Isamare november web

Page 1

IS AM ARE

เรื่องราวรอบตัว สุ ส านช้ า งหลวง

บทสัมภาษณ์พิเศษ

ดร.รอยบุ ญ รัศมีเทศ 1

issue 94 november 2015

ฉบับที่ 94 พฤศจิกายน 2558 www.Fosef.org


เว็ปไซต์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดี ๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช่ จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี

www.fosef.org 2

IS AM ARE www.ariyaplus.com


“การจะพั ฒ นาทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งให้ เ จริ ญ นั้ น จะต้ อ งสร้ า งและเสริ ม ขึ้ น จากพื้ น ฐานเดิ ม ที่ มี อ ยู ่ ก ่ อ นทั้ ง สิ้ น ถ้ า พื้ น ฐานไม่ ดี ห รื อ คลอนแคลนบกพร่ อ งแล้ ว ที่ จะเพิ่ ม เติ ม เสริ ม ต่ อ ให้ เ จริ ญ ขึ้ น ไปอี ก นั้ น ยากนั ก ที่ จ ะท� ำ ได้ จึ ง ควรจะเข้ า ใจ ให้ แ จ้ ง ชั ด ว่ า นอกจากจะมุ ่ ง สร้ า งความเจริ ญ แล้ ว ยั ง ต้ อ งพยายามรั ก ษา พื้ น ฐานให้ มั่ น คง ไม่ บ กพร่ อ ง พร้ อ มๆกั น ได้ ” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพิธีพระราชทานปริญญา บัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๒๓

3 issue 94 november 2015


Editorial

ทักทายกันประจ�ำฉบับเดือนสิบสองของไทย ลมหนาวเริ่มพัดโชย สภาพอากาศ ที่เย็นสบายแบบนี้คนไทยชอบมาก ที่เห็นได้ชัดก็เมื่อวันหยุดยาวที่ผ่านมา หยุดติดต่อ กันเพียงแค่ ๓ วัน คนไทยหลักหมื่นคนไปรวมกันอยู่บนยอด “ภูทับเบิก” ไปสัมผัสลม หนาวกันเป็นจ�ำนวนมาก เพื่อนของ บก.ก็พาครอบครัวไปและเมื่อกลับมาท�ำงานปกติ เพื่อนคนนี้มีเรื่องเล่า เล่าจนแบตเตอรี่โทรศัพท์หมด แต่เรื่องที่เล่ายังไม่จบถึงขนาดต่อ สายชาร์จแบตเตอรี่ไปคุยไป บก.จะจับประเด็นที่เพื่อนเล่ามาเล่าให้ท่านผู้อ่านฟังจะ ได้พิจารณาหรือเรียกว่าเป็นภูมิคุ้มกัน และภูมิต้านทานส�ำหรับเหตุการณ์ที่จะได้พบ เจอแน่นอนหากมีโอกาสได้ไป “ภูทับเบิก” หรือจะเรียกอีกอย่างว่าสร้างเสริมความ รอบรู้ รอบคอบและมีความระมัดระวังไว้ส�ำหรับการที่จะเดินทางไปก็แล้วกัน สิ่งที่จะ ฝากข้อแรกคือ ในรถที่ใช้เดินทางน่าที่จะต้องมีแกลลอนน�้ำมันส�ำรองสัก ๕ ลิตร และ ก่อนการเดิน ทางต้องตรวจสอบความพร้อมสภาพรถที่จะใช้เดินและที่ส�ำคัญตรวจสอบ สภาพคนขับรถให้ละเอียดซึ่งส�ำคัญมากเพราะหากเกิดอะไรขึ้นระหว่างเดินทาง อย่า หวังความช่วยเหลือจากผู้ร่วมทางเด็ดขาด mookkarsa@gmail.com www.fosef.org

และมาถึงเรื่องราวของการเดินทางกับคาราวานครอบครัวพอเพียงมอบไออุ่น ครั้งที่ ๑ ในเดือนหน้าที่จะถึงนี้ น้องๆ สมาชิกครอบครัวพอเพียงทางภาคเหนือเรียก ร้องมาว่าโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน ที่จังหวัดน่าน ซึ่งมีจ�ำนวนนักเรียนรวมแล้ว ประมาณ ๑๑๐ คน สภาพครอบครัวเกษตรกรที่ยากจน เขามีความต้องการเสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่มที่ให้ความอบอุ่นแก่เขาได้บ้าง สมาชิกครอบครัวพอเพียงในเขตกรุงเทพฯ จึงได้ริเริ่มที่จะรวบรวมเสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่มและสิ่งของใช้จ�ำเป็นบวกกับรองเท้าผ้าใบ กางเกงยีนส์และใจถึงๆ ค่ายนี้เราจะไปกันแค่ ๙๐ คน ๓ วัน ๒ คืน กติกาของคนร่วม การเดินทางครั้งนี้ พี่ๆค่ายบอกมาว่า อยากจะชวนคุณพ่อ-คุณแม่ ไปด้วย ตามมติที่ ประชุม ครอบครัวใดสนใจที่พร้อมจะเดินทางไปกับครอบครัวพอเพียง เตรียมตัว เตรียม ใจกันไว้เนิ่นๆนะค่ะ และถ้าตกขบวนนี้ก็ต้องรอไปขบวนหน้ากับค่าย Friend camp @ Bangkok ครั้งที่ ๓ กันนะค่ะ

4 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Contributors

มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง

ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ประธานกิตติมศักดิ์ นางสุชานี แสงสุวรรณ ประธานกรรมการ นายณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ รองประธานกรรมการ ดร.วรวุฒิ แสงเฟือง รองประธานกรรมการ นางสาวเอื้อมพร นาวี กรรมการและเลขาธิการ นายเอกรัตน์ คงรอด กรรมการและเหรัญญิก ผศ.ดร.ปรีชาพร สุวัฒโนดม กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ นายอภีม คู่พิทักษ์ กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ กรรมการ นางอรประภา ชาติน�้ำเพ็ชร กรรมการ นางรจนา สินที กรรมการ นายธงชัย วรไพจิตร กรรมการ นายภูริวิทย์ จงนิรักษ์ กรรมการ

นิตยสารครอบครัวพอเพียง ประธานกิตติมศักดิ์ : คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ : พล.อ.จรัล กุลละวณิชย์,

ประธานด�ำเนินการ : บรรณาธิการ : กองบรรณาธิการ :

ศิลปกรรม : ส�ำนักงาน :

โทรศัพท์ : โทรสาร : เว็ปไซต์ :

Let’s

นิพนธ์ ก้องเวหา ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล อภีม คู่พิทักษ์ กรวิก อุนะพ�ำนัก พิชัยยุทธ ชัยไธสง เอกรัตน์ คงรอด นิตยสารครอบครัวพอเพียง 663 ซอยพหลโยธิน35 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 0-2939-5995 0-2939-5996 www.ariyaplus.com www.fosef.org

Start and Enjoy!

5 issue 94 november 2015


Hot Topic

76

เทศกาลน�้ำมันเมล็ดชา ภัทรพัฒน์

58

26

ช่ างตัดผมวินเทจ อาชี พของคนรุ ่นใหม่ ดร.รอยบุ ญ รัศมีเทศ

Don’t miss

10

18 20 14 6 IS AM ARE www.ariyaplus.com

48


Table Of Contents

ปกฉบับนี้เป็นสุภาพสตรี ต้องบอกว่าหลายปีมานี่ มีแต่ท่านสุภาพบุรุษขึ้นปก จนผู้ อ่านและสมาชิกหลายท่านสงสัยว่า นิตยสารของเราเชียร์แต่สุภาพบุรุษ ไม่ใช่นะค่ะเพียงแต่ ว่าท่านสุภาพสตรีที่มีความดีและเก่งมักจะไม่ค่อยมีเวลา หาเวลายากมากจริงๆ และฉบับนี้ ถือว่าเราโชคดี ท่านสุภาพสตรีท่านนี้ได้ให้เกียรติกับนิตยสารเรา ภาพที่ปรากฏบนปกนั้น สวยงามมากทีเดียวแต่เมื่อเราได้สัมภาษณ์และพูดคุยกับท่านสุภาพสตรีท่านนี้เรียบร้อย เรา ต้องบอกกับท่านผู้อ่านว่าความงามบนใบหน้าของท่าน ยังงามไม่เท่ากับจิตใจของท่าน ที่ ท่านมีต่อหน้าที่ เพื่อประชาชน ในสิ่งที่ท่านท�ำหลายพื้นที่ แม้บางที่บางแห่งขนาดเจ้าหน้าที่ เอ่ยปากว่าไม่ปลอดภัย ท่านยังไป ไปเพื่อช่วยชาวบ้าน ไปเพื่อน�ำความของพระเจ้าอยู่หัวไป บอกเพื่อเป็นแนวทางสู่การแก้ไข น�ำเรื่องที่ท่านสุเมธได้มอบหมายไปแก้ไขให้ประชาชนอยู่ รอด อยู่ได้และพึ่งพาตนเองได้ในที่สุด 7 issue 94 november 2015

ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เก่งจริง ไม่ซิ่ง-กร่าง เด็กก่อนค่าย เด็กหลังค่าย ตัวไกล...หัวใจอยู่ไกล้ มหาเศรษฐีกับการศึกษา หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน Dhamma Today เพื่อความสวัสดีแห่งชีวิต Question Of Life ประสบการณ์แห่งชีวิต Cartoon Cover Story ดร.รอยบุญ รัศมีเทศ Is Am Are ต�ำบลกุดดินจี่ จังหวัดหนองบัวล�ำภู Share Story เวลานี้ยังไม่เห็นแสงสว่างที่ปลายอุโมงค์ เรื่องราวรอบตัว สุสานช้างหลวง Let’s Talk ช่างตัดผมวินเทจ อาชีพของคนรุ่นใหม่ มูลนิธิชัยพัฒนา การศึกษาทางไกลแบบสื่อสารสองทาง พระมหากรุณาาแก่นักเรียนในเขตพื้นที่ห่างไกล Wheel Of Life พลังเยาวชน พลังของแผ่นดิน เอิร์ท พงศ์พัฒน์ เลิศเตชะสกุล Round About

8 10 14 17 18 20 22 26 38 48 52 58 66 72 76 80


ภาพ : http://guardianlv.com/

เก่งจริง ไม่ซ่ิ ง-กร่าง

“เป้....เป้...จะไปไหนน่ะ” คุณแม่เอ่ยทักด้วยความ ห่วงใย เมื่อเห็นลูกชายวัยรุ่นคว้ากุญแจรถท�ำท่าจะออกจาก บ้าน “จะไปกิ น ข้ า วกั บ เพื่ อ นหน่ อ ย เดี๋ ย วก็ ก ลั บ มาแล้ ว ” ลูกชายวัยรุ่นตอบแบบชนิดไม่ยอมสบตาแม่ “อย่ า ขั บ รถเร็ ว นะลู ก ....ดึ ก แล้ ว ต� ำ รวจเขาตั้ ง ด่ า น ตรวจนะ” คุณแม่ส�ำทับตามหลังลูกชาย ที่เดินลิ่วๆไปขึ้นรถ... ..อีก 2-3 ชั่วโมงต่อมา คุณแม่ก็ได้รับโทรศัพท์จาก ลู ก ชายว่ า โดนต� ำ รวจจั บ เพราะไปมี เรื่ อ งชกต่ อ ยกั บ วั ย รุ ่ น เจ้าถิ่น.... ....วัยรุ่นเป็นวัยที่เปี่ยมล้นด้วยพลัง ที่อัดฉีดอยู่ภายใน มีทั้งความอยากรู้ อยากเห็น อยากลอง อยากเข้ากลุ่ม อีกทั้ง แรงขับจากฮอร์โมน ทั้งหมดผนึกกันเป็นเรี่ยวแรงก�ำลังที่มีอยู่ เหลือเฟือ พลังเหลือเฟือนี้ มีความจ�ำเป็นที่ต้องการ “ปลด ปล่อย” ออกเป็นครั้งคราวในรูปแบบต่างๆ มิฉะนั้นจะกลาย

เป็น “ความเครียด” อยู่ภายใน หากวิธีปลดปล่อยท�ำได้อย่าง เหมาะสม เช่น เล่นกีฬา, เล่นดนตรี หรือท�ำกิจกรรมกลางแจ้งใน รูปแบบต่างๆก็จะกลายเป็นประสบการณ์ที่สร้างสรรค์และเป็น ประโยชน์ แต่หากปลดปล่อยไปกับ “ความแรง” ที่ไม่เหมาะสม ก็จะเกิดผลข้างเคียงตามมา อย่างในกรณีของเป้ข้างต้น “ความแรง” ของวัยรุ่นนั้นผู้ใหญ่ทุกคนล้วนเข้าใจดี เพราะเคยมีประสบการณ์ผ่านมาก่อน จึงต้องใช้ความอดทน การชี้แนะ และส่งเสริมไปในช่องทางที่พอเหมาะพอควร การ ผ่อนปรนในระดับหนึ่งก็เป็นวิธีที่จ�ำเป็นในบางโอกาสบางวาระ ความแรงของวั ย รุ ่ น นั้ น มี ทั้ ง ด้ า น “ร่ า งกาย” และ “อารมณ์” อย่างแรก จัดการได้ง่ายกว่าอย่างหลัง เรื่องของ อารมณ์ที่ว่าคือความหุนหันผลันแล่น ดื้อ ไม่ยอมเชื่อฟัง เอาแต่ ใจ และใช้วาจารุนแรง “ซิง่ ” เป็น Slang ในภาษาไทยทีม่ าจากค�ำว่า “Racing” ในภาษาอังกฤษ หมายถึงการท�ำอะไรเร็วๆแรงๆ (ซึ่งมักระคน

8 IS AM ARE www.ariyaplus.com


นพ. วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ รองเลขาธิการส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

กั บ ความลวกๆ หยาบๆ ดิ บ ๆ) แต่ เดิ ม จะใช้ ใ นกรณี ก ารขั บ รถเร็ ว แบบ เสี่ ย งอั น ตราย ต่ อ มาได้ ใช้ ข ยายไปถึ ง เรื่องอื่นๆ ด้วยเช่น การกินอาหารแบบ ลวกๆรีบๆ การเดินเร็วๆ การรีบร้อน ในการใช้ชีวิตในทุกรูปแบบ การกระท�ำอะไรเร็วๆแรงๆ มัก มีปัญหาควบอย่างหนึ่ง คือ การขาดสติ ท�ำให้มีโอกาสผิดพลาดหรือเกิดผลข้าง เคียงได้ เช่น ขับรถเร็ว ท�ำให้เสี่ยงต่อการ เกิดอุบตั เิ หตุ ความเสีย่ งหายต่อทรัพย์สนิ และชีวิตตนเองรวมทั้งผู้อื่น การรีบร้อน มักลืมโน่นลืมนี่ หรือขาดตกบกพร่องใน ผลลัพธ์ของงาน การสื่อสารกับผู้อื่นก็ มักไม่ครบถ้วนกระบวนความ ท�ำให้ชีวิต เครียดและมีสารหลั่งผิดปกติในร่างกาย ...โปรดจ� ำ ไว้ ว ่ า สติ (Mindfulness) คือ คุณสมบัติอันล�้ำค่าของ ชี วิ ต ประจ� ำ วั น การมี ส ติ อ ยู ่ ต ลอด เวลา ถือเป็นโชคลาภ (Fortune) อัน ประเสริฐยิ่ง...ประเสริฐยิ่งกว่าแก้วแหวน เงินทอง ทรัพย์สิน ยศฐาบรรดาศักดิ์ใดๆ ที่มีอยู่ในโลกนี้ทั้งปวง... ส่ ว นค� ำ ว่ า “กร่ า ง” แปลว่ า พฤติ ก รรมที่ แ สดงออกผ่ า นทางสี ห น้ า ท่าทาง วาจา และภาษากาย (Body Language) ในทุกรูปแบบที่บ่งบอกถึง ความเชื่อมั่นในตนเองชนิดที่เต็มไปด้วย ความฮึกเหิม ความล�ำพองใจ ทะนงตน ไม่ เ กรงอกเกรงใจใคร บางคนตี ค วาม ไปไกลถึงขั้น จองหอง อวดดี ซึ่งค�ำว่า กร่ า งนี้ ตรงกั บ ค� ำ ในภาษาอั ง กฤษว่ า “Arrogant” ค�ำที่มีความหมายตรงกันข้ามกับ ค�ำว่า “กร่าง” คือ เกรงอก เกรงใจ, รู้จัก ถ่อมตน, มีสัมมาคารวะ และให้เกียรติ ผู้อื่น (to be considerate)

ความกร่างของคนพบเห็นได้ใน สัตว์เช่นเดียวกัน เราคงเคยเห็นไก่บาง ตัวที่เดินชูคอพองขน เวลาเจอไก่ต่างถิ่น พร้อมที่จะต่อยตี หรือสุนัขบางตัวที่ออก อาการฮื่มๆแสดงสีหน้าข่มขู่ คนที่ มี บุ ค คลิ ก ภาพ “กร่ า ง” มักมีพื้นฐาน มูลเหตุมาจากสาเหตุต่อ ไปนี้ 1. วัยคะนอง การที่วัยรุ่นยกพวก ตีกัน เป็นข่าวคราวอยู่เป็นระยะๆ นี่ก็คือ ปัญหาของความแรงทางอารมณ์ทผี่ กู โยง กับทางชีววิทยา 2.การหล่ อ หลอมทางสั ง คม มี คนบอกว่ า ฝรั่ ง อั ง กฤษ และเยอรมั น มั ก มี ท ่ า ที ป ั ้ น ปึ ่ ง และเชื่ อ มั่ น ใจตนเอง สู ง เพราะความที่ เ คยเป็ น ประเทศ มหาอ�ำนาจยิ่งใหญ่มาก่อนในอดีต, คน เมื อ งจะมี ค วามกร่ า งกระด้ า งมากกว่ า คนชนบท 3. เศรษฐานะ คนมีฐานะดีมัก มีมาด เก็กหน้าตาท่าทางมากกว่าชาว บ้ า นธรรมดาทั่ ว ไป, มี ก ารวิ จั ย พบว่ า คนรวยมักใส่ใจให้ความส�ำคัญกับความ รู้สึกคนอื่นน้อยกว่าคนฐานะด้อย 4. อาชีพบางอาชีพ เช่น นักการ เมือง ผู้มีอิทธิพล ข้าราชการบางหน่วย งานที่ ใช้ อ� ำ นาจแข็ ง (กฎหมาย, เงิ น ) อยู่เป็นประจ�ำ มักพบความกร่างมาก เป็นพิเศษ ....หากอธิบายโดยทางจิตวิทยา เราพบว่ า คนกร่ า งมั ก ส� ำ คั ญ ผิ ด คิ ด ว่ า ตั ว เองนั้ น เก่ ง เลิ ศ หรื อ มี เ นื้ อ นาบุ ญ (เช่น เรียนเก่ง, ฐานะดี, มีหน้าตาใน สั ง คม หรื อ มาจากครอบครั ว ชั้ น สู ง ) กว่าผู้อื่น นอกจากนี้คนที่มีอัตตาตัวตน (Ego) สูง ก็มักฉายความกร่างออกมา เป็นครั้งคราว 9 issue 94 november 2015

www.nhso.go.th

คนที่หลงตัวเอง (Narcissistic) ซึ่งเจอได้ในคนทุกวัย ก็อาจแสดงท่าที ในลักษณะกร่างออกมา ในทางจิตวิทยา คนที่มีแนวคิดความเชื่อที่ไม่ถูกต้อง หรือ ที่ เรี ย กกว่ า มิ จ ฉาทิ ฏ ฐิ (Misconception) ในทางพุทธศาสนาอยู่ในใจ เช่น มี ป มเขื่ อ ง หรื อ ปมด้ อ ยอยู ่ ใ นใจก็ อ าจ แสดงออกมาได้ ใ นรู ป แบบของความ กร่าง ....อาจมีคนแย้งว่า ความกร่าง ก็มีดีอยู่นะ เช่น ท�ำให้เราเกิดความเชื่อ มั่นในตนเอง ท�ำให้ไม่มีใครมาข่ม หรือ เอาเปรียบรังแกได่ง่าย แต่เมื่อลองดูข้อ ไม่ดีของความกร่างซึ่งมีตั้งแต่ • ดูเป็นคนกระด้าง, ไม่น่าคบหา, ไม่เป็นมิตร • ดู แ ล้ ว น่ า หมั่ น ไส้ , เอื้ อ ต่ อ บรรยากาศของการทะเลาะเบาะแว้ง • สัมพันธภาพไม่ดี โดยเฉพาะ อย่างยิ่งถ้ามีการใช้วาจาที่ไม่เหมาะสม ต่อผู้อื่น • มักถูกนินทาลับหลัง ถ้าเป็น ผู้ชายก็กลายเป็นคนกวนโอ๊ยในภาษา วัยรุ่น ถ้าเป็นผู้หญิงก็กลายเป็นนางร้าย, เต๊ะวางมาด ทั้งหลายทั้งปวง ก็อยากจะสรุป ในตอนท้ายว่า “คนที่เก่งจริง ต้องไม่ ซิ่งและไม่กร่าง” นะครับ...

บริการข้อมูล ให้ค�ำปรึกษาการใช้ สิทธิหลักประกันสุขภาพ 30 บาท ตรวจสอบสิทธิการรักษาพยาบาล รับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ ประสานงานส่งต่อผู้ป่วยเพื่อเข้ารับการรักษา


ฉบั บ นี้ จ ะเล่ า ถึ ง ค่ า ยที่ มี ค วามหลากหลาย ซึ่ ง เป็ น ความหลากหลายของคนในค่ า ยเพราะค่ า ยนี้ เ ป็ น ค่ า ยของ นั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมปลายในกรุ ง เทพมหานครที่ ไ ม่ เ คยมี ป ระสบการณ์ ชี วิ ต กั บ ค� ำ ว่ า “ชนบท” กว่ า ๒๒๐ คน จาก ๖๔ โรงเรี ย น ใช้ เ วลาในการจั ด ค่ า ยถึ ง ๗ วั น ๖ คื น สถานที่ จั ด ค่ า ยคื อ โรงเรี ย นบ้ อ งตี้ บ น อ� ำ เภอ บ้ อ งตี้ จั ง หวั ด กาญจนบุ รี ซึ่ ง ประธานจั ด ค่ า ยคื อ น้ อ งโจ้ จากโรงเรี ย นสวนกุ ห ลาบวิ ท ยาลั ย สุภาพบุรุษตึกยาวอยากจะจัดค่ายเพื่อไปช่วยสร้างห้อง เขียนโครงการ และส่งถึงโรงเรียนต่างๆ พร้อมกันกับ พี่ๆทีม สมุดเล็กๆ ให้โรงเรียนบ้องตี้บน ความคิดของเยาวชนที่อยาก งาน ประธานค่ายและกลุ่มแกนน�ำก็ได้ไปส�ำรวจพื้นที่ ไปติดต่อ จะท�ำกิจกรรมค่ายในช่วงปิดภาคเรียน การรวมตัวของเยาวชน ประสานงานกับท่านผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบ้องตี้บน ท่านนายก หญิงชายกว่า ๒๐ คนที่เป็นแกนน�ำเรื่องนี้ “ป้ามุก” ครับผมอยากจัดค่าย ๗ วัน ๖ คืน ที่บ้องตี้บน น้องโจ้และเพื่อนๆ เดินมาหาและปรึกษาว่าอยากจะจัดค่าย พอป้ามุกได้ยินว่าจะจัดค่ายโดยใช้เวลาถึง ๗ วัน ๖ คืน แค่คิด ก็แทบจะเป็นลม เพราะอะไรรึ ก็เพราะตัวเลขค่าใช้จ่ายต่างๆ มันวิ่งเข้ามาเต็มสมอง แค่นั้นยังไม่พอ คิดไกลไปถึงว่าผู้ปกครอง คุณพ่อ-คุณ แม่ จะอนุ ญ าตให้ ไ ปกั น รึ เ ปล่ า แต่ นั้ น ก็ ไ ม่ ไ ด้ ท� ำ ให้ ที ม งาน ครอบครัวพอเพียงหยุดคิด แต่เรากลับท�ำหน้าที่ทันทีเพราะ เรามองเห็ น คุ ณ ค่ า ที่ จ ะได้ รั บ เรามองเห็ น ความส� ำ คั ญ ของ ประสบการณ์ที่จะเกิดขึ้นกับเยาวชนทั้ง ๒๒๐ คน เราจึงเริ่ม 10 IS AM ARE www.ariyaplus.com


เด็ ก ..ก่ อ นค่ า ย เด็ ก ..หลั ง ค่ า ย

อบต.บ้องตี้บน สาธารณสุขพื้นที่ และผู้การ กองพลทหารราบ ที่ ๙ ค่ายสุรสีห์ สาเหตุที่ต้องไปประสานงานกับผู้การ กองพลทหารราบ ที่ ๙ ค่ายสุรสีห์ ก็เพราะว่าเขตติดต่อของโรงเรียนบ้องตี้บนนั้น ด้านหลังของโรงเรียนเป็นแนวกันชนกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพ เมียนมา (พม่า) เพื่อความปลอดภัยเราจึงประสานงานไว้ก่อน เมื่ อ หนั ง สื อ ชี้ แจงโครงการไปถึ ง โรงเรี ย นที่ เข้ า ร่ ว ม กิจกรรมกับครอบครัวพอเพียงเป็นที่เรียบร้อย ทางโรงเรียน ก็ได้ออกหนังสือไปยังผู้ปกครองของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม เพื่อให้รับทราบและให้ความยินยอมให้นักเรียนมาร่วมกิจกรรม ค่ายได้ เมื่อถึงวันที่ได้รับหนังสือยินยอมจากผู้ปกครองผลสรุป คือ นักเรียนทั้ง ๖๔ โรงเรียน ได้ไปร่วมกิจกรรมทุกแห่ง และ บางแห่งจะมีคุณครูไปร่วมสังเกตุการณ์ด้วย การประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมจึงเริ่มขึ้น ณ ห้อง ประชุมโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นักเรียนทั้ง ๒๒๐ คนมา รวมกันเพื่อรับเสื้อค่าย รับก�ำหนดการและรับหน้าที่ ตลอดระยะ เวลาการประชุมครั้งที่ ๑ นี้ เราได้เห็นเยาวชนทั้งหญิง-ชาย ๒๐ คน ท�ำหน้าที่ผู้น�ำ พวกเขาแบ่งงานกันรับผิดชอบราวกับว่าพวก เขาเคยท�ำค่ายมาแล้วหลายครั้ง ป้ามุกถามน้องโจ้ว่า เคยท�ำค่ายมาแล้วกี่ครั้ง โจ้และ เพื่อนๆบอกว่า ไม่เคยครับ ค่ายนี้เป็นครั้งแรก และเมื่อเราถาม น้องผู้หญิง ๒- ๓ คน ที่มาจากโรงเรียนเบญจมราชาลัยว่าเคย ท�ำกิจกรรมค่ายมาบ้างรึเปล่า พวกเธอก็บอกว่าไม่เคยท�ำค่าย

น้องโจ้ จากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

เอง แต่เคยไปร่วมค่ายกับโรงเรียน และเราได้หันไปถามกับ สาวๆ อีก ๖ คนที่มองดูหน้าตาแล้วไม่น่าที่จะได้รับการยินยอม จากผู้ปกครองให้มาร่วมค่ายได้เลย เด็กกลุ่มนี้เป็นเด็กจากโรง เรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์ ชั้นมัธยม ๔ ป้ามุกมองหนังสือที่ ผู้ปกครองเซ็นชื่อยินยอมให้เด็กสาวเหล่านี้ไปร่วมค่ายได้และ ถามย�้ำไปว่าลายเซ็นนี้เป็นของผู้ปกครองจริงๆใช่ไหม เด็กสาว ก็ตอบว่าจริงค่ะ เมื่ อ การประชุ ม ครั้ ง ที่ ๓ จบลง การซั ก ซ้ อ มความ เข้าใจการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในแต่ละวัน และการแบ่งเวลา เพื่อการจัดกิจกรรมในพื้นที่เป็นที่เข้าใจและมั่นใจในการที่จะ ปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อบังคับของค่ายเรียบร้อยเราจึงแยก ย้ายกันกลับ แต่ก่อนที่จะแยกย้ายกันไปหมด ป้ามุกเห็นกลุ่ม เด็กนักเรียนใส่กระโปรงนักเรียนสีแดง จึงท�ำให้รู้ว่าเด็กกลุ่มนี้ คือนักเรียนประจ�ำ ของโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย จึงเอ่ยถามเด็ก สาวว่า เคยไปค่ายแบบนี้ไหม ทั้ง ๕ คนตอบพร้อมกันว่า ไม่เคย ค่ะ ค่ายนี้เป็นค่ายแรกและเป็นครั้งแรกที่ไปค่ายต่างจังหวัด เด็ก เหล่านี้ตอบเสียงดังฟังชัดด้วยความมั่นใจ ป้ามุกและทีมงานได้ซักซ้อมความพร้อมทั้งเรื่องเบอร์ 11

issue 94 november 2015


กิจกรรมนี้ เราก็อดดีใจและนึกขอบคุณท่านผู้การกองพลทหาร ราบที่ ๙ ค่ายสุรสีห์ ในใจ สั ก ครู ่ เ ดี ย วกลุ ่ มเด็ ก สาวจากโรงเรี ย นเซนต์ ฟ รั ง ซี สซา เวียร์ เดินมาหาเราพร้อมบอกว่าคุณพ่อหนูเองค่ะ ผู้การ กองพล ทหารราบที่ ๙ ค่ายสุรสีห์ พร้อมส่งยิ้มให้เรา เราจึงถึงบางอ้อ ค่ า ยบ้ อ งตี้ บ น ค่ า ยนี้ น� ำ มาซึ่ ง ความผู ก พั น ความรั ก ความสามัคคีของเยาวชนในระดับอายุ ๑๕-๑๗ ปีได้เป็นอย่าง ดี ระยะเวลา ๗ วัน ๖ คืน กับธรรมชาติกลางขุนเขา ไม่มีแม้แต่ คลื่นโทรศัพท์ และ WIFI สภาพภูมิศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้ ให้บทเรียนที่ดีแก่ชีวิตของเยาวชนทั้งหลายเหล่านี้ หน้าที่ความ รับผิดชอบทีท่ กุ คนได้รบั มอบหมาย ประสบการณ์ทางการเกษตร กับเกษตรกรตัวจริง ความเท่าเทียมเสมอภาคปรากฏบนรอยยิ้ม และสิ่งสุดท้ายที่เยาวชนกลุ่มนี้ได้รับคือรอยยิ้มและความสุขของ น้องๆเด็กเล็กๆทั้งหญิงชายที่พี่ค่ายได้ช่วยก�ำจัดเหา ซ่อมเครื่อง เล่น และสร้างห้องสมุดเล็กๆให้แก่พวกเขา ความจดจ�ำอันมีค่า จากค่ายนี้คงจะปรากฏอยู่ในจิตส�ำนึกของเยาวชนที่มาค่ายครั้ง นี้ไปอีกนานแสนนาน. โทรศั พ ท์ ฉุ ก เฉิ น เบอร์ โ ทรศั พ ท์ ค นส่ ง อาหารสดและเบอร์ โทรศัพท์โรงพยาบาลที่ใกล้ที่สุด รวมถึงอุปกรณ์ค่ายที่ส�ำคัญ เช่น กล่องยา เครื่องปฐมพยาบาลเบื้องต้นซึ่งทีมงานครอบครัว พอเพี ย งทุ ก คนได้ รั บ การฝึ ก ฝนในการดู แ ลรั ก ษาเบื้ อ งต้ น มา อย่างดี และแล้ววันเดินทางก็มาถึง ทุกคนมาพร้อมกันที่โรงเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัยในเวลา ๗.๐๐ น.ลงทะเบียนรายงานตัว รับประทานของว่าง และจัดวางของอย่างเป็นระเบียบ ทุกคนใส่ เสื้อค่ายสีเดียวกันหมดและเมื่อถึงเวลารถประจ�ำทางมารับพวก เราเพื่อไปยังสถานีรถไฟน�้ำพุร้อน (หลังโรงพยาบาลศิริราช) จุด หมายของเราคือ สถานีรถไฟถ�้ำแซ จังหวัดกาญจนบุรี เราใช้เวลา ในการเดินทางโดยรถไฟประมาณ ๓ ชั่วโมงจึงถึงที่หมาย เมื่อถึงที่หมายคือสถานีถ�้ำแซ เราจะต้องเดินทางโดยรถ โดยสารต่อไปยัง บ้านบ้องตี้บนอีกประมาณ ๒๐ กิโล จากการ นัดหมายรถโดยสารและการเดินทางล่วงหน้าของพี่ค่าย เรา เข้าใจว่ารถโดยสารน่าที่จะมารอเราอยู่ก่อนที่พวกเราจะมาถึง แต่เราพบแต่รถบรรทุกขนาดใหญ่ ของทหารมาจอดรออยู่ถึง ๔ คัน และไม่ปรากฏรถโดยสารที่เราติดต่อในตอนแรก สักครู่ นายทหารยศร้อยเอกมาท�ำความเคารพเรา พร้อมกับรายงาน ตัวและแจ้งว่าท่านผู้การ กองพลทหารราบที่ ๙ ค่ายสุรสีห์ ให้ จัดรถมารับและบริการดูแลความปลอดภัยจนกว่าจะจบค่าย 12 IS AM ARE www.ariyaplus.com


It’s not the hours you put in your work that counts, It’s the work you put in the hours. (Sam Ewing) “ความส� ำ คั ญ ไม่ ไ ด้ อ ยู ่ ที่ เ วลาซึ่ ง เราทุ ่ ม เทให้ กั บ งาน แต่ อ ยู ่ ที่ ง านซึ่ ง เราทุ ่ ม เทในเวลานั้ น ต่ า งหาก” ที่ ม า: www.thaiquip.com

13 issue 94 november 2015


โดย ดร.สไว บุญมา

มหาเศรษฐีกับการศึกษา

เมื่อเดือนกันยายนที่ผ่านมา ลอรีน จอบส์ บริจาคเงินจ�ำนวน 50 ล้านดอลลาร์เพื่อแสวงหาโรงเรียนมัธยมแบบใหม่ ลอรีน จอบส์ เป็นภรรยาของ สตีฟ จอบส์ อดีตต�ำนานของการสร้างบริษัทแอปเปิ ลซึ่ งประสบความส�ำเร็จสูงมากจน มีมูลค่าหุ้นสูงที่สุดในโลก หลังจากสามีเสียชี วิต ลอรีน จอบส์ รับมรดกจ�ำนวนมหาศาลอันเป็นหุ้นของสามีและขณะ นี้มีทรัพย์สินราว 2 หมื่นล้านดอลลาร์ หรือกว่า 7 แสนล้านบาท ทรัพย์สินกองมหึมานั้นช่ วยให้ ลอรีน จอบส์ มี อิสระที่จะท�ำอะไร ๆ ตามใจชอบได้มากรวมทั้งการบริจาคเพื่อช่ วยเหลือเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ด้านหนึ่งซึ่ งเธอบริจาค ทรัพย์เสมอมาได้แก่การสนับสนุนการศึกษาของเยาวชน เงินจ�ำนวน 50 ล้านดอลลาร์ท่ีอ้างถึงนั้นจะเป็นทุนเริ่มต้น ของโครงการหนึ่งซึ่ งน่าจะใช้เวลาหลายปี 14 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ตั ว ไกล..หั ว ใจอยู ่ ไ กล้ ผู้ใช้สังคมออนไลน์เฟสบุ๊คคงคุ้นเคยกับชื่อของผู้ก่อตั้ง มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก ตอนนี้ มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก อายุเพียง 31 ปีและมีทรัพย์สินจากมูลค่าหุ้นในบริษัทของเขาคิดได้ราว 4 หมื่นล้านดอลลาร์ เขาเริ่มสนใจในด้านการสนับสนุนการศึกษา มาหลายปีแล้วและเมื่อ 5 ปีก่อนได้บริจาคให้เขตการศึกษา แห่งหนึ่งในรัฐนิวเจอร์ซีถึง 100 ล้านดอลลาร์ การบริจาคของ เขามีข้อแม้ว่า เขตการศึกษานั้นจะต้องหาเงินจ�ำนวนเดียวกัน มาสมทบ แม้จะอายุยังน้อย แต่ มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก ได้ให้ค�่ำ มั่นสัญญาไว้แล้วว่าจะบริจาคอย่างน้อยกึ่งหนึ่งของทรัพย์สิน เพื่อช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ ตัวอย่างที่อ้างถึงคงท�ำให้คาดเดา ได้ว่า การศึกษาจะได้รับทรัพย์สินจ�ำนวนมากจากเขาต่อไป แน่นอน มหาเศรษฐีที่อ้างถึงทั้ง 3 สามคนนั้นสร้างความร�่ำรวย มหาศาลด้วยกิจการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลอันเป็นเทคโนโลยีที่ สร้างความเปลี่ยนแปลงแบบก้าวกระโดดล่าสุดให้แก่โลก ก่อน เกิดเทคโนโลยีดิจิทัล โลกมีเทคโนโลยีด้านเครื่องจักรกลที่น�ำไป สู่ยุคอุตสาหกรรมซึ่งท�ำให้คนอเมริกันหลายคนร�่ำรวยมหาศาล ในจ�ำนวนนั้นมี แอนดรูว์ คาร์เนกี รวมอยู่ด้วย ผู้สันทัดกรณี บางคนประเมินว่า เขาเป็นมหาเศรษฐีหมายเลขหนึ่งของโลก ตลอดกาล แอนดรูว์ คาร์เนกี เสียชีวิตไป 96 ปีแล้ว ก่อนจาก โลกไป เขาได้บริจาคทรัพย์สินราวร้อยละ 90 เพื่อช่วยเหลือ เพื่อนมนุษย์โดยเฉพาะทางด้านการศึกษา ในสหรัฐอเมริกาจึง มีมหาวิทยาลัยชื่อ คาร์เนกีเมลลอน และมีห้องสมุดชื่อคาร์เนกี ถึงเกือบ 1,700 แห่ง

เริ่มแรก ผู้ด�ำเนินโครงการจะเชิญชวนผู้เชี่ยวชาญและ ผู้สนใจในด้านการศึกษาส่งแนวคิดในกรอบที่ว่าโรงเรียนมัธยม รุ่นใหม่ควรจะเป็นอย่างไรไปยังคณะกรรมการ โรงเรียนรุ่น ใหม่จะต้องตอบโจทย์ของผู้บริจาคเงินซึ่งมองว่าโรงเรียนมัธยม ปัจจุบันของสหรัฐอเมริกาล้าสมัยเพราะออกแบบมากว่าร้อยปี แล้ว ย้อนไปในตอนนั้น สังคมอเมริกันอยู่ในยุคอุตสาหกรรม โรงเรียนจึงถูกออกแบบมาเพื่อให้การศึกษาขั้นพื้นฐานส�ำหรับ งานในด้านการอุตสาหกรรมเป็นหลัก ในปัจจุบันนี้ เทคโนโลยี ได้เปลี่ยนไปอย่างมีนัยส�ำคัญส่งผลให้สังคมอเมริกันเดินเข้ายุค ดิจิทัลมานานหลายทศวรรษแล้ว แต่โรงเรียนยังมิได้ถูกปรับ เปลี่ยนเพื่อสนองความต้องการของยุคใหม่ส่งผลให้เกิดความ ไม่ ส มดุ ล ระหว่ า งความรู ้ แ ละความช� ำ นาญพื้ น ฐานกั บ ความ ต้องการด้านเศรษฐกิจ คณะกรรมการจะคั ด เลื อ กแนวคิ ด ที่ เ ห็ น ว่ า น่ า สนใจ เพื่อให้เจ้าของน�ำกลับไปเพิ่มรายละเอียดจนสามารถเป็นต้น แบบของโรงเรียนที่น�ำไปปฏิบัติได้แล้วจึงน�ำกลับมาเสนอใหม่ ในเดื อ นสิ ง หาคมปี ห น้ า หลั ง จากนั้ น คณะกรรมการจะคั ด เลือก 5-10 แบบไว้เพื่อน�ำไปทดลองใช้ในภาคสนามจนกว่า จะได้ข้อสรุป การศึกษาขั้นพื้นฐานของสหรัฐอเมริกามีปัญหามานาน แต่จะแก้ปัญหาอย่างไรยังไม่เป็นที่เห็นพ้องต้องกันอย่างทั่วถึง บรรดามหาเศรษฐีกลุ่มหนึ่งจึงพยายามเข้ามาช่วยแก ก่อนที่ ลอรีน จอบส์ จะเข้ามา มหาเศรษฐีหมายเลขหนึ่งของโลก บิล เกตส์ ซึ่งร�่ำรวยจากการก่อตั้งบริษัทไมโครซอฟท์ได้ท�ำล่วงหน้า ไปหลายปีแล้ว บิล เกตส์ และภรรยาชื่อ เมลินดา ก่อตั้งมูลนิธิ ขึ้นมาชื่อ Bill & Melinda Gates Foundation เมื่อปี 2543 เพื่อสนับสนุนการศึกษา การรักษาพยาบาลและการขจัดความ ยากจน เขาทั้งสองบริจาคทรัพย์สินให้มูลนิธิแล้วกว่า 3 หมื่น ล้านดอลลาร์ แต่ละปี มูลนิธินั้นจะสนับสนุนงานด้านต่าง ๆ เป็นเงินหลายพันล้านดอลลาร์รวมทั้งทางด้านการศึกษาซึ่งมุ่ง เน้นไปทางแสวงหาหลักสูตร วิธีสอนและลักษณะของครูที่จะ น�ำไปสู่ระบบการศึกษาตามความต้องการของสังคม คอลัมน์นี้เคยอ้างถึงแล้วว่า บิล เกตส์ กับมหาเศรษฐี หมายเลขสองของสหรัฐอเมริกาชื่อ วอร์เรน บัฟเฟตต์ ได้ก่อ ตั้งองค์กรขึ้นมาเพื่อเปิดโอกาสให้มหาเศรษฐีเขียนค�ำมั่นสัญญา ว่าจะบริจาคทรัพย์สินอย่างน้อยกึ่งหนึ่งเพื่อช่วยเหลือเพื่อน มนุษย์ เขาทั้งสองได้เขียนค�ำมั่นสัญญาแล้วและตอนนี้มีมหา เศรษฐีอเมริกันอีกกว่า 120 คนได้ท�ำแล้วเช่นกันรวมทั้ง มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก

ตั ว อ ย ่ า ง ที่ อ ้ า ง ถึ ง น ่ า จ ะ พ อ ส รุ ป ไ ด ้ ว ่ า มหาเศรษฐี อ เมริ กั น ต่ า งสนใจในด้ า นการสนั บ สนุ น การศึ ก ษาไม่ ว ่ า จะเป็ น ในยุ ค ไหน 15

issue 94 november 2015


A penny saved is a penny earned. Earn a penny is saved a penny. ประหยั ด ได้ ห นึ่ ง เพนนี เท่ า กั บ หาได้ ห นึ่ ง เพนนี หาได้ ห นึ่ ง เพนนี เท่ า กั บ ประหยั ด ได้ ห นึ่ ง เพนนี

16 IS AM ARE www.ariyaplus.com


กว่า 8 ปีที่ผ่านมา IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง ได้น�ำบทความ บท สั ม ภาษณ์ สรรสาระที่ ม ากด้ ว ยความรู ้ และความบันเทิง ความสุขมากมายที่ได้ รับจากการอ่านนิตยสารเพื่อสังคมฉบับ นี้ เพื่อเป็นการตอบแทนท่านผู้อ่านและ สมาชิกที่น่ารักทุกท่าน ตั้งแต่ฉบับนี้เป็นต้นไป บก.จะแจกของ สมนาคุณเล็กๆแก่ผู้ที่ตอบแบบสอบถามกันเข้า ของสมนาคุณที่ว่า คือ ปากกา SHEEFER จ�ำนวน 3 รางวัล พร้อมสลักชื่อ-นามสกุล เรี ย บร้ อ ย ซึ่ ง ค� ำ ถามในฉบั บ นี้ คื อ ความรู ้ ที่ ไ ด้ จ ากบทความ “เก่งจริง ไม่ซิ่ง-กร่าง” หน้า 8-9 จากส�ำนักงานหลักประกัน สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ ในฉบั บ ที่ ปรากฏ แล้ ว ตั ด ส่ ง มากั น นะ ค่ะ ในฉบับหน้าของสมนาคุณ อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามค�ำ เรียกร้องของคนขี้เหงา ซึ่งน่า จะเป็น Furby เพื่อนช่างคุย ของเราเอง แล้ ว พบกั น ใหม่ ฉบับหน้านะค่ะ

ร่วมตอบค�ำถามชิงปากกา SHEFFER

ส่งมาที่นิตยสารครอบครัวพอเพียง เลขที่ 663 ซอยพหลโยธิน 35 แยก 9 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 02-939-5995 www.ariyaplus.com, www.fosef.org แบบประเมินความพอใจผู้อ่าน 1. เนื้อหาเรื่อง เก่งจริง ไม่ซิ่ง-กร่าง

1

2

3

4

5

-ให้ความรู้และมีสาระตามที่คาดหวัง -บทความมีความน่าสนใจและเป็นประโยชน์ -บทความจุดประกายความคิดสร้างสรรค์ -บทความสร้างความตระหนักในเรื่องคุณธรรม 2.รูปเล่ม -มีการออกแบบที่สวยงาม ทันสมัย -จัดจัดเนื้อหาเป็นหมวดหมู่ อ่านง่าย -ภาพประกอบและการน�ำเสนอน่าสนใจ 3.ข้อเสนอแนะ

สายตรง กรมสงเสริมการสงออก

1.ไม่เป็นที่พอใจ 2. ควรปรับปรุง 3. พอใช้ 4.ดี/น่าสนใจ 5. ดีมาก/พอใจมาก 17

issue 94 november 2015

1169


เพื่อความสวัสดี... แห่งชี วิต โดย พระมหาวุฒิชัย (ว.วชิรเมธี)

18 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Dhamma Today

สิ่ ง ที่ เ ธอควรมี . ......................”สติ ป ั ญ ญา” สิ่ ง ที่ เ ธอควรแสวงหา................”กั ล ยาณมิ ต ร” สิ่ ง ที่ เ ธอควรคิ ด ......................”ความดี ง าม” สิ่ ง ที่ เ ธอควรพยายาม................”การศึ ก ษา” สิ่ ง ที่ เ ธอควรเข้ า หา..................”นั ก ปราชญ์ ” สิ่ ง ที่ เ ธอควรฉลาด...................”การเข้ า สั ง คม” สิ่ ง ที่ เ ธอควรนิ ย ม.....................”ความซื่ อ สั ต ย์ ” สิ่ ง ที่ เ ธอควรควรตั ด ..................”อกุ ศ ลมู ล ” สิ่ ง ที่ เ ธอควรเพิ่ ม พู น ..................”มู ล กุ ศ ล” สิ่ ง ที่ เ ธอควรอดทน...................”การดู ห มิ่ น ” สิ่ ง ที่ เ ธอควรยิ น .......................”พุ ท ธธรรม” สิ่ ง ที่ เ ธอควรจดจ� ำ ....................”ผู ้ มี คุ ณ ” สิ่ ง ที่ เ ธอควรเทิ ด ทู น ..................”สถาบั น กษั ต ริ ย ์ ” สิ่ ง ที่ เ ธอควรขจั ด .....................”ความเห็ น แก่ ตั ว ” สิ่ ง ที่ เ ธอควรเลิ ก เมามั ว ...............”การพนั น ” สิ่ ง ที่ เ ธอควรสร้ า งสรรค์ . .............”สั ม มาชี พ ” สิ่ ง ที่ เ ธอควรเร่ ง รี บ ...................”การแทนคุ ณ บุ พ การี ” สิ่ ง ที่ เ ธอควรปฏิ บั ติ ทั น ที . ............”ท� ำ วั น นี้ ใ ห้ ดี ที่ สุ ด ”

19 issue 94 November 2015


ประสบการณ์แห่งชีวิต

๑๓ ธั น วาคม ๒๕๕๐ เป็ น วั น แรกของการเริ่ ม ต้ น อาชี พ ครู อ ย่ า งเต็ ม ตั ว ของข้ า พเจ้ า โรงเรี ย นที่ ข ้ า พเจ้ า มี โ อกาส เข้ า มาท� ำ งานนี้ คื อ โรงเรี ย นมั ธ ยม พระราชทานเฉลิ ม พระเกี ย รติ ตั้ ง อยู ่ ที่ อ� ำ เภอเฉลิ ม พระเกี ย รติ จั ง หวั ด น่ า น โรงเรี ย นแห่ ง นี้ อ ยู ่ ห ่ า งจากอ� ำ เภอเมื อ ง น่านประมาณ ๑๕๐ กิโลเมตร ตั้งอยู่บน ภูเขาสูง เส้นทางที่ใช้เดินทางเป็นเขาสูง ชัน และคดโค้ง เด็ ก ที่ เข้ า มาเรี ย นที่ โ รงเรี ย นนี้

ส่วนใหญ่เป็นเด็กด้อยโอกาสในทุกๆด้าน และเป็นเด็กที่มีความแตกต่างกันในด้าน ภาษา การแต่งกายและวัฒนธรรม ความ เชื่อ ความคิด เพราะเด็กเหล่านี้มาจาก หลายชนเผ่า ได้แก่ เผ่าลื้อ เผ่าขมุ เผ่า ลัวะ เผ่าเมี้ยนและคนเมือง จ� ำ ได้ ว ่ า วั น แรกที่ เ ข้ า มาสอน โรงเรียนนี้ได้รับการต้อนรับที่อบอุ่นมาก จากทั้ ง เพื่ อ นครู และนั ก เรี ย น ท� ำ ให้ 20 IS AM ARE www.ariyaplus.com

ข้ า พเจ้ า มี ค วามสุ ข และมี ก� ำ ลั ง ใจใน การท� ำ งานให้ โรงเรี ย นอย่ า งเต็ ม ความ สามารถ การที่ข้าพเจ้าได้มีโอกาสเข้ามา สอนในโรงเรียนที่อยู่ไกลและทุรกันดาร และมี เ ด็ ก นั ก เรี ย นที่ มี โ อกาสทางการ ศึกษาด้อยกว่าเด็กในเมืองหรือเด็กบนพื้น ราบ นับว่าเป็นโชคดีของข้าพเจ้า ถึงแม้ จะมีใครหลายคนบอกว่าโชคร้ายมากกว่า


question of life

แต่ในความคิดของข้าพเจ้า การ ที่ตัวของข้าพเจ้าเป็นครูเพิ่งจบการศึกษา ได้ไม่นานแล้วเข้ามาท�ำงานในโรงเรียน ที่ ทุ ร กั น ดารนั้ น ถื อ เป็ น ประสบการณ์ ที่ ยิ่งใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นการฝึกความอดทน ในการเดิ น ทางตามทางสู ง ชั น คดเคี้ ย ว อันยากล�ำบากโดยเฉพาะวันที่ฝนตกเพื่อ มาสอน อดทนใช้ชีวิตท่ามกลางป่าเขาที่ เงียบสงบโดยเฉพาะยามค�่ำคืน อดทนต่อ ความหนาวเหน็บในฤดูหนาว แต่ก็ไม่ได้ ท�ำให้ข้าพเจ้าท้อใจ เพราะที่นี่ข้าพเจ้าได้ รับความอบอุ่นและมิตรภาพความมีน�้ำใจ ที่ดีจากเพื่อนครูนักเรียนมาก เป็นที่ทราบกันดีว่าโรงเรียนที่อยู่ ห่ า งไกลในถิ่ น ทุ ร กั น ดาร จะเป็ น ที่ เริ่ ม ต้ น ของคนที่ เข้ า มาบรรจุ รั บ ราชการครู ฉะนั้นครูในโรงเรียนเหล่านี้ก็จะเป็นครูที่ จบใหม่ อายุยี่สิบต้นๆ และวัยใกล้เคียง กัน โรงเรียนที่ข้าพเจ้าสอนก็เช่นกัน ก็ จะมี เ พื่ อ นครู มี วั ย ใกล้ เ คี ย งกั บ ข้ า พเจ้ า ท�ำให้มีความคิดและวิสัยทัศน์ที่ใกล้เคียง กัน และเนื่องจากแต่ละคนก็ต้องพักอยู่ บ้านพักครูและส่วนใหญ่ยังไม่มีครอบครัว ท� ำ ให้ มี เวลาในการท� ำ กิ จ กรรมร่ ว มกั น มาก เช่น การเล่นกีฬาร่วมกัน การท�ำ อาหารร่ ว มกั น หรื อ ท� ำ กิ จ กรรมกลุ ่ ม ร่วมกัน ท�ำให้ตัวข้าพเจ้าได้เรียนรู้อะไร ใหม่ๆ เพิ่มขึ้น เช่น จากที่เล่นเปตองไม่ เป็นเลยก็เล่นเป็นที่นี่ โดยมีเพื่อนครูคอย ช่วยสอน จากการที่เป็นคนร้องเพลงไม่ ค่อยเป็น ก็ได้โรงเรียนแห่งนี้เป็นสนาม ฝึกปรือ และประสบการณ์ที่ส�ำคัญที่สุดใน การใช้ชีวิตบนที่สูงแห่งนี้ก็คือ การได้มา สอนเด็กที่ขาดโอกาสทางการศึกษา เด็ก

เหล่านี้บางคนสามารถเรียนรู้และเข้าใจ ได้ ถึงแม้จะไม่เทียบเท่าเด็กในเมืองใหญ่ แต่พวกเขาก็มีความพยายาม ตัวข้าพเจ้า ก็ ต ้ อ งมี ก ารปรั บ วิ ธี ก ารสอนให้ มี ค วาม เหมาะสมกับเด็กเหล่านี้ จากที่เคยสอน เด็กในเมืองกรุง ซึ่งสามารถเรียนรู้ได้เร็ว กล้าแสดงออก มีความมั่นใจ ซึ่งมีความ แตกต่างจากเด็กที่ข้าพเจ้าสอนมาก เด็ก ที่นี่ไม่กล้าพูด กล้าคิด กล้าท�ำ และเรียนรู้ ได้ช้า ข้าพเจ้าก็ต้องพยายามหาวิธีให้เด็ก เหล่านี้เข้าใจให้ได้ เนื่องจากตัวข้าพเจ้า เองสอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ซึ่งบาง ครั้งต้องมีการสอนเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับ การใช้สูตรและการคิดค�ำนวณ จะพบว่า เด็กนักเรียนส่วนใหญ่คิดเลขไม่ได้ บวก ลบ คูณ หาร ตัวเลขไม่ได้ ท่องสูตรคูณ ไม่ได้ บางคนเขียนหนังสือไม่ได้ บางคน เขียนหนังสือผิด บางคนมี พั ฒ นาการช้ า กว่ า เด็ ก ในวัยเดียวกัน ซึ่งปัญหาเหล่นี้ข้าพเจ้าก็ พยายามแก้ไข เช่น จากที่เคยสอนบวก ลบ คูณ หาร เลขจ�ำนวนมาก เช่น ๓๐, ๕๐, ๘๐ ก็เปลี่ยนเป็นเลข ๒, ๔, ๘ แทน หรือในบางครั้งนักเรียนบางห้องท�ำไม่ได้ จริงๆ ตัวข้าพเจ้าเองก็ต้องมาเริ่มสอนวิธี การบวก ลบ คูณ หารตัวเลข ให้เด็กเหล่า นี้ก่อน ซึ่งวิธีการเหล่านี้ท�ำให้เด็กสามารถ เรียนรู้ได้มากขึ้น และเมื่อเด็กสามารถ ท�ำได้ก็จะเกิดความภูมิใจในตนเองและ มีความกระตือรือร้นในการเรียนมากขึ้น และตั ว ข้ า พเจ้ า เองนั้ น ก็ ดี ใจที่ ส ามารถ ช่วยเด็กเหล่านี้ให้สามารถเกิดการเรียน รู้ได้ ถึงแม้จะต้องใช้ความพยายามและ ความอดทนมากขึ้นกว่าเดิมอีกหลายเท่า ตัว แต่ก็นับว่าคุ้มค่าเพราะรางวัลที่ได้มา คือรอยยิ้มและแววตาที่สดใสเข้าใจในสิ่ง 21 issue 94 November 2015

ที่ข้าพเจ้าสอน ไม่ใช่แววตามึนงงไม่เข้าใจ อะไรเลย อย่างน้อย สิ่งที่ข้าพเจ้าได้ท�ำ อาจจะมีค่าเพียงน้อยนิด แต่ข้าพเจ้าก็ ภูมิใจเพราะได้ช่วยให้เด็กเหล่านี้ให้ดีขึ้น ในอนาคตอีกด้วย ทุ ก วั น นี้ ข ้ า พ เ จ ้ า มี ค ว า ม สุ ข และภู มิ ใ จเป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ ไ ด้ ม า ท� ำ งานที่ โรงเรี ย นมั ธ ยมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติแห่งนี้ โรงเรียนที่อยู่ใน พื้ น ที่ โ ครงการของสมเด็ จ พระเทพรั ต น ราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ซึ่งก็นับ เป็ น การตอบแทนพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ข อ ง พ ร ะ อ ง ค ์ ท ่ า น ที่ ท ร ง เ ม ต ต า พระราชทานทุ น การศึ ก ษาแก่ ข ้ า พเจ้ า ท�ำให้ข้าพเจ้าได้เป็นครูและได้น�ำความ รู้มาพัฒนาเด็กจังหวัดน่านบ้านเกิดของ ข้าพเจ้า ประสบการณ์ที่ข้าพเจ้าได้พบเจอ มีมากกว่าที่เขียนลงในกระดาษแผ่นนี้ แต่ ข ้ า พเจ้ า อยากให้ ค นที่ อ ยาก เริ่มต้นมาเป็นครูทุกคน ได้มาสัมผัส ได้ มารั บ รู ้ ป ระสบการณ์ อั น มี ค ่ า เหล่ า นี้ ก่ อ น จะท� ำ ให้ ตั ว เราแข็ ง แกร่ ง พร้ อ มที่ จะสู้ทุกปัญหาที่เข้ามาได้อย่างเต็มความ สามารถ สุดท้ายนี้ ข้าพเจ้าอยากให้ก�ำลัง ใจกับเพื่อนครูทุกคนที่ได้รับโอกาสหรือ มีโอกาสได้สอนโรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร อย่ า ท้ อ ถอยจงสู ้ ต ่ อ ไป จงคิ ด เสมอว่ า เราได้รับประสบการณ์อันมีค่ายิ่งแล้วที่ ได้มาเป็นครู และท�ำให้เด็กและเยาวชน ของชาติได้รับความรู้เพื่อพัฒนาชาติของ เราต่อไป.... นางสาวสุ นิ ส า อิ น ทรั ง สี บั ณ ฑิ ต คื น ถิ่ น ครู วิ ท ยาศาสตร์ คื น ถิ่ น จั ง หวั ด น่ า น


22 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Cartoon

23 issue 94 november 2015


24 IS AM ARE www.ariyaplus.com


25 issue 94 november 2015


Cover Story

เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา แนวทางด�ำเนินงานและชี วิต ดร.รอยบุญ รัศมีเทศ 26 IS AM ARE www.ariyaplus.com


27 issue 94 november 2015


เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานเงินจ�ำนวน ๘๔ ล้านบาท ที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเงิน เมื่อวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ให้เป็นทุนประเดิม ส�ำหรับการก่อตั้งมูลนิธิน�้ำ เพื่อสนองพระราชด�ำริเกี่ยวกับการพัฒนาเรื่องน�้ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อมูลนิธิน�้ำว่า อุทกพัฒน์ และตราประจ�ำมูลนิธิฯ พร้อมทั้งพระราชทานพระมหากรุณาให้มูลนิธิฯ อยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยชื่อของมูลนิธิอุทกพัฒน์ มาจากค�ำว่า อุทก ซึ่งหมาย ถึง “น�้ำ” และ พัฒน์ มาจากค�ำว่า “พัฒนา” เมื่อน�ำมารวมกันจึงมีความหมายว่า “มูลนิธิเพื่อการพัฒนาเรื่องน�้ำ” ความหมายโดยรวมของเครื่องหมายมูลนิธิ หมายถึง “น�้ำเป็นสิ่งที่ส�ำคัญที่สุดของชีวิต จ�ำเป็นต้องให้ทุกภาคส่วนร่วมกันใน การบริหารและพัฒนา ซึ่งหากจะท�ำได้ก็ต้องมีข้อมูล ความรู้ และความเข้าใจเรื่องน�้ำอย่างเป็นระบบ เพื่อน�ำมาประกอบการตัดสิน ใจบริหารจัดการน�้ำ ทั้งความส�ำเร็จ ความรู้ เทคนิค ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงศึกษา ค้นคว้า พัฒนา และทดลอง เรื่อง น�้ำมาโดยตลอดนับตั้งแต่ทรงครองสิริราชสมบัติ และทรงห่วงใยสถานการณ์น�้ำที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก จ�ำเป็นต้องน�ำมาบันทึก รวบรวม และเผยแพร่ให้ประชาชนใช้เป็นหลักในการแก้ไข พัฒนา บริหารน�้ำของท้องถิ่นและของประเทศต่อไป” ฉบับนี้ IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง มีโอกาสได้พูดคุยกับ ดร.รอยบุญ รัศมีเทศ กรรมการและรองเลขาธิการมูลนิธิ อุทกพัฒน์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ และรองผู้อ�ำนวยการสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน�้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) ถึงแนวคิด และมุมมองเกี่ยวกับงานพัฒนาน�้ำ ซึ่งเป็นเรื่องส�ำคัญของประเทศก็ว่าได้ งานด้านนี้ต้องอาศัยความเพียรและอดทนในการหาข้อมูล รวมถึงท�ำความเข้าใจกับประชาชนทุกภาคส่วนเพื่อผลประโยชน์โดยรวมของประเทศ ค�ำว่า “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ถูกน�ำมาเชื่อม โยงปรับใช้ในการท�ำงาน รวมถึงเรื่องส่วนตัวได้อย่างเกิดผล เรามาท�ำความรู้จัก สัมผัสมุมมอง ผู้อยู่เบื้องหลังการแก้ปัญหาและการ จัดการน�้ำท่านนี้กันเลยดีกว่า ชี วิ ต วั ย เด็ ก จริ ง ๆ แล้ ว เกิ ด ที่ ก รุ ง เทพฯ แต่ คุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ เ ป็ น คนโคราช คุ ณ พ่ อ เป็ น อดี ต เจ้ า กรมจเรทหารบก คุ ณ แม่ เป็นศึกษานิเทศก์ ๙ ต้องเขียนหลักสูตร ปฐมวัย อยู่กับแวดวงการศึกษา ตอนเด็กๆ เรียนกรุงเทพฯ ตลอด ชีวิตอยู่แถวย่านเกษตร คุณพ่อมีลูก ๖ คน ก็เลยวางแผนซื้อที่ดินมาเผื่อลูกๆ จริงๆ เศรษฐกิจพอเพียงได้ถูกถ่ายทอดซึมซับ มานานแล้ว พื้นที่ที่บ้านเป็นสระ มีบัวสาย บัวหลวง บัวประดับทั้งหลาย มีร่องสวน สวนกล้วย สมัยก่อนไม่มีกวดวิชามากมาย เราอยู่กับพี่น้อง คุณแม่ก็คือคุณครูให้ลูกๆ ชอบซื้อหนังสือความรู้รอบตัวให้ลูก แล้ว ให้ เราตั้ ง โจทย์ กั บ พี่ ๆ ตั้ ง โจทย์ ถ ามกั น เรื่องความรู้รอบตัว ที่บ้านจะมีห้องสมุด เล็กๆ ที่ส�ำคัญคือพอเราโตขึ้นมา ตอนนั้น มีแม่บ้านอยู่ ๓ คน คุณแม่ให้เราตื่นตอน ปิดเทอมแต่เช้ามาท�ำความสะอาดบ้าน ตั้งแต่ ๑๐ ขวบเลย คุณแม่ให้เป็นคนคุม เงิน ค่าใช้จ่ายในบ้าน ท�ำให้เราถูกสั่งสม

นิสัยของการจัดการ ตอนแรกเคยรู ้ สึ ก ว่ า ท� ำ ไมเรา ต้ อ งตื่ น ขึ้ น มาทุ ก เช้ า เพื่ อ ท� ำ งานบ้ า น ด้วย แม่บ้านก็มีอยู่แล้ว แต่ตอนนี้ต้อง ขอบพระคุณคุณแม่มากๆ ที่สอนให้เรา เข้ า ใจ แล้ ว คุ ณ แม่ ก็ ใช้ ค� ำ ว่ า ถ้ า เราจะ มาสอนแม่บ้านเขาให้ท�ำอะไร เราต้องรู้ อย่างเราจะสอนเขาท�ำกับข้าว ถ้าเรายัง ไม่รู้กับข้าวใส่อะไรอย่างไรเราจะสอนยัง ไง สอนให้เราคุมเงิน ให้เรารู้ว่ามีเงินเท่านี้ เราจะบริหารของในตู้เย็นเราอย่างไร มัน ก็ถูกปลูกฝัง 28 IS AM ARE www.ariyaplus.com

อย่างเราท�ำพริกแกง ในบ้านเรา มีหมดเลย ไปหาข่า ตะไคร้ อะไรอย่างนี้ แต่ก่อนพอปิดเทอมนานๆ เราจะไม่รู้สึก เบื่อการอยู่บ้าน ก็ไปเอาพืชผักสวนครัวที่ อยู่ในบ้าน ขี้เหล็กก็มี ต�ำลึงก็มี กระถินก็ มี แต่มีอย่างหนึ่งที่คุณพ่อคุณแม่ไม่ให้ คือ ต่อให้เราเลี้ยงปลาในบ้านแต่เราจะไม่กิน ปลาในบ้านที่เลี้ยงเอง อย่างสายบัวก็เก็บ เอา คือชีวิตแบบนี้ไม่น่าเชื่อว่าจะเกิดกับ คนในกรุงเทพฯ เราก็มีความผูกพันกับ สิ่งเหล่านี้


ถวายงานเป็ น เกี ย รติ กั บ ชี วิ ต ตั้ ง แ ต ่ ป ร ะ ถ ม เรี ย น ที่ ส า ธิ ต เกษตรฯ (โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์) รอยบุญกับพี่สาวอีกคน ถัดกันอยู่สาธิตเกษตร มี อาจารย์รอยล (ดร.รอยล จิ ต รดอน) อี ก คนอยู ่ ส าธิ ต ปทุ ม วั น (โรงเรี ย นสาธิ ต มหาวิ ท ยาลั ย ศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน) นอกนั้นอยู่ สาธิตจุฬาฯ (โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย) เรามาอยู่สาธิตเกษตรฯ อยู ่ ใ กล้ บ ้ า นแค่ ข ้ า มซอย จริ ง ๆ ก็ มี ร ถ รับส่งตลอด แต่พอโตขึ้นก็ขออยากเดิน เองเพราะว่ า โตแล้ ว สาธิ ต เกษตรฯ ก็ สอนให้ เราติ ด ดิ น ผั ก ตบที่ อ ยู ่ ใ นคลอง หน้ า โรงเรี ย นเราเก็ บ มาเพาะเห็ ด แล้ ว ก็ มี ป ลู ก ผั ก อะไรต่ า งๆ เหล่ า นี้ เราจะ มี ชี วิ ต อยู ่ กั บ เรื่ อ งเกษตร ทุ ก อย่ า งมั น อยู ่ ใ นระบบเรี ย นรู ้ โ ดยปริ ย าย พอจบ ปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะสั ง คมศาสตร์ ก็ ม าต่ อ ปริ ญ ญาโท ที่ ส หรั ฐ อเมริ ก า เนื่ อ งจากคุ ณ แม่ จ บ ปริ ญ ญาตรี แ ละโทที่ ฟ ลอริ ด ้ า Florida State University จึ ง ให้ ม าต่ อ โทที่ ฟลอริดา้ เรียนคณะนิเทศศาสตร์ และท้าย สุดมาจบปริญญาเอกสาขา Thai study ที่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิทยานิพนธ์ หัวข้อ ชุมชนกับการจัดการแหล่งน�้ำอย่าง ยั่งยืน กรณีศึกษาหมู่บ้านลิ่มทอง อ�ำเภอ นางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ หลังจากเรียนจบปริญญาโท ก็ได้ แต่งงาน คือทางสามีรู้จักกันตั้งแต่เป็น เพื่ อ น ป.๑ ด้ ว ยกั น ก็ ไ ปสนิ ท กั น ตอน ไปเรี ย นสหรั ฐ อเมริ ก า อยู ่ รั ฐ เดี ย วกั น แต่ ค นละเมื อ ง พอกลั บ มาเมื อ งไทย ตอนแรกใจอยากมาท�ำงานเป็นอาจารย์ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ แล้ ว บั ง เอิ ญ ทางคุ ณ พ่ อ เองรู ้ จั ก กั บ ดร.ไสว สุ ท ธิ พิ ทั ก ษ์ เป็ น เจ้ า ของมหาวิ ท ยาลั ย ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ย์ ทางอาจารย์ ไ สวก็ บ อก ให้ ไ ปช่ ว ยงานที่ ค ณะนิ เ ทศศาสตร์ ให้

มาช่ ว ยศู น ย์ นิ เ ทศศาสตร์ พั ฒ นาการ เลยเริ่ ม รู ้ ตั ว เองว่ า จริ ง ๆ แล้ ว สิ่ ง ที่ เรา ชอบคื อ นิ เ ทศศาสตร์ เ พื่ อ การพั ฒ นา พอหลั ง สามี จ บปริ ญ ญาเอก ก็ ก ลั บ มา เมื อ งไทยพร้ อ มกั น และได้ ม าท� ำ งาน ที่ ศู น ย์ พั ฒ นาพาณิ ช ย์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ภายใต้ ศู น ย์ เ ทคโนโลยี อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ และคอมพิ ว เตอร์ แ ห่ ง ชาติ (เนคเทค) ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ปรากฏว่าอยู่ ที่นี่แล้วโชคดีที่ผู้ใหญ่ให้โอกาส คือเราจะ เจอโจทย์ทั้งงานต่างประเทศ งานระดับ นโยบาย และงานระดับชุมชน

จนส�ำเร็จเมื่อปี ๒๕๔๕ พระองค์ท่านก็ รับสั่งให้ตั้งหน่วยงานเป็นองค์กรของรัฐ เพื่อรับผิดชอบงานด้านนี้ ซึ่งทีมวิชาการ ขาดคนมาบริหารจัดการเรื่องตั้งองค์กร ตอนนั้นทีมของรอยบุญที่ท�ำงานชุมชนอยู่ ก็ไปร่วม จนจัดตั้งเป็นองค์การมหาชนได้ ส�ำเร็จ คือ สถาบันสารสนเทศทรัพยากร น�้ ำ และการเกษตร (สสนก.) ภายใต้ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทีนี้ ก็มองว่าพอมีทีมวิทยาศาสตร์ก็มาตอบ โจทย์ประชาชน ตอบโจทย์ชุมชน ก็เดิน งานเรื่องน�้ำชุมชนมาโดยตลอด

ตอนแรกเคยรู ้ สึ ก ว่ า ท� ำ ไมเราต้ อ งตื่ น ขึ้ น มาทุ ก เช้ า เพื่ อ ท� ำ งานบ้ า นด้ ว ย แม่ บ ้ า นก็ มี อ ยู ่ แ ล้ ว แต่ ต อนนี้ ต ้ อ งขอบพระคุ ณ คุ ณ แม่ ม ากๆ ที่ ส อนให้ เราเข้ า ใจ แล้ ว คุ ณ แม่ ก็ ใ ช้ ค� ำ ว่ า ถ้ า เราจะมาสอนแม่ บ ้ า นเขาให้ ท� ำ อะไร เราต้ อ งรู ้ อย่ า งเราจะสอนเขาท� ำ กั บ ข้ า ว ถ้ า เรายั ง ไม่ รู ้ กั บ ข้ า วใส่ อ ะไร อย่ า งไรเราจะสอนยั ง ไง พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงงานแก้ ป ั ญ หาสถานการณ์ น�้ ำ ท่ ว ม ปี ๒๕๓๘ ด้ ว ยพระองค์ เ อง ทรงเห็ น ปัญหาเรื่องข้อมูลน�้ำที่ขาดการบูรณาการ พระองค์ท่านมีพระราชด�ำริว่า อยากน�ำ เทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้แก้ปัญหาน�้ำท่วม น�้ำแล้งในเมืองไทย ทางทีมอาจารย์รอยล ก็ได้เข้ามาพัฒนาระบบบูรณาการข้อมูล เจ้าพระยาตอนล่างกับหลายหน่วยงาน 29 issue 94 november 2015

ตั้ ง แต่ เ ด็ ก เห็ น คุ ณ พ่ อ สวดมนต์ ประจ� ำ คุ ณ พ่ อ บอกว่ า สวดมนต์ ถึ ง ในหลวงแล้วคุณแม่ก็บอกมันเป็นเกียรติ ของชีวิตนะได้มาท�ำงานถวาย ไม่คิดว่า เป็นภาระแต่คิดว่าเป็นโอกาส เราได้เห็น มุมมองของทั้งต่างประเทศกับต่างจังหวัด ท�ำให้เรามองออกว่าโจทย์บางอย่างจะให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือการถ่ายทอดให้ คนเข้าใจมันเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ เพราะ


เข้ า ใจ เข้ า ถึ ง พั ฒ นา ท้ายที่สุดค�ำว่า อุทกพัฒน์ ที่พระองค์ท่านพระราชทาน ให้กับประชาชนคนไทย ค�ำนี้จริงๆ เอาไปประยุกต์ใช้ได้ “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ทุกคนก็อาจฟังแล้วคุ้นเคยแต่ท้ายที่สุดมันคือ ค�ำที่ประยุกต์ใช้ได้ทุกเรื่อง ท่านสุเมธบอกว่ามันคือการเข้าใจ น�้ำ เข้าถึงน�้ำ พัฒนาน�้ำ เข้าใจน�้ำหมายถึงก่อนที่เราจะท�ำเรื่อง น�้ำไม่ใช่เราบอกจะท�ำอย่างนั้นอย่างนี้ เราต้องมีข้อมูลหมด เรา ต้องมีข้อมูลเชิงพื้นที่หมด ไม่ใช่เรามองโครงสร้างเดียวเป็นค�ำ ตอบทุกอย่าง มันต้องมีเหตุและผล อะไรคือสาเหตุของปัญหา เรามีมุมมองหลายมุมมากเลย แล้วก็มองว่าท้ายที่สุดก็เอาเรื่อง อะไรคือทางแก้ แล้วใช้แผนที่ให้เป็นประโยชน์ พระองค์ท่าน นี้มาท�ำเป็นเรื่องเป็นราว ต้องมีสารสนเทศเกษตร แล้วพอตอน ทรงงานโดยใช้แผนที่ แล้วก็ใช้ผังน�้ำดูทิศทางน�้ำไหลไปทางไหน หลังมีโปรเจคส�ำคัญๆ ใหญ่ๆ ทั้งหลายที่ผู้ใหญ่ให้โจทย์ยากๆ มา เชื่อมโยงอะไร แล้วในขณะเดียวกันท�ำตารางจัดเก็บข้อมูลว่า เสมอ ต้องท�ำให้ส�ำเร็จ จะเดินงานกันยังไง ตารางว่าแหล่งน�้ำโครงสร้างน�้ำที่มีอยู่ต้อง ปรับแก้ สิ่งที่พระองค์ท่านทรงมองทั้งกรอบคิดและกรอบงาน การจั ด การน�้ ำ โอกาสร่ ว มกั น มีคุณค่ามาก คือท้ายที่สุดความมั่นคงทางทรัพยากรมันเป็นค�ำ ถ้ า ทุ ก คนมองวิ ก ฤตเป็ น โอกาสด้ ว ยกั น แล้ ว ทุ ก คน ตอบของทุกอย่าง ถ้ามั่นคงในทรัพยากร เขาจะมั่นคงในชีวิต ชนะหมด อย่างเรื่องแก้มลิงสมุทรสาคร เป็นโจทย์ที่พระองค์ท่าน เพราะว่าถ้าน�้ำกับทรัพยากรไม่มั่นคง ไม่มีทางที่จะไปต่อยอด มีพระราชด�ำริกับท่านสุเมธ (ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล) และอาจารย์ เรื่องอื่นๆ ได้เลย รอยล บริ เวณนี้ ทั้ งนิคมอุต สาหกรรม หมู่บ ้าน สนามกอล์ ฟ ถ้ า เกิ ด เรามองแบบชนะกั น หมด สนามกอล์ ฟ ได้ น�้ ำ ดี ไ ม่ ต ้ อ ง ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง ท รั พ ย า ก ร มั น เ ป ็ น ค� ำ ต อ บ ข อ ง ซื้อน�้ำ แต่ให้พื้นที่เขาเป็นแก้มลิง คุยกันเลยว่าเวลาน�้ำมาเยอะ ทุ ก อย่ า ง ถ้ า มั่ น คงในทรั พ ยากร เขาจะมั่ น คงในชี วิ ต ผันเข้าไปได้เท่าไหร่ เขาก็บอกผันเพิ่มเข้าไปได้เลย ๖ แสน เพราะว่ า ถ้ า น�้ ำ กั บ ทรั พ ยากรไม่ มั่ น คง ไม่ มี ท างที่ จ ะไป ลูกบาศก์เมตร แล้วก็ทางหมู่บ้านจัดสรรเอาแผนที่มาดู คุณฟื้น ต่ อ ยอดเรื่ อ งอื่ น ๆ ได้ เ ลย คลองตรงนี้ได้ไหม ในขณะเดียวกันนิคมอุตสาหกรรมสต็อกน�้ำไว้ ได้ไหม คุณจะได้ไม่ขาดน�้ำ แล้วท�ำประตูเสริม ผันน�้ำเข้าออกได้ เรี ย นรู ้ กั บ ชาวบ้ า น ไม่ ใ ช่ เ ข้ า ไปสอน ที่ เ ราจะท� ำ ให้ เขาได้ คื อ สร้ า งตั ว อย่ า งความส� ำ เร็ จ อย่างนี้เราก็ไม่ต้องมาลงทุนมากมายแล้ว ส่วนหนึ่งพระองค์ ท่านก็พระราชทานเงินมา อันนี้ก็มาแก้เติมประตูเติมอะไรนิด พอสร้ า งตั ว อย่ า งความส� ำ เร็ จ หลายกรณี ที่ มี ลั ก ษณะ หน่อย แล้วก็ภาคเอกชนที่มีร้านค้าก็ท�ำแก้มลิงของตัวเอง อย่าง คล้ า ยๆ กั น แล้ ว เราพาเขามาเจอกั น บางที่ อ ย่ า งชาวเขาที่ โรงเรียนอัสสัมชัญเองก็มาปรับผังกันใหม่ ท�ำคลองที่สมุทรสาคร อ�ำเภอกัลยาณิวัฒนาเขาเรียนรู้เรื่องการใช้แผนที่ ปรากฏเขา พอตั้งโรงเรียนก็ท�ำคลองล้อมโรงเรียนเลย ถ้าทุกคนมาคิดแล้วก็ ไปท�ำส�ำเร็จทั้งอ�ำเภอ แต่เราเห็นชุมชนบางคน เดิมเขาเรียน รู้แต่ในห้อง เราจัดใหม่ไปเรียนรู้ที่ป่าเลย ให้เห็นว่าชาวเขายัง ปรับกันใหม่มันก็ไม่มีปัญหา ปี ๒๕๕๔ อาจารย์ ร อยลให้ รั บ ผิ ด ชอบโครงการ ท�ำได้ เวลาเราไปลงพื้นที่ไม่ใช่เราไปสอนชาวบ้าน แต่ให้เรา เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ขอให้รอยบุญรับผิดชอบโครงการ จัดการน�้ำชุมชนเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้ง น�้ำท่วม ในพื้นที่นอกเขต เรียนรู้กับเขา พอเราเรียนรู้แล้วเราจะเข้าใจถึงบริบทและความ ชลประทาน โดยชุมชนอย่างยั่งยืน ๘๔ แห่ง น�ำแนวคิดของ เป็นมาของพื้นที่ด้วย แล้วบางอย่างเอาสิ่งที่เรามีอยู่กับข้อเท็จ พระองค์ท่านไปประยุกต์ใช้เรื่องการจัดการน�้ำ สรุปเป็นเนื้อหา จริ ง มาเรี ย นรู ้ แ ล้ ว ก็ ม าปรั บ ด้ ว ยกั น จะเป็ น ค� ำ ตอบให้ สั ง คม ว่าเราจะต้องเดินยังไง วิเคราะห์ยังไง แต่มันยังไม่เห็นผลเป็นรูป เพราะค�ำว่า “เข้าใจ” ของพระองค์ท่านก็คือ เรามีข้อมูลข้อ ธรรมเท่าที่ควร จากประสบการณ์ที่ผ่านมา เลยมาจัดระบบใหม่ เท็จจริงที่มีค�ำตอบว่าจะท�ำอะไร ข้อมูลข้อเท็จจริงนั้นก็มาจาก คนในพื้นที่เก็บรวบรวมเองแล้ววิเคราะห์ตนเองจนมาถึงค�ำว่า มองทั้งระบบเลย 30 IS AM ARE www.ariyaplus.com


การท� ำ งานต้ อ งไม่ ท� ำ ให้ ค นอื่ น เดื อ ดร้ อ น เพราะ สั ง คมทุ ก วั น นี้ น ่ า กลั ว เราแข่ ง กั น ท� ำ ดี ไ ด้ ไ หม แทนที่ จะกลายเป็ น สั ง คมที่ ใ ห้ ร ้ า ยกั น ชาวบ้ า นเราเวลาเขา ไลน์ ม าเขาโชว์ ผ ลงานกั น เขาแข่ ง กั น ท� ำ ดี น ะ แล้ ว มั น น่ า รั ก กว่ า เยอะเลย 31 issue 94 november 2015


“เข้าถึง” ก็คือการมีส่วนร่วมที่จะคิด ท�ำ แล้วแก้ด้วยกันภายในพื้นที่ของเขา ท้าย ที่สุดมันก็จะเกิดการ “พัฒนา” คน กับ พัฒนาเชิงพื้นที่ทั้งเรื่องน�้ำและคน การพั ฒ นา รู ้ แ ล้ ว ต้ อ งขยายผล เมื่ อ ครั้ ง เข้ า เฝ้าฯ ปี ๒๕๕๔ ที่ อาคารเฉลิ ม พระเกี ย รติ โรงพยาบาล ศิ ริ ร าช พระองค์ ท ่ า นมี พ ระราชด� ำ ริ การจั ด การน�้ ำ ชุ ม ชนนั้ น เห็ น ความ ส� ำ เร็ จ ในบางชุ ม ชนแล้ ว ให้ ชุ ม ชนชาว บ้ า นที่ มี ค วามรู ้ ประสบความส� ำ เร็ จ

มี ป ระสบการณ์ จั ด การและพั ฒ นา น�้ ำ ในพื้ น ที่ มาช่ ว ยกั น ขยายผลไปยั ง ชุมชนอื่น สสนก. จะเน้นเรื่องการใช้ข้อมูล วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ประยุกต์ใช้กับ ชุมชนทีม่ ศี กั ยภาพ ส่วนมูลนิธอิ ทุ กพัฒน์ฯ ก็เป็นชุมชนที่มองเรื่องการขยายผลกับ เรื่องการร่วมมือกับเอกชนหรือหน่วยงาน ต่างๆ ในพื้นที่วิกฤต ท�ำร่วมกับกองทัพ บก แล้วพอมีอุทกพัฒน์ค�ำหนึ่งที่เกิดก็คือ “เครือข่ายลุ่มน�้ำตามแนวพระราชด�ำริ” ซึ่งอันนี้จะมีค่ามากส�ำหรับภาคประชาชน 32 IS AM ARE www.ariyaplus.com

มันเหมือนเป็นความผูกพัน คือกลุ่มเรา เขาไม่ย�่ำอยู่กับที่ คือการท�ำโครงการไม่ได้ อยู่หมู่บ้านเดียวทุกปีต้องมีการขยายผล คุยกันแต่แรกเลยว่าถ้าจะเดินกับเราต้อง ขยายผล ตอนนี้มี ๖๐ แกนน�ำเครือข่าย แล้วก็ขยายผลไปได้ ๔๒๑ ชุมชน อย่างที่บุรีรัมย์เราไปเริ่มตั้งแต่เขา คิดที่จะเริ่มบริหารน�้ำเลย ตั้งแต่ ๓,๗๐๐ ไร่ ตอนนี้เกือบ ๕ ต�ำบล ตั้งแต่เริ่มงานมา เป็น ๑๐ ปี การเดินงานแบบนี้ไม่ใช่เรื่อง ง่าย อย่างคลองรังสิต ปี ๕๔ ปรากฏว่า คลองรังสิตเอง ถ้าท้องถิ่นกับประชาชน เข้าใจสามารถเดินงานแล้วจะเห็นได้ว่า ตรงคลองรั ง สิ ต คลองชลประทานแล้ง แต่ ใ นพื้ น ที่ เ กษตรกรไม่ ป ระสบปั ญ หา แล้ง ก็เขาท�ำสวนปาล์มร่องสวนลึกเลย เป็ น พื้ น ที่ ส วนปาล์ ม ที่ ร ายได้ ดี ที่ สุ ด ใน ประเทศ ที่ บุ รี รั ม ย์ อย่ า งที่ อ ยากยก ตั ว อย่ า งว่ า เรามองโครงสร้ า งน�้ำ เข้ า ไป ในพื้ น ที่ จ ริ ง แต่ ใ ห้ แ นวคิ ด ในการปรั บ เปลี่ ย นทฤษฏี ใ หม่ ใ นเชิ ง พื้ น ที่ เขาด้ ว ย


คือทฤษฏีใหม่ก็มองในเรื่องเกษตรผสมผสานสัดส่วนของน�้ำให้ เหมาะกับพื้นที่ในการเพาะปลูก และมองเรื่องความมั่งคงทาง อาหาร ตรงนี้เองท�ำได้ ๒ ปี บางที่ ๑ ปี เขาลดรายจ่ายเพิ่มราย ได้ชัดเจน แต่ก่อนเป็นไร่มันอย่างเดียว แต่ไม่ใช่ไร่มันเขายกเลิก ไร่นาเขาก็มีแต่ว่าปรากฏสัดส่วนน�้ำมากขึ้น ผลผลิตพืชไร่ก็มาก ขึ้น แต่ในขณะเดียวกันเขาเพิ่มพืชอย่างอื่นเข้าไป สอนลู ก ด้ ว ยงาน มีลูกสาวสองคนค่ะ โตแล้ว ตอนนี้คนโตอยู่ที่อังกฤษ ตอนปิ ด เทอมก็ ม าเป็ น จิ ต อาสาช่ ว ยงานมู ล นิ ธิ อุ ท กพั ฒ น์ ฯ พยายามให้ลูกเข้าใจงานแม่ แล้วเขาก็จะเป็นเด็กดี คนโตอีกหนึ่ง ปีจะจบปริญญาตรี คนเล็กอยู่ ม.๕ ไปเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยน ที่สหรัฐอเมริกา ที่เห็นชัดๆ ดีใจอย่างหนึ่งว่าการที่เราท�ำงาน ตรงนี้บางทีลูกก็มีน้อยใจ ตั้งค�ำถามเหมือนกัน แต่สิ่งที่ตามมา ก็คือถ้าเราไปท�ำเสาร์อาทิตย์เราก็พาไปด้วย อย่างงานเยาวชน ก็ให้เขามาท�ำวิจัยงานแม่เลย แล้วก็มาช่วยงานแม่เลย สิ่งที่เขา เห็นเขาก็จะซึมซับไปเอง เคยเห็นเขาตั้งแต่เล็กๆ เขียนเรียงความ แอบไปเจอเขียนวันแม่ว่าคุณแม่ชอบช่วยชาวบ้านไม่ค่อยมีเวลา ไปต่างจังหวัด เวลาเขาไปแลกเปลี่ยนเขาก็ไปสมัครอะไรของ เขาเอง เขาแค่โทรมาบอกว่า ทะเบียนบ้านอยู่ไหนอะไรอยู่ไหน แล้วไปสมัครเอง

ท�ำก็ได้ประโยชน์กับตัวเราและสังคม ท�ำไมไม่ท�ำ นี่คือสิ่งที่จะ ถ่ายทอด ส่วนเรื่องสิ่งแวดล้อมเรื่องอะไรมันเป็นสิ่งที่เอาไปใช้ ถึงบอกว่าเยาวชนที่เข้ามาเห็นชัดเลยว่าการที่เราไปเติมเต็มให้ เขาเปลี่ยนแปลงท�ำให้เขามีพลัง การท�ำงานต้องไม่ท�ำให้คนอื่นเดือดร้อน เพราะสังคม ทุ ก วั น นี้ น ่ า กลั ว เราแข่ ง กั น ท� ำ ดี ไ ด้ ไ หม แทนที่ จ ะกลายเป็ น สังคมที่ให้ร้ายกัน ชาวบ้านเราเวลาเขาไลน์มาเขาโชว์ผลงานกัน เขาแข่งกันท�ำดีนะ แล้วมันน่ารักกว่าเยอะเลย

ค� ำ ว่ า “เทิ ด ด้ ว ยท� ำ ” มี ค ่ า มาก หากน� ำ กรอบคิ ด ของ พระองค์ ท ่ า นมาใช้ จ ริ ง ในชี วิ ต คนที่ ไ ด้ ป ระโยชน์ คื อ สั ง คมกั บ ตั ว เราอยู ่ แ ล้ ว แล้ ว ท� ำ ไมเราไม่ ท� ำ เพราะ ฉะนั้ น การเทิ ด พระเกี ย รติ พ ระองค์ ท ่ า นไม่ ใ ช่ เ ราบอก อย่ า งเดี ย ว ถ้ า เราช่ ว ยกั น ท� ำ มั น ก็ ไ ด้ ป ระโยชน์ กั บ ตั ว เราและสั ง คม ท� ำ ไมไม่ ท� ำ นี่ คื อ สิ่ ง ที่ จ ะถ่ า ยทอด

รู ้ ก ่ อ นท� ำ หั ว ใจของความส� ำ เร็ จ ที่ ชั ด เจนที่ เ ดิ น กั น ต่ อ เนื่ อ งก็ คื อ เราจะวิ เ คราะห์ แต่ละปีเราจะวิเคราะห์ให้หลังจากปีน�้ำท่วม พื้นที่วิกฤตควร จะฟื้นยังไง ตอนนี้มีกองทัพบกร่วมแล้ว ก็เริ่มจะมีกองทัพไทย มาร่วมด้วย มันต่างกัน ไม่ใช่ไปพัฒนาโครงสร้างเฉยๆ เราต้อง ให้ชาวบ้านสรุปพื้นที่ก่อน ถ้ายังสรุปไม่ได้เราก็ไม่เดิน เราต้อง วิเคราะห์ด้วยกันก่อนว่าหน้างานต้องท�ำยังไง เราจะมองหมด ว่าน�้ำเข้ายังไงน�้ำออกยังไง ไปจ่ายส�ำรองยังไง กว่าจะท�ำได้ราย ละเอียดเยอะมาก

ท�ำงานอะไรก็จะให้ลูกเรียนรู้งานเราด้วย พาไปดูงานเรา ลูกเห็นไหมอะไรอย่างนี้ก็จะพาไป เวลาไปบุรีรัมย์แต่ก่อนขับรถ ไปก็ไปปล่อยไว้กับคนในชุมชน พาน้องไปดูแล้วก็บรรยายให้ น้องฟังเลยใช้วิธีอย่างนี้ เลี้ยงลูกให้เขาเข้าใจว่าแม่ท�ำอะไรอยู่ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา คือค�ำที่ใช้ได้กับชีวิต ถ้าลูกเข้าใจเราเค้าก็ จะเข้าถึงจิตใจในที่แม่ท�ำ แล้วความรักความผูกพันก็จะพัฒนา ต่อเนื่องไม่มีปัญหา เพราะว่าท้ายที่สุดค�ำว่า “เทิดด้วยท�ำ” มีค่ามาก หากน�ำ กรอบคิดของพระองค์ท่านมาใช้จริงในชีวิต คนที่ได้ประโยชน์คือ สังคมกับตัวเราอยู่แล้ว แล้วท�ำไมเราไม่ท�ำ เพราะฉะนั้นการเทิด พระเกียรติพระองค์ท่านไม่ใช่เราบอกอย่างเดียว ถ้าเราช่วยกัน

พึ่ ง ตนเอง สร้ า งสรรค์ สั ง คมได้ ท�ำงานพัฒนาต้องให้โจทย์ชุมชน ช่วยให้เขาพึ่งตนเองได้ ก็เหมือนเราเลีย้ งลูก หลายๆ คนถามรอยบุญว่ามีลกู สาวไม่หว่ งเห รอ ปรากฏว่าเด็กสองคนนี้เขาเก่งบัลเล่ เตะสูงอยู่เนอะ (หัวเราะ) ป้องกันตัวเองได้ ที่เหลือใช้แรงเข้าไปลูก คือป้องกันตัวเองได้ 33

issue 94 november 2015


แล้วมาหาค�ำตอบจริงๆ ท�ำจริงๆ แค่โครงสร้างที่มีอยู่ให้ใช้งาน ได้แล้วจัดการได้ก็จะได้ผลขึ้นเยอะ ถ้าเราเอาเงินเป็นตัวตั้งแก้ ปัญหาทุกเรื่องมันไม่ใช่ค�ำตอบ แต่กับการที่เดินกับประชาชน ส�ำเร็จปรากฏว่าเขาวิเคราะห์ตัวเองได้แล้ว เกิดแผนของตัวเอง ขึ้นมาว่า ถ้าเรื่องน�้ำอะไรเป็นความส�ำคัญที่ควรจะท�ำ แล้วเขา ควรจะปรับตัวอย่างไร แล้วก็จะมีความสุขร่วมกันในที่สุด

กับอีกอย่างหนึ่งค�ำว่าพึ่งตัวเองเป็นเรื่องแรกๆ ที่พระองค์ท่านมี พระราชประสงค์ที่จะเห็นพสกนิกรชาวไทย ไม่ใช่ไปพึ่งพาระบบ รัฐหรือว่ามองว่าเป็นหน้าที่ใคร แล้วอันนี้ส่วนมากจะเป็นโจทย์ มากกว่า ถ้าอยากท�ำคุณต้องสรุปตัวเองให้ได้ คุณต้องมีข้อมูล คุณต้องหาคอนเน็คชั่น อันนี้เป็นแรงผลักแข่งกันท�ำดีเหมือนชาว บ้านเราพูดว่าเราเอาตัวอย่างขึ้นไปบนเวที เขาบอกปีหน้าผมต้อง ขึ้นไปอยู่บนนั้นนะอาจารย์ สังคมโวยวายมันต้องเลิกแล้ว เอะอะ ก็ประท้วงกัน ไม่ใช่ มันต้องสร้างสรรค์แล้วค่ะ ท� ำ จนกว่ า จะตาย ท่านสุเมธท่านเคยพูดไม่ให้เราท้อ หากเราท้อชาวบ้านยิ่ง หนัก ต้องเดินต่อเพราะงานอย่างนี้ไม่มีที่สิ้นสุดจนกว่าเราจะตาย หากคนไทยน�ำกรอบคิดกรอบงานพระองค์ท่านมาปฏิบัติ เป็น วิธีที่ดีที่สุดแล้ว อย่างต่างชาติเขาไปดูคลองรังสิตกับเราด้วย เขาบอกว่าแนวทางเรามันเป็นค�ำตอบ ไม่ใช่แค่ภายในประเทศ แนวทางของพระองค์ท่านเป็นค�ำตอบของทุกที่ทั่วโลกด้วยซ�้ำ แต่ประเทศเราไม่น่าจะเจอปัญหาแล้ว อันนี้ก็อยากฝากว่า อยาก ให้คนไทยเข้าใจบ้านตัวเอง เข้าใจภูมิสังคมของเราเองดีกว่าไหม 34 IS AM ARE www.ariyaplus.com


35 issue 94 november 2015


สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ทรงเปิ ดงาน

“เทศกาลน�้ำมันเมล็ดชา ภัทรพัฒน์” โดยมู ลนิธิชัยพัฒนา ณ ศูนย์การค้าสยามพารากอน

วั น ที่ 31 ตุ ล าคม 2558 เวลา ประมาณ 14.00 น. สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เสด็ จ พระราชด�ำเนินมายังชั้น 3 ศูนย์การค้า สยามพารากอน กรุงเทพฯ เพื่อทรงเปิด งาน “เทศกาลน�้ำมันเมล็ดชา ภัทรพัฒน์” โดยมูลนิธิชัยพัฒนา โดยมีคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ส�ำนักงานมูลนิธิชัยพัฒนา ผู ้ บ ริ ห ารศู น ย์ ก ารค้ า สยามพารากอน ร้ า นค้ า ที่ ร ่ ว มโครงการ และผู ้ ร ่ ว มงาน เฝ้าฯ รับเสด็จฯ ในการนี้ เลขาธิ ก ารมู ล นิ ธิ ชั ย

พัฒนา นายสุเมธ ตันติเวชกุล ได้กราบ บังคมทูลฯ ถึงวัตถุประสงค์ของการจัด งานเทศกาลน�้ ำ มั น เมล็ ด ชา ภั ท รพั ฒ น์ ในครั้ ง นี้ ด้ ว ยเพื่ อ เป็ น การสนองพระ ราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รวมถึงเพื่อเป็นการ ประชาสั ม พั น ธ์ ถึ ง คุ ณ ประโยชน์ ข อง “น�้ ำ มั น เมล็ ด ชา” ออกสู ่ ส าธารณชน ต่ อ มา นายลลิ ต ถนอมสิ ง ห์ ผู ้ ช ่ ว ย เลขาธิ ก ารส� ำ นั ก งานมู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา กราบบังคมทูลเบิกผู้ให้การสนับสนุนการ ด�ำเนินงานและร้านอาหารที่ร่วมกิจกรรม 36 IS AM ARE www.ariyaplus.com

ในครั้งนี้ เข้ารับพระราชทานเหรียญและ ของที่ระลึก จากนั้ น สมเด็ จ พระเทพรั ต น ราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ได้ พระราชทานเรื่องเล่า เกร็ดประวัติของ น�้ ำ มั น เมล็ ด ชาแก่ ผู ้ ร ่ ว มงาน และทรง พระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ พระราชทาน สู ต รอาหารที่ มี น�้ ำ มั น เมล็ ด ชาเป็ น ส่ ว น ประกอบ ได้แก่ ผัดเห็ดและผัดฟักทอง พร้ อ มทรงสาธิ ต การปรุ ง อาหารทั้ ง สอง เมนู โอกาสนี้ได้ทรงจ�ำหน่ายน�้ำมันเมล็ด ชาแก่ผู้ร่วมงาน พร้อมทอดพระเนตรและ


ทรงชิมอาหารของร้านอาหารที่เข้าร่วม “เทศกาลน�้ำมันเมล็ดชา ภัทรพัฒน์” โดย มูลนิธิชัยพัฒนา นอกจากนี้ ภายในงานได้มีการจัด แสดงนิทรรศการ “น�้ำมันเมล็ดชา” ซึ่ง เป็นหนึ่งในพระราชด�ำริที่พระราชทานให้ ส�ำนักงานมูลนิธิชัยพัฒนา น�ำเมล็ดพันธุ์ ต้นชาน�้ำมันจากสาธารณรัฐประชาชนจีน มาศึกษาและทดลองปลูกในประเทศไทย เพื่อเป็นการสร้างองค์ความรู้ สร้างอาชีพ สร้างรายได้ และกระตุ้นให้คนไทยใส่ใจ ในสุขภาพ เหนือสิ่งอื่นใดยังเป็นการเพิ่ม พื้ น ที่ ป ่ า และรั ก ษาระบบนิ เวศป่ า ไม้ ใ น พื้นที่ภาคเหนืออีกด้วย น�้ ำ มั น เมล็ ด ชา ผลผลิ ต จาก แนวพระราชด� ำ ริ ข องสมเด็ จ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ พระราชทานพระราชด�ำริในปี พ.ศ.2547 ให้ส�ำนักงานมูลนิธิชัยพัฒนา ด�ำเนินการ ศึกษาและทดลองปลูกต้นชาน�้ำมันสาย พันธุ์ Camellia oleifera จากสาธารณรัฐ ประชาชนจีน จากนั้นมีพระราชด�ำริให้ จัดตั้ง ศูนย์วิจัยและพัฒนาชาน�้ำมันและ พื ช น�้ ำ มั น เพื่ อ เป็ น โรงงานผลิ ต น�้ ำ มั น จากเมล็ดชาและพืชน�้ำมันชนิดอื่นๆ ซึ่ง โรงงานแห่ ง นี้ จ ะผลิ ต น�้ ำ มั น คุ ณ ภาพสู ง ส� ำ หรั บ การบริ โ ภคและน� ำ ไปเป็ น ส่ ว น ประกอบของผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องอื่นๆ เช่น เครื่องส�ำอาง เป็นต้น การศึ ก ษาและทดลองปลู ก ต้ น ชาน�้ำมัน ได้เริ่มด�ำเนินการในเขตพื้นที่ โครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ เ ป็ น แห่ ง แรก ก่อนที่จะขยายไปในพื้นที่บริเวณใกล้ เคียง ปัจจุบันเป็นพื้นที่มากกว่า 3,600 ไร่ คิดเป็นต้นชาน�้ำมันเกือบ 1 ล้านต้น ถือเป็นการฟื้นฟูสภาพป่าเสื่อมโทรมและ เป็นการทดแทนป่าไม้ที่ถูกท�ำลาย ขณะ เดียวกันสามารถสร้างรายได้ให้แก่ราษฎร ในพื้นที่ รวมถึงสร้างความตระหนักรู้ถึง

คุณประโยชน์ของการดูแลรักษาป่า และ สามารถอยู่ร่วมกับป่าได้อย่างเข้าใจและ พึ่ ง พิ ง กั น ซึ่ ง เป็ น ไปตามพระราชด� ำ ริ “คนอยู่ร่วมกับป่า” ของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว อันจะน�ำไปสู่วิถีแห่งความ สุข ความสมดุล และความยั่งยืนในที่สุด ในส่วนของน�้ำมันเมล็ดชานั้นเป็น ที่รู้จักในประเทศจีนนานกว่า 1,000 ปี มี ประโยชน์มากมายจนได้ชื่อว่าเป็น น�้ำมัน มะกอกแห่งโลกตะวันออก เนื่องจากมี องค์ประกอบของไขมันที่ดีต่อร่างกายไม่ ด้อยไปกว่าน�้ำมันมะกอก และไม่มีกรด ไขมันทรานส์ ซึ่งท�ำให้ร่างกายสามารถ ดู ด ซึ ม วิ ต ามิ น เอ ดี อี เค ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ นอกจากนี้น�้ำมันเมล็ดชา ประกอบไปด้ ว ยกรดไขมั น ไม่ อิ่ ม ตั ว สู ง ช่วยป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดตีบตัน อัมพาต ความดันโลหิต เบาหวาน และ โรคหัวใจ นอกจากนี้ยังอุดมไปด้วยสาร ต้านอนุมูลอิสระ และสารคาเทชิน ซึ่ ง ช่ ว ยยื ด อายุ ก ารใช้ ง านของ น�้ ำ มั น ให้ น านขึ้ น อี ก ทั้ ง น�้ ำ มั น เมล็ ด ชา มี จุ ด เกิ ด ควั น ที่ สู ง มากกว่ า 250 องศา เซลเซียส จึงท�ำให้สามารถน�ำมาประกอบ อาหารได้หลากหลายวิธี ไม่ว่าจะเป็นทอด ผัด หมักหรือใช้เป็นส่วนผสมของน�้ำสลัด น�ำ้ มันเมล็ดชาถือเป็นน�ำ้ มันทีด่ ตี อ่ สุขภาพ ของคนทุกเพศทุกวัย รวมถึงผู้ที่มีภาวะ น�้ำหนักเกิน สตรีมีครรภ์ และผู้สูงอายุ ปัจจุบันน�้ำมันเมล็ดชา ได้รับการรับรอง คุ ณ ภาพมาตรฐานจากองค์ ก ารอาหาร และยา และมูลนิธิโรคหัวใจได้อนุญาต ให้ใช้ตราสัญลักษณ์ “อาหารรักษ์หัวใจ” ในสินค้าน�้ำมันเมล็ดชา ภายใต้ตราสินค้า ภัทรพัฒน์ “ เ ท ศ ก า ล น�้ ำ มั น เ ม ล็ ด ช า ภัทรพัฒน์” จัดให้มีขึ้นระหว่างวันที่ 31 ตุลาคม – 2 พฤศจิกายน 2558 ณ ชั้น 3 ศูนย์การค้าสยามพารากอน โดยภายใน งานสามารถซื้อน�้ำมันเมล็ดชาได้ในราคา 37 issue 94 november 2015

พิ เ ศษคื อ จากปกติ ข วดละ 200 บาท เหลือเพียง 159 บาท เมื่อซื้อ 2 ขวด รับ ฟรี เข็ ม กลั ด ดอกชาน�้ ำ มั น และหากซื้ อ 3 ขวด เหลือเพียง 450 บาทพร้อมรับ หนังสือ 6 เมนูพระราชทาน 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี นอกจากนี้ยังสามารถเลือกซื้อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ่ า งๆที่ มี น�้ ำ มั น เมล็ ด ชาเป็ น ส่วนประกอบได้ในราคาสุดพิเศษ พร้อม ร่วมชิมและชมการสาธิตการปรุงอาหาร ด้ ว ยน�้ ำ มั น เมล็ ด ชาจากเชฟชื่อดัง อาทิ หม่ อ มหลวงขวั ญ ทิ พ ย์ เทวกุ ล คุ ณ พล ตัณฑเสถียร รวมถึงนักโภชนาการ และ เซเลบริตี้แถวหน้าของเมืองไทย ที่จะสลับ สับเปลี่ยนหมุนเวียนมาประกอบอาหาร และให้ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ น�้ ำ มั น เมล็ ด ชา ไม่เพียงเท่านั้นยังได้รับเกียรติจากร้าน อาหารชื่อดังภายในศูนย์การค้าสยามพา รากอน อาทิ ร้านเนื้อคู่ ร้านตะลิงปลิง ร้ า นคาเฟ่ ชิ ล ลี่ ร้ า นวานิ ล าคาเฟ่ ร้ า น Coffee Beans by Dao ร้านวีรสุ และ Gourmet Market ในการน� ำ น�้ ำ มั น เมล็ดชาเข้าเป็นส่วนหนึ่งในการประกอบ อาหารภายในร้านอีกด้วย ผู ้ ส นใจนอกจากจะสามารถซื้ อ น�้ำมันเมล็ดชาได้ภายในงาน “เทศกาล น�้ ำ มั น เมล็ ด ชา ภั ท รพั ฒ น์ ” แล้ ว ยั ง สามารถซื้ อ ได้ ท่ี ร ้ า นภั ท รพั ฒ น์ ท้ั ง 5 สาขา คื อ สาขาสนามเสื อ ป่ า สาขา พระราม 8 สาขาพระราม 9 (ตึก อสมท.) สาขาโรงพยาบาลจุ ฬ าลงกรณ์ และ สาขาเดอะพาซิ โ อทาวน์ นอกจากนี้ ยั ง ได้ ว างจ� ำ หน่ า ยภายในห้ า งสรรพสิ น ค้ า เดอะมอลล์ เซ็นทรัล บิ๊กซีซูเปอร์เซ็นเตอร์ โครงการพัฒนาดอยตุง อันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ จังหวัดเชียงราย โครงการ ส่วนพระองค์สวนจิตรลดา โกลเด้นเพลซ ร้านภูฟ้า ร้านดอยค�ำ ร้านวีรสุ และ ร้าน S&P (สาขาในโรงพยาบาล)


38 IS AM ARE www.ariyaplus.com


39 issue 94 november 2015


สภาพแวดล้อม

ต� ำ บลกุ ด ดิ น จี่ อ� ำ เภอนากลาง จั ง หวั ด หนองบั ว ล� ำ ภู เป็นชุมชนที่มีวิถีการด�ำเนินชีวิตกึ่งเมืองกึ่งชนบทมีลักษณะภูมิ นิเวศเป็นที่ราบ สันดอน และใกล้ภูเขา ด้วยพื้นที่ที่มีทั้งแหล่ง น�้ำที่เกิดจากธรรมชาติ อย่างกับการท�ำการเกษตร ชาวบ้าน ส่วนใหญ่จึงประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก คือ การท�ำนา ท�ำไร่อ้อยและไร่มันส�ำปะหลัง ส่วนในเขตเทศบาลจะประกอบ อาชีพค้าขาย เช่นขายของช�ำ เสริมสวย ขายอาหารและเครื่อง ดื่ม เป็นต้น ต�ำบลกุดดินจี่เป็นต�ำบลที่อยู่ห่างจากตัวอ�ำเภอไม่ไกล นัก ประมาณ 18 กิโลเมตร มีประชากรกว่า 10,000 คน จาก เดิมเคยประสบปัญหาการปลูกพืชเศรษฐกิจเชิงเดี่ยว และได้รับ ผลกระทบจากการใช้ปุ๋ยเคมีและยาก�ำจัดศัตรูพืช รวมถึงปัญหา ขาดทุนจากผลผลิตทางการเกษตร ท�ำให้เกิดปัญหาต่างๆใน สังคมตามมา จนกระทั่งประมาณปี พ.ศ. 2550 ได้มีการจัดตั้ง โรงเรียนชาวนา โดยพัฒน์ สันทัด ท�ำให้เริ่มมีการเปลี่ยนแปลง ไปสู่การด�ำเนินชีวิตตามหลักวิถีพอเพียง ทั้งการปลูกพืช เลี้ยง สัตว์ และผลิตเครื่องใช้ในครัวเรือนไว้ใช้เอง

พัฒนาการต�ำบล พ.ศ. 2515 – 2531

ความเป็นมา

ยุ ค คอมมิ ว นิ ส ต์ และหน่ ว ยงานพั ฒ นาจากภาครั ฐ เป็นยุคที่ยังมีสภาพป่าไม้อุดมสมบูรณ์ มีพืชพรรณและ ในอดีต ต�ำบลกุดดินจี่มีสภาพเป็นป่ารกทึบในปี พ.ศ. 2516 เคยประสบปัญหาภัยคอมมิวนิสต์รุกล�้ำเข้ามาในพื้นที่ สั ต ว์ ป ่ า นานาชนิ ด ต่ อ มามี ก ารอพยพเข้ า มาจั บ จองที่ ท� ำ กิ น รวมทั้งยังไม่มีการคมนาคมที่ไม่สะดวก ไม่มีน้�ำประปาและไฟฟ้า ของชาวบ้านกลุ่มหนึ่งจากจังหวัดร้อยเอ็ด ท�ำให้เกิดเป็นชุมชน ต่อมารัฐบาลได้เข้าไปท�ำงานพัฒนาร่วมกับชาวบ้าน จนสามารถ และเริ่มมีการบุกรุกป่า ยิ่งเมื่อรัฐบาลเปิดสัมปทานป่าไม้ในปี สกัดกั้นการรุกรานของคอมมิวนิสต์ได้ จึงมีการรวมกลุ่มกัน จัด พ.ศ. 2514 ก็ยิ่งท�ำให้เกิดการตัดไม้ท�ำลายป่าลงอย่างมาก ต่อ ตั้งกลุ่มอาชีพและกลุ่มองค์กรต่างๆ ขึ้นมา พัฒนาการของต�ำบล มายังประสบปัญหาการคุกคามของคอมมิวนิสต์ ท�ำให้เกิดการ รวมตัวกันของภาครัฐ คือ กรป.กลางและชาวบ้านเพื่อต่อต้าน กุดดินจี่ สามารถแบ่งได้เป็นยุคต่างๆ ได้ดังนี้

40 IS AM ARE www.ariyaplus.com


การแผ่ขยายของคอมมิวนิสต์และจัดตั้ง ศาลาประชาคม ในช่วงนี้เริ่มมีการปลูก พืชเศรษฐกิจ เช่น อ้อย ข้าวโพด และลูก เดือย และเริ่มมีการบุกรุกพื้นที่ป่า รวม ถึงมีการใช้เครื่องจักรกลแทนแรงงานสัตว์ และสารเคมี

พ.ศ. 2532 – 2549

ยุ ค การพั ฒ นาแบบทั น สมั ย เมื่อการคมนาสะดวกขึ้น ความ เจริญต่างๆ แบบสังคมเมืองก็เริ่มเข้ามา ในพื้ น ที่ รวมทั้ ง มี ก ารอพยพของผู ้ ค น เข้ามามากขึ้น ส่งผลให้การเกษตรกรรม แบบพึ่ ง พาธรรมชาติ เ ปลี่ ย นไปเป็ น ใช้ เครื่องจักรกล มีการใช้ปุ๋ยเคมีและสาร

เคมี ต่อมาชาวบ้านยังขยายพื้นที่เพื่อปลูก พืชเศรษฐกิจ คือ ยางพารา ท�ำให้เกิดการ บุกรุกท�ำลายพื้นที่ป่าลงอย่างมากมาย

ปัญหาสังคม เช่น การละทิ้งถิ่นฐานของ แรงงานไปท�ำงานในเมืองและปัญหายา เสพติด เป็นต้น

พ.ศ. 2550 – 2552

ทุนต�ำบล

ยุ ค แห่ ง การพึ่ ง ตนเอง ในปี พ.ศ. 2550 พัฒน์ สันทัด ได้รับงบประมาณจาก ธกส. และจัดตั้ง โรงเรียนชาวนาขึ้นมีการจัดอบรมความ รู ้ เรื่ อ งการพึ่ ง ตนเองและรู ป ธรรมการ ด�ำเนินชีวิตตามแนวทางวิถีพอเพียงจน ปี พ.ศ. 2552 ต�ำบลกุดดินจี่ได้สมัครเข้า ร่วมโครงการรักษ์ป่า สร้างคน 84 ต�ำบล วิถีพอเพียง จึงมีการต่อยอดการพัฒนา ด้านต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาหนี้สิน รวมทั้ง

41 issue 94 november 2015

กระแสทุนนิยมที่ถาโถเข้าสู่ชุมชน กุดดินจี่ ท�ำให้ต้องวิ่งตามกระแสสังคม จนเปลี่ ย นวิ ถี ชี วิ ต จากการท� ำ นาและ การท� ำ เกษตรกรรมแบบพึ่ ง พาอาศั ย ธรรมชาติ ม าสู ่ ก ารปลู ก พื ช เศรษฐกิ จ เชิงเดี่ยว เช่น ปอ ข้าวโพด ฝ้าย อ้อย และยางพารา รวมทั้งเปลี่ยนจากการใช้ ปุ ๋ ย อิ น ทรี ย ์ ม าเป็ น ปุ ๋ ย เคมี แ ละสารเคมี ก�ำจัดศัตรูพืชเพราะต้องการผลผลิตสูงๆ แต่กลับท�ำให้แนวทางการด�ำเนินชีวิตชี


42 IS AM ARE www.ariyaplus.com


วิที่พึ่งพาตนเองได้จากการปลูกพืชเลี้ยงสัตว์ไว้บริโภคเอง ไป เป็นปัญหา หนี้สินจากต้นทุนการเกษตรที่เพิ่มสูงขึ้น แรงงานทิ้ง ถิ่นฐานไปหางานท�ำในเมืองเกิดปัญหาครอบครัว ปัญหาเยาวชน และยาเสพติดติดตามมา แม้ ว ่ า ต� ำ บลกุ ด ดิ น จี่ จ ะพบกั บ ปั ญ หาจากความ เปลี่ ย นแปลงก็ ต าม แต่ ก็ ยั ง เป็ น พื้ น ที่ ที่ มี ต ้ น ทุ น การพั ฒ นาที่ ส�ำคัญหลายอย่างดังนี้ -กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์กุดดินจี่ เป็นแนวคิดในการรวม กลุ่มชาวบ้านมาจัดตั้งเป็นกลุ่มเกษตรเลี้ยงสัตว์กุดดินจี่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 โดยสนับสนุนให้เกิดการเลี้ยงควาย ซึ่งเป็นแรงงาน ส�ำคัญ ในการท�ำนาท�ำการเกษตร การด�ำเนินงานของกลุ่มมีการ ขยายผลอย่างรวดเร็วและมีกิจกรรมต่อยอด คือ โรงเรียนสอน ควายไถนาศูนย์เรียนรู้โรงเรียนปศุสัตว์กุดดินจี่ มีผู้รู้ผู้สืบสาน ภูมิปัญญา วัฒนธรรมดั้งเดิมในการท�ำนามีการสืบสานประเพณี ความเชื่อในการท�ำนา ท�ำให้ชุมชนได้อนุรักษ์ เรียนรู้ และเห็น ความส�ำคัญของควาย รวมทั้งช่วยลดต้นทุนการท�ำเกษตร เกิด การเกื้อกูล รู้รักสามัคคีและมีวิถีชีวิคที่เรียบง่าย -กลุ่ม อนุรัก ษ์ป ่าชุม ชนโคกนาโพธิ์ ต� ำ บลกุ ด ดิ น จี่ มี แนวคิ ด ในการจั ด การทรั พ ยากรป่ า ไม้ ใ นชุ ม ชนอย่ า งจริ ง จั ง เนื่องจากประสบปัญหาการบุกรุกพื้นที่ป่าอันเป็นแหล่งอาหาร ส�ำคัญ ชุมชนจึงร่วมกันท�ำกิจกรรมปลูกป่าทดแทนพร้อมบวช ป่าไม้ในเขตป่าชุมชนโคกนาโพธิ์ ต่อมามีหน่วยงานภาครัฐเข้า ร่วมด�ำเนินงานด้านอนุรักษ์ป่าชุมชน ท�ำให้ชุมชนเกิดความตื่น ตัวที่จะหวงแหนและช่วยกันฟื้นฟูทรัพยากรป่าชุมชนให้กลับ เป็นแหล่งอาหารได้อย่างยั่งยืน

ก้าวเดินด้วยความพอเพียง

แนวคิดที่อยากจะพัฒนาชุมชนในด้านการพึ่งพาตนเอง ตามวิถีพอเพียงนั้นเป็นทุนเดิมของต�ำบลกุดดินจี่อยู่แล้ว เมื่อได้ รับทราบข้อมูลของโครงการฯ ดวงจันทร์ บุญญานาม ครูโรงเรียน บ้านกุดดินจี่จึงพยายามผลักดันให้ชุมชนเข้าร่วมโครงการฯ ด้วย ความตั้งใจที่อยากจะเห็นการพัฒนาคนในชุมชนให้ปรับเปลี่ยน วิธีคิดและการด�ำเนินชีวิต ให้รู้จักประมาณตนและไม่ฟุ้งเฟ้อ ไปตามกระแสบริโภคนิยม ซึ่งเป็นแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงของในหลวงโดยคณะกรรมการโครงการฯ ได้เข้ามา ประเมินพื้นที่ และพบว่าชุมชนมีความเข้มแข็งในด้านการมีส่วน ร่วมของกลุ่มองค์กรชาวบ้าน ที่มีแกนน�ำหลักจากหน่วยงานภาค รัฐ คือ ครู โรงเรียน สถานีอนามัย จึงได้คัดเลือกให้ต�ำบลกุด ดินจี่เข้าร่วมในโครงการฯ ระยะที่ 3 เมื่อปี พ.ศ. 2552

43 issue 94 november 2015


“วิ ถี ก ารด� ำ เนิ น ชี วิ ต ไม่ ว ่ า จะอยู ่ ใ นเมื อ งหรื อ ชนบทต้ อ งรู ้ จั ก ตั ว ตน ประมาณตน ท� ำ อะไร ต้ อ งไม่ เ กิ น ก� ำ ลั ง พึ่ ง ตนเองท� ำ เองก่ อ น มี เหลื อ เอื้ อ เฟื อ แบ่ ง ปั น เหลื อ แบ่ ง ค่ อ ยขาย ไม่ ท ะยานอยากตามคนอื่ น มี ส ติ มี เ หตุ ผ ล ในการใช้ ชี วิ ต ”

44 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ยืนต้น และเลี้ยงปลาดุก ในบ่อซีเมนต์ ได้รวมถึงยังชักชวนชาว บ้านที่สนใจมาจัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจพอเพียงกุดดินจี่ ขึ้นมาด้วย

เมื่อต�ำบลกุดดินจี่เจ้าร่วมโครงการรักษ์ป่า สร้างคน 84 ต�ำบล วิถีพอเพียงมีหมู่บ้านเข้าร่วมโครงการฯ จ�ำนวน 8 หมู บ้าน และมีครัวเรือนพอเพียงอาสาเข้าร่วมโครงการฯ ทั้งสิ้น 100 ครอบครัว เกิดการปรับเปลี่ยนวิธีคิด รวมทั้งพฤติกรรมของคนใน ชุมชนไปตามแนวทางวิถีพอเพียงก็ยิ่งมีความชัดเจนเป็นรูปธรรม มากขึ้น เช่น การท�ำบัญชีครัวเรือน การผลิตพลังงานทดแทนและ การอนุรักษ์ทรัพยากรดิน น�้ำ ป่า เป็นต้น ซึ่งถือเป็นการก้าวเดิน ไปบนเส้นทางของการพัฒนาอย่างยั่งยืน

ศิริวรรณ ยศธแสน

พึ่ ง พาตนเองแบบพอเพี ย ง “การที่เราไม่จ�ำเป็นต้องมีเงินทองมากมาย ต้องท�ำใจ ให้สบาย ให้มีสมาธิ ไม่จ�ำเป็นต้องไปกังวลหรือคิดมากเกินไป ทุกอย่างต้องมีเหตุผล เราต้องดูที่ตนเองก่อน พอเพียงอาจจะ หมายถึงว่า ถ้าเราไม่มีเงิน เรายังมีอาหารกิน เรากินของที่เรา ปลูกเองได้”

ภาคผนวก สมัย พลค้อ

พึ่ ง พาตนเองอย่ า งยั่ ง ยื น “การที่เราพอใจในสิ่งที่ตนมีอยู่ ไม่ฟุ้งเฟ้อ ทะเยอทะยาน อยากได้เกินตัว อยากได้ต้องหาเอง พึ่งตนเอง ไม่ต้องไปกู้เงินที่ อื่น กินเท่าที่เรามี ปลูกอยู่ปลูกกิน เราจะได้ไม่อด” สมัย พลค้อ เป็นคนกุดดินจี่มาตั้งแต่เกิด แต่เติบโตขึ้น มาท่ามกลางชุมชนเมือง ท�ำให้ต้องดิ้นรนต่อสู้เพื่อปากท้องมา ตลอด ครอบครัวของสมัยเคยท�ำไร่ข้าวโพดและท�ำนาปลูกข้าว แต่ประสบปัญหาขาดทุนจนต้องสูญเสียที่ดินท�ำกินไป หลังจาก นั้นสมัยได้หันมาปลูกมันส�ำปะหลังสลับกับผักสวนครัวเล็กๆ น้อยๆ ต่อมาเห็นช่องทางว่า การปลูกดอกมะลิขายสามารถสร้าง รายได้ที่สม�่ำเสมอให้ครอบครัวได้ จึงยึดเป็นอาชีพหลักเรื่อยมา จุดเปลี่ยนในชีวิตของสมัยคือได้ฟังรายการวิทยุชุมชนพอเพียง แล้วเกิดความสนใจ เมื่อศึกษาข้อมูลและไปฝึกอบรมที่สันติอโศก ก็ได้รับเทคนิคการลดรายจ่ายในครอบครัวด้วยการผลิตของใช้ ในครัวเรือน และปรับเปลี่ยนวิธีคิดให้หันมาพึ่งตนเองมากยิ่งขึ้น จนสามารถพลิกผืนดินเพียง 1 ไร่ 3 งาน ให้เป็นแหล่งอาหาร ของครอบครัวที่มีพืชพันธุ์นานาชนิด ทั้งผักสวนครัว ไม้ผล ไม้

45 issue 94 november 2015


น�ำความรู้ที่ได้จากการอบรมมาต่อยอด ในการท�ำเครื่องใช้ใน ครัวเรือน ทั้งปุ๋ยหมักจากเครื่องในไก่ และการท�ำสบู่ ทุกวัน นี้ครอบครัวศิริวรรณจึงมีความสุขอยู่บนพื้นฐานของความพอ เพียงอย่างแท้จริง

สมใจ แถลงการณ์

เกษตรอิ น ทรี ย ์ ต ามวิ ถี พ อเพี ย ง “คิดเสียว่า ในหลวงพาท�ำ ท�ำตามพ่อหลวง ปลูกทุก อย่างที่กิน เหลือกินค่อยขาย ท�ำอย่างพอเพียง รู้จักประมาณ ตน” ด้วยความที่เป็นคนรักครอบครัว สมใจจึงสู้ชีวิต ท�ำงาน ทุกอย่างเพื่อหารายได้เลี้ยงครอบครัวแต่ชีวิตที่ระหกระเหินเดิน ทางไปท�ำงานรับจ้างทั่วทิศกลับไม่ได้ท�ำให้ครอบครัวสามารถอยู่ อย่างอบอุ่นมีความสุขได้อย่างที่ตั้งใจ จนกระทั้งได้เข้ามาเรียน รู้แนวคิดแบบพอเพียงที่โรงเรียนชาวนา สมใจจึงได้รู้จักกับค�ำ ครอบครัวของศิริวรรณเป็นอีกครอบครัวหนึ่งที่มีความ ว่า “พึ่งตนเอง” รู้จักคุณค่าของเกษตรกร และมีชีวิตตามรอย สุขบนแนวทางพึ่งพาตนเองได้บนผืนดินแห่งความพอเพียง จาก ในหลวงด้วยการเดินตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เริ่มจาก ชีวิตในวัยเด็กที่ครอบครัวประกอบอาชีพท�ำนา เลี้ยงวัว ค้าขาย การปลูกพืชผัก ไม้ผล เลี้ยงสัตว์ ในผืนดินของตนเอง สมใจยัง ขนม และรับจ้างทั่วไป ศิริวรรณได้รับการปลูกฝังจากแม่ว่า ได้เรียนรู้การท�ำไบโอดีเซล ที่ช่วยลดรายจ่ายด้านพลังงานใน ให้ปลูกอยู่ ปลูกกิน จะได้ลดรายจ่ายในครอบครัว ซึ่งสิ่งนี้ศิริ ครอบครัวลงได้อีก เมื่อโครงการฯ เข้ามา สมใจจึงตัดสินใจเจ้า วรรณได้ถ่ายทอดให้กับลูกๆ ท�ำให้ลูกชายคนโตของศิริวรรณ ร่วมเป็นครัวเรือนพอเพียงอาสา และได้เรียนรู้สิ่งที่เป็นประโยชน์ ยึดแนวทางในการใช้ชีวิต และเป็นหัวเรี่ยวหัวแรงในการท�ำอยู่ อีกมากมาย ทั้งการไปดูงานการเกษตรธรรมชาติ งานต�ำบลวิถี ท�ำกินของครอบครัว ด้วยการปลูกไม้ผลแบบผสมผสาน ท�ำให้ พอเพียง การท�ำบัญชีครัวเรือนที่ช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ครอบครัวมีความมั่นคง เมื่อศิริวรรณได้รู้จักกับโครงการฯ และ พฤติกรรมการใช้จ่าย ลดรายจ่ายของครอบครัว และรู้คุณค่า เข้าร่วมเป็นครัวเรือนพอเพียงอาสา ได้เรียนรู้การท�ำบัญชีครัว ของเงินมากขึ้น สุดท้ายที่ได้รับคือ ความสุขความอบอุ่นของ เรือนจนสามารถแก้ปัญหาการซื้อหวยของสามีได้ ศิริวรรณยัง ครอบครัวบนแนวทางวิถีพอเพียง

46 IS AM ARE www.ariyaplus.com


47 issue 94 november 2015


นงนาท สนธิสุวรรณ ที่ปรึกษาโครงการกิจกรรมเพื่อสังคมธนาคารแห่งประเทศไทย

“เวลานี้ยังไม่เห็นแสงสว่างที่ปลาอุโมงค์”

ดร.ประสาร ไตรรั ต น์ ว รกุ ล อดี ต ผู ้ ว ่ า การธนาคารแห่ ง ประเทศไทย แสดงความห่ ว งใยในอนาคตของ ประเทศไทยว่ า “เวลานี้ ยั ง ไม่ เ ห็ น แสงสว่ า งที่ ป ลายอุ โ มงค์ ” ในรายการสั ม ภาษณ์ พิ เ ศษโดย” สุ ท ธิ ชั ย หยุ ่ น ” ที่ ป รึ ก ษากองบรรณาธิ ก ารเครื อ เนชั่ น ออกอากาศทางสถานี โ ทรทั ศ น์ เ นชั่ น ที วี ช ่ อ ง 22 ถึ ง บทบาทหน้ า ที่ ในต� ำ แหน่ ง ผู ้ ว ่ า การ ธปท.ในช่ ว ง 5 ปี ที่ ผ ่ า นมา และประเด็ น ความเห็ น ถึ ง ดร.วิ ร ไท สั น ติ ป ระภพ ผู ้ ม ารั บ ต� ำ แหน่ ง ผู ้ ว ่ า การธนาคารแห่ ง ประเทศไทยคนใหม่ ต ่ อ จากเขา 1. เป็ น ห่ ว งอะไรมากที่ สุ ด 1.1 เรื่องแรก คงเป็นเรื่องการเมือง จากประสบการณ์ ที่ท�ำงานในต�ำแหน่งนี้มา 5 ปี ค่อนข้างเป็นห่วงเรื่องนี้ เพราะ ดูประเด็นนี้สะท้อนถึงความไม่ต่อเนื่อง และระหว่างที่ท�ำงานก็ ยังมีเรื่องเล็กๆ น้อยๆ เหมือนจะเป็น “ตุ้มถ่วง” ของประเทศ โดยผมเป็นผู้ว่าการ ธปท.มา 5 ปี ท�ำงานมาแล้ว 3 รัฐบาล กับ อีก 5 รัฐมนตรีคลัง ผ่านเข้ามาโดยตลอด ที่ซ�้ำร้ายกว่านั้น คือ บรรยากาศโดยรวมของประเทศ เกิดความไม่เชื่อถือนักการเมือง

ซึ่งผมอยู่ในองค์กร หรือการจะตั้งองค์กรใหม่ เช่น การปฏิรูป รัฐวิสาหกิจ หรืออย่างเพื่อนฝูงที่มีส่วนในการปฏิรูปรัฐธรรมนูญ กลายเป็นว่า ทุกคนพยายามที่จะท�ำยังไงก็ได้ไม่ให้การเมืองเข้า มาแทรกแซง ลองนึกภาพใหม่ว่า หากจุดเริ่มต้นของการเมืองดี มีความเรียบง่าย ทุกอย่างก็จะเดินหน้าได้เร็ว แต่ เวลานี้ยังไม่ เห็นแสงสว่างที่ปลายอุโมงค์ อย่างเพื่อนฝูงที่มีส่วนร่างรัฐธรรมนูญ เราก็เชิญเขามา เล่าสูตรการร่าง ก็เห็นว่า เป้าหมายเขาต้องการให้การเมือง 48

IS AM ARE www.ariyaplus.com


Share Story อ่อนแอ และอยากให้เกิดการปรองดอง ก่อน วันข้างหน้าเมื่อปรองดองเสร็จ ค่อย ท�ำให้การเมืองเข้มแข็ง มันก็จะกลายเป็น วงกลม ซึ่งน่าเสียดาย ยิ่งเวลานี้พอคว�่ำ ร่างรัฐธรรมนูญไป เราไม่เห็นเลยว่า กติกา ใหญ่อันนี้หน้าตาจะเป็นอย่างไร ถ้าเทียบ กับทีมฟุตบอล เคยมีค�ำกล่าวว่า กองหลัง คือแบงก์ชาติ กองกลางคือรัฐบาล และ กองหน้าคือเอกชน เวลานี้กองกลางก�ำลัง อ่อนแรงไม่ใช่แค่อ่อนแรง แต่ก�ำลังบาด เจ็ บ อย่ า งการท� ำ รั ฐ ประหารนี่ ก็ ถื อ ว่ า เป็นเพียงการประคับประคองชั่วคราว แต่ โจทย์บ้านเมืองเวลานี้ถาโถมเข้ามาเยอะ และต้องใช้เวลาในการแก้ปัญหา จุดเริ่มต้นจึงต้องสร้างความเชื่อ มั่นก่อน ซึ่งจะพันไปอีกหลายเรื่อง ไม่ เฉพาะแค่การบริหารราชการแผ่นดิน แต่ หมายถึงการลงทุนด้วย เวลานี้เราขาด การลงทุ น อาจเพราะคนจะลงทุน ต้อง คิดหนัก กว่าจะได้เงินคืนก็ 5-10 ปี ซึ่ง คนจะลงทุนต้องติดต่อสัมพันธ์กับรัฐบาล ก็ไม่รู้ว่ารัฐบาลเป็นอย่างไร นโยบายรัฐ เป็นอย่างไร ท�ำให้หลายเรื่องที่เอกชนคิด อาจไม่มีพลังในการขับเคลื่อนได้มากนัก 1.2 ที่ห่วงต่อมา คือศักยภาพ เศรษฐกิจของเรา เวลานี้พวกกองหน้า ซึ่งเป็นภาคเอกชนขาดการฝึกซ้อม ท�ำให้ หลายอย่างของเราตกเทรนด์ ตอนนี้เราจึง เหมือนคนที่ปล่อยตัวอ้วนไม่ระมัดระวัง นักลงทุนต่างประเทศเดี๋ยวนี้เขามองว่า มาประเทศไทยท� ำ ไม ไปเวี ย ดนามถู ก กว่า ทั้งยังมีเรื่องเทคโนโลยี นวัตกรรม ต่างๆ ด้วย อันนี้ยังโยงไปถึงเรื่องพื้นฐาน อื่นๆ เช่น เรื่องคุณภาพการศึกษา ก�ำลัง แรงงาน ที่จะสามารถเข้ากับแนวโน้มใหม่ 1.3 อี ก เรื่ อ งหนึ่ ง คื อ เรื่ อ งการ ศึกษาตามที่ นายอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรี เคยกล่าวปาฐกถา ไว้ เ มื่ อ เร็ ว ๆนี้ ว ่ า ถ้ า เด็ ก ที่ ก� ำ ลั ง จะเข้ า อนุบาลในปี 2558 นี้ แล้วเขาต้องเรียน

และท�ำงานจนไปเกษียณอายุในอีก 5060 ปี ข ้ า งหน้ า เราจะสอนให้ เขาอยู ่ อย่างไรในอีก 50-60 ปีข้างหน้า ซึ่งคงจะ มีอะไรเปลี่ยนแปลงมากมาย แล้วเราจะ สอนในสิ่งที่เราเรียนมาในอดีตหรือที่เรียน ในต�ำรา คือ ท่านพยายามจะบอกว่า เรา ควรให้ ศั ก ยภาพเด็ ก ได้ ป รั บ ตั ว และได้ เรียนรู้ในสิ่งแวดล้อมใหม่ ซึ่งเราเองก็ยัง ไม่รู้ด้วยว่าจะเป็นอย่างไร ดังนั้นจึงต้อง ให้ โ อกาสเขาได้ เรี ย นรู ้ แ ละปรั บ ตั ว กั บ บริบทใหม่ที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น 1.4 ถ้าพูดถึงระยะสั้น ความจริง พื้นฐานเศรษฐกิจไทยถือว่ายังใช้ได้ แต่ ที่ ห ่ ว งคื อ เวลานี้ มั ก มี ค นเปรี ย บเที ย บ เศรษฐกิจไทยช่วงนี้กับปี 2540 ซึ่งคราว นั้น เราเปรียบเหมือนคนที่ถูกน�้ำร้อนสาด ท�ำให้สะดุ้งและก็เริ่มมีการแก้ไขปัญหา จนสามารถลุกขึ้นได้ภายใน 5 ปี หลังจาก นั้นก็ดีต่อเนื่องมา 10 ปี แต่ยามนี้ค่อน ข้างน่าห่วง ตรงที่อุณหภูมิน�้ำค่อยๆ เพิ่ม ขึ้น เราจึงไม่รู้สึกตัวเท่าไร ถ้าเป็นแบบ นี้จะยากกว่าตอนปี 2540 เพราะท�ำให้ ไม่เกิดการปรับตัว แม้ว่าเราจะพยายาม บอกอะไรไปก็จะถูกมองว่าเป็นการตีโพย ตีพาย การชักชวนให้เกิดการปรับเปลี่ยน ค่ อ นข้ า งยาก ที่ ผ ่ า นมาเราพยายามส่ ง 49 issue 94 november 2015

สัญญาณ แต่ก็ยังไม่ท�ำให้คนรู้สึกกระตุก ขึ้นมาได้ ยกตัวอย่างเช่น ประชากรของ เรา ก�ำลังเข้าสู่ยุคผู้สูงวัย คือ มีคนที่อายุ เกิน 60 ปี ในสัดส่วนถึง 1 ใน 3 ซึ่งหมาย ถึงการออมหลังเกษียณ สวัสดิการรักษา พยาบาล ถึ ง จุ ด หนึ่ ง จะเป็ น ภาระใหญ่ ของภาคการคลัง เราควรต้องเตรียมความ พร้อมแต่เนิ่นๆ 2. ผู ้ ว ่ า การคนใหม่ ม ารั บ ต� ำ แหน่ ง 1 ตุ ล าคมนี้ สิ่ ง ที่ ด ร.ประสาร รั บ มาเมื่ อ 5 ปี ก ่ อ น กั บ สิ่ ง ที่ จ ะส่ ง ไม้ ต่ อ มี อ ะไรต่ า งกั น หรื อ ไม่ ? 2.1 เบื้องต้นคิดว่า ดร.วิรไทน่า จะมีการเตรียมตัวดีกว่าผม เพราะก่อนที่ ดร.วิรไทจะเข้ารับต�ำแหน่งนี้ ท่านก็อยู่ใน กรรมการของธปท. รวมทั้งเป็นกรรมการ ในคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) อีกทั้งช่วง 2 เดือนครึ่ง หลังโปรดเกล้าฯ ท่านก็เริ่มเข้ามาดูงาน และมีส่วนในการ สรรหาแต่งตั้งผู้บริหารระดับสูงของ ธปท. เรียกว่ามีการเตรียมตัวอยู่บ้าง แตกต่าง จากผม ซึ่งไม่ได้คาดคิดว่าจะมาเป็นผู้ว่า การธปท.ระดับการเตรียมตัวจึงน้อยกว่า ส่วนโจทย์การแก้ปัญหา แตกต่างกันบ้าง สมัยผมเป็นช่วงที่เศรษฐกิจตะวันตกโดย


* มีโจทย์หนึ่งที่ผมยอมรับว่ายังท�ำได้ไม่ดีนัก คือ การมี บทบาทที่แอ็กทีฟในวงการนานาชาติ ระยะหลังเราพยายามท�ำ เรื่องนี้ การ มีบทบาทที่แอ็กทีฟในวงการนานาชาติ ระยะหลัง เราพยายามท�ำเรื่องนี้ แต่ต้องอาศัยการลงทุนในเรื่องของเวลา พอสมควร โจทย์อีกอันที่ผมยังท�ำได้ไม่ดีนักคือ การส่งเสริมบูรณ าการคนเก่ง คนมีความสามารถ ให้เขาเติบโตได้ตามชีพจร และ สุดท้าย คือ เรื่องการบริหารเวลา 2.4 สิ่งที่มองว่าท้าทายผู้ว่าการคนใหม่คืออะไร * แน่นอนมีหลายมิติ บางมิติเราพูดไปบ้างแล้ว หนึ่ง ในนั้น คือ บริบททางเศรษฐกิจทั้งในและต่างประเทศ ของใน ประเทศเราถูกส�ำทับเรื่องการเมือง ในเชิงของความต่อเนื่อง ท�ำให้การท�ำงานต้องคิดหนัก * ส่วนมิติเรื่องอายุ สักพักท่านคงเอาชนะได้ เพราะ ด้วยอายุ 40 กว่าๆ ก็เป็นถึงนายกรัฐมนตรีกันแล้ว และนายก รัฐมนตรีของกรีซก็อายุเพียงแค่ 40 ต้นๆ เท่านั้น * ส่วนมิติต่างประเทศ คงเป็นเรื่องเศรษฐกิจจีนที่มีความ ท้าทายอยู่มาก 2.5 วันที่ 1 ตุลาคม จะมีการส่งมอบต�ำแหน่ง พอบอก ได้หรือไม่ว่า 5 ปีก่อนที่รับช่วงมาและก�ำลังจะส่งไม้ต่อให้ ถือว่าอยู่ในสภาพที่ครบถ้วนมีรอยต�ำหนิอะไรหรือไม่? * อันนี้อาจต้องให้คนอื่นประเมิน แต่ถ้าความรู้สึกโดย ทั่วไป คิดว่าไม่บาดเจ็บหรือยิ่งหย่อนไปกว่าเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2553 สังเกตจากที่ผ่านมาเราผ่านสถานการณ์ต่างๆ มาได้โดย ไม่บาดเจ็บ ความจริงผมตั้งความหวังไว้ว่า กองหน้าจะยิงประตู ได้สักลูก แต่ก็ยังยิงไม่ได้ จึงคิดว่าอย่างน้อยเวลานี้เราก็ไม่เสีย ประตู ที่ผ่านมาเราด�ำรงความเป็นสถาบันที่คงไว้ซึ่งความน่าเชื่อ ถือได้ เพราะเรามีกรอบนโยบายการเงินที่ยืดหยุ่น เปรียบเหมือน นักมวยที่มีฟุตเวิร์ก ไม่ได้ยืนขาตาย รวมทั้งเป็นกรอบ นโยบาย ที่มีธรรมาภิบาล เป็นเครื่องมือที่มีความโปร่งใส การมีเครื่อง มือไว้หลายอย่างก็เป็นเรื่องดี และต้องพยายาม ไม่ให้ถูกต้อน เข้ามุม อันนี้ถือเป็นเรื่องใหญ่และส�ำคัญ ระดับการเตรียมตัวจึง น้อยกว่า ภาพจากธนาคารแห่ ง ประเทศไทย

เฉพาะ ประเทศใหญ่ๆ ไม่ค่อยดี แต่เศรษฐกิจในภูมิภาคค่อน ข้างดี จึงมีเงินไหลเข้ามาก ปีเดียวเงินบาทแข็งขึ้น 3-4 บาทต่อ ดอลลาร์ แต่การส่งออกก็ยังโตได้ 29% ซึ่งเป็นเพราะภูมิภาคดี จีนคึกคัก แต่ตอนนี้จีนก�ำลังแสดงอาการสลบ การส่งออกของ เราจึงติดลบ การเติบโตของเศรษฐกิจก็ลดลงตามด้วย 2.2 แนะน�ำผู้ว่าการธปท.คนใหม่อย่างไร... ท่านเป็นคนเก่งอยู่แล้ว แต่หากจะแนะน�ำ * เรื่ อ งแรกคื อ โดยรวมที่ ผ ่ า นมาเราด� ำ รงความเป็ น สถาบันที่คงไว้ซ่ึงความน่าเชื่อถือได้ เพราะเรามีกรอบนโยบาย การเงินที่ยืดหยุ่น เปรียบเหมือนนักมวยที่มีฟุตเวิร์ก ไม่ได้ยืนขา ตาย รวมทั้งเป็นกรอบนโยบายที่มีธรรมาภิบาล เป็นเครื่องมือที่มี ความโปร่งใส การมีเครื่องมือไว้หลายอย่างก็เป็นเรื่องดี และต้อง พยายามไม่ให้ถูกต้อนเข้ามุม อันนี้ถือเป็นเรื่องใหญ่และส�ำคัญ * เรื่องที่สองคือ การสื่อสารกับสาธารณชน ไม่ว่าจะเป็น ประชาชนหรือตลาดเงิน อาจหมายถึง นักวิชาการ สื่อมวลชน รวมถึงรัฐบาลด้วย พวกนี้เป็นเรื่องที่ไม่ควรละเลย เพราะช่วย สร้างความเข้าใจ และงานบางครั้งต้องขอความช่วยเหลือ โดย เฉพาะในยามที่มีความเห็นแตกต่างกัน * เรื่องที่สาม เป็นเรื่องคน ต้องดึงความสามารถของคน ดึงความรู้เขาออกมาให้ได้ อันนี้ถือเป็นหัวใจส�ำคัญ 2.3 มีสิ่งไหนบ้างมั้ยที่อยากบอกผู้ว่าคนใหม่ว่าอย่า ท�ำในสิ่งที่เป็นแบบ “ประสาร” ..แต่ควรท�ำในสิ่งที่เป็นแบบ “วิรไท” 50

IS AM ARE www.ariyaplus.com


In every beginningthink of the end ในการเริ่มต้นทุกครั้งจงคิดถึงจุดจบด้วย ที่ ม า: www.thaiquip.com

51 issue 94 november 2015


เรื่ อ งราวรอบตั ว

52 IS AM ARE www.ariyaplus.com


สุสานช้างหลวง วัดคันลัด

ประวัติศาสตร์ที่ถูกลืม

หมายรั บ สั่ ง ในระหว่ า งรั ช กาลที่ 3 ถึ ง รั ช กาลที่ 6 มี ร าชกิ จ จานุ เ บกษาให้ น� ำ ช้ า งหลวงที่ ล ้ ม ลงมาฝั ง ที่ ท ่ า ปากลั ด ช่ า งเหนื อ ปั จ จุ บั น คื อ ริ ม ปากคลอง ลั ด โพธิ์ บริ เ วณวั ด คั น ลั ด ต.ทรงคนอง อ.พระประแดง จ.สมุ ท รปราการ รวมแล้ ว ทั้ ง ที่ บั น ทึ ก ไว้ แ ละยั ง ไม่ ไ ด้ บั น ทึ ก มี 6 ช้ า ง คื อ พระยามงคลหั ส ดิ น พระเศวตวิ สุ ท ธิ เ ทพามหาพิ ฆ เนศวร พระเศวตวรสรรพางค์ พระเศวตสุ ว ภา พรรณ พระยาเศวตวชิ ร พาหะ และพั ง แป้ น เป็ น ต้ น

53 issue 94 november 2015


พ ล ต รี กั ณ ฑ ์ ท . ธ ร ร ม ธ า ด า ผู้สืบค้นข้อมูล กล่าวว่า มีชาวบ้านขุด พบชิ้ น ส่ ว นโครงกระดู ก ช้ า งบริ เวณริ ม คลองลั ด โพธิ์ ฝ ั ่ ง ที่ ติ ด กั บ วั ด คั น ลั ด จาก การศึกษาพบว่าพื้นที่บริเวณดังกล่าวเป็น พื้นที่ประวัติศาสตร์แห่งหนึ่ง หลังพบว่า ช้างเผือกในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่ง เกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 มีทั้งหมด 20 ช้าง หนึ่งในนั้นคือ พระยามงคลหัสดิน ซึ่ง เมื่อล้มลงรัชกาลที่ 3 มีรับสั่งให้น�ำมาฝัง ไว้ตามปรากฎหลักฐานตามหมายรับสั่ง กรุงรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ 3) จ.ศ.1198 เลขที่ 4 สมุดไทยด�ำ ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรง มีช้างเผือกและช้างส�ำคัญมีลักษณะตาม ต�ำราคชลักษณ์ถึง 19 ช้าง ปรากฎชื่อ ของพระเศวตวรสรรพางค์ พระเศวตวิ สุทธิเทพามหาพิฆเนศวร และพระเศวต สุวภาพรรณ เมื่อล้มลงทรงมีรับสั่งให้ฝัง ไว้ที่เมืองนครเขื่อนขันธ์ ตามหลักฐานใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 4 หน้า 187-188 วันที่ 1 แรม 2 ค�่ำ เดือน 9 จ.ศ.1239 และราชกิจจานุเบกษา เล่ม 4 หน้า 243 วันที่ 1 แรม 15 ค�่ำ เดือน 10 จ.ศ.1239 และราชกิจจานุเบกษา เล่ม 4 หน้า 276 วันที่ 1 แรม 13 ค�่ำ เดือน 10 จ.ศ.1239 เป็นต้น ยังไม่พบข้อมูลว่าในสมัยนั้นมีช้าง ที่ น� ำ มาฝั ง ไว้ บ ริ เวณคลองลั ด โพธิ์ ฝ ั ่ ง วั ด คันลัดจ�ำนวนเท่าไหร่ และมีชื่ออะไรบ้าง อย่างไรก็ตามยังมีบันทึกของนาง ละม่อม ทองมาอิ่ม ในปี พ.ศ.2506 สัน นิฐานว่า มี 2 ช้างสุดท้ายที่น�ำมาฝังอาจ เป็นพระยาเศวตวชิรพาหะกับพังแป้น ซึ่ง น่าจะเป็นช้างในสมัยรัชกาลที่ 6 โดยใน บันทึกระบุว่า “เมื่ อ ประมาณปี พ.ศ.2506 ข้ า พเจ้ า นางละม่ อ ม ทองมาอิ่ ม ได้ ม า อาศัยปลูกสร้างบ้านเรือนอยู่ที่วัดคันลัด ซึ่งติดกับคลองลัดโพธิ์ ข้าพเจ้าได้มาอยู่

“ปั จ จุ บั น ยั ง มี ชิ้ น ส่ ว นโครงกระดู ก ช้ า งที่ ช าวบ้ า นขุ ด พบเก็ บ รั ก ษาไว้ ใ น สุ ส านชั่ ว คราว ซึ่ ง อาจเชื่ อ มโยงไปสู ่ ป ระวั ติ ศ าสตร์ ที่ ชั ด เจนได้ ” เป็นหลังที่สี่ โดยเนื้อที่มีแต่ป่าจาก แต่ ชาวบ้านเรียกว่าป่าช้าช้าง ในคืนวันหนึ่ง ข้ า พเจ้ า ฝั น ว่ า มี ช ้ า งเผื อ กเชื อ กใหญ่ ม า หาข้าพเจ้า และบอกว่าเขาชื่อทศพร มี พระราชนามว่ า พระยาเศวกและบอก ข้าพเจ้าให้ช่วยสร้างศาลให้ทีเพราะว่าจะ ไม่มีที่อยู่แล้ว ข้าพเจ้าตื่นขึ้นมาก็มิได้เล่า ให้ใครฟัง พอตอนบ่ายของวันรุ่งขึ้น สามี ข้าพเจ้าได้ขุดคูเพื่อจะเอาเรือเข้าเก็บข้าง บ้านแล้วได้ไปขุดเจอหัวช้างหัวใหญ่ ก็ได้ เก็ บ รั ก ษาเพื่ อ จะรอให้ ข ้ า พเจ้ า มาเห็ น ด้วย พอข้าพเจ้าเห็นก็ได้นึกเอะใจว่าเรา 54 IS AM ARE www.ariyaplus.com

ฝันไปนี่ ก็ได้เล่าความฝันให้สามีฟังแล้ว นึกอธิษฐานว่าถ้าจะให้สร้างศาลก็ขอให้ ลูกถูกหวยซิจะสร้างให้ ปรากฎว่าในงวด นั้ น ทั้ ง ข้ า พเจ้ า และสามี ไ ด้ ถู ก หวยทั้ ง คู ่ สามตัวของรัฐบาล ก็เลยท�ำตามสัญญาที่ ให้ไว้ โดยตั้งศาลไว้บริเวณที่พบหัวช้าง...” ด้ า น พระครู สุ ภั ท รกิ จ จาทร (หลวงพ่ อ หลาย) เจ้ า อาวาสวั ด คั น ลั ด กล่าวถึงประวัติสุสานช้างหลวงว่า จาก การอ่านและศึกษาพบว่ามีมาตั้งแต่สมัย ปลายกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาบั น ทึ ก ไว้ ส มั ย ของ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ ทรงโปรด


“ต่ อ มาถึ ง รั ช สมั ย รั ต นโกสิ น ทร์ คื อ ในสมั ย รั ช กาล ที่ 1 ทรงโปรดให้ ถ มคลองให้ แ คบลงเพื่ อ กั น กระแส น�้ ำ เค็ ม ที่ จ ะขึ้ น ไปท่ ว มสวนตั้ ง แต่ ฝ ั ่ ง กระโน้ น ถึ ง บางกอกน้ อ ย ถึ ง นนทบุ รี ไ ด้ รั บ ความเสี ย หาย คลอง ลั ด โพธิ์ จึ ง แคบลง” ให้ขุดคลองพราะว่าตรงระหว่างวัดคันลัดปัจจุบันเป็นช่องแคบ ที่สุดระหว่างแม่น�้ำเจ้าพระยาทั้งสองฝั่ง ทั้งทิศเหนือและทิศใต้ “ต่อมาถึงรัชสมัยรัตนโกสินทร์ คือในสมัยรัชกาลที่ 1 ทรงโปรดให้ถมคลองให้แคบลงเพื่อกันกระแสน�้ำเค็มที่จะขึ้น ไปท่วมสวนตั้งแต่ฝั่งกระโน้นถึงบางกอกน้อย ถึงนนทบุรีได้รับ ความเสียหาย คลองลัดโพธิ์จึงแคบลง และอยู่ต่อมาคลองลัด โพธิ์มีลักษณะเหมือนคลองตันมีต้นหมาก ต้นเหงือกปลาหมอ ขึ้นจนทึบเต็มไปหมด และสันนิษฐานว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ท่านเสด็จประพาสทางเรือผ่านมา ทรงเห็นว่ามี ชัยภูมิที่เหมาะสมห่างไกลบ้านเรือนประชาชน หลังจากนั้นเมื่อ ช้างล้มทรงมีราชกิจจานุเบกษาให้ประกอบพิธี และน�ำมาฝังที่ริม คลองลัดโพธิ์ ต่อมาเมื่อช้างหลวงล้มตั้งแต่รัชกาลที่ 3 ถึงรัชกาล ที่ 6 จึงน�ำมาฝังไว้ที่นี่” ส� ำ หรั บ พิ ธี ป ฏิ บั ติ เ มื่ อ ช้ า งเผื อ กล้ ม ลง ตามราชกิ จ จา นุเบกษา เล่มที่ 4 หน้า 243 วันที่ 1 แรม 15 ค�่ำ เดือน 10 จ.ศ. 1239 (พ.ศ.2420) ข่าวพระเศวตวิสุทธิเทพามหาพิฆเนศวร์ ล้ม ให้เจ้าพนักงานจัดกระบวนแห่ธงมังกร 50 คู่ ธงตะขาบ 50 คู่ กลองชนะ 20 คู่ แตรฝรั่ง 5 คู่ แตรงอน 4 คู่ สังข์ 1 คู่ จ่าปี่ 1 จ่ากลอง 1 เครื่องสูงส�ำรับ 1 บังสูรย์ 1 คนลาก 200 คน ของ หลวงพระราชทานผ้าขาว 50 ศอก 10 พับ ไทยทาน 100 พระ วุฒิการบดี นิมนต์พระสงฆ์ 110 รูปมาบังสกุลแล้วแห่ลงไปประตู 55 issue 94 november 2015


ท่าพระ เรือดั้ง 3 คู่ กลองชนะ แตร สังข์ เครื่องสูงประจ�ำล�ำ พัน อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ อยากให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จันทนุมาศ เกณฑ์เรือแห่ข้าราชการ 30 ล�ำ มีธงมังกรประจ�ำ เข้ามาพิสูจน์ค้นหาข้อมูลทางประวัติศาสตร์เพื่อประกาศยืนยัน ล�ำแห่ลงไปถึงเมืองนครเขื่อนขันธ์ (ปัจจุบันคือ อ.พระประแดง) ความส�ำคัญแก่ชนรุ่นหลังต่อไป กรมการเมืองนครเขื่อนขันธ์หาที่ขุดดินฝังศพช้างส�ำคัญ ตาม อย่างแต่ก่อนมา :ฯ (อ้างอิงข้อมูลจากการค้นคว้าของ พลตรี บรรณานุ ก รม กัณฑ์ ท.ธรรมธาดา) ช้ า งเผื อ ก นั บ เป็ น ช้ า ง ปัจจุบันยังมีชิ้นส่วนโครงกระดูกช้างที่ชาวบ้านขุดพบ ช้ า งบ้ า น นั บ เป็ น เชื อ ก เก็บรักษาไว้ในสุสานชั่วคราว ซึ่งอาจเชื่อมโยงไปสู่ประวัติศาสตร์ ช่ า งป่ า นั บ เป็ น ตั ว ที่ชัดเจนได้ โดยทางวัดเตรียมสร้างพิพิธภัณฑ์สุสานช้างเผือก ต่อไป อย่างไรก็ตาม พลตรีกัณฑ์ ท.ธรรมธาดา ผู้ค้นคว้าขับ เคลื่ อ นเรื่ อ งสุ ส านช้ า งหลวงในอาณาบริ เ วณของวั ด คั น ลั ด 56 IS AM ARE www.ariyaplus.com


If you tell the truth, you don’t have to remember anything. หากคุ ณ พู ด ความจริ ง คุ ณ ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งจดจ� ำ อะไรเลย ที่ ม า: www.thaiquip.com

57 issue 94 november 2015


58 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Let's Talk

ช่ างตัดผมวินเทจ กรวิก อุนะพ�ำนัก

อาชี พของคนรุ ่นใหม่

เด็ ก นั ก เรี ย นหลายคนก� ำ ลั ง นั่ ง รอคิ ว ตั ด ผมในโรงเรี ย นตั ว เอง เบื้ อ งหน้ า พวกเขาเป็ น ช่ า งตั ด ผมหนุ ่ ม มี ไ ฟ ความจริ ง ก็ ยั ง ไม่ ถึ ง ค� ำ ว่ า “ช่ า ง” เพราะเขายั ง ไม่ ไ ด้ ท� ำ เป็ น อาชี พ ยั ง อยู ่ ใ นช่ ว งออกหน่ ว ยฝึ ก ตั ด ผมชาย และเด็ ก ๆ ในโรงเรี ย นกั บ ทรงนั ก เรี ย นนี้ ดู จ ะเป็ น ของคู ่ กั น และมั น ก็ เ ป็ น ทรงผมพื้ น ฐานที่ ช ่ า งตั ด ผมชาย ควรรู ้ จั ก 59 issue 94 November 2015


“วิ ท ยาลั ย สารพั ด ช่ า งอุ ด รธานี ” เขา ใช้เวลาเรียน 2 อาทิตย์ ตั้งแต่ 9 โมง เช้าถึง 4 โมงเย็นโดยไม่มีวันหยุด เป็น หลักสูตรเร่งรัด ค่าเล่าเรียน 1,200 บาท (หลักสูตรปกติคิดชั่วโมงละ 1 บาท เรียน 3 เดื อ น หยุ ด เสาร์ อ าทิ ต ย์ ) และเด็ ก นั ก เรี ย นที่ ก� ำ ลั ง รอคิ ว ให้ เขาตั ด ผมอยู ่ ขณะนี้ก็คือ “ครูฝึก” อย่างดี การออก หน่วยพื้นที่ตัดผมตามโรงเรียนต่างๆ แม้ จะไม่ได้เงิน แต่อาร์ตก็ได้ทักษะการตัดผม และความมั่ น ใจเพิ่ ม มากขึ้ น ในความ ตระเวนไปตามโรงเรี ย นเทศบาลตามหั ว เมื อ งของอุ ด ร เราเรี ย นไม่ กี่ ดูแลของครูผู้สอนที่คอยแก้หากเกิดการ ชั่ ว โมงเขาก็ ใ ห้ อ อกหน่ ว ยตั ด จริ ง เลย ว่ า ไปแล้ ว ทรงนั ก เรี ย นตั ด ยาก ผิดพลาด สุ ด นะ ทรงปราบเซี ย นเลย เราไปออกหน่ ว ยตั ด ฟรี ป ระชาชนก็ เ ข้ า “ตระเวนไปตามโรงเรียนเทศบาล มาตั ด ทั ก ษะได้ จ ากตรงนั้ น ทรงนั ก เรี ย น ลานบิ น รองทรงสั้ น สู ง ตามหัวเมืองของอุดร เราเรียนไม่กี่ชั่วโมง กลาง เขาก็ ใ ห้ อ อกหน่ ว ยตั ด จริ ง เลย ว่ า ไป แล้ ว ทรงนั ก เรี ย นตั ด ยากสุ ด นะ ทรง ปราบเซี ย นเลย เราไปออกหน่ ว ยตั ด ฟรีประชาชนก็เข้ามาตัด ทักษะได้จาก ตรงนั้น ทรงนักเรียน ลานบิน รองทรง สั้น สูง กลาง” อาร์ตเป็นคนอุดรธานีโดยก�ำเนิด ทั้ ง ครอบครั ว มี เชื้ อ สายญวน ความเชื่ อ หนึ่งที่เขาได้ยินมาก่อนเป็นช่างตัดผมคือ เนิ่นนานมาแล้วอาชีพช่างตัดผมในไทย เป็นของคนไทยแท้เท่านั้น ไม่ยินยอมให้ คนต่างด้าวมายึดอาชีพนี้ อย่างไรก็ตาม มันเป็นเพียงความเชื่อเก่าๆ ที่คอยกระตุก ความรู้สึกเล็กๆ ของอาร์ตผู้ยึดถือเชื้อสาย ญวนของตนเองเท่านั้น ทว่าก็คือคนไทย เหมือนกัน หนังไทยเรื่องหนึ่ง ตัวละครมีคาแรคเตอร์ ช่างรุ่นเก่าเข้าใจถึงความต้องการที่จะอิน หลังจากเรียนจบหลักสูตร อาร์ต อยู่ในยุคทรงผมหวีเรียบตามแบบเอลวิส เทรน และนั่นเป็นสาเหตุให้อาร์ตตัดสินใจ ได้ รั บ การสนั บ สนุ น เก้ า อี้ ตั ด ผมและ เพรสลีย์ และเจมส์ ดีน มันท�ำให้เขาอยาก ไปเรียนตัดผมด้วยตัวเอง เพื่อตอบสนอง อุ ป กรณ์ ต ่ า งๆ จากป้ า ผู ้ เ ปิ ด ร้ า นขาย ตัดผมทรงนั้นบ้าง ความจริงก็ไม่ใช่เขาคน ความต้องการทรงผมให้ได้ดังใจ อุปกรณ์เสริมสวย เป็นทุนเริ่มต้นให้เขา ไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งยากเลยหากใคร ได้ต่อยอดบนเส้นทางสายช่างตัดผมมือ เดียวที่คิดอย่างนั้น ส�ำหรับชายไทยไม่ว่า เด็กหรือผู้ใหญ่ก็ให้ความสนใจทรงผมชาย สักคนต้องการเรียนรู้ “วิชาชีพตัดผม” ใหม่ “แรกๆ เปิ ด ตั ด ฟรี ที่ บ ้ า น (อุ ด ร) ย้อนยุคนี้ไม่น้อย มันกลายเป็นเทรนเก่า ประเทศไทยมีพื้นที่รองรับมากมายตาม สามล้ อ เครื่ อ งกั บ เด็ ก นั ก เรี ย นเสร็ จ เรา ที่กลับมาได้รับความนิยมใหม่อีกครั้งทั่ว สถาบันต่างๆ แต่การเรียนที่ใช้ทุนน้อย หมด” ปัญหาที่ช่างตัดผมมือใหม่พบเจอ โลก หากคุณนึกทรงผมดังกล่าวไม่ออก และได้ ผ ลมากที่ สุ ด ส� ำ หรั บ อาร์ ต คื อ คื อ สายตาหมิ่ น เหม่ ใ นฝี มื อ ของคนรู ้ จั ก

อาร์ ต วรวุ ฒิ ใจวี ร ะวั ฒ นา เป็นผู้หนึ่งที่มีใบปริญญาประดับดีกรี ทว่า เมื่ อ เรี ย นจบเขามองว่ า การเตร็ ด เตร่ ไ ป สมัครเข้าท�ำงานประจ�ำไม่ใช่ปลายทางที่ หวังไว้ ระหว่างปีแห่งความว่างเปล่าหลัง เรียนจบดูเหมือนว่าเขาพยายามค้นหาตัว เองและหนทางของชีวิตเรื่อยมา ในกรอบ อายุที่ลุกลามมาถึง 29 ปี “อายุคนเราก็มักจะบังคับตัวเรา เองให้ท�ำอะไรสักอย่าง” วันหนึ่งเขาได้ดู

ให้นึกถึงทรงผมของนักฟุตบอลชายทีม ชาติไทยยุคปัจจุบัน “เขาตัดผมเราลึกเข้าไป เขาแบ่ง ผมเราผิด ถ้าเราจะแก้เราต้องปล่อยให้ มันยาวขึ้นมาใหม่” อุดรธานี อ�ำเภอบ้าน ผือเมื่อ 3 ปีที่แล้ว ร้านตัดผมชายยังไม่ตื่น ตัวกับกระแสทรงผมที่วนมาใหม่อีกครั้ง หลายร้านยังตัดอยู่แต่ทรงเดิมๆ ท�ำให้วัย รุ่นหลายรายรู้สึกประหม่าที่จะเข้าไปตัด เพราะรู้สึกว่าเป็นการยากที่จะอธิบายให้

60 IS AM ARE www.ariyaplus.com


หลายคนมองว่ า เขาพบตั ว เองช้ า ไป แต่ ก็ โ ชคดี ที่ ยั ง หาเจอ อย่ า งน้ อ ยเขาได้ เ ป็ น “ผู ้ เ ลื อ ก” ทาง ให้ ตั ว เอง ทางที่ ไ ม่ ไ ด้ ขึ้ น อยู ่ ใ นขอบเขตของใบ ปริ ญ ญา

61 issue 94 november 2015


ลองส่ ง ตั ว อย่ า งผลงานไปในเพจร้ า นตั ด ผมใน กรุ ง เทพฯ เป็ น ร้ า นใหญ่ มี ช ่ า งหลายคน เขาบอก ให้ เ ข้ า มาลองดู เป็ น ช่ า งตั ด ผมประจ� ำ ตั ด สระหั ว ละร้ อ ย ค่ า แรงขั้ น ต�่ ำ ต่ า งหากสามร้ อ ยบาท ท� ำ งาน สิ บ โมงถึ ง สามทุ ่ ม หยุ ด อาทิ ต ย์ ล ะหนึ่ ง วั น ท� ำ ให้ เ รา รู ้ ข ้ อ บกพร่ อ งตั ว เองเยอะ

ความไม่ไว้ใจ สิ่งนี้ท�ำให้อาร์ตอยู่กับที่ไม่ได้ เขาจ�ำเป็นต้องคอย เที ย วออกเดิ น ทางหนึ่งชั่ว โมงจากอ�ำเภอบ้านผือไปตัด ผมหา ประสบการณ์ในตัวเมืองอุดร สร้างความมั่นใจและความช�ำนาญ ให้ตัวเอง การเข้าหวี การดูตีนผม ปัตตาเลี่ยนกลายเป็นส่วนหนึ่ง ของร่างกาย สายตาที่จรดจ้องไปกับเส้นผมไม่ไหวติง การออก ไปหาประสบการณ์กับคนไม่รู้จักเป็นทางเดียวที่จะสร้างความ เชื่อมั่นให้ทั้งตนเองและคนรอบข้าง จุดนี้อาจเป็นรอยแยกเล็กๆ ที่ช่างตัดผมมือใหม่จ�ำเป็นต้องข้ามผ่านไปให้ได้ มันเหมือนการ พิสูจน์ตัวเอง ไม่เช่นนั้นตัวช่างอาจถอดใจและเปลี่ยนทางเดิน ในที่สุด ห่างจากตัวเมืองอุดรธานี 55 กิโลเมตร ที่อ�ำเภอบ้านผือ อาร์ตกลับมาเปิดร้านตัดผมเล็กๆ ของตัวเองด้วยประสบการณ์ที่ มี ว่าไปแล้วก็ยังไม่ถึงกับเป็นร้านอย่างถาวร เขาใช้เก้าอี้ตัวเดียว กับกระจกบานไม่ใหญ่นักไว้รองรับลูกค้าที่พักหลังเริ่มเป็นวัยรุ่น ที่นิยมชมชอบทรงผมแบบย้อนยุค ดูเท่ห์ด้วยการใส่เจลหวีเรียบ ตามกระแสนิยมปัจจุบัน ดังที่ตัวเขาเองเคยอยากตัดแต่หาร้าน

ท�ำนองนั้นไม่ได้ ส�ำหรับอ�ำเภอบ้านผือ ร้านตัดผมเล็กๆ ของ อาร์ตน�ำเข้าความทันสมัยด้านทรงผมอย่างไม่ต้องสงสัยในราคา เด็ก 40 ผู้ใหญ่ 70 บาท ด้วยความเป็นช่างตัดผมรุ่นใหม่ซึ่งไม่มีพิธีการอะไรมาก ผ้าคลุม กระจก หวี ปัตตาเลี่ยน เก้าอี้ หากมีสิ่งเหล่านี้อาร์ตก็ สามารถบริการตัดผมให้ได้ทุกที่ ในกระเป๋าเป้เขามีอุปกรณ์เหล่า นี้อยู่แล้ว ส่วนเก้าอี้และกระจกก็ใช้ตามบ้านที่ตนเองไปตัดให้ ถึงที่ตามค�ำเชิญ ฝีมือของอาร์ตถูกเผยแพร่ไปกับรูปลูกค้าทาง สื่อออนไลน์อย่างเฟสบุ๊ค ค�ำติชมต่างๆ สร้างความเป็นมืออาชีพ ให้เขามากขึ้นเรื่อยๆ โลกโซเชียลไม่ได้อยู่ในขอบเขตของอ�ำเภอ 62

IS AM ARE www.ariyaplus.com


บ้านผืออีกต่อไป มีหลายคนให้ความสนใจ อยากตัดผมกับช่างสมัยใหม่ผู้นี้ และเขา ก็พกอุปกรณ์ตัดผมไปทุกครั้งเวลามาท�ำ ธุระที่กรุงเทพฯ “ลองส่ ง ตั ว อย่ า งผลงานไปใน เพจร้ า นตั ด ผมในกรุ ง เทพฯ เป็ น ร้ า น ใหญ่ มีช่างหลายคน เขาบอกให้เข้ามา ลองดู เป็ น ช่ า งตั ด ผมประจ� ำ ตั ด สระ หั ว ละร้ อ ย ค่ า แรงขั้ น ต�่ ำ ต่ า งหากสาม ร้อยบาท ท�ำงานสิบโมงถึงสามทุ่ม หยุด อาทิตย์ละหนึ่งวัน ท�ำให้เรารู้ข้อบกพร่อง ตัวเองเยอะ ร้านใหญ่ในกรุงเทพฯ ค่อน ข้างละเอียดและจุกจิกเรื่องการตัดและ ค่ า ตอบแทน อยู ่ ไ ปอยู ่ ม าก็ เ หมื อ นงาน ประจ� ำ รู ้ สึ ก ไม่ มี อิ ส ระในการตั ด อย่ า ง ที่คิด เลยลาออก” มันเกือบจะเป็นการล่มสลายทาง ความหวัง เมื่อช่างตัดผมจากอ�ำเภอบ้าน ผือปรับตัวเข้ากับบริบทในร้านใหญ่ของ กรุงเทพฯ ไม่ได้ อาร์ตยอมรับว่าเดินทาง เข้ากรุงเทพฯ ด้วยความหวังจากคนรอบ ข้างที่เฝ้าชื่นชมความส�ำเร็จของเขา แต่ กรุงเทพฯ ก็คือกรุงเทพฯ มันไม่เคยหยิบ ยื่นความพอใจให้กับทุกคน “ท้อนะแต่ ไม่ถึงกับถอย” ไม่มีร้านจ้าง ไม่มีทุนเปิดร้านตัว เอง อาร์ตสะพายเป้ใบเดิม ภายในบรรจุ อุปกรณ์ตัดผมเหมือนเคย เขาโดดเข้าร่วม กับคณะสาวน้อยตกน�้ำที่ออกทัวร์ไปตาม งานวัดจังหวัดต่างๆ อาศัยได้ตั้งโต๊ะตัดผม สร้างสีสันให้กับงานวัดอย่างที่ไม่เคยมีมา แต่มันก็เป็นเพียงช่วงเวลาหนึ่งที่สร้างราย ได้ไม่มากนัก เมื่อเข้าฤดูฝนคณะทัวร์หยุด การเดินทางเพราะไม่มีงาน อย่างไรก็ตาม มั น ท� ำ ให้ เขาได้ ม องเห็ น อี ก มิ ติ ห นึ่ ง ของ การตัดผมที่ไม่จ�ำเป็นต้องตั้งร้านอยู่กับ ที่ตลอดเวลา “Street Barber” ป ั จ จุ บั น ร ้ า น ตั ด ผ ม ช า ย ใ น กรุงเทพฯ พากันปรับตัวรองรับลูกค้ากัน ถ้วนหน้า ทรงผมที่เรียกกันว่า “ทรงวิน

เทจ” ตามสมัยนิยมในปัจจุบันสร้างราย ได้ให้ร้านตัดผมชายตั้งแต่ 150 – 350 บาท ทุกวันนี้ร้านตัดผมลักษณะ Street Barber เริ่มกระจายตัวมากขึ้น หลาย ร้านมีช่างตัดผมวัยรุ่นคอยให้บริการ นับ เป็นกระแสนิยมที่เข้ามาเปลี่ยนโฉมหน้า และยกระดับร้านตัดผมชายในด้านของ รายได้ที่มากขึ้นหลายเท่าตัว “ มั น แ ล ้ ว แ ต ่ ร ้ า น ร ้ า น ห รู ออปชั่นครบ ห้องแอร์ มีเตียงสระราคา

เหล้าให้ผู้คนได้ผ่อนคลาย มันต่างกับร้าน ใหญ่ที่เขาเคยท�ำในด้านของความอิสระ ในการตัด ดูเหมือนทุกสิ่งทุกอย่างขึ้นอยู่ กับความพอใจของลูกค้าเป็นหลัก อาร์ต มองว่าเสน่ห์ของ Street Barber อยู่ที่ ความเป็นกันเองระหว่างช่างกับลูกค้าที่ สนิทกันง่ายกว่าร้านใหญ่ๆ และกลายเป็น ลูกค้าประจ�ำในที่สุด อย่ า งไรก็ ต าม ปลายทางของ อาชี พ ช่ า งตั ด ผมคื อ การได้ เ ป็ น เจ้ า ของ

ด้ ว ยความเป็ น ช่ า งตั ด ผมรุ ่ น ใหม่ ซึ่ ง ไม่ มี พิ ธี ก ารอะไรมาก ผ้ า คลุ ม กระจก หวี ปั ต ตาเลี่ ย น เก้ า อี้ หากมี สิ่ ง เหล่ า นี้ อ าร์ ต ก็ ส ามารถบริ ก าร ตั ด ผมให้ ไ ด้ ทุ ก ที่ ในกระเป๋ า เป้ เ ขามี อุ ป กรณ์ เ หล่ า นี้ อ ยู ่ แ ล้ ว ส่ ว นเก้ า อี้ และกระจกก็ ใ ช้ ต ามบ้ า นที่ ต นเองไปตั ด ให้ ถึ ง ที่ ต ามค� ำ เชิ ญ ก็แพงตามไปด้วย ถ้าร้านเรียบง่ายไม่มี ออปชั่นบางอย่างเหมือนร้านใหญ่ราคาก็ ถูกลงมา ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความพึงพอใจของ ลูกค้า และที่ส�ำคัญขึ้นอยู่กับฝีไม้ลายมือ ของช่างด้วย ที่เคยเจอราคา 350 บาท มั น แล้ ว แต่ ช ่ า งเป็ น คนก� ำหนด ถ้ า เป็ น ร้านใหญ่มีนายทุนที่ไม่ใช่ช่างก็ตั้งราคา เอาโดยนึกถึงค่าใช้จ่ายต่อเดือนที่เขาต้อง เสีย คิดแบบเชิงธุรกิจมากกว่า” ร้านตัดผมลักษณะ Street Barber นี่เอง ท�ำให้ช่างตัดผมมือใหม่อย่าง อาร์ตมีพื้นที่ในการหาประสบการณ์ เขา ได้ รั บ การแนะน� ำ ให้ ม าทดสอบฝี มื อ ที่ ร้าน ‘BARBER DOLL’ ในตลาดยิปซี ย่านบางซื่อ กับคู่แข่งหลายคนที่ต้องการ เป็นเจ้าของเก้าอี้ตัวที่สามของร้าน และ ได้ รั บ การคั ด เลื อ กในที่ สุ ด ที่ นี่ เ องเขา ถู ก ขั ด เกลาให้ ใ ส่ ใจเรื่ อ งความละเอี ย ด และความสะอาดในการตั ด ผม รวมถึ ง เทคนิคต่างๆ ที่น�ำมาประยุกค์ใช้ในแบบ ของตนเอง เป็ น ร้ า นที่ เ น้ น ทรงผมวิ น เทจตามกระแสนิยมเต็มตัว ภายในร้าน ถูกตกแต่งให้เข้ากับบรรยากาศย้อนยุค ของตลาดยิปซี มีสินค้ามือสอง และร้าน 63 issue 94 november 2015

ธุ ร กิ จ ตั ว เองมากกว่ า เป็ น ช่ า งรับ จ้า งใน ร้านใดร้านหนึ่ง อาร์ตก็เช่นกัน เขาพบ สิ่งที่ตัวเองชอบในวัย 29 ปี กับการลงทุน เรียนตัดผมสองอาทิตย์ในราคา 1,200 บาท สู่เส้นทางที่ทอดยาวมาเป็นอาชีพ สุ ด แนว หลายคนมองว่ า เขาพบตั ว เอง ช้าไป แต่ก็โชคดีที่ยังหาเจอ อย่างน้อย เขาได้เป็น “ผู้เลือก” ทางให้ตัวเอง ทาง ที่ไม่ได้ขึ้นอยู่ในขอบเขตของใบปริญญา ปัจจุบันอาร์ตใช้ประสบการณ์ที่มีทั้งหมด มาเปิดร้านตัดผมเล็กๆ ของตัวเองย่าน มหาวิทยาลัยขอนแก่น บริการตัดผมถึงที่ และเปิ ด ในวั น หยุ ด เสาร์ อ าทิ ต ย์ ที่ ถ นน คนเดิน โดยยึดลักษณะ Street Barber ที่ เข้ า ถึ ง ลู ก ค้ า ทุ ก วั ย ในนาม “อุ ก อาจ บาร์เบอร์” “ลึ ก ๆ แล้ ว เราอยากพิ สู จ น์ ว ่ า อาชีพตัดผมก็สามารถดูแลครอบครัวได้ เหมื อ นกั น ” เจ้ า ของอุ ก อาจบาร์ เ บอร์ กล่าวทิ้งท้าย ติดตามผลงานได้ที่ www.facebook.com/worawut.jaiweerawatana


“ป๋าเปรม” ลั่นจะช่วย จนกว่าจะท�ำให้บ้านเมืองสงบให้ได้ หรือจนกว่าจะขึ้นสวรรค์ ประเทศไม่ใช่ของใครคนใดคนหนึ่ง พร้ อ มให้ สั ญ ญากั บ เด็ ก ๆว่ า จะคิ ด ถึ ง จะไม่ ท อดทิ้ ง มี อ ะไรบอกมา ยั น ประเทศชาติ ไ ม่ ใ ช่ ข องใครคนใดคน หนึ่ ง /ประธานองคมนตรี และรั ฐ บุ รุ ษ เปิ ด โครงการ “สานใจไทย สู ่ ใ จใต้ พ หุ วั ฒ นธรรม”รุ ่ น ที่ 2 พร้ อ ม ย�้ ำ ศาสนาไม่ ใ ช่ อุ ป สรรคในการสร้ า งความรั ก ความสามั ค คี ใ ห้ กั บ ชาติ บ ้ า นเมื อ ง เน้ น เยาวชนน� ำ ความผาสุ ข กลั บ สู ่ พื้ น ที่ ภ าคใต้ สโมสรทหารบก วิภาวดี ---พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี และรัฐบุรุษ เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการ “สานใจไทย สู่ใจใต้พหุวัฒนธรรม”รุ่นที่ 2 ซึ่งเป็นโครงการที่เกิด ขึ้นจากด�ำริ ของพลเอกเปรม ที่มอบหมายให้องค์กรต่างๆ ทั้ง ภาครัฐและเอกชน ร่วมกันจัดกิจกรรม โดยน�ำเยาวชนจากจังหวัดชายแดนภาคใต้ มาใช้ชีวิต ร่วมกับครอบครัวอุปถัมภ์ในกรุงเทพฯและจังหวัดใกล้เคียง เพื่อ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ข นบธรรมเนียมประเพณีซึ่งกัน และกั น จน สามารถเชื่อมความสัมพันธ์อันดีต่อกัน เรียนรู้สภาพความเป็น อยู่และสามารถเชื่อมความสัมพันธ์เป็นเครือข่ายครอบครัวอันจะ น�ำไปสู่ความสมานฉันท์ในสังคม เป็นการสร้างโอกาสแก่เยาวชน 64 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ให้ได้รับการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ วิสัยทัศน์ และประสบการณ์ชีวิต ตลอด จนถึงการพัฒนาแนวคิดในการปฏิบัติตน ให้เป็นผู้น�ำของชุมชนในอนาคต พลเอกเปรม ให้ โ อวาทแก่ เยาวชนตอนหนึ่งว่า ต้องการน�ำเยาวชน ที่ นั บ ถื อ ศาสนาต่ า งกั น มาท� ำ กิ จ กรรม ร่วมกันเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประเพณี และวั ฒ นธรรม แม้ จ ะนั บ ถื อ ศาสนาที่ ต่างกัน แต่อยากให้เยาวชนได้ตระหนัก ว่าทุกคนล้วนเป็นเจ้าของประเทศนี้ด้วย กั น ทั้ ง สิ้ น และศาสนาไม่ ใช่ อุ ป สรรคที่ จะปิ ด กั้ น ทุ ก คนสามารถช่ ว ยกั น ดู แ ล บ้ า นเมื อ งให้ อ ยู ่ ร ่ ว มกั น ได้ อ ย่ า งปกติ สุขได้ และการมาอยู่ที่นี่ด้วยกันอยู่อย่าง มิ ต รแท้ เพื่ อ ชาติ ช่ ว ยกั น ท� ำ สิ่ ง ที่ ดี มี ประโยชน์ตอบแทนบุญคุณแผ่นดินไทย อยากให้ เ ยาวชนได้ ต ระหนั ก ว่ า ทุ ก คนล้ ว นเป็ น เจ้ า ของประเทศนี้ ด ้ ว ยกั น ทั้ ง สิ้ น และศาสนาไม่ ใ ช่ อุ ป สรรคที่ จ ะปิ ด กั้ น ทุ ก คนสามารถช่ ว ยกั น ดู แ ล บ้ า นเมื อ งให้ อ ยู ่ ร ่ ว มกั น ได้ อ ย่ า งปกติ สุ ข ได้ และการมาอยู ่ ที่ นี่ ด ้ ว ยกั น อยู ่ อ ย่ า งมิ ต รแท้ เพื่ อ ชาติ ช่ ว ยกั น ท� ำ สิ่ ง ที่ ดี มี ป ระโยชน์ ต อบแทนบุ ญ คุ ณ แผ่ น ดิ น ไทย การท�ำตนเองเป็นตัวอย่างที่ดี เช่นรักกัน พลเอกเปรม กล่าว เสียสละให้ส่วนรวม สามัคคีกัน เราก็เป็น ป๋าเปรม ยังขอบคุณทุกหน่วยงาน เพื่อนดูแลชาติบ้านเมืองต่อไปได้ แม้จะ ที่เกี่ยวข้อง ที่มีส่วนสนับสนุนให้กิจกรรม ต่างศาสนากันก็ตาม นี้เกิดขึ้นได้ส�ำเร็จตามเป้าหมาย พร้ อ มทั้งขอให้ผู้จัด โครงการได้ ส� ำ หรั บ โครงการ “สานใจไทย เปิ ด เผยถึ ง ข้ อ ความที่ เ ยาวชนเขี ย นส่ ง สู ่ ใจใต้ พหุ วั ฒ นธรรม รุ ่ น ที่ 2 จั ด ขึ้ น ประกวดถึงความรู้สึกว่ามีอย่างไรต่อแผ่น ระหว่างวันที่ 2 – 11 ตุลาคม 2558 มี ดินที่เป็นเจ้าของ เยาวชนเข้าร่วมทั้งสิ้น 327 คน โดยจะ “เราสัญญาจะรัก จะห่วงใย และ เดินทางไปทัศนะศึกษาตามสถานที่ส�ำคัญ จะคิดถึงพวกเธอทั้งหลายเสมอ แม้เธอจะ ต่างๆ ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล อยู่ไกลถึงจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านสังคม “อยากให้ลูกๆหลานๆเชื่อว่าเรา พหุวัฒนธรรมและน�ำประสบการณ์ที่ได้ จะร่ ว มมื อ กั น ท� ำ ชาติ ใ ห้ ส งบให้ ไ ด้ จะ รั บ กลั บ มาพั ฒ นาพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดน สลายความเข้าใจผิดให้ทุกคนเข้าใจถูกให้ ภาคใต้ต่อไป ได้ เราจะท�ำแบบนี้ จนกว่าคนจะเข้าใจถูก โดยมี พลเรือเอก ณะ อารีณิจ และจนกว่าเราจะขึ้นสวรรค์ไปด้วยกัน” ผู ้ บั ญ ชาการทหารเรื อ พลเอกปราการ 65 issue 94 november 2015

ชลยุ ท ธ รองเสนาธิ ก ารทหาร พลเอก เฉลิ ม ชั ย สิ ท ธิ ส าท ผู ้ ช ่ ว ยผู ้ บั ญ ชาการ ท ห า ร บ ก พ ล อ า ก า ศ เ อ ก เ ผ ด็ จ วงษ์ปิ่นแก้ว ผช.ผบทอ. ร่วมงาน โครงการ “สานใจไทย สู่ใจใต้” เริ่มตั้งแต่ ปี2548 เป็นต้นมา ได้ด�ำเนิน การมาแล้ว 23 รุ่น รุ่นพหุวัฒนธรรม 1 รุ่น โดยโครงการนี้ ไ ด้ จั ด ร่ ว มกั บ ส� ำ นั ก งาน จุ ฬ าราชมนตรี ส� ำ นั ก พระพุ ท ธศาสนา แห่ ง ชาติ และมหาลั ย ฟาฏอนี ที่ น� ำ เยาวชนมาเข้าร่วมโครงการ ร ว ม ถึ ง ไ ด ้ รั บ ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ จาก หน่ ว ยงานภาครั ฐและเอกชน ทั้ง ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้นฐาน (สพฐ.) ส�ำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) กระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยองค์การ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) กองทัพไทย โดยเหล่าทัพต่างๆ ส�ำนักงาน ต�ำรวจแห่งชาติ ศูนย์อ�ำนวยการบริหาร จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.)


66 IS AM ARE www.ariyaplus.com


67 issue 94 november 2015


68 IS AM ARE www.ariyaplus.com


69 issue 94 november 2015


70 IS AM ARE www.ariyaplus.com


No man is fit to command another who can’t command himself. คนที่ ไ ม่ ส ามารถบั ญ ชาตั ว เองได้ ย่ อ มไม่ เ หมาะสมที่ จ ะบั ง คั บ บั ญ ชาคนอื่ น ที่ ม า: www.thaiquip.com

71 issue 94 november 2015


ปี ชวด

การงาน-ความท้าทายใหม่ ตอนนี้เป็นเวลาดีที่จะลองมือท�ำสิ่งใหม่ๆ คนปีชวดที่ได้รับความท้าทายใหม่ๆควรตอบ รับด้วยความยินดี อย่ากลัวงานที่คุณไม่คุ้นเคย คุณจะเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว ด้วยท่าทีที่ตอบรับทุกอย่าง คุณจะมี โอกาสดีที่จะก้าวหน้าบนเส้นทางอาชีพ และยังท�ำให้คุณเป็นคนที่น่าร่วมงานด้วยโชคด้านการเลื่อนขั้นรอคุณอยู่ ธุรกิจ-ไม่เหน็ดเหนื่อย ระดับพลังงานของคุณเกิดขีด คุณจึงท�ำงานได้มากกว่าปกติ คุณมีความกระตือรือร้นใหม่ ซึ่งส่งผลต่อผู้คนรอบ ข้างคุณในทางที่ดี ตอนนี้เป็นเวลาที่ไม่ต้องกลัวงานหนัก คนอื่นจะรวมตัวกันเพื่อคอยสนับสนุนคุณและทีมงานของคุณจะได้รับแรงกระตุ้น จากอารมณ์ที่สดใสของคุณคุณสามารถเสี่ยงได้บ้าง หากสบโอกาสดี อย่างได้ลังเล คุณมีโชคที่ดี ความรัก-สุขใจ สิ่งต่างๆด�ำเนินไปอย่างรวดเร็วในโลกของคุณ แต่อาจเป็นโชคดีหรือเป็นโชคร้าย เพราะไม่มีแววว่าจะมีอะไรที่ช้าลง คุณ จึงอาจปล่อยตัวไปตามสถานการณ์ มีสัญญาณบ่งชี้ถึงความสุขมากมาย คุณจึงควรสนุกให้เต็มที่คุณสามารถควบคุมอารมณ์ของคุณได้ อย่างสมบูรณ์ และหากคุณเลือกที่จะมีความสุข คุณก็จะเป็นได้ตามนั้นพยายามอยู่ในวงล้อมของเพื่อนที่ชื่นชมคุณ การศึกษา-เต็มร้อย คุณสามารถท�ำงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จได้อย่างรวดเร็ว จึงมีเวลาเหลือส�ำหรับงานอดิเรกและสนุกกับชีวิตสังคม ได้อย่างมากขึ้น ตอนนี้เป็นเวลาดีที่จะเปิดหูเปิดตาของคุณ หาเวลาคบหาผู้อื่น

ปี ฉลู

การงาน-อารมณ์ขัดแย้ง คุณอาจเผชิญกับปัญหาส่วนตัวในที่ท�ำงานในเดือนนี้ เมื่อพบกับทางเลือกบางอย่าง คุณอาจไม่ได้ตัดสินใจเลือกทางใดทางหนึ่งโดยเด็ดขาด ท�ำให้เลือกยากยิ่งขึ้นคุณไม่คุ้นเคยกับความไม่แน่นอนมาก ขนาดนี้ คุณจึงเครียดและวิตกกังวลจงเชื่อมั่นในภูมิปัญญาของคุณเองที่จะตัดสินใจเลือกทางที่เหมาะสมและเดินหน้าต่อไป ธุรกิจ-ระวังถูกหักหลัง บางครั้งแม้แต่คนที่คุณไว้ใจยังอาจท�ำให้คุณผิดหวังโดยไม่ได้ตั้งใจ ให้คอยดูแลด้านที่ส�ำคัญธุรกิจของคุณไว้ให้ดี และคอยตรวจดูเช็คและบัญชีให้เรียบร้อยไม่ว่าจะเกิดปัญหาอะไรขึ้นก็อย่าท�ำให้เรื่องเล็กเป็นเรื่องใหญ่ ความรัก-พยายาม ความสัมพันธ์อาจตึงเครียดในเดือนนี้จากการไม่เชื่อใจกัน ระวังอย่าปล่อยให้ช่องว่าระหว่าคุณกับคู่รักกว้างเกินไป มิฉะนั้นอันตรายจากมือที่สามอาจเกิดขึ้นได้ พยายามใช้เวลาร่วมกันให้มากขึ้นและตอบสนองด้วยความอ่อนโยนเมื่อคู่ของคุณเริ่มแสดง ความรักหากสิ่งต่างๆแย่ลง ก็ไม่ใช่ความผิดใคร การศึกษา-คิดทบทวน อาจยากที่จะจดจ่อกับเรื่องการเรียนเมื่อมีหลายเรื่องให้คุณต้องคิดหากคุณรู้สึกว่ายากที่จะตั้งสมาธิ ก็ให้หาเวลา หลบไปเพลินกับงานอดิเรกที่คุณชอบเพื่อช่วยให้คุณคิดทบทวนสิ่งต่างๆและสงบอารมณ์ให้ได้อีกครั้ง การผิดใจกับเพื่อนอาจมีผลต่อคุณ อย่างลึกซึ้งเกินกว่าที่คุณคิด ลองพูดถึงปัญหานี้บ้าง แล้วคุณจะได้คิดทบทวนด้วยเหตุผล ให้อภัย และลืมมันไป

ปี ขาล

การงาน-อย่าเสียเพื่อน พลังงานค่อนข้างจะปั่นป่วน คุณจึงไม่ควรปล่อยให้ตัวเองเครียดเกินไปเมื่อสิ่งต่างๆ ไม่เป็นไป ตามที่คุณคาดหวัง ดาวหมายเลข 7 อาจสร้างปัญหาบ้างและอาจกระทั่งท�ำให้คนที่คุณคิดว่ารู้จักดีท�ำในสิ่งทีคุณคาด ไม่ถึง แต่อย่าตัดสัมพันธ์เพียงเพราะความผิดพลาดเล็กน้อย ทุกคนมีวันที่ล้มกันได้ และในเดือนนี้คุณอาจพบกับวันเช่นนั้น ธุรกิจ-หลีกเลี่ยงการเสี่ยง เมื่อสิ่งต่างๆ ก�ำลังราบรื่นดีมาก คุณอาจรู้สึกตกใจที่จู่ๆ คุณก็พบอุปสรรคแต่จงเผชิญกับสิ่งกีดขวางด้วย ความมั่นใจ แล้วคุณจะพบว่าไม่มีสิ่งใดยากเกินไปตราบใดที่คุณเชื่อมั่น คุณอาจต้องเสียเงินบ้าง ดังนั้นจึงไม่ควรพาตัวเองไปเสี่ยงกับ การเสียเงินก้อนใหญ่ ความรัก-ทะเลาะเบาะแว้ง เช่นเดียวกับด้านการงาน สิ่งต่างๆ อาจไม่ราบรื่นที่บ้าน คู่ครองอาจมีปากเสียงกันได้ง่ายๆ เมื่อพลังงาน รุนแรงเช่นนี้ ดับพลังร้ายที่รบกวนคุณและปกป้องชีวิตคู่ของคุณด้วยการสวมเครื่องรางรักษาชีวิตคู่เพื่อช่วยให้แน่ใจว่าคนนอกจะไม่ฉวย โอกาสตอนที่คุณอ่อนแอในเดือนนี้และใช้ความอ่อนแอมาเล่นงานคุณ การศึกษา-พูดระบายออกมา อาจยากที่จะมีสมาธิกับการเรียน เมื่อคุณมีเรื่องอื่นให้คิด การผิดใจกับเพื่อนอาจมีผลต่อคุณมากกว่าที่ คุณคิด การพูดระบายออกมาบ้างจะช่วยให้คุณได้คิดหาเหตุผล ให้อภัย และลืมมันไปได้ 72 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Wheel Of Life

ปี เถาะ

การงาน-งานหนัก สิ่งต่างๆอาจล�ำบากขึ้นในที่ท�ำงาน เพียงเพราะสุขภาพของคุณไม่ได้อยู่ในช่วงที่ดีที่สุด การตั้ง สมาธิอาจท�ำได้ยาก ท�ำให้ความผิดพลาดเพราะความประมาทปรากฏให้เห็น จับคู่กับเพื่อนร่วมงานสักคนและ ท�ำงานร่วมกันเป็นทีม ขอความช่วยเหลือเมื่อจ�ำเป็น ธุรกิจ-แบ่งเบาภาระ พยายามอย่ารับผิดชอบมากเกินไปในเดือนนี้ หากคุณกระจายหน้าที่ได้ดี คุณก็จะสามารถท�ำงานได้มากเท่าเดิม หรืออาจมากขึ้นเมื่อคุณท�ำทุกอย่างเอง จงใช้เดือนนี้เพื่อกระตุ้นทีมงานของคุณให้ลูกน้องได้แบ่งเบาภาระงานของคุณบ้างและตัดสิน ใจเรื่องส�ำคัญบางอย่างแทนคุณ ความรัก-โหยหาเพื่อน คนปีเถาะจะโหยหาเพื่อนในเดือนนี้ ยิ่งหากพลังงานของคุณใช้ไปกับเรื่องงานเป็นหลักในช่วงเดือนที่ผ่านมา ให้คู่ของคุณเป็นพลังให้แก่คุณและเป็นเพื่อนที่คุณต้องการ คนโสดปีเถาะมีแนวโน้มที่จะหาเพื่อนใจแต่อย่าลดมาตรฐานของคุณเพียง เพราะแค่อยากมีความส้มพันธ์ บางทีการมีความส้มพันธ์ที่ผิดตัวก็อาจแย่ยิ่งกว่าไม่มี การศึกษา-ทางสายกลาง คนปีเถาะที่เรียนอยู่ต้องเตือนตัวเองอย่าเอาเรื่องเรียนกับเล่นมาปะปนกัน การขยันเรียนเป็นเรื่องส�ำคัญ แต่ก็มีบ้างที่อาจพยายามมากเกินไป หากคุณลุยเรียนไปเรื่อยโดยไม่ให้เวลาตัวเองได้พักผ่อนคุณอาจพบว่าการท�ำเช่นนี้เริ่มเป็นผลเสีย

ปี มะโรง

การงาน-ล�ำบาก เดือนนี้อาจเป็นช่วงที่ยากล�ำบากในที่ท�ำงาน คุณหงุดหงิดง่ายกว่าปกติและเมื่อคนอื่นคิดต่างจากคุณ ความส้มพันธ์ของคุณ ความส้มพันธ์ของคุณก็เริ่มตึงเครียดคนปีมะโรงไม่ใช่คนที่จะยอมถอยเมื่อเกิดความไม่ลงรอย แต่ อย่าน้อยตอนนี้ นั่นอาจเป็นสิ่งที่คุณควรท�ำที่สุด เรียนรู้ที่จะเลือกสมรภูมิรบของคุณอย่าฉลาด อย่าสู้เมื่อไม่มีโอกาสชนะ ธุรกิจ-หลีกเลี่ยงการเจรจา ตอนนี้ไม่ใช่เวลาดีส�ำหรับการเจรจาข้อตกลงหรือท�ำการเจรจาต่อรองเรื่องที่ส�ำคัญ คุณขาดความสามารถ ที่จะน�ำสิ่งที่ท�ำให้ทั้งสองฝ่ายพอใจได้ระยะยาว ซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดจากดาวหมายเลข 3 อารมณ์ของคุณสับสนมากกว่าปกติ และไม่ แน่ใจว่าควรเชื่อใจใคร ซึ่งส่งผลต่อการวางตัวของคุณในการพบปะกัน ความรักและความสัมพันธ์-กระทบกระทั่ง คุณควรเดินหนีเมื่อพบว่าตัวเองก�ำลังเถียงในเรื่องไม่เป็นเรื่อง เมื่อตกอยู่ภายใต้อิทธิพล ของดาวหมาย 3 เรื่องหยุบหยิบก็จะบานปลายเป็นปัญหาใหญ่ได้ไม่ยาก ความเห็นใจและเมตตาคือสิ่งส�ำคัญที่สุดส�ำหรับคุณในตอน นี้ ทั้งคุณต้องสงบนิ่งไว้

ปี มะเส็ง

การงาน-อย่าเปิดศึกซึ่งหน้า คุณท�ำงานคนเดียวได้ดีกว่าร่วมงานกับผู้อื่น ทั้งการประชุมปรึกษาหารือกันมากเกินไป ก็อาจท�ำให้คุณหงุดหงิดและไม่หน้าร่วมงานด้วย ระวังอย่าพาลอาละวาดบ่อยเกินไปมิฉะนั้นคนอื่นอาจเริ่มหลบคุณ และคุณอาจพบว่าตัวเองเข้ากับทีมไม่ได้ ในการประชุมต้องดึงดันกับความคิดอย่างใดอย่างหนึ่งเกินไป ธุรกิจ-อยู่เงียบ ๆ แม้ว่าคุณอาจมีอารมณ์ที่พร้อมจะเดินหน้าลุย แต่ต้องยับยั้งตัวเองไว้ก่อนตอนนี้ไม่ใช่เวลาที่จะกล้าเดินหน้า เพราะ ผู้อื่นจะไม่ยอมรับวิธีการเช่นนั้นของคุณ อดทนรอไว้ แล้วค่อยเคลื่อนไหวเมื่อโชคของคุณดีขึ้น นิสัยที่ชอบโต้เถียงของคุณท�ำให้คุณเป็น คนที่คุยด้วยยาก ดังนั้นทางที่ดีจึงไม่ควรติดต่อกับผู้คนที่คุณยังไม่รู้จักดีพอ ความรัก-ตึงเครียด คุณอาจพบว่าความสัมพันธ์ของคุณตึงเครียดในเดือนนี้แม้แต่ในเรื่องของหัวใจ บางทีคุณอาจหาเรื่องได้โดยไม่มี สาเหตุด้วยซ�้ำ พกเครื่องรางแห่งความสงบสุข ติดตัวไว้เพื่อช่วยให้ความสัมพันธ์ของคุณกับผู้อื่นดีขึ้น การศึกษา -ช่างโต้เถียง เดือนนี้ไม่ง่ายเลยที่จะสอนคุณ คุณยังพบว่ายากที่จะตั้งสมาธิเพราะคุณยึดถือความคิดเกี่ยวกับบางสิ่ง อย่าง ดื้อรั้นไร้เหตุผล คุณต้องหัดประนีประนอมบ้าง อย่าปล่อยให้เรื่องที่ไม่ส�ำคัญท�ำให้คุณรู้สึกแย่และอย่าซึมเศร้าเพราะคิดมากเกินไป สิ่ง ต่างๆ จะดีขึ้นในเดือนหน้า 73 issue 94 november 2015


ปี มะเมีย

การงาน-ไปได้สวย อาชีพการงานของคุณก�ำลังมุ่งไปยังทิศทางที่เหมาะสม แต่อย่าคิดว่าโชคดีจะอยู่กับคุณตลอดไป แม้ว่าคุณอาจชื่นชมกับตัวเองแต่ก็ไม่ควรเรื่องมากหรือหลงระเริง จงอ่อนน้อมถ่อมตนไว้เสมอและรักษาเส้นทางเดิม ที่น�ำคุณสู่ความส�ำเร็จบนเส้นทางอาชีพมาตลอดอาจมีแนวโน้มบางอย่างที่เห็นได้ชัดเกินขึ้นในสภาพแวดล้อมที่ท�ำงานคุณ ธุรกิจ-หวังสูง โชคด้านธุรกิจดีมาก ทั้งยังมีโอกาสมากมายเข้ามาหาคุณ คุณจะรู้สึกทะเยอะทะยานกว่าปกติ ซึ่งก็สมควรแล้ว มีสิ่งที่น่า ยินดีรอคุณอยู่ ตัวคุณจะเลือกได้เองว่านี่คือเวลาที่ต้องลงมือแล้วหรือยัง แต่แน่นอนว่าช้าๆได้พร้าเล่มงาม กระนั้นนี่อาจเป็นการเตรียม คุณให้พร้อมส�ำหรับสิ่งที่จะมาถึงในปีหน้าพลังของเดือนนี้ยังเอื้อต่อการรื้อฟื้นสายส้มพันธ์กับผู้คนที่ท�ำธุรกิจ ความรัก-น่ายินดี คุณจะรู้สึกโรแมนติกขึ้นในเดือนนี้กว่าที่ผ่านมาตลอดทั้งปี ความรู้สึกของคุณอาจท่วมท้น และไม่ว่าจะเป็นเพราะ บรรยากาศแห่งเทศกาลเฉลิมฉลองหรือบางอย่างที่น�ำอารมณ์เช่นนี้มาให้ก็ตาม แต่การใช้เวลากับคนที่คุณรักก็มีความส�ำคัญมากกว่าที่ เคย คนปีมะเมียเป็นคนที่รักครอบครัวอยู่แล้ว การศึกษา-ก�ำหนดความตั้งใจ คุณก�ำลังรู้สึกดีกับอนาคต และกระตือรือร้นพอสมควรกับการเรียน เพราะต้องการสร้างฐานที่มั่นคงให้ ตัวเองส�ำหรับอนาคตที่สดใส

ปี มะแม

การงาน-พัฒนาการใหม่ คุณอาจพบการเปลี่ยนแปลงในด้านการงานและแม้ว่าคุณจะไม่มั่นใจในตอนแรก แต่ไม่ช้าคุณ จะตระหนักถึงผลดี ยิ่งคุณปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ได้เร็วเท่าไหร่ คุณก็จะเริ่มได้รับประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลง นี้เร็วขึ้นเท่านั้น คนปีมะแมบางคนอาจได้รางวัลที่ชัดเจนในรูปของการเลื่อนขั้นหรือเงินเดือนที่เพิ่มขึ้นมาก ธุรกิจ-โอกาสมหาศาล คนปีมะแมที่ท�ำธุรกิจจะได้พบกับโอกาสใหม่มากมาย ขึ้นอยู่กับคุณเองว่าจะเลือกเดินไปตามทางใด คุณไม่ สามารถเลือกทุ่มเทให้ได้หลายอย่างพร้อมกัน และยังมีสิ่งที่คุณต้องเลือก จงเลือกอย่าฉลาด ปรึกษาผู้คนที่คุณไว้ใจเมื่อต้องตัดสินใจ การได้พูดคุยอาจช่วยให้คุณมองเห็นสิ่งต่างๆชัดเจนขึ้นและช่วยให้คุณเลือกทางที่ดีได้ ความรัก-ก้าวส�ำคัญ เดือนแห่งการเปลี่ยนแปลงในด้านความรัก ดังนั้นคนปีมะแมบางคนอาจยกระดับความสัมพันธ์ไปสู่ขั้นใหม่ ตอนนี้ เป็นเดือนที่ดีเยี่ยมส�ำหรับการแต่งงานและเริ่มต้นการผจญภัยครั้งใหม่ในฐานะคู่ครอง หากคุณยังไม่พบคนพิเศษ ก็ให้คอยเฝ้าดูไว้ เพราะ อาจมีโอกาสดีๆให้คุณได้พบรักในเดือนนี้ คุณมีพลังที่ดีอยู่เคียงข้าง และการมองโลกในแง่ดีของคุณยังท�ำให้คุณน่าหลงใหล การศึกษา-สร้างอนาคต เด็กปีมะแมอาจพบความสนใจใหม่บางอย่าง จงท�ำด้วยเป้าหมายที่จริงจัง เพราะสิ่งใหม่ที่คุณเริ่มต้นตอนนี้อาจ น�ำไปสู่ความส�ำเร็จอันยิ่งใหญ่ในภายหลังปีนี้เป็นเวลาของการสร้างอนาคต นี้จึงควรเป็นเป้าหมายหลักของคุณ

ปี วอก

การงาน-ไล่ตามความฝัน คนที่มุ่งมั่นกับอาชีพการงานจะได้พบว่าตัวคุณได้เลื่อนต�ำแหน่งหรือมีบริษัทอื่นมายื่น ข้อเสนอให้ โอกาสใหม่ๆเปิดขึ้น และหลายอย่างก็ช่างน่าเย้ายวนเสียจริง แต่ก่อนจะตัดสินใจครั้งส�ำคัญ ควรคิดให้ รอบคอบก่อน หากให้เวลาตัวเองคิดอย่างดีแล้ว และยังต้องการเดินหน้าต่อไป ก็ท�ำได้เลยโชคของคุณก�ำลังดีมาก ธุรกิจ-เดินหน้าตามแผน โชคด้านธุรกิจดีมาก ทั้งยังมีโอกาสใหม่ๆที่น่าตื่นเต้นมากมายเข้ามาหาคุณ ลองเลือกสักอย่างดูหากคุณรู้สึก อยากท�ำ โอกาสที่จะประสบความส�ำเร็จจะมีสูง คุณจะกล้าได้มากขึ้นในด้านการลงทุน ขยายธุรกิจหรือเริ่มต้นท�ำโครงการใหม่ คุณจะ ท�ำได้ดีกว่าหากมองภาพไว้แทนที่จะจดจ่อกับรายละเอียดในแต่ละวันเกินไป ความรัก-ระบายสิ่งที่อัดอั้น จ�ำไว้ว่ากุญแจส�ำคัญส�ำหรับความสัมพันธ์ที่ดีคือความสามารถที่จะพูดอย่างเปิดอกกับคู่รักของคุณ หากมี สิ่งที่รบกวนใจคุณ อย่าเก็บไว้ข้างใน คุณควรพูดออกมาอย่างเปิดเผย ไม่ว่าการเปลี่ยนแปลงจะน�ำผลดีมาให้ในทันทีหรือไม่ก็ตาม แต่ คุณก็จ�ำเป็นต้องท�ำบางอย่างในตอนนี้ อย่ากลัวการเปลี่ยนแปลงหากมีสิ่งที่เป็นปัญหารบกวนใจคุณ สุขภาพ-กล้าไปให้ไกล คุณจะน�ำหน้าครูของคุณอยู่หนึ่งก้าวเสมอในเดือนนี้ในด้านการเรียนคุณจะพบกับช่วงเวลาที่ดีมาก แต่คุณอาจ เริ่มหมดความสนใจหากงานที่ท�ำง่ายเกินไป ในกรณีนี้ ลองผลักดันตัวเองให้หนักขึ้น หาความรู้นอกหลักสูตรการสอน 74 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Wheel Of Life

ปี ระกา

การงาน-ความช่วยเหลือจากเบื้องบน คุณมีพลังสร้างสรรค์ที่ดีมากในเดือนนี้ ทั้งยังมีพลังที่จ�ำเป็นต่อการตักตวง สิ่งดีๆ ให้ได้มากที่สุด ซึ่งสามารถท�ำให้คนอื่นตื่นเต้นไปกับความคิดของคุณได้อีกสิ่งที่จะให้ผลดีแก่คุณในเดือนนี้คือ การสนับสนุนจากผู้ที่อยู่ในต�ำแหน่งที่สามารถช่วยเหลือคุณได้ เมื่อคุณเข้าตาบุคคลนั้นแล้วสิ่งต่างๆก็ง่ายดายขึ้น ธุรกิจ-เดินหน้าคว้าชัย นี่คือเวลาที่น่าตื่นเต้นส�ำหรับนักธุรกิจปีระกา ดาวแห่งสวรรค์น�ำโอกาสใหม่ๆมากมายมาให้คุณยังมีพลังงาน เพิ่มใหม่คุณจึงพร้อมเต็มที่ส�ำหรับการไขว่คว้าหลายอย่างพร้อมกัน ยิ่งคุณท�ำตัวเองให้ว่างได้มากเท่าไหร่ คุณก็ยิ่งผลักดันตัวเองได้มาก เท่านั้นคุณจะไปได้สวยเมื่อลงมือท�ำไม่หยุด ซึ่งก็เป็นสิ่งที่คุณจะได้พบในเดือนนี้ควรร่วมงานกับผู้คนหลากหลายรอบตัวคุณ ความรัก-สนุกสนาน จงเชื่อความรู้สึกภายในของคุณเมื่อต้องตัดสินใจเลือก แม้ว่าด้านที่มีเหตุผลอาจแนะน�ำคุณไปทางหนึ่ง ขณะที่หัวใจ บอกให้คุณไปอีกทางแม้ว่าจะเป็นเพียงความสุขชั่วคราว ก็ไม่จ�ำเป็นที่ต้องปฏิเสธความสนุกสนานสั้นๆนี้ อย่าให้สามัญส�ำนึกที่มีมากเกิน มาท�ำลายสิ่งต่างๆที่คุณจะได้พบในระยะสั้นๆ แม้ว่าคุณอาจต้องการวางแผนทุกสิ่งแต่บางครั้งทุกอย่างก็อาจลงเอยด้วยดี การศึกษา-ขยายมุมมอง คนปีระกาที่ก�ำลังเรียนรู้สิ่งใหม่ๆจะก้าวหน้าอย่างรวดเร็วจริงๆในด้านการเรียนยิ่งคุณต้องเรียนหนักเท่าไหร่ คุณก็จะท�ำได้ดีมากขึ้นเท่านั้น จงตักตวงจากพลังที่ดีของเดือนนี้ให้เต็มที่

ปี จอ

การงาน-นิ่งไว้ก่อน ตอนนี้เป็นเวลาที่ต้องระวังข้างหลังไว้ให้ดี เมื่อพลังงานร้ายกาจเช่นนี้แม้แต่เพื่อนก็อาจกลายเป็น ศัตรูได้ชั่วคราว คุณอาจต้องเผชิญกับความท้าทายต่างๆบางครั้งคุณก็อาจอดใจไม่ได้ที่จะท�ำตามอารมณ์และยอมแพ้ แต่ก่อนที่จะตัดสินใจแบบไม่คิด ควรสงบอารมณ์ก่อนและคิดให้ถี่ถ้วน สิ่งต่างๆ จะไม่เป็นปัญหาไปตลอด ธุรกิจ-วิธีการใหม่ สิ่งต่างๆอาจดูเหมือนนิ่งอยู่กับที่ โครงการที่เคยเดินหน้าด้วยดีก็อาจพบกับอุปสรรค อย่ายอมให้ความล�ำบากแค่ชั่ว ขณะเอาชนะคุณได้ บางทีคุณอาจต้องการวิธีการใหม่ ใช้เวลาคิดทบทวนสิ่งต่างๆให้รอบคอบ แม้ว่าคุณอาจต้องเปลี่ยนแปลงเส้นทาง แต่อย่ายอมทิ้งเป้าหมายดาวร้ายห้าเหลืองอาจร้ายกาจ แต่บางครั้งปัญหาก็ต้องการแค่ให้คุณปรับเปลี่ยนมุมมอง ความรัก-เรื่อย ๆ โชคด้านความรักดิ่งลง ชีวิตรักของคุณจึงไม่น่าตื่นเต้นนัก แต่คุณก็อาจไม่มีอารมณ์ที่จะรักสักเท่าไหร่ด้วย มีเรื่องอื่น มากมายให้คุณต้องคิดและตอนนี้จะฝืนให้คุณพูดคุยเล่นก็คงไม่ใช่เรื่องสักเท่าไหร่ คุณขี้โมโหซึ่งก็ไม่ช่วยให้คุณน่ารักนัก นอกจากคุณจะ พบกับคนที่ทนความพิลึกพิลั่นในตอนนี้ของคุณได้ ถือว่าตอนนี้ไม่ใช่เวลาที่ดีนักส�ำหรับการหาความรัก

ปี กุน

การงาน-ขับเคี่ยว เมื่อพลังงานร้ายกาจเช่นในยามนี้แม้แต่เพื่อนก็อาจกลายเป็นศัตรูได้ชั่วคราว จงเตรียมใจรับความ ท้าทายต่างๆ บางครั้งคุณก็อาจทนไม่ไหวที่จะท�ำตามอารมณ์และยอมแพ้ แต่ใจเย็นไว้ก่อน เพราะสิ่งที่คุณพบจะเป็น แค่ชั่วคราวก่อนที่จะตัดสินใจแบบไม่คิด ควรสงบอารมณ์ก่อนและคิดให้ถี่ถ้วน ธุรกิจ-อย่าทิ้งเป้าหมาย สิ่งต่างๆ อาจดูเหมือนหยุดนิ่งโครงการเดินหน้าด้วยดีก็อาจพบกับอุปสรรคกะทันหัน อย่ายอมให้ความยาก ล�ำบากแค่ชั่วขณะเอาชนะคุณได้ควรใช้เวลาคิดให้ถี่ถ้วน แม้ว่าคุณต้องเปลี่ยนแปลงเส้นทางแต่อย่ายอมทิ้งเป้าหมาย ดาวร้ายห้าเหลือง อาจร้ายกาจแต่บางครั้งปัญหาก็ต้องการแค่ให้คุณปรับเปลี่ยนมุมมอง ความรัก-เงียบเหงา ความสัมพันธ์อาจล�ำบากขึ้น ความรักขาดหายไป เพราะคุณอาจมองว่ามันไร้สาระเมื่อเทียบกับสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้น ในภาพรวมดังนั้นชีวิตรักของคุณจึงต้องเงียบเหงาไปสักพัก คนที่ยังโสดไม่มีแนวโน้มจะได้พบใครที่คุณสนใจ แต่คุณอาจมีเรื่องอื่นให้คิด ดังนั้นชีวิตรักที่เงียบเหงาจึงไม่ส่งผลต่อคุณ คนที่แต่งานแล้วสามารถพึ่งพาก�ำลังใจและสนับสนุนจากคู่ครองของคุณ การศึกษา-หาผู้ชี้น�ำ สิ่งต่างๆ อาจไม่เป็นไปตามแผน คุณอาจเริ่มรู้สึกไม่มั่นใจไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใด อย่าปล่อยให้ประสบการณ์ที่ไม่ดี เพียงครั้งสองครั้งมาขัดขวางคุณได้ พยายามต่อไปเพื่อท�ำผลการเรียนให้ดี อุปสรรคแค่ชั่วคราวจะไม่อยู่นาน 75 issue 94 november 2015


พลั ง เยาวชน พลั ง ของแผ่ น ดิ น

เรียนและกิจกรรมต้องควบคู่กัน เอิร์ธ พงศ์พัฒน์ เลิศเตชะสกุล

ปี นี้ ก็ ป ี ที่ 8 แล้ ว ส� ำ หรั บ ครอบครั ว พอเพี ย ง ระหว่ า งที่ เ ราก� ำ ลั ง ท� ำ กิ จ กรรม ในงาน I AM HERO 4 ICT ฮี โ ร่ พั น ธุ ์ ใ หม่ ใส่ ใ จอนิ เ มชั น และเกม พา น้ อ งๆ เยาวชนไปเรี ย นรู ้ ก ารเรี ย นอนิ เ มชั่ น กั บ รุ ่ น พี่ ม หาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากรอยู ่ นั้ น ปรากฏนั ก ศึ ก ษาชายปี 4 รู ป ร่ า งหล่ อ เหลาเอาการมาแนะน� ำ ตั ว กั บ เรา “ผมเอิ ร ์ ธ ครั บ ครอบครั ว พอเพี ย งรุ ่ น ค่ า ยบ้ อ งตี้ บ น” ที ม งานถึ ง กั บ ผงะ ค่ า ย บ้ อ งตี้ บ นต้ อ งย้ อ นไปราวปี 2553 ที่ เ รารวมตั ว กั น ไปบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ ใ ห้ กั บ น้ อ งๆ โรงเรี ย นบ้ า นบ้ อ งตี้ บ น อ� ำ เภอไทรโยค จั ง หวั ด กาญจนบุ รี 7 วั น 6 คื น โดยมี ก ลุ ่ ม กิ จ กรรมตั ว ยงอย่ า งน้ อ งเอิ ร ์ ธ พงศ์ พั ฒ น์ เลิ ศ เตชะสกุ ล เป็ น หั ว เรี่ ย วหั ว แรงหลั ก ในตอนนั้ น

76 IS AM ARE www.ariyaplus.com


77 issue 94 november 2015


น้องๆ ที่ก�ำลังมองหาคณะที่จะเรียนต่ออาจจะเข้าใจว่า การเรียนอนิเมชั่นนั้นต้องท�ำแต่การ์ตูนอย่างเดียว พี่เอิร์ธแนะน�ำ ว่า พื้นฐานจากศิลปะและทักษะทางคอมพิวเตอร์ท�ำให้เกิดมุม มองใหม่ที่สามารถสร้างให้เป็นงานจริงขึ้นมาได้ นอกจากการ์ ตูนอนิเมชั่นแล้ว ยังมีงานคอนเสิร์ต ภาพยนตร์ โฆษณา และ รายการต่างๆ ฯลฯ ให้ต้องออกแบบควบคุมเนื้อหาทั้งภาพและ เสียงอีกด้วย นอกจากนี้เอิร์ธยังมองไปถึงการเรียนต่อด้านซาวด์ เอ็นจิเนียเกี่ยวกับการเป็นโปรดิวเซอร์ท�ำเพลง เพราะปัจจุบัน เอิร์ธรับงานเป็นดีเจสแครชแผ่นเป็นรายได้พิเศษ สิ่งต่างๆ ก็ มีพ้ืนฐานมาจากสิ่งที่เรียน อยู่ที่ใครจะมองเห็นและต่อยอดใน แบบของตัวเองมากกว่า เอิร์ธเป็นคนที่ว่างไม่ได้ ต้องหากิจกรรมท�ำอยู่ตลอด เวลาควบคู ่ ไ ปกั บ การเรี ย น แม้ จ ะลาออกจากมหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ที่ใครหลายคนใฝ่ฝันอยากเรียน หันมามุ่งมั่นสอบ เข้ามหาวิทยาลัยศิลปากรซึ่งยากไม่แพ้กัน สิ่งต่างๆ เหล่านี้หลาย คนอาจนึกว่าเอิร์ธมีครอบครัวที่อบอุ่นคอยส่งเสริม แต่เปล่าเลย จริงๆ พ่อแม่ของเขาไม่ได้อยู่ด้วยกัน แต่ส�ำหรับเอิร์ธมันไม่ใช่ ปัญหาหรือปมด้อยที่จะเอามาเป็นอุปสรรคในการเรียนหรือท�ำ กิจกรรมต่างๆ เขายังมีพี่น้องที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย มี ที่ต้องผงะนั้นไม่ใช่อะไร เอิร์ธในตอนนั้นยังเป็นนักเรียน งาน มีเพื่อนๆ ที่คอยส่งเสริมกันไปในทางที่ดี โดยเฉพาะที่โรงเรียนสวนกุหลาบ ก่อนจบการศึกษา สวนกุหลาบ มัธยมศึกษาปีที่ 4 ตัวเล็กๆ ผิวคล�้ำเพราะชอบท�ำ กิจกรรมแบบไม่ห่วงหล่อ มาวันนี้เอิร์ธเป็นหนุ่มมาดแมนเต็มตัว เอิร์ธและเพื่อนตั้งชมรม B-BOY เอาไว้ ปัจจุบันมีรุ่นน้องสาน ไว้ผมยาวมีแววศิลปินจนจ�ำแทบไม่ได้ แม้จะห่างหายไปหลายปี ต่อ มีสมาชิกชมรมกว่าร้อยคน สิ่งนี้ก็เป็นความผูกพันอย่างหนึ่ง แต่วันนี้เอิร์ธก็มีโอกาสมาต้อนรับน้องๆ เยาวชนจากครอบครัว ระหว่างพี่น้อง ท�ำให้เอิร์ธรู้สึกว่าควรจะเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับรุ่น พอเพียง แถมยังชวนเพื่อนๆ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและ น้องมากกว่าจะเอาปัญหาครอบครัวมาประชดชีวิต “คิดถึงโรงเรียนครับ คิดถึงน้องๆ เพราะว่าตอนเอิร์ธ การสื่อสาร สาขาอนิเมชั่น มหาวิทยาลัยศิลปากรมาร่วมให้ ความรู้น้องๆ เกี่ยวกับการท�ำอนิเมชั่นแบบไม่มีกั๊กวิชากันเลย อยู่สวนกุหลาบเอิร์ธกับเพื่อนๆ ได้ตั้งชมรมชื่อชมรม B-BOY ตอนนั้นเอิร์ธชอบเต้น B-BOY ครับ พอกลับไปโรงเรียนก็มีรุ่น ทีเดียว เอิร์ธเล่าว่า ช่วงที่หายไปนั้นเพราะยุ่งอยู่กับการเรียน เขาสอบติดคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แต่พอเรียนแล้วรู้สึกว่าตัวเองยังไม่ชอบ เลยหันมาสอบติดคณะ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาขาอนิเมชั่น ก่อนจะพบ ว่า คณะนี้แหละ ใช่เลย “รู ้ สึ ก ชอบมากกว่ า ครั บ จริ ง ๆ มี พื้ น ฐานชอบระบบ คอมพิวเตอร์ เมื่อก่อนเรียนสายวิทย์มาครับ มาตอนนี้เรียนสาย ศิลป์ล้วนๆ เพราะใช้ศิลปะใช้คอมพิวเตอร์ล้วนๆ เลย ช่วงเรียน ม.4 ไม่เคยแตะงานวาดงานปั่นเลยครับ เพิ่งมาฝึกตอนสอบติดที่ ศิลปากร มาฝึกวาดฝึกปั่นตั้งแต่ปี 1 แล้วก็ชอบครับ ได้ถ่ายทอด ความเป็นตัวเองออกมา เพราะพื้นฐานของศิลปากรเริ่มจากการ ปั่นกับการวาด” 78 IS AM ARE www.ariyaplus.com


สืบทอดมา 6-7 รุ่นแล้ว มันก็อบอุ่นเป็น ครอบครัวที่ใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ กลับไปดูทุกปี ครับ ตอนนี้มีร้อยกว่าคนแล้ว ก็สืบทอด กันไปเรื่อยๆ เป็นรุ่นๆ” ย้อนกลับไปที่สาเหตุของการลา ออกจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เอิร์ธ อธิ บ ายว่ า รู ้ สึ ก เหมื อ นเรี ย นแล้ ว ไม่ มี ความสุข เหมือนโกหกตัวเองมาตลอดว่า ชอบ แต่พอเรียนแล้วก็พบว่าตัวเองไม่ได้ ชอบจริงๆ “ค้นหาตัวเองใช้เวลาปีหนึ่ง ไม่ได้ลงเรียนเลยครับ เรียนไปแค่เทอม เดียว แล้วก็หางานประกวด หางานโน้น นี่ว่าเราชอบสายไหน แล้วรู้สึกว่าตัวเอง ชอบสายนิ เ ทศทั ศ นะครั บ ก็ เ ลยพยาม เอ็นให้ติด” เอิร์ธแนะน�ำว่า น้องๆ ที่ก�ำลังจะ ไปเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัย อยาก ให้ค้นหาตัวเองให้พบจริงๆ ว่าชอบอะไร แต่ถึงอย่างไรก็ตาม การย้ายที่เรียนหรือ ย้ายมหาวิทยาลัยก็ไม่ใช่เรื่องส�ำคัญ หาก เราชอบและอยากเรี ย นในคณะนั้ น ๆ จริงๆ จะท�ำให้เรามีความสุขในการเรียน มากกว่าทนเรียนไปให้จบ หลากหลายกิจกรรมที่ครอบครัว พอเพี ย งจั ด ขึ้ น มี นั ก เรี ย นทั้ ง หญิ ง และ ชายเข้าร่วมกิจกรรม ในฐานะรุ่นพี่ที่เคย

ผ่านกิจกรรมมาแล้วหลายรูปแบบ ตั้งแต่ มั ธ ยมศึ ก ษาที่ 4-6 เอิ ร ์ ธ มองว่ า การที่ นักเรียนหญิงชายมาร่วมท�ำกิจกรรมต่างๆ นั้นไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี เรื่ อ งชู ้ ส าวหรื อ เรื่ อ ง เซ็กส์มาเกี่ยวข้อง อยู่ที่จุดประสงค์ว่าเรา มาท�ำกิจกรรมเพื่ออะไร “การท�ำกิจกรรมคือการได้เรียน รู้จิตใจของคน ได้เรียนรู้เขาคิดอะไรเรา คิดอะไร และได้เรียนรู้การท�ำงานร่วมกัน เอิร์ธคิดว่าเรื่องเพศมันเป็นเรื่องธรรมชาติ ครับ ยังไงทุกคนคิดอยู่แล้ว อยู่ที่ความ เหมาะสม มันอยู่ที่ตัวคนแต่ละคน เรา ต้องชั่งใจในส่วนหนึ่งว่าเรามาท�ำกิจกรรม นะ เราไม่ได้มาหาเพศตรงข้าม ต้องมีวิสัย ทัศ น์ ที่ แน่ น อนครั บ เรี ย กว่ า กิ จ กรรมนี้ ต้องท�ำให้พอดีและกิจกรรมไม่ใช่บ่งบอก ว่าเวลาท�ำกิจกรรมชายหญิงแล้วจะต้อง มีเรื่องเซ็กส์หรือเพศไปเกี่ยวข้อง ไม่เกี่ยว เลย ยิ่งการท�ำกิจกรรมจิตอาสายิ่งต้องมี ใจที่แน่วแน่จริงๆ” เอิ ร ์ ธ ถื อ เป็ น เด็ ก ดี อี ก คนหนึ่ ง ที่ เป็นตัวอย่างให้น้องๆ หลายคนได้ ทั้งเรื่อง การเรียน มุมมองการใช้ชีวิต สมัยเรียนปี สองด้วยความที่เป็นคนชอบท�ำกิจกรรม เขาส่งผลงานเข้าประกวดจนได้ทุนของ กระทรวงวัฒนธรรมไปเป็นนักเรียนแลก 79 issue 94 november 2015

เปลี่ยนที่ประเทศญี่ปุ่น เปิดโลกกว้างให้ ตัวเอง เรียกว่าท�ำกิจกรรมไม่อยู่เฉยจน ได้เรื่อง เอิร์ธมองว่าการท�ำกิจกรรมขึ้น อยู่กับจุดประสงค์ หากใช้มันไปในทางที่ ดีย่อมเกิดประโยชน์อย่างแน่นอน “กิจกรรมมันเป็นสิ่งที่ดีครับหาก เรามองมั น จะได้ ทั้ ง สองแง่ มุ ม คื อ ถ้ า เราท�ำให้มันดีมันก็เป็นสิ่งที่มีประโยชน์ สามารถเชื่อมต่อผู้คนหลายคนได้ แต่ถ้า สมมุ ติ เราใช้ มั น ในทางที่ ไ ม่ ดี ก็ จ ะท� ำ ให้ เราเสี ย เวลาไปกั บ สิ่ ง นั้ น เปล่ า ๆ เป็ น โทษเพราะเราจะไปหมกมุ่นกับกิจกรรม อย่างเดียว ไม่ได้ใช้เวลากับสิ่งที่ควรจะท�ำ ต้องควบคู่กันไปครับ และแบ่งเวลาให้ เหมาะสม” เอิร์ธกล่าวทิ้งท้าย


ICT hero พันธุ์ใหม่ใส่ใจแอนิเมชั่ นและเกม มูลนิธิครอบครัวพอเพียง ร่วมกับ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร จั ด กิ จ กรรมการ อบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “ICT hero พันธุ์ใหม่ใส่ใจแอนิเมชั่นและเกม” โดยได้ เปิดโอกาสให้น้องๆเยาวชนครอบครัวพอ เพียงได้เรียนรู้การท�ำแอนิเมชั่นและเกมส์ จากพี่ๆมหาวิทยาลัยศิลปากร เรียกได้ว่า ทั้งสนุกสนานและได้รับประสบการณ์ดีๆ ทั้งพี่ทั้งน้อง

สบร. ชี้ ความรู้ คือ โอกาส เดินหน้าจัดงานมหกรรมความรู ้ ครัง้ ที่ 4 น�ำเสนอ 8 เมกาเทรนด์ของโลก กับโอกาสในการสร้างงาน สร้างอาชี พคนไทย

นายอารยะ มาอินทร์ รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) หรือ สบร. (OKMD) เปิดเผย ว่า “โลกในปัจจุบันที่เทคโนโลยีการสื่อสารมีความก้าวหน้าและเชื่อมโยงสังคมทุกระดับ ส่งผลต่อการด�ำเนินชีวิตและกิจกรรมต่างๆ ทั้ง ในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะการเกิดขึ้นของนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ หลากหลายรูปแบบ การ พัฒนาสู่ความเป็นเมืองและสังคมเมือง การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ การให้ความสนใจในประเด็นสิ่งแวดล้อม และกระแสความเปลี่ยนแปลง อื่นๆ ที่น�ำมาซึ่งโอกาสและความท้าทาย ความรู้นับเป็นเครื่องมือส�ำคัญที่ช่วยให้เรารับมือกับความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ได้ สบร. จึงจัด งานมหกรรมความรู้ขึ้น เพื่อให้คนไทยมีความตระหนักและรู้เท่าทันแนวโน้มและความเปลี่ยนแปลงของโลก และน�ำความรู้เหล่านี้ไป สร้างโอกาส ปรับตัว ต่อยอด เพิ่มพูนทักษะ และเสริมความแข็งแกร่งด้านความคิดสร้างสรรค์ ตลอดจนจัดการกับอุปสรรคต่างๆ เพื่อ ให้ก้าวต่อไปข้างหน้าได้อย่างมั่นใจ” 80 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Round About

Senior UHC Young Camp ปี ที่ 2

มูลนิธิครอบครัวพอเพียง ร่วมกับ ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) จัดกิจกรรมค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการ “Senior UHC Young Camp ปีที่ 2” โดยน�ำตัวแทนเยาวชนครอบครัวพอเพียงว่า 20 โรงเรียนเข้าร่วมกิจกรรม ณ โรงแรม Buddy Oriental Riverside เพื่อพัฒนาแนวทางการต่อยอดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับหลักประกันสุขภาพแห่งชาติลงสู่ชุมชนต่อไปในอนาคต

การ์ตูนสร้างแรงบันดาลใจ “ปั งปอนด์ ตะลุยโลกวิทย์ พิชิตไอที” เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชด�ำริสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โดย ส�ำนักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวง วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ในฐานะฝ่ า ยเลขานุ ก ารโครง การฯ แถลงข่าวเปิดตัวหนังสือการ์ตูนสร้างแรงบันดาลใจด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี “ปังปอนด์ ตะลุยโลกวิทย์ พิชิตไอที” เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราช กุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ ซึ่ง เป็นการน�ำเสนอการด�ำเนินโครงการตามพระราชด�ำริฯ ทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีบทบาทต่อประชาชนชาวไทยใน รูปแบบหนังสือการ์ตูน ซึ่งการ์ตูนเล่มนี้เป็นหนังสืออีกเล่มหนึ่ง ในชุดหนังสือและสื่อเฉลิมพระเกียรติฯ ต่อเนื่องจากหนังสือ “๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปริทรรศน์” โดยจัดจ�ำหน่ายในราคา 25 บาท รายได้จากการจ�ำหน่าย ทูลเกล้าฯ ถวายโดยเสด็จพระราชกุศลฯ

81 issue 94 november 2015


ถ้าคุณซื้อแต่สิ่งของที่ไม่จ�ำเป็น ในไม่ช้า คุณก็ต้องขายสิ่งที่คุณจ�ำเป็น วอเรนต์ บั ฟ เฟตต์ เศรษฐี ช่ื อ ก้ อ งโลก

82 IS AM ARE www.ariyaplus.com


83 issue 94 november 2015


84 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.