทยาลัยนี้ก็จะเน้นด้านวิศวะ แต่เรามองว่าคณะนี้ของ มหาวิทยาลัยนี้เราเน้นการปฏิบัติ ถามว่าท�ำไมถึงไม่เลือกเรียนที่ ม.แม่โจ้ เพราะทาง ม.แม่โจ้ ก็มีชื่อเสียงด้านนี้เหมือนกัน หรือแม้ กระทั่ง ม.เกษตร แต่พอเราเห็นที่ลาดกระบัง จากการได้พูดคุย ท� ำ ไ ม ต ้ อ ง เ ป ็ น ส ถ า บั น เ ท ค โ น โ ล ยี พ ร ะ จ อ ม เ ก ล ้ า กับอาจารย์ เลยรู้สึกว่าที่นี่ต่างจากที่อื่น ตรงที่เขาฝึกงานตั้งแต่ เจ้ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง ? ปี1 เพราะการเรียนคณะเกษตร มันไม่ใช่เพียงแต่การนั่งเรียนอยู่ เรามองว่ า เรี ย นด้ า นเกษตรอย่ า งเดี ย วมั น จะดี ห รื อ ภายในห้อง แต่เราต้องได้ไปคุยพบปะกับคนด้วย ซึ่งพอเราเริ่ม เลยศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม ว่ า เกษตรมั น มี อ ะไรบ้ า ง เช่ น เกษตรเชิ ง เรียน มันไม่ใช่เพียงแค่เราไปจับจอบ จับเสียม เพียงอย่างเดียว แต่มันรวมไปถึงองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ด้วย เรี ย นสายวิ ท ย์ - คณิ ต มา แล้ ว มาเรี ย นเกี่ ย วกั บ เกษตร มี ค� ำ ถามบ้ า งไหมว่ า จะเรี ย นไปท� ำ ไม? จากที่เราเรียนตอน ม.ปลายมา เราเคยสงสัยว่าเราจะ เรียนไปท�ำไม มีความจ�ำเป็นยังไง ซึ่งตัวเราเองก็เรียนสายวิทย์ มา เลยมองมาความรู้ที่เราเรียนมา สุดท้ายแล้วเราก็ได้น�ำมาใช้ จริงๆ ได้ใช้ในที่นี้ก็คือ อย่างพืชไม่ใช่เพียงแค่ว่าใส่ปุ๋ยมันก็โต แต่ 71 issue 130 NOVEMber 2018


ว่าอยากเรียนคณะเกษตร ถ้าไม่ติดที่ลาดกระบัง ก็จะไปเรียน รามค�ำแหง ผมก็บอกอย่างงั้นเลย แต่ที่บ้านก็บอกว่ายังไงก็ได้ สุดท้ายเราก็ตั้งใจและมีเป้าหมาย จะเข้าที่ลาดกระบังให้ได้ แล้ว ก็เข้าได้จริงๆ เมื่ อ เรี ย นจบมา เราไม่ ท� ำ งานบริ ษั ท หรื อ องค์ ก รไหน มุ ่ ง ที่ จ ะท� ำ ธุ ร กิ จ ของตั ว เอง? ใช่ครับ คือเราตั้งเป้าไว้ตั้งแต่เข้ามาเรียนแล้วว่าจะกลับ มาพัฒนางานที่บ้าน เราไม่ได้อยากจะเข้าไปท�ำงานบริษัทใหญ่ โต แต่การที่เราเข้ามาเรียนในระยะเวลา 4 ปี มันไม่ใช่เพียงแค่เรา อยากจะเรียนให้จบ เพราะตอนปี 4 เพื่อนส่วนใหญ่ก็จะถามกัน ว่าจบไปจะท�ำอะไร ไปสมัครงานที่ไหนดี เราเองมองว่าเราอยาก ไปพัฒนาที่บ้าน โดยเอาความรู้ที่เราได้เรียนมาไปสอน แล้วก็ได้ ท�ำปุ๋ยแบรนด์ของตัวเอง เพราะเราก็ได้ความรู้จากที่เรียนมา แล้ว ก็ตอนที่ไปฝึกงาน ผมได้ทุนไปฝึกงานที่ญี่ปุ่น ก็ได้ความรู้เรื่องปุ๋ย กลับมา เราก็เอาตรงนี้มาเพิ่มเป็นรายได้ท�ำปุ๋ยแบรนด์ตัวเอง เงิน ตรงนี้ที่ได้ก็คือทุนใช้จ่ายตอนเราเรียนมหาวิทยาลัย ผมว่ า คนไทยหลายคนมองเห็ น แต่ อ าจจะมองข้ า มไป เราเลยรู ้ สึ ก ว่ า ถ้ า เราเรี ย นจบไป แล้ ว เราเอาส่ ว นนี้ ไ ป บอกเกษตรกรว่ า มั น ดี ยั ง ไง ท� ำ แล้ ว เขาจะได้ อ ะไร เรา เลยมี ค วามรู ้ สึ ก ว่ า อยากจะไปท� ำ ไปลงมื อ ให้ เ ขาเห็ น ก่ อ น ซึ่ ง ตอนนี้ เ ราเรี ย นจบแล้ ว ก็ เ ริ่ ม ลงมื อ ท� ำ ให้ เ ขา เห็ น โดยเริ่ ม จากคนในพื้ น ที่ แ ถวบ้ า น เขาก็ เ ริ่ ม มอง เห็ น แล้ ว เริ่ ม โอเคกั บ สิ่ ง ที่ เ ราท� ำ ให้ ดู

เราต้องเข้าใจด้วยว่าพืชกินธาตุอาหารตัวนี้ แล้วออกมาเป็นแบบ นี้ ก็จะคล้ายกับมนุษย์เราที่ต้องกินคาร์โบไฮเดรต กินอาหารให้ ครบ 5 หมู่ ถึงจะมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ซึ่งต้นไม้ก็เหมือน กันถ้าต้นไม้ไม่มีธาตุอาหารที่เป็นส่วนประกอบ ถ้าเราไม่รู้เรื่อง วิทยาศาสตร์มาด้วย เราก็อาจจะไม่เข้าใจว่าเพราะอะไร ท�ำไม ต้นไม้ต้องได้รับธาตุอาหารตัวนี้ ตะวั น มองว่ า เกษตรเป็ น สิ่ ง ที่ ต ้ อ งการเหตุ ผ ล ในการ เข้ า ช่ ว ยความรู ้ ด ้ ว ยเป็ น หลั ก ? ใช่ครับ ไม่งั้นเราจะไม่สามารถท�ำให้คนอื่นเข้าใจได้ บางที เกษตรกรเขาไม่เข้าใจ รู้แค่เพียงว่าใส่ปุ๋ยตัวนี้แล้วจะดี ก็ใส่ไป แต่สุดท้ายแล้วตัวเกษตรกรไม่รู้เลยว่าใส่ไปแล้วมันดีเพราะอะไร เลยต้องมีคนที่จบด้านเกษตร เข้าใจด้านนี้ และน�ำบุคคลด้านนี้ ไปสอนเกษตรกรอีกที มันก็เหมือนกับที่คนมักถามว่าเรียนเกษตร จบไปท�ำอะไร มันเลยเป็นค�ำตอบว่าท�ำไมต้องมีคนที่เรียนด้านนี้ หรือนักวิชาการด้านเกษตรเข้าไป ก็เหมือนเป็นจิ๊กซอล์ตัวหนึ่งที่ จะช่วยเชื่อมกับเกษตรกร

มี ค วามเป็ น มายั ง ไง การที่ เ ราไปฝึ ก งานที่ ญี่ ปุ ่ น ? เริ่ ม จากการที่ เราไปเห็ น โครงการของประเทศญี่ ปุ ่ น เรียกว่าโครงการ เจเนซิส (JENESYS) ที่ญี่ปุ่น เราก็เห็นว่าด้าน ภาษาอังกฤษเราก็พอได้ แล้วโครงการนี้ก็เกี่ยวกับด้านเกษตร เศรษฐกิจ และเศรษฐศาสตร์ด้วย เพราะการเรียนเกษตรไม่ใช่ แค่วิทยาศาสตร์ด้านเดียว ยังมีในเรื่องของเศรษฐศาสตร์ด้วย ถ้า เราปลูกพืชเป็น รู้หลักการแล้ว แต่เราขายไม่เป็นก็จบเหมือนกัน ดังนั้นเราเลยรู้สึกว่าลองไปสมัครดู แล้วก็ติด เลยได้ทุนไปญี่ปุ่น ซึ่งเป็นทุนของรัฐบาลญี่ปุ่น โดยมีการสอบทั้งข้อเขียน และก็ สัมภาษณ์ภาษาอังกฤษ เราได้ไปในนามนักศึกษาประเทศไทย ที่ บ ้ า นว่ า ไง เมื่ อ เขารู ้ ว ่ า เราจะเรี ย นด้ า นเกษตร ? คือที่บ้านก็ค่อนข้างจะอิสระ คุณอยากท�ำอะไร เรียน มีทั้งหมด 23 คนที่ได้ไปฝึกงานและเรียนรู้ ที่ได้ไปมีทั้งหมด 3 อะไร ก็แล้วแต่ที่เราชอบ เราก็เลยสบายใจ เราก็เลยบอกที่บ้าน เมือง มีเมืองโตเกียว นาโกย่า และอิจิ 72 IS AM ARE www.fosef.org


73 issue 130 NOVEMber 2018


เห็นแล้ว เริ่มโอเคกับสิ่งที่เราท�ำให้ดู และร่วมมือไปกับเรา จากที่ เมื่อก่อนก็จะพูดกันว่าเรียนไปท�ำไม ไม่ต้องไปเรียนหรอกเกษตร กลับมาท�ำที่บ้านได้เลย มาเลี้ยงวัว เลี้ยงควาย แล้วพอเรามา อธิบายให้เขาเข้าใจว่าเรียนไปสามารถน�ำมาปรับปรุง พัฒนาได้ ได้ความรู้ทั้งด้านวิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์และเกษตรศาสตร์ ความรู้ทั้ง 3 อย่างนี้ ท�ำให้เขารู้ว่าเรียนเกษตรมันได้อะไรบ้าง เขาก็ยอมรับในตัวเรา ช่ ว ยเล่ า เรื่ อ งกิ จ การที่ ท� ำ หลั ง จากเรี ย นจบให้ ฟ ั ง หน่ อ ย เราเริ่ ม ต้ น มายั ง ไง? กิจการเรียกได้ว่าเริ่มตั้งแต่ปี 1 เลยครับ เพราะเรามอง ว่าเราอยากจะมาพัฒนา ตอนปี 1 เราก็เริ่มเรียนวิชาภาค ก็เรียน วิชาเกี่ยวกับการส่งเสริม เลยท�ำให้ได้รู้ว่าหลักการพูดคุยจะเป็น แบบไหนยังไง ต้องคุยให้เป็นและให้เขาสนใจ โดยเริ่มแรกเราก็ ลองคุยกับคนที่บ้านก่อน ว่าเขาโอเคไหมจะร่วมงานกับเรา ซึ่ง คนแถวนั้นเขาท�ำการเกษตรอยู่แล้วโดยที่เขาใช้พวกสารเคมี ยา ฆ่าหญ้า ซึ่งตอนนั้นเราก็เรียนมาค่อนข้างมีอีโก้ ไฟแรง อยากจะ ท�ำจริงๆ เลยคุยกับที่บ้าน คนรอบข้างว่าอย่าใช้พวกสารเคมีนะ ซึ่งเขาก็ไม่ได้เชื่อเราหรอก เราก็เลยเริ่มจากพื้นที่ 8 ไร่ ที่เป็น พื้นที่ของที่บ้าน เราก็เริ่มเคลียร์พื้นที่ เราท�ำตามเกษตรทฤษฎี ใหม่เลย พอเราท�ำให้เขาเห็น เราก็เริ่มท�ำปุ๋ย อย่างที่บ้านเราท�ำ เฟอร์นิเจอร์ เราก็เอาวัสดุที่เหลือพวกขี้เลื่อย เอามาท�ำเป็นปุ๋ย แล้วก็เอามาท�ำเป็นอันบล็อกเหมือนกับกระถาง ธุรกิจก็เลยเริ่ม ได้ ไ ปเจอบรรยากาศด้ า นการเกษตร หรื อ การท� ำ มาจากตรงนี้ แต่ตอนนี้ก็เริ่มจากปุ๋ยได้แล้ว ปุ๋ยตอนนี้ที่ขายอยู่ ก็กระสอบละ 450 บาท ส่งไปให้ลูกค้าที่เชียงใหม่ เขาใช้ต้นละ ธุ ร กิ จ ของญี่ ปุ ่ น เป็ น ยั ง ไงบ้ า ง? เรียกได้ว่าคล้ายการเกษตรบ้านเรา ต่างเพียงแค่ว่าเขา ถุง มีทั้งหมด 40 ไร่ โฟกัสเลยว่าเขาจะท�ำอะไร จะปลูกอะไร อย่างถ้าเป็นบ้านเรา ก็จะเป็นการท�ำเกษตรทฤษฎีใหม่ 1 ไร่ ปลูกหลายๆ อย่าง ซึ่ง เมื่อก่อนบ้านเราก็เป็นแบบนั้น ท�ำให้เรานึกได้ว่าท�ำไมปัจจุบัน เราไม่ท�ำแบบนั้น กลายเป็นว่าเราต้องเอาเรื่องเก่ามาพูดใหม่ แต่ที่ญี่ปุ่นกลับเป็นเรื่องปกติ อะไรที่เขาท�ำแล้วดี เขาก็จะท�ำต่อ เป็นเหมือนส่วนหนึ่งในชีวิตประจ�ำวัน เป็นส่วนที่ท�ำให้ผลผลิต เขาดีแล้วก็น�ำไปขายได้ เราคิ ด ว่ า คนไทยหลายคนมองข้ า มสิ่ ง ที่ ตั ว เองมี ? ผมว่าคนไทยหลายคนมองเห็นแต่อาจจะมองข้ามไป เรา เลยรู้สึกว่าถ้าเราเรียนจบไป แล้วเราเอาส่วนนี้ไปบอกเกษตรกร ว่ามันดียังไง ท�ำแล้วเขาจะได้อะไร เราเลยมีความรู้สึกว่าอยาก จะไปท�ำ ไปลงมือให้เขาเห็นก่อน ซึ่งตอนนี้เราเรียนจบแล้ว ก็เริ่ม ลงมือท�ำให้เขาเห็น โดยเริ่มจากคนในพื้นที่แถวบ้าน เขาก็เริ่มมอง 74 IS AM ARE www.fosef.org


ปุ ๋ ย ของเราเป็ น ยั ง ไง แบรนด์ อ ะไร ท� ำ จากส่ ว น ประกอบอะไร ? ตอนนี้ที่ท�ำอยู่เป็นปุ๋ยละลายช้า เพราะเราท�ำพวกไม้ ประดั บ อยู ่ แ ล้ ว ซึ่ ง ก็ คื อ งานในด้ า นเกษตรส่ ว นหนึ่ ง และไม้ ประดับก็คืองานที่เราชอบ จากที่เราชอบไม้ประดับเราเลยเห็น ช่องว่างว่าส่วนใหญ่เราจะน�ำเข้าปุ๋ยมาจากประเทศญี่ปุ่น แล้ว เราก็ได้ไปฝึกงานที่ญี่ปุ่นมาแล้วเขาขายปุ๋ยปีบหนึ่ง ปีบละ 8 กิโลกรัม ราคา 4,500 บาท เราเลยมองว่าราคาค่อนข้างสูง ทั้ง ที่ต้นทุนมันต�่ำมาก เราก็เลยท�ำเอง เพราะเราได้สูตรมาจากญี่ปุ่น แล้วเราก็น�ำความรู้ที่ได้มาไปสอนใน Page facebook ให้เห็น ถึงวิธีการและขั้นตอนว่าท�ำยังไง เขาอาจจะมองว่าเขามีเงินเขา พร้อมจะจ่ายเพื่อซื้อมา หรือเราจะให้เขามองเป็นอีกทางเลือก เขาสามารถท�ำเองได้ในราคาที่ต�่ำกว่า เลยเป็นจุดเริ่มต้นที่เรา น�ำปุ๋ยตัวนี้มาจ�ำหน่าย โดยเราใช้ชื่อแบรนด์ว่า “ปุ๋ยคัพเค้ก”

ซึ่งตอนนี้ก็ได้จดรับรองปุ๋ยเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ตอนนี้เหลือแค่ รอจดทะเบียนการค้า อยากให้ แ นะน� ำ น้ อ งๆ หลายๆ คนที่ ยั ง ไม่ เ ข้ า ใจเรื่ อ ง การเรี ย นเกษตร ? เริ่มแรกอยากให้เรามองที่เป้าหมายก่อน ว่าเราอยาก ใช้ชีวิตบั้นปลายยังไง อยู่ตรงไหน ถ้าเราเป็นคนชอบเดินทาง ไม่ชอบอยู่ในกรอบ ซึ่งการท�ำงานเป็นพนักงานมันอยู่กับที่ เรา เลยอยากเรียนคณะเกษตรซึ่งมันก็ตอบโจทย์ ถ้าคนที่รู้สึกว่าเรา อยากผ่อนคลาย อยากอยู่กับครอบครัว มีเวลาให้กับครอบครัว เรื่องสุขภาพ ถ้าเรามีชีวิตแบบง่ายๆ พอเพียง เราท�ำเกษตรของ เรา เรามีความสุข ความสบายใจ ผมก็เชื่อว่าทุกคนก็สามารถมา ท�ำเกษตรได้เหมือนกัน 75

issue 130 NOVEMber 2018


โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช

พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเกาะและทะเลไทย ภาคตะวันออก จังหวัดชลบุ รี

ใครหลายคนจ� ำ ภาพเขตพื้ น ที่ ใ นอ� ำ เภอสั ต หี บ ว่ า เป็ น เขตทางการของทหารเรื อ แต่ อ ยากจะบอกว่ า ในเขต ทหารเรื อ ที่ สั ต หี บ นั้ น ก็ มี ช ายฝั ่ ง ทะเลที่ ส วยไม่ แ พ้ ที่ ใ ดในจั ง หวั ด ชลบุ รี เ ลยที เ ดี ย ว นอกจากจะได้ เ ที่ ย วชม ท้ อ งทะเลที่ สั ต หี บ แล้ ว อยากให้ ล องหาเวลาว่ า งแวะมาชมพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ธ รรมชาติ วิ ท ยาเกาะและทะเลไทย แหล่ ง เรี ย นรู ้ ด ้ า นเกาะและทะเลไทยแห่ ง ส� ำ คั ญ ที่ ตั้ ง อยู ่ ใ นบริ เ วณเขาหมาจอ ต� ำ บลแสมสาร ซึ่ ง อั ด แน่ น ไปด้ ว ย ความรู ้ ที่ น ่ า สนใจมากมาย 76 IS AM ARE www.fosef.org


70 เส้ น ทางตามรอยพระบาท โดย ททท. พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเกาะและทะเลไทย ก่อตั้งขึ้น โดยกองทัพเรือ เป็นสถานที่รวบรวมและจัดแสดงด้านธรณีวิทยา พฤกษศาสตร์ สัตวศาสตร์ทางทะเลแห่งแรกในประเทศไทย อันเป็นส่วนหนึ่งในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมา จากพระราชด�ำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ที่จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2536 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างความเข้าใจ และสร้างความตระหนักถึงความส�ำคัญของ พันธุกรรมพืชต่างๆ ในประเทศไทย พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ มีสถาปัตยกรรมที่วางตัวเรียงรายกัน อย่างสวยงามบนเนินเขา ถ้าหากแวะมาเที่ยวที่นี่แล้วยังมีเวลา เหลือเฟือ ยังสามารถนั่งเรือข้ามเกาะไปเที่ยวเกาะแสมสารได้ พร้อมกันในวันเดียว “สถานที่ ร วบรวม และจั ด แสดงด้ า นธรณี วิ ท ยา พ ฤ ก ษ ศ า ส ต ร ์ สั ต ว ศ า ส ต ร ์ ท า ง ท ะ เ ล แ ห ่ ง แร ก ใ น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ แ ห่ ง นี้ มี ส ถาปั ต ยกรรมที่ ว างตั ว เรี ย งราย กั น อย่ า งสวยงามบนเนิ น เขา ถ้ า หากแวะมาเที่ ย วที่ นี่ ประเทศไทย” แล้ ว ยั ง มี เ วลาเหลื อ เฟื อ ยั ง สามารถนั่ ง เรื อ ข้ า มเกาะ ไปเที่ ย วเกาะแสมสารได้ พ ร้ อ มกั น ในวั น เดี ย ว

ทริปตัวอย่าง

2 วั น 1 คื น เส้ น ทางท่ อ งเที่ ย ว จ.ชลบุ รี

วันแรก

ช่วงเช้า • เยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเกาะและทะเลไทย จ.ชลบุรี ช่วงบ่าย • เดินทางไปเกาะแสมสาร เยี่ยมชมโครงการฯ เล่นน�้ำ พักผ่อน • เข้าพักที่สัตหีบ

วันที่สอง

ช่วงเช้า • เดินทางไปศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล ฐานทัพเรือสัตหีบ และเรือรบหลวงจักรีนฤเบศร ช่วงบ่าย • เที่ยวชมเขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาชีโอน แหล่งเพาะเลี้ยง ขยายพันธุ์สัตว์ป่าหายาก • เยี่ยมชมวิหารเซียน • ซื้อของฝากที่ชุมชนตลาดนาเกลือ 77 issue 130 NOVEMber 2018


78 IS AM ARE www.fosef.org


ห้ามพลาด

ที่ เ ที่ ย วห้ า มพลาด • พิพิธภัณฑ์อาคารเทิดพระเกียรติมหาราช จัดแสดง ความเป็นมาของโครงการฯ และความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ • พิพิธภัณฑ์อาคารปวงปราชญ์ร่วมแรงใจ เป็นจุดชม วิวหมู่บ้านแสมสารและเกาะแรด และจัดความรู้เกี่ยวกับระบบ นิเวศของป่า พันธุ์พืชและสัตว์ • พิพิธภัณฑ์อาคารพิทักษ์ศักยภาพทะเลไทย ตั้งอยู่สูง ที่สุด จัดแสดงนิทรรศการผ่านสื่อมัลติมีเดีย และเป็นจุดชมวิว จุดส�ำคัญของที่นี่

กิจกรรมห้ามพลาด

• นั่งเรือข้ามเกาะท่องเที่ยว เกาะแสมสาร

การเดินทาง

พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเกาะและทะเลไทย

จากพัทยา ใช้เส้นทางถนนสุขุมวิท (ทางหลวงหมายเลข 3) ไปทาง อ.สัตหีบ เลี้ยวซ้ายที่สี่แยกกิโลสิบ ขับตรงไปจนถึง แยกทางเข้าบ้านแสมสารให้เลี้ยวซ้าย สังเกตป้ายบอกทางที่มี ให้เห็นตลอดทาง

เขาหมาจอ ต.แสมสาร อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี โทร. 0 3843 2475, 0 3843 2473 www.tis-museum.org เปิดให้เข้าชม : ทุกวัน เวลา 08.30-16.30 น. ฤดูท่องเที่ยว : ตลอดทั้งปี

79 issue 130 NOVEMber 2018


รองเลขาธิ ก ารมู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา ประชุ ม ร่ ว มกั บ คณะครู โ รงเรี ย นซอลี ฮี ย ะห์ และหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ พิ จ ารณาแนวทางการให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ พร้ อ มส� ำ รวจพื้ น ที่ ใ นการต่ อ เติ ม อาคารเรี ย นและหลั ก สู ต รการศึ ก ษา

เมื่อเร็วๆ นี้ นายเทอดศักดิ์ บุณยขจร รองเลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา ประชุมร่วมกับคณะครูโรงเรียนซอลีฮียะห์ และหน่วย งานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาแนวทางการให้ความช่วยเหลือ พร้อมส�ำรวจพื้นที่ในการต่อเติมอาคารเรียนและหลักสูตรการศึกษา โดยทางโรงเรียนซอลีฮียะห์ได้ขอความช่วยเหลือมายังมูลนิธิชัยพัฒนา อ�ำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

เคที ซี ส ่ ง มอบระบบผลิ ต น�้ ำ ประปาและน�้ ำ ดื่ ม แบบเคลื่ อ นที่ มู ล ค่ า 2,354,000 บาทให้ กั บ มู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา

เมื่อเร็วๆ นี้ ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล (ซ้าย) เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา ให้เกียรติรับมอบระบบผลิตน�้ำประปาและน�้ำดื่มแบบ เคลื่อนที่ด้วยเทคโนโลยีเมมเบรน มูลค่า 2,354,000 บาท จาก “เคทีซี” หรือ บริษัท บัตรกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) โดยนางสาว อภิวันท์ บากบั่น (ขวา) ผู้อ�ำนวยการ - ทรัพยากรบุคคล ณ ห้องประชุม มูลนิธิชัยพัฒนา โดยระบบผลิตน�้ำประปาดังกล่าว สามารถ ผลิตน�้ำดิบจากแหล่งธรรมชาติหรือน�้ำจากอุทกภัยให้กลายเป็นน�้ำสะอาด เพื่อการอุปโภคบริโภคได้ตามมาตรฐานองค์การอนามัย โลก เพื่อทางมูลนิธิชัยพัฒนาจะได้น�ำไปช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติที่เดือดร้อน ขาดแคลนน�้ำในภาคเกษตรกรรม และสร้าง ประโยชน์ให้กับชุมชนหรือประชาชนในพื้นที่ห่างไกล ในการร่วมพัฒนาแหล่งชุมชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นต่อไป

80 IS AM ARE www.fosef.org


Round About เคที ซี เ ปิ ด รั บ บริ จ าคมื อ ถื อ เก่ า โครงการ “มื อ ถื อ เก่ า ไป ชี วิ ต ใหม่ ม า เพื่ อ โรงเรี ย นของน้ อ งๆ ที่ ห ่ า งไกล” นายธีรพจน์ โชคอนันตัง ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่บริหาร - ธุรกิจบัตรเครดิต“เคทีซี” (ขวา) จับมือนางสาวคิม จงสถิตย์ วัฒนา (กลาง) กรรมการผจู้ดการ บริษัท นานมีบุ๊คส์ จ�ำกัด และนางสาวสายฝน อภิธนัง หัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์โครงการ (ซ้าย) สนับสนุนโครงการ “มือถือเก่าไป ชีวิตใหม่มา เพื่อโรงเรียนของน้องๆ ที่ห่างไกล” โดยเปิดพื้นที่ในศูนย์บริการลูกค้า “เคทีซี ทัช” เป็นจุดร่วมรับบริจาคขยะอิเล็กทรอนิกส์ประเภท “โทรศัพท์มือถือเก่า” เพื่อส่งต่อไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลตามมาตรฐานรองรับ ที่ถูกวิธี จากนั้นจะน�ำรายได้จากการรีไซเคิล ส่งมอบให้กับมูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เพื่อช่วยเหลือการสร้างห้องสมุด รวมทั้งมอบหนังสือดีมีคุณภาพ ที่เหมาะสมส�ำหรับเด็กในแต่ละช่วงวัย ให้กับโรงเรียนในท้องถิ่นทุรกันดารที่ขาดแคลน 500 แห่ง

คาร์ กิ ล ล์ มี ท ส์ ไทยแลนด์ : โครงการอาหารกลางวั น โรงเรี ย น คาร์กิลล์เข้ารับรางวัลองค์กรที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมดีเด่น หรือ AMCHAM Corporate Social Responsibility Excellence Recognition for 2018 ติดต่อกันเป็นปีที่ 4 จากสภาหอการค้าอเมริกันแห่งประเทศไทย โดยได้รับเกียรติจาก อุปทูต ปีเตอร์ เฮย์มอนด์ อุปทูตรักษาการแทนเอกอัครราชทูต สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจ�ำประเทศไทย และ มร. เจฟฟรี ย์ ไนการ์ด ประธานหอการค้าอเมริกันในประเทศไทย เป็นผู้มอบรางวัลในครั้งนี้ นอกจากนี้ คาร์กิลล์ยังคว้าอีกหนึ่งรางวัลพิเศษ คือรางวัลชนะเลิศในโครงการ CSR Project (ภายใต้งบประมาณต�่ำกว่า 1 ล้านบาท) ซึ่งเป็นกิจกรรมเกี่ยวกับโครงการอาหาร กลางวันโรงเรียน ซึ่งได้สนับสนุนผลิตภัณฑ์ไก่และไข่ให้แก่โรงเรียนโดยรอบโรงงานคาร์กิลล์ ทั้งในโคราชและสระบุรี ซึ่งโครงการ นี้ได้ดูแลนักเรียนจ�ำนวนมากกว่า 500 กว่าคน ที่ได้เข้าร่วมโครงการอาหารกลางวันและได้รับมื้ออาหารที่มีคุณภาพและปลอดภัย

81 issue 130 NOVEMber 2018


เผยผิ ว ใสไร้ ริ้ ว รอย ด้ ว ย สบู ่ ว ่ า นหางจระเข้ ภั ท รพั ฒ น์ คุ ณ ค่ า จากว่ า นหางจระเข้ ที่ ช ่ ว ยลดรอยแดงจากการอั ก เสบของผิ ว ที่ โ ดนแดด ลดเลื อ นริ้ ว รอย ฝ้ า กระ จุ ด ด่ า งด� ำ เพิ่ ม ความชุ ่ ม ชื่ น ให้ ผิ ว ไม่ แ ห้ ง กร้ า น เมื่ อ ใช้ เ ป็ น ประจ� ำ ผิ ว หน้ า กระจ่ า งใสขึ้ น อย่ า งเป็ น ธรรมชาติ สามารถหาซื้อได้ที่ร้านภัทรพัฒน์ทุกสาขาหรือสั่งซื้อออนไลน์ได้ทาง Facebook/Patpat9 ภัทรพัฒน์สินค้าจากมูลนิธิชัยพัฒนา และ www.patpat9.com 82 IS AM ARE www.fosef.org


เว็ปไซต์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดีๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี

www.fosef.org 83

issue 130 NOVEMber 2018


นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง พร้อมเสริพ์ให้ทุกท่านได้อ่านแล้ว!! เพี ย งแค่ ค ลิ ก เข้ า ไปที่ www.fosef.org ท่ า นก็ ส ามารถอ่ า นนิ ต ยสาร IS AM ARE ครอบครั ว พอเพี ย ง ได้ โ ดยไม่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ย เรื่ อ งราว สาระดี ๆ มากมายรอท่ า นอยู ่ หากอ่ า นแล้ ว ถู ก ใจอย่ า ลื ม บอกต่ อ นะครั บ 84 IS AM ARE www.fosef.org


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.